๙ ตามรอยพุทธภูมิ

Page 1

๙ ตามรอยพุทธภูมิ ณพัทร สืบศิริ


๙ ตามรอยพุทธภูมิ


Pattern Thailand.

พระพุทธดำรัส ส่งพระอริยสำวกไปประกำศพระพุทธศำสนำ เวลำนั้น มีพระอริยสำวก ๖o องค์ พระบรมศำสดำ สัมมำสัมพุทธเจ้ำจึงมีพระดำรัสส่งไปประกำศพระพุทธศำสนำว่ำ จรถ ภิกฺขเว จำริก พหุชนหิตำย พหุชนสุขำย โลกำนุกมฺปำย อตฺถำย หิตำย สุขำย เทวมนุสฺ สำน. มำ เอเกน ทฺเว อคมิตฺถ. เทเสถ ภิกฺข เว ธมฺม อำทิกลฺยำณ มชฺเฌกลฺยำณ ปริโยสำนกลฺยำณ สำตฺถ สพฺยญฺชน เกวลปริ ปุณฺณ ปริสุทฺธ พฺรหฺมจริย ปกำเสถ. (วิ.มหำ. ๔/๓๒) ภิกษุทั้งหลำย พวกเธอจงจำริกไป เพื่อประโยชน์สุขแก่ชน จำนวนมำก เพื่ออนุเครำะห์ชำวโลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและเพื่อ ควำมสุขแก่เทวดำและมนุษย์ อย่ำไปทำงเดียวกันสองรูปเลย จงแสดง ธรรมมีควำมงำมในเบื้องต้น มีควำมงำมในท่ำมกลำง และมีควำมงำม ในที่สุด จงประกำศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ ครบถ้วน


ณพัทร สืบศิริ ๙ ตำมรอยพุทธภูมิ / ณพัทร สืบศิริ โรงเรียนสำธิตแห่งมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนำกำรศึกษำ โครงกำรกำรศึกษำควำมรอบรู้เฉพำะเรื่อง (Senior Project) เสนอต่อประธำนคณะกรรมกำรดำเนินงำนโครงกำรกำรศึกษำควำมรอบรู้เฉพำะเรื่อง พิมพ์ครั้งที่ 1

จำนวน 100 เล่ม พ.ศ. 2556

คณะกรรมกำรที่ปรึกษำ อำจำรย์ที่ปรึกษำ ผู้เชี่ยวชำญ

ผู้ปกครอง

ผศ.อำนำจ รุจิรำวรรณ ผศ.พัฑรำ สืบศิริ เชี่ ย วชำญด้ ำ นพุ ท ธศำสตร์ และ กรำฟฟิคองค์ประกอบศิลป์ นำย ณัฐ สืบศิริ

ที่ปรึกษำด้ำนออกแบบปกและรูปเล่ม

กมลพัชร

สรรพกิจจำนนท์


คำนิยม เมื่อปลำยปี 2555 ณพัทร (หลำนชำย) มำคุยให้ฟังว่ำ “ผม จะทำ Senior Project เรื่องที่ไปบวชเณรที่อินเดียกับทำงโรงเรียนครับ น้ำ น้ำคิดว่ำยังไงครับ” เมื่อได้ฟังก็แอบยิ้มอยู่ในใจ เพรำะไม่คิดว่ำเด็ก สมัยนี้วัยนี้จะสนใจเรื่องพุทธศำสนำ แล้วก็ถำมกลับไปว่ำ “ทำไมณพัทร ถึงเลือกเรื่องนีล้ ่ะ” หลำนชำยก็ตอบว่ำ “ผมว่ำผมโชคดีที่ครั้งหนึ่งในชีวิต ผมได้ไปที่สังเวชณียสถำนครับแถมได้บวชใต้ต้นพระศรีมหำโพธิ์อีก ผมก็ เลยอยำกเล่ำให้คนอื่นฟัง เผื่อว่ำรุ่นน้อง ที่ได้อ่ำนจะมีคนอยำกมำบ้ำง” และแล้ว pocket book “๙ ตำมรอยพุทธภูมิ” ออกคลอดต้นฉบับ ออกมำ หลังจำกที่ได้อ่ำน ต้องบอกว่ำเป็นหนังสือนำเที่ยวที่น่ำรักดี ใช้ ภำษำง่ ำ ยๆ อ่ ำ นไปเหมื อ นเรำได้ ต ำมเที่ ย วไปยั ง สถำนที่ นั้ น ๆด้ ว ย นอกจำกนี้ ยั งมีก ำรสอดแทรกเกร็ดควำมรู้ทำงด้ำ นพุ ท ธศำสนำและ ควำมประทับใจตลอดจนภำพประกอบ ซึ่งทำให้น่ำสนใจมำกขึ้น อ่ำน สบำยๆ อ่ำนไปยิ้มไป กับเรื่องรำวในแต่ละวันที่ได้เล่ำ หวังอย่ำงยิ่งว่ำ เมื่อท่ำนได้อ่ำนบันทึกกำรเดินทำงเล่มนี้จบแล้ว คงจะทำให้ผู้อ่ำนได้ควำมรู้ ควำมสนุกสนำนเพลิดเพลิน ตลอดจนศรัทธำ ที่จะ “ตำมรอยพุทธภูมิ” ด้วยกันนะคะ พิมพ์ประภำ จียำศักดิ์ ครูสมำธิรุ่นที่ 31 สถำบันพลังจิตตำนุภำพ


คำนิยม เมื่อปลำยปี ๒๕๕๕ ผมได้มีโอกำสเดินทำงไปประเทศอินเดียเพื่อ ไปนมัสกำรสังเวชนียสถำน ๔ แห่ง ได้สัมผัสถึงถิ่นกำเนิดขององค์สมเด็จ สัมมำสัมพุทธเจ้ำอย่ำงใกล้ชิด ตลอด ๑๐ วันได้สวดมนต์บทต่ำงๆ วันละ หลำยครั้ง ทำวัตรเช้ำบนรถขณะเดินทำงไปสถำนที่ต่ำงๆ เมื่อถึงสังเวช นียสถำนแต่ละแห่งก็ได้สวดมนต์บทที่เกี่ยวข้องกับสถำนที่นั้นๆ นับเป็น ช่วงเวลำหนึ่งในชีวิต ที่รู้สึกได้ถึงควำมปิติและอิ่มบุญเป็นที่สุด เมื่อได้อ่ำน “๙ ตำมรอยพุทธภูมิ” ของน้องณพัทร สืบศิริ เหมื อ นได้ ก ลั บ ไปสั ง เวชนี ย สถำนอี ก ครั้ ง ด้ ว ยภำษำเขี ย นที่ อ่ ำ นง่ ำ ย สำนวนตำมยุคสมัย รู้สึกเหมือนได้ไปเดินพุทธภูมิแบบจิตใสใจสบำย รู้สึก ดีใจที่เยำวชนไทยมีควำมสนใจ เลื่อมใส ศรัทธำ และเผยแพร่พุทธศำสนำ ในรูปแบบ “๙ ตำมรอยพุทธภูมิ” นับเป็นโอกำสดีที่ให้เยำวชนท่ำนอื่นๆได้ มีควำมรู้สึกอย่ำงที่ผมได้สัมผัส จำกหนังสือเล่มนี้ หนังสือพระไตรปิฏกฉบับ สยำมรัฐ เล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๑๓๑ ครั้ง หนึ่ ง พระอำนนท์ทรงทู ลถำมว่ำ “ในกำลก่อ นเมื่อ ออก พรรษำแล้ว บรรดำพุทธบริษัท ทั้งหลำยจำกทิศต่ำงๆย่อมเดินทำงมำ เฝ้ำพระผู้มีพระภำคเจ้ำ ได้เข้ำใกล้ สนทนำปรำศรัย ได้ควำมเจริญใจ ครั้ น พระผู้ มี พ ระภำคเจ้ ำ เสด็ จ ดั บ ขั น ธ์ ป ริ นิ พ พำนแล้ ว ข้ ำ พระองค์ ทั้งหลำยจักไม่ได้โอกำสอันดีเช่นนี้ เหมือนกับเมื่อพระองค์ยังทรงพระชนม์ อยู่อีกต่อไป”


