Article 20150727172758

Page 1

ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำโดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๙๗๖๙-๗๗-๕ พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ธันวาคม ๒๕๕๐ จำนวน : ๓๐,๐๐๐ เล่ม

ภาพประกอบ

ชัย ราชวัตร ศักดา แซ่เอียว (เซีย ไทยรัฐ) ศักดา วิมลจันทร์ (สี่ตา) โอม รัชเวทย์ ณรงค์ จรุงธรรมโชติ บริษัท ณัฐเฟม จำกัด พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ ๒๑ เซ็นจูรี่ เลขที่ ๑, ๓ ซอย ๔๘ ถ.จรัลสนิทวงศ์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กทม. โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๓-๐๔๑๗-๘ โทรสาร ๐-๒๘๘๓-๐๔๑๙ e-mail : stsumitra_century@yahoo.com


“...เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นนั่ เอง สิง่ ก่อสร้างจะมัน่ คงได้กอ็ ยูท่ เี่ สาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป...” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากวารสารชัยพัฒนา ฉบับประจำเดือนสิงหาคม ๒๕๔๒



คำนำ

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) โดยคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ได้ริเริ่มการสร้าง ขบวนการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนทุ ก ระดั บ มี ค วามเข้ า ใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจน น้อมนำไปใช้เป็นพื้นฐาน และแนวทางในการ ดำเนินชีวิต “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ฉบับนี ้ จัดทำขึ้ น เพื่ อ เผยแพร่ ส าระสำคั ญ ของแนวคิ ด และการประยุ ก ต์ ใ ช้ ป รั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียงในระดับต่างๆ ด้วยภาษาที่เข้าใจได้ง่าย โดยจัดทำเป็นฉบับพกพา เพื่อให้สะดวกต่อการ นำไปใช้ประโยชน์ในโอกาสต่างๆ


สำนักงานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ เล่มนี้จะมีส่วนช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการ ประยุกต์ใช้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และนำไปปรับใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวติ เพื่อให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุ ก ด้ า น นำสู่ ค วามก้ า วหน้ า อย่ า งสมดุ ล มั่ น คง และ ยั่งยืนสืบไป สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ธันวาคม ๒๕๕๐


สารบัญ

หน้า คำนำ ๓ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร? ๖ องค์ประกอบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๓ การน้อมนำหลักปรัชญาฯ มาปฏิบัติ ๑๘ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่างๆ ๒๒ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๒๔


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง §◊ออ–‰ร?

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทาง

การดำเนิ น ชี วิ ต และวิ ถี ป ฏิ บั ติ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวมี พ ระราชดำรั ส ชี้ แ นะแก่ พ สกนิ ก ร ชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ป และได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพืน้ ฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี ตลอดจน ใช้ความรู ้ และคุณธรรมเป็นพืน้ ฐานในการดำรงชีวติ การป้องกันให้รอดพ้นจากวิกฤต และให้สามารถ ดำรงอยู่ ไ ด้ อ ย่ า งมั่ น คงและยั่ ง ยื น ภายใต้ ก ระแส โลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ 6


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

“เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” เป็ น ปรั ช ญา ชี้ ถึ ง แนวการดำรงอยู่ แ ละปฏิ บั ติ ต นของ ประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เพื่ อ ให้ ก้ า วทั น ต่ อ ยุ ค โลกาภิ วั ต น์ ความพอเพี ย ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึ ง ความจำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี ร ะบบ ภู มิ คุ้ ม กั น ในตั ว ที่ ดี พ อสมควรต่ อ การมี ผ ล


กระทบใดๆ อั น เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ ใ นการวางแผนและการดำเนิ น การ ทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง พื้ น ฐานจิ ต ใจของคนในชาติ โ ดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฏีและนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มสี ำนึกในคุณธรรม ความซือ่ สัตย์ สุ จ ริ ต และให้ มี ค วามรอบรู้ ที่ เ หมาะสม ดำเนิ น ชี วิ ต ด้ ว ยความอดทน ความเพี ย ร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้


สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลีย่ นแปลง อย่ า งรวดเร็ ว และกว้ า งขวาง ทั้ ง ด้ า นวั ต ถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เป็นอย่างดี

9


สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่ ง ชาติ (สศช.) ในฐานะหน่วยงาน หลักในการวางแผนของประเทศตระหนักถึงความ สำคัญของแนวคิดดังกล่าว จึงได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ จากสาขาต่ า งๆ มาร่ ว มกั น พิ จ ารณากลั่ น กรอง พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปออกมาเป็นนิยามความหมาย “ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” จากนั้ น สศช. ได้ น ำขึ้ น ทู ล เกล้ า ฯ ขอ พระราชทานพระบรมราชานุ ญ าตนำบทความ ดั ง กล่ า วไปเผยแพร่ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชน ทุกระดับมีความเข้าใจในหลักปรัชญาฯ และใช้เป็น พื้ น ฐานและแนวทางในการดำเนิ น ชี วิ ต ซึ่ ง ทรง พระกรุ ณ าปรั บ ปรุ ง แก้ ไข และโปรดเกล้ า ฯ 10


พระราชทานพระบรมราชานุ ญ าต ตามที่ ข อ พระมหากรุณา เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ สศช. ได้ อั ญ เชิ ญ “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทางในการจัดทำแผน พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) และฉบั บ ที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) รวมทั้งได้เสริมสร้างความเข้าใจ ไปยังภาคส่วนต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจ เห็นคุณค่า และน้อมนำไปประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิตต่อไป

ภาพจากสื่อการเรียนการสอน เรื่อง วิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง โดย...บริษัท ณัฐเฟม จำกัด

11


“...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...” พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑


อง§åปร–°อ∫ ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

ป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนับเป็น

แนวทางปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให้ ชี วิ ต ดำเนิ น ไปในทาง สายกลางที่เหมาะสมสอดคล้องกับวิถีความเป็นอยู ่ อันเรียบง่ายของคนไทย ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ให้เหมาะสมกับประชาชนทุกระดับ ทั้งระดับ บุ ค คล ครอบครั ว ชุ ม ชน องค์ ก ร และระดั บ ประเทศได้ โดยมีคุณลักษณะที่สำคัญดังนี้ • ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อ ความจำเป็ น และเหมาะสมกั บ ฐานะของตนเอง สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง วั ฒ นธรรมในแต่ ล ะ ท้ อ งถิ่ น ไม่ ม ากเกิ น ไป ไม่ น้ อ ยเกิ น ไป และต้ อ ง ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น 13


• ความมี เ หตุ ผ ล หมายถึ ง การตั ด สิ น ใจ ดำเนิ น การเรื่ อ งต่ า งๆ อย่ า งมี เ หตุ ผ ลตามหลั ก วิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรม จริยธรรม และวั ฒ นธรรมที่ ดี ง าม คิ ด ถึ ง ปั จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อย่างถ้วนถี่ โดยคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก การกระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ

14


• ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัว ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงในด้าน เศรษฐกิ จ สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม และวั ฒ นธรรม เพื่อให้สามารถปรับตัวและรับมือได้อย่างทันท่วงที เงื่ อ นไขสำคั ญ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความพอเพี ย ง การตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ต้องอาศัย ทั้งเงื่อนไขคุณธรรม หลักวิชา และเงื่อนไขชีวิตเป็น พื้นฐาน • เงื่อนไขคุณธรรม เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจ ของคนในชาติให้มีความซื่อสัตย์สุจริต รู้ รัก สามัคคี ไม่โลภ ไม่ตระหนี่ และรู้จักแบ่งปันให้ผู้อื่น • เงือ่ นไขหลักวิชา อาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมั ด ระวั ง อย่ า งยิ่ ง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้วางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน 15


• เงื่อนไขชีวิต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มี ค วามเพี ย ร มี ส ติ และปั ญ ญา บริ ห ารจั ด การ การใช้ ชี วิ ต โดยใช้ ห ลั ก วิ ช าและคุ ณ ธรรม เป็นแนวทางพื้นฐาน

16


“...ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ. แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่มเฟือย แต่ถ้าทำให้มีความสุข ถ้าทำได้ก็สมควรที่จะทำ สมควรที่จะปฏิบัติ. อันนี้ก็ความหมายอีกอย่างของเศรษฐกิจ หรือระบบพอเพียง...พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่วา่ ต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอืน่ . ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ติ นก็พอเพียง...”

พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑


การนâอมนำหลักปรัชญาœ ¡าปØ‘∫ัµ‘

ทุกคนสามารถนำหลักปรัชญาฯ มาเป็นหลัก

ปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้ ไม่ใช่เฉพาะในหมู่คนจน หรือเกษตรกร โดยต้อง “ระเบิดจากข้างใน” คือการ เกิดจิตสำนึก มีความศรัทธาเชื่อมั่น เห็นคุณค่า และ นำไปปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วจึงขยายไปสู่ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป • ความพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว มุ่งเน้นให้บุคคลและครอบครัวอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุขทัง้ ทางกายและทางใจ พึง่ พาตนเองอย่างเต็ม ความสามารถ ไม่ ท ำอะไรเกิ น ตั ว ดำเนิ น ชี วิ ต โดย ไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ นื่ รวมทัง้ ไฝ่รแู้ ละมีการ พัฒนาตนเองอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ความมั่ น คงใน 1


อนาคต และเป็นที่พึ่งให้ผู้อื่นได้ในที่สุด เช่น หา ปั จ จั ย สี่ ม าเลี้ ย งตนเองและครอบครั ว จากการ ประกอบสัมมาชีพ รูข้ อ้ มูลรายรับ-รายจ่าย ประหยัด แต่ไม่ใช่ตระหนี่ ลด-ละ-เลิก อบายมุข สอนให้เด็ก รู้จักคุณค่า รู้จักใช้ และรู้จัก ออมเงิน และสิ่งของ เครื่องใช้ ดูแลรักษาสุขภาพ มีการแบ่งปันภายใน ครอบครัว ชุมชน และสังคมรอบข้าง รวมถึงการ รั ก ษาวั ฒ นธรรม ประเพณี และการอยู่ ร่ ว มกั บ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมได้อย่างเหมาะสม • ความพอเพี ย งระดั บ ชุ ม ชน คนในชุ ม ชน มีการรวมกลุ่มกันทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วย เหลือเกือ้ กูลกันภายในชุมชนบนหลักของความรู้ รัก สามัคคี สร้ า งเป็ น เครื อข่ายเชื่อมโยงกันในชุมชน และนอกชุมชนทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม เช่น การรวมกลุม่ อาชีพ องค์กรการเงิน 19


สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน การช่ ว ยดู แ ลรั ก ษาความสงบ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมทั้ง การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในชุมชนมาสร้างประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม เพื่อสร้างเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็ง และมีความเป็นอยู่ที่พอเพียง • ความพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน เริ่มจาก ความมุ่งมั่นในการดำเนินธุรกิจที่หวังผลประโยชน์ หรือกำไรในระยะยาวมากกว่าระยะสั้น แสวงหา ผลตอบแทนบนพืน้ ฐานของการแบ่งปัน มุง่ ให้ทกุ ฝ่าย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ รั บ ประโยชน์ อ ย่ า งเหมาะสม และเป็นธรรมทั้งลูกค้า คู่ค้า ผู้ถือหุ้น และพนักงาน ด้านการขยายธุรกิจต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป รวมทั้งต้ อ งมี ค วามรู้ แ ละเข้ า ใจธุ ร กิ จ ของตนเอง รู้ จั ก ลู ก ค้ า ศึ ก ษาคู่ แข่ ง และเรี ย นรู้ ก ารตลาด 20


อย่ า งถ่ อ งแท้ ผลิ ต ในสิ่ ง ที่ ถ นั ด และทำตามกำลั ง สร้ า งเอกลั ก ษณ์ ที่ แ ตกต่ า งและพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง มีการเตรียมความพร้อม ต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น มีความซื่อสัตย์ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและป้ อ งกั น ผลกระทบ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ที่ ส ำคั ญ ต้ อ งสร้ า งเสริ ม ความรู้ และจัดสวัสดิการให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสม • ความพอเพี ย งระดั บ ประเทศ เป็ น การ บริหารจัดการประเทศ โดยเริม่ จากการวางรากฐาน ให้ ป ระชาชนส่ ว นใหญ่ อ ยู่ อ ย่ า งพอมี พ อกิ น และพึ่ ง ตนเองได้ มี ค วามรู้ และคุ ณ ธรรมในการ ดำเนินชีวิต มีการรวมกลุ่มของชุมชนหลายๆ แห่ง เพือ่ แลกเปลีย่ นความรู้ สืบทอดภูมปิ ญ ั ญา และร่วมกัน พั ฒ นาตามแนวทางเศรฐกิ จ พอเพี ย งอย่ า งรู้ รั ก สามัคคี เสริมสร้างเครือข่ายเชือ่ มโยงระหว่างชุมชน ให้เกิดเป็นสังคมแห่งความพอเพียงในที่สุด 21


การประยÿกตå „ชâเศรษฐกิจพอเพียง

„π¥âาπµàางÊ

ด้ านเศรษฐกิจ ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่ลงทุน

เกินขนาด คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ มีภมู คิ มุ้ กัน ไม่เสี่ยงเกินไป ด้ า นจิ ต ใจ มี จิ ต ใจเข้ ม แข็ ง มี จิ ต สำนึ ก ที่ ดี เอื้ อ อาทร เห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นรวมมากกว่ า ประโยชน์ส่วนตัว ด้านสังคมและวัฒนธรรม ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้ รัก สามั ค คี สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ ค รอบครั ว และชุ ม ชน รั ก ษาเอกลั ก ษณ์ ภาษา ภู มิ ปั ญ ญา และวัฒนธรรมไทย


ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จัก ใช้ แ ละจั ด การอย่ า งฉลาดและรอบคอบ ฟื น ฟู ทรั พ ยากรเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น และคงอยู่ ชั่วลูกหลาน ด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการและสภาพแวดล้ อ ม พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้าน

3


ºล∑ีËคา¥«่าจะ‰¥âรับ การน้ อ มนำปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มาประยุกต์ใช้ในทุกภาคส่วนของสังคมอย่างจริงจัง จะส่ ง ผลให้ ก ารพั ฒ นาประเทศก้ า วหน้ า ไป อย่างสมดุล มั่นคง และยั่งยืน พร้อมรับต่อการ เปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้ ง ด้ า นชี วิ ต เศรษฐกิ จ สั ง คม วั ฒ นธรรม สิ่ ง แวดล้ อ ม และเทคโนโลยี อั น จะนำไปสู่ “ความอยู เ ย็ น เป น สุ ข ร ว มกั น ในสังคมไทย” ภาพจากสื่อการเรียนการสอน เรื่อง วิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง โดย...บริษัท ณัฐเฟม จำกัด

4



สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๙๖๒ ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบฯ กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ ๐ – ๒๒๘๐ - ๔๐๘๕ ต่อ ๑๓๐๓ - ๑๓๐๕ โทรสาร ๐ – ๒๖๒๘ – ๒๘๔๖ กลุ่มงานเศรษฐกิจพอเพียง โทรศัพท์ ๐ – ๒๒๘๐ - ๔๐๘๕ ต่อ ๕๑๐๓ และ ๒๔๐๗ โทรสาร ๐ – ๒๒๘๒ – ๙๑๕๘ หรือ ๐ – ๒๒๘๑ – ๖๑๒๗ หรือเยี่ยมชมได้ที่ http://www.nesdb.go.th http://www.sufficiencyeconomy.org


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.