เด็กคอมแมกกาซีน ฉบับกันยายน 2561

Page 1


จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นจังหวัดหนึ่งที่ต้ งั อยูใ่ นภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพ้นื ที่ท้ งั หมด ประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพ้นื ที่ใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของประเทศ รองจา กจังหวัด นครราชสี มา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพ้นื ที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มี ระยะทางห่างจาก กรุ งเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกั บประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จร ดจังหวัดตากและจังหวัดอุทยั ธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุ พรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม่า

ความเป็ นมาของกาญจนบุรี เท่าที่มีการค้นพบหลักฐานนั้น ย้อนไปได้ถึงสมัย ก่อน ประวัติศาสตร์ เมื่อมีการค้นพบเครื่ องมือหินในบริ เวณบ้านเก่า อาเภอเมืองกาญจนบุรี ล่วงมาถึง สมัยทวารวดี ซึ่งมีหลักฐานคือซากโบราณสถานที่ตาบลปรังเผล อาเภอสังขละบุรี เป็ นเจดีย ์ ลักษณะเดียวกับจุลประโทนเจดียท์ ี่ จงั หวัดนครปฐม บ้านคูบวั จังหวัดราชบุรี และเมืองอู่ ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี รวมทั้งค้นพบโบราณวัตถุ เช่น พระพิมพ์สมัยทวารวดีจานวนมาก [3] สื บเนื่องต่อมาถึงสมัยพุทธศตวรรษที่ 16-18 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่คน้ พบคือ ปราสาทเมืองสิ งห์ ซึ่งมีรูปแบบศิลปะแบบขอม[3] สมัยบายน ประตูเมืองกาญจนบุรี สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2374 กาญจนบุรียงั ปรากฏในพงศาวดารเหนือว่า กาญจนบุรีเป็ นเมืองขึ้นของสุ พรรณบุรีใน สมัย สุ โขทัย ครั้นมาถึงสมัยอยุธยา กาญจนบุรีกม็ ีฐานะเป็ นเมืองหน้าด่านสาคัญในการทาสงคราม ระหว่างกองทัพไทยกับพม่าจนกระทัง่ ถึงสมัยกรุ งธนบุรีและรัตนโกสิ นทร์ เดิมตัวเมือง กาญจนบุรีเดิมนั้นตั้งอยูท่ ี่ตาบลลาดหญ้า (บริ เวณเขาชนไก่ในปัจจุบนั ) ภายหลังจนถึง พ .ศ. 2374 พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ได้โปรดให้ก่อสร้างกาแพงเมือง และป้ อมปราการขึ้นเป็ นการถาวร ณ เมืองกาญจนบุรีใหม่โดยตั้งอยู่ ณ ตาบลปากแพรก อันเป็ น สถานที่บรรจบของแม่น้ าแควใหญ่และแม่น้ าแควน้อย โดยตัวเมืองอยูฝ่ ั่งตะวันออกของแม่น้ า แม่กลองกับแม่น้ าแควใหญ่ ซึ่งมีความเหมาะสมทางยุทธศาสตร์และด้านการค้า โดยเริ่ มก่อสร้าง เมืองเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2374 และสาเร็จในวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2375 และ ได้แยกออกจากสุ พรรณบุรีนบั แต่น้ นั เป็ นต้นมา ทั้งนี้โดยมีพระราชประสงค์ส่วนใหญ่เพื่อติดต่อ ค้าขายกับเมืองราชบุรี ดังพระราชนิพนธ์เสด็จประพาสไทรโยค กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า "แต่มีเมือง ปากแพรกเป็ นที่คา้ ขาย ด้วยเขาชนไก่เมืองเดิมอยูเ่ หนือม ากมีแก่งถึงสองแก่ง ลูกค้าไปมาลาบาก จึงลงมาตั้งเมืองเสี ยที่ปากแพรกนี้เป็ นทางไปมาแก่เมืองราชบุรีง่าย เมืองที่สร้างขึ้นใหม่ กว้าง 5 เส้น ยาว 10 เส้น 18 วา มีป้อม 4 มุมเมือง ป้ อมย่านกลางด้านยาวตรงหน้าเมืองทิศตะวันตก


