โครงการเสริมพลังทางด้านกฎหมายกับกับประชาชนผู้ยากไร้

Page 1

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

ความเป็นมา



ความเป็นมา สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ประจำประเทศ ไทยและรัฐบาลไทยได้ร่วมจัดทำโครงการแผนงานบูรณาการ ONE (AWP) ประจำปี ๒๕๕๒ และแผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารตาม โครงการแห่งชาติขึ้นเพื่อสนับสนุนนโยบายของประเทศไทย เฉพาะกลุ่มงาน (Cluster) ที่สำคัญ สำหรับกลุ่มงานด้านการ บริหารจัดการที่ดีและความมั่นคงของมนุษย์ จะเน้นส่งเสริม การสร้างพลังทางด้านกฎหมายซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาความยากจน โครงการ สร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การ แก้ ไ ขปั ญ หาท้ อ งถิ่ น ด้ ว ยกระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มฉบับนี้

มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชน ที่ยากไร้ รวมทั้งกลุ่มผู้อ่อนแอเพื่อให้เขาเหล่านั้นสามารถได้รับ ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม เพื ่ อ ช่ ว ยให้ โ ครงการสร้ า งพลั ง ทางด้ า นกฎหมาย สามารถนำไปปฏิ บ ั ต ิ ไ ด้ ใ นท้ อ งถิ ่ น จึ ง จำเป็ น ต้ อ งพั ฒ นา

รู ป แบบการบริ ห ารจั ด การสาธารณะในรู ป ของการกระจาย อำนาจและการบริ ห ารจั ด การที ่ ด ี ข องท้ อ งถิ ่ น ในท้ อ งถิ ่ น

ทรัพย์สินและที่ดินเป็นประเด็นที่อ่อนไหวให้เกิดความขัดแย้ง และเป็นอุปสรรคต่อการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้าน โดยเฉพาะผู้ยากไร้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ดังนั้น เพื่อ ทำให้ โ ครงการการพั ฒ นาผู ้ ย ากไร้ ส ามารถดำเนิ น การใน

ท้องถิ่นได้ จึงจำเป็นต้องพัฒนารูปแบบการสร้างพลังทางด้าน กฎหมายซึ่งสามารถประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการที่ดีของ ท้ อ งถิ ่ น วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ผนงานกิ จ กรรมโครงการก็ ค ื อ เพื ่ อ


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

พัฒนารูปแบบที่มุ่งเน้นการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้กับท้องถิ่น ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น ดังนั้น Miss Gewi-Yeop Son ผู้แทนสำนักงานโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติประจำประเทศไทยและ ศ. ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า จึงได้ลงนามในข้อตกลงเมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๒ ซึ่งมอบหมายให้สถาบันพระปกเกล้าทำการศึกษา โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายแก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ไข ปัญหาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม (๑) ผลผลิตที่ ๑.๒ ภายใต้โครงการ ที ่ ม ี ช ื ่ อ ว่ า แผนงานบู ร ณาการ ONE (AWP) ประจำปี ๒๕๕๒ –

การบริ ห ารจั ด การที ่ ด ี แ ละความมั ่ น คงของมนุ ษ ย์ โครงการเลขที ่ ๐๐๐๖๙๔๔๘

วัตถุประสงค์

๑. พัฒนารูปแบบการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก้ผู้ยากไร้ ในท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

๒. ขยายการพัฒนาบนพื้นฐานด้านกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินใน บริบทของการกระจายอำนาจ

ขอบเขตของการศึกษา

๑. ทบทวนและเปรียบเทียบประสบการณ์ของต่างประเทศใน การสร้างพลังทางด้านกฎหมายแก่ผู้ยากไร้ในบริบทของการ กระจายอำนาจและการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดี


๒. พัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่

ผู้ยากไร้และประชาชนในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มสิทธิ์ในทรัพย์สิน โดยเฉพาะที่ดิน