พระผู้มีพระภำคเจ้ำตรัสตอบพระอำนนท์ว่ำ “อำนนท์ สังเวช นียสถำน ๔ ตำบลนี้ คือ สถำนที่ เรำตถำคตเจ้ำบังเกิดแล้ว คือ ที่ประสูติจำกพระครรภ์ ๑ สถำนที่ เรำตถำคตตรัสรู้อนุตตรสัมมำสัมโพธิญำณ ๑ สถำนที่ เรำตถำคต แสดงธรรมจักร ๑ สถำนที่ เรำตถำคต ปรินิพพำน ๑ สถำนที่ ทั้ ง ๔ ต ำบลนี้ แ ลควรที่ พุ ท ธบริ ษั ท คื อ ภิ ก ษุ ภิ ก ษุ ณี อุบำสก อุบำสิกำ ผู้มีควำมเชื่อ ควำมเลื่อมใส ในพระตถำคตเจ้ำจะดู จะ เห็น และควรจะให้เกิดธรรมสังเวชทั่วกัน อำนนท์ ชนทั้งหลำยเหล่ำใด เหล่ำหนึง่ ได้เทีย่ วไปยังเจดีย์สังเวช นียสถำนเหล่ำนี้ ด้วยควำมเลื่อมใส ชนเหล่ำนั้น ครั้นทำกำลกิริยำลงจัก เข้ำถึงสุคติโลกสวรรค์” อำจำรย์ บัญชำ บูรณสิงห์ ประธำนกรรมกำรบริษัท SANPRASA อำจำรย์พิเศษ ภำควิชำสถำปัตยกรรมศำสตร์ คณะเทคโนโลยี อุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยรำชภัฎพระนคร อำจำรย์พิเศษ ภำควิชำสถำปัตยกรรมศำสตร์ คณะสถำปัตยกรรมสำ สตร์ สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง


คำนำ Pocket Book เล่มนี้ มีภำพและสถำนที่จริง โดยส่งเสริมให้ รู้จักสถำนที่สำคัญต่ำงๆ ทำงพุทธศำสนำ เพื่อเชื่อมโยงควำมรู้ในกำร ปฏิบัติธรรมโดยกำรบรรพชำเป็นสำมเณร และบูรณำกำรควำมรู้จำก กำรปฏิบัติธรรม ณ สังเวชนียสถำน ประเทศอินเดีย มำแสดงเป็นสื่อ ประกอบควำมรู้ในรูปแบบ Pocket Book เพื่อเผยแพร่และประยุกต์ใช้ เป็นเอกสำรต้นแบบให้แก่เยำวชนหันมำสนใจในพุทธศำสนำและให้ผู้อ่ำน เกิดควำมสนใจและศรัทธำในพุทธศำสนำมำกยิ่งขึ้น และผู้อ่ำนที่ยังไม่มี โอกำสได้ไป เรำได้ถ่ำยรูปสถำนที่จริงมำให้แล้วใน Pocket Book เล่มนี้ หวั ง ว่ ำ จะเกิ ด ควำมสนใจแก่ ผู้ อ่ ำ น และมี ค วำมเชื่ อ และศรั ท ธำใน พระพุทธศำสนำมำกขึ้น ผมหวั ง ว่ ำ ผู้ ที่ อ่ ำ นแล้ ว จะเกิ ด ควำมศรั ท ธำและควำมเชื่ อ ใน พระพุทธศำสนำมำกขึ้น ณพัทร สืบศิริ


สำรบัญ คำนำ แผนที่กำรเดินทำง

1

ข้อปฏิบัติที่อินเดีย

3

กำรเตรียมตัวก่อนไป

5

กำรเดินทำง ๑ ณ กรุงเดลลี เมืองหลวงของอินเดีย

7

๒ รำชคฤห์ – นำลันทำ

15

๓ บรรพชำสำมเณร

25

๔ เขำดงคสิริ – พุทธคยำ

33

๕ พุทธคยำ – พำรำณสี

39

๖ ริมฝั่งพำรำณสี – ลุมพินี

49

๗ ลุมพินี – กุสินำรำ

55

๘ กุสินำรำ – เวสำลี – ปัตนะ

61

๙ กลับกรุง

67

บทส่งท้ำย

71

บรรณำนุกรม

72


1

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๙ ตามรอยพุทธภูมิ

2


3

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


ข้อปฏิบัติที่อินเดีย 1. อิ น เดี ย เป็ น ประเทศที่ ก ว้ า งมาก ใหญ่ เ ป็ น อั น ดั บ 3 ของโลก เพราะฉะนั้นความเจริญจากเมืองหลวงจะเข้าถึงไม่ได้ง่าย ในบางพื้นที่ ยัง ห่า งไกลความเจริ ญอยู่ม าก เพราะฉะนั้ นควรระวั งเรื่ องความ สกปรกควรมีกระดาษทิชชูและผ้าเปียกแอลกอฮอล์ไปด้วย 2. รองเท้า ควรเอารองเท้าที่ใส่สบายไปใส่ และความสวมถุงเท้าด้วยเพื่อ ความสะอาด ควรหาถุงไปใส่เวลาที่เข้าสถานที่ต่างๆ เพราะอาจจะถูก ขโมยได้ 3. ระบบไฟฟ้าที่อินเดีย ใช้ปลั๊กไฟ 220 V. ปลั๊กไฟแบบรูกลม 3 ขา Trib box ที่โรงแรมมักจะมีเครื่องอานวยความสะดวกสามารถหา สิ่งของที่ต้องการและความช่วยเหลือได้ 4. อินเดียใช้เงินรูปี ไม่ควรเก็บเงินไว้ที่ตนเองมากๆ เพราะอาจโดยล้วง หรือขโมยได้ 5. ระวังเรื่องขอทาน ห้ามไปทาร้ายแม้จะราคาญ เพราะกฎระเบียบที่ อินเดียเคร่งครัดมาก 6. พกยาต้านมาลาเรียไปด้วยทุกครั้ง เช่น ยาทากันยุง เพราะที่อินเดีย มียุงที่มีเ ชื้อมาลาเรียอยู่เยอะ รวมไปถึงยากันยุงแบบทั่วไป และที่ สาคัญควรตรวจสุภาพหลังกลับจากการเดินทาง 7. ไฟฉาย เพราะไฟดับในประเทศอินเดียเป็นเรื่องปกติ