เฉียงใต้มีป้อมใหญ่อยูต่ รงเนิน ด้านหลังมีป้อมเ ล็กตรงกับป้ อมใหญ่ 1 ป้ อม" การสร้างเมือง กาญจนบุรีใหม่น้ ี ดังปรากฏในศิลาจารึ กดังนี้ ให้พระยาราชวริ นทร์ เจ้ากรมพระตารวจเป็ นพระ ยาประสิ ทธิสงครามรามภักดีศรี พิเศษประเทศนิคมภิรมย์ราไชยสวรรค์พระยากาญจนบุรี ครั้ง กลับเข้าไปเฝ้ าโปรดเกล้าฯ ว่าเมืองกาญจนบุรีเป็ นเมืองอัง กฤษ พม่า รามัญ ไปมาให้สร้างเมือง ก่อกาแพงขึ้นไว้จะได้เป็ นชานพระนครเขื่อนเพชรเขื่อนขัณฑ์มนั่ คงไว้แห่งหนึ่ง ในปัจจุบนั กาแพงถูกทาลายลงโดยธรรมชาติและหน่วยราชการเพื่อประโยชน์อย่างอื่น เหลือเพียงประตู เมืองและกาแพงเมืองบางส่ วน[3] ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อมีการจัดรู ปแบบการปกครองเป็ น มณฑล เทศาภิบาล กาญจนบุรีถูกโอนมาขึ้นกับมณฑลราชบุรี[4] และยกฐานะเป็ นจังหวัดกาญจนบุรีใน ปี พ.ศ. 2467 เหตุการณ์ที่ทาให้กาญจนบุรีมีชื่อเสี ยงไปทัว่ โลก คือช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่น ได้ตดั สิ นใจสร้างทางรถไฟยุทธศาสตร์ จาก ชุมทางหนองปลาดุกในประเทศไทยไปยังเมืองทันบู ซายัตในพม่า โดยเกณฑ์เชลยศึกและแรงงานจานวนมากมาเร่ งสร้างทางรถไฟอย่างหามรุ่ งหาม ค่า จนทาให้มีผคู ้ นล้มตายเป็ นจานวนมาก ทั้งจากความเป็ นอยูท่ ี่ยากแค้นและโรคภัยไข้เจ็บที่ รุ มเร้า ซึ่งภาพและเรื่ องราวของความโหดร้ายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปรากฏอยูใ่ น พิพิธภัณฑ์หลายแห่งในกาญจนบุรี ชื่อเรี ยกอื่น ๆ ของกาญจนบุรี เช่น เมืองกาญจน์ ปากแพรก ศรี ชยั ยะสิ งหปุระ [5] (ซึ่งใน สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เรี ยกเมืองกาญจนบุรีวา่ ศรี ชยั ยะสิ งหปุระ) และเมืองขุนแผน เป็ นต้น


ภูมิศาสตร์

อาณาเขตติดต่ อ ตามภูมิศาสตร์ที่ต้ งั จังหวัดกาญจนบุรีเป็ นจังหวัดที่อยูใ่ นภาคตะวันตก มีพ้นื ที่ติดต่อกับจังหวัดอื่น ๆ 5 จังหวัด ดังนี้    

ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดตาก รัฐมอญ และรัฐกะเหรี่ ยง ประเทศพม่า ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดอุทยั ธานี และจังหวัดสุพรรณบุรี ทิศใต้ ติดกับจังหวัดนครปฐม และจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันตก ติดกับรัฐมอญ และเขตตะนาวศรี ประเทศพม่า โดยมีแนวเขาสาคัญแบ่งเขตแดนระหว่างไทยกับพม่า คือทิวเขาถนนธงชัย และทิวเขาตะนาวศรี