๓. ทำงานและประสานงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนารูปแบบ

๔. ศึกษาข้อมูลบริบทของท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย

๕. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการกับชุมชนและองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น

๖. จัดทำแผนปฏิบัติงานและระเบียบขั้นตอนเพื่อพัฒนารูปแบบ การมีส่วนร่วมที่เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและการสร้าง พลังทางด้านกฎหมาย

ผลผลิตที่จะได้รับ

๑. รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับกรอบการทำงาน ประสบการณ์ เกี่ยวกับการสร้างพลังทางด้านกฎหมาย (วิธีปฏิบัติที่เป็น เลิศ) และวิธีการศึกษา

๒. รูปแบบการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหา กรรมสิทธิ์ทางด้านกฎหมายและการพัฒนา

๓. แผนปฏิบัติงานของพื้นที่เป้าหมายแต่ละแห่ง

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

กรอบเวลา ตั้งแต่เดือนกันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒

วิธีการศึกษา โครงการศึกษานี้จะแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น ๓ ขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑: ทบทวนและค้นหาประสบการณ์ในเชิงเปรียบเทียบ ของประเทศต่ า ง ๆ เกี ่ ย วกั บ การสร้ า งพลั ง ทางด้ า น กฎหมายให้แก่ผู้ยากไร้ในท้องถิ่น ในบริบทที่เกี่ยวกับ การกระจายอำนาจและการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดี ขั้นตอนที่ ๒: นำข้อมูลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศของประเทศต่าง ๆ และ ผลวิเคราะห์ข้อมูลจากพื้นที่เป้าหมายทั้ง ๒ แห่ง มา ออกแบบและพัฒนารูปแบบการสร้างพลังทางด้าน กฎหมายแก่ ผู ้ ย ากไร้ ใ นบริ บ ทของท้ อ งถิ ่ น ด้ ว ย กระบวนการมีส่วนร่วม ขั้นตอนที่ ๓: ร่างแผนการปฏิบัติงานและขั้นตอนการสร้างรูปแบบ กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง เรื่องกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน


๓. กฎหมาย

๒. วิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ

๑. บริบท

การฝกอบรม & การประชุมเชิงปฏิบัติการ

การพัฒนารูปแบบ

การศึกษา & การลงพื้นที่ ๒ แหง

การศึกษานํารอง

การทบทวนวรรณกรรม

i

ขั้นตอนที่ ๒

ขั้นตอนที่ ๑

รูปที่ ๑: แสดงวิธีการศึกษา

รูปที่ ๑: แสดงวิธีการศึกษา

อบต. หวัด อบต.ท่จัางศาลา จังนครศรี หวัดนครศรี ธรรมราช ธรรมราช

จังหวั นาดนน่าน

อบต. หวัด อบต.ศิจัลงาแดง

แผนปฏิบัติการ & ขั้นตอนสําหรับ รูปแบบ การมีสว นรวม

ขั้นตอนที่ ๓

มาออกแบบและพัฒนารูปแบบการสรางพลังทางดานกฎหมายแกผูยากไรในบริบทของทองถิ่นดวยกระบวน การมีสวนรวม ขั้นตอนที่ ๓: รางแผนการปฏิบัติงานและขั้นตอนการสรางรูปแบบกระบวนการมีสวนรวมเพื่อแกไขปญหาความขัดแยง เรื่องกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้ างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: โครงการสรางพลังทางดานกฎหมายใหแกประชาชนที่ยากไร: การแกไขปญหาทองถิ่นดวยกระบวนการมีสวนรวม การแก้ ไ ขปั ญ หาท้ องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม โครงการสรางพลังทางดานกฎหมายใหแกประชาชนที่ยากไร: การแกไขปญหาทองถิ่นดวยกระบวนการมีสวนรวม

