SARAKADEE MAGAZINE

Page 1





รายงานเล่มนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับงานด้านนิตยสาร ซึ่งในรายงานเล่มนี้กล่าวถึงบทสัมภาษณ์ของ คุณวีรวัฒน์ อัจจุตมานัส บรรณาธิการนิตยสาร Hamburger คุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ และคุณวีระ ศักดิ์ จันทร์ส่งแสง บรรณาธิการและนักเขียนจากนิตยสาร สารคดี ซึ่งทั้ง 3 ท่าน ได้กล่าวถึง ความเป็นมาของนิตยสารแต่ละเล่ม จุดเริ่มต้นของอาชีพ บรรณาธิการและนักเขียน รวมไปถึงกระบวนการผลิต หน้าที่ของฝ่ายต่างๆ ในกองบรรณาธิการ นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงปัญหาและอุปสรรคในการ ทำ�งาน แนวทางการแก้ไขปัญหา แรงบันดาลใจในการทำ�งาน และให้คำ�แนะนำ� สำ�หรับนักศึกษาที่สนใจในการฝึกงานกับกองบรรณาธิการนิตยสารHamburger และนิตยสาร สารคดี ทางผู้จัดทำ�หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้คงมีประโยชน์ต่อผู้ที่ สนใจศึกษางานทางด้านนิตยสาร ทั้งในเรื่องของการเป็นบรรณาธิการที่ดี การ เป็นนักเขียน และความแตกต่างของนิตยสารประเภทต่างๆ ไม่มากก็น้อย และหาก มีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทำ�จึงต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดทำ�




นิตยสารสารคดี ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ 2556


...รู้ลึก สารคดี...

ปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีทางด้านการพิมพ์ ได้ก้าวหน้าจากในอดีตไปมาก ทำ�ให้มีการผลิตหนังสือ ตำ�รา นิตยสาร วารสาร และอื่นๆเป็นจำ�นวนมาก แต่จะมี สักกี่คนในปัจจุบันที่จะรู้จักนิตยสาร “สารคดี” นิตยสาร ที่เราเคยเห็นวางอยู่ในร้านหนังสือ แต่ก็ไม่เคยได้หยิบ มาอ่าน อาจเป็นเพราะยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ทำ�ให้ความ สนใจของผู้อ่านเปลี่ยนไปด้วย จากในอดีตหนังสือหรือ นิตยสาร จะมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้ก็เปลี่ยนมาให้ ความบันเทิงเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อผู้ อ่าน จึงทำ�ให้นิตยสารแนวให้ความรู้เป็นที่นิยมน้อยลง อย่างนิตยสาร “สารคดี” ในปี พ.ศ. 2517 สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ ก่อ ตั้งขึ้นโดยมีนโยบายเพื่อการผลิตวารสารเมืองโบราณ ซึ่งเป็นวารสารวิชาการราย 3 เดือน มีเนื้อหาด้าน ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ต่อมาเริ่มจัดทำ�หนังสือวิชาการและพ็อกเก็ตบุ๊ก ในแนวเดียวกัน และขยายงานเป็นสำ�นักพิมพ์เล็กๆ อีก หลายสำ�นักพิมพ์คือ สำ�นักพิมพ์ปลาตะเพียน สำ�นัก พิมพ์มหานาค สำ�นักพิมพ์สีดา เพื่อผลิตหนังสือแนว อื่น ๆ


ต่อมาเมื่อมาถึงปี พ.ศ. 2526-2527 สำ�นัก พิมพ์เมืองโบราณและสำ�นักพิมพ์ในเครือประสบปัญหา ด้านการเงิน จึงมีแนวคิดสร้างนิตยสารใหม่เพื่อเป็น วงจรใหม่ของสำ�นักพิมพ์ โดยจะต้องเป็นนิตยสารที่ เลี้ยงตัวเองให้ได้อย่างแท้จริงคือ เป็นนิตยสารที่มีเนื้อหา กว้าง มีผู้อ่านจำ�นวนมาก มีรายได้จากการขายโฆษณา