ภูมปิ ระเทศ

แม่น้ ารันตีทางตอนใต้ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรเขตติดต่อกับอุทยานแห่ งชาติเขาแหลม

พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเป็ นป่ าไม้และภูเขาสู ง โดยเฉพาะพื้นที่ทางด้านเหนือและตะวันตกของจังหวัด ถึงแม้จงั หวัดกาญจนบุรีจะมีเขต พื้นที่ติดกับจังหวัดตากทางด้านทิศเหนือ แต่ก็ไม่มีถนนเชื่อมต่อกัน เนื่องจากมี เขตรักษาพันธุส์ ัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ซึ่ งเป็ นมรดกโลกและมีป่าที่อุดม สมบูรณ์รกทึบสลับกับมีภูเขาอันสลับซับซ้อน หากจะเดินทางติดต่อกันต้องอ้อมไปทางจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัด กาแพงเพชร แล้วจึงเข้าจังหวัดตาก ซึ่ งมีระยะทางกว่า 490 กิโลเมตร และหากต้องการเดินทางไปอาเภออุม้ ผาง จังหวัดตาก ซึ่ งมีอาณาเขตติดต่อกับ จังหวัดกาญจนบุรี จะต้องเดินทางย้อนลงมาทางใต้รวมระยะทางกว่า 700 กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศจังหวัดกาญจนบุรี แบ่งออกได้ 3 ลักษณะดังนี้ 1. เขตภูเขาและที่สูง พื้นที่ทางด้านทิศเหนือของจังหวัด ได้แก่ บริ เวณอาเภอสังขละบุรี อาเภอทองผาภูมิ อาเภอศรี สวัสดิ์ และอาเภอไทรโยค มี ลักษณะเป็ นเทือกเขาต่อเนื่องมาจากเทือกเขาถนนธงชัยถัดไปทางด้านตะวันตกของจังหวัด เทือกเขาตะนาวศรี ซ่ ึ งกั้นพรมแดนระหว่างไทย กับประเทศพม่าทอดยาวลงไปทางด้านใต้ บริ เวณนี้จะเป็ นแหล่งกาเนิดต้นน้ าที่สาคัญของจังหวัด คือ แม่น้ าแควใหญ่ และแม่น้ าแควน้อย ซึ่ ง ในแถบนี้จะมีรอยเลื่อนอยูห่ ลายรอยและมักเกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่บ่อยครั้ง 2. เขตที่ราบลูกฟูก ได้แก่ พื้นที่ตะวันออกเฉี ยงเหนือของจังหวัด มีลกั ษณะเป็ นที่ราบเชิงเขาสลับกับเนินเขาเตี้ย ๆ อยูบ่ ริ เวณอาเภอเลา ขวัญ อาเภอบ่อพลอย และบางส่ วนของอาเภอพนมทวน 3. เขตที่ราบลุ่มน้ า ได้แก่ พื้นที่ทางด้านใต้ของจังหวัด ลักษณะเป็ นที่ราบ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ อยูบ่ ริ เวณอาเภอท่ามะกา อาเภอท่าม่วง และ บางส่ วนของอาเภอพนมทวน อาเภอเมืองกาญจนบุรี


ภูมิอากาศ 

ฤดูร้อน ระหว่างกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม มีลมฝ่ ายใต้พดั มาปกคลุม ทาให้มี อากาศร้อนอบอ้าวทัว่ ไป โดยมีอากาศร้อนจัดอยูใ่ นเดือนเมษายน ฤดูฝน ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน ในระยะนี้เป็ นช่วงที่ลมมรสุ มตะวันตก เฉียงใต้พดั ปกคลุม ทาให้มีฝนตกชุกโดยตกชุกที่สุดในเดือนกันยายน ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ โดยในช่วงนี้ ความกดอากาศสู งจาก ประเทศจีนและลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุม ทาให้อากาศหนาวเย็นและความแห้งแล้ง แผ่ปกคลุมจังหวัดกาญจนบุรี

