การขึ้นรูปโลหะในสภาพเย็น

Page 1

หนวยที่ 10 ชื่อเรื่อง การขึ้นรูปโลหะสภาพเย็น (Cold working of metal) หัวขอเรื่องยอย 10.1 การผลิตทอและการดึงลวด 10.2 การหมุนขึ้นรูปและการดันขึ้นรูป 10.3 การตอกหรือการตีขึ้นรูปเย็นและการอัดแบบหลอ 10.4 การทําเหรียญตราและการพิมพลายนูน 10.5 การย้ําหมุดและการย้ําหัว 10.6 การดัดเหล็กแผนและการรีดขึ้นรูป 10.7 การเขาตะเข็บและการขึ้นรูปดวยพลังสูง 10.8 การกระแทกขึ้นรูป จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็นได 2. อธิบายการผลิตทอและการดึงลวดได 3. อธิบายการหมุนขึน้ รูปและการดันขึ้นรูปได 4. อธิบายการตอกหรือการตีขึ้นรูปเย็นและการอัดแบบหลอได 5. อธิบาย การทําเหรียญตราและการพิมพลายนูนได 6. อธิบายการย้ําหมุดและการย้ําหัวได 7. อธิบายการดัดเหล็กแผนและการรีดขึ้นรูปได 8. อธิบายการเขาตะเข็บและการขึ้นรูปดวยพลังสูงได 9. อธิบายการกระแทกขึ้นรูปได


175 กิจกรรมหลัก 1. ครูนําเขาสูบทเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน - แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน - ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียน - อภิปรายหนาชั้นเรียน - ใบสั่งงานที่ 7 - ครูสรุปเนื้อหาสาระการเรียนประจําหนวย 4. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 5. ครูและนักเรียนตรวจแบบทดสอบ


176 การขึ้นรูปโลหะในสภาพเย็น (Cold working of metal) การขึ้นรูปโลหะสภาพเย็น หมายถึง การขึ้นรูปโลหะทีอ่ ุณหภูมิปกติ ซึ่งโลหะจะมีความ แข็งแรงอยูในระดับปกติ จะตองใชกําลังในการกดขึ้นรูปสูง เพื่อใหเกิดความเคนในเนื้อโลหะ จนเลยจุดยืดหยุน เปนการปองกันมิใหโลหะที่ตองการขึ้นรูปไมกลับคืนสูสภาพเดิมเมื่อปลอย แรงกดแลว ขอดีของการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็น 1) อายุของการใชงานของเครื่องมือและแมพิมพยาวนาน 2) ไมใชความรอน ลดตนทุน 3) ประหยัดวัสดุ 4) ผิวงานที่ไดเรียบ 5) ขนาดของชิ้นงานเที่ยงตรง 6) ความแข็งแรงมากขึน้ ขอเสียของการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็น 1) ตองใชแรงกดในการกระทํามาก 2) เครื่องจักรเครื่องมือตองมีขนาดใหญ 3) ความเหนียวลดลง การขึ้นรูปโลหะสภาพเย็นกระทําไดหลายวิธี ดังนี้ 10.1 การผลิตทอ (Tube finishing) การผลิตทอ จะใหมีผิวงานเรียบขนาดเที่ยงตรงและมีความแข็งแรงดี จะตองทําทอที่ผานการ รีดรอนมาแลวทําความสะอาดผิว ตอจากนั้นก็ทาทอดวยสารหลอลื่นเพื่อใหสะดวกและงายตอการ ขึ้นรูป การดึงเย็น ตามรูปภาพที่ 10.1 เรียกวา การดึงบนโตะ (Draw bench) โดยมีขั้นตอนดังนี้


177

นําทอผานแมพิมพ (Die) ซึ่งมีขนาดเทาโตนอกของทอที่ตองการภายในทอจะมีแกนเหล็ก (Mandrel) เพื่อควบคุมขนาดของรูทอใหมีขนาดเทากันตลอด และปลายอีกขางหนึ่งของทอจะถูกดึง ดวยโซสามารถดึงทอใหมีความยาวไดประมาณ 30 เมตร และใชแรงดึงประมาณ 200-1,300 kn ปลายทอ ตะขอ

