Letter102

Page 1

รวบรวม บันทึก ศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรม สนับสนุนการอนุรักษ์เพื่อพัฒนา เผยแพร่เพื่อการศึกษาของ สาธารณชน

เปิด ประเด็ น โดย ศรีศักร วัลลิโภดม “ประชาธิปไตยเมืองไทย”

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือไอ้กันเป็นประมุข?

หญิงชาวบ้านในสงครามเวียดนามถูกทหารสหรัฐอเมริกาใช้ปืนกลจี้หัว ถือเป็นภาพจาก สงครามเวียดนามที่มีชื่อเสียงและเป็นที่คุ้นเคยทั่วโลก

ช่วงเวลา ๖-๗ เดือนที่ผ่านมาตั้งแต่ธันวาคมศกที่แล้วมาจนถึงพฤษภาคม จะเข้ามิถุนายนนี้ ข้าพเจ้ากลายเป็นมนุษย์ที่มีอารมณ์ไม่ดีสองอย่าง อย่างแรกเป็นอารมณ์โกรธเกลียดและขยะแขยงรัฐบาลไอ้กันและ พรรคพวก เช่น ไอ้เศส, ไอ้กิดที่คนไทยทั้งรุ่นใหม่และเก่าเป็นจ�ำนวนมากยัง หลงว่าพวกนี้เป็นเทพเจ้า อย่างทีส่ องคืออารมณ์เกลียดชังปนสมเพชคนในระบอบทักษิณทีเ่ รียก สัน้ ๆ ว่า “โจรเสือ้ แดง” ซึง่ เป็นเหตุแห่งความวุน่ วายและความแตกแยกทีท่ �ำให้ คนไทยฆ่ากันเองมากกว่าทศวรรษตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นต้นมา

เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๗

Lek-Prapai Viriyapant Foundation

ปีที่ ๑๘ ฉบับที่ ๑๐๒

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ จดหมายข่าวรายสามเดือน สารบัญ

เปิดประเด็น ประชาธิปไตยเมืองไทย : พระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข หรือไอ้กันเป็นประมุข? ศรีศักร วัลลิโภดม หน้า ๑ ความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม “ลิงลิงโอ” เครื่องรางก่อนประวัติศาสตร์ที่ยังคงสืบเนื่อง ความหมายส�ำหรับชาวอิฟูเกาในฟิลิปปินส์ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ หน้า ๕ บันทึกจากท้องถิ่น บทความพิเศษ-บางประทุน สายน�้ำและความร่มเย็น เรื่องและภาพ นาวิน มีบรรจง และ “กลุ่มคนรักษ์คลองบางประทุน” หน้า ๑๑ พระนครบันทึก “บางยี่ขัน”ถิ่นวังเจ้าลาว โรงสุรา และโรงปูน โดย วริณาฐ พิทักษ์วงศ์วาน หน้า ๑๕ จับกระแสประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์คนจีนในเซบู, ฟิลิปปินส์ พิพิธภัณฑ์ทันสมัยในโกดังเก่า หน้า ๑๘ ข่าว ประกาศ ประชาสัมพันธ์ หน้า ๒๕


ประธานาธิบดีบารัค โอบามาและนางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรีกระทรวงการต่าง ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อเยี่ยมชมวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม กรุงเทพมหานคร เมื่อ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ (ภาพจาก Jewel Samad, The Gardian)

ข้าพเจ้าเกลียดไอ้กันเพราะเป็นเจ้าลัทธิประชาธิปไตยแบบ เลือกตั้งที่ ไม่แคร์กับการซื้อเสียงขายเสียงเพื่อให้พรรคการเมืองที่ ชัว่ ร้ายเข้ามามีเสียงส่วนมากในรัฐสภา จนในทีส่ ดุ กลายเป็นเผด็จการ รัฐสภาภายใต้การบัญชาของทศกัณฐ์หน้าเหลี่ยมขี้ข้าตัวโปรดของ ไอ้กัน หลังการปฏิวัติของทหาร คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ท�ำให้รัฐบาลหน้าเหลี่ยมสิ้นสุดลงไปอย่างสิ้นเชิงท่ามกลาง ความดี ใจและโล่งใจของคนส่วนใหญ่ ในชาติ  ข้าพเจ้าก็พลอยฟ้า พลอยฝนโล่งใจไปกับเขาด้วย เพราะก่อนหน้านี้เป็นทุกข์กับ กปปส. และเครือข่าย เช่น คปท. กองทัพธรรมและกลุ่มหลวงปู่พุทธอิสระ ที่เป็นขบวนการเคลื่อนไหวของมวลมหาชนที่ออกมาขับไล่ไอ้หน้า เหลี่ยมและน้องสาวอย่างอหิงสาวิธ ี ด้วยพลังการตื่นรู้ของคนทุกเพศ ทุกวัยทุกชาติพันธุ์และหมู่เหล่าในประเทศแต่ก็ยังไม่เห็นแสงสว่าง ของความส�ำเร็จ นั บ เวลาเข้ า ถึ ง  ๖ เดื อ นแต่ ก็ ยั งไม่ ส ามารถท� ำ อะไรกั บ รัฐบาลที่ ไม่มีศีลธรรมและจริยธรรมได้ แถมยังหน้าด้านหน้าทนอีก ต่างหาก ที่ ส� ำ คั ญ  อมนุ ษ ย์ เ หล่ า นี้ ยั ง ใช้ วิ ธี ก ารโสมมสองอย่ า ง มาตอบโต้ อย่างแรกก็คือการอ้างความชอบธรรมตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญในการปกครองระบอบประชาธิป ไตยแบบที่ ไอ้กันและ ประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตกรับรอง กับอย่างที่สองคือใช้กลไกของ ความมั่นคงภายในของชาติคือต�ำรวจและโจรเสื้อแดงอันธพาลออก มาปราบปรามให้ร้ายใส่ร้าย และท�ำร้ายประชาชนจนเสียชีวิตและ บาดเจ็บเป็นจ�ำนวนมาก พร้อมกันกับอ้างความเป็นธรรมในระบอบ ประชาธิปไตย การเคลื่อนไหวออกมาต่อต้านและขับไล่รัฐบาลทรราช ระบอบทักษิณทีต่ อ่ สูเ้ รือ่ ยมาถึง ๖ เดือนเต็มนี้ ได้เผยร่างเปลือยกาย

จดหมายข่าว

รัฐบาลทีเ่ ป็นอืน่ ไปไม่ได้นอกจากการเป็นทรราชอมนุษย์ภายใต้เปลือก ของประชาธิป ไตยแบบไอ้กันเท่านั้น เพราะนอกจากมีการอ้างอิง อย่างข้างๆ คูๆ ว่าเป็นประชาธิป ไตยแล้ว ยังได้รับการรับรองและ สนับสนุนอย่างเต็มที่จากรัฐบาลไอ้กันและบริวาร เช่น ไอ้เศส ไอ้กิด และไอ้ออสซี่ด้วย เมือ่ เล่นไม้นี้ให้เห็นข้าพเจ้าจึงมองไม่เห็นถึงหนทางชนะของ ฝ่ายมวลมหาประชาชนที่ดูอหิงสาอย่างไร้เดียงสา เพราะเป็นการ เคลื่ อ นไหวที่ ไ ม่ มี อ� ำ นาจบั ง คั บ ใช้ เ ช่ น อ� ำ นาจรั ฐ  แม้ ว ่ า จะมี พ ลั ง มวลมหาประชาชนทีต่ นื่ รูอ้ อกมาร่วมต่อสูเ้ รียกร้องกันมากมายกว่าครัง้ ใดๆ ในประวัติศาสตร์ชาติไทยก็ตาม มวลมหาประชาชนกลุม่ หนึง่ มีความคิดให้สตู้ อ่ ไปอย่าได้ถอย โดยวิธีการอหิงสา แต่บางกลุ่มก็เรียกร้องให้ทหารที่ประกาศตัวว่า จะอยู่ข้างประชาชนออกมาจัดการกับรัฐบาลชั่ว แต่ดูไม่ได้ผลเพราะ ทหารเกรงว่า ถ้าออกมาปฏิวัติรัฐประหารก็จะตกหลุมกับดักของ รัฐบาลชัว่ ได้ใช้เป็นข้อกล่าวหาเพือ่ ยืนยันกับไอ้กนั และบริวารว่า ทหาร เข้ามาปฏิวัติล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพราะทหาร เคยมีประสบการณ์ดังกล่าวนี้มาซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า จึงรีรอแต่ก็เคลื่อนไหว เงียบๆ โดยส่งก�ำลังคนมาคอยดูแลประชาชนไม่ให้ได้รบั ความรุนแรง อันเป็นการกระท�ำของพวกต�ำรวจและโจรเสื้อแดง และดูเหมือนคอยติดตามดูการเคลื่อนไหวของต�ำรวจและ อันธพาลของฝ่ายรัฐบาลอยู่ รอจนถึงขั้นจะแตกหักในตอนปลาย เดือนพฤษภาคมที่ทางแกนน�ำฝ่ายมวลมหาประชาชนขีดเส้นตาย ว่าต้องยุติในวันที่ ๒๖ พฤษภาคมอย่างเด็ดขาด ในขณะที่ทางฝ่าย รัฐบาลซึ่งก็ขับเคลื่อนระดมโจรเสื้อแดงและคนเสื้อแดงซึ่งหลงใหล ในประชาธิปไตยแบบไอ้กันออกมาชุมนุมต่อต้าน ซึ่งการเคลื่อนไหว ดังกล่าวนี้ปากก็ว่าอหิงสาแต่พฤติกรรมเป็น มหิงสา เพราะมีการ ขนอาวุธสงครามเข้ามาในประเทศและทุกสารทิศในแทบทุกภาค เริ่มก่อความรุนแรงยิงระเบิด M ๗๙ และใช้ปืนสงครามกวาดยิงฆ่า ประชาชน ท�ำให้เกิดการคาดหวังอย่างวิตกว่า ความรุนแรงและ การนองเลือดคงจะหนี ไ ม่พ้น จึงเป็นโอกาสเหมาะที่ ในความชอบ ธรรมทีท่ หารจะต้องออกมาประกาศกฎอัยการศึกเพือ่ รักษาความสงบ เรียบร้อยของแผ่นดิน ในวันที่ ๒๐ พฤษภาคม เวลา ๐๓.๐๐ น. ข้าพเจ้าเห็นว่าเป็นการทันเวลาและทันกับเหตุการณ์ ในการ ป้องกันชีวติ ของประชาชนโดยแท้ แต่ทสี่ ำ� คัญก็เป็นการช่วยกูม้ วลมหา ประชาชนผู้อหิงสาให้ไม่ต้องรอไปเผด็จศึกในวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ซึ่งข้าพเจ้าค่อนข้างเชื่อว่าคงไม่ส�ำเร็จ แถมจะเกิดการสูญเสียกว่าที่ คิดด้วยซ�้ำ อย่ า งไรก็ ตาม การเคลื่ อ นไหวของมวลมหาประชาชน  ออกมาล้มระบอบทรราชทักษิณด้วยวิธีอหิงสาก็ดีกับการออกมายึด อ�ำนาจและท�ำการปฏิวตั ขิ องกองทัพทหารนัน้  เป็นสิง่ ทีม่ คี ณ ุ ปู การต่อ กันอย่างแยกไม่ออก ซึ่งข้าพเจ้าในฐานะคนแก่ๆ คนหนึ่งเห็นว่าเป็น บุญของประเทศโดยแท้และนับเป็นเรื่องปาฏิหาริย์อย่างหนึ่งก็ว่าได้ 2

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


เพราะความศักดิ์สิทธิ์และความเชื่อยังเป็นสิ่งที่ครอบง�ำและ คุ้มครองคนไทยอย่างไม่น้อย ถ้าไม่มีการเคลื่อนไหวของมวลมหา ประชาชนเพื่ออหิงสาให้ได้มาถึงความเป็นประชาธิปไตย ฝ่ายทหาร ก็คงไม่สามารถออกมาปฏิวัติได้ เพราะเป็นการต่อสู้ที่ไม่น่าจะส�ำเร็จ ได้โดยง่ายโดยไม่ต้องมีการสูญเสียอย่างมากมาย ข้าพเจ้าให้น�้ำหนักความส�ำเร็จในการโค่นอ�ำนาจรัฐบาล ทรราชของไอ้หน้าเหลี่ยมอย่างเท่ากันระหว่างผู้น�ำของขบวนมหา ประชาชนกับผู้น� ำของทหารหาญ และถือว่าเป็น บุญบันดาลของ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีอยู่จริงในบ้านเมือง โดยเฉพาะบุญญาบารมีแห่งองค์พระมหากษัตริยาธิราชเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ความขัดแย้งที่น�ำไปสู่การเดินขบวนคัดค้านและขับไล่ของ มวลมหาประชาชนนัน้  หาได้เป็นเรือ่ งของการล้มล้างประชาธิปไตยไม่ หากเป็นการล้มล้างระบอบทักษิณทีท่ ำ� ให้เกิดคอร์รปั ชัน่ และฉ้อราษฎร์ บังหลวงโดยรัฐบาลทรราชโดยแท้ แต่ฝ่ายทรราชกลับแก้เกี้ยวอ้างการกล่าวหาว่าเป็นการ ล้ ม ล้ า งการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยที่ ค นทั้ งโลกเขานิ ย ม เลยมีการปั้นน�้ำให้เป็นตัวขึ้นมาด้วยการปลุกระดมบรรดาประชาชน คนระดับล่างที่ตามโลกไม่ทันทางสติปัญญาให้หลงเชื่อด้วยโครงการ ประชานิ ย ม เอาเงิ น ภาษี ร ายได้ ข องรั ฐ มาแจกจ่ า ยโดยไม่ ต ้ อ ง ท� ำ มาหากิ น อย่ า งสุ จ ริ ต  เช่ น  เงิ น กองทุ น หมู ่ บ ้ า น เงิ น จ� ำ น� ำ ข้ า ว การเพิ่มรายได้ค่าจ้างขั้นต�่ำ และเงินเดือนของบรรดาผู้จบการศึกษา ขั้ น ปริ ญ ญาอั น เป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำให้ บ รรดาผู ้ ป ระกอบการรายย่ อ ยที่ มี ทุน น้อ ยต้ อ งขาดทุ น และล้มเลิกกิจการ และรัฐเองก็ ไ ม่ ส ามารถ หารายได้มาให้พอเพียงกับรายจ่าย เปิดช่องให้นายทุนรายใหญ่ เช่น นายทุนข้ามชาติที่มีทั้งจากในประเทศและจากต่างประเทศเข้า มาลงทุนยึดครองที่ดินพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติของแผ่นดิน ทั้งหมดนี้เท่ากับเป็นการขายประเทศไทยและแผ่นดินไทยให้ต่างชาติ โดยตรง นี่เป็นประการแรก ประการทีส่ องก็คอื  รัฐทรราชให้ทฤษฎีสมรูร้ ว่ มคิดกับบรรดา ปัญญาชนที่เป็นนักวิชาการ ข้าราชการพลเรือน ทหาร และต�ำรวจ ทีข่ าดมนุษยธรรมและจริยธรรมทีอ่ ยูภ่ ายใต้อำ� นาจเงินของรัฐทีม่ าจาก การโกงกินให้ออกมาต่อต้านกับฝ่ายประชาชน โดยอ้างเหตุผลของการ ไม่เป็นประชาธิปไตย การเคลื่อนไหวและการกระท� ำของคนเหล่านี้นั้นเป็นสิ่ง เห็นประจักษ์แก่วิญญูชนทั่วไป แต่ก่อนเคยเห็นเป็นประจักษ์แต่เพียง ทรราชหน้าเหลี่ยม ญาติพี่น้องและบริวารสามารถซื้อเสียงการเลือก ตั้งให้มีเสียงส่วนใหญ่ในรัฐสภาจนเป็นเผด็จการรัฐสภา และการใช้ อ�ำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจและอามิสสินจ้างหว่านล้อมบรรดา ข้าราชการประจ�ำทั้งพลเรือน ทหารบางรุ่น บางเหล่าและต� ำรวจ เกือบทั้งสถาบันให้มาเป็นขี้ข้าเครื่องมือของตนเท่านั้นแต่คราวนี้ ก็ ได้เห็นแนวร่วมจากกลุ่มคนชั้นสูง  คนเคยเป็นผู้ดีมีตระกูลและ

จดหมายข่าว

3

คนกลุ่มปัญญาชน เช่น อาจารย์ระดับด็อกเตอร์ด็อกตีน นักศึกษา และมิจฉาชีพที่เอาผ้าเหลืองมาห่มพรางกาย คนกลุ ่ ม ต่ า งๆ เหล่ า นี้ แ ม้ ว ่ า จะไม่ อ อกมาท� ำ การรุ น แรง แต่กลับดูร้ายแรงยิ่งเสียกว่าเพราะเป็นกลุ่มที่พยายามอ้างความ ถูกต้องชอบธรรมของรัฐบาลไอ้หน้าเหลี่ยมและพรรคพวกว่าเป็น รั ฐ บาลประชาธิ ป ไตยที่ ถู ก ต้ อ งและรั ก ษากฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ อย่างเคร่งครัด สมคบกับพวกสื่อที่ชั่วร้ายทางโทรทัศน์และสื่อสิ่ง พิมพ์ออกมาประนามและขัดขวางการต่อต้านเรียกร้องของมวลมหา ประชาชน คนเหล่านีก้ เ็ ช่นเดียวกันทีน่ อกจากเป็นทาสน�ำ้ เงินของไอ้หน้า เหลีย่ มแล้วก็เห็นว่าไอ้กนั  ไอ้กดิ  และไอ้เศสคือพ่อแม่ หลายๆ คนเคย เป็นคนใหญ่คนโตและเป็นข้าราชการผู้ใหญ่เคยรับใช้พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั  เคยถวายสัตย์ปฏิญาณดืม่ น�ำ้ พระพิพฒ ั น์สตั ยาหรือเคย สาบานตนต่อธงชัยเฉลิมพลให้ความส�ำคัญกับองค์พระมหากษัตริย์ ในฐานะพระประมุขในการปกครองระบอบประชาธิปไตย แต่ทกุ วันนี้ กลับแลเห็นว่าไอ้กันเป็นประมุขแทน ก็ เ ลยเข้ า ทางกั บ ความคิ ด เชิ ง วาทกรรมของข้ า พเจ้ า ว่ า ความขัดแย้งครั้งนี้คือวาทกรรมของคนฝ่ายหนึ่งคือฝ่ายทรราชหน้า เหลี่ยมที่อ้างประชาธิปไตยแบบไอ้กันเป็นประมุขว่า ทันสมัยและถูก ต้องกับสากลโลกเพือ่ น�ำไอ้กนั กับพรรคพวกเข้ามาให้การสนับสนุนและ ร่วมกันเข้ามาครอบครองและแย่งทรัพยากรทั้งหลายที่มีของประเทศ ที่เคยให้ความสมบูรณ์พูนสุขและการมีชีวิตร่วมกันอย่างไม่ขัดสนและ ราบรื่นมาแต่โบราณนับหลายศตวรรษในลักษณะที่เรียกว่า สังคม ชาวนา ในขณะที่ทางฝ่ายมวลมหาประชาชนที่ออกมาเคลื่อนไหวกัน มากมายแบบถล่มทลายหลายล้านคนที่ ไม่เคยมีมาในประวัติศาสตร์ ชาติไทย ก็คือระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระ ประมุข ที่ประชาราษฎร์ทั่วทั้งประเทศยังมีความเชื่อมั่นในองค์พระ มหากษัตริย์ว่ายังเป็นที่พึ่งในยามเกิดยุคเข็ญและเป็นศูนย์รวมทางจิต วิญญาณของผู้ที่เป็นคนไทยอยู่ การออกมาปฏิวัติของกองทัพครั้งนี้คงไม่เหมือนครั้งใดๆ ในการปฏิวัติรัฐประหารที่เคยมีมา ซึ่งพอสรุป ได้ว่าทุกครั้งของการ ปฏิวัตินั้นเกิดภาวะขัดแย้งทางเศรษฐกิจการเมืองในชาติอย่างรุนแรง อันเนื่องมาจากรัฐบาลเป็นเผด็จการ ผู้น�ำทหารที่ท�ำการปฏิวัตินั้น เริ่มต้นก็เจตนาดี แต่พอมีอ�ำนาจเต็มที่ก็ ไ ม่ยอมปล่อยให้เป็นการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยจริงแบบเผด็จการทุกที จากเผด็ จ การของขุ น ศึ ก จนมาถึ ง เผด็ จ การของนายทุ น จนถึงยุคทรราชหน้าเหลี่ยมที่ท�ำความพินาศให้บ้านเมืองและผู้คน ในทุกมิติของสังคมไม่ว่าเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม จนผู้คนในสังคมรุ่นใหม่ ในปัจจุบันทนต่อไปไม่ได้ เกิดการตื่นรู้และ รวมตัวกันขับไล่และล้มล้างทรราชในขณะนี้ ซึ่งก็ไม่มีทางส�ำเร็จด้วย วิธีอหิงสาจึงต้องมีก�ำลังฝ่ายทหารที่ตื่นรู้รักบ้านรักแผ่นดินและรัก พระมหากษัตริย์ออกมาจัดการ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