จังหวัดกาญจนบุรีมีอุณหภูมิต่าสุ ดโดยเฉลี่ ย 22.7 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุ ดโดยเฉลี่ย 36.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าที่สุดวัดได้ 3.7 องศาเซลเซียส (เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2517) อุณหภูมิสูงสุ ดที่วดั ได้ 44.2 องศาเซลเซียส (เมื่อ 12 เมษายน พ.ศ. 2559) และมีปริ มาณน้ าฝนเฉลี่ย 1496.2 มิลลิเมตรต่อปี

ธรณีวทิ ยา ในด้านทรัพยากรดิน พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดกาญจนบุรีมีภูเขาสลับซับซ้อน พื้นที่ที่เหมาะสาหรับเกษตรกรรมคือ ที่ราบระหว่างภูเขาซึ่งมีแม่น้ าและลาน้ าสายต่าง ๆ ไหลผ่าน เนื่องจากเป็ นบริ เวณที่มีหินปูน หิ นแกรนิต หิ นแกรไนโอออไรท์ หิ นไนล์ หิ นดินดาน หิ นควอทโซฟี ลไลท์ เป็ นวัตถุตน้ กาเนิดดิน ที่ราบระหว่างหุบเขาและสอง ฝั่งแม่น้ าจึงมีลกั ษณะเป็ นตะกอนที่เกิดจากการสลายตัวของหิ นดังกล่าวแล้วถูกน้ าพัด พามาทับถม และเนื่องจากพื้นที่ส่วนนี้มีหินปูนเป็ นส่วนใหญ่ ดินจึงมีปฏิกิริยาเป็ น กลางหรื อเป็ นด่าง มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงดี จึงเป็ นแหล่งเพาะปลูกพืชไร่ ที่ สาคัญของประเทศเช่น อ้อย ข้าวโพด มันสาปะหลัง และสับปะรด ส่วนในบริ เวณที่ ราบต่าใช้ปลูกข้าวแต่มีเนื้อที่ไม่มากนัก


ในด้านทรัพยากรน้ า จังหวัดกาญจนบุรีมีแหล่งน้ าที่สาคัญ 3 ประเภทคือ 

น้ าใต้ดินหรื อน้ าบาดาล ต้นกาเนิดของแหล่งน้ าบาดาลส่ วนใหญ่มาจากน้ าฝนซึ่งตกสู่ ผวิ ดินลงไปกับเก็บใต้ช้ นั ดิน พื้นที่ทางตอนบนและทางตะวันตกของจังหวัดซึ่งมีสภาพเป็ นที่ สู งภูเขา รองรับด้วยหินแปรปริ มาณน้ าบาดาลจึงมีนอ้ ยมาก ส่วนพื้นที่ทางตะวันออกและทางใต้ของ

จังหวัดเป็ นที่ราบลุ่ม มีแหล่งน้ าบาดาลสามารถนาขึ้นมาใช้ได้ แต่ยงั คงมีปริ มาณน้อย  น้ าผิวดิน แหล่งน้ าผิวดินมีตน ้ น้ าอยูท่ างตอนเหนือของจังหวัดถึงเขตจังหวัดอุทยั ธานี ลักษณะทางน้ าเป็ นร่ องลึกใน ระหว่างหุบเขา มีธารน้ าบางสายไหลขึ้นไปทางเหนือสู่ประเทศพม่า แต่ลาธารส่วนใหญ่ไหลลงสู่แม่น้ าแควน้อยและ แควใหญ่ ก่อนจะรวมตัวกันเป็ นแม่น้ าแม่กลอง ส่วนด้านตะวันออกมีลาตะเพินเป็ นธารน้ าสาคัญของบริ เวณนี้ แหล่ง น้ าผิวดินที่สาคัญ ได้แก่ แม่น้ าแควน้อย แม่น้ าแควใหญ่ (ศรี สวัสดิ์) แม่น้ าแม่กลอง แม่น้ าลาตะเพิน  น้ าจากการชลประทาน จังหวัดกาญจนบุรีเป็ นที่ต้ งั ของอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่หลายแห่ งเพื่อวัตถุประสงค์หลักในการ ผลิตกระแสไฟฟ้ า แต่สิ่งที่ได้รับผลประโยชน์ตามมาคือการชลประทานที่สามารถส่งน้ าให้กบั พื้นที่เพาะปลูก เขื่อน ที่สาคัญ เช่น เขื่อนศรี นคริ นทร์ในเขตอาเภอศรี สวัสดิ์ เขื่อนเขาแหลมในอาเภอทองผาภูมิ อาเภอสังขละบุรี และ เขื่อนวชิราลงกรณ์ในอาเภอท่าม่วง แหล่ งนา้ ทีส่ าคัญ           