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

4


5

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


การเตรียมตัวก่อนไป 1. สาหรับผู้ที่บรรพชา จะต้องมีใจที่ศรัทธาและเชื่อในพระพุทธองค์ มี ความต้องการที่จะไปสักการะสถานที่ที่สาคัญ ครั้งหนึ่งในชีวิต พูด ง่ายๆ คือ ใจของเราต้องมาเป็นอันดับหนึ่ง 2. สาหรับผู้ที่บรรพชาสามเณรต้องฝึกรับประทานอาหารเพียง 2 มื้อ เพราะเมื่อบรรพชาเป็นสามเณรแล้วจะต้องถือศีล 10 ซึ่งหนึ่งในนั้น ห้ามฉันหลังเวลาเที่ยงเป็นต้นไปจนถึงเช้าอีกวันหนึ่ง แต่สามารถดื่ม ได้ แต่ห้ามใช้ฟันเคี้ยว 3. ต้องฝึกความอดทนเพราะเมื่อบรรพชาเป็นสามเณรแล้วต้องอยู่ใน ความสารวม นอบน้อม และเงียบสงบ ไม่วิ่งเล่นหรือทากิจกรรม เหมือนเด็ก ไม่สามารถมีความบันเทิงได้ เช่น ดูทีวี ฟังเพลง และ กิจกรรมอื่นๆ ที่ก่อให้เกิดความสนุก อีกทั้ง การนอน ห้ามนอนบน เตียง สาหรับผู้ที่มาบรรพชาจะต้องฝึกตนเองก่อนให้ได้ เป็นการ ปรับตัว 4. พอเป็นสามเณรแล้ว ก่อนหน้านี้ที่สาคัญเราต้องฝึกลองเริ่มจากศีล 5 ไป ศีล 8 เพราะเราจะต้องปรับตัวและเคารพตามกฏระเบียบของ สงฆ์ เพราะสามเณรหรื อ พระสงฆ์ ถื อ ว่ า มี ค วามส าคั ญ กว่ า คน ธรรมดาทั่วไปเพราะถือศีลมากกว่า

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

6


7

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๑ ณ กรุงเดลลี เมืองหลวงของอินเดีย ดินแดนอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่ของโลก

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

8


9

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


การเดินทางวันที่ ๑ กรุงเทพฯ > กรุงเดลลี > พุทธคยา ตอนตื่นเรามาถึงที่สนามบิน สุวรรณภูมิเช้ามากประมาณ 7:00 น. แล้ ว เราก็ เ ดิ น ทางมาถึ ง สนามบิ น กรุ ง เดลลี การตรวจคนเข้ า เมื อ งของที่ นี่ เข้มมาก เลยทาให้ช้า อาจเจอปัญหา เล็ ก ๆ น้ อ ยๆ บ้ า งแต่ ก็ ผ่ า นพ้ น มาได้ แล้วเราก็เดินทางจากเดลลีซึ่งเป็นเมือง หลวงสู่เมืองพุทธคยา

เมืองพุทธคยา เมืองพุทธคยา สถานที่ตรัส รู้ อ นุ ต ตรสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณของ พระพุทธเจ้า ที่ตั้ง : อยู่ใ นเขตตาบล อุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ที่เมือง ราชคฤห์ เป็นราชธานี

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

10


มหาสถูปพุทธคยา สถานที่สาคัญในเมืองพุทธคยา : มหาสถูปพุทธคยา สูง ๕๑ ม. วัดรอบฐาน ๕๘.๗๖ ม. สร้างขึ้นใน สมัยพระเจ้าหุวิธกะ ระหว่าง ค.ศ. ๖๗๔-๖๙๔ เป็นการเสริมสร้าง ส่วนผู้ ที่สร้างจริง มีการสันนิษฐานว่าเป็นพระเจ้าอโศกมหาราช แต่ขนาดเล็ก กว่านี้และมีพระเจ้าหุวิธกะมาต่อเติม และที่สาคัญพระวิหารนี้ตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันออกของต้นโพธิ์ในปัจจุบันที่พระองค์ได้ตรัสรู้ ณ ใต้ต้นโพธิ์แห่งนี้

11

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


ความรู้สึกของวันแรกพอลงมาและเดินทางต่อโดยรถทัวร์ ระหว่างทางเกิด อุบั ติเ หตุ บ่อ ยมาก ถนนเล็ ก เกิ ดอุ บั ติเ หตุ คนมามุง ดูพ วกเราเยอะมาก ระหว่างทางจากการสังเกตพบบ้านเรือนทาด้วยดิน

พระพุทธเมตตา

สร้างด้วยหิ นเกรนิต ในสมัย ปาละ

อายุมากกว่า ๑,๔oo ปีเศษ โห! ผมคิดว่ายังดูดีใหม่ๆ อยู่เลย

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

12


ต้นศรีมหาโพธิ์ (ต้นที่ ๔)

13

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


พระศรีมหาโพธิ์ รู้หรือไม่ครับปัจจุบันนี้คือต้นที่ ๔ แล้ว เพราะมีคนมาลอบ ทาลายตั้งแต่ต้นแรก แต่ก็มีการป้องกันและคืนชีพ บ้าง งงเลยสิคืนชีพ เพื่ อให้แ ตกหน่อ และต้ นที่แตกหน่อขึ้น มาก็คือ ต้นที่ ๒ จนถึง ตอนนี้อ ยู่ ในช่วงของพระเจ้าศศางกากษัตริย์ชาวฮินดู ได้ มีคาสั่งให้ตัดต้นโพธิ์และ ทาลายวัดวาอาราม พระเจ้า”ศศางกา”เกรงว่าต้นโพธิ์จะแตกหน่อจึงให้ฟัน ต้นโพธิ์ลงก่อน แล้วขุดรากขึ้นทิ้งเอาไฟเผาแล้วราดด้วยน้าอ้อย แต่เผอิญ เหลือปลายรากแก้วอยู่ แต่แล้วพระเจ้า”ศศางกา”ก็สิ้นพระชนม์อย่างอนาถ ต้นที่ ๒ รวมอายุได้ ๘๗๑ ปี ต้นที่ ๓ พระเจ้าปูรณวรมัน หลังจากการ ทาลายของพระเจ้า”ศศางกา”ก็ได้มาพบ แล้วเอาน้านมมาราดรากที่เหลือยู่ และได้สร้างกาแพงป้องกันอันตราย พระเจ้าปูรณวรมันเป็นกษัตริย์องค์ สุดท้ายในราชวงศ์ของพระเจ้าอโศก แล้วก็สามารถกู้คืนชีพต้นโพธิ์ขึ้นมาได้ อีก จากนั้นก็ไม่มีใครทาลาย และต้นที่ ๓ นี้ก็หมดอายุขัยเองโดยธรรมชาติ มีอายุถึง ๑,๒๕๘ ปี ต้นที่ ๔ รัฐบาลอังกฤษได้เข้ามาให้นายพลเซอร์ อเล็ก ซานเดอร์ คันนิ่งแฮม บูรณะสถานที่ จึงได้ปลูกต้นโพธ์ขึ้นมาใหม่ ณ ที่ เดิม โดยพบหน่อโพธิ์ ๒ หน่อ ขนาด ๖ และ ๔ นิ้ว โดยนาต้นที่ ๖ นิ้ว ปลูกที่เดิม ส่วนต้น ๔ นิ้ว แยกไปปลูกทางทิศเหนือห่างจากเดิม ๒๕o เมตร ซึ่งปัจจุบันต้นโพธิ์มีอายุ ๑๓๔ ปี

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

14


15

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๒ ราชคฤห์ - นาลันทา

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

16


17

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


การเดินทางวันที่ 2 พุทธคยา > กรุงราชคฤห์ > นาลันทา > พุทธคยา เริ่มเดินทางสู่กรุงราชคฤห์ เมืองหลวงแคว้นมคธในอดีต กรุงราชคฤห์ : สถานที่แสดงโอวาทปาติโมกข์ เมื องหลวงแคว้น มคธมีพระเจ้าพิมพิสาร เป็นผู้ปกครองนคร ความสาคัญของเมืองนี้ คือ เป็นเมืองที่พระเจ้าพิมพิสาร ได้ถวายพระเวฬุวันราชอุทยานเป็นวัดแห่งแรก ในศาสนาพุทธ