แมพิมพลดขนาดทอ

รูปที่ 10.1 เครื่องผลิตทอ การดึงทอในสภาพเย็นจะตองใชแรงดึงสูงมาก จนกระทั่งทําใหโลหะเกิดความเคนขึ้นเกิน จุดยืดหยุนตัว ซึ่งจะทําใหเกิดการไหลผานรูของแมพิมพ ในการรีดแตละครั้งจะสามารถลดขนาดได สูงสุดประมาณ 40% ถามีความจําเปนที่จะตองรีดหลายๆ ครั้ง จะตองทําการอบออนเสียกอน เพื่อ งายตอการดึงขึ้นรูป แมพิมพ ทอรอน

แกนอยูกับที่

ลดขนาดทอ

ปลายทอที่ใชจับดึง

รูปที่ 10.2 การดึงทอสภาพเย็น ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 161


178

10.2 การดึงลวด (Wire drawing) การดึงลวด เปนกรรมวิธีการดึงขึ้นรูป โดยการนําเหล็กเสนมาดึงผานแมพิมพหลายๆ ชุด เพื่อลดขนาดใหไดขนาดตามที่ตองการ โดยมีขั้นตอนดังนี้นําเหล็กเสนมาทําความสะอาด โดยการจุมลงในน้ํากรดเพื่อขจัดสะเก็ดและ สนิมตางๆ แลวทาดวยน้ํามันกันสนิม เพื่อใหผิวลื่นงายตอการดึงขึ้นรูป จากนั้นนําเหล็กสะอาดผาน แมพิมพซึ่งแมพิมพสวนมากทําดวยโลหะคารไบดหรือเพชร แลวใชคีมจับปลายดึงผานแมพิมพแลว เก็บมวนเขาที่เปนขดไว เสร็จแลวสามารถนํามาดึงผานแมพิมพซ้ําอีกเพื่อใหไดขนาดตามตองการ

ลวดที่จะดึง

ขนาดลวดที่ได ดึง

แมพิมพคารไบด ปลอก

รูปที่ 10.3 แมพิมพดงึ ลวด ลูกรอกควบคุมความเร็ว ลอดึงลวดสุดทาย

ลอดึง

แทงลวด แมพิมพ

รูปที่ 10.4 หลักการในการดึงลวดแบบตอเนื่อง


179

10.3 การหมุนขึ้นรูป ( Metal Spinning) เปนกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะแผนบางและแผนหนา โดยการกดเขาไปตามแมพิมพซึ่งหมุนอยู ตลอดเวลา เพื่อใหรูปรางเหมือนกับแมพิมพที่ตองการ ลักษณะวิธีเหมือนกับการปนเครื่องปนดินเผา ผิดกันตรงที่ไมไดใชมือกระทําตอชิ้นงาน แตจะใชลูกรีดเปนตัวดันรีดโลหะแผนใหขึ้นรูปตามแบบ แมพิมพ ดังรูปที่ 10.5 แผนวัสดุ

งานขั้นสุดทาย แบบ

ที่ยึดแผนวัสดุ

หัวเครื่อง

สลัก ที่รองมีด มือจับมีด

รูปที่ 10.5 แผนภาพการหมุนขึ้นรูป

รูปที่ 10.6 เครื่องหมุนขึ้นรูป ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา162


180

10.4 การดันขึ้นรูป (Stretch forming) เปนกรรมวิธีขึ้นรูปโลหะแผนขนาดใหญ เพือ่ ใหไดขนาดและรูปรางโคงเหมือนๆกัน โดยใช แมพิมพขึ้นรูปดันขึ้นรูปดวยระบบไฮดรอลิก ซึ่งแมพิมพอาจจะทําจากเหล็ก ไม หรือพลาสติกก็ได งานที่ไดจะมีความบางลดลงจากเดิมเล็กนอย หรือ รูปรางชิ้นงานอาจจะคืนตัวเล็กนอย ดังรูปที่ 10.7 แผนงานขึ้นรูป แมพิมพขึ้นรูป แผนรอง กระบอกไฮดรอลิก