๓ ๓

รายละเอียดแผนงานโครงการ

รายละเอียดแผนงานโครงการ รายละเอียดแผนงานโครงการ

ขั้นตอนและกิจกรรม ขั้นตอนและกิจกรรม ขั้นตอนที่ ๑: การทบทวนวรรณกรรม ขั๑.๑ ้นตอนที ศึกษา่ ๑:& การทบทวนวรรณกรรม พัฒนากรอบแนวคิด & วิธีการศึกษาเกี่ยวกับ ๑.๑ ศึLEP กษา&&กระบวนการมี พัฒนากรอบแนวคิ สวนรดวม& วิธีการศึกษาเกี่ยวกับ LEP & กระบวนการมี ม ๑.๒ คนหาวิธีปฏิบัติที่เปนเลิสศวนร ทั้งวในและต างประเทศ ๑.๒ เกีคน่ยวกั หาวิบธLEP ีปฏิบัตดิทวี่เยกระบวนการมี ปนเลิศทั้งในและต างประเทศ สวนร วม เกี่ยวกัปบแบบต LEPางดวๆยกระบวนการมี วนรวมและสาน และรู ที่เกี่ยวของกับสLEP และรู ๆ ที่เากีงการมี ่ยวของกั เสวนาปแบบต เทคนิคางการสร สวบนรLEP วมที่เกิและสาน ดขึ้น เทคนิคการสรางประเทศ างการมีสวนรวมที่เกิดขึ้น ทัเสวนา ้งในประเทศและต ๑.๓ ทัศึ้งกในประเทศและต ษากฎหมายและขางประเทศ อบังคับที่เกี่ยวของกับ ๑.๓ การกระจายอํ ศึกษากฎหมายและข อบังคัหบารจั ที่เกีด่ยการทรั วของกัพบยากร านาจ การบริ การกระจายอํ า นาจ การบริ ห ารจั ด การทรั ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ปาไม กรรมสิทธิ์ พยากร ธรรมชาติ และอื่น ๆ สิ่งแวดลอม ปาไม กรรมสิทธิ์ และอื่ ๒: ่น ๆการศึกษานํารอง (พื้นที่เปาหมาย ๒ แหง) ขั้นตอนที ขั๒.๑ ้นตอนที ่ ๒: รอง (พื้นอทีมู่เลปาและสั หมายงเกตการณ ๒ แหง) ลงพื้นที่นําการศึ รองเพืกษานํ ่อเก็บารวบรวมข ๒.๑ ลงพื น ้ ที น ่ า ํ ร อ งเพื อ ่ เก็ บ รวบรวมข อ มู ล และสั ง เกตการณ * ณ จังหวัดนาน (ตําบลศิลาแลง ) ณ จัจังงหวั หวัดดนครศรี นาน (ตํ าบลศิลาแลง ) าศาลา ) ** ณ ธรรมราช (ตําบลท * ณ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช (ตํ า บลท ศาลา ) ๒.๒ ออกแบบและพัฒนารูปแบบ LEP ในบริบาทของ ๒.๒ ออกแบบและพั ฒ นารู ป แบบ LEP ในบริ บ ทของ ทองถิ่น ทองถิ่น ๒.๓ จัดใหมีการฝกอบรมและการประชุมเชิงปฏิบัติการ ๒.๓ จัในแต ดใหมลีกะพืารฝ ้นทีก่ อบรมและการประชุมเชิงปฏิบัติการ ในแต่ ๓: ละพืแผนปฏิ ้นที่ บัติงาน & ขั้นตอนตามรูปแบบ ขั้นตอนที ขั้นตอนที่ ๓: แผนปฏิ บัติงานสว&นรขัว้นมตอนตามรูปแบบ กระบวนการมี กระบวนการมี สวนรว้นมตอนการจัดทํา ๓.๑ จัดทํารางแผนปฏิบัตงิ านและขั ๓.๑ จัรูดปทํแบบกระบวนการมี ารางแผนปฏิบัตงิ านและขั ้นตอนการจันเกี ดทํ่ยาวกับ สวนรวมในประเด็ รูกรรมสิ ปแบบกระบวนการมี ส ว  นร ว มในประเด็ น เกี ่ยวกับ ทธิ์ในที่ดินและการสรางพลังทางดานกฎหมาย กรรมสิทธิ์ในที่ดินและการสรางพลังทางดานกฎหมาย การนําสงรายงาน การนํ าสงรายงาน รายงานเบื ้องตน รายงานเบื รายงานฉบั้อบงต สุดนทาย รายงานฉบับสุดทาย