วัดเวฬุวัน วัดเวฬุวัน เมื่อก่อนเป็นราช อุทยานห่างจากประตูเมือง ๒๕ เส้น มี ต้นไผ่สวยงามมากน่าชม หรือเรียกอีก ชื่อว่า วัดป่าไผ่ เป็นต้นกาเนิดของวัด และพระสงฆ์ ๑,๒๕o รูป มาประชุม ณ ที่แห่งนี้ ในวันเพ็ญเดือนมาฆะ เรา เลยเรียกวันนี้ว่า วันมาฆะบูชา

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

18


เทือกเขาคิชกูฏ

เทือกเขาคิชกูฏ เราได้ขึ้นไปบนยอดเขาทิวทัศน์สวยงามมากครับ มองเห็นได้ไกลมาก เป็นกุฏิของพระพุทธเจ้าขึ้นเหนื่อยมากครับแต่ก็คุ้มค่า กับความสวย เดินกันขาลากเลย เงาของภูเขาทอดลงมายังทางเดินใหญ่ มากทาให้เย็นสบาย มีลักษณะเหมือนกแร้ง เลยเรียกว่า คิชกูฏ ซึ่งแปลว่า นกแร้ง กว่าผมจะมองออก แต่พอเห็นแล้วเหมือนมากๆ ครับ ที่แห่งนี้สงบ นิ่งมากคุ้มค่าสุดๆ พวกเราได้สวดมนต์ข้างบนนั้นด้วย เป็นสถานที่ที่มีพลัง มากๆ มีถ้าของพระโมคศิลานะผู้เลิศทางอิทธิสุทธิ และสถานที่นี้มีความเชื่อ เรื่องการอธิษฐานแล้วจะเห็นเปรต ที่แห่งนี้เ ป็นที่แก้ข้อสงสัยว่าเปรตมีจริง หรือไม่

19

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


วัดอัมพวัน วัดอัมพวัน เป็นซากอารามของหมอชีวกโกมารภัจจ์ เป็นสวน มะม่วง ภายในคราวที่พระเทวทัตประทุษร้ายพระองค์ หมอชีวกโกมารภัจจ์ ถวายการรักษา ณ อารามแห่งนี้

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

20


มหาวิ ท ยาลั ย นาลั น ทา ตอนนี้ เ ป็ น ซากมหาวิ ท ยาลั ย พุ ท ธ ศาสนาที่โด่งดังละรุ่งเรืองที่สุดในโลก กว้างใหญ่มากๆ ครับ แต่ถูกทาลาย โดยชาวมุสลิมมาฆ่าอาจารย์และพระในสมัยนั้น ซึ่งยังเป็นพระสงฆ์อยู่ และ เผาทาให้เห็นเศษซากที่เหลืออยู่ เสียดายมากๆ ครับ แต่ละที่อลังการมาก เหลื อ แต่ เ พี ย งซากก็ ม หั ศ จรรย์ แ ล้ ว และของจริ ง จะยิ่ ง ใหญ่ ข นาดไหน เสียดายนะครับที่ถูกเผาทาลาย ทาไมต้องเผาและใช้ความรุนแรงกันขนาดนี้

นาลันทา : มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งแรก

21

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๙ ตามรอยพุทธภูมิ

22


หลวงพ่อพระองค์ดา หลวงพ่อพระองค์ดา มีความเชื่อว่าน้ามันที่ออกมาจากตัวท่าน นั้นออกมาได้อย่างไร น้ามันออกมาหมดเลย แบบว่าค่อยๆออก เราเช็ค น้ามันออกมา สักพั กก็มัน อีก อยู่ที่ค วามเชื่อนะครับของแต่ละคน และ น้ามันนี้เขาจะเอามาบูขาเช็คหน้าและทาเป็นของติดตัวบ้างเพื่อความเป็นสิริ มงคลแก่ตนเอง

23

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


ตโปธาร บ่อน้าร้อนที่แวดล้อมด้วยมณเทียรน้อยใหญ่ ชาวฮินดู เข้ามาดูแล สมัยชมพูทวีปถือว่าเป็นบ่อน้าศักดิ์สิทธิ์ จากการที่ผมได้ไปมา เขาบอกว่ามีบ่อหนึ่งไว้ให้เจ้านายพระมหากษัตริย์เล่น จากที่ผมเห็นอันนี้ แตกต่างจากอันอื่นมากๆ สวยเว่อร์เลย ส่วนของคนธรรมดาก็เรียงลาดับ พราหมณ์ แพทย์ สู ตร คนจั ณฑลไม่มี สิท ธิ์ใ ช้ ผมก็เ ดิน จากบนๆ ซึ่ ง พราหมณ์ได้ใช้ก่อนจากนั้นน้าก็ไหลลงไปเรื่อยๆ แต่ห้ามคนวรรณะต่าๆไปใช้ อาบในที่ของคนวรรณะสูง เขาถือเรื่องวรรณะมาก ข้างบนน้าสะอาดใส มาก ลงมาเรื่อยๆก็ปกติดีครับ

ตโปธาร

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

24


25

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๓ บรรพชาสามเณร

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

26


อนิมิสเจดีย์

27

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


วันที่ ๓ ทาการบรรพชาสามเณร > ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ > พุทธคยา

หลังจากบรรพชาสามเณร

อนิมิสเจดีย์ อนิมิสเจดีย์ อยู่ ห่ า ง จ า ก รั ต น บั ง ลั ง ก์ ประมาณ ๖๙ เมตร

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

28


รัตนจงกรมเจดีย์ สถานที่เสวยวิมุตติสุข

สระมุจลินทร์ สระมุจลินทร์ : อาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของต้นศรีมหา โพธิ์ประมาณ ๒ กิโลเมตร ห่างจากแม่น้าเนรัญชราครึ่งกิโลเมตร อยู่ใกล้ กับหมู่บ้านมุจลินทร์ สระแห่งนี้จะมีต้นตาลใหญ่อยู่ ๗-๘ ต้นล้อมรอบอยู่ พระพุทธเจ้าประทับ ณ ที่แห่งนี้ ๗ วัน และเป็นสัปดาห์ที่ ๖ หลังจากที่ พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ สระมุจลินทร์ มีประวัติเกี่ยวกับพญานาคที่อาศัยอยู่ในสระแห่ง นี้ ขณะที่พระองค์ทรงประทับนั้นเกิดฝนนอกฤดูกาล พญานาคมุจลินทร์ ได้มาขดล้อมรอบพระพุทธองค์ไว้ ๗ รอบเพื่อป้องกัน 29

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


พระพุทธเมตตา พระพุทธรูปปางมารวิชัย ประดิษฐานใน มหาสถูปพุทธคยา

ถ้าที่พ ระโพธิสัตว์อาศัยบาเพ็ ญทุกกร กริ ย า เป็ น ถ้ า เล็ ก ๆ แคบมากๆ ให้ ความรู้สึกเป็นถ้ามืด

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

30


บ้านนางสุชาดา บ้านนางสุชาดา เป็น สถานที่ที่พ ระเจ้าอโศกมาสร้าง กาแพงโดยรอบอีก ๑ ชั้น เพื่อ การป้อ งกัน นางสุ ชาดาถวาย ข้าวมธุปายาส ซึ่งเป็นอาหารมื้อ ก่อนการตรัสรู้

31

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


ท่าสุปติฎฐิตะ ท่าสุปติฎฐิตะ สถานที่ ที่พ ระพุ ทธองค์ ลอยถาดทองค า อธิษฐานการตรัสรู้ (โดยถาด ลอยปกติ ต ามน้ า แต่ เ มื่ อ ทรง อธิษฐานถาดลอยทวนกระแสน้า)