ปากจับ

รูปที่ 10.7 การดันขึ้นรูป หรืออีกวิธีหนึ่งก็คือ การใชพั้นช (แมพิมพตัวบน) กดลงบนชิน้ งานซึ่งวางอยูบนดายแมพิมพ ตัวลาง ก็จะไดชิ้นงานตามแบบแมพิมพการขึ้นรูปแบบนี้เรียกวา การดันและดึงขึ้นรูปดังรูปที่ 10.8 แมพิมพตัวบน แผนกด

แมพิมพตัวลาง

แผนงานขึ้นรูป

รูปที่ 10.8 การดันและดึงขึ้นรูป ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา163


181

10.5 การตอกหรือการตีขึ้นรูปเย็น (Swaging of cold forging) เปนการขึ้นรูปโลหะในสภาพเย็น โดยการใชแรงอัดหรือแรงกระแทกเพื่อดันใหโลหะ ไหลเขาแมพิมพตามทิศทางที่ถูกอัดหรือกระแทก สําหรับการตอกโลหะขึ้นรูป จะใชกับชิ้นงานที่ มีขนาดไมใหญมากนัก เชน หมุดย้ํา ตะปู น็อต ชิ้นงานทีไ่ ดจากกรรมวิธีนี้จะมีผิวมันเรียบและ ไดขนาดถูกตอง ลูกกลิ้ง แมพิมพ

วัสดุ

Dies closed

แมพิมพปด

รูปที่ 10.9 ภาพแสดงการตอกขึ้นรูป

รูปที่ 10.10 ตัวอยางงานที่ไดจากการตอกขึ้นรูป


182 ตัวอยางเครื่องจักรสําหรับทําน็อต หัวหมุดย้ําหรือชิ้นงานที่คลายกัน ลําดับขั้นตอนการทํา นําเสนลวดที่มีขนาดใหญโตกวาชิ้นงานสําเร็จ ปอนเขาเครื่องแลวใชลูกกลิ้งดึงใหตรงพรอมทั้งตัด ใหไดความยาวที่ตองการ นําเขาชุดหัวแมพิมพเพื่ออัดเขาเปนรูปตามตองการ ถาทําชิ้นงานที่มี ขนาดใหญๆ กอนทําจะตองใหความรอนกับชิ้นงานที่สวนปลายกอนนําเขาเครื่อง ดาย

พั้นช

สลักดัน

การทําหัวโดยใชพั้นช

การทําหัวโดยใชดายและพั้นช

1. เครื่องตอกหัวสลัก

การทําหัวโดยใชดาย

การทําหัวโดยใชดายและพั้นช

2. ชนิดของแมพิมพที่ใชตอกหัวสลัก

รูปที่ 10.11 การอัดหัวสลัก 10.6 การอัดแบบหลอ (Hobbing) กรรมวิธีการผลิตแบบนี้เปนวิธีการทําแบบหลอตางๆ เชน แบบหลอพลาสติก (Mold plastic) หรือแบบหลอแมพิมพ (Die casting) สําหรับตะกั่ว อะลูมิเนียม สังกะสี ซึ่งวิธีนี้แมพิมพตัวบน เรียกวา Hob และแมพิมพตัวลาง เรียกวา Cavity มีลักษณะรูปรางเหมือนกัน ขั้นตอนการผลิตนําแผนโลหะวางบนแมพิมพตัวลาง แลวกดแมพิมพตัวบนลงมาแผนโลหะ ดวยระบบไฮดรอลิกใชแรงอัดประมาณ 250-8,000 ตัน