ในแต่ละฉบับ ซึ่งครอบคลุมค่าพิมพ์และค่าใช้จ่ายในการ ดำ�เนินการ จึงเป็นที่มาของนิตยสารสารคดี โดยมีทีม งานและการดำ�เนินงานแยกต่างหากเป็นอิสระ เมื่อแรกวางจำ�หน่ายนิตยสารสารคดี ได้รับความ สนใจเป็นอย่างมาก ในฐานะนิตยสารที่นำ�เสนอเรื่องแนว สารคดีโดยเฉพาะ ให้ความรู้แก่ผู้อ่านทุกระดับ โดยมุ่งเน้น ที่ผู้อ่านวัย 20-40 ปี (นิสิตนักศึกษาจนถึงวัยทำ�งาน) เมื่อพูดถึงเนื้อหาในการนำ�เสนอของนิตยสาร สารคดี มีจุดยืนในการให้ปัญญา และความรู้ มุ่งหวังให้ ผู้อ่านได้รับความรู้และความบันเทิงไปพร้อมกัน หวังให้ เรื่องราวที่นำ�เสนอมีส่วนช่วยให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีขึ้นต่อสังคมและตัวผู้อ่านเอง เช่น ก่อให้เกิด ความเข้าใจในธรรมชาติ เพื่อให้คนอยู่กับธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน สร้างความภูมิในในความเป็นไทย และเผยแพร่ เรื่องราวบุคคลที่สมควรแก่การยกย่องเชิดชูเพื่อให้เป็น ตัวอย่างที่ดีแก่คนในสังคม และนิตยสารสารคดียังเป็นนิตยสารฉบับแรกของ เมืองไทยที่นำ�เสนอเนื้อหาแนวสารคดีโดยเฉพาะ มีเนื้อหา หลากหลายนำ�เสนอข้อมูลอย่างละเอียดลึกซึ้ง ทั้งใน เรื่องของธรรมชาติวิทยา สิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ ชีวิต สังคม บุคคล เหตุการณ์สำ�คัญ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ต่างประเทศ การท่องเที่ยว ฯลฯ ในรูปแบบที่ไม่เป็น วิชาการมากเกินไป เพื่อให้ผู้อ่านสามารถ เข้าใจเนื้อหา ได้ง่าย นำ�เสนอเนื้อหาให้ความสำ�คัญสามสิ่งคือ เนื้อ เรื่องที่มีคุณค่าและข้อมูลที่น่าเชื่อถือ นำ�เสนอโดยยึดถือ คุณธรรมและจรรยาบรรณ มีการออกแบบและจัดรูปเล่ม อย่างพิถีพิถัน ได้มาตรฐาน ให้ความสำ�คัญกับภาพถ่าย ที่มีคุณภาพ บอกเล่าเรื่องราวและอารมณ์ความรู้สึกได้ดี ในที่สุดนิตยสารสารคดีก็ได้เปิดตัวฉบับปฐมฤกษ์


ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2528 (วางตลาดวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2528 ซึ่งถือเป็นวันเกิดของนิตยสาร สารคดี) และมีการใช้ชื่อในภาษาอังกฤษว่า “Feature Magazine” ตีพิมพ์ด้วยกระดาษอาร์ตมัน สี่สีทั้งเล่ม หนาเพียง 112 หน้า โดยปกเรื่องนั้นเกี่ยงกับพลุฉลองปี ใหม่ ฝีมือการยิงของกรมวิทยาศาสตร์ ทหารบก เรื่อง ราวในฉบับปฐมฤกษ์ ได้ถูกแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอน ต้นเล่มจะมีเรื่องชนวัว, พลุไทย VS พลุญี่ปุ่น, จากโปรมู วิกา...ถึง BSO, ลุย 8 ศูนย์การค้า ต่อมาคือตอนกลางเล่มมีเรื่องสัมภาษณ์, พบ โลก, สารดีต่างประเทศ, สารคดีเก่า, มุมสะสม, ศิลป, เรื่องยาว, โลกวิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี, สิ่งแวดล้อม, ข้อคิดชีวิต..จิตวิทยา และตอนท้ายเล่มมีเรื่องปฏิทิน, จดหมาย, ชีวิตสัตว์โลก, สารคดีภาพ, ปกิณกะ, ข่าวสั้น และหน้าสุดท้าย จนถึงปัจจุบันนี้เรื่องราวในนิตยสารก็ยัง คงแบ่งเป็น 3 ตอนเช่นกัน หลังจากที่นิตยสารสารคดีออกเผยแพร่มาได้ ระยะหนึ่ง ผู้บริหารเห็นว่าทีมงานนิตยสารสารคดี มีคลัง ข้อมูลและสต็อกภาพเป็นจำ�นวนมาก จึงก่อตั้งสำ�นัก พิมพ์สารคดีขึ้น เพื่อผลิตพ็อกเก็ตบุ๊กที่ให้ความรู้ด้าน ต่างๆ ได้แก่ ธรรมชาติวิทยา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรมโดย ในการจัดพิมพ์ มีทั้งหนังสือที่ผลิตเนื้อหาขึ้นเองโดย กองบรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ และหนังสือที่เขียนโดยนัก วิชาการและนักเขียนที่มีชื่อเสียง หนังสือที่เป็นที่รู้จักได้แก่ หนังสือชุด 108 คำ�ถาม หนังสือแนวสารคดีของ อร สม สุทธิสาคร นักเขียนสารคดีชื่อดัง คู่มือท่องเที่ยวชุด “นายรอบรู้” จังหวัดต่างๆ ฯลฯ สำ � นั ก พิ ม พ์ ส ารคดี ผ ลิ ต พ็ อ กเก็ ต บุ๊ ก มาแล้ ว มากกว่า 100 ปก หลายเล่มได้รับรางวัลจากคณะ

กรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ และได้ รั บคั ด เลื อ กให้ เ ป็ นหนั ง สื อ อ่ า นนอกเวลา ของนักเรียนและนักศึกษา ปั จ จุ บั น สำ � นั ก พิ ม พ์ ส ารคดี ข ยาย ขอบเขตการพิมพ์หนังสือให้กว้างขึ้นจาก เดิมที่จัดพิมพ์เฉพาะหนังสือประเภทสารคดี ก็หันมาจัด พิมพ์หนังสือวรรณกรรม คู่มือธุรกิจ ตำ�ราและหนังสือ ราชการ รวมทั้งหนังสือลิขสิทธิ์ต่างประเทศ โดยแยก ทีมงานออกเป็นสำ�นักพิมพ์ต่างๆ เพิ่มเติม ได้แก่ สำ�นัก พิมพ์เมืองโบราณ (ผลิตหนังสือเชิงวิชาการด้าน

มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้าน) สำ�นักพิมพ์วิริยะ (หนังสือแนวขาย ดี เช่น วรรณกรรม หนังสือแปล คู่มือประเภทHow to) สำ�นักพิมพ์สีดา (หนังสือแนวนิทานโบราณคดี หรือแนว วิเคราะห์-วิจารณ์)



สำ�นักพิมพ์ปลาตะเพียน (หนังสือเด็ก และเยาวชน) สำ�นักพิมพ์สารคดีภาพ (หนังสือแนวทัศนศิลป์ เช่น ภาพถ่าย จิตรกรรม ประติมากรรม) สำ�นักพิมพ์ดี วา (หนังสือแนวการใช้ชีวิตของผู้หญิง ทำ�งานยุคใหม่) และตลอดระยะเวลา 28 ปีที่ผ่านมา นิตยสารสารคดี ได้รับการต้อนรับจาก ผู้อ่านมากมายจนกลายเป็นนิตยสารที่ มีผู้อ่านสูงสุดฉบับหนึ่งของประเทศ ทั้ง ยังได้รับรางวัลนิตยสารดีเด่นจากหน่วย งานและภาครัฐ และภาคเอกชนติดต่อ กันเป็นเวลานับสิบปี เป็นนิตยสารที่ผู้ อ่านให้การยอมรับในเรื่องคุณภาพและ ความ น่าเชื่อถือ ได้รับการยอมรับจาก ห้องสมุดสถาบันศึกษาทั่วประเทศให้เป็น หนังสืออ้างอิง ทั้งยังเป็น แหล่งข้อมูล ที่บุคคลในแวดวงต่างๆนำ�ไปใช้ประโยชน์ หรืออ้างอิงต่อ ไม่ว่าจะเป็น นักเรียน นักศึกษา นักวิจัย สื่อมวลชน ผู้ผลิต ภาพยนตร์ และแวดวงอินเตอร์เน็ต ฯลฯ และปัจจุบันนิตยสารสารคดีหลายเล่มได้ กลาย เป็นนิตยสารหายากในตลาดหนังสือเก่าที่มีราคา สูงกว่าหน้าปกอีกด้วย....



มีบริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด เป็น ผู้ดูแลกิจการ โดยบริษัท วิริยะธุรกิจ จำ�กัด ได้ก่อตั้งขึ้น ในปี พ.ศ. 2526 โดยมีวิสัยทัศน์ที่จะผลิตสื่อสิ่งพิมพ์มี คุณภาพต่อสังคมไทย และมีวัตถุประสงค์เพื่อดำ�เนินการ ด้านสิ่งพิมพ์ เป็นบริษัทที่มีชื่อเสียงในด้านการผลิตสิ่ง พิมพ์ที่มีคุณภาพ ทั้งการจัดทำ�เนื้อหา การถ่ายภาพ และ การออกแบบรูปเล่ม ผลงานการผลิตสิ่งพิมพ์ในเครือ ได้แก่ นิตยสารสารคดี สำ�นักพิมพ์สารคดี วารสารเมือง โบราณ สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ นอกจากนี้บริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด ยังรับออกแบบ และจัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ ปฏิทิน รายงานประจำ�ปีของบริษัทห้างร้านต่าง ๆ และ หน่วยงานราชการต่าง ๆ ภายใต้การควบคุมการผลิตโดย ผู้ชำ�นาญด้านการพิมพ์ที่มีประสบการณ์ไม่ต่ำ�ว่า 20 ปี




Q: ในการทำ�นิตยสาร 1 เล่ม ประกอบด้วย ฝ่ายอะไรบ้างคะ A: การทำ�นิตยสารออกมาเล่มหนึ่ง จะประกอบ ไปด้วย 4 ฝ่ายหลักๆ ได้แก่ ฝ่ายกองบรรณาธิการ (หรือที่เรียกสั้นๆว่า กองบก.) ซึ่งฝ่ายนี้จะทำ�งานคู่กับ ฝ่ายช่างภาพ ต่อไปก็เป็นฝ่ายจัดทำ�รูปเล่ม ถ้าเป็นภาษา อังกฤษก็จะเรียกว่า Art Director และสุดท้ายก็คือฝ่าย พิสูจน์อักษร ก่อนที่เราจะส่งเข้าโรงพิมพ์ครับ

Q: แล้วแต่ละฝ่ายมีหน้าที่อะไรบ้าง ขั้นตอน การผลิตตั้งต้นจนจบทำ�อย่างไรคะ

ย่างที่กล่าวต้นข้างต้นว่า นิตยสารสารคดี เป็นนิตยสารฉบับแรกของเมืองไทยที่นำ�เสนอเนื้อหาแนว สารคดีโดยเฉพาะ และสามารถยืนหยัดมาถึง 28 ปี จึง ทำ�ให้เกิดความสนใจที่จะติดต่อไป ซึ่งเป็นโอกาสที่ดีที่ทาง นิ ต ยสารให้ เ กี ย รติ ต้ อ นรั บ และเปิ ด สำ� นั ก พิ ม พ์ ใ ห้ เ ราได้ สัมภาษณ์ สำ�หรับการเดินทางไปยังสำ�นักพิมพ์สารคดีก็ไป ไม่ยาก อยู่ในเขตกรุงเก่า ย่านเขตพระนคร ข้างสะพาน ผ่านฟ้าลีลาศ อยู่ในซอยวัดปรินายก เป็นตึก 3 คูหา อยู่ตรงข้าม วัดปรินายกพอดิบพอดีเมื่อได้ไปถึง สำ�นักพิมพ์สารคดีก็มีพี่คนสารคดีมารอ และยิ่งรู้สึก อบอุ่นมากยิ่งเมื่อรู้ว่า คุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ หรือ บรรณาธิการบริหาร ประจำ�นิตยสารพร้อมกับนักเขียน มือหนึ่งอย่างคุณวีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง เป็นเกียรติมา ให้สัมภาษณ์อย่างเจาะลึกแบบไม่อั้น และเป็นกันเอง เมื่อ ถึงเวลาเราก็มาเริ่มคำ�ถามแรกกันเลย!