แม่น้าเนรัญชรา

เป็นแม่น้าที่พระพุทธเจ้าทรงเสด็จข้ามไปตรัสรู้

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

32


33

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๔ เขาดงคสิริ – พุทธคยา

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

34


วันที่ ๔ เขาดงคสิริ > วัดไทยพุทธคยา

พระโพธิสัตว์เสด็จจากแคว้นมคธ ได้ศึกษา ณ สานัก อาฬารดาบสและอุทกดาบส บรรลุสมาบัติ ๘ วิวสวยงามมากๆครับ

35

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


เขาดงคสิริ

ถ้าดงคสิริ เป็นถ้าหินแข็งมีขนาดประมาณ ๙ ตาราง เมตร (คงเป็นขนาดเดียวกันกับสมัยที่พระโพธิสัตว์ทรงบาเพ็ ญ เพียร) ต้องเดินขึ้นเชิงเขาดงคสิริขึ้นไป มีวัดธิเบตตั้งอยู่ใ กล้ถ้า เห็ น ธงหลากสี ข องชาวธิ เ บตผู ก ติ ด กั บ เชื อ กเป็ น สายยาวระโยง ระยาง ทั้งยังเป็นหน้าผาชันตัดตรงลงมา มีช่องประตูพอให้คนเข้า ไปได้ เพราะเหตุที่ถ้านี้เป็นถ้าจากผนังเขา ไม่ใช่ถ้าที่อยู่ติดดิน พอ นานปีก็มักมีดินพอกพูนจนพื้นถ้าตื้นเขินทาให้ถ้ามีขนาดเล็กลง

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

36


37

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


วัดไทยพุทธคยา

วัดไทยพุทธคยา

นับเป็นอาวาสที่ เป็นต้นแบบของวัดไทยในต่างแดนเพราะมี องค์ประกอบของความเป็นวัดในพระพุทธศาสนา โดยสมบูรณ์ และเพียบพร้อมด้วยศิลปกรรม สถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ไทย

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

38


39

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๕ พุทธคยา - พาราณสี เมืองพาราณสี

สถานที่แสดงปฐมเทศนา เมืองหลวงของแคว้นกาสีแต่สมัยพุทธกาล

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

40


วันที่ ๕ พาราณสี > ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน > เจาคันธีสถูป > ธัมเมกขะสถูป > เสาศิลาจารึก เมืองพาราณสี สถานที่แห่งปฐมเทศนาตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้าคงคา อันศัก ดิ์สิทธิ์ เ ป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสีราช ห่างจากแม่น้าคงคา ๘ กิโลเมตร มีกษัตริย์ชื่อพรหมทัต เป็นผู้ทาให้เมืองพาราณสีมีความรุ่งเรือง บ้านเมืองมีความเก่าแก่มาก มีอายุหลายพันปี มีประวัติความเชื่อว่า มนุษย์ คนแรกนั้นอยู่ที่เมืองพาราณสี เป็นชาวอินเดีย และจากที่ผมได้ฟังจากการ บรรยายจากพระอาจารย์ เรื่องประวัติความเป็นมาของเมืองว่า พาราณ สีมาจากวานร และสีสะรามกัน เป็นวานรสีสะ ผู้นาวานรมีบริวาร ๕o ตัว กลายเป็นตานานเรื่องลิงขาวลิงดาและแสดงความเป็นผู้นาเลยเล่าให้ พระเจ้า กรุงพาราณสีฟัง แล้ วนาส่วนซากของวานร ก็คือศีรษะมาฝั งที่ทางสาม แพร่งจึงได้ชื่อเมืองว่า วาราณสี หรืออีกตานานบอกว่าวาราณสีมาจากคา ว่า วารุณ กับ อสี ซึ่งเป็นแม่น้าที่ไหลผ่านเมืองนี้ก่อนจะไหลสู่แม่น้าคงคา สถานที่ตั้งของเมืองพาราณสีอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนื อของเมืองคยา ตัวเมืองอยู่ด้านฝั่งตะวันตกของแม่น้าคงคา พาราณสีเป็นชื่อเมืองที่อมตะ ยังไม่เคยเปลี่ยนชื่อเลยทั้งที่กาลเวลาและยุคสมัย ซึ่งมีความพยายามจะให้ เปลี่ยนอยู่หลายครั้งแล้ว

41

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


เมืองพาราณสี

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

42


ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ป่ า อิ สิ ป ตนมฤคทายวั น พระพุ ท ธองค์ ท รงแสดงปฐมเทศนา โปรดปัญจวัคคีย์ เมื่อวันเพ็ญอาสาฬหมาส และเกิดพระรั ตนตรัยขึ้นเป็น ครั้ง แรกของโลก เป็ นสถานที่ที่ มีฤ าษีม าชุ มนุม อยู่ มากและเป็นเขตราช อุทยานที่พระเจ้ากาสิราชประทานให้และประกาศเป็นเขตอภัยทานแก่ฝูงสัตว์ เป็ น ที่ แ วะพั ก ของฤาษี ทั้ ง หลายที่ ไ ด้ ฌ านและเสื่ อ มฌาน ป่ า อิ สิ ป ตน มฤคทายวัน มีประวัติว่า มีเศรษฐีใจบุญ นันทิยมานพ ผู้มี ศรัทธาแรง กล้าในพุทธศาสนา ได้มอบถวายสถานที่แห่งนี้แก่พระพุทธองค์

43

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


ณ สถานที่แห่งนี้กลายเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาแห่งหนึ่ง เพราะเวลาผ่านไปศาสนาพุทธก็ถูกจ้องทาลายโดยศาสนาอื่น คนรุ่นหลัง ต่อมาเลยสร้างวัตถุห่อหุ้มทาให้อยู่ขึ้นมาก เป็นสถานที่สาคัญซึ่ งทรงแสดง ปฐมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน มีอีกชื่อว่า สารนาภ เป็นสถานที่ที่คาว่า สังฆะรัตนะเกิดขึ้นสมบูรณครั้งแรกในโลก วันที่มีพระ รัตนตรัยครบ ๓ ประการคือ วันอาษาฬหบูชา ขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๘ เมื่อ พระองค์ทรงแสดงธรรมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระธรรมเทศนากั ณฑ์ แรกแก่ปัญจวัคคีย์

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

44


เจาคันธีสถูป เจาคั น ธี ส ถู ป สถานที่ ที่ พระพุทธเจ้าพบปัญจวัคคีย์ก่อนสาเร็จ พระอรหันต์

พิพิธภัณฑ์ เก็บวัตถุโบราณ ถ้าเสียหายคงจะรอดยาก เพราะ เขาอนุรักษ์ แต่ละชิ้นอายุมากนับพันปี อย่างน้อยก็ ๕oo ปีขึ้นไป ผมว่า วัตถุโบราณหลายๆ ชิ้น คล้ายกับวัตถุโบราณของประเทศเพื่อนบ้านของ เราคงจะอารยธรรมเดียวกัน