183

ขอดีของการอัดแบบหลอ ไดชิ้นงานที่มีรูปรางขนาดเทากันตลอดตนทุนการผลิตต่ํา ผิวของ ชิ้นงานเรียบ ซึ่งไมจําเปนจะตองตกแตงดวยเครื่องจักรอีก แกนกด แผนรองกด

แหวนปองกัน

หัวตอกหรือแมพิมพตัวบน ชองวางหรือแมพิมพตัวลาง วัสดุ

แผนรอง

รูปที่ 10.12 แมพิมพที่ใชในการอัดแบบหลอ 10.7 การทําเหรียญตราและพิมพลายนูน (Coining and Embossing) การทําเหรียญตรา เปนวิธีการปมแผนโลหะใหเปนตัวนูน โดยมีแมพิมพ 2 ตัว คือ Punch และ Die ขั้นตอนการผลิตนําแทงโลหะวางบนแมพิมพ Die แลวใชแรงกดแมพิมพ Punch ลงมากดอัด ชิ้นงาน ชิ้นโลหะจะถูกบังคับใหไหลเขาไปในสวนเวา สวนโคงหรือรองตื้นๆ สวนมากจะเปน ประเภทโลหะออน เชน เหรียญเงิน หรือเหรียญตราตางๆ พั้นช วัสดุงาน งาน

รูปเหรียญ

ขึ้นรูปนูน

รูปที่ 10.13 การทําเหรียญตรา ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา165


184

การพิมพลายนูน เปนวิธีการขึ้นรูปลักษณะเกี่ยวกับการดึงขึ้นรูปหรือการดันขึ้นรูป เพื่อให โลหะเกิดการยืดเปนรูปรางตามแบบที่ตองการ ใชแรงการดันขึ้นรูปนอยกวาการทําเหรียญตรา เชน เหรียญหอยคอ แผนปายชื่อ หรือลายสวยงามที่พิมพลงบนแผนโลหะบางตางๆ

พั้นช

งาน

ดาย

การพิมพลายนูนแบบหมุน(Rotary embossing)

รูปที่ 10.14 การพิมพลายนูน ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา165

10.8 การย้ําหมุด (Riveting) กรรมวิธีนี้ใชสําหรับการยึดหรือตอชิ้นงานใหติดกัน ขั้นตอนแรกจะตองเจาะรูที่ชนิ้ งานทั้งสอง ชิ้นกอน แลวนําหมุดย้ําใสรูเจาะจากนั้นก็อัดหรือตอกปลายของหมุดย้ําใหยุบเกิดเปนหัว

แมพิมพ ย้ําหัวหมุด งานที่ย้ําหมุด

รูปที่ 10.15 แสดงการย้ําหมุด


185

10.9 การย้ําหัว (Staking) กรรมวิธีนี้ เปนการตอกหรือย้ําหัวของปลายของชิ้นสวนใหบานออก ซึ่งจะทําใหเกิดความ แนนมากขึ้น เชน การตอกปลายเพลา ที่สวมกับรูเฟอง แมพิมพ ปลายเข็ม เฟอง

เพลา

รูปที่ 10.16 การตอกปลายเพลา 10.10 การดัดเหล็กแผน (Plate bending) กรรมวิธีนี้เปนการขึ้นรูปโลหะแผน โดยเครื่องมวนซึ่งมีลูกกลิ้งขนาดเทากัน 3 ลูก เปนตัว บังคับ โดยที่ 2 ลูกกลิ้งดานลางยึดอยูกับที่ สวนลูกกลิ้งตัวบนจะเปนตัวบังคับกดแผนโลหะใหได สวนโคงงอตามที่ตองการ เครื่องแบบนี้สามารถดัดเหล็กแผนไดหนาถึง 30 มม. ลูกกลิ้งปรับ