แม่น้ าแควใหญ่ (แม่น้ าศรี สวัสดิ์) แม่น้ าแควน้อย (แม่น้ าไทรโยค) แม่น้ าแม่กลอง แม่น้ าบีคลี่ แม่น้ าซองกาเลีย แม่น้ ารันตี แม่น้ าภาชี แม่น้ าสุ ริยะ (แม่น้ าทรยศ ไหลย้อนไปทางเหนือเข้าเขตพม่า) ทะเลสาบเขื่อนศรี นคริ นทร์ ทะเลสาบเขาแหลม ทะเลสาบท่าทุ่งนา


สั ตว์ ประจาถิ่น 

ค้ าวคาวกิตติ ถูกค้นพบครั้งแรกปี พ.ศ. 2516 โดยกิตติ ทองลงยา นักสัตววิทยาของสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย บริ เวณถ้ าไทรโยค อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างทาการเก็บตัวอย่างค้างคาวในโครงการการสารวจสัตว์ยา้ ยแหล่งทางพยาธิ วทิ ยา กิตติพบ ค้างคาวที่มีขนาดเล็กมากซึ่ งไม่เคยเห็นมาก่อน จึงได้ส่งตัวอย่างค้างคาวให้กบั จอห์น เอ็ดวาร์ ด ฮิลล์ (John Edward Hill) แห่งพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ ประเทศอังกฤษ เพื่อตรวจพิสูจน์และพบว่า ค้างคาวชนิดนี้มีลกั ษณะหลายอย่างเป็ นแบบฉบับของตนเอง สามารถที่จะตั้งเป็ นสกุลและวงศ์ใหม่ได้ หลังจากกิตติเสี ยชีวติ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 ฮิลล์ได้จาแนกและตีพิมพ์ถึงค้างคาวชนิดนี้ และตั้งชื่อว่า Craseonycteris thonglongyai เพื่อเป็ นเกียรติแก่กิตติ ทองลงยา ผู ้ ค้นพบค้างคาวชนิดนี้เป็ นคนแรก สภาวะของค้างคาวคุณกิตติในประเทศพม่าไม่เป็ นที่แน่ชดั และ ประชากรที่พบในประเทศไทยก็พบว่าจากัดอยูใ่ นเพียงจังหวัดเดียว คือ จังหวัดกาญจนบุรี ทาให้ ค้างคาวคุณกิตติอยูใ่ นสภาวะที่เสี่ ยงต่อการสู ญพันธุ์ สาเหตุหลักเกิดจากการคุกคามจากมนุษย์ และ การลดลงของถิ่นที่อยูอ่ าศัย

ปลายีส่ ก 

ปลายีส่ ก ชาวกาญจนบุรีมีความผูกพันธุ์กบั ปลาชนิดนี้มากถึงได้มาเป็ นสัญลักษณ์ตามถนน ที่เข้าสู่ ตวั เมืองกาญจน์เราจะเห็นตามเสาหลอดไฟที่เรื องรอง แล้วก็จะมีปลาชนิดหนึ่งอยูบ่ นเสาไฟตามถนน ผ่านเส้นทางศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี จะมีตวั สี ทองเหลืองอร่ าม อยูบ่ นยอดมองเห็นได้อย่าง ชัดเจนก่อนที่จะมีเขื่องศรี นคริ นทร์ ปลายีส่ กไทยจะไปวางไข่ตามเกาะแก่งต่าง ๆ ซึ่ งมีอยูห่ ลากหลาย การเดินทางมาผสมพันธุ์เสร็ จแล้วก็จะกลับมาหากินตั้งแต่กาญจนบุรี ไปจนถึงสมุทรสงคราม เมื่อก่อนจะเจอปลาชนิดนี้บ่อยมาก แต่พอสร้างเขื่อนปลาชนิดนี้ในแหล่งน้ าธรรมชาติ ก็นอ้ ยลงไป ตามระบบนิเวศน์ที่มีการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่ก่อนคนเมืองกาญจน์ ส่ วนใหญ่ปลาชนิดนี้อยูท่ ี่แม่น้ าแม่ กลองเอาเป็ นว่าขายกันเป็ นล่าเป็ นสัน ก็วา่ ได้เนื่องจากหาง่าย ตัวใหญ่เนื้ออร่ อย เช่น ต้มยา แกงส้ม ลวกจิ้มสาหรับนักรับประทานปลา ถ้ามาถึงกาญจนบุรีแล้ว ไม่ได้รับประทาน "แสดงว่ายังมาไม่ถึงก็ ว่าได้"


 

ปูพระพีน่ าง พบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 บริ เวณฝั่งลาห้วย ตาบลท่าแฉลบ อาเภอศรี สวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี หลังจากนั้น ได้รับประทานอนุญาตจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ ากัลยาณิ วัฒนาฯ ให้ใช้ชื่อว่า "ปูพระพี่นาง" หรื อที่ชาวบ้านเรี ยกว่า "ปูป่า" มีกระดองสี แดงเลือดนก ขอบ กระดอง ขอบเบ้าตา และปากเป็ นสี แดงส้ม ขาเดินทั้ง 4 คู่ เป็ นสี แดงเลือดนก ยกเว้นตรงปลาย ประมาณ 1 ใน 3 ของก้ามหนีบทั้ง 2 ข้าง เป็ นสี ขาว ปูพระพี่นางถือเป็ นอีกหนึ่งปูน้ าจืดหายากของ เมืองไทย ปูราชิ นี มีปากและขามีสีแดงและส้ม ก้ามมีสีขาว และกระดองมีสีน้ าเงินอมม่วง เชื่อว่าสามารถ เปลี่ยนสี ได้เรื่ อย ๆ ตามฤดูกาล ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 12.5 มิลลิเมตร โดยทางจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้ขออนุญาตใช้ชื่อ สิ ริกิต์ ิ เป็ นชื่อวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็ นเกียรติและเฉลิมฉลองครบรอบ 5 รอบของสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ และได้พระราชทานให้ในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ปั จจุบนั พบเป็ นปูประจาถิ่นในป่ าพรุ น้ าจืดบริ เวณลุ่มน้ าน้อย อุทยานแห่งชาติ ทองผาภูมิ และอุทยานแห่งชาติไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี และไม่เคยมีรายงานพบที่อื่นอีกเลย มี สถานภาพเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ปูเจ้ าฟ้า พบได้ในอาเภอทองผาภูมิ บริ เวณน้ าตกและลาธาร ตะพาบแก้มแดง (อังกฤษ: Malayan solf-shell turtle; ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dogania subplana) เป็ นตะพาบชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย ที่จงั หวัดตาก จังหวัด กาญจนบุรี และจังหวัดชุมพร จัดเป็ นตะพาบขนาดเล็กที่สุดเป็ นอันดับสองที่พบในประเทศไทย (เล็ก ที่สุด คือ ตะพาบหับพม่า (Lissemys scutata)) กระดองสี เทาเข้มมีจุดสี ดาทัว่ ไป หัวสี เทา นวลมีรอยเส้นสี ดาตลอดตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงส่ วนท้ายกระดอง มีสีแดงที่แก้มและข้างคอ เมื่อยังเล็กมีจุดสี ดาคล้ายดวงตากระจายไปทัว่ กระดองเห็นชัดเจน ตะพาบที่พบที่จงั หวัดตากและ กาญจนบุรีมีสีเข้มกว่าและไม่มีสีแดงที่แก้ม มีจมูกยาว หางสั้น และมีขาเล็ก กริวดาว เป็ นตะพาบที่หายากมากที่สุด มีความแตกต่างจากตะพาบหัวกบ คือ มีจุดสี เหลืองอ่อนเป็ น วงกระจายอยูบ่ ริ เวณขอบกระดอง โดยที่ไม่แปรเปลี่ยนไปตามวัย เหมือนตะพาบหัวกบ ซึ่ งถึงแม้จะ เป็ นตะพาบขนาดใหญ่แล้ว แต่ลายจุดนี้ยงั คงเห็นได้ชดั เจน ซึ่ งกิตติพงษ์ได้ระบุไว้วา่ ตะพาบแบบนี้ ไม่ได้พบเห็นมานานตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 หรื อ พ.ศ. 2534 แล้ว และแต่เดิมก็พบเห็นได้ยากมาก ซึ่งถ้าใช้หลักการอนุกรมวิธานตามแบบปั จจุบนั เชื่อว่า กริ วดาวต้องถูกจัดเป็ นชนิดใหม่อย่างไม่ตอ้ ง สงสัย เนื่องจากมีความแตกต่างจากตะพาบหัวกบอย่างพอสมควร แต่เสี ยดายที่ไม่ได้มีการศึกษา มากกว่านี้ เนื่องจากไม่มีตวั อย่างต้นแบบให้ศึกษา โดยตัวสุ ดท้ายที่คน้ พบและมีภาพถ่ายที่สมบูรณ์ มี ขนาดยาวราว 30 เซนติเมตร น้ าหนัก 5 กิโลกรัม จับได้จากแม่น้ าแควใหญ่ ที่อาเภอศรี สวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529


จังหวัดกาญจนบุรีแบ่งเขตการปกครองส่ วนภูมิภาคออกเป็ น 13 อาเภอ 95 ตาบล 959 หมู่บา้ น 206 ชุมชน โดยทั้ง 13 อาเภอ มีดงั นี้ อาเภอเมืองกาญจนบุรี 2. อาเภอไทรโยค 3. อาเภอบ่อพลอย 4. อาเภอศรี สวัสดิ์ 5. อาเภอท่ามะกา 6. อาเภอท่าม่วง 7. อาเภอทองผาภูมิ 8. อาเภอสังขละบุรี 9. อาเภอพนมทวน 10. อาเภอเลาขวัญ 11. อาเภอด่านมะขามเตี้ย 12. อาเภอหนองปรื อ 13. อาเภอห้วยกระเจา 1.

ที่สดุ  

ปราสาทขอมโบราณซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกที่สุด คือ ปราสาทเมืองสิงห์ อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

ทางหลวงพิเศษซึ่งเป็นสายแรกที่เชื่อมต่อไปยังประเทศพม่า นิยมเรียกว่า มอเตอร์เวย์สายบางใหญ่–บ้านโป่ง– กาญจนบุรี หรือ มอเตอร์เวย์สายตะวันตก ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81 ผ่านอาเภอบ้านโป่ง จังหวัด ราชบุรี, อาเภอท่ามะกา อาเภอท่าม่วง อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เป็นเส้นทางในการ เชื่อมต่อท่าเรือน้าลึกทวาย

เขื่อนหินถมแกนดินเหนียวที่ใหญ่ที่สุดของไทย คือ เขื่อนศรีนครินทร์ (เจ้าเณร) อาเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัด กาญจนบุรี มีความจุ 17,745 ล้านลูกบาศก์เมตร

กาญจนบุรีมีการปลูกอ้อยกันมากที่สุดในประเทศไทย

ค้างคาวที่มีขนาดเล็กที่สุดคือค้างคาวคุณกิตติซึ่งพบได้ที่เดียวเท่านั้นคือที่จังหวัดกาญจนบุรี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.