45

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


ธัมเมกขะสถูป ธัมเมกขะสถูป สถูปโบราณทรงบาตรคว่าก่อด้วยหินทราย สถูป สร้างอุทศแด่ผู้เห็นธรรม ( ธัมเมกข = ธัมมะ + อิกขะ : อักขะ แปลว่า เห็น ธัมมะแปลว่า ธรรม ) หมายความว่าสถานที่แสดงธรรมที่นาพาให้ถึง ความหลุดพ้น มียอดทรงกรวยสูงประมาณ ๘o ฟุต วัดโดยประมาณ ๑๒o ฟุต สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชย์ สร้างโดยพระเจ้าอโศก สูง ๓๓ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง ๒๘ เมตร สถานที่นี้เป็นอุทยานกว้าง ใหญ่ มีสวนกวางขนาดย่อม และสวนสัตว์อีกด้วย โดยเฉพาะซึ่งนกยูง เป็ น การสร้ า งบรรยากาศให้ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ พุ ท ธกาล สถานที่ แ สดง ธรรมจักรกัปวัตนสูตร เป็นบริเวณที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงอิทธาภินิหาร โปรดพระยสกุลบุตร เป็นบุตรของเศรษฐีเมืองพาราณสี และยังเป็นสถานที่ พระพุทธองค์ทรงประชุมพุทธสาวก ๖o องค์แรก ส่งออกประกาศ พระพุทธศาสนา นับเป็นพระธรรมทูตชุดแรก พระองค์ตรั สว่า “ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเที่ยวไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่มหาชน เพื่อ อนุเคราะห์โลก อย่าไปทางเดียวกัน ๒ รูป จงแสดงธรรมที่งามในเบื้องต้น ในท่ามกลางและในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ ให้ครบบริบูรณ์ โดย สิ้นเชิงเถิ ด ” จากพุ ทธโอวาทครั้งนั้นจึง ทาให้ศาสนาพุ ทธยั่ง ยืนมากว่ า ๒๕๕๖ ปี น่าอัศจรรย์จริงๆ ครับ

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

46


ธัมเมกขะสถูปมีความสาคัญดังนี้ 1. เชื่อกันว่า พระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติที่นี่ 2. สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติที่นี่ 3. พระพุทธองค์ทรงตกลงกับพระศรีอริยเมตไตรยที่สถูปธรรมมุข เพื่อเป็นพระพุทธเจ้าองค์ต่อไปในอนาคต

47

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


เสาศิลาจารึก

ศิลาจารึก พระเจ้าอโศกมหาราชย์ ที่เ ก็บรวบรวมเก็บรักษา พระพุทธรูป และวัตถุโบราณที่ขุดได้บริเวณสารนาภ ค่าเข้าชม ๑oo รูปี ของหายากโบราณมากครับ ป้องกันอย่างดี เสาต้นเคลือบด้วยน้ายาพิเศษ เป็นสิ งห์อิ นเดีย เด่น สง่า เกิด วิกฤตครั้ง ใหญ่ ศิลาถูกท าลายหักเป็น ๔ ท่อน แล้วเจ้าหน้าที่นามารวมเป็น ๕ แท่ง และพบอักษรพราหมณ์เป็น ภาษาบาหลี ซึ่งมีคาแปลเป็นคาเตือนว่า ให้ภิกษุและภิกษุณีที่จาพรรษาอยู่ ณ วัดแห่งนี้ ให้ยึดมั่นในพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัดครับ

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

48


49

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๖ ริมฝั่งพาราณสี – ลุมพินี

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

50


วันที่ ๖ แม่น้าคงคา > ลุมพินี

ล่องเรือแม่น้าคงคา สายธารอันศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู เสมือน คัมภีร์ห่อหุ้มชีวิตของชาวภาระตะ มีประวัติและวัฒนธรรมอันยาวนานมา กว่า ๓ooo ปี มีพิธีศพล้างบาป อาบน้าล้างบาป แม่น้าคงคามีตานานว่า เป็นลูกสาวคนโตของท้าวหิมวัต เจ้าป่าหิมพานต์ กับนางเมนาลูกสาวคน รอง ชื่อ อุมา เป็นภรรยาของพระศิวะ มีนิยายเล่าเกี่ยวกับแม่น้าต่างๆ มากมาย บ้างก็ว่า เจ้าแม่คงคาเป็นภรรยาของพระกฤษณะ ต้นน้าคงคา เกิดบนเทือกเขาหิมาลัย สูงกว่าระดั บน้าทะเล ๑๓,๘oo ฟุต ณ บริเวณที่ เรียกว่า ภาคีรส ในคัมภีร์ปูรระกล่าวว่า น้าพระคงคาไหลออกจากโคมุ ขี ถือเป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นบันไดขั้นแรกที่พระศิวะลงจากบัลลังค์บนยอดเขาไกร ลาศ และไหลลงตามช่องเขาลงสู่ที่ลาดสูงแห่งหนึ่งเรียกว่า คงโคตรี

51

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


ล่องเรือริมแม่นาคงคา แม่น้าคงคาตรงเมืองพาราณสีนี้ถือว่าแปลก คือ ไหลกลับขึ้นไป ทางทิศเหนือ นับว่าแปลกกว่าที่อื่นๆ เป็น ความเชื่อว่า เป็นที่ที่ ยมโลก มนุสสโลก เทวโลกมาพบกัน ถ้ามีคนมาอดอาหาร ๑ เดือน และน้าที่แม่น้า คงคานั้นจะเห็นเทวดา คงคาแปลตามอักษรว่า ผู้ไปเร็วสายน้ายาว ๑,๕๕๑ ไมล์ มีพิธีต่างๆมากมาย ผมได้ไปล่องเรือ ก็งงว่าน้านี้สกปรกหรือสะอาด แต่เห็นว่าบางทีสะอาดและบางที่สกปรก เพราะเอาศพลงแม่น้าจะสะอาดได้ ยังไง เห็นซากวัว แต่กลางแม่น้าจะลึกและอีกฝั่งของแม่น้ามีความเชื่อว่า เป็นดินแดนคนตาย เวลาเผาศพจะมีคนเอาศพไปไว้ ณ ที่ฝั่งตรงข้าม เป็น ดินแดนแห่งคนตาย มีพวกเปรตและสัมพเวสีต่างๆ มีตานานเล่าว่า คนที่ เคยไปถึงฝั่งนั้นและไม่เคยกลับมา เมื่อก่อนเป็นป่า แต่ตอนนี้เป็นแค่ที่ราบดู สวยจริงๆ

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

52


เมืองลุมพินี สถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ ตั้งอยู่ระหว่าง กรุงกบิลพัสดุ์และกรุงเทวหะ ที่แห่งนี้เป็นราชอุทยาน สวนผสมป่า พระ โพธิสัตว์ประสูติ ณ ลุมพินีวัน พระบรมราชชนจะกลับเมื่องเพื่อให้ปสูติ กาลแก่พระโอรส แต่ทนไม่ไหว เมื่อถึงสวนลุมพินี พระโพธิสัตว์ประสูติด้วย ลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ แล้วพระองค์ทรงตรัสว่า อคฺโคหมสฺมิ โลกสฺส เชฏโฐหมสฺ มิ โลกสฺส เสฏโฐหมสฺมิ โลกสฺส อยนนฺติมา ชาติ นตฺ ถิทานิ ปุน พฺ ภโว. เราเป็นผู้เลิสที่สุดในโลก เราเป็นผู้เจริญที่สุดใน โลก เราเป็นผู้ประเสริฐที่สุดในโลก ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย บัดนี้เราจะไม่เกิด อีก เป็นสถานที่แห่งที่ ๑ เป็นสถานที่ประสูติของพระโพธิสัตว์ ปัจจุบัน ตั้ ง อยู่ ใ น ต าบลมิ น เค ประเทศเนปาล อยู่ ห่ า งจากกรุ ง กบิ ล พั ส ดุ์ ๒๔ กิโลเมตร อยู่ใกล้ชายแดนตอนเหนือของอินเดีย