แน่นอนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเพื่อให้มีการปฏิรูปก่อนที่ จะมีการเลือกตั้งนั้น ไม่มีทางใช้อ�ำนาจตามกฎหมายรัฐธรรมนูญใน ระบอบประชาธิป ไตยได้ ต้องเป็นอ�ำนาจปฏิวัติแต่เพียงอย่างเดียว เท่านั้น จากการเฝ้าติดตามและสังเกตพฤติกรรมและบทบาทของ คณะทหารที่ท�ำการปฏิวัติในครั้งนี้ ผู้น�ำทหารรุ่นนี้ได้เรียนรู้และตื่นรู้ ในความล้มเหลวและผิดพลาดของการปฏิวตั มิ าดีพอ อีกทัง้ ไม่เคยคิด จะปฏิวตั มิ าก่อนและพยายามหลบหลีกไม่แสดงอะไรทีเ่ ป็นการก้าวร้าว แสดงอ�ำนาจกับทางฝ่ายรัฐบาลตลอดเวลา หากเฝ้าดูพฤติกรรมอย่าง ต่อเนื่องด้วยความอดทน อย่างครั้งน�้ำท่วมใหญ่ ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตอนเริ่ ม ต้ น ของรั ฐ บาลน้ อ งสาวไอ้ ห น้ า เหลี่ ย มซึ่ ง นั บ ได้ ว ่ า เป็ น ความล้มเหลวที่ส�ำคัญ ท�ำให้เกิดความเดือดร้อนอย่างสาหัสแก่ผู้คน รัฐบาลไม่มีทางเป็นที่พึ่งได้ แก้ไขอะไรไม่ได้ มีแต่ทหารเท่านั้นที่ออก มาช่วยเหลือประชาชนอย่างจริงใจ โดยเฉพาะผู้บัญชาการทหารบก ผู้ที่เป็น หัวหน้าคณะปฏิวัติในขณะนี้ แม้ว่าในเวลาต่อๆ มาทหาร ก็ ดู ยิ่ ง ระวั ง ตั ว ในการที่ จ ะเข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งกั บ การปกครองและ บริ ห ารของรั ฐ บาลที่ แ ทบไม่ มี อ ะไรเลยที่ ไ ม่ เ กี่ ย วกั บ การทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่นและการแสดงอ�ำนาจเถื่อนของบรรดานักการเมืองและ บริวารที่มีทั้งทหารต�ำรวจ ข้าราชการพลเรือน และกองก�ำลังโจร เสื้อแดง แทบทุกครั้งที่ประชาชนมีการเคลื่อนไหว คัดค้าน ต่อต้าน รัฐบาลทหารก็ดูเพิกเฉยโดยเฉพาะปล่อยให้พวกต�ำรวจขี้ข้าออกมา จับกุม ข่มเหงประชาชนครั้งแล้วครั้งเล่า ท�ำให้คนเป็นจ�ำนวนมาก แม้แต่ข้าพเจ้าเองรู้สึกว่าทหารไม่เอาไหนและถูกซื้อได้ด้วยเงินของ ทรราชที่คดโกงแผ่นดินมา ทหารเพียงพูดอย่างขอไปทีว่า ไม่เลือก ข้างไหนแต่เลือกอยูข่ า้ งประชาชนและสัง่ กองก�ำลังทหารเข้ามาประจ�ำ สถานที่ส�ำคัญที่เกิดความรุนแรงจากการใช้อาวุธสงครามท�ำร้ายและ ฆ่าประชาชน และในยามทีต่ ำ� รวจของฝ่ายทรราชและอันธพาลเสือ้ แดงเข้า โจมตี ฆ่าฟันประชาชนที่ ไม่มีอาวุธก็เกิดปรากฏการณ์ที่มีกองก�ำลัง นิรนามซึง่ ก็นา่ จะเป็นทหารทีร่ กั บ้านรักแผ่นดินออกมาท�ำการต่อสูช้ ว่ ย เหลือประชาชน ท�ำให้ทางฝ่ายทรราชไม่สามารถกวาดล้างมวลมหา ประชานที่คัดค้านได้ส�ำเร็จ ทหารก็คงท�ำได้เท่านีแ้ ม้วา่ ฝ่ายรัฐบาลทรราชจะถูกกระบวน การศาลยุติธรรมตัดสินให้กลายเป็นรัฐบาลรักษาการณ์ที่ไม่อาจเป็น รัฐบาลโดยชอบธรรมอย่างเต็มที่ได้ การต่อต้านและการขับไล่รฐั บาลทรราชทีช่ วั่ ร้ายนี ้ ได้ดำ� เนิน การกว่า ๖ เดือนเต็ม แต่รัฐทรราชก็ยังดื้อด้านอ้างการเป็นรัฐบาล ที่มาจากเสียงเลือกตั้งส่วนมากอย่างเดิม ไม่ยอมลาออกเพื่อให้มี การปฏิรูปโครงสร้างการเมืองการปกครองกันใหม่ แต่ยืนกรานให้ มีการเลือกตั้งแบบเดิมที่จะท�ำให้นักการเมืองฝ่ายตนได้เลือกตั้ง เข้ามาเป็นเผด็จการรัฐสภาใหม่

จดหมายข่าว

ทางฝ่ายมวลมหาประชาชนจะเคลื่อนไหวกดดันอย่างใดก็ ไม่ยินยอม แถมระดมสรรพก�ำลังของพวกต�ำรวจโจรและอันธพาล เสื้ อ แดงน� ำ อาวุ ธ สงครามมาแทบทุ ก สารทิ ศ  เตรี ย มการฆ่ า ฟั น ประชาชนด้ ว ยอาวุ ธ สงครามอย่ า งโหดร้ า ย เพราะได้ ใจว่ า ฝ่ า ย ประชาชนไม่มีอาวุธและท�ำการต่อสู้ด้วยวิธีอหิงสาอย่างเดียว จนเมื่อเหตุการณ์เข้าสู่ภาวะวิกฤต ทหารจึงได้ออกโรงมา ระงับข้อพิพาทด้วยการประกาศกฎอัยการศึก  และให้ทั้งฝ่ายรัฐ ทรราชกับฝ่ายมวลมหาประชาชนตกลงกัน ซึ่งก็ไม่มีทางส�ำเร็จและ ความรุนแรงก็เริ่มเพิ่มขึ้น และทหารเองก็ถูกรุมด่าจากทั้งสองฝ่าย ฝ่ายรัฐต้องการปรามไม่ให้ทหารออกมาด้วยวิธีการเช่นเดิม คือกล่าว หาว่าจะท�ำการปฏิวัติรัฐประหารอย่างที่เคยมีมา ส่วนฝ่ายมวลมหา ประชาชนที่ ไม่ชอบการปฏิวัติโดยทหารก็มี และที่ต้องการให้ทหาร ออกมาเป็นกองก�ำลังให้ฝ่ายประชาชนก็มาก ในวาระเช่นนี้ที่หลายคนสิ้นหวังในทหารเพราะเชื่อว่าผู้น�ำ ทหารหลายคนถูกซื้อโดยทรราช ทหารจึงประกาศยึดอ�ำนาจอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ควบคุมบุคคลที่ออกมาเคลื่อนไหวทั้งสองฝ่ายและ ปราบปรามกลุ่มคนมีอาวุธสงครามและท�ำร้ายฆ่าฟันประชาชน ในการปฏิวัติของทหารครั้งนี้ข้าพเจ้าให้ใจกับทหารหาญ เต็มร้อย เพราะเป็นปาฏิหาริย์ในอ�ำนาจศักดิ์สิทธิ์ของบ้านเมืองที่จะ ช่วยชีวิตประชาชนและประเทศชาติให้อยู่รอดจากทรราชชั่วร้ายของ แผ่นดิน และการเป็นขี้ข้าทางเศรษฐกิจการเมืองและวัฒนธรรมของ มหาอ�ำนาจทุนนิยมประชาธิปไตย ดังเช่นไอ้กนั ไอ้กดิ ไอ้เศสและบริวาร ทหารปฏิวัติครั้งนี้หาได้เป็นไปเพื่อความต้องการอ�ำนาจเพื่อ เข้ามาเป็นรัฐบาลแทนอย่างแต่ก่อนๆ หากปฏิวัติด้วยตื่นรู้และเรียนรู้ อย่างแท้จริง ซึง่ ก็เห็นได้จากค�ำกล่าวของหัวหน้าคณะปฏิวตั คิ อื แม่ทพั บก ทหารตระหนักรู้ในบทเรียนของการปฏิวัติที่แล้วมาเป็นอย่างดี หาได้มุ่งยึดอ�ำนาจเพื่อปกครองเป็นรัฐบาลเสียเอง แต่ทนไม่ได้กับ การสูญเสียชีวิตของประชาชน ทนไม่ได้กับการกล่าวร้ายให้ร้าย พระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพรักของทุกคนในชาติ แต่ทสี่ �ำคัญทีส่ ดุ คือการประนามบุคคลชัว่ ร้ายในชาติทที่ รยศ รับเงินอุดหนุนของรัฐบาลมหาอ�ำนาจเข้ามาแหย่เพื่อเสริมความ ถูกต้องให้กับทรราชหน้าเหลี่ยมและพรรคพวกในการเป็นรัฐบาล ประชาธิปไตยทีเ่ สียงส่วนใหญ่มาจากการเลือกตัง้ โดยการซือ้ เสียงและ ขายเสียง ในที่สุดการปฏิวัติครั้งนี้มีโรดแมพอย่างคร่าวๆ ที่สอดคล้อง กับของมวลมหาประชาชน คือต้องปฏิรูปก่อนที่จะให้มีการเลือกตั้งที่ เป็นไปตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ความส�ำคัญอยู่ที่การปฏิรูปถ้าหากไม่มีการปฏิรูปอย่างถอน รากถอนโคนในทางโครงสร้างการปกครองและการบริหารที่ใช้อำ� นาจ รวมศูนย์อย่างที่เคยมีมาก็จะไม่มีอะไรเกิดขึ้นคงเข้าสู่อีหรอบเดิม แต่การปฏิรูปครั้งนี้จะส�ำเร็จได้ดีก็ต้องอาศัยอ�ำนาจปฏิวัติที่หลีกไม่ พ้นการเป็นเผด็จการ หัวหน้าคณะปฏิวัติผู้เป็นผู้น�ำทางทหารก็จ�ำต้อง 4

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


มีอ�ำนาจสูงสุดในการสั่งการ และคงต้องอาศัยอ�ำนาจตุลาการศาล ทหารรวมทั้งการประกาศกฎอัยการศึกในวาระจ�ำเป็นเป็นเครื่องมือ ความส�ำเร็จจะเกิดได้จากความซื่อตรงและความกล้าหาญ ทางจริยธรรมของหัวหน้าคณะปฏิวัติโดยตรง ซึ่งเมื่อปฏิรูป ให้เกิดโครงสร้างใหม่และการกระจายอ�ำนาจ อย่างมั่นคงแล้ว จึงจะถึงเวลาของการเข้าสู่การเลือกตั้งในระบอบ ประชาธิ ป ไตยอี ก วาระหนึ่ ง  ข้ า พเจ้ าให้ ใจและให้ ค วามหวั ง กั บ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบกคนนีซ้ งึ่ เป็นผูน้ �ำในการปฏิวตั วิ า่ น่าจะท�ำได้สำ� เร็จ เพราะได้แลเห็นพฤติกรรมที่ฉลาดและมีความจริงใจในค�ำพูดและ การกระท�ำตลอดเวลากว่าสองปีที่ผ่านมาภายใต้รัฐบาลทรราชของ น้องสาวไอ้หน้าเหลี่ยม โดยเฉพาะจุ ด เริ่ ม ต้ น ของการที่ ท หารออกมาช่ ว ยเหลื อ ประชาชนไม่ ให้จมน�้ำตายในขณะที่ทางรัฐบาล “เอาไม่อยู่” และ ภายหลังปฏิวัติแล้วด�ำเนินการช่วยเหลือประชาชนที่ถูกโกงจากการ จ�ำน�ำข้าวของรัฐบาลทรราช รวมทัง้ การระบุถงึ การทีม่ กี ลุม่ นักวิชาการ และปัญญาชนออกมาเคลือ่ นไหวต่อต้านโดยได้รบั และหนุนจากรัฐบาล ไอ้กัน ซึ่งย่อมแสดงให้เห็นว่าทหารและคณะปฏิวัติไม่หวั่นไหวต่อการ ข่มขู่ของไอ้กันและพรรคพวก ข้าพเจ้าคิดว่าความส�ำคัญตั้งแต่นี้ ไปก็คือ คณะปฏิวัติและ มวลมหาประชาชนจะต้ อ งเผชิ ญ ศึ ก กั บ มหาอ� ำ นาจทุ น นิ ย มเสรี ประชาธิป ไตยเช่นไอ้กันไอ้กิดไอ้เศสและไอ้ออสซี่ที่จะเคลื่อนไหว โดยมีตัวแทนคือบรรดานักวิชาการปัญญาชนและนายทุนข้ามชาติ ให้บีบคั้นให้มีการเลือกตั้งโดยเร็ว พร้อมกันปลุกปั่นให้คนเข้าใจว่า พระมหากษัตริย์และสถาบันคือเหตุใหญ่ของความไม่เจริญและล้า หลังของประเทศ และสถาปนารัฐประชาธิปไตยทุนนิยมแบบไอ้กัน ซึ่งอาจเอื้อมไปถึงการมีโรดแมพที่จะมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแทน พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศด้วย

เพราะฉะนั้นสังคมไทยก�ำลังเข้าสู่ทางแยก [Turning Point] ระหว่างการเป็นประชาธิปไตยแบบพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือประชาธิปไตยทุนนิยมแบบไอ้กันคือมีประธานาธิบดีเป็นประมุข ทางหลังนั้นคือความหายนะล่มสลายของคนไทยทั้งชาติ ที่ บ รรดามหาอ� ำ นาจทางเศรษฐกิ จ จะเข้ า มาแย่ ง ชิ ง ทรั พ ยากร ในประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์เช่นประเทศไทยแล้ว ยังเป็นการ ปล่อยให้บรรดานายทุนข้ามชาติทั้งภายในและภายนอกเข้ามาครอบ ครองประเทศด้วย เพราะบรรดานายทุนเหล่านี้คือพวกมองโลกแบบ ไร้พรมแดนไม่จ�ำเป็นต้องมีชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์อีกต่อไป สุดท้ายนี้ ในความคิดของข้าพเจ้าอย่างตื้นๆ ในเรื่องทาง เลือกทางแรกที่เป็นประชาธิป ไตยแบบที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขนั้น จ�ำเป็นต้องปฏิรูป ให้มีการกระจายอ�ำนาจไปยังท้องถิ่น ให้เกิดรัฐบาลท้องถิน่ ขึน้  ดูแลให้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงทีม่ ี  ความสัมพันธ์กับฐานทรัพยากรของแต่ละท้องถิ่น ในขณะเดี ย วกั น ก็ ต ้ อ งจั ด การในเรื่ อ งการด� ำ รงอยู ่ ข อง สถาบันกษัตริย์ให้ปลอดจากการที่ถูกโจมตีซำ�้ แล้วซ�้ำเล่าว่าเป็นกลุ่ม ทุนอีกกลุม่ หนึง่ ทีเ่ ข้ามาแอบแฝงในพระนามของพระมหากษัตริย์ กลุม่ ทุนที่แฝงอยู่ในนามของสถาบันดังกล่าวนี้มีความชั่วร้ายพอๆ กับกลุ่ม ทุนข้ามชาติในการท�ำลายฐานทรัพยากรของท้องถิ่นเหมือนกัน ส�ำหรับการคุกคามข่มขูท่ างเศรษฐกิจการเมืองทีม่ าจากไอ้กนั และพรรคพวกนัน้  ข้าพเจ้าคิดว่าปัญญาชนทีร่ ซู้ งึ้ ในฐานทรัพยากรของ ประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพและความอุดมสมบูรณ์ของ น�้ำและแผ่นดิน ไม่เคยกลัวหรือหวั่นไหวในการที่จะต้องปิดประเทศ เพื่อความอยู่รอดเพราะ “เมืองไทยนั้น ปิดประเทศ ๕ ปี คนไทยก็มีกินและอยู่ได้ แต่นายทุนที่เป็นขี้ข้าอเมริกันคงไม่รอดสักราย”

ความ หลาก ทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม หลาย โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ

“ ลิงลิงโอ ”

เครื่องรางก่อนประวัติศาสตร์ที่ยังคงสืบ เนือ่ งความหมายส�ำหรับชาวอิฟเู กาในฟิลปิ ปินส์

ชาวอิฟูเกา [Ifugal] เป็นคนท้องถิ่นดั้งเดิมในเขตที่สูงทาง ตอนเหนือค่อนไปทางตะวันตกของเกาะลูซอนที่ฟิลิปปินส์ เป็นกลุ่ม คนทีบ่ รรพบุรษุ ของพวกเขาสร้างนาขัน้ บันได [Rice Terraces] จ�ำนวน มากตามไหล่ เ ขาและหุ บ เขา พวกเขาเคยอยู ่ กั น เป็ น ชุ ม ชน แบบเผ่า [Tribe] แยกกันอยู่เป็นกลุ่มๆ ก่อนที่ชาวสเปนจะเข้ามายึด

จดหมายข่าว

ครองหมู่เกาะฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคม ค�ำว่าอิฟูเกา [Ifugal] มาจากค�ำว่า “i-pugo” ค�ำว่า “i” หมายถึง “มาจากหรือคน” และ  “pugo” หมายถึง “ภูเขา” รวมกัน เข้าจึงหมายความว่า “ผู้คนแห่งภูเขา” ชาวอิฟูเกาพูดภาษาอิฟูเกาหรือภาษาบาตัดซึ่งอยู่ ในกลุ่ม

5

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ปัจจุบนั เป็นการเต้นร�ำทีแ่ สดงในงานอิมบาย่า

ภาพการเต้นร�ำแบบนักรบของชาวอิฟูเกา  ภาพเก่าเห็นธงชาติสหรัฐอเมริกา จึงสันนิษ ฐานว่า น่าจะอยู่ในช่วงฟิลิปปินส์ตกเป็นอาณานิคมราว พ.ศ. ๒๔๔๑๒๔๘๓

ออสโตรนีเซียนในตระกูลมลาโย-โพลีนีเซียน [Melaya-Polynesian] ในปัจจุบนั  ”อิฟเู กา” เป็นทัง้ ชือ่ กลุม่ คนบนทีส่ งู และชือ่ จังหวัด ในเขตปกครองบนที่สูง [The Cordillera Administrative Region] ซึง่ ประกอบไปด้วย ๖ จังหวัดทางตอนกลางและเหนือของเกาะลูซอน ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์มากมายรวมทั้งการใช้ภาษาอันหลากหลายอยู่อาศัย ในเขตนี้ เศรษฐกิจในปัจจุบันถือเอาทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก ทั้งการท�ำเหมืองแร่ เช่น ทอง ทองแดง เงิน สังกะสี การเพาะปลูก เช่น ข้าวโพดและข้าว รวมทัง้ การท่องเทีย่ วทีม่ คี วามน่าสนใจในสภาพ ภูมิประเทศแบบเทือกเขาและวัฒนธรรมประเพณีที่จัดเฉลิมฉลอง เป็นงานเทศกาลของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นรายได้ส�ำคัญ ในปัจจุบัน จังหวัดอิฟูเกามีประชากรที่เป็นชาวอิฟูเกาอยู่ราวๆ ๖๘% นอกนั้ น เป็ น ชาวอิ โ ลคาโนส, กาลาฮั น  และอยั น กั น  [Ilocanos, Kalahan, Ayangan] ในช่วงปี ค.ศ. ๑๙๓๙ ประเมินว่ามีชาวอิฟูเกา อยูร่ าว ๗๐,๐๐๐ คน และลดลงไปหลายหมืน่ คนเมือ่ เกิดสงครามโลก ครัง้ ที ่ ๒ ซึง่ บริเวณนีม้ กี ารสูร้ บอย่างหนักของกองทัพญีป่ นุ่ และกองทัพ สหรัฐอเมริกาและฝ่ายสัมพันธมิตร และประเมินว่าชาวอิฟเู กามีอยูร่ าว กว่า ๑๙๐,๐๐๐ คนในปัจจุบัน

คนอิฟูเกากับวัฒนธรรมข้าวและการท�ำนาขั้นบันได

แม้จะมีนาขั้นบันไดหลายแห่งในเขตที่สูง [The Cordillera Administrative Region] แต่ เ ฉพาะที่ เ มื อ งบานาเว่  [Banaue] ในจั ง หวั ด อิ ฟู เ กา นาขั้ น บั นไดที่ นี่ ไ ด้ รั บ ยกย่ อ งให้ เ ป็ น มรดกโลก จากยู เ นสโกเมื่ อ ปี   ค.ศ. ๑๙๙๕ เพราะถื อ เป็ น ความมหั ศ จรรย์ ส�ำหรับมนุษย์ยคุ ปัจจุบนั ทีส่ ามารถท�ำนาขัน้ บันไดและระบบชลประทาน จากยอดเขาจากแรงงานมนุษ ย์ บ้างก็ประมาณว่าตั้งแต่เมื่อราว ๒,๐๐๐ ปี นาขั้นบันไดในเขตที่สูงถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันดับต้นๆ ของฟิลปิ ปินส์ นอกเหนือไปจากภูมปิ ระเทศแบบทีส่ งู  สร้างความสบาย สายตาจากความเขียวชอุ่มของนาข้าวในหุบเขาแล้ว อากาศก็ยังเย็น สบายและฝนตกอยู่ตลอดทั้งปี

จดหมายข่าว

การปรับพื้นที่นาเพื่อท�ำนาแบบทดน�้ำ [Wet Rice] โดยการ ใช้พื้นที่เชิงเขาท�ำเป็นที่ราบเล็กๆ ลดหลั่นกันลงไปตามความสูงของ ไหล่เขา สร้างคันนาจากหินก้อนใหญ่ๆ จากภูเขาที่ถูกทุบและจัดเรียง ให้เป็นคันดินสูงและแนวคันนาพร้อมกัน บริเวณเทือกเขาสูงแถบนี้ไม่มี การท�ำเครื่องมือเหล็กเพราะไม่มีแหล่งแร่เหล็ก ดังนั้น ชาวอิฟูเกา จึงใช้เครื่องมือหินและไม้เหลาแหลมเป็นหลักในการปรับพื้นที่และ เตรียมพื้นที่ท�ำนาโดยไม่ใช้ควายมาช่วยทุ่นแรง แต่ใช้แรงงานมนุษย์ ท�ำแทบทุกขั้นตอน เอกลักษณ์ของชาวอิฟเู กาก่อนทีค่ ริสต์ศาสนาจะเข้ามาแทนที่ พิธกี รรมและความเชือ่ ต่างๆ คือความเชือ่ ในผีตา่ งๆ [Spirits] และมีอยู่ มากมายในอดีตชีวิตที่ผูกพันอยู่กับการท�ำนาตลอดทั้งปีจึงมีวงจรชีวิต ขึ้นอยู่กับธรรมชาติ ฤดูกาล และประเพณีพิธีกรรมแบบสังคมชาวนา ทัง้ สิน้  ตามความเชือ่ ชาวอิฟเู กาแบ่งภูมจิ กั รวาลออกเป็น ๕ ส่วน คือ  โลกมนุษย์ [Pagao], โลกฟากฟ้า [Kabunian], โลกใต้พภิ พ [Dalum], เหนือท้องน�ำ้ และล�ำห้วย [Lagod] และใต้ท้องน�ำ้ และล�ำห้วย [Daiga] แต่ละภูมิมีผีดูแลในพื้นที่แต่ละแห่ง และมีการบูชาผีต่างๆ ที่ค่อนข้าง ซับซ้อนแต่เป็นระบบ โดยมีชื่อและสถานที่ซึ่งสถิตอยู่ ซึ่งสามารถแบ่ง ออกได้ถงึ  ๓๕ กรณี เช่น ผีทเี่ ป็นตัวแทนของวีรบุรษุ ผูเ้ ป็นบรรพบุรษุ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ โรคภัยไข้เจ็บ และจะท�ำพิธบี ชู าผีและเทพเจ้า นี้เป็นวาระ เช่น ในช่วงที่ ได้ผลข้าวปลาอาหารบริบูรณ์ การล่าสัตว์ เพื่อหาอาหารได้ผลดี ในระหว่างพิธีกรรมก็จะมีการเข้าทรงผ่านผู้ท�ำ พิธีกรรมซึ่งเป็นผู้ชายในการสอบถามท�ำนายเรื่องราวต่างๆ และจะ บูชาด้วยหมากพลู เหล้า และสัตว์ เช่น ไก่ หมู ฯลฯ และในขณะเดียวกัน หากเกิดภัยธรรมชาติผลผลิตไม่ได้ตาม ฤดูกาลจนถึงกับท�ำให้เกิดความอดอยากเกิดขึน้  ชาวอิฟเู กาในหมูบ่ า้ น ต่างๆ ก็จะท�ำพิธีกรรมล่าหัวมนุษ ย์ในหมู่ชนเผ่าอื่นๆ ที่อาจจะเป็น ศัตรูกัน เพื่อน�ำมาท�ำพิธีกรรมบัดพลีแทนไก่ หมูหรือควาย แม้ไม่ เกิดขึน้ บ่อยครัง้ แต่กท็ �ำให้กลายเป็นว่า พวกเขาได้ชอื่ ว่าเป็นชนเผ่าล่า หัวมนุษย์กลายเป็นที่โจษจันกันมาจนถึงทุกวันนี้ ส่วนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายในอดีต เชื่อกันว่าวิญญาณ ของผู้ตายจะไปอยู่กับวิญญาณบรรพบุรุษ การท�ำพิธีจะช�ำระร่างกาย 6