A: .ถ้าพูดถึงขั้นตอนตั้งแต่ก่อนเป็นเล่ม ทาง ฝ่ายกองบก.จะมีการประชุมกันก่อนว่า ในเล่มจะมีอะไร ทำ� หัวข้ออะไรบ้าง เมื่อตกลงกันเรียบร้อยก็ถึงหน้าที่ของ นักเขียนต้นฉบับ ซึ่งจะมีหน้าที่ดูแลเนื้อหาของนิตยสาร ตั้งแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย แล้วเมื่อต้นฉบับเสร็จ เราก็จะมีการตรวจความเรียบร้อย ความถูกต้องของ เนื้อหาของต้นฉบับเป็นหน้าที่ของบรรณาธิการต้นฉบับ ก่อนจะส่งเนื้อหาทั้งหมดไปทำ�ให้น่าอ่านมากยิ่งขึ้น โดย การจัดหน้าและออกแบบเล่มทั้งหมด ซึ่งเป็นหน้าที่ของ ฝ่ายจัดทำ�รูปเล่ม พอจัดเสร็จก็ส่งมาพิสูจน์อักษรที่ เรียกว่าการตรวจปรู๊ฟ ก่อนพิมพ์จริง จะทำ�กลับไปกลับ มา 3 รอบ จากนั้นก็ส่งไปโรงพิมพ์ออกมาเป็นเล่มสวยๆ ไปขายอยู่ในร้านหนังสือครับ


Q: โห...กว่าจะมาเป็นนิตยสารเล่มหนึ่งไม่ใช้ ง่ายๆเลย แต่สงสัยว่า ที่ประชุมก่อนทำ�เล่ม พี่ๆประชุมกันกี่ครั้ง แล้วอะไรบ้างครับ A: การประชุมมันไม่ตายตัว แล้วแต่เนื้อหาบาง เล่ม อย่างเล่มเดือนมีนาคม ที่เป็นเล่มครบรอบปีของ สารคดี เล่มก็จะใหญ่หน่อย เราก็จะประชุมล่วงหน้า นาน เพื่อวางแผนว่า เล่มเดือนมีนา เราจะนำ�เสนอเรื่อง อะไร ซึ่งเราก็ได้นำ�เสนอเรื่อง สถาปัตย์สีเขียว

Q: ถ้าสมมติว่าเราคุยกันไว้แล้วว่า เรา ต้องการที่จะทำ�ธีมนี้ แต่มีการเปลี่ยนกะทันหัน ได้รึเปล่าคะ A: ก็มีได้นะ เพราะการทำ�หนังสือมีการยืดหยุ่นได้ ทุกอย่าง

Q: แล้วในเล่มก็จะเป็นธีมเดียวกันหมดเลยใช่ ไหมครับ A: ที่ถามว่าเล่มเดียวเป็นธีมเดียวหมดเลยหรือ ไม่ มันก็เป็นได้บางเล่ม แต่โดยทั่วไปเล่มหนึ่งจะมี 3 ส่วนใหญ่ๆ ส่วนแรกเรียกว่า โลกใบใหญ่ จะเป็นสารคดี สั้นหรือข่าวในรอบเดือนที่น่าสนใจ ส่วนถัดไปเป็นส่วน หลักจะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องหน้าปก แล้วส่วนที่สาม เป็นส่วนของคอลัมน์ ทางเราจะเชิญชวนผู้มีความรู้ ความคิด หรือนักวิชาการต่างๆมาร่วมเขียนให้ ซึ่งอันนี้ คนนอกเป็นคนทำ�แล้วส่งมาที่ฝ่ายกองบก. แต่สองส่วน แรกจะเป็นหน้าที่ของกองบก. เองนะครับ

Q: เรื่องของการใช้ฟอนต์หรือตัวอักษรใน นิตยสารสารคดีค่ะ ฝ่ายArt Director ต้อง ติดตามไหมว่า ตอนนี้ฟอนต์ที่นิยมเป็นอย่างไร อย่างหัวนิตยสารจะเห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบออกไป เพื่อให้มีความร่วมสมัยมากขึ้น เป็นหัวเหลี่ยมๆ ดูมีดีไซน์มากขึ้น A: ก็มีติดตามบ้าง เพื่อให้ดูน่าสนใจมากขึ้น แล้ว สำ�หรับฟอนต์ที่เป็นหัวเหลี่ยมๆก็เหมือนพี่ที่เรียบง่าย ตรงไปตรงมาครับ แล้วด้วยความเป็นสารคดีก็เลยไม่ สามารถปรุงแต่งอะไรได้มาก