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔

X X

X X

X X

X X

X X

X X


โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

กรอบแนวคิดการศึกษา



๑. กรอบแนวคิดหลัก โครงการสร้างพลังทางกฎหมายแก่ผู้ยากไร้: การ แก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติระดับ ชุมชน (CBNRM) ซึ่งใช้แนวคิดสร้างสรรค์ ๒ แนวคิดด้วยกัน คือ แนวคิดการพลังทางด้านกฎหมาย และ แนวคิดการสาน เสวนา (DD) อาศัยผลการศึกษาและการทบทวนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ และบทเรียนจากโครงการพัฒนาอื่น ๆ รายงานฉบับนี้ จะเน้น (ก) หลั ก แนวคิ ด การสร้ า งพลั ง ทางด้ า นกฎหมายให้ แ ก่

ผู ้ ย ากไร้ (LEP) และการสานเสวนา (DD) และรู ป แบบ

การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชน (CBNRM) (ข) การทบทวนวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศของการบริหารจัดการ ทรัพยากร ธรรมชาติระดับชุมชน ซึ่งได้ผนวกเอา LEP และ DD เข้าไว้ด้วยกัน (ค) วิธีการพัฒนารูปแบบ CBNRM ที่เหมาะสม กั บ พื ้ น ที ่ เ ป้ า หมายในสองจั ง หวั ด คื อ จั ง หวั ด น่ า น (อุ ท ยาน

แห่ ง ชาติ - ทรั พ ยากรป่ า ไม้ ) และจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช (ทรัพยากรธรรมชาติชายฝั่งทะเล)


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

12

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

๑.๑ การสร้างพลังทางด้านกฎหมายคืออะไร จากแรงบันดาลใจของทฤษฎีของนักเศรษฐศาสตร์ Hernando De Soto จึงเกิดแนวคิดการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชากร

ผู้ยากไร้ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของโลกที่ใช้ชีวิตประจำวันอยู่ในภาค เศรษฐกิ จ ที ่ ไ ม่ เ ป็ น ทางการหรื อ เศรษฐกิ จ นอกระบบ และถู ก กี ด กั น

ออกจากการได้รับประโยชน์ตามกฎหมาย โดยปกติ ผู้ชายและผู้หญิง

ที่ยากจนมักขาดการได้รับความคุ้มครองและการรับรองกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินตามกฎหมายและการติดต่อทางธุรกิจ สภาพเช่นนี้ ย่อมหมาย ถึงการขาดความมั่นคงและการมีโอกาสอย่างจำกัดที่จะมีส่วนร่วมและ ได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจ การให้ความคุ้มครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเป็นหัวใจของทฤษฎี การสร้างพลังทางด้านกฎหมาย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นคง ในทรัพย์สินของผู้ยากไร้ด้วยวิธีการออกกฎหมายและการจัดตั้งสถาบัน ขึ้น เพื่อที่ประชาชนผู้ยากไร้จะได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจ (โดยผ่านการเข้าถึงเครดิต ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาหนี้สิน ความมั่นคงในการทำสัญญา เป็นต้น) ในส่วนที่เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยากรธรรมชาติ LEP เสนอแนะให้เลือกชุมชนท้องถิ่นเป็น