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


และนัง่ ไว้ในเก้าอีส้ ำ� หรับผูต้ าย แต่ละคืนจะมีการจุดไฟรอบๆ และดูแล ร่างกายอย่างระมัดระวังเป็นสัญลักษณ์ของการ “ตื่น” หากมีฐานะก็ จะจัดไปราว ๑๓ วัน จะฝังร่างกายทีส่ สุ านหรือใต้ถนุ บ้าน และในบาง กรณีกจ็ ะฝังศพครัง้ ทีส่ องเมือ่ เวลาผ่านไปราว ๓-๕ ปีตอ่ มาโดยเฉพาะ อย่างยิ่งถ้าผู้ที่ยังอยู่เจ็บไข้ได้ป่วย ชาวอิฟูเกาบางกลุ่มฝังศพผู้ชาย ผู้หญิงแยกออกจากกัน และมักจะฝังศพเด็กในไห แต่เมื่อคริสต์ศาสนาเข้ามากลายเป็นศาสนาหลักของชาว อิฟูเกา ผีต่างๆ ที่เป็นตัวแทนก็หายไป และกลายเป็นความเคร่งครัด ในการเข้าโบสถ์วันอาทิตย์และถือพิธีกรรมทางคริสต์ศาสนานิกาย โรมันคาทอลิกแทน ผู้ไปท่องเที่ยวหรือเยี่ยมชมหมู่บ้านชาวอิฟูเกาใน ปัจจุบันจึงพบเห็นแต่เพียงเทพเจ้าส�ำคัญคือ “เทพโบลูน” เทพที่ดูแล พิทักษ์พืชผลและเป็นตัวแทนของผีบรรพบุรุษ มักจะอยู่ในรูปของคน นั่งชันเข่าทั้งเพศหญิงและชาย แกะสลักจากไม้ที่พบเห็นได้ตามทาง เข้าที่นาหรือตามบ้านทั่วๆ ไป และกลายเป็นหัตถกรรมของที่ระลึก ไปเมื่อศาสนาเข้ามามีส่วนในชีวิตของชาวอิฟูเกาจนท�ำให้วิถีชีวิตแตก ต่างไปจากเดิม เมือ่ มีอตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ วเข้ามาอันเนือ่ งมาจากการได้ รับยกย่องให้เป็นมรดกโลกจากยูเนสโก ชาวอิฟูเกาที่มีการปกครอง ตนเองในส่วนภูมภิ าคมาสักระยะและเป็นส่วนหนึง่ ของการเข้าสูค่ วาม เป็ น พลเมื อ งชาวฟิ ลิ ป ปิ น ส์ โ ดยทั่ วไป ได้ รั บ บู ร ณาการในเรื่ อ ง การศึกษาการมีโอกาสท�ำอาชีพต่างๆ นอกเหนือจากท�ำเกษตรกรรม ได้ท�ำให้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปจากชาวอิฟูเกาดั้งเดิมจนกลายเป็น ชาวฟิลิปปินส์ทั่วไปแล้ว ก็สามารถจัดการการท่องเที่ยวด้วยองค์กร ส่งเสริมการท่องเที่ยวท้องถิ่น มีการน�ำเอาประเพณีพื้นบ้านของชาว อิฟูเกามาร่วมกันจัดงานที่เมืองบานาเว่ และเชิญชวนให้ชาวบ้านตาม หมูบ่ า้ นหรือบาลังไกวต่างๆ [Balagay] ออกมาเดินพาเหรดและแสดง กิจกรรมทางวัฒนธรรม และงานใหญ่ ที่ สุ ด จั ด ขึ้ น ในรอบสามปี ต ่ อ ครั้ ง คื อ งาน “อิมบาย่า” [Imbayah] ซึ่งหมายถึง เหล้าที่ท�ำจากข้าวมีเหลือเฟือ เป็นงานเทศกาลทีป่ รับมาจากงานประเพณีดงั้ เดิมทีช่ าวบ้านผูม้ ฐี านะดี ซึ่งประเมินจากการมีที่นาจ�ำนวนมากและมีควายที่เลี้ยงไว้ ๔-๕ ตัวก็ จะจัดงานเลีย้ งเช่นนี้ในงานหลังจากฤดูเก็บเกีย่ ว หรืองานแต่งงานและ งานมงคลอื่นๆ เพื่อแบ่งปันให้คนที่มีที่นาน้อยได้ดื่มกินร่วมกันไปด้วย ในงานประเพณีนขี้ บวนพาเหรดจะตกแต่งประกวดกันแต่ละ บาลังไกวที่มีทั้งประเพณีการเต้นร�ำแบบนักรบดั้งเดิมที่ ใช้ฆ้องแผ่น เรียบเป็นเครื่องประกอบจังหวะหลัก และเต้นแบบก้นเตี้ยยกมือขึ้น ร่ายร�ำเป็นจังหวะซ�้ำๆ ตลอดเวลา มือถือหอกหรือไม้ปลายแหลมเป็น อาวุธ ใส่เสือ้ ผ้าทีท่ อกันเองในโทนสีแดงด�ำหรือสีเปลือกไม้นำ�้ ตาลอ่อน  ซึง่ คล้ายคลึงกับเสือ้ ผ้าของชนเผ่าในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและ ออสโตรเอเชียติกดัง้ เดิม เช่น ในเวียดนาม ในลาว หรือแม้แต่ในไทย  ทีห่ วั ใส่หมวกขนนกทีม่ กี ระโหลกของสัตว์ตดิ อยู่ ใส่เครือ่ งประดับเป็น สร้อยเขีย้ วหมูปา่ หรือต่างหูทำ� จากเปลือกหอยทะเล ฯลฯ งานเทศกาล

จดหมายข่าว

7

นักรบในงานอิมบาย่าถือเทพเจ้าโบลูน สิ่งศักดิ์สิทธิ์และตัวแทนผีบรรพบุรุษ ที่ คุ้มครองและบันดาลให้มีความอุดมสมบูรณ์

เหล่านีจ้ ดั ขึน้ ทัง้ เพือ่ ชาวอิฟเู กาได้ออกมาพบปะสังสรรค์และส�ำหรับนัก ท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่นับแต่จะมีมากเพิ่มขึ้นทุกปี ชาวอิ ฟู เ กาเคยอยู ่ ใ นสภาพสั ง คมชาวนาที่ เ คร่ ง ครั ดใน การแบ่งกลุ่มชนชั้นทางสังคม โดยจะมี ๓ ระดับ คือชนชั้นร�่ำรวย ชนชั้นกลางๆ และชนชั้นยากจน ผู้ที่มีมากจะปรับสมดุลกันในสังคม โดยการจัดงานอิมบาย่าที่ต้องเตรียมต้มเหล้าและเตรียมอาหาร เช่น ต้องฆ่าควายครั้งละ ๒-๓ ตัวไว้เลี้ยงดูและแบ่งปันกับคนในระดับชั้น ที่ยากจนกว่าแต่ปัจจุบันการแบ่งสถานภาพดังกล่าวลดน้อยลงไปมาก แล้ว คงเหลือเพียงค�ำบอกเล่าและการแต่งกายแบบประเพณีทบี่ ง่ บอก สถานภาพทางชนชั้นทางสังคมเหลืออยู่บ้าง ด้วยเหตุนชี้ าวอิฟเู กาจึงรูส้ กึ ภาคภูมใิ จในท้องถิน่ ของตนเองที่ ไม่เคยมีผใู้ ดอดอยากจนถึงต้องกลายเป็นขอทานเหมือนทีพ่ บตามเมือง ใหญ่ๆ เพราะมีการเฉลีย่ อาหารการกินแก่คนในสังคมด้วยวัฒนธรรม เช่นนี้เอง ชาวอิฟเู กาปรับตัวเพือ่ อยูอ่ าศัยตามสภาพแวดล้อมและยังถือ เครื่องรางเพื่อความโชคดีคือ “ลิงลิง-โอ” และจี้ห้อยคอสัญลักษณ์ สัตว์สองเขา ซึ่งเป็น ที่ทราบกันว่าเป็นเครื่องประดับมาตั้งแต่ยุค สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และปรากฏอยู่ตามกลุ่มคนตั้งแต่ยุคเหล็ก หรือช่วงก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในหลายๆ ท้องถิ่นในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ทั้งภาคพื้นทวีปและหมู่เกาะทีเดียว

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


นาข้าวขั้นบันไดของชาวอิฟูเกา

เรื อ นของชาวอิ ฟู เ กาถื อ ว่ า เป็ น เอกลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น ทาง วัฒนธรรม แม้วา่ ปัจจุบนั นีบ้ า้ นเรือนเกือบทัง้ หมดจะเปลีย่ นแปลงเป็น แบบบ้านสมัยใหม่ แต่เรือนดั้งเดิมบางหลังก็ยังถูกรักษาไว้หรือยังใช้ ส�ำหรับการอยู่อาศัยหรือเป็นที่พักค้างคืนส�ำหรับนักท่องเที่ยว ชาว อิฟเู กาสร้างบ้านหลังเล็กๆ มีเสาสูงสีเ่ สา ปลูกสร้างแข็งแรงโดยใช้ไม้ จริงและไม้ไผ่ ไม่ใช้ตะปูแต่ใช้การผูกมัด หลังคามุงด้วยหญ้าคาทรง โดมกลมยอดแหลม ที่เสาต่อกับคานด้านบนทั้งสี่เสามีแผ่นไม้รองรับ กันสัตว์เลื้อยคลานเลื้อยขึ้นบ้าน ภายในบ้านแบ่งเป็นสองชัน้  ชัน้ บนทีเ่ ป็นห้องใต้หลังคาใช้เก็บ ข้าวเปลือกที่ได้จากการท�ำนาสะสมไว้กนิ ใช้ เครือ่ งเรือนไม่มอี ะไรมาก เพราะเป็นห้องรวมอยูอ่ าศัยในห้องเล็กๆ นีร้ าวๆ ๖-๗ คน ชาวอิฟเู กา บอกว่าในสภาพภูมิประเทศเช่นนี ้ การนอนรวมกันในบ้านหลังเล็กให้ ความอบอุ่นดี ส่วนพื้นใต้ถุนบ้านใช้ประกอบอาหาร ต�ำข้าว หรือกิจกรรม พั ก ผ่ อ นอื่ น ๆ เสาหรื อ บ้ า นเรื อ นมั ก ประดั บ หรื อ แกะสลั ก รู ป เทพ โบลูน หรือสัตว์สัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์  เช่น สัตว์เลื้อย คลาน กบ และมักประดับด้วยหัวควาย รูปแบบการตกแต่งบ้านเรือน เช่นนี้คล้ายคลึงกับศาลากลางบ้านที่ประกอบพิธีกรรมส่วนกลางของ “ชาวตะโอย” กลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมรหรือ กลุม่ ข่ากลุม่ หนึง่ ทีแ่ ขวงสาละวันในประเทศลาวซึง่ มีทงั้ สัตว์เลือ้ ยคลาน และเต่าล้วนแต่ใช้รูปสัญลักษณ์เดียวกันคือสัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ของ ความอุดมสมบูรณ์และความยั่งยืน

“ลิ ง ลิ ง -โอ” เครื่ อ งรางหรื อ เครื่ อ งประดั บ สมั ย ก่ อ น ประวัติศาสตร์

เครื่องประดับต่างหูมีปุ่ม ๓ ปุ่มและจี้ห้อยคอรูปสัตว์ ๒  หัวท�ำจากหินหยก [Nephrite] อันเป็นหินกึ่งรัตนชาติประเภทหนึ่งที่ เรียกว่า “ลิงลิง-โอ” [LingLing-O] พบกระจายทั่วไปในเขตชายฝั่ง และหมู่เกาะในบริเวณทะเลจีนใต้หรือแปซิฟิกรวมทั้งในประเทศไทย ส่วนใหญ่พบในบริเวณชายฝัง่ ภาคกลางจนถึงภาคใต้ของเวียดนามและ เป็นเครื่องประดับของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ในวัฒนธรรมที่ เรียกว่า “ซ่าหวิงห์” [Su Huynh Culture] ซึง่ ร่วมสมัยกับการกระจาย ของกลองมโหระทึกในวัฒนธรรมดองซอน [Dong Son Culture]

จดหมายข่าว

อยู่ค่อนไปทางเหนือของเวียดนาม ในพื้นที่วัฒนธรรมซ่าหวิงห์มักจะ อยู่ในบริเวณเดียวกับวัฒนธรรมของจามปา ซึ่งเป็นกลุ่มบ้านเมืองที่ เริ่มรับศาสนาฮินดูมาเป็นศาสนาของรัฐและรับศาสนาอิสลามต่อมา ในภายหลังอีกส่วนหนึ่ง สันนิษฐานกันว่าผู้คนในวัฒนธรรมซ่าหวิงห์และจามปาน่า จะเป็นกลุ่มคนที่สืบเนื่องและเป็นคนกลุ่มเดียวกัน และเป็นกลุ่มคนใน ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน [Austronesian] มีการสันนิษฐานจาก หลักฐานทางโบราณคดีว่า เครื่องประดับในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ ท�ำจากหยกเช่นนี้ มีแหล่งผลิตอยู่ที่เกาะไต้หวันและแพร่กระจายออก ไปตามเส้นทางการเดินเรือเลียบชายฝัง่ และข้ามหมูเ่ กาะในทะเลจีนใต้ หรือมหาสมุทรแปซิฟิก และพบว่าคงเหลืออยูเ่ ป็นเครือ่ งรางไว้หอ้ ยคอเพือ่ ความโชค ดีและได้รบั โชคลาภร�่ำรวยในกลุม่ ชาวอิฟเู กาจนถึงทุกวันนี้ ซึง่ ชาวอิฟู เกาเปลีย่ นจากการแกะหินหยกทีม่ คี า่ จากแดนไกลเมือ่ ในอดีต เป็นการ หล่อจากโลหะผสม เช่น ส�ำริด เงิน หรือทองเหลือง ซึ่งก็เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตที่หาได้ยากในท้องถิ่นของเขาเช่นกัน งานวิจยั ในบทความเรือ่ ง “แผนทีห่ ยกโบราณ อายุ ๓,๐๐๐  ปีที่แลกเปลี่ยนกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” โดย ปีเตอร์ เบลวู๊ด และคณะ [“Ancient jades map 3,000 years of prehistoric exchange in Southeast Asia” by Peter Bellwood and others, 2007] ถื อ ว่ า ถอดรหั ส ความเข้ า ใจในแหล่ ง ผลิ ต และ การกระจายตัวของโบราณวัตถุในยุคเหล็กทีเ่ ป็น “ต่างหูลงิ ลิง-โอและ จีห้ อ้ ยคอรูปสัตว์สองหัว” ทัง้ สองรูปแบบนี้ได้เป็นอย่างดี เป็นโครงการ วิจยั ที่ใช้เครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์โดยวิเคราะห์ไมโครอิเล็กตรอนจาก โบราณวัตถุพวกเครื่องประดับเนื้อหยกที่พบในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ซึ่งสันนิษฐานว่าอายุราว ๓,๐๐๐ B.C. จนถึงราว ๑,๐๐๐ A.D. การวิจัยได้ผลว่า เครือข่ายของการค้าทางทะเลที่กว้าง ขวางที่สุดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ดูจากการกระจายตัวของลูกปัด ซึ่งหินหยกสีเขียวจากแหล่งวัตถุดิบที่อยู่ทางภาคตะวันออกของเกาะ ไต้หวันที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการสร้างเครื่องประดับที่โดดเด่นในยุคนั้น ๒ อย่างคือ ต่างหูแบบลิงลิง-โอและจี้ห้อยคอรูปหัวสัตว์ที่พบกระจาย ตั ว อยู ่ ทั่ วไปในหมู ่ เ กาะฟิ ลิ ป ปิ น ส์   ทางตะวั น ออกของมาเลเซี ย เวี ย ดนามตอนใต้ ร วมทั้ ง กั ม พู ช าและคาบสมุ ท รทางภาคใต้ 8

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


นาข้าวขั้นบันไดที่หมู่บ้านบาตัด ซึ่งเป็นสถานที่ได้รับยกย่องให้เป็นมรดกโลก และเรียกว่าเป็น Ambi Theater. หินหยกเขียวที่น�ำมาท�ำเครื่องประดับ [A-C] ต่างหูลิงลิง-โอที่มี ปุ่มสามปุ่ม A จากโกมาวอย [Go Ma Voi], เวียดนาม B จากถ�้ำ อุยา [Uyaw] ที่แหล่งตาบน เกาะปาลาวัน ฟิลิปปินส์ C ถ�้ำดุหยง [Duyong] แหล่งตาบน เกาะปาลาวัน, ภาพ D จี้ห้อยคอหินหยกสัตว์ สองหัวจากฟิลิปปินส์ ส่วนภาพ E-O เป็นการผลิตต่างหูลิงลิง-โอได้ มาจากหลากหลายแหล่งเช่นจากทางตะวันออกของเกาะไต้หวัน ทาง ตอนเหนือของฟิลิปปินส์ โดยจัดเรียงไว้ตามรูปแบบการผลิตขั้นต่างๆ

ของประเทศไทยในช่วงอายุราว ๕๐๐ B.C.-๕๐๐ A.D. ช่วงรัศมีกว่า ๓,๐๐๐ กิโลเมตรเวียดนามจากชายฝั่งทะเลจีนตอนใต้ และพบว่ามีการใช้หนิ หยกสีเขียวท�ำเครือ่ งประดับและลูกปัด มาแล้วในช่วงยุคหินใหม่ ยุคส�ำริด ยุคเหล็กหลายแหล่งในประเทศจีน เขตหมู่เกาะไต้หวัน และบางส่วนของหมู่เกาะฟิลิปปินส์และทางตอน เหนือของเวียดนามก่อนยุคสมัยเหล็กด้วย ต่ า งหู ลิ ง ลิ ง -โอที่ มี ปุ ่ ม  ๓ ปุ ่ ม ท� ำ จากหิ น หยกถื อ ว่ า พบ กระจายตัวมากที่สุด ซึ่งมักมีรูปแบบและขนาดใกล้เคียงกันคือราว ๓๐-๓๕ เซนติเมตร ส่วนจี้ห้อยคอรูปสัตว์สองหัวก็มักพบในบริเวณ เดียวกันแต่อาจจะผลิตได้ยากกว่าจึงพบจ�ำนวนน้อยกว่า จากค่าอายุ อยู่ ในราว ๕๐๐ B.C.-๕๐๐ A.D. ซึ่งอยู่ ในช่วงก่อนประวัติศาสตร์ ตอนปลาย ของภูมิภาคนี้ และมักจะพบร่วมสมัยกับโบราณวัตถุจาก ราชวงศ์โจวตอนปลายจนถึงราชวงศ์ฮั่นและอยู่ในช่วงยุคแรกเริ่มเมื่อ มีการค้าทางทะเลกับทางอินเดียในช่วงก่อนทีศ่ าสนาหลักๆ จากอินเดีย จะแพร่เข้ามา แหล่ ง ผลิ ต  Fengtian Jade บนเกาะไต้ ห วั น มี ก ารน� ำ วั ต ถุ ดิ บ จากที่ นี่ ไ ปใช้ อ ยู ่ ส องช่ ว ง คื อ ยุ ค หิ น ใหม่ ใ นไต้ ห วั น ราว ๓,๐๐๐-๕๐๐ B.C.และยุคหินใหม่ ๒,๐๐๐-๕๐๐ A.D. ในฟิลิปปินส์ และยุคเหล็กซึง่ พบว่าถูกข้ามภูมภิ าคในเขตทะเลจีนใต้ไปตามหมูเ่ กาะ และเมืองท่าของภาคพื้นทวีปต่างๆ ในช่วง ๕๐๐ B.C.-๕๐๐ A.D. การพบเนื้อหินหยกสีเขียวในหลายภูมิภาค ท�ำให้สันนิษฐานว่าน่าจะ เป็นการผลิตที่แหล่งนั้นๆ โดยการน�ำวัตถุดิบจากแหล่งเฟงเทียนใน ไต้หวันมาใช้ท�ำเครื่องประดับในชุมชนต่างๆ มีการสันนิษฐานเบื้องต้นเป็นที่ยอมรับกันว่า  กลุ่มมนุษ ย์ ยุคหินใหม่น่าจะเดินทางจากไต้หวันเข้าสู่เกาะลูซอนทางตอนเหนือ