Q: แล้วการทำ�งานของที่นี่เป็น Q: อยากทราบว่า ในปัจจุบันการทำ�หนังสือ อย่างไร ต้องรับผิดชอบอะไรบ้าง หรือนิตยสาร มีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรไหม เคยมีไหมครับที่คิดงานไม่ออก คะ A: คำ�ถามนี้มีประโยชนมากนะ เวลาพวก พี่ไปบรรยายในมหาวิทยาลัย จะพบคนหนุ่มสาวอยากจะ ทำ�งานหนังสือ ซึ่งถือว่า เรตติ้งดีทีเดียว และเข้าใจว่าเป็น งานที่สบาย ซึ่งจริงๆถ้าเล่าได้ก็อยากจะเล่าว่า ทุกการ งานมันมีความกดดันของมันนะ อย่างเช่นงานนิตยสาร จะมีอยู่ 2 ระดับ ระดับที่หนึ่งก็คือ การผลิตให้ได้เดือนละ เล่ม หนาเท่า 200 กว่าหน้า มีคนทำ�ประมาณ 10 กว่า คน อีกขั้นหนึ่งคือ อยู่ในขั้นของพี่วีที่เป็นนักเขียนต้อง เขียนให้เสร็จไปก่อน ซึ่งถือว่าเป็นวินัยชั้นต้นที่นักเขียนจะ ต้องทำ�ให้ได้ตามข้อตกลงตามกำ�หนดเวลา ถ้าเราช้าไป วันหนึ่ง ทีมผลิตจะเริ่มยุ่งและอาจจะผลิตช้าไปด้วย แล้ว คนอ่านจะไม่ได้อ่านในรอบเดือนที่กำ�หนด ซึ่งอันนี้มันมา คอยผลักดันเรา (8)

A: ถ้าปัญหาในปัจจุบันที่เป็นปัญหาร่วมของ ทั้งวงการคือ นิตยสารกำ�ลังถูกแย่งพื้นที่โดยสื่อ พวก E-Book, E-Magazine รวมถึงอินเตอร์เน็ตด้วย ซึ่ง ต่างจากเมื่อก่อนที่ว่า ถ้านักเรียน นักศึกษาหรือผู้ ต้องการความรู้อยากรู้เรื่องอะไร ต้องเปิดหนังสือ เปิด นิตยสารสารคดี ประมาณว่าถ้าไม่อ่านก็ไม่รู้ แต่เดี๋ยวนี้ก็ หาในอินเตอร์เน็ตเรียนรู้จากอากู๋ หรือกูเกิ้ลก็ได้ แต่ถ้า เจาะลงมาที่วงการนิตยสาร ปัญหาของเราก็คือ การ เกิดของนิตยสารรุ่นใหม่ที่มีจำ�นวนมาก ทั้งที่มีสาระบ้าง บันเทิงบ้าง ทั้งๆที่จำ�นวนผู้อ่านมีเท่าเดิม

Q: เมื่อหนังสือและนิตยสารมีเพิ่มขึ้น ทาง นิตยสารสารคดีได้รับผลกระทบบ้างหรือเปล่า ครับ

Q: แสดงว่าการทำ�นิตยสารก็ต่างกับการทำ� A: ก็ได้รับผลกระทบนะ อย่างเช่น ต้นทุนทางการ Pocketbook ด้วยหรือเปล่าคะ ที่สามารถคิด ผลิตที่จริงแล้ว มันอาจจะแพงกว่าร้อยต้นๆนะ แต่ที่เรา อยู่ได้เพราะมีเงินสนับสนุนที่เขาเรียกว่า การขายหน้า หรือเขียนที่ไหนก็ได้ A: มีทั้งที่เหมือนและก็ต่าง ถ้าเหมือนก็เหมือน ตรงที่การผลิต แต่ต่างตรงที่นิตยสารต้องมีความสด ใหม่ ต้องให้แต่ละฝ่ายมาร่วมคิดร่วมทำ�อาจต้องมาดูกัน ว่าปกนี้มันพอดีรึยัง การใช้รูปถ่ายผสมกับกราฟฟิก มันพอดีมั้ย คนเขียนเห็นว่ายังไง ชื่อเรื่องชื่อที่เป็น คำ�พาดปกมันโอเคไหม มันดีหรือยัง และในแง่ของสารคดี ก็จะเรียกว่าต่างจากนิตยสารอื่นๆ เพราะเรานำ�เสนอเรื่อง ที่เป็นความจริงร้อยเปอร์เซ็นต์ ต้องมีการตรวจสอบ หรือมีความละเอียดของคนทำ�งานสูงตั้งแต่นักเขียนจน มาถึงบรรณาธิการต้นฉบับด้วย