ลูกกลิ้งคงที่

แผนเหล็ก

รูปที่ 10.17 การดัดเหล็กแผนขึน้ รูป


186

10.11 การรีดขึ้นรูป (Roll forming) กรรมวิธีนี้เปนการรีดขึ้นรูปโดยใชเครื่องรีดที่มีลูกกลิ้งหลายคูและหลายชุด ทําการรีดโลหะ อยางตอเนื่องดวยความเร็วขอบ 18-90 เมตร/นาที จนไดชิ้นงานสําเร็จ เชน ตัวซี ตัวแอล ทอ หรือรูปทรงตางๆ ตามรูปที1่ 0.18 (1) เปนการแสดงการรีดขึ้นรูปทอ โดยการใชลูกกลิ้ง5ชุดทําการรีดเพื่อลด ขนาดลงตามลําดับ หลังจากการรีดเปนรูปทอแลวจะวิ่งผานลูกกลิ้งอีกชุดหนึ่ง เพื่อทําการเชื่อม รอยตอใหติดกันเปนการเชื่อมแบบความตานทาน

ลูกกลิ้ง

1.การรีดขึ้นรูปทอ

2.ขั้นตอนการขึ้นรูปตะขอ

รูปที่ 10.18 เครื่องรีดขึ้นรูปทอและขั้นตอนการขึ้นรูปตะขอ ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 167


187 10.12 การเขาตะเข็บ (Seaming) กรรมวิธีนี้เปนการผลิตรูปทรงกระบอกขนาดตางๆ เชน กระปอง ถัง หรือชิ้นงานที่มีลักษณะ คลายๆกัน โดยการใชโลหะแผนขนาดบางๆ การตอจะใชตะเข็บในรูปแบบตางๆ ดังนี้

1. ขึ้นรูปทรง

2. พับขอบ

4.ตะเข็บใน

3. ตะเข็บนอก

วิธีการเขาตะเข็บยาวของโลหะแผนทรงกระบอก

2. ตะเข็บสําเร็จ

1. เตรียมขึ้นรูปขอบ

วิธีการเขาตะเข็บผสมของโลหะแผนทรงกระบอก

1. เตรียม

2. มวนขอบลง

3. ตะเข็บสําเร็จ

วิธีการเขาตะเข็บสองชั้นของฝากระปอง

1. เตรียม

2. มวนขอบลง

3. ตะเข็บสําเร็จ

วิธีการเขาตะเข็บสองชั้นของฐานกระปอง

รูปที่ 10.19 การเขาตะเข็บแบบตาง ๆ ที่มา:ธนรัตน,มณฑล,กรรมวิธีการผลิต,หนา166

วิธีการเขาตะเข็บยาว จะใชสําหรับรอยตอชิ้นงานที่ไมตองการยึดแนนมากนัก สวนวิธีการ เขาตะเข็บผสม จะใหความแข็งแรงมากกวาแบบการเขาตะเข็บยาว และวิธีการเขาตะเข็บสองชั้น จะใชตอชิ้นงานที่เปนภาชนะแบบราบหรือแบบขอบสั้น สําหรับการเขาตะเข็บสองชั้นอาจจะทํา ไดดวยมือหรือกึ่งอัตโนมัติหรืออัตโนมัติทั้งหมดก็ได


188

10.13 การขึ้นรูปดวยพลังงานสูง (High –energy- rate forming ) กรรมวิธีนี้เปนการขึ้นรูปโลหะ โดยอาศัยแรงของพลังงานในการกระทํา งานทีไ่ ดจะมีความ เที่ยงตรง ตนทุนการผลิตต่ํา ขนาดของแรงที่ใชมีขนาดแตกตางกันไปตามลักษณะของงาน ตารางที่ 10.1 ขนาดพลังงานที่ไดจากวิธีการตางๆ ลําดับที่ วิธีการ ความเร็ว เมตร/นาที 1 การอัดดวยไฮดรอลิก (Hydraulic press) 1.80 2 การอัดดวยระบบเบรก (Brake press) 1.80 3 การอัดดวยระบบกลไก (Mechanical press) 1.80 – 4.40 4 การตอกอัดดวยคอน (drop hammer) 14.4 – 258.0 5 การเคลื่อนที่ของแครเลื่อนดวยกาธ (gas-actuated ram) 120 – 4,900 6 การระเบิด (explosive) 540 – 13,800 7 ระบบแมเหล็ก (magnetic) 1,600 – 13,800 8 ระบบไฟฟาไฮดรอลิก (electro-Hydraulic) 1,600 – 13,800 ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา168