จดหมายข่าว

9

เมื่อราว ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว เพราะมีโบราณวัตถุที่มีอายุใกล้เคียงกัน ส่วนในช่วงเวลา ๕๐๐ B.C. หยกจากไต้หวันถูกน�ำออกไป ยังชุมชนชายฝั่งทะเลและผลิตที่แหล่งนั้นแก่ผู้มีฐานะ ซึ่งเป็นช่วงยุค การค้าระยะแรกๆ ที่เกิดขึ้นในเขตหมู่เกาะและเลียบชายฝั่งทะเลใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทีเดียว และช่วงเวลาที่มีการค้าขายแลก เปลี่ยนมากที่สุดน่าจะอยู่ในช่วงหลัง ๕๐๐ B.C. ลงมา ยุ ค เหล็ ก ในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ;  ความรุ ่ ง เรื อ งของ นักเดินทางทางเรือ [Sea Farer] ภาษากลุม่ ออสโตรนีเซียนเป็นตระกูลภาษาทีม่ ผี พู้ ดู กระจาย ตามหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก หาก แต่พบไม่มากนักในเขตภาคพื้นทวีปจะมีอยู่ก็เช่น ภาษามาเลย์และ ภาษาจาม สมาชิกของตระกูลภาษานีม้ ถี งึ  ๑,๒๖๘ ภาษา หรือประมาณ ๑ ใน ๕ ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก นักภาษาศาสตร์วิจัยว่าจุดเริ่ม ต้นของภาษานี้น่าจะอยู่ในไต้หวันหรือเกาะฟอร์โมซา เพราะพบว่ามี ความแตกต่างของภาษาตระกูลนี้มากที่สุดโดยมีถึง ๙ จากทั้งหมด ๑๐ สาขา ทั้งนี้ถือว่าจุดก�ำเนิดของภาษาจะอยู่ ในที่ซึ่งมีความแตก ต่างของภาษากลุ่มนั้นๆ มากกว่าที่อื่น กลุ่มคนที่พูดภาษาตระกูล ออสโตรนีเซียนโดยใช้หลักฐานทางพันธุศาสตร์พบว่าจุดก�ำเนิดนั้น น่าจะอยู่ ในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชียและสันนิษฐานว่าผู้พูดภาษานี้ อพยพไปจากจีนตอนใต้สู่ไต้หวันเมื่อราว ๘,๐๐๐ ปีมาแล้ว จากนั้น จึงอพยพโดยทางเรือไปยังหมู่เกาะต่างๆ เมื่อราว ๖,๐๐๐ ปีมาแล้ว การแพร่กระจายจากแหล่งก�ำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกลมากเริ่ม ตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ไปจนถึงหมู่เกาะฮาวายทางตะวันออกของ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


แผนที่แสดงการกระจายตัวของเครื่อง ประดับหินหยกจากเกาะไต้หวัน พบว่า หยกสีเขียวมีแหล่งวัตถุดิบหลายแห่ง ในไต้หวันรวมทั้ง เฟงเทียน และ ทางเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก หมายถึงในจีน ไซบีเรีย ญี่ปุ่น  ออสเตรเลีย นิวคาลิโดเนีย นิวซีแลนด์ และบริติชโคลัมเบีย ส่วนหยกสีขาวพบ ในแหล่งที่จีน เกาะลูซอนของฟิลิปปินส์  รัสเซียและเกาหลีแหล่งผลิตที่ส�ำรวจและ สันนิษ ฐานกันว่าน่าจะมาจากเกาะไต้หวัน จากแหล่งเฟงเทียน [Fengtian] ซึ่งมี การผลิตโบราณวัตถุที่ท�ำจากหินหยกที่ เป็นหินเนฟไฟน์ [Nephrite Artifacts] แหล่งที่พบนอกไต้หวันกระจายอยู่ บริเวณ เกาะโดยรอบไต้หวัน เกาะ ปาลาวัน ในฟิลิปปินส์ ถ�้ำตาบนปาลาวัน  ถ�้ำในเกาะซาราวัก  แหล่งที่กว่างน�ำ  เวียดนามตอนกลาง โฮจิมินห์ แหล่ง ส�ำโรงเสนที่กัมพูชา อู่ทอง, บ้านดอน ตาเพชร สุพรรณบุรี เขาสามแก้ว ชุมพร

มหาสมุทรแปซิฟิก การกระจายตัวตามบริเวณที่มีการกระจายตัวของกลุ่มคน ที่พูดภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนช่วงต้นยุคประวัติศาสตร์ (เช่น คน ดัง้ เดิมชาวเกาะฟอร์โมซาหรือไต้หวัน คนฟิลปิ ปินส์ คนจาม คนดายัก ทีเ่ บอร์เนียว) น่าจะสัมพันธ์กบั การกระจายตัวในการพบหินหยกสีเขียว ที่ใช้ในการผลิตเครือ่ งประดับมีคา่ ตามภูมภิ าคต่างๆ ซึง่ ทางตอนเหนือ ของเวียดนามแม้จะใกล้กับเกาะไต้หวันแต่ก็ไม่พบกลุ่มคนพูดภาษา ออสโตรนีเซียนในบริเวณนี ้ ดังนั้นกลุ่มคนที่พูดภาษาออสโตรนีเซียน จึงเกี่ยวข้องกับพ่อค้านักเดินทางทางทะเลที่ ใช้เรือเดินทางไปทั่วหมู่ เกาะต่างๆ ในแถบทะเลจีนใต้จนถึงคาบสมุทรในอ่าวไทย ซึ่งทั้งหมดอยู่ ในยุควัฒนธรรมซ่าหวิงห์ (๕๐๐ B.C.-๑๐๐ A.D.) ทางชายฝัง่ เวียดนามตอนกลางและตอนใต้ และสัมพันธ์กบั การ ฝังศพครั้งที่ ๒ เครื่องประดับส�ำริด กระดิ่งและภาชนะส�ำริด ลูกปัด แก้วและหินคาร์เนเลียน ซึง่ ก็สมั พันธ์กบั วัฒนธรรมการฝังศพครัง้ ที่ ๒ ในฟิลิปปินส์และทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว นักวิชาการส่วนหนึ่งเชื่อว่าวัฒนธรรมซ่าหวิงห์เป็นต้นเค้า ของวัฒนธรรมจามที่เป็นกลุ่มคนออสโตรนีเซียนในยุคประวัติศาสตร์ ในขณะที่วัฒนธรรมดองซอนสัมพันธ์กับกลุ่มคนพูดภาษาตระกูลไตกะไดและมอญ-เขมรซึ่งอยู่ในกลุ่มออสโตรเอเชียติก กรณีเขาสามแก้วทีจ่ งั หวัดชุมพรพบว่าภาชนะทีพ่ บคล้ายคลึง กับชิน้ ของหยกทีพ่ บทีเ่ กาะมินโดโรในฟิลปิ ปินส์สว่ นภาชนะคล้ายกับที่ พบที่ เ กาะสมุ ย ซึ่ ง เป็ น ของยุ ค เหล็ ก และภาชนะแบบคาร์ ล าไนย์ [Kalanay Cave] ที่ ฟ ิ ลิ ป ปิ น ส์ ต อนกลาง(แต่ ก็ เ ริ่ ม พบเช่ น กั น ว่ า ลิงลิง-โอและจีร้ ปู สัตว์สองหัวซึง่ พบในเวียดนามตอนกลางไม่ได้ท�ำมา จากหินหยกจากแหล่งที่เกาะไต้หวันเพียงแหล่งเดียวและอาจจะใช้หิน

จดหมายข่าว

หยกจากในเวียดนามเองและการหลอมด้วยแก้วเพื่อเลียนแบบเครื่อง ประดับล�้ำค่าชนิดนี้) ช่วงเวลาที่มีการค้าขายแลกเปลี่ยนมากที่สุดน่าจะอยู่ในช่วง หลัง ๕๐๐ B.C. ลงมา กลุม่ คนทีพ่ ดู ภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนใช้ การเดินเรือทะเลเลียบชายฝัง่ มาก่อนทีช่ าวจีน ชาวอินเดีย หรืออาหรับ จะเข้ามาสู่เส้น ทางการค้าในภูมิภาคนี้และลงหลักปักฐานเผยแผ่ ศาสนาหลักๆ จนท�ำให้เกิดสถานภาพทางสังคมและมีความซับซ้อน ทางเทคโนโลยีจนเกิดกลุ่มผู้ช�ำนาญพิเศษในการน�ำทรัพยากรแร่ ธาตุที่ส�ำคัญจากต่างแดนเข้ามาค้าขายแลกเปลี่ยนจนกลายเป็น “รัฐแรกเริ่ม” [Early State] หลายๆ แห่งที่เริ่มรับทั้งศาสนาฮินดูและ พุทธศาสนา อันเป็นช่วงยุคเดียวกับที่เราเรียกว่าต้นพุทธกาลหรือในยุค เหล็กที่บ้านเมืองต่างๆ โดยเฉพาะในเขตภาคกลางของประเทศไทย และบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำโขงตลอดจนชายฝั่งตอนกลางของ เวียดนามที่สามารถเดินทางติดต่อเข้าสู่เขตชุมชนภายในภาคพื้นทวีป ได้ไม่ยากและถูกเรียกจากนักเดินทางในช่วงต้นพุทธกาลนี้ว่าดินแดน “สุวรรณภูมิ”

ร่องรอยจากชาวอิฟูเกา

เมือ่ เดินทางไปท่องเทีย่ วในบานาเว่ทมี่ ชี มุ ชนชาวอิฟเู กาท�ำนา ขั้นบันไดอยู่ในเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนทางตอนเหนือของเกาะลูซอน ในฟิลิปปินส์ จึงท�ำให้เข้าใจและต่อภาพร่างในการน�ำฐานข้อมูลทาง โบราณคดีในเขตภาคพืน้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทพี่ บในประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนามในช่วงรอยต่อสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ต่อเนื่องกับยุคต้น หรือยุครัฐแรกเริ่มในช่วงประวัติศาสตร์  ก่อนที่ 10

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ศาสนาใหญ่ๆ จากวัฒนธรรมอินเดียจะเข้ามาอย่างขนานใหญ่ ผู้คนที่อยู่ตามหมู่เกาะต่างๆ ต่างเดิน ทางติดต่อสัมพันธ์ ลงหลักปักฐานตั้งเป็นชุมชนและค้าขายสืบเนื่องกันมานานก่อนหน้า นั้นนานแล้ว และพวกเขายังคงสืบทอดประเพณี พิธีกรรม ผ่านบาง ส่วนในช่วงชีวิตที่ท�ำให้เกิดการศึกษาเปรียบเทียบแบบการศึกษาทาง ชาติพันธุ์วิทยาทางโบราณคดีได้ ข้อมูลหลักฐานจ�ำนวนมากท�ำให้ทราบว่า มนุษย์ในอดีตน่าจะ มีสภาพสังคมและความเป็นอยูอ่ ย่างไร และท�ำไมกลุม่ ชนเผ่าในเขตที่ สูงของเวียดนามตอนกลาง บางกลุม่ ชนในเขตลาวใต้ทยี่ งั คงนับถือสิง่ ศักดิ์สิทธิ์ที่ท�ำให้สังคม บ้านเมืองและชีวิตของผู้คนอยู่ปกติสุขสร้าง ความอุดมสมบูรณ์เป็นหลักประกันในชีวิต และการสร้างบ้านเรือน ในรูปแบบที่ท�ำให้เกิดความเข้าใจในสังคมแบบชนเผ่ากึ่งสังคมชาวนา ในอดีตว่าควรเป็นอย่างไร

ตลอดจนท�ำให้เห็นความเกี่ยวเนื่องกับบ้านเมืองในยุคเหล็ก ต่อเนื่องกับยุครัฐเริ่มแรกในประเทศไทยว่ามีการติดต่อกับกลุ่มคนที่ เข้ามาค้าขายและแลกเปลี่ยนจากพื้นที่ห่างไกลเช่นนี้ ได้อย่างไรและ เส้นทางใด ซึ่งมีความหมายอย่างยิ่งต่อการศึกษาประวัติศาสตร์และ โบราณคดีในภูมิภาคนี้ที่ค่อยๆ เด่นชัดขึ้น อ้างอิง Ifugao - Religion and Expressive Culture. http://www.everyculture.com/East-Southeast-Asia/IfugaoReligion-and-Expressive-Culture.html “Ancient jades map 3,000 years of prehistoric exchange in Southeast Asia” by Peter Bellwood and others, 2007. http://www.pnas.org/content/104/50/19745.full

บันทึก จากท้องถิ่น

เรื่องและภาพ นาวิน  มีบรรจง  และ “กลุ่มคนรักษ์คลองบางประทุน”

บางประทุนสายน�้ำและความร่มเย็น

วัฒนธรรมกับสายน�้ำที่คลองบางประทุนยังมีให้เห็นอยู่

ลุงเปี๊ยก ปราชญ์ชาวสวนคลองบางประทุน

จากแม่นำ�้ เจ้าพระยาสูเ่ ส้นทางคลองสนามชัยฝัง่ ธนบุรมี คี ลอง เล็กๆ  สายหนึ่งท�ำหน้าที่ส�ำคัญในการเชื่อมต่อการไปมาหาสู่ของ ชาวบ้านในระหว่างคลองภาษีเจริญและคลองสนามชัยหรือคลองด่าน ระยะทางราวๆ ๔ กิโลเมตรคนทั่วไปรู้จักในนามคลอง “บางประทุน” ผูห้ ลักผูใ้ หญ่ในท้องถิน่ เล่าถึงทีม่ าของคลองบางประทุนไว้วา่ “ในอดีตคลองบางประทุนจะมีตน้ โมกและพรรณไม้นานาชนิด กิง่ ก้าน

จดหมายข่าว

11

ใบหนาแน่นและโง้งลงมาชนหากันจนเป็นหลังคา แสงเดือนแสงตะวัน จะลอดใบไม้ออกมาเพียงร�ำไร  กลิน่ หอมของโมกโชยฟุง้ ทัว่ คลอง คน สมัยก่อนจึงเรียกคลองนี้ว่า “คลองบางประทุน” ค�ำว่า “ประทุน” หมายถึงหลังคาเรือ รถ หรือเกวียนที่มี รูปโค้งคุ้มตามเรือ รถหรือเกวียน และเรียกมุ้งครอบที่หุบและกางได้ คล้ายร่มว่า มุ้งประทุน (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕)

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


การเปรียญจ�ำหลักไม้ทั้งหลังงดงามจน น. ณ ปากน�้ำ กล่าวไว้ว่า “เป็นเรือนไม้อันวิเศษ” ผูใ้ หญ่หลายคนเล่าว่า เมือ่ ชาวคลองบางประทุนจะน�ำผลิตผล จากสวนไปขายยังตลาดน�้ำวัดไทร หากพายเรือผ่านหน้าวัดก็จะวักน�้ำ ประพรมไปทั่วเรือเพื่อเป็นสิริมงคลให้ขายข้าวของได้ด ี ความศรัทธา นี้มีที่มาจากเรื่องเล่าว่าในสมัยหลวงปู่บุญมีคนมากมายมาขอให้ท่าน ท�ำน�้ำมนต์ ท่านจึงบอกให้ไปตักน�้ำเอาหน้าคลองเพราะได้ท�ำไว้ให้ แล้ว ชาวบ้านเชื่อสืบต่อกันมาว่า สายน�้ำที่คลองบางประทุนถือเป็น น�้ำมนต์ที่ป้องกันภยันอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บของชาวบ้าน แม้แต่ สมัยที่อหิวาตกโรคระบาดชาวบางประทุนก็รอดปลอดภัยมาจากเหตุ ร้ายแรงคราวนั้นได้

ชาวสวนดั้งเดิม

วัฒนธรรมกับสายน�้ำที่คลองบางประทุนยังมีให้เห็นอยู่

จากเรื่ อ งเล่ า ที่ ก ล่ า วกั น ต่ อ ๆ มา จึ ง ท� ำให้ เ ห็ น ถึ ง สภาพ ภูมิประเทศของคลองที่ ไ ม่กว้างมากนัก  แต่มีความอุดมสมบูรณ์ ของย่านสวนและความร่มรื่นของพรรณไม้สองฟากฝั่งโค้งเข้าหากัน จึงเปรียบเสมือน “ประทุน” ที่ให้ร่มเงา สุนทรภู่พรรณนาถึงคลองบางประทุนใน “นิราศเพชรบุรี” ช่วงหนึ่งว่า บางประทุนเหมือนประทุนได้อุ่นจิต พอป้องปิดเป็นหลังคานิจจาเอ๋ย หนาวน�้ำค้างพร่างพรมลมร�ำเพย พิงเขนยนอนอุ่นประทุนบัง ด้วยความที่เป็นชุมชนย่านข้าหลวงเก่าในสมัยรัชกาลที่ ๓ จึงมีบา้ นของข้าหลวงอยูป่ ากคลองอยูถ่ งึ  ๒-๓ หลัง และผูห้ ลักผูใ้ หญ่ ในคลองบางประทุนเองก็เล่าถึงท่าน�้ำขนาดใหญ่โตในสมัยก่อนซึ่ง ปัจจุบันถูกรื้อไปแล้ว ชาวคลองบางประทุนส่วนใหญ่ ในอดีตมีอาชีพท�ำสวนและ ใช้ประโยชน์จากล�ำน�้ำมาตั้งแต่อดีต ทั้งวิถีชีวิต การอยู่อาศัย การท�ำ มาหากิน การเดินทาง การขนส่งผลผลิตจากสวนสู่ภายนอก สายน�้ำ แห่งนีจ้ งึ มีความส�ำคัญในการเชือ่ มโยงเรือ่ งราววัฒนธรรมและวิถขี อง ชุมชน โดยมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจที่ชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธา คลองบางประทุน มีวัดอยู่  ๒ แห่ง วัดแห่งหนึ่งอยู่ติดกับ คลองสนามชั ย ชื่ อ วั ด บางประทุ น นอก และลึ ก เข้ าไปในล� ำ คลอง ไม่ไกลนักมีอีกหนึ่งวัดริมคลองบางประทุนด้านในชาวบ้านเรียกว่า วัดบางประทุนใน ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น วัดแก้วไพฑูรย์ วัดบางประทุนใน สร้างขึน้ ราวรัชกาลที ่ ๓ หรือ ๔ เมือ่ อดีต มีพระเกจิอาจารย์ที่มีความรู้ด้านอาคมและไสยศาสตร์ชาวบ้านและ เจ้าใหญ่นายโตให้ความเคารพอยู่มากจนถึงกับสร้างอาคารเสนาสนะ ขนาดใหญ่ที่วิจิตรบรรจงขึ้น ภายในวัด   คนส่วนใหญ่เรียกท่านว่า หลวงปู่บุญหรือพระอธิการบุญ  มีมรดกศรั ทธาด้วยการสร้างศาลา

จดหมายข่าว

คลองบางประทุนได้ประโยชน์จากอิทธิพลของน�้ำทะเลทั้ง ขึ้นและลง เพราะเมื่อน�้ำทะเลขึ้นกระแสน�้ำก็จะพัดพาเอาดินตะกอน ชายทะเลที่มีแร่ธาตุเข้ามา และเมื่อน�้ำลงเพราะเป็นพื้นที่ลุ่มจึงเป็น แหล่งรับทรัพยากรแร่ธาตุตะกอนดินต่างๆ ที่ล�ำน�้ำพัดพามาจากทาง เหนือ ท�ำให้บริเวณนี้เหมาะสมส�ำหรับการเกษตร  ดังเห็นได้จาก ชาวสวนมักทดลองปลูกพืชผักผลไม้หลายอย่างเพื่อหาชนิดที่เหมาะ กับสภาพของดิน  ทดลองจนเข้าใจสภาพพื้นที่ดีแล้วจึงปลูกพืชนิดที่ ต้องการให้เต็มพืน้ ทีแ่ ละอาจมีการปลูกพืชผักสวนครัวแซมเข้าไปด้วย เพื่อเป็นอาหารและรายได้เสริม การตั้ ง พื้ น ที่ ถิ่ น ฐานของชาวสวนธนบุ รี แ ละชุ ม ชนคลอง บางประทุนนัน้ จะปลูกบ้านสร้างเรือนตามริมน�้ำเป็นหลักและหากไม่ได้ อยู่ริมแม่น�้ำล�ำคลอง ชาวสวนก็จ�ำเป็นต้องขุดร่องน�้ำเพื่อชักน�้ำเข้าไป ในสวนเอาไว้ใช้เป็นทางล�ำเลียงผลิตผลออกจากสวนด้วยร่องน�้ำที่ขุด จะเรียกว่า “คู” หรือ “ล�ำกระโดง” โดยจะขุดจากคลองหลักหรือคลองซอยให้ขนานไปกับสวน ขุดยาวขึ้นไปจรดกับเขตสวนของอีกบางหนึ่งคูที่คั่นแต่ละบางนี้จะมี ความกว้างราวครึ่งหนึ่งของบางหนึ่ง และอีกครึ่งหนึ่งเป็นของอีก บางหนึ่ง ดังนั้นคูที่แบ่งเขตนี้จึงไม่เป็นกรรมสิทธิ์ของบางหนึ่งบางใด ชาวสวนจึงเรียกคูที่แบ่งเขตบางนี้ว่า ทางผี ทางผี ข องฝั ่ ง คลองหนึ่ ง ถึ ง ทางผี ข องอี ก ฝั ่ ง คลองหนึ่ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด พื้ น ที่ ส วนตลอดความยาวของคลองซอย พื้ น ที่ นี้ จะเรียกว่า “บาง” ซึง่ ได้แก่ บางเชือกหนัง บางจาก บางแวก บางหว้า บางมด บางประทุน บางระแนะ เป็นต้น ชาวสวนในคลองบางประทุนเป็นชาวสวนที่สืบทอดกันมา หลายชัว่ อายุคน ยึดถือวิธกี ารท�ำสวนแบบดัง้ เดิม ซึง่ ใช้วธิ คี อื  สวนขนัด ล่าง หรือขนัดใกล้บา้ นจะปลูกพืชผักสวนครัวประเภท ขิง ข่า ตะไคร้  มะกรูด โหระพา กะเพรา ชะพลู รวมทั้งผลไม้บางชนิดที่มีราคาแพง และต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น ลิ้นจี่ กระท้อน ชมพู่ ฯลฯ ส่วนขนัดที่อยู่เหนือขึ้นไปจะเป็นผลไม้ที่ปลูกเป็นจ�ำนวนมาก 12

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ลุงเปี๊ยก ปราชญ์ชาวสวนคลองบางประทุน