กลุ่มเป้าหมาย “ประชาชนท้องถิ่นส่วนใหญ่จะดำรงชีวิตโดยอาศัยทรัพยากรใน แหล่งพื้นที่ที่มิใช่เป็นแหล่งเพาะปลูก อาทิ พื้นที่ป่าไม้ ทุ่งหญ้าธรรมชาติ พื้นที่ชุ่มน้ำ และพื้นที่แหล่งประมง ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรที่ต้องมีการ บริหารจัดการที่ดี เพื่อหลีกเลี่ยงการเรียกเก็บค่าเช่าทางเศรษฐกิจและ การทุจริต และเพื่อป้องกันทรัพยากรมิให้เสื่อมโทรมและการขาดความ ไม่มีประสิทธิภาพทางด้านเศรษฐกิจได้ รัฐจึงควรจะขยายฐานทรัพย์สิน ของผู้ยากไร้ด้วยการให้ชุมชนสามารถมีสิทธิครอบครองและบริหาร


จัดการพื้นที่ทั่วไป แต่รัฐจะต้องทำหน้าที่เป็นผู้บริหารความขัดแย้ง ระหว่างชุมชนกับปัจเจกชนอื่น” (คณะกรรมาธิการการสร้างพลังทาง ด้านกฎหมายแก่ผู้ยากไร้ (Commission on Legal Empowerment of the Poor) เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางโดยทั่วไปว่า การสร้างพลังทาง ด้านกฎหมายแก่ผู้ยากไร้จะเป็นยุทธศาสตร์ที่สร้างสรรค์ยุทธศาสตร์ หนึ่งในการแก้ไขปัญหาความยากจน (PRS) และได้รับการรับรองจาก สหประชาชาติ จะเห็นได้จากการจัดตั้งให้มีคณะกรรมาธิการการสร้าง พลังทางด้านกฎหมายแก่ผยู้ ากไร้ (Commission on Legal Empowerment of the Poor) ขึ้น

๑.๒ สานเสวนา คืออะไร ความสำคัญและคุณสมบัติของสานเสวนา ก็คือ จะเป็นการสร้าง กลไกการตัดสินใจถาวรด้วยการเสวนาร่วมกันระหว่างประชาชนระดับ รากแก้ว เป็นช่องทางจัดตั้งเพื่อให้ประชาชนได้มาหารือกันเกี่ยวกับการ พัฒนาโครงการต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง และเพื่อเป็น ช่องทางให้ประชาชนเหล่านั้นได้ติดตามตรวจสอบการดำเนินโครงการ ด้วย ดังนัน้ สานเสวนาจึงเป็นวิถที างในการสร้างฉันทานุมตั ิ (Consensus) ของชุมชนต่อประเด็นสาธารณะ และสร้างความชอบธรรมในการตัดสินใจ ของชุมชนมากขึ้น แต่มิได้หมายความว่าประชาชนจะต้องจัดลำดับ ความต้องการเรียงตามลำดับ ตรงกันข้าม ความคิดเห็นของประชาชน เกีย่ วกับ โครงการจะต้องมีการหารือร่วมกันอย่างกว้างขวางเพื่อกำหนด ขอบเขต รูปแบบที่ควรเป็น รูปแบบที่ควรปรับเปลี่ยน และการปรับปรุง แก้ ไ ขให้ เ หมาะสมโดยการพู ด จาหารื อ กั น ในมุ ม มองที ่ ห ลากหลาย

ต่างกัน เพื่อมุ่งไปสู่ความเข้าใจซึ่งกันและกันและการลงมือดำเนินการ ร่วมกัน รูปแบบของ “สานเสวนา” ในพื้นที่ อาจเป็นการทำประชา