การขึ้นรูปดวยพลังอัดขึ้นรูป (explosive forming) โดยอาศัยการระเบิดแลวทําใหพลังงานผาน ตัวกลางตางๆไปดันชิ้นงานใหขึ้นรูปตามแมพิมพ แรงระเบิด วัสดุงาน แมพิมพแยก

ทอสุญญากาศ

จุดขึ้นรูป

1. การขึ้นรูปดวยแรงอัดจากของเหลว

2. การขึ้นรูปดวยแรงอัดจากน้ํา

ลูกสูบ

หัวเก็บประจุ

ดาย

3. การขึ้นรูปดวยแรงดันจากแกส

4. การขึ้นรูปดวยคอนตีขึ้นรูป

รูปที่ 10.20 การขึ้นรูปดวยแรงดันตางๆ ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 168


189

การขึ้นรูปโลหะดวยแมเหล็ก (Magnetic forming) เปนการขึ้นรูปโดยอาศัยพลังงานจากไฟฟา โดยการนําขดลวดไฟฟาพันรอบชิ้นงานที่ตองการขึ้นรูป แลวปลอยกระแสไฟฟาแรงคลื่อนสูงผาน ขดลวดจะทําใหเกิดสนามแมเหล็กสูง ชิ้นงานบริเวณขดลวดและใกลเคียงก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลง ตามแบบ สวิตชอัดไฟฟา สวิตชกระแสไฟแรงสูง ไฟฟาแรงสูง

คาปาซิเตอร ลวด งาน

1. วงจรขึ้นรูปดวยแมเหล็กไฟฟา

2. งานที่ไดจากการขึ้นรูปดวยแมเหล็กไฟฟา แมเหล็กไฟฟา

รูป10.21 การขึ้นรูปดวยแมเหล็กไฟฟา ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา169

10.14 การกระแทกขึ้นรูป (Impact extrusion) กรรมวิธีนี้เปนการขึ้นรูปโลหะออน เชน อลูมิเนียม ตะกั่ว สังกะสี ใหเปนทอตัน หรือทอกลวง เชน หลอดยาสีฟน ทอกลวงตางๆ วิธกี ารทําใชแมพิมพพั้นช (Punch) กระแทกลงมายังแมพิมพดาย (Die) โลหะออนจะไหลทะลุแมพิมพดาย หรือไหลขึ้นเกาะแมพิมพพั้นช จนเปนทอกลวงสําเร็จ ดังรูปที่ 10.22