ชาวสวนที่บางประทุนใช้เวลาว่างในการเย็บงอบ ถือเป็น แหล่งผลิตงอบที่ส�ำคัญแหล่งหนึ่งเลยทีเดียว  โดยจะมีบ้านหลักที่ ขึ้นโครงงอบ แล้วส่งต่อกระจายไว้ไปให้บ้านอื่นๆ เป็นคนเย็บและ หรือปลูกเต็มทั้งขนัด เช่น มะม่วง มะปราง  ส�ำหรับสวนขนัดใหญ่ๆ ประกอบงอบ และพายเรือน�ำไปขายส่งที่ตลาดน�้ำวัดไทร เพื่อเป็นที่ ส่วนมากมักจะปลูกกล้วยน�้ำว้า กล้วยหอม ส้มโอ ส้มเขียวหวาน หรือ ระลึกแก่นักท่องเที่ยวต่างชาติและส�ำหรับชาวสวนใช้กันทั่วไป ปลูกมะพร้าวเตีย้  ซึง่ ปัจจุบนั นิยมเรียกว่ามะพร้าวน�้ำหอม ซึง่ ชาวสวน นิยมปลูกแซมสลับกับมะพร้าวนาตะเกด้วย ชี วิ ต ชาวสวน   :   ลงแรงขนมหวานในงานบุ ญ และแพทย์ ชาวสวนในคลองบางประทุน มักปลูกมะพร้าวตามขวาง แผนไทย ชาวสวนในคลองบางประทุนนิยมปลูกมะพร้าวกันมาก อาจด้วยเป็น วัฒนธรรมและประเพณีของชุมชนล้วนเกีย่ วพันกับวัด  สายน�ำ้ พันธุพ์ ชื ทีป่ ลูกง่ายไม่ตอ้ งดูแลมากนักและทนต่อสภาพอากาศ และยัง และวิถีชาวสวน รวมถึงการพึ่งพาอาศัยกันและกัน ประเพณีการ ท�ำน�ำ้ ตาลมะพร้าว น�ำ้ ตาลปึก  น�ำ้ ตาลปีบ๊ ขายเป็นรายได้เสริมอีกด้วย ขอแรงหรื อ การลงแขกจึ ง เป็ น สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ช าวบางประทุ น ท�ำ กั น มา ชาวสวนนั้นนอกจากท�ำสวนก็จะท�ำนาไปด้วย หรือในทาง โดยตลอด การขอแรงคือจุดเริม่ ต้นของความสมานสามัคคีของชุมชน กลับกันชาวนาที่ประกอบอาชีพท�ำนาก็ท�ำสวนไปด้วย จึงเรียกว่า เพราะไม่วา่ จะมีกจิ กรรมอะไร เช่น ประเพณีการท�ำบุญสวน, งานบุญ ชาวสวนผสมชาวนาหรือชาวนาผสมชาวสวน  แต่ชาวสวนในคลอง ทีว่ ดั , การลอกเลน, การไล่กระรอก หรือการ “มัวกุง้ มัวปลา” ทีห่ มาย บางประทุนจะนิยมท�ำสวนผสมท�ำนา โดยจะน�ำเอาต้นข้าวไปปลูกใน ถึงการท�ำน�้ำในคลองให้ขุ่นให้สัตว์น�้ำต่าง ๆ เมาน�้ำแล้วพากันลอยหัว ท้องร่องสวนเพื่อเก็บไว้กินในยามจ�ำเป็น ซึ่งปัจจุบันไม่มีชาวสวนผสม ขึ้นผิวน�้ำเพื่อหายใจ จนง่ายต่อการจับมาเป็นอาหาร ชาวนาอีกแล้ว การขอแรงจึงเป็นประเพณีที่ส�ำคัญเพราะถือเป็นกิจกรรม ในสมั ย ก่ อ นคนจีนจ� ำ นวนไม่น้อยที่เข้ามาปลูก ผั ก  ปลู ก ที่ท�ำให้คนในชุมชนได้พบปะพูดคุยหนุ่มสาวได้เจอหน้ากัน เด็กๆ กล้ ว ยหอม  หรื อ ปลู ก พลู    ด้ ว ยการเช่ า ที่ จ ากคนไทยที่ มี ส วน ได้เรียนรู้งานจากการช่วยผู้ใหญ่ แต่ละบ้านใครถนัดอะไรก็จะแบ่ง เป็นจ�ำนวนมากโดยมีการขนส่งผลผลิตใกล้ที่สุดจะน�ำไปขายที่ตลาด หน้าที่กันไปช่วยท�ำโดยมีแม่งานที่มีความช�ำนาญต่างๆ กันถ่ายทอด น�้ำวัดไทรเป็นแหล่งรายได้หลัก ฝีมือจากรุ่นสู่รุ่น ส่วน ชาวสวนใหม่ หมายถึงคนครอบครัวที่ประกอบอาชีพ ยกตั ว อย่ า งช่ า งท�ำ ขนมหวานสู ง วั ย แห่ ง บางประทุ น เช่ น อื่นมาก่อน เช่น ท�ำนาแต่เนื่องจากเกิดปัญหาน�้ำเน่าเสีย การรุกล�้ำ ลุงเปี๊ยก รูปร่างสันทัด หน้าตาใจดี เคี้ยวหมากปากแดงอยู่เป็นนิจ จากบ้านจัดสรรหรือโรงงานอุตสาหกรรมจากทีอ่ นื่ แล้วหันมาประกอบ มีความเชี่ยวชาญในหลายเรื่อง ทั้งเป็นคนที่ขยันขันแข็งช่างเรียนรู้ อาชีพในการท�ำสวนแทน และทดลองท� ำ อยู ่ เ สมอ จึ ง มี วิ ช าติ ด ตั ว และมี อ าชี พ หลายอย่ า ง

จดหมายข่าว

13

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


เป็ น ทั้ ง คนขั บ เรื อ รั บ จ้ า งรั บ ส่ ง เด็ ก นั ก เรี ย นและชาวบางประทุ น มายาวนาน เป็นชาวสวน,  ช่างท�ำขนม,  ช่างท�ำว่าว และเป็นหมอยา พื้นบ้าน ที่ชาวบางประทุนพึ่งพาเสมอๆ  การรักษาโรคลมป่วง และ การรักษาพิษสุนัขเวลาโดนสุนัขกัดของลุง ได้ผลชะงัดนัก ลุ ง จะมี ที ม งานราว ๔-๕ คน แบ่ ง หน้ า ที่ กั น เสร็ จ สรรพ คนหนึ่งดูอุปกรณ์ที่วัด คนหนึ่งเตรียมวัตถุดิบ คนหนึ่งดูแลเรื่องหุง หาอาหารไว้บริการแขกที่มาช่วยงาน ส่วนคนที่เหลือก็จะเป็นหูเป็น ตาแก้ไขปัญหาเท่าที่จะท�ำได้ เด็กๆ ได้เป็นสารถี ในการช่วยหยิบจับ ถ้วยชามให้ผู้ใหญ่ส่วนลุงเปี๊ยกมีหน้าที่ในการท�ำอาหารหวานและขับ เรือรับคนมาช่วยงาน ลุงจะผูกผ้าขาวม้าที่หัวเรือเป็นสัญลักษณ์ว่า “เรือล�ำนี้รับคนที่มาช่วยงาน” ลุงเปี๊ยกเริ่มรับคนมาช่วยงานตั้งแต่ตี ๔ พอสายๆ ชาวบ้าน ก็จะออกมาช่วยงานมากขึน้ เรือ่ ยๆ ชาวบ้านจะทักทายอย่างเป็นกันเอง และทุกคนจะรูห้ น้าทีก่ นั ดี งานทีต่ อ้ งใช้แรงอาทิปอกมะพร้าว คัน้ กะทิ ตีไข่ หรือกวนถั่ว เป็นหน้าที่ของฝ่ายชาย ส่วนงานตอกไข่ รีดไข่แดง หรือเคี่ยวน�้ำเชื่อม ปั้นถั่วก็จะเป็นงานของฝ่ายหญิงซึ่งจะท�ำกันเป็น กลุ่มๆ การท�ำอาหารหวานนั้น ในงานบุญต้องเริ่มท�ำอาหารหวาน ก่อนอาหารคาว เพราะอาหารหวานท�ำยาก ต้องพิถีพิถันและประณีต มากถึงจะท�ำได้ดีและอร่อย การท�ำขนมหวานของชาวคลองบางประทุนมีภูมิปัญญาที่ น่าทึ่งใช้ของสวนจากในพื้นที่  ฝอยทองจะใช้ไข่แดงล้วนๆ ส่วนทอง หยิบและทองหยอดจะใช้ไข่แดงและแป้งในสัดส่วนที่ต่างกัน ส่วนเม็ด ขนุนจะผสมมะพร้าวลงไปด้วย จะท�ำให้ปั้นไม่ติดมือ และจะชุบไข่ แดงในตอนท้าย ที่ขาดไม่ได้คือน�้ำเชื่อมต้องเหนียวพอดี และเตรียม จากน�้ำตาลทรายเท่านั้น  ไข่ขาวที่เหลือก็จะไม่ทิ้งจะน�ำไปท�ำสังขยา ตัดแบ่งแจกจ่ายให้คนมาช่วยงาน  กาบมะพร้าวก็จะน�ำมาผิงขนม หม้อแกง แม้แต่น�้ำเชื่อมที่เหลือยังน�ำมาเชื่อมพุทรา ทั้งหมดนี้เป็น การสอดประสานสิง่ ของต่างๆ ได้อย่างเหลือเชือ่  เรียกได้วา่  เป็นการ ใช้สิ่งของไม่เหลือให้เสียของเลย ลุงเปี๊ยกเล่าถึงเรื่องราวก่อนที่จะเป็นช่างท�ำขนมหวานว่า แรกๆ ไปช่วยก็ ไม่คิดอะไร ใครมาบอกบุญก็ไปช่วยเสมอ ฝึกให้ท�ำ ตั้งแต่หุงข้าว หยิบโน่นยกนี่จนกระทั่งท�ำงานคล่อง และเห็นว่าเป็น คนเอางานเอาการไม่จับจด จึงได้รับการถ่ายทอดวิชาจาก  “ป้าค�ำ” แม่ครัวขนมหวานเจ้าต�ำรับ ลุงบอกว่าคนสมัยก่อนเขาจะไม่ถ่ายทอด วิชากันง่ายๆ  ต้องพิสจู น์ตวั เองกันนานว่าวิชาที่ให้ไปนัน้ จะไม่เสียเปล่า

ชีวิตของเด็กๆ ในคลองบางประทุน

ตลาดน�้ำวัดไทรที่เคยเป็นแหล่งส่งผลไม้หลักก็ล่มสลายและ การท่องเที่ยวที่ไม่มีคุณภาพ แม้ภาครัฐจะพยายามรื้อฟื้นให้ตลาดน�ำ้ วัดไทรทีโ่ ด่งดังกลับมาหลายครัง้ แต่ก็ไม่สามารถเยียวยาให้กลับมาได้ ชาวบางประทุนหลายคนต้องปรับตัวให้อยูก่ บั โลกทีเ่ ปลีย่ นไป หลายครอบครัวไม่สนับสนุนให้ลูกหลานท�ำสวน แต่นิยมส่งให้เรียน สูงๆ จะได้ไม่ล�ำบากเหมือนตัวเอง เมื่อชาวสวนไม่มีการสืบสานจาก รุ่นสู่รุ่นสวนก็รกร้าง และรอนายทุนมาจับจองเพื่อท�ำหมู่บ้านจัดสรร สวนหลายขนัดกลายเป็นที่ตาบอดเพราะความเห็นแก่ตัวของนายทุน และภาครัฐทีป่ ดิ คูคลองทีจ่ ะชักน�้ำเข้าสวนและขนส่งผลผลิต ชาวสวน จึงจ�ำเป็นต้องขายที่กินเพื่อเป็นทุนรอนในบั้นปลายชีวิต หลายคนเริม่ ทิง้ ถิน่ ฐานไปหาทีอ่ ยู่ใหม่ภายนอก คนไหนทีย่ งั รักการท�ำสวนและวัฒนธรรมดั้งเดิมอยู่  เมื่อได้เงินมาก็ย้ายถิ่นฐาน ท�ำสวนไปท�ำที่บางช้างหรือแม่กลอง ความเปลีย่ นแปลงถาโถมเข้าสูช่ วี ติ ของชาวคลองบางประทุน มีการย้ายถิน่ ฐานจากคนภายนอกและแรงงานชาวต่างชาติ  คนแปลก หน้าเข้ามาในพื้นที่ ความผูกพันและส�ำนึกรักในบ้านเกิดและท้องถิ่น ของตนเองจึงลดน้อยลง ทุกวัน นี้ ชีวิตวัฒนธรรมของชาวคลองบางประทุน หลาย สิ่ ง หลายอย่ า งยั ง รั ก ษาไว้ ไ ด้  หลายคนพู ด ตรงกั น ว่ า เพราะชาว บางประทุนมีชีวิตที่ผูกพันอยู่กับวัดและสายน�ำ้ และอยู่กันอย่างเครือ ญาติ ชีวิตต้องพึ่งพาอาศัยกัน ชาวคลองที่นี่จึงอยู่ร่วมกันอย่างถ้อยที ถ้อยอาศัยและเกื้อกูลเป็นสิ่งร้อยรัดผู้คนเหล่านี้ไว้ ไม่มีใครรูว้ า่ ชีวติ ทีผ่ กู พันกับวัฒนธรรมแบบเดิมและการด�ำรง อยู่ของสังคมชาวสวนบางประทุนจะอยู่ไปอีกนานเท่าใด แต่ทุกวันนี้คนบางประทุนเชื่อว่า “บางประทุน” จะคงอยู่ ตราบเท่าที่คนบางประทุนยังสามารถรักษาเรื่องเล่าของชาวสวนบอก บางประทุนเปลี่ยน เล่าแก่ลูกหลานไว้ได้ แม้จะต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่ถูกก�ำหนดจาก วันนีช้ วี ติ วัฒนธรรมของชาวบางประทุนเปลีย่ นแปลงไปมาก ภายนอกให้ต้องเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมยิ่งเปลี่ยนแปลงมากที่สุดจากการเริ่มต้นของการ ชาวบางประทุนก็ยังมีชีวิตและจิตใจเป็น “ชาวสวนบาง ตัดถนนเอกชัยจนถึงยุคของการตัดถนนกัลปพฤกษ์ แบ่งแยกสภาพ ประทุน” เสมอ แวดล้อมทีเ่ คยเป็นท้องถิน่ เดียวกันของชาวคลองบางประทุนเป็นส่วนๆ

จดหมายข่าว

14

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


พระนคร บัวรินณาฐทึพิกทักษ์วงศ์วาน

“บางยี่ขัน”

ถิ่นวังเจ้าลาว โรงสุรา และโรงปูน

บรรยากาศโรงงานสุราบางยี่ขันก่อนมีการตัดสะพานพระราม ๘

“บางยี่ขัน” เป็นย่านเก่าแห่งหนึ่งในฝั่งธนบุรี ตั้งอยู่บนเส้น ทางคมนาคมทางน�ำ  ้ มีล�ำคลองบางยี่ขันเชื่อมต่อกับแม่นำ�้ เจ้าพระยา คลองบางจาก คลองผักหนาม และอยู่ในจุดที่เป็นชุมชนใหญ่คือช่วง ที่ตัดกับคลองบางบ�ำหรุ ทั้งยังมีเส้นทางคลองเล็กๆ ลัดเลาะไปตาม เรือกสวนต่างๆ บางยีข่ นั อยูไ่ ม่ไกลกับทีต่ งั้ ของด่านขนอนบางกอก ซึง่ มีความ ส�ำคัญมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ความเก่าแก่ของชุมชนในย่านนี้ สัมพันธ์กับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ เช่น วัดบางยี่ขัน วัดพระยาศิริไอยสวรรค์ ที่มีประวัติว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอน กลางและสมัยอยุธยาตอนปลายตามล�ำดับ นอกจากนี้ยังมีวัดสวนสวรรค์ หรือที่ชาวบ้านรู้จักกันในนาม โบสถ์รา้ ง ภายในอุโบสถเป็นทีป่ ระดิษฐานของหลวงพ่อด�ำพระพุทธรูป ปางมารวิชัยสมัยอยุธยาตอนปลายถึงรัตนโกสิน ทร์ตอนต้น ส่วน รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของอุโบสถเช่น นี้พบตั้งแต่สมัยสมเด็จ พระนารายณ์ฯ ลงมา

เล่าถึงสถานที่ ชื่อบ้านฐานถิ่นที่ตนเองเดินทางผ่าน ไล่เรียงมาตั้งแต่ พระบรมมหาราชวังเรื่อยมา   “ถึงอารามนามวัดประโคนปัก   เป็นส�ำคัญปันแดนในแผ่นดิน

ไม่เห็นหลักลือเล่าว่าเสาหิน มิรู้สิ้นสุดชื่อที่ลือชา”

เป็นความตอนหนึง่ ทีส่ ามารถให้ภาพบริบทของพืน้ ทีบ่ างยีข่ นั ทีอ่ ยูถ่ ดั จากวัดประโคนปักหรือวัดดุสดิ าราม จากนัน้ บทกลอนวรรคต่อ มาได้ฉายภาพบริเวณนี้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่า “ถึงโรงเหล้าเตากลั่นควันโขมง   มีคันโพงผูกสายไว้ปลายเสา โอ้บาปกรรมน�ำ้ นรกเจียวอกเรา   ให้มวั เมาเหมือนหนึง่ บ้าเป็นน่าอาย”

แสดงว่าในย่านนี้มีโรงสุราตั้งอยู่ซึ่งอาจจะสืบเนื่องจนถึง โรงงานสุ ร าบางยี่ ขั น ในยุ ค หลั ง ๆ  โรงสุ ร าแห่ ง นี้ อ าจมี ม าตั้ ง แต่ สมัยรัชกาลที่ ๑ และที่ตั้งอยู่สืบมาอย่างถาวรในย่านบางยี่ขัน นั้น ถึงโรงเหล้าเตากลั่นควันโขมง อาจเป็นไปได้ว่าพื้น ที่ดังกล่าวเป็น นิวาสสถานเดิมของพระยาราช ข้อมูลเกี่ยวกับบางยี่ขัน ปรากฏใน นิราศภูเขาทอง ของ มนตรีบริรกั ษ์ (ภู)่  ต้นสกุลภมรมนตรี ขุนนางผูไ้ ด้กำ� กับดูแลอากรเตา สุ น ทรภู ่   ที่ แ ต่ ง ขึ้ น ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว สุราสมัยรัชกาลที่ ๓ จึงได้ตั้งเตากลั่นสุราขึ้นใกล้กับบ้าน เพื่อความ ขณะเดินทางไปนมัสการเจดียภ์ เู ขาทองทีก่ รุงเก่า  นิราศดังกล่าวบอก สะดวกในการควบคุมดูแล

จดหมายข่าว

15

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ก�ำแพงที่ถูกสันนิษ ฐานว่าเป็นก�ำแพงของวังบางยี่ขัน (ภาพ : สุดารา สุจฉายา)

การตั้งโรงงานสุราในพื้นที ่ ท�ำให้กลุ่มแรงงานชาวจีนเข้ามา เป็นคนงานในโรงงานต้มกลั่นสุรา และมาตั้งถิ่นฐานในย่านบางยี่ขัน มากขึน้ ซึง่ นอกจากจะเข้ามาท�ำงานในโรงสุราแล้ว บางส่วนได้ยดึ อาชีพ ค้าขายพายเรือไปตามล�ำคลอง เปิดโรงฝิ่นบริเวณริมแม่น�้ำให้บริการ คนในย่านบางยี่ขัน โดยเฉพาะกลุ่มกุลี ในโรงงานสุราซึ่งคนกลุ่มนี้ มีหัวหน้าควบคุมและขึ้นอยู่กับการบังคับบัญชาของนายอากรต่อมา เมื่อรัฐบาลยกเลิกการผูกขาดการต้มกลั่นและจ�ำหน่ายสุรา มอบการ ควบคุมดูแลให้กับกรมสรรพสามิตในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ชาวจีนที่เคย ท�ำงานในโรงงานสุราเดิมก็เปลี่ยนไปสังกัดอยู่กับกรมสรรพสามิต  ก่อนจะโอนโรงงานสุราให้ไปขึ้นตรงกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมในปี พ.ศ. ๒๔๘๕และในช่วงหลังปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นต้นมา ได้เปิดให้ บริษัทสุรามหาราษฎรเข้ามารับช่วงสัมปทานโรงงานสุราบางยีข่ นั  และ ด�ำเนินกิจการจนกระทั่งโรงงานแห่งนี้ปิดตัวลงในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ หลังจากโรงงานปิดตัวลง คนงานในโรงงานบางส่วนได้ ลาออกจากงาน แต่ยังคงปักหลักปักฐานประกอบอาชีพค้าขายอยู่ ในย่ า นบางยี่ ขั น บางส่ ว นได้ ย ้ า ยไปท�ำ งาน ณ โรงงานแห่ ง ใหม่ ในจังหวัดปทุมธานี  ส่งผลให้ทา่ เรือหน้าโรงงานทีเ่ คยคลาคล�่ำไปด้วย คนงานซึง่ ข้ามฝัง่ ไปย่านบางล�ำพูตอ้ งปิดตัวลง อาคารโรงสุรา รวมทัง้ อาคารอ�ำนวยการถูกปล่อยทิง้ ร้าง และบางอาคารถูกรือ้ เพือ่ เป็นทีต่ งั้ ของคอสะพานพระราม ๘ ปัจจุบันพื้นที่และอาคารของโรงสุราเดิม ได้เปลี่ยนบทบาทเป็นสถานที่ท�ำการของส�ำนักงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ (กปร.– มูลนิธิชัยพัฒนา) สถาบันอาหารและ สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

สืบประวัติซากก�ำแพง

ถัดไปทางทิศเหนือของโรงสุราบางยี่ขัน คือพื้นที่ใต้สะพาน พระราม ๘ ในปัจจุบนั  ยังมีซากก�ำแพงเก่าทอดตัวยาวตามแนวตะวัน ออก-ตะวันตกขนานไปกับชุมชนบ้านปูน ปัจจุบันซากก�ำแพงดังกล่าว ขึ้นทะเบียนโบราณสถานของกรมศิลปากร สันนิษฐานว่าซากก�ำแพง ดังกล่าวคือ วังของเจ้าอนุวงศ์ หนึง่ ในสามของเชือ้ พระวงศ์เวียงจันทน์