13 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

14

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

พิจารณ์ การหารือสาธารณะ และเวทีวิชาการหลากหลายสาขา ซึ่ง

ผู้แทนชุมชนและของรัฐสามารถสนทนาหารือร่วมกันได้

๑.๓ การสร้างพลังทางด้านกฎหมายด้วยการสานเสวนา ประชาชนในท้ อ งถิ ่ น ส่ ว นใหญ่ ใ นประเทศกำลั ง พั ฒ นาอาศั ย ทรัพยากรธรรมชาติในการดำรงชีพ การควบคุมบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติมักจะถูกควบคุมโดยข้อบังคับชุมชน ซึ่งมักจะขัดแย้งกับกรอบ กฎหมายระดับชาติ บ่อยครั้งที่ชุมชนมีความเคลือบแคลงหรือไม่ไว้ใจ รัฐบาลท้องถิ่นและระดับชาติ ในการริเริ่มเปลี่ยนแปลงนโยบาย/กฎมาย เพื่อคุ้มครองทรัพย์สินของประชาชนที่ยากจน ควรพิจารณาปัจจัยหลัก ๒ ประเด็นคือ î การปฏิรูปนโยบาย/กฎหมายควรจะสอดคล้องกับกฎหมาย

ประเพณีและธรรมเนียมปฏิบัติ î การปฏิรูปกฎหมาย/ข้อบังคับควรจะได้รับการยอมรับจาก

ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ การสร้างความชอบธรรมด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมและ สานเสวนา โดยปกติ การปฏิรูปต้องกระทำโดยรัฐที่มีอำนาจตาม กฎหมาย ในการลงมือปฏิรูปในทุกระดับ จะต้องกระทำด้วย ความรอบครอบและรับฟังความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียก่อน การกระทำดังกล่าวจะช่วยทำให้ทุกฝ่ายมุ่งเฉพาะประเด็นที่ เกี่ยวข้องเท่านั้น สร้างการยอมรับจากชุมชนท้องถิ่น และลดค่า ใช้จ่ายในการปฏิรูป ยกตัวอย่าง ในช่วงระหว่างปี ๒๕๓๙ – ๒๕๔๓ ประเทศเปรูได้จัดให้มีการประชุมเกี่ยวกับกระบวนการ


ออกเอกสารสิทธิท์ ด่ี นิ ถึง 3,500 ครัง้ ในชุมชนต่าง ๆ ทัว่ ประเทศ ซึ ่ ง สร้ า งความพึ ง พอใจให้ แ ก่ ช ุ ม ชนในความพยายามปฏิ รู ป กรรมสิทธิ์ที่ดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จะต้องให้ความสำคัญเป็น พิเศษกับกลุ่มคนชายขอบ ผู้หญิง ชนพื้นเมือง ชุมชนสลัมใน เมืองใหญ่ และกลุ่มคนนอกระบบอื่นๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการปฏิรูป จุดเริ่มต้นที่ดีและได้ผลของกระบวนการ

ก็คือ การส่งเสริมความคิดริเริ่มที่ดี อาทิ การรวมกลุ่มผู้ยากไร้ ในเมืองและชนบทเข้าไว้เป็นกลุ่มเดียวกันสำหรับปัญหาพื้นฐาน รวมทั้งปัญหาการอพยพย้ายถิ่นของชาวชนบทจากเศรษฐกิจ ชนบท ความยากจนของคนเมือง ที่มา : UNDP Legal Empowerment of the Poor

๑.๔ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ชุ ม ชน หมายถึงอะไร จากวัตถุประสงค์และวิธีการของการสร้างพลังทางด้านกฎหมาย (LEP) และ สานเสวนา (DD) การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ชุมชน (CBNRM) จะช่วยทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ข้างต้น ๓ ประการ คือ การลดความยากจน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการส่งเสริม การบริหารจัดการที่ดีและการกระจายอำนาจ เข้าไว้ในกระบวนการ เดียวกัน

15 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

16

โครงการสรางพลังทางดานกฎหมายใหแกประชาชนที่ยากไร: การแกไขปญหาทองถิ่นดวยกระบวนการมีสวนรวม