โฆษณา ที่บริษัทธุรกิจต่างๆเขามาซื้อหน้าลง เป็นส่วน สนับสนุนให้หนังสืออยู่ได้ในราคานี้ ซึ่งถ้าขายจริงอาจ ตั้งขาย 200 บาท มันถึงจะคุ้มทุน แต่การสนับสนุนแบบ นี้ มันไม่ได้สนับสนุนจากประโยชน์โดยตรง แต่สนับสนุน โดยวัดจากกระแส โดยที่เขาไม่สนใจว่าหนังสือนี้มันจะมี สาระ มันจะดี มันจะมีประโยชน์ต่อสังคมหรือไม่ แต่ถ้า เขาเห็นว่ากระแสดีมีคนเปิดเยอะเขาก็จะไปสนับสนุนเล่มนั้น อันนี้ก็เป็นปัญหาใหญ่เหมือนกัน เพราะสามารถชี้ทิศทาง และความอยู่รอดของวงการนิตยสารไทยได้เลย


Q: แล้วสำ�หรับนักศึกษาที่อยากมาทำ�งานด้านนี้ ควรจะเตรียมตัวอย่างไร และต้องมีคุณสมบัติ อะไรบ้างคะ A: นิตยสารมันมี 3 – 4 ส่วนที่เราคุยไปก่อน หน้านี้ แต่ละส่วนมีหน้าที่ต่างกัน ก็จะมีคุณสมบัติเฉพาะ ส่วนของมัน อย่างคนที่จะจัดหน้าก็ต้องมีจิตใจมีความ สนใจทางศิลปะ รักการออกแบบ แต่ว่าภาพรวมของ คนที่จะมาเป็นคนทำ�นิตยสาร พี่คิดว่าคุณสมบัติอย่าง หนึ่งที่สำ�คัญคือ “คุณต้องรักหนังสือและรักการอ่าน ไปพร้อมๆกัน” ส่วนเรื่องวินัยหรือว่าเรื่องอะไรอื่นๆ ก็อย่างที่คุยกัน ต้องฝึกฝนกันไป ฝึกฝนด้วยความ อุตสาหะครับ

Quote1: “คุณสมบัติอย่างหนึ่งที่สำ�คัญของ นักนิตยสารคือ คุณต้องรักหนังสือและรักการอ่านไป พร้อมๆกัน” Quote 2: “จะพบคนหนุ่มสาวอยากจะทำ�งาน หนังสือ ซึ่งถือว่า เรตติ้งดีทีเดียว และเข้าใจว่าเป็นงานที่ สบาย ซึ่งจริงๆแล้วทุกการงานมันมีความกดดันของ มันไม่มีอะไรได้มาอย่างสบายๆ” Quote 3: “นิตยสารต้องมีความสดใหม่ ต้อง ให้แต่ละฝ่ายมาร่วมคิดร่วมทำ�” Quote 4: “ในแง่ของสารคดี ก็จะเรียกว่าต่าง จากนิตยสารอื่นๆ เพราะ เรานำ�เสนอเรื่องที่เป็นความ จริงร้อยเปอร์เซ็นต์ ต้องมีการตรวจสอบหรือมีการ ความละเอียดของคนทำ�งานสูงตั้งแต่นักเขียนจนมาถึง บรรณาธิการต้นฉบับ” Quote5: “เมื่อก่อนที่ว่า ถ้านักเรียน นักศึกษา หรื อ ผู้ ต้ อ งการความรู้ อ ยากรู้ เ รื่ อ งอะไรต้ อ งเปิ ด หนังสือ เปิดนิตยสารสารคดี ประมาณว่าถ้าไม่อ่านก็ไม่รู้ แต่เดี๋ยวนี้ก็หาในอินเตอร์เน็ตเรียนรู้จากอากู๋ หรือกูเกิ้ล ก็ได้”



ติดต่อคนสารคดี ที่อยู่ : 28-30 ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 0-2281-6110 กองบรรณาธิการนิตยสาร สารคดี ต่อ 118 โทรสาร: 0-2282-7003 Website: http://www.sarakadee.com E-mail: contact@sarakadee.com Facebook: www.facebook.com/ sarakadeemag

บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา : คุณสุวพร ทองธิว บรรณาธิการบริหาร : คุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ บรรณาธิการที่ปรึกษา : คุณวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ บรรณาธิการภาพ : คุณสกล เกษมพันธุ์ ผู้จัดการทั้วไป/ฝ่ายศิลป์/ผลิต : คุณจำ�นงค์ ศรีนวล


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.