จดหมายข่าว

อันได้แก่ เจ้านัน ทเสน เจ้าอิน ทวงศ์ และเจ้าอนุวงศ์ ซึ่งถูกน�ำตัว เข้ามาเมื่อครั้งกองทัพกรุงธนบุรีตีนครเวียงจันทน์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๒ แล้วโปรดเกล้าฯ พระราชทานทีด่ นิ และวังให้เป็นทีป่ ระทับ ณ บางยีข่ นั วังเจ้าเวียงจันทน์มีรูปร่างลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นไร สร้างขึ้นในสมัยใด ใครเป็นผู้สร้าง ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดมีเพียง ถ้ อ ยความจาก นิ ร าศวั ง บางยี่ ขั น  ซึ่ ง แต่ ง โดยคุ ณ พุ ่ ม  กวี ห ญิ ง ผู ้ ไ ด้ รั บ สมญานามว่ า  “บุ ษ บาท่ า เรื อ จ้ า ง” เมื่ อ ปี   พ.ศ. ๒๔๑๒ (สมั ย รั ช กาลที่   ๕) เมื่ อ ครั้ ง ตามเสด็ จ พระองค์ ห ญิ ง นารี รั ต นา (พระธิดาในเจ้าจอมมารดาดวงค�ำ เจ้าจอมในรัชกาลที ๔  ่ ผูม้ ศี กั ดิเ์ ป็น พระนัดดาของเจ้าอนุวงศ์) และเจ้าจอมประทุม ไปเยี่ยมอาการป่วย เจ้าจันทรเทพสุริยวงศ์ เจ้าเมืองมุกดาหาร บิดาของเจ้าจอมประทุม ซึ่งมีศักดิ์เป็นน้าของเจ้าจอมมารดาดวงค�ำ แม้ในใจความจาก นิราศ วังบางยี่ขัน จะฉายภาพความทรุดโทรมของสถานที่ แต่ก็เป็นข้อมูล ลายลักษณ์ส�ำคัญที่สนับสนุนว่าซากก�ำแพงเก่า ถาวรวัตถุสิ่งเดียวที่ ยังคงหลงเหลืออยู่เป็นนิวาสสถานของเจ้าเวียงจันทน์ รวมทั้งในย่าน นีย้ งั เคยเป็นชุมชนของชาวลาวทีเ่ ข้ามาพึง่ พระบรมโพธิสมภารอีกด้วย

บ้านบางยี่ขัน : คฤหาสน์ขุนนางริมเจ้าพระยา

ปัจจุบนั หากใครสัญจรทางน�้ำช่วงท่าเรือสะพานพระปิน่ เกล้า ถึงท่าเรือสะพานกรุงธน (ซังฮี)้  ต้องสะดุดตากับความงามของอาคาร สถาปัตยกรรมคอนกรีตสองชั้นริมน�้ำเจ้าพระยาสไตล์โคโลเนียล ที่ได้รบั อิทธิพลจากศิลปะจีนผสมกับตะวันตกในสมัยรัชกาลที ่ ๕ ซึง่ อยู่ ถัดไปทางตอนใต้ของโรงสุราบางยีข่ นั  และเป็นจุดทีส่ ามารถแลเห็นภูมิ ทัศน์ป้อมพระสุเมรุของย่านบางล�ำพูเบื้องหน้าได้ชัดเจน อาคารดังกล่าวก็คือโรงแรม พระยา พาลาซโซ [Praya Palazzo] ในปั จ จุ บั น ซึ่ ง ชื่ อใหม่ นี้ บ อกนั ย ให้ รู ้ ว ่ า นี่ คื อ คฤหาสถ์ แห่ ง พระยาชลภู มิ พ านิ ช  เนื่ อ งจากเดิ ม อาคารหลั ง นี้ มี น ามว่ า “บ้านบางยี่ขัน”เป็นบ้านของพระยาชลภูมิพานิช (ไคตั๊ค อเนกวณิช) ขุนนางเชือ้ สายจีนในสมัยรัชกาลที ่ ๕ และคุณหญิงส่วน ผูเ้ ป็นภรรยา และเป็นข้าหลวงในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ จนปี พ.ศ. ๒๔๘๙ ทายาทได้ขายบ้านหลังนี้ ให้แก่มูลนิธิ มุสลิมกรุงเทพวิทยาทาน (มัสยิดปากคลองบางกอกน้อย) เพื่อใช้ เป็นอาคารใหม่ของโรงเรียนราชการุญมูลนิธิ กระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๒๑โรงเรี ย นแห่ ง นี้ ป ิ ด ตั ว ลง หลั ง จากนั้ น ในปี   พ.ศ. ๒๕๒๖ โรงเรียนอินทรอาชีวะได้มาเช่าพืน้ ทีเ่ พือ่ ด�ำเนินกิจการ จนถึงปี พ.ศ.  ๒๕๓๙ โรงเรียนแห่งนี้ก็ปิดกิจการลงพร้อมๆ กับปล่อยบ้านหลัง นี้ทิ้งร้าง ทรุดโทรม แต่ยังคงเค้าความงามหลงเหลือให้เห็น ท�ำให้ใน เวลาต่อมา ผศ. วิชัย พิทักษ์วรรัตน์ ผู้ซึ่งมองเห็นคุณค่าความงาม ได้มาขอเช่าและท�ำโครงการปรับปรุงซ่อมแซม โดยพยายามรักษา สถาปัตยกรรมดั้งเดิมให้ได้มากที่สุด จนกระทั่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และเปิดให้บริการเป็นทีพ่ กั ร้านอาหาร รวมถึงสถานทีจ่ ดั เลีย้ ง ในโอกาสต่างๆ 16

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


จิตรกรรมในอุโบสถวัดบางยี่ขัน ภาพสะท้อนท้องถิ่น เห็นต้นมะพร้าวและเงาะบางยี่ขัน (ภาพ : สุดารา สุจฉายา)

วัดสวนสวรรค์ที่กลายเป็นวัดร้าง มีบ้านเรือนล้อมโดยรอบ (ภาพ : http://www.sujitwongthes.com)

ท�ำสวน ท�ำปูน

พืน้ ทีฝ่ ง่ั ธนบุรีได้ชอื่ ว่าเป็นแหล่งสวนมาแต่ครัง้ กรุงศรีอยุธยา บางยี่ขันจัดเป็นสวน “บางบน” ของสวนในบางกอก และมีผลไม้ขึ้น ชื่อคือ เงาะ ซึ่งเป็นเงาะชั้นดีราคาแพง ด้วยเป็นเงาะเนื้อล่อน พันธุ์ เหลืองใหญ่ เหลืองเล็ก และแฟบ อันเป็นที่โปรดปรานของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) จึงทรงยกอากรสวน เงาะให้กับชาวบ้านบางยี่ขันทั้งหมด ดังเห็นร่องรอยจากค�ำบอกเล่าของคุณสังวาลย์ สุนทรักษ์ ทีว่ า่ “ตอนที่มาอยู่ยังมีสภาพเป็นสวน หลังโรงเรียนเป็นสวนชมพู่ ตอนนัน้ ย่านนีเ้ ป็นสวนทัง้ หมด สะพานพระปิน่ เกล้ายังไม่มี เขาเรียกว่า ‘สวนบางยีข่ นั ’ เพราะนีเ่ ป็นต�ำบลบางยีข่ นั ...เงาะบางยีข่ นั ทีบ่ า้ นก็ปลูก มีขนสีแดง มี ๒ อย่าง อย่างหนึ่งเป็นสีอ่อนๆ ลูกกลมๆ แต่ถ้าลูกแบน ก็ขนแดง มีเป็นพวงเลย มีชื่อทั้งสองอย่าง แต่ทีหลังหมดพันธุ์ เดี๋ยวนี้ ไม่มี ในช่วงนั้นทางจันทบุรีเขายังไม่ขึ้นชื่อเรื่องผลไม้...เคยทานเงาะ บางยีข่ นั ขึน้ ต้นเก็บเลย เลือกเก็บแต่ลกู แดงๆ ต้องเป็นกะเทย กะเทย คือไม่มเี มล็ด เนือ้ จะคล้ายๆ เงาะสีชมพู เงาะทีม่ าจากปีนงั ขนมันคล�ำ ้ แต่วา่ ของบางยีข่ นั ขนสีแดงสวย เป็นชนิดลูกกลม เป็นพวงเหมือนกัน” นอกจากขึ้นชื่อเรื่องผลไม้แล้ว ย่านบางยี่ขันยังเป็นที่ตั้งของ ชุมชนท�ำปูน จนกลายเป็นทีม่ าของชือ่ บ้านสืบมาจนถึงทุกวันนี  ้ จุดเริม่

จดหมายข่าว

17

ต้นของการท�ำปูนนัน้ มีอยูห่ ลายส�ำนวน บ้างก็วา่ เริม่ ท�ำในช่วงราวสมัย รัชกาลที่ ๔ บ้างบอกว่ากลุ่มคนที่อพยพมาอยู่บ้านปูนนั้น มีอาชีพท�ำ ปูนมาก่อนที่จะอพยพลงมาหลังกรุงศรีอยุธยาก�ำลังจะแตก หลังจาก ที่ย้ายมาตั้งรกรากที่นี่จึงได้ยึดอาชีพท�ำปูนสืบต่อมา การท�ำปูนนั้นต้องใช้เวลาเผาหินเป็นเวลากว่า ๕ วัน ๕ คืน หินที่น�ำมาเผาเป็นหินปูนจากจังหวัดราชบุรี ปูนที่ ได้นอกจากจะใส่ ปี๊บขนลงเรือไปขายตามที่ต่างๆ แล้ว ยังเป็นหนึ่งในเครื่องบริโภค ที่ส่งเข้าไปในรั้วในวังอีกด้วย  นอกจากนี้ ในอดีตย่านบางยี่ขันยังมี สวนหมากปลูกแซมไปกับผลไม้ชนิดอืน่ ๆ ทัง้ ยังมีสวนพลูอยูห่ า่ งออกไป ไม่ไกลมากนัก สวนพลูเก่านีอ้ ยู่ในพืน้ ทีบ่ ริเวณซอยอรุณอัมรินทร์ ๓๔ และเป็นที่แน่นอนว่าสมัยก่อนหากใครจะเดินทางขึ้นเหนือหรือล่องใต้ ไปตามล�ำน�ำ้ เจ้าพระยา เมือ่ มองเห็นเตาเผาหินท�ำปูนเรียงรายอยูต่ าม ล�ำน�้ำ เป็นที่ทราบกันดีว่าที่นี่คือบ้านปูน ปัจจุบันสวนผลไม้และเตาเผาปูนไม่หลงเหลือให้คนรุ่นหลัง ได้เห็นอีกต่อไปแล้ว แม้แต่ค�ำคล้องจองที่ว่า “สวนในบางกอก สวน นอกบางช้าง” ยังคงเหลือเพียงแต่สวนนอกในย่านต�ำบลอัมพวา บางคณฑี บางนกแขวก และด�ำเนินสะดวกเป็นบางแห่ง พอให้คนรุ่น หลังได้เห็นวิถชี วี ติ ของชาวสวนตามลุม่ น�ำ้ ทีย่ งั สืบทอดภูมปิ ญ ั ญาในการ หาเลีย้ งชีพจากรุน่ สูร่ นุ่  ขณะเดียวกันวัฒนธรรมกินหมากกินพลูกค็ อ่ ยๆ เลือนหายไปจากสังคมไทย คงเหลือเพียงความทรงจ�ำของคนเฒ่า คนแก่ในชุมชนให้เล่าขาน ซึ่งนับวันจะเหลือน้อยเต็มที ความเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงกว่า ๖๐ ปีทผี่ า่ นมา ส่งผล ให้เกิดการขยายตัวของเมืองจากฝัง่ พระนครมาสูฝ่ ง่ั ธนบุรี เห็นได้จาก การเปิดใช้สะพานกรุงธนในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ และต่อมาคือ สะพาน พระปิ่นเกล้าในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ เพื่อใช้เป็นเส้นทางสัญจรของผู้คน สองฟากฝั่ง หลังจากนั้นราวปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ห้างสรรพสินค้าพาต้า ได้เข้ามาเปิดให้บริการในย่านนี้ กระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๓๘ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�ำริให้สร้างสะพานพระราม ๘ ขึน้ เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรบนถนนบรมราชชนนี และการสัญจร

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยาจากฝั่งธนบุรี ไปยังฝั่งพระนคร ระหว่างการ ก่อสร้างสะพานครั้งนั้นแม้มีเหตุกระทบกระทั่งกันระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐกับประชาชนในปัญหาการเวนคืนที่ดิน  แต่ด้วยการประสาน ประโยชน์เพื่อลดความขัดแย้งระหว่างภาคส่วนต่างๆ ก็ท�ำให้สะพาน แห่งนี้สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๔๓  เปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพ ของพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล อย่างไรก็ด ี วันนีภ้ าพจ�ำของคนในบ้านบางยีข่ นั ก�ำลังพร่ามัว ลงไปเรือ่ ยๆ เนือ่ งจากคนดัง้ เดิมในพืน้ ทีโ่ ยกย้ายถิน่  ปล่อยทีด่ นิ ให้เช่า หรือไม่ก็ขายเปลี่ยนมือ คนจากต่างถิ่นทยอยเข้ามาจับจองอยู่อาศัย เกิดคอนโดมิเนียม อะพาร์ตเมนต์ บ้านเช่า อาคารพาณิชย์ ห้างสรรพ สินค้า ผุดขึน้ มากมาย และบางส่วนเปลีย่ นสภาพกลายเป็นชุมชนแออัด ผูอ้ าศัยอยู่ในย่านเวลานีน้ อ้ ยคนทีจ่ ะทราบว่าย่านเก่าแก่แห่งนีเ้ คยเป็น โรงเหล้า  วังเจ้าลาว คฤหาสถ์ขนุ นาง สวนเงาะมีชอื่  และแหล่งท�ำปูน กินหมากมรดกที่เป็นรากฐานของย่าน ในขณะที่พลวัตของเมืองก�ำลังแปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว จะมีหนทางใดทีจ่ ะเชือ่ มร้อยส่งต่อเรือ่ งราวและมรดกอันมีชวี ติ ชีวาของ

ย่านให้กบั คนรุน่ หลัง ทัง้ ทีย่ งั คงอยูส่ บื ต่อจากบรรพบุรษุ และคนใหม่ที่ เข้ามาลงรากสร้างถิน่ ฐานใหม่ ได้รบั รูแ้ ละสามารถน�ำมรดกวัฒนธรรม เก่าแก่ของย่านตน เป็นแกนในการพัฒนาเปลี่ยนแปลงพื้นที่อย่างเท่า ทันและยัง่ ยืน ไม่วา่ ในอนาคตพลวัตของเมืองจะน�ำพาชุมชนเก่าริมน�ำ้ เจ้าพระยาแห่งนี้ไปในทิศทางใด ขอบคุ ณ ข้ อ มู ล สั ม ภาษณ์    สั ง วาลย์   สุ น ทรั ก ษ์ ,  ชาญ คงเมื อ ง, ร� ำ พรรณ กั ล ยาณสุ ต ร,  ล� ำไย แก้ ว ภู ผ า,  วลี   ชมพื ช , สุ รั ต น์ ฤาษี ป ระสิ ท ธิ์ ,   อุ ทิ ศ  อุ ด มทรั พ ย์ ,   อานั น ท์   นาคคง และ พิสุทธิลักษณ์ บุญโต อ้างอิง กรุงเทพมหานคร. สะพานพระราม ๘ : โครงการแก้ไขปัญหาจราจร ตามแนวพระราชด�ำริ. ๒๕๔๓. ประภัสสร์ ชูวิเชียร. วัดสวนสวรรค์ บางยี่ขัน สวนสวรรค์ที่ถูกลืม. ศิลปวัฒนธรรม. ปีท ี่ ๓๓ ฉบับที ่ ๘, มิถนุ ายน ๒๕๕๕. (หน้า ๓๖-๔๑) สุจิตต์ วงษ์เทศ, บรรณาธิการ. ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม จากวรรณคดีกวีสยามน�ำเทีย่ วกรุงเทพฯ.  กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๕. สุดารา  สุจฉายา, บรรณาธิการ. ธนบุร.ี  กรุงเทพฯ : สารคดี, ๒๕๔๒.

จับกระแส ประวั ติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น วลัยลักษณ์  ทรงศิริ

พิพิธภัณฑ์คนจีนในเซบู, ฟิลิปปินส์ พิพิธภัณฑ์ทันสมัยในโกดังเก่า อนุสาวรีย์ลาปู-ลาปู ชาวมัคตันผู้สังหาร “เฟอร์ดินาน แมกเจลแลน”เหตุการณ์นี้เกิดขึ้น หลังจากที่แมกเจลแลนได้เชื่อมสัมพันธไมตรี กับกษัตริย์แห่งเกาะเซบูแล้ว ประเทศฟิลิปปินส์ ถือว่าเขาคือวีรบุรุษ คนแรกของประเทศ

อยูๆ่  ไกด์หนุม่ ใหญ่ชาวเซบูโน่ [Cebuano] ชวนพวกเราเดิน เข้าประตูโรงงานที่ดูท่าจะปิดอยู่เป็นนิจ ด้านในของอาคารแบบโกดัง สูง ร้อนและเต็มไปด้วยเครื่องจักรกลต่างๆ อุปกรณ์ก่อสร้างแขวน ระเกะระกะและตั้งวางไว้ทั่วบริเวณ เดินข้ามกองเหล็กท่อเหล็กเส้น ตามพื้นตามผู้น�ำทางเราไปเรื่อยๆ ก็พบกับทางเข้าที่แขวนโคมจีน สีแดงและมีโต๊ะไม้ให้นั่งพัก ด้านหน้าคือประตูไม้ปิดเปิดแบบบ้าน คนจีนเก่าๆ เมือ่ แหงนหน้าดู อาคารหลังนีถ้ กู ต่อเติมจนกลายเป็นส่วน หนึง่ ของโกดังโรงงานทีส่ ร้างคลุมพืน้ ทีอ่ กี ชัน้ หนึง่  แม้จะมีบางส่วนทีด่ ู เป็นไม้ระแนงแบบอาคารเก่าอยู่บ้าง แต่ก็เห็นไม่ชัดนัก ยังคงเหมือน เดินเข้ามาในโกดังเก็บอุปกรณ์ก่อสร้างรกๆ อยู่เช่นเดิม

ในย่านเก่าปาริ-อัน [Pari-an] ของเกาะเซบู บนถนนสาย เงียบไม่พลุกพล่านเพราะเป็นวันอาทิตย์ มีโกดัง [Warehouses] ทึมๆ ขนาดใหญ่ที่ใช้เก็บอุปกรณ์เครือ่ งจักรกลโรงงานอยูห่ ลายแห่ง ดูคล้าย ย่านถนนขายอุปกรณ์ก่อสร้างที่เงียบเหงาและไม่มีอะไรน่าสนใจ หรือแปลกตาไปจากสภาพถนนสายอื่นๆ ในเซบูที่เต็มไปด้วยตึกแถว ที่นี่คือ “พิพิธภัณฑ์บ้านแห่งคณะเจซูอิต ๑๗๓๐” เมื่อก้าวเท้าเข้าไปในด้านในบานประตูไม้ ก็พบกับพื้นห้อง ธรรมดาๆ อาคารบ้านช่องรกๆ ไม่สวยงามแบบเมืองประวัติศาสตร์ และผนังปูนเก่าๆ ติดเครื่องปรับอากาศเพื่อให้ระบายอากาศส�ำหรับ หรือย่านเก่าที่มีเอกลักษณ์ตามแบบบ้านเมืองอื่นๆ เอาเสียเลย

จดหมายข่าว

18

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


สถานที่ปิดทั้งหมดเช่นนี ้ ภายในจัดแสดงนิทรรศการทั้งภาพและการ จัดแสงสวยงามน่าตื่นใจทีเดียว ใช่แล้ว... ที่นี่คือพิพิธภัณฑ์ “บ้านแห่งคณะเจซูอิต ๑๗๓๐” [1730 Jesuit House] ในย่านปาริ-อัน [Pari-an Barangay] ที่อยู่ ตอนเหนือของเกาะเซบู เป็นท้องถิน่ ทางประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม ของเกาะเซบูมาแต่แรกเริม่ เมือ่ ประเทศเจ้าอาณานิคมเริม่ เดินทางเข้า มาสู่หมู่เกาะฟิลิปปินส์ และยึดครองไว้เป็นอาณานิคมในเวลาหลาย ร้อยปีต่อมา ปาริ-อันในยุคที่สเปนครอบครองเคยมีกลุ่มคนเชื้อสายจีน ที่ท�ำการค้าเป็นส่วนใหญ่อาศัยอยู่โดยรอบ และเป็นย่านหัวใจทาง เศรษฐกิจของเมืองเซบูและเกาะเซบู ราว ค.ศ. ๑๕๙๕ (พ.ศ. ๒๑๓๘) บาทหลวงคณะเจซูอติ ถูกส่งมาในปาริ-อันช่วงสัน้ ๆ เพือ่ โน้มน้าวคนเชือ้ สายจีนเหล่านี้ให้เปลี่ยนหันมานับถือศาสนาคริสต์ โดยท�ำงานและอยู่ ภายใต้การปกครองของบิชอปแห่งเซบู อาคารที่พักของคณะเจซูอิต นี้สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. ๑๗๓๐ (พ.ศ. ๒๒๗๓) ซึ่งยังคงมีป้ายปีก่อสร้าง ติดไว้ทเี่ หนือประตูแห่งหนึง่ ของตึกเก่าหลังนี้ และเชือ่ กันว่าเป็นบ้านพัก ของพระรองเจ้าคณะสังฆมณฑล จนกระทัง่ เกิดเหตุการณ์คณะเจซูอติ ถูกไล่ออกไปจากศาสนจักรแห่งสเปนเมือ่  ค.ศ. ๑๗๖๘ (พ.ศ. ๒๓๑๑), (การจัดตั้งสมาคมเจซูอิตก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. ๑๕๓๔ เนื่องมา จากกระแส “การต่อต้านการปฏิรปู ศาสนา” ของนิกายโปรเตสแตนต์ ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง คื อ  นั ก บุ ญ อิ ก นาทิ อุ ส  โลโยลา [St.Ignatius Loyola] ขุน นางชาวสเปน มีผลงานคือจัดตั้งโรงเรียนการท�ำงานของคณะ มิชชันนารีที่ท�ำเหมือนกองทัพหรือสมาคมทหารที่มีวินัยเคร่งครัดและ จัดการ “สอดแนม” ซึง่ กันและกัน สมาชิกจะต้องเชือ่ ฟังโดยไม่โต้แย้ง และจั ด การศึ ก ษาแบบใหม่ ที่ เ น้ น การตั้ ง วิ ท ยาลั ย ในสเปน อิ ต าลี โปรตุเกสและเยอรมันทางตอนใต้เพื่อดึงดูดความสนใจจากบุตรของ ชาวคาทอลิกที่มีอิทธิพล และเปิดการสอนด้านอักษรศาสตร์และ ศาสนาแบบไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน รวมทั้งเป็นคณะที่ปรึกษาของเจ้า ชายและขุนนางต่างๆ มิชชันนารีที่มีชื่อเสียงที่สุดของคณะเจซูอิตคือ คณะเซนต์ ฟรังซิส ซาเวียร์ [St.Francis Xavier] แต่ในระยะต่อมา สมาคมนี้ ไ ม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มศาสนาที่เกิดขึ้นก่อนเพราะ ไม่มีเครื่องแบบ และไม่ใช้วิธีการปกครองแบบสมาคมศาสนาทั่วไป  ทั้งยังได้รับสิทธิพิเศษจากพระสันตะปาปาท� ำให้สามารถรวมชาว คาทอลิกเป็นปึกแผ่นในเวลาต่อมา และความขัดแย้งในช่วงเวลาหนึ่ง ท�ำให้คณะเจซูอิตต้องถูกขับออกไปจากฟิลิปปินส์ในปี ค.ศ. ๑๗๖๗ จนเป็นสาเหตุต้องทิ้งอาคารเก่าที่ย่านปาริ-อันไปด้วย) โกดังหลังนีม้ พี นื้ ทีก่ ว่า ๒,๐๐๐ ตารางเมตรและคลุมอาคาร เดิมที่เป็นตึกเก่ารุ่นแรกๆ ที่สร้างขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์นี้ ไว้กว่า ๔ ทศวรรษโดยไม่ มี ใ ครสนใจนั ก  สถาปนิ ก เชื้ อ สายจี น ชาวเซบู จิมมี่ ไซ [Jimmy Sy] ผู้ซึ่งพ่อแม่ของเขาเป็นเจ้าของโกดังหลังนี้เห็น ภาพสเกตช์อาคารในยุคสมัยของคณะเจซูอิตในฟิลิปปินส์จากหนังสือ ของบาทหลวงท่านหนึ่งก็จำ� ได้ทันทีว่าภาพหนึ่งในนั้นคือ อาคารที่อยู่

จดหมายข่าว

19

ราชาฮูมาบน [Humabon] และราชินี ฮูมาไล [Humalai] เมื่อรับเข้าพิธีบัพติสต์เป็น คริสต์ศาสนิกชนแล้ว ได้รับชื่อใหม่ว่าพระราชา คารอสและพระราชินีจูเลียน่า แต่งตั้งโดยกษัตริย์ ชาร์ลที่ ๕ แห่งสเปน

กางเขนที่แมกเจลแลนมอบให้ กษัตริย์แห่งเซบู ก�ำลังบูรณะ เนื่องมาจากแผ่นดินไหว เมื่อปีที่แล้ว

ในโกดังที่บ้านของเขานั่นเอง พ่ อ แม่ ข องจิ ม มี่ ซื้ อโกดั ง นี้ ม าจากครอบครั ว อั ล วาเรซ [Alvarez] ซึ่งมีเชื้อสายสเปนและออสเตรีย เมื่อราวต้น ทศวรรษ ที่ ๑๙๖๐ เพื่อใช้ส�ำหรับเก็บสินค้า เพราะบริเวณนี้ห่างจากย่านถนน โคลอน [Colon Street]  ถนนที่ ได้ชื่อว่าเป็นถนนที่เก่าที่สุดของ ประเทศฟิลิปปินส์ ชื่อมาจากถ่านหินที่เคยใช้กันมากส�ำหรับเป็นเชื้อ เพลิงส�ำหรับรถไฟในยุคแรกๆ และมีเส้น ทางน�้ำที่เป็นคลองย่อย จากท่าเรือส�ำเภาจีนที่เข้ามาเทียบท่าขนส่งสินค้าที่เกาะเซบู ย่านนี้ จึงเต็มไปด้วยกิจกรรมทางเศรษฐกิจค้าขายสินค้าโดยมีคนจีนเป็น พ่อค้าคนกลางและสามารถกุมเศรษฐกิจพื้นฐานของสังคมฟิลิปปินส์ ได้มานานจนบัดนี้ หลังจากคณะเจซูอิตถูกขับไล่ออกไปจากฟิลิปปินส์ อาคาร หลั ง นี้ ก็ ร ้ า งไปกว่ า  ๑๔๒ ปี   จนตกไปอยู ่ ใ นมื อ นั ก ธุ ร กิ จ ท้ อ งถิ่ น ไม่ มี ใ ครรู ้ ว ่ า เป็ น มาอย่ า งไร รู ้ แ ต่ เ พี ย งครอบครั ว อั ล วาเรซซื้ อ อาคารหลั ง นี้ จ ากนั ก ธุ ร กิ จ ชาวสเปนซึ่ ง เป็ น เจ้ า ของบริ ษั ท ผลิ ต ยาสู บ เก่ า แก่ ที่ สุ ด ในโลก และเมื่ อ ถึ ง สงครามโลกครั้ ง ที่   ๒ ชาวญี่ ปุ ่ น ที่ เ ป็ น พั น ธมิ ต รก็ ม าใช้ แ บ่ ง พื้ น ที่ อ าคารนี้ เ ป็ น ส� ำ นั ก งานกั บ ครอบครั ว อั ล วาเรซ และเมื่ อ ชาวอเมริ กั น เข้ า มา ปลดปล่ อ ยเกาะเซบู   ออฟฟิ ศ นี้ ก็ ถู ก ปล่ อ ยทิ้ ง รกร้ า งอี ก ครั้ ง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


โบสถ์ซานโต นิโญ ที่ประดิษ ฐานพระเยซูเด็ก [Bacilica Minore del Sto.Nino de Cebu]

โบสถ์แห่งนครเซบู [Metropolitan Cebu Cathedral] ก�ำลังบูรณะจากเหตุแผ่นดินไหวเมื่อปีที่แล้ว

ในช่วงทศวรรษที่ ๑๙๕๐ ครอบครัวอัลวาเรซก็กลับมาใช้ พื้น ที่อีกครั้งและหลังจากนั้นไม่นานจึงตกไปอยู่ ในกรรมสิทธิ์ของ นักธุรกิจชาวจีนพ่อของจิมมีท่ �ำเป็นส�ำนักงานใหญ่ของโหตงฮาร์ดแวร์ [Ho Tong Hardware]  และครอบครัวใช้ชีวิตอยู่ภายในบ้านแห่งนี้มา นับแต่นั้น อาคารเก่านีน้ า่ จะสร้างโดยช่างชาวจีน เพราะมีการมุงหลังคา แบบจีนและโครงสร้างไม้บนอาคารชั้นที่ ๒ ก็เข้าไม้แบบช่างจีน ส่วน ฐานรากที่ใช้ไม้ทั้งต้นท�ำเสาก็ถูกกัดกร่อนด้วยน�้ำกร่อย เพราะอยู่ไม่ ห่างไกลจากชายฝั่งทะเลนัก ด้วยการที่จิมมี่ ไซ เป็นสถาปนิก เขาถึง ซ่อมแซมอาคารเก่าหลังนี้และเก็บรักษาสภาพการตกแต่งทั้งหน้าต่าง บานประตู พื้นผนังแบบเดิมๆ ที่ท�ำจากหินปูนที่ ได้มาจากแนวเกาะ ปะการังริมชายฝั่งและเครื่องแต่งบ้าน  เช่น โต๊ะ ตู้ เตียง เก้าอี้ ไม้ ห้องครัว ห้องรับประทานอาหารแบบเดิมไว้อย่างสมบูรณ์ ต่อมาจิมมี่ ไซ จึงปรับภายในอาคารให้เป็นพิพิธภัณฑ์โดย มี โทนี่ อัลเบลกาสซ์ สถาปนิกเชื้อสายจีนฮกเกี้ยนเช่นกันเป็นผู้ดูแล พิพิธภัณฑ์ ซึ่งท�ำหน้าที่น�ำชมเฉพาะผู้ที่ติดต่อล่วงหน้าและเพิ่งเปิด อย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. ๒๐๑๐ โดยแบ่งการจัดแสดงออกเป็น ๒ ส่วนคือประวัตศิ าสตร์ของย่านเศรษฐกิจปาริ-อัน และในฐานะทีเ่ ป็น สถานที่พักอาศัยของพระเจซูอิตในอดีต จึงมีการจัดนิทรรศการเกี่ยว กับมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนาที่คณะเจซูอิตมีต่อเกาะเซบูด้วย นอกเหนือไปจากการจัดแสดงสภาพการอยูอ่ าศัยแบบคหบดี เชื้อสายจีนและครอบครัวแบบกึ่งตะวันตกที่มีฐานะของเกาะเซบูแล้ว อาจจะเป็นเพราะเจ้าของพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นสถาปนิก การจัดแสดง เพื่อเสนอข้อมูลอันเกี่ยวกับโครงสร้างของอาคารในรายละเอียดที่น่า สนใจต่างๆ จึงถูกเก็บรายละเอียดและจะถูกน�ำมาจัดแสดงในส่วน ต่อไป เช่น เรือ่ งพัฒนาการของสถาปัตยกรรมในยุคอาณานิคม ซึง่ จะ น�ำเสนอการปรับเปลีย่ นจากรูปแบบการอาศัยในอาคารแบบกระท่อม แบบพื้นเมือง [ฺBahay Kubo] มาเป็นบ้านที่ใช้หินเป็นฐานอาคารและ ผนัง [Bahay-na-bato]

จดหมายข่าว

เกาะเซบูและชาวเซบูโน่แห่งฟิลิปปินส์

เกาะเซบูอยู่บริเวณตอนกลางของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ซึ่งประกอบด้วยเกาะใหญ่เกาะเล็กกว่า ๗,๐๐๐ เกาะ ตั้งอยู่ ใน มหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออกสุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เฟอร์ดินาน แมกเจลแลน [Ferdinana Magellan] ชาว โปรตุเกสได้เดินเรือมาถึงเกาะเซบู [Cebu] เพื่อแสวงหาเครื่องเทศ เมื่อแมกเจลแลนถูกฆ่าตายในการรบระหว่างชาวเกาะผู้ติดตามมาใน ขบวนเรือของเขาได้คมุ เรือกลับไปสเปนในปี ค.ศ. ๑๕๒๒  ชาวสเปน จึงได้ทราบเรื่องราวเกี่ยวกับหมู่เกาะนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. ๑๕๔๓ ชาวสเปนคนหนึ่งได้ให้ชื่อหมู่เกาะ แห่งนีเ้ สียใหม่วา่  เฟลิปปินา [Felipina] ต่อมาเปลีย่ นเป็น Philippine เพื่อเฉลิมพระเกียรติแก่เจ้าชายฟิลิปรัชทายาทแห่งสเปนแต่ชาว โปรตุเกสยังอ้างว่าหมู่เกาะฟิลิปปินส์เป็นของตน จึงรบกันจนในที่สุด เมื่อปี ค.ศ. ๑๕๒๙ ทั้งสองประเทศได้ลงนามในสนธิสัญญาที่สเปน ยกหมู่เกาะโมลุกกะให้โปรตุเกสและเงินจ�ำนวนหนึ่งและเสียสิทธิ์ ใน การแบ่งเส้นอาณานิคมทางตะวันออกของตนให้แก่โปรตุเกสส่วนหนึง่ เนือ่ งจากทัง้ โปรตุเกสและสเปนต่างก็เป็นมหาอ�ำนาจด้วยกัน ทั้งคู่ในสมัยนั้น เพื่อมิให้ทะเลาะวิวาทและบาดหมางกันเอง โลกใบนี้ กว้างใหญ่ พระสันตะปาปา ALEXANDER VI จึงได้ออกกฤษฎีกา INTER  CAETERA ในปี ค.ศ. ๑๔๙๓ แบ่งโลกออกเป็น ๒ ส่วน โดยซีกโลกตะวันตกมอบให้สเปน ต่อมาในปี ค.ศ. ๑๕๗๐ กองเรือสเปนเข้าโจมตีบริเวณเมือง มะนิลา เมืองท่าริมชายฝั่งซึ่งเป็นเมืองใหญ่ของพวกโมโร [Moro] ที่ นั บ ถื อ อิ ส ลามบนเกาะลู ซ อน ในขณะนั้ น มี   ราชาโซลิ มั น [Rajah Soliman] ปกครองอยู่ เมื่อได้มะนิลาแล้วก็ได้ประกาศตั้งให้ เป็นเมืองหลวงของหมู่เกาะฟิลิปปินส์ อย่างไรก็ตาม สเปนผิดหวังที่หมู่เกาะฟิลิปปินส์ไม่มีเครื่อง เทศตามที่ตนคาดไว้ แต่รัฐบาลสเปนยังคงปกครองและปกป้องหมู่ 20

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ โทนี่ อัลเบลกาสซ์ สถาปนิกเชื้อสายจีนฮกเกี้ยน ท�ำหน้าที่น�ำชม เฉพาะผู้ที่ติดต่อล่วงหน้า พิพิธภัณฑ์เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. ๒๐๑๐

นิทรรศการที่ชั้นล่างแบ่งการจัดแสดงออกเป็น ๒ ส่วนคือประวัติศาสตร์ของย่าน เศรษฐกิจปาริ-อัน และในฐานะทีเ่ ป็นสถานทีพ่ กั อาศัยของพระเจซูอติ ในอดีต จึงมีการ จัดนิทรรศการเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนาที่คณะเจซูอิตมีต่อเกาะเซบู

เกาะฟิลิปปินส์จากชาติอื่นๆ ที่เข้ามาล่าอาณานิคมเช่นกัน สเปนตั้ง ผูส้ ำ� เร็จราชการประจ�ำ มีการเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก จนแพร่หลายอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือแต่ก็ยัง มีผู้นับถืออิสลามอยู่ไม่น้อยทางมินดาเนา สันตะปาปาได้ตั้งมะนิลา เป็นศูนย์กลางของคณะบาทหลวงโดยตั้งอาร์ชบิชอป [Archbishop] เป็นประมุข ในช่วง ๓๐๐ ปีที่เข้าครองหมู่เกาะฟิลิปปินส์ กองทัพสเปน ต่อสู้กับเหตุการณ์กบฏต่าง ๆ มากมาย ทั้งจากชนพื้นเมืองและจาก ชาติเจ้าอาณานิคมอื่นๆ เพื่อปกป้องดินแดนของตน เช่น อังกฤษ จีน ฮอลันดา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น และโปรตุเกส จนสงครามสเปนกับสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. ๑๘๙๕ ทีค่ วิ บา สนธิสัญญาปารีส ๑๘๙๘ [Paris Threaty ๑๘๙๘] ท�ำให้สเปนต้อง มอบอิสรภาพให้ควิ บาภายใต้การคุม้ ครองของสหรัฐฯ โอนเปอร์โตริโก และฟิลิปปินส์ให้สหรัฐฯ ทั้งนี้สหรัฐฯ ยอมจ่ายเงิน ๒๐ ล้านดอลลาร์ สหรัฐ ให้สเปน จนถึงปี ค.ศ. ๑๙๓๕ ฟิลิปปินส์ที่เริ่มปกครองตนเองได้ เขียนรัฐธรรมนูญและตั้งหมู่เกาะฟิลิปปินส์เป็นวงศ์ไพบูลย์ร่วมกัน [Common Wealth] มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแต่ยังคงปกครอง ภายใต้การควบคุมของข้าหลวงใหญ่สหรัฐอเมริกาและได้รับเอกราช เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๙  เมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ฟิลปิ ปินส์เป็นอาณานิคมทัง้ สเปนและสหรัฐอเมริการวมเวลา กว่า ๔๐๐ ปีอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษา ความเชื่อ ค่านิยม และ การศึกษาของเจ้าอาณานิคมกลายเป็นรากฐานทางวัฒนธรรมของ ชาวฟิลิปปินส์ในปัจจุบันฟิลิปปินส์จึงเป็นประเทศเดียวในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ทอี่ ยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของตะวันตกก่อนจะได้มโี อกาสพัฒนา วัฒนธรรมของตัวเอง หมูเ่ กาะฟิลปิ ปินส์ประกอบด้วยผูค้ นทีม่ ภี าษาพูดแตกต่างกัน มากกว่า ๑๗๐ ภาษา และส่วนใหญ่อยู่ในตระกูลภาษามลาโย-โพลี นีเซียน ชาวเซบูโน่ [Cebuano] เป็นผู้คนที่อาศัยอยู่ในเกาะเซบูของ

ประเทศฟิลิปปินส์ ถือเป็นกลุ่มที่พูดภาษาของตัวเองที่เรียกว่าแบบ วิสายัน [Visayan] เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาฟิลิปปินส์ตอนกลาง และยังเป็นกลุ่มคนที่มีมากเป็นอันดับ ๒ ในประเทศฟิลิปปินส์สมาชิก ของภาษาในกลุ่มนี้มีมากกว่า ๓๐ ภาษา ภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ มากที่สุดคือภาษาเซบูมี ๒๐ ล้านคน เมือ่  พ.ศ. ๒๕๓๐ รัฐธรรมนูญระบุให้ภาษาฟิลปิ โี นและภาษา อังกฤษเป็นภาษาทางการ ส่วนภาษาประจ�ำชาติคอื ภาษาตากาล็อกคน ฟิลปิ ปินส์ใช้ภาษาทีเ่ รียกว่า ทากรีส [Tagalog + English] คือพูดภาษา ตากาล็อกกับภาษาอังกฤษผสมกันในประโยคสนทนา ชีวิตวัฒนธรรมของชาวเซบูโน่ที่สืบเนื่องมาถึงปัจจุบันได้รับ อิทธิพลมาจากวัฒนธรรมสเปนและอเมริกนั ทัง้ การด�ำเนินชีวติ ภาษาพูด การนับถือศาสนาคริสต์และยังมีอิทธิพลในเรื่องอาหาร การแต่งกาย การเต้นร�ำ ดนตรี รวมถึงงานฝีมือ เช่น การผลิตกีตาร์ชนิดต่างๆ

จดหมายข่าว

21

เดิน-เที่ยวในย่านเก่าเมืองเซบู

ชาวเซบูโน่พื้นเมืองน่าจะมีการตั้งถิ่นฐานมาก่อนคริสต์ ศตวรรษที่ ๑๐ ก่อนที่ชาวสเปนและโปรตุเกสจะเดินทางมาสู่ดินแดน นี้มีบันทึกไว้ว่าชาวเซบูโน่ดั้งเดิมผู้ชายมักไว้ผมยาว สลวย และมีกลิ่น หอมด้วยน�้ำมัน ตกแต่งร่างกายด้วยรอยสักทั้งหญิงและชาย ชาวเซบู โน่เป็นนักเดินทางทางทะเลโดยใช้เรือที่มีการพยุงด้านข้างที่เรียกว่า “Karakao” ไปยังเกาะต่างๆ เพือ่ ค้าขายและจับคนมาเป็นทาส โดยมี การแบ่งสถานภาพทางสังคมเป็นล�ำดับชั้นอย่างชัดเจน เพราะเกาะเซบูอยู่ ในเส้นทางการค้าส�ำคัญในเอเชียตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ยุ ค การค้ า ทางทะเลเฟื ่ อ งฟู   ติ ด ต่ อ การค้ า กั บ ญี่ ปุ ่ น โอกินาวา อินเดีย จีน สยาม เวียดนาม ชวา มะละกา และอาหรับ ในช่วงกรุงศรีอยุธยาและสินค้าที่ชาวเซบูโน่ค้าขายคือ ไข่มุกปะการัง แลกกับผ้าไหม ทอง อาวุธ และเครื่องเทศต่างๆ เหตุการณ์ส�ำคัญส�ำหรับชาวเซบูโน่ คือการต่อสู้ที่เกาะมัค ตัน ผูน้ ำ� ชาวมัคตัน “ลาปู-ลาปู” ได้สงั หาร “เฟอร์ดนิ าน แมกเจแลน”

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ชาวโปรตุเกสผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นผู้น�ำกองเรือสเปนแล่นเรือรอบโลก ได้ส�ำเร็จเป็นคณะแรกเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นหลังจากที่แมกเจลแลนได้ เชื่อมสัมพันธไมตรีกับกษัตริย์แห่งเกาะเซบูแล้วแต่ภายหลังเขาไป มีส่วนเกี่ยวข้องในการรบที่มัคตันและเสียชีวิตในที่สุดเมื่อวันที่ ๒๗  เมษายน ค.ศ. ๑๕๒๑ ชาวเซบูโน่ต่อต้านการล่าอาณานิคมจากสเปน เรื่อยมา แต่ในที่สุดสเปนก็สามารถครอบครองเกาะเซบูและหมู่เกาะ ฟิลิปปินส์ได้ทั้งหมด มีการสร้างอนุสาวรียเ์ ป็นเกียรติแก่ลาปู-ลาปู และถือว่าเขา เป็นวีรบุรุษ ของประเทศฟิลิปปินส์คนแรก เมื่อมีงานฉลองก็มีการจัด แสดงละครแสงสีเสียงส�ำหรับนักท่องเที่ยวด้วย ชาวเซบูโน่มีความเชื่อดั้งเดิมในการนับถือผีก่อนชาวสเปน จะน�ำศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมาเผยแผ่ในภายหลังเพราะ คนเซบูโน่มีเทศกาลส�ำคัญคือ เทศกาลซิโนลอก [Sinulog] ที่จัด ขึ้น ทุกสัป ดาห์ ที่  ๓ ในเดือนมกราคมของทุกปี  เริ่มแรกเป็ น การ จัดพิธีเฉลิมฉลองที่ ราชาฮูมาบน [Humabon] และราชินีฮูมาไล [Humalai] แห่งเซบูทำ� พิธแี บบติสต์รบั เป็นคริสต์ศาสนิกชน โดยได้รบั ชื่อใหม่ว่าพระราชาคารอสและพระราชินีจูเลียน่า แต่งตั้งโดยกษัตริย์ ชาร์ลส์ที่ ๕ แห่งสเปน ทุกวันนี้เทศกาลซิโนลอกจัดกัน ๙ วันเฉลิมฉลอง ซานโต นิโญ (พระเยซูเด็กแห่งเซบู-เชื่อกันว่าเป็นรูปเคารพที่เก่าแก่ที่สุด ในประเทศฟิลปิ ปินส์) จุดเด่นของงานคือการจัดขบวนพาเหรดไปตาม ท้องถนนในขบวนกลอง ทรัมเปต และฆ้องแบบวัฒนธรรมท้องถิ่น ผู้คนในขบวนพาเหรดต่างแต่งกายดูสีสันสดใสสวยงามจากชุมชน ต่ า งๆ คล้ า ยกั บ เทศกาลเฟี ย สต้า บนถนนในแถบลาติ นอเมริ ก า นับเป็นความเชือ่ ท้องถิน่ ทีผ่ สมผสานกับความเชือ่ ในศาสนาคริสต์นกิ าย โรมันคาทอลิก

ส่วนคนจีนในฟิลปิ ปินส์เข้ามาทีเ่ กาะเซบูเช่นเดียวกับดินแดน อื่ น ๆ ในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ทั้ ง ภาคพื้ น ทวี ป และหมู ่ เ กาะ ในระยะเริม่ แรกน่าจะมากับการค้าส�ำเภาทีค่ ล้ายคลึงกับเมืองท่าทัว่ ไป เมื่อหลายร้อยปีก่อน แต่คนจีนยุคปัจจุบันนั้นสืบต้นตระกูลอย่างเป็น หลักฐานได้คล้ายๆ กับในสยามคือ อพยพจากเมืองจีนขนานใหญ่ ราวๆ ร้ อ ยถึ ง สองร้ อ ยปี ม านี้   และคนจี น กลุ ่ ม ใหญ่ เ หล่ า นี้ เ ป็ น คนฮกเกีย้ นหรือจากทางมณฑลฟูเจีย้ น ตัง้ ถิน่ ฐานอยูแ่ ถบย่านการค้าที่ ติดกับชายฝั่งหรือท่าเรือในย่านเก่าของเมืองเซบู ซึ่งรวมตัวท�ำการค้า มีอาคารเก็บสินค้าเก่าเหลืออยู่หลายแห่งในเขตปาริ-อัน คนจีนในฟิลิปปินส์สืบสายเลือดในการท�ำการค้าจากอดีต จนถึงปัจจุบัน คนเชื้อสายจีนจ�ำนวนมากเป็นเจ้าของกิจการและ ทรัพย์สินส�ำคัญของประเทศ ในมะนิลาแม้มีย่านไชน่าทาวน์ แต่ถนน หนทางทั่วไปความเป็นวัฒนธรรมจีน นั้นดูจะถูกกลืนกลายเป็นคน ฟิลิปปินส์ทั่วไปที่อยู่ในอาณานิคมของสเปน คนส่วนใหญ่จึงมีชื่อและ นามสกุลแบบสเปนหรือเนื่องในศาสนาคริสต์กันแทบทั้งหมดไปแล้ว กิจกรรมเดินทัวร์เมืองในย่านเก่าของเมืองเซบูทจี่ ดั โดยคณะ กรรมการส่งเสริมการท่องเทีย่ วเซบู ร่วมกับองค์กรด้านวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ องค์กรผู้หญิง สมาคมแกลเลอรี่ และพิพิธภัณฑ์แห่ง วิสายันที่ส่วนใหญ่เป็นของเอกชนกว่า ๓๐ แห่ง จัดเส้นทางเดินชม ย่านเก่าและมีข้อมูลที่น่าสนใจ แม้สภาพแวดล้อมของย่านเก่าเมืองเซบูจะดูไม่นา่ รืน่ รมย์มาก เหมือนกับย่านเก่าของเมืองการค้าอืน่ ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นกั เพราะมีการเปลี่ยนแปลงอาคารหรือไม่ได้ซ่อมแซม ส่วนหนึ่งอาจ จะเป็นผลมาจากภัยพิบัติธรรมชาติที่เซบูเผชิญอยู่บ่อยครั้ง เช่น พายุไต้ฝุ่นและแผ่นดินไหวที่ครั้งล่าสุดท�ำเอาโบสถ์และอาคารโบราณ หลายแห่งได้รบั ผลกระทบจนต้องซ่อมแซมหรือปิดไม่ให้เข้าชมทีเดียว

นิทรรศการที่ชั้นล่างแบ่งการจัดแสดงออกเป็น ๒ ส่วนคือประวัติศาสตร์ของย่านเศรษฐกิจปาริ-อัน และในฐานะที่เป็นสถานที่พักอาศัยของพระเจซูอิตในอดีต จึงมีการจัด นิทรรศการเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนาที่คณะเจซูอิตมีต่อเกาะเซบู

จดหมายข่าว

22

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


บนชั้นสองแสดงห้องต่างๆ ทั้งห้องนอน ห้องรับประทานอาหาร ห้องครัวส�ำหรับ ครอบครัวใหญ่ที่ยังคงเครื่องตกแต่งบ้านเรือนที่เคยใช้ในชีวิตประจ�ำวันอย่างครบ ถ้วนสมบูรณ์ และสามารถจินตนาการถึงชีวิตวัฒนธรรมของผู้เคยอยู่อาศัยเมื่อ กว่าร้อยปีที่ผ่านมาได้อย่างชัดเจน

จดหมายข่าว

23

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


แผนที่เดินชมย่านเมืองเก่าของเกาะเซบู จัดท�ำโดยองค์กรส่งเสริมการ ท่องเที่ยวท้องถิ่นและภาคีกรรมการอีกหลายกลุ่ม

สถานที่ เ ดิ น ชมเมื อ งนั้ น อยู ่ ท างตอนเหนื อ ของเกาะเซบู ย่านทีเ่ ป็นเขตชาวสเปนอยูอ่ าศัย มีทงั้ โบสถ์ทสี่ ำ� คัญทางประวัตศิ าสตร์ ในระดับประเทศทีเดียวและย่านการค้าทีเ่ คยเป็นเขตเศรษฐกิจ ก่อนที่ เกาะเซบูจะมีผู้คนอยู่อาศัยกระจายไปทั่วและมีย่านศูนย์การค้าใหม่ๆ อีกมากมายในปัจจุบัน เพราะกลายเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวทางทะเลและ รองรับการเข้ามาเรียนภาษาอังกฤษของชาวต่างชาติ โดยเฉพาะ ชาวเกาหลีและญีป่ นุ่ เป็นหลัก ดังนัน้ เราจึงเห็นป้ายภาษาเกาหลี ญีป่ นุ่ และร้านอาหาร โรงเรียนสอนภาษาอยู่ทั่วไปทั้งเกาะ เส้นทางเดินชมย่านเก่าในเกาะเซบูเริม่ จาก “ป้อมซานเปรโด” [Fort San Pedro] ในย่านท่าเรือเก่า และถือว่าเป็นป้อมทีเ่ ล็กทีส่ ดุ แต่ เก่าแก่ที่สุดในประเทศ สร้างด้วยหินจากแนวปะการัง, ด้านหน้าเป็น สวนสาธารณะมีอาคารหลายหลังที่เคยเป็นที่ทำ� การรัฐของเกาะเซบู และติดต่อกับ ไม้กางเขนแมกเจลแลน [Magellan’s Cross] เชื่อว่า เป็นไม้กางเขนที่ แ มกเจลแลนน� ำ มาปักไว้ที่เกาะเซบูและถื อ เป็ น สัญลักษณ์ของการลงหลักปักฐานของคริสต์ศาสนาที่เซบู  ใกล้ๆ กันมีโบสถ์ทปี่ ระดิษฐานพระเยซูเด็กหรือซานโต นิโญ [Bacilica Minore del Sto.Nino de Cebu]  ซึ่งแมกเจลแลนน�ำมา ถวายราชาและราชินีแห่งเซบูก่อนที่จะท�ำพิธีแบบติสต์เปลี่ยนมารับ ศาสนาคริสต์ และมีพพิ ธิ ภัณฑ์ทเี่ ก็บเครือ่ งประดับ ของเล่น และของ ขวัญที่อุทิศให้กับซานโต นิโญนี้ด้วย โบสถ์แห่งนครเซบู  [Metropolitan Cebu Cathedral] เริ่มสร้างมาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๕๙๕ ด้วยไม้ ไม้ไผ่ และหลังคามุงจาก จนเปลีย่ นแปลงโครงสร้างอีกหลายครัง้  จนปัจจุบนั รูปทรงภายนอกนัน้ เป็นงานในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑ์ที่เคยเป็น อาคารเก่าของพระในคริสต์ศาสนา ซึ่งเป็นอาคารรุ่นเก่าที่ใช้หินจาก

จดหมายข่าว

ซากปะการังมาท�ำรากฐานและมีการขุดค้นแสดงให้ดูด้วย นอกเหนือจากบริเวณที่เป็นศูนย์กลางของที่ท�ำการรัฐและ อาคารศาสนสถานของเมืองแล้วก็เป็นย่านการค้าเรียกว่า ถนนโคลอน [Colon Street] ได้ชอื่ ว่าเป็นถนนสายเก่าแก่ทสี่ ดุ ในประเทศฟิลปิ ปินส์ ตัง้ ชือ่ เพือ่ เป็นเกียรติแก่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ในยุคทีส่ เปนปกครอง สองฝั่งถนนเป็นอาคารร้านค้า  สินค้าส่วนใหญ่น� ำมาจากท่าเรือ ที่ปาริ-อันซึ่งน�ำมาขายโดยพ่อค้าคนจีน แต่ทุกวันนี้ก็ไม่มีอาคารสมัย อาณานิคมเหลือให้เห็นแต่อย่างใด ส่วนย่านการค้าปาริ-อัน เป็นพื้นที่ค้าขายของคนเชื้อสาย จีนและลูกครึ่งชาวจีน มีอาคารบ้านเรือนไม่กี่แห่งที่สืบอายุว่าเก่าไป ถึงสมัยเป็นอาณานิคมของสเปน ต่อมาคือบ้านโบราณของชาวจีนชื่อ ยัป ซานดิเอโก กล่าวกันว่าน่าจะปลูกสร้างมาตั้งแต่ศตวรรษที ่ ๑๗ ซึ่งก็ยังน่าสงสัยในเรื่องอายุอยู่มาก เป็นบ้านของผู้ที่อยู่อาศัยในย่าน ปาริ-อันและลูกหลานจึงจัดท�ำเป็นพิพิธภัณฑ์เอกชน เก็บข้าวของ น่าสนใจหลายอย่างในชีวิตประจ�ำวัน เป็นสถานที่ซึ่งถือว่ามีผู้เข้าชม ไม่น้อยตลอดทั้งวัน นอกจากนี้ก็ยังมีพิพิธภัณฑ์ของผู้คนที่มีฐานะในอดีตและมี การจัดการเพื่อจัดแสดงสภาพความเป็นอยู่ของบุคคลอีกฐานะหนึ่ง ซึ่งในอดีตเคยเป็นบิชอปแห่งเซบู และพิพธิ ภัณฑ์ทจี่ ดั ได้นา่ สนใจมากทีส่ ดุ ในเซบูคอื “พิพธิ ภัณฑ์ บ้านแห่งคณะเจซูอิต ๑๗๓๐” ในย่านที่แม้แต่จะคิดก็ยังแปลกใจว่า มีพิพิธภัณฑ์ทันสมัย และเต็มไปด้วยเรื่องราวที่น่าสนใจมากมายอยู่ในโกดังเก่าที่มีคนงาน พลุกพล่านและเต็มไปด้วยเครื่องจักรกลหนักเบาทั้งหลายเช่นนี้...ได้ อย่างไร 24

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ประชาสัNajib Bin Ahmad มพันธ์ กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้

เครือข่าย “แผ่นดินวัฒนธรรม” [Bumi Budaya Network]

Bumidaya กิจกรรมงานศึกษาท้องถิ่นของกลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้ [BUMI BUDAYA NETWORK]

ปั ญ หาการปะทะกั น ระหว่ า งประวั ติ ศ าสตร์ ช าติ แ ละ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นปาตานีที่ส่งผ่านวรรณกรรมในพื้นที่ เป็นหนึ่ง ในหลายๆ ปัญหาทีเ่ ป็นชนวนและถูกใช้เป็นเครือ่ งมือของความขัดแย้ง มาอย่างยาวนาน ทัง้ รัฐและผูท้ เี่ ห็นต่างจากรัฐต่างอ้างความชอบธรรม ของการต่อสู้ ความชอบธรรมในการแสดงสิทธิของความเป็นเจ้าของ ดินแดน และการครอบครองทรัพยากร ปั ญ หาการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรที่ ผิ ด พลาดของ รั ฐ  ผ่ า นแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ แห่ ง ชาติ ฉ บั บ ต่ า งๆ ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนปั จ จุ บั น ที่ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ทและความต้ อ งการในพื้ น ที่

จดหมายข่าว

25

ก่ อให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ อั ต ลั ก ษณ์  วิ ถี ชี วิ ต  ประเพณี วั ฒ นธรรม และการท�ำมาหากินอันเนื่องมาจากการรวมศูนย์อ�ำนาจที่ส่วนกลาง ท�ำให้ขาดความเข้าใจและขาดข้อมูลที่แท้จริงของท้องถิ่นจนน�ำไป สู่ปัญหาต่างๆ มากมายที่มีผลกระทบจากการด�ำเนินการที่ขาดข้อมูล ในเชิงลึกและครอบคลุมรอบด้าน ปัญหาการขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องราวของท้องถิ่น การล่มสลายของชุมชน การอพยพโยกย้ายของผูค้ น การละทิง้ ถิน่ เกิด ปัญหาเรือ่ งความด้อยโอกาสของคนในท้องถิน่  เป็นปัญหาสังคมทีเ่ กิด ขึ้นอันเนื่องมาจากการว่างงาน ยาเสพติดและการพัฒนาของรัฐที่มี

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ความเหลื่อมล�้ำ ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น สารพัดปัญหาและเรื่องราวที่เกิดขึ้น นั้น  หลายเรื่องได้มี การกล่าวถึงในรูปแบบต่างๆ ในรูปบทความหนังสือ สารคดีและงาน วิจัยของสถาบันต่างๆ อยู่พอสมควรและสืบเนื่องยาวนาน โดยเฉพาะ ในช่วงทีเ่ กิดเหตุการณ์ความรุนแรงในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ มีบทความและ งานวิจัยที่เกี่ยวกับสามจังหวัดชายแดนภาคใต้นับร้อยนับพันเรื่อง แต่งานเหล่านั้น โดยส่วนใหญ่มักจะไม่ค่อยตอบสนองโจทย์ ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น มากนัก ด้วยข้อจ�ำกัดของการหาข้อมูล ในพืน้ ที ่ ซึง่ ผูท้ ำ� การวิจยั ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นนักวิชาการทีม่ าจากนอกพืน้ ที่ ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดในเรื่องของระยะเวลาในการเก็บข้อมูลที่ส่งผลต่อ ค่าใช้จา่ ย ตลอดจนข้อจ�ำกัดอีกหลายเรือ่ งของผูท้ �ำการวิจยั ที่ไม่ใช่คน ท้องถิน่ ต้องประสบในการลงพืน้ ทีภ่ าคสนาม ทัง้ ในเรือ่ งผูป้ ระสานงาน ความปลอดภัย และมักจะไม่ได้รบั ความไว้วางใจจากคนท้องถิน่ ในการ ให้ข้อเท็จจริงหรือให้ข้อมูลอย่างตรงไปตรงมามากนักท�ำให้เรื่องราว ของสามจังหวัดชายแดนใต้ที่ออกไปสู่สังคมภายนอกมักจะเป็นเรื่อง ที่คนในท้องถิ่นวิพากษ์ว่าไม่ตรงกับข้อเท็จจริงเสียเท่าไหร่ ด้วยข้อจ�ำกัดดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงท�ำให้มีการรวมตัวของ คนในท้องถิ่นในนามของ “กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้” กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้ เป็นการรวมกลุ่มของคน ในพืน้ ทีส่ ามจังหวัดชายแดนใต้ โดยการใช้แนวคิดของ อาจารย์ศรีศกั ร วัลลิโภดม ในเรือ่ งภูมวิ ฒ ั นธรรม หรือ Cultural Landscape เป็นหลัก ผ่ า นการถ่ า ยทอด ชี้ แ นะ อบรม จาก วลั ย ลั ก ษณ์   ทรงศิ ริ นักวิชาการและเจ้าหน้าที่ของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ โดยมีค�ำ โปรยในหน้า Facebook ของกลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้ว่าเป็น “เรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ผลกระทบ และ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในดินแดนชายแดนใต้” สมาชิกและเครือข่ายของกลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้ ได้รับการฝึกการเก็บข้อมูลและการน�ำเสนอเรื่องราว ผ่านการอบรม สัมมนา จัด Workshop จัดกิจกรรมต่างๆ และจัดหาอุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็น ในการท�ำงานภาคสนาม ภายใต้การสนับสนุนจากมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้สามารถ ทีจ่ ะน�ำเสนอข้อมูลและเรือ่ งราวในท้องถิน่ สามจังหวัดชายแดนใต้ออก ไปสู่การรับรู้ของสังคมได้อย่างสม�่ำเสมอ แนวคิดในเรือ่ งภูมวิ ฒ ั นธรรมของอาจารย์ศรีศกั ร วัลลิโภดม นั้น หมายถึงการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่โดยการก้าวข้ามเส้น แบ่งเขตสมมุติ เช่น เขตหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด หรือแม้แต่ เส้นแบ่งเขตประเทศ แต่จะศึกษาตามขอบเขตพื้นที่ตามลักษณะของ วัฒนธรรม ไม่วา่ วัฒนธรรมนัน้ จะขยายหรือสิน้ สุดที่ใด เพราะหลายๆ ครั้งที่การศึกษาตามเขตแดนสมมุติมักจะมีปัญหาที่เส้นแบ่งเขตเหล่า นั้นไปแยกออกเป็นต่างหมู่บ้าน ต่างอ�ำเภอ หรือแม้แต่คนละประเทศ ท�ำให้ไม่สามารถที่จะมองภาพรวมได้หมด ด้วยความที่ต้องท�ำงานในพื้น ที่ที่กว้างซึ่งครอบคลุมสาม

จดหมายข่าว

จังหวัดชายแดนใต้ประกอบไปด้วย ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ พืน้ ที่ใกล้เคียงทีต่ อ่ เนือ่ ง การเก็บเรือ่ งราวทีห่ ลากหลายในการรวบรวม ข้อมูลต่างๆ ทั้งในเขตพื้น ที่ภูเขา ผืน นา แม่น�้ำ และชายฝั่งทะเล ท�ำให้กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมประกอบไปด้วยกลุ่มย่อยต่างๆ หลายกลุ่ม อาทิ ทีมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นขุนละหาร ทีมบูโด-สันกะลาคีรี ทีมยาลอ ทีมแว้งที่รัก ทีมอ่าวปัตตานี และทีม Saiburi Lookers เป็นต้น ซึ่งทีมต่างๆ เหล่านี้ จะท�ำการเก็บเรื่องราวในพื้น ที่ของ แต่ละทีมและน�ำมาต่อ ร้อยเรียงข้อมูลในกลุ่มนิเวศวัฒนธรรมผ่าน ช่องทาง Facebook และ Webpage ของกลุ่มภายใต้ชื่อWebpage BUMIDAYAที่  http://bumidaya.businesscatalyst.com/ bumidaya-cultural-landscape.html ค�ำว่า BUMIDAYA เป็นค�ำสร้างมาจากค�ำว่า BUMI BUDAYA ในภาษามลายู แปลว่า แผ่นดินวัฒนธรรม นอกเหนือจาก Facebook และ Webpage แล้ว เรื่องราว จากกลุ่มนิเวศวัฒนธรรมชายแดนใต้ ยังเผยแพร่ในรูปแบบบทความ จากการเขียนของสมาชิกในกลุม่  โดยเฉพาะในจดหมายข่าวของมูลนิธิ เล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ์ รวมทั้งงานวิจัยและพิมพ์เป็นหนังสือวางขาย เพื่อเผยแพร่ อาทิ หนังสือจากยาลอเป็นยะลา เรื่องเล่าจากเทือก เขาบูโด กรณีบ้านตะโหนด ความทรงจ�ำในอ่าวปัตตานี และแผ่น VCD การบรรยายสาธารณะ เรื่องสถาปัตยกรรมมลายูในท้องถิ่น สามจังหวัดภาคใต้ ปัจจุบันสมาชิกของกลุ่มนิเวศวัฒนธรรมได้ขยายเพิ่มขึ้น กว่าเดิม และมีผตู้ ดิ ตามอ่านเรือ่ งราวต่างๆ ทีก่ ลุม่ ฯ ได้นำ� เสนออยู่ใน จ�ำนวนที่มากพอสมควร  และในอนาคตอันใกล้นี้ กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมฯ จะพัฒนา เนื้อหา รูปแบบการน�ำเสนอให้หลากหลายและครอบคลุมในทุกเรื่อง ราวที่สามารถเก็บข้อมูลในพื้นที่ได้ ทั้งในเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์บอกเล่า โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหล่งโบราณคดี สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อาชีพ ทรัพยากร ปัญหาสิ่งแวดล้อม วิถี ชีวิตการละเล่นพื้นเมือง อาหาร ผลกระทบและความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อบันทึกเรื่องราวเหล่านั้น เป็นสาระความรู้ และเป็นแหล่งข้อมูลให้กับสังคมไทยต่อไป

26

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


จดหมายข่าว

27

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ดีบรรยายสาธารณะ วีดี ปี พ.ศ. ๒๕๕๖

ความรู้ทางภูมิศาสตร์ และวัฒนธรรมกับการท�ำความเข้าใจ ในประเทศเพื่อนบ้าน โดย ศรัณย์ บุญประเสริฐ

“สถาปัตยกรรมมลายูใน ท้องถิ่นสามจังหวัดภาคใต้”

“ความก้าวหน้าทางโบราณคดี เรื่อง มโหระทึกสองฝั่งโขง สวันนะเขต-มุกดาหาร”

โดย ณายิบ อาแวบือซา สถาปนิกและผู้สนใจศึกษาเรื่องราวทาง นิเวศวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนใต้

โดย สุกัญญา เบาเนิด นักโบราณคดีชํานาญการ ประจําหน่วย ศิลปากรที่ ๑๑ อุบลราชธานี กรมศิลปากร

เมืองอูทอง รัฐแรกเริ่มบนแผนดินสุวรรณภูมิ โดย ศรีศักร วัลลิโภดม

‘SAY FONG CIVILIZATION’ มรดกประวัติศาสตรแบบอาณานิคม โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ

สั่งซื้อดีวีดีการบรรยายได้ทุกแผ่นที่ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์

ในราคาแผ่นละ

๘๐ บาท

ติดต่อได้ที่ ๐๒๒๘๒-๑๙๘๘, ๐๒๒๘๐-๓๓๔๐ หรือ Inbox สั่งซื้อ https://www.facebook.com/lekfound

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์

ประธานกรรมการ ดร.ไพโรจน์ พงศ์พิพัฒน์ สมนึก กิจเจริญผล, รัชนีบูล ตังคณะสิงห์, อรรถพล ยังสว่าง, รองประธานกรรมการ อรพรรณ พงศ์พิพัฒน์ พรพิมล เจริญบุตร, ณัฐวิทย์ พิมพ์ทอง, อภิญญา นนท์นาท กรรมการและเหรัญญิก สุวพร ทองธิว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ อมร ทองธิว ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ กรรมการ พิจารณ์ วิริยะพันธุ์, ตุ๊ก วิริยะพันธุ์, รับพร วิริยะพันธุ์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘, โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม, ดร.ธิดา สาระยา Email : Vlekprapaifoundation@gmail.com เจ้าหน้าที่ สุดารา สุจฉายา, ลาวัลย์ ธรรมนิรันดร, www.lek-prapai.org ศรีสมร ฉัตรแก้ว, มรกต สาตราคม, วลัยลักษณ์จดหมายข่ ทรงศิริ, าว 28 มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.