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

รูปที่ ๒ CBNRM และการเชื่อมโยงกับวัตถุประสงคของการพัฒนาในภาพรวม

การลด ความยากจน

CBNRM

การอนุรักษ ทรัพยากร ธรรมชาติ

การบริหาร จัดการที่ดี

ทีที่ม่มาา :: กระทรวงการต่ งประเทศเดนมาร เดนมาร์ กระทรวงการตาางประเทศ ค ค

่ดี หมายถึง กระบวนการตัดสินใจ ซึ่งจะนําเอาองคประกอบตาง ๆ ของการสานเสวนาเขาไวด การบริหารจัดการที การบริ ารจั ดการที ง กระบวนการตั ดสินใจ ซึ่ย่งนทั จะนำเอา ประชาชนทุ กระดับหระดั บชาติ ระดับ่ดที อหมายถึ งถิ่นและระดั บชุมชน ไดเขามาแลกเปลี ศนะตอปญหารวมกัน

องค์ประกอบต่างๆ ของการสานเสวนาเข้าไว้ด้วย การลดปญหาความยากจน หมายถึ างพลั งทางดานกฎหมายให แกผบูยากไร กันง การสร เพื่อให้ ประชาชนทุ กระดับ ระดั ชาติ ระดับ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึ ทรัพยากรป่ ยาไม ท้ อ งถิง่ นความสามารถของชุ และระดั บ ชุ ม ชนมชนในการใช ได้ เ ข้ า มาแลกเปลี น อยางยั่งยืนและเปนม ทัศนะต่อปัญหาร่วมกัน รูปที่ ๓ การสงเสริมแนวคิดริเริ่มสําหรับ CBNRM ๓ ระดับ

การลดปัญหาความยากจน หมายถึง การสร้างพลังทางด้านกฎหมาย ระดับประเทศ: กรอบดานการเมือง ให้แก่ผ๑.ู้ยากไร้ และกฎหมาย

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ความสามารถของชุมชน ในการใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้ ๒. ระดัอบม ภาค: เชื่อม CBNRM กับ การปฏิรูปภาคสาธารณะ

๓. ระดับทองถิ่น: สิทธิ,์ ความรับผิดชอบ, รายได, และการมีสวนรวมในการตัดสินใจ


ที่มา : กระทรวงการตางประเทศ เดนมารค

การบริหารจัดการที่ดี หมายถึง กระบวนการตัดสินใจ ซึ่งจะนําเอาองคประกอบตาง ๆ ของการสานเสวนาเขาไวดวยกัน เพื่อให ประชาชนทุกระดับ ระดับชาติ ระดับทองถิ่นและระดับชุมชน ไดเขามาแลกเปลี่ยนทัศนะตอปญหารวมกัน

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้:

17

รูปที่ ๓ การสงเสริมแนวคิดริเริ่มสําหรับ CBNRM ๓ ระดับ ๑. ระดับประเทศ: กรอบดานการเมือง และกฎหมาย

๒. ระดับภาค: เชื่อม CBNRM กับ การปฏิรูปภาคสาธารณะ

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

การแก้ ไขปัญหาท้แกอผงถิ ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม การลดปญหาความยากจน หมายถึง การสรางพลังทางด านกฎหมายให ูยากไร การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ความสามารถของชุมชนในการใชทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

๓. ระดับทองถิ่น: สิทธิ,์ ความรับผิดชอบ, รายได, และการมีสวนรวมในการตัดสินใจ

การดําเนินโครงการบริ หารจัน ดการทรั พยากรธรรมชาติ ุมชน(CBNRM) ตองดํพาเนิ นการทั้ง ๓ ระดับ : คือชระดั ประเทศ ระดับภาค การดำเนิ โครงการบริ หชารจั ด การทรั ยากรธรรมชาติ ุ มบชน และระดั บท องถิ่ น ประเด็น สํ าคั ญสํ าหรับ ระดั บประเทศ ก็ คือการสนับ สนุน กระบวนการจัด ทํานโยบายและกรอบด านกฎหมาย นการทั บางไรจึ : คืงอจะสร ระดั ประเทศ บภาค เกี(CBNRM) ่ยวกับ CBNRMต้สํอ าหรังดำเนิ บระดับภาค ประเด็น้ งสําคั๓ญก็ระดั คือทําอย าง บ CBNRM ใหเปนรูระดั ปธรรมโดยผ านองคกรปกครอง สและระดั วนทองถิ่นโดยใช ก ระบวนการกระจายอํ า นาจ หรื อ ผ า นการกระจายอํ า นาจไปยั ง ผู  แ ทนตามสายงาน ซึ ่ ง จะมอบอํ านาจใหแกองคกร บ ท้ อ งถิ ่ น ประเด็ น สำคั ญ สำหรั บ ระดั บ ประเทศ ก็ ค ื อ การ