190

พั้นช ดาย

ทอขึ้นรูป วัสดุ

1. การกระแทกขึ้นรูปบน

ดาย

พั้นช วัสดุงาน

2. การกระแทกขึ้นรูปลาง

รูปที่ 10.22 การกระแทกขึ้นรูป


195 แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ประจําหนวยที่ 10 เรื่อง การขึ้นรูปโลหะสภาพเย็น ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย √ ลงในคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1. วัตถุประสงคของการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็น คือขอใด ก. ผิวงานเรียบ – ขนาดเที่ยงตรง – ประหยัด ข. ผิวงานละเอียด – ความเหนียวลดลง – ตนทุนต่ํา ค. แข็งแรงดี – ขนาดเที่ยงตรง – ตนทุนสูง ง. แข็งแรงดี – ขนาดไมเที่ยงตรง – ตนทุนต่ํา 2. อุปกรณอะไรที่ใชในการควบคุมขนาดของรูทอใหมีขนาดเทากันตลอด ก. เพลา ข. ลูกกลิ้ง ค. แกนเหล็ก (Mandrel) ง. หัวเปาความรอน 3. แมพิมพที่ใชสําหรับการดึงลวด ทํามาจากโลหะอะไร ก. เหล็กเหนียว ข. เหล็กหลอ ค. โลหะคารไบด ง. โลหะผสม 4. กรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็นในขอใดมีลักษณะวิธีทําเหมือนกับการปนเครื่องดินเผา ก. การหมุนขึ้นรูป ข. การดันขึ้นรูป ค. การตอกหรือการตีขึ้นรูปเย็น ง. การอัดแบบหลอ 5. แมพิมพที่ทํามาจากไมหรือพลาสติกเหมาะกับการขึ้นรูปโลหะในขอใด ก. การหมุนขึ้นรูป ข. การดันขึ้นรูป ค. การตอกหรือการตีขึ้นรูปเย็น ง. การอัดแบบหลอ 6. กรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็นขอใดที่ใหคุณภาพงานมีรูปรางขนาดเทากันตลอดผิวเรียบ ตนทุนการผลิตต่ํา ก. การหมุนขึ้นรูป ข. การดันขึ้นรูป ค. การตอกหรือการตีขึ้นรูปเย็น ง. การอัดแบบหลอ 7. เหรียญหอยคอ แผนปายชื่อ ใชกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็นในขอใด ก. การตอกหรือการตีขึ้นรูปเย็น ข. การอัดแบบหลอ ค. การพิมพลายนูน ง. การทําเหรียญตรา


196 8. การย้ําหมุดขั้นตอนแรกจะตองทําอะไรกอน ก. ทําความสะอาดผิวงาน ข. วางแบบ ค. ตอกนําศูนย ง. เจาะรูชิ้นงาน 9. การดัดเหล็กแผนเปนกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะแผนโดยใชลูกกลิ้งขนาดเทากันกี่ลูก ก. ลูกกลิ้ง 2 ลูก ข. ลูกกลิ้ง 3 ลูก ค. ลูกกลิ้ง 4 ลูก ง. ลูกกลิ้ง 5 ลูก 10. เหล็กตัวซี เหล็กตัวแอล ทอ หรือรูปทรงตางๆ ใชกรรมวิธีการขึ้นรูปในขอใด ก. การหมุนขึ้นรูป ข. การดันขึ้นรูป ค. การรีดขึ้นรูป ง. การดัดเหล็กแผน ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้โดยการอธิบายสั้นๆพอเขาใจ 1. การขึ้นรูปโลหะสภาพเย็น หมายถึง อะไร .................................................................................... 2. จงอธิบายขอดี – ขอเสีย ของการขึ้นรูปโลหะสภาพเย็นมาอยางละ 2 ขอ ..................................... ........................................................................................................................................................... 3. การดึงทอในสภาพเย็นจะตองใชแรงมากจนทําใหโลหะเกิดความเคนขึน้ เกินจุดอะไร.................. ........................................................................................................................................................... 4. การดึงลวด โดยการนําเหล็กเสนมาทําความสะอาดแลวจุมลงในน้ํากรด เพื่ออะไร....................... ............................................................................................................................................................ 5. จงยกตัวอยางงานที่ทําดวยวิธีการหมุนขึ้นรูป ................................................................................ 6. กรรมวิธีการผลิตแบบการอัดแบบหลอ นิยมใชกันอยางกวางขวางสําหรับงาน ............................. ............................................................................................................................................................ 7. จงอธิบายการทําเหรียญตรา ........................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 8. การย้ําหมุดคืออะไร ........................................................................................................................ 9. กรรมวิธีโดยการใชเครื่องรีดที่มีลูกกลิ้งหลายคูและหลายชุด ทําการรีดโลหะอยางตอเนื่องดวย ความเร็วขอบ 18-90 เมตรตอนาที จนไดชิ้นงานสําเร็จเรียกวากรรมวิธีอะไร ...................................... ............................................................................................................................................................. 10. การกระแทกขึ้นรูป (Impact extrusion) กรรมวิธีนี้เปนการขึ้นรูปโลหะประเภทใด ..................... ……………………………………………………………………………………………………..


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.