เมืองลุมพินี ใช้เวลาเดินทางนานมากๆ ครับ เพื่อเข้าสู่เนปาล คล้ายกับอินเดีย ไฟก็ดับเหมือนกัน กว่าจะผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองแต่ละ ครั้งลาบากมากใช้เวลานานมาก แต่ผมว่าสภาพคนที่เนปาลดีกว่านิดเดี ยว ระหว่างทางเป็นเกษตรกรรม ชาวอินเดียและเนปาลส่วนมากยังถืออาชีพ เกษตรกรเนหลัก ความเจริญยังเข้าไม่ถึง แต่ที่นี่สวยและสงบมากกว่าครับ ขอทานที่อินเดียมีมากมายมหาศาลแต่ที่เนปาลมีน้อยเงียบสงบดี

53

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


เมืองลุมพินี

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

54


55

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๗ ลุมพินี – กุสินารา

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

56


วันที่ ๗ ลุมพินี > กุสินารา

สถานที่ประสูติ วันศุกร์ เพ็ญเดือน ๘ ปีจอ ๘o ปีก่อน พุทธศักราช สวนลุมพินีคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า หลังจาก สงครามเกิ ด กาแบ่ ง เขตแดนท าให้ ณ ตอนนี้ สวนลุ ม พิ นี อ ยู่ ใ น ประเทศเนปาล สวนลุมพินีมีโขดเขาล้อมรอบ ประดับด้วยหมู่ไม้นานา พันธุ์ สระน้า และมีที่ที่มีรอยพระพุทธบาตร อยู่ทาเป็นอาคารปิดให้ดู ครั้งแรก พระเจ้าอโศกมหาราชย์ทรงสร้างเป็นอิฐเพื่อคอยปกป้อง กาลเวลาผ่ า นไปเลยบู ร ณะสร้ า งเพื่ อ เป็ น อาคารโอบล้ อ มอย่ า ง ครอบคลุมและพบต้นเสาจะอยู่ข้างๆ

57

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


สระโบกขรณี สระโบกขรณี พระนางสิ ริ มหามายาสรงสมาน สระน้าเก่าแก่สุด ของลุมพินี เป็นสระน้าขนาดใหญ่ซึ่งมี สัตว์น้าอาศัยอยู่ด้วยมาก

เสาอโศก เสาอโศก ข้ อ ความจารึ ก เป็ น หลั ก ฐานว่ า นี่ คื อ สถานที่ ป ระสู ติ ข อง พระพุทธเจ้า แล้วพระเจ้าอโศกเสด็จมา เพื่อนมัสการในปีที่ ๒o แห่งรัชกาลของ พระองค์ ในพุทธศตวรรษที่ ๓ เป็นเสา อโศกของจริงที่ยังคงสภาพอยู่ และพระ เจ้าอโศกสร้างเสานี้ขึ้นเพื่อแสดงว่าที่เป็น สถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

58


วัดไทยกุสินารา วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ สร้างเมื่อปี ๒๕๓๗ ด้วยสถาปัตยกรรมไทย ศิ ล ปะแบบไทย พร้ อ มทั้ ง อุ โ บสถ หอระฆั ง พระมณฑป พระบรม สารีริกธาตุ โดยเฉพาะมณฑปพระบรมสารีริกธาตุ ยกฐานสูง มีมณฑป ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมชั้ นที่สองมีประตูด้านละ ๒ ซุ้ม ประกอบด้วยเจดีย์ หลัก ชั้นสูงสุดเป็นเจดีย์ครอบ มณฑปสวยงามมาก เป็นจุดเด่นของวัด และคณะพระอาจารย์ของผมก็ได้พักกันที่แห่งนี้ ตอนกลางคืนหนาวมาก วัด ใหญ่ และสวยงามมาก มี กรดปัก ไว้ อ ยู่ข้ า งนอก คืน แรกเหล่ า บรรพ สามเณรจะนอนและปฏิบัติธรรมข้างนอก แต่อากาศหนาวมากครับลองซัก พักจึงต้องอพยพมาปฏิบัติธรรมกลับมานอนในห้อง

59

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๙ ตามรอยพุทธภูมิ

60


๘ กุสินารา – เวสาลี - ปัตนะ ดินแดนพุทธปรินิพพานขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

61

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


วันที่ 8 กุสินารา > เวสาลี > ปัตนะ

ต้นสาระ หรือต้นรังปลูกไว้ เพื่อเป็นอนุสติ ถึ ง พระองค์ สถานที่ ที่ พ ระองค์ ทรงเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

62


มหาสถูปปรินิพพาน มหาสถูปปรินิพพาน ณ สาลวโนทยาน มีต้นสาละคู่ที่พระพุทธองค์ ทรงเลือกที่แห่งนี้เป็นที่ป รินิพพาน และพระอานนท์ทรงแนะนาเมืองใหญ่ๆ แต่ท่านเลือกเมืองเล็กๆ เพราะ สมัยอดีตเป็นเมืองการค้าที่สาคัญ เพราะ ถ้าเสด็จปรินิพพานเมืองใหญ่อาจเกิดการแย่งชิง พระบรมสารีริกธาตุได้ พระพุทธองค์เลยเลือกแคว้นเล็กๆ และสงบ สาเหตุมี ๓ ประการคือ ๑. เป็นการเหมาะสมที่จะประกาศมหาสุทัสสนสูตร ๒. พระสุภัททปัจฉิมสาวก กาลังอยู่ที่กุสินารา ๓. โทณพราหมณ์เป็นผู้แก้ปัญหาแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ

63

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


พระพุทธรูปปางปรินิพพาน พระพุทธรูปปางปรินิพพาน มีขนาดความยาว๒๓ ฟุต ๔ นิ้ว กว้าง ๕ ฟุต ๖ นิ้ว องค์พระยาว ๑o ฟุต สูง ๒ ฟุต ๑ นิ้ว เสด็จดับ ขันธ์ปรินิพพาน อายุกว่า ๑,๙oo ปี

มงกุฎพันธนเจดีย์ มงกุฎพันธนเจดีย์ มีชื่อท้องถิ่นว่า รามภาร์ ( Rambhar-ka-tila) เป็นที่ที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ โดยตั้งเชิงตะกอนขึ้นในบริเวณมกุฏ พันธนเจดีย์ เมื่อถวายพระเพลิงแล้วจึงก่อพระสถูป ณ ที่ถวายพระเพลิง นั้น กลางทาง ๔ แพร่ง ซึ่งปัจจุบันเป็นซากเจดีย์ทรงกลมครับ

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

64


เมืองเวสาลี เมืองเวสาลี นครหลวงแห่งแคว้นวัชชีแห่งราชวงศ์ลิจฉวี ที่มี อานาจและอิทธิพลมากในสมัยพุทธกาล ในการปกครองในระบบสามัคคี ธรรม และยังเป็นสถานที่ประทานการบวชภิกษุณี นครเวสาลีโบราณยังเป็นโบราณสถานที่ที่พระพุทธเจ้าได้ทรง ปลงอายุสังขาร ว่าต่อแต่นี้ไปอีก ๓ เดือน จะดับขันธ์ปรินิพพาน ต่อมา อีก ๑oo ปี พระสงฆ์ก็ได้มาประชุมพร้อมกันทา สังคายนา พระธรรม วินัยครั้งที่ ๒ ณ วาลุการาม

กูฏาคารศาล กู ฏ าคารศาล สถานที่ ที่ พระพุ ท ธองค์ท รงประทานการบวช ให้ แ ก่ นางปชาบดี โคตรมี พร้ อ ม เหล่าศากิยานีอีก ๕oo คน นับได้ว่า มี ภิ ก ษุ ณี ส งฆ์ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรก ปัจจุบันยังคงเหลือซากโบราณสถาน และมีเสาหินอโศกที่สมบูรณ์ที่สุด

65

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


แคว้นปัตนะ แคว้นปัตนะ หรือปารฏลีบุตร ในสมัยพุทธกาล เมืองหลวงของ พระเจ้าอโศกมหาราช ปัจจุบันคือเมืองหลวงของรัฐพิหาร ผ่านคานธีเสตุ สะพานข้ามแม่น้าคงคาที่ยาวที่สุดในประเทศ

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

66


สนามบินกรุงเดลลี จากนั้นพวกเราได้ลาสิกขาบทจากพระอาจารย์ แล้วนุ่งห่มชุดขาว เพื่อเตรียมตัวกลับประเทศไทย โดยต้องไปขึ้นเครื่องบิน ณ สนามบินกรุง เดลลี สู่ท่ากาศยานสุวรรณภูมิ

67

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


๙ กลับกรุง

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

68


เมื่อกลับถึงกรุงเทพฯ ผมพิจารณาถึง 1. การฝึกงาน ฝึกความอดทน การมีวินัย การอยู่ ในข้อระเบียบ ของสงฆ์ 2. การระลึกถึงคุณบิดามารดา ผู้มีพระคุณแก่เราทั้งหลาย และ ทุกๆท่าน ทาให้เรามีจิตใจที่สบายใจมากขึ้น จิตใจเบิกบานและ แจ่มใส อีกทั้งเราได้ทาให้คนในครอบครัวมีความสุข เราได้ทาบุญ สร้างกุศล ทาให้คนในครอบครัวอิ่มบุญ ต่อผู้อื่นและต่อตนเอง 3. ได้ค วามรู้เ พิ่ มเติมมากมายเป็ นประสบการณ์ชี วิตที่ เ ราได้ เ ห็ น ความแตกต่างของบ้ านเมือ งและสั งคมและได้เ ห็นสภาพความ เป็นอยู่และการใช้ชีวิตของชาวอินเดีย 4. ความสุขที่ แท้ จ ริงของคนที่บวช ความสุขที่ส งบ คนที่ ปฏิบั ติ ธรรมจะเข้าใจถึงความสุขที่แท้จริง 5. การบวชเป็นกุศลให้แก่บิดามารดา เป็นความภาคภูมิใจของผู้ที่ บวชในการสารวมกายวาจาและใจซึ่งแตกต่างจากการใช้ชีวิต ในทางโลก 6. จากการเดินทาง ทาให้เราได้เห็นว่าเรายังเป็ นคนที่สามารถได้ใช้ ชี วิ ต อย่ า งสุ ข สบาย มี ทั้ ง คนที่ ล าบากกว่ า เราอี ก มากมาย เพราะฉะนั้น อาหาร สัมภาระ สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เราควร เห็นคุณค่า ที่หลายคนบอกว่าจากการที่มาอินเดียแล้วกลับไปที่ ไทย จากนิสัยหนึ่งจะเปลี่ยนเป็นอีกนิสัยหนึ่งในทางที่ดีขึ้น เพราะ ได้ เ ห็ น ถึ งความที่ คนที่มี ค วามทุก ข์ มากกว่ า มี ค วามลาบาก มากกว่า บ้านเมืองก็สกปรกมากกว่าและในชนบทก็ ล้าสมัยผม คิดว่า เป็นอีกหนึ่งประโยชน์ที่ได้จากการไป ณ ประเทศอินเดีย ที่สามารถเปลี่ยนนิสัยของคนได้เช่น การรู้จักพอเพียงในการกิน อาหาร การใช้เสื้อผ้า สิ่งของใช้ต่างๆและเครื่องนุ่มห่ม 7. ฝึกการไปอยู่ในที่ต่างถิ่น ได้รู้ถึงสิ่งที่ต้องทาขณะที่อยู่อินเดีย ข้อ ระวังเรื่องโรคภัย ความสะอาดของบ้านเมือง ที่มีน้อย ถนนการ

69

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


เดินทางลาบาก อาหารการกินการใช้ชีวิตแบบธรรมดาที่มีความ หลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม เป็นประสบการณ์ชีวิต 8. ช่ ว งที่ พ วกเราได้ ก้ า วตามรอยพุ ท ธภู มิ นี้ เ ป็ น ช่ ว งเดี ย วกั บ ที่ กรุ ง เทพฯ บ้ า นเมื อ งของเราได้ เ กิ ด มหาอุ ท กภั ย ในช่ ว ง ต.ค. 2554 ตอนเราขึ้นเครื่องบินจากสุวรรณภูมิมาลงจากท้องฟ้าได้ เห็น กทม. จมอยู่ใต้น้า มองไปเห็ นแต่บ้านและหลังคาพวกเราได้ แต่ภาวนาตั้งจิตอธิษฐานในการไปทาความดีในครั้งนี้ขอให้ภัย พิบัติหยุดโดยเร็วหรือเสียหายน้อยที่สุด 9. เมื่อกลับจากการบรรพชาที่อินเดียมาถึงที่ กทม. บ้านของเรา โรงเรียนของเราก็ไม่พ้นจากมหาอุทกภัยในครั้งนี้ พวกเราจึงรู้สึก เศร้า เมื่อตอนเราได้อยู่ที่อินเดียทาให้เราได้เพียงแค่เห็ นถึงความ ทุกข์ยากของผู้คน แต่พอเรากลับมาเราก็ได้ประสบกับความทุกข์ ยาก เราจึ ง ได้ นึ ก ถึ ง ค าสอนของพระองค์ ที่ ท รงตรั ส ก่ อ น ปรินิพพานว่าอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา โลกนี้ไม่เที่ยง จึงไม่ควร ตั้งอยู่บนความประมาท เราต้องหมั่นทาความดีไว้ให้สม่าเสมอ เพราะความดีนั้นที่เที่ยงแท้และแน่นอน

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

70


บทส่งท้าย สถานที่ประสูติ : ลุมพินีวัน, เนปาล

สถานที่ตรัสรู้ : พุทธคยา

สถานที่ปฐมเทศนา : สารนาถ

สถานที่ปรินิพพาน : กุสินารา

71

๙ ตามรอยพุทธภูมิ


บรรณานุกรม พระราชรัตนรังสี พระธรรมทูต สายประเทศอินเดีย. สู่แดนพุทธองค์. 2550. พระมหาสมปอง มุทิโต และทีมงานชมรมนิรุตติศึกษา. หนังสือภาพตาม รอยบาทพระศาสดา อาสาฬหบูชา ธรรมยาตราคุ้มครองโลก. บริษัท ธนาเพรส จากัด. 2551 พิษณุ ศุภ. สีสันแห่งศรัทธาแดนพุทธภูมิ. บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอน พับลิชชิ่ง. 2550 HTTP://WWW.DHAMMAJAK.NET/FORUMS/VIEWTOPIC.PHP?T=3937

7. พุทธสังเวชนียสถาน : สถานที่อันเป็นที่ระลึกถึงพระพุทธเจ้า. online 1 May 2013

www.sana-anong.com. ธรรมะจากอาจารย์แอน. online 1 May 2013

bodhigaya980.blogspot.com. ชมรมโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐: - วัด ไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ ประเทศอินเดีย. online 1 May 2013 www.watthaikusinara-th.org. ประวัติความเป็นมา วัดไทยกุสิ นาราเฉลิมราชย์ ประวัติโดยสังเขป. online 1 May 2013

๙ ตามรอยพุทธภูมิ

72


๙ ตามรอยพุทธภูมิ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.