สนับสนุนกระบวนการจัดทำนโยบายและกรอบด้านกฎหมายเกี่ยวกับ CBNRM สำหรับระดับภาค ประเด็นสำคัญก็คือทำอย่างไรจึงจะสร้าง CBNRM ให้เป็นรูปธรรมโดยผ่านองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยใช้ กระบวนการกระจายอำนาจ หรือผ่านการกระจายอำนาจไปยังผู้แทน ตามสายงาน ซึ่งจะมอบอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอีก

ชั้นหนึ่ง และสำหรับระดับท้องถิ่นเอง ประเด็นหลักก็คือ ทำอย่างไรที่จะ สร้างความร่วมมือระหว่างนักกิจกรรมสังคมและสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างนักกิจกรรมกับทรัพยากรธรรมชาติ ที่มา: กระทรวงการต่างประเทศเดนมาร์ก


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

18

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

การกระจายอำนาจในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติมี ข้อดีหลายประการ (๑) ประชาชนในท้องถิ่นสามารถระบุและจัดลำดับ ความสำคัญของปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมได้ถูกต้องกว่าหน่วยงานส่วน กลาง (๒) การจัดสรรทรัพยากรจะทำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานจะต่ำกว่าเมื่อมีการตัดสินใจในระดับ ท้องถิ่น ดังนั้น ค่าใช้จ่ายด้านการบริหารจัดการของรัฐจะลดลงในขณะ ที่การอนุรักษ์ทรัพยากรจะมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น (๓) ประชาชนใน ท้องถิ่นจะยอมรับการตัดสินใจที่คนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการตัดสิน ใจ (๔) การติ ด ตามตรวจสอบการใช้ ท รั พ ยากรจะทำงานได้ ม ี ประสิทธิภาพมากขึ้น (5) กลุ่มคนชายขอบมีส่วนในการกำหนดนโยบาย ของท้องถิ่นมากขึ้น (ที่มา E.G. Chambers ๑๙๙๔, Grindle ๑๙๘๒, Hobley ๑๙๙๖, Larson ๒๐๐๓, Ribot ๒๐๐๔, Rondinelli ๑๙๘๓,

M Sundar ๒๐๐๑ อ้างอิงจากกระทรวงการต่างประเทศเดนมาร์ก)


โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ



๒.๑ การบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ กรณีศึกษา ประเทศแกมเบีย (โบจัง และ รีบ) โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาการลดของ พื้นที่ป่าไม้และการทำลายป่าไม้และการสร้างความตระหนักรู้ ถึงความจำเป็นของการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคุ้มครอง และดูแลรักษาป่าไม้ กรมป่าไม้ภายใต้ความช่วยเหลือ จากต่าง ประเทศ จึงได้เสนอแนะให้มีการบริหารจัดการป่าชุมชนขึ้น

มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง องค์ ก ารด้ ว ยการจั ด ตั ้ ง คณะ กรรมการป่าไม้ระดับหมู่บ้านซึ่งทำงานร่วมกับกรมป่าไม้ภาย ใต้ ค วามตกลงว่ า ด้ ว ยการบริ ห ารจั ด การป่ า ชุ ม ชนและนำ

ข้อตกลงไปปฏิบัติ รวมทั้งทำหน้าที่บริหารจัดการรายได้และ แก้ไขปัญหาความขัดแย้ง สำหรับกิจกรรมแก้ไขปัญหาความ

ขัดแย้ง จะจัดการโดยผู้นำชุมชนเท่านั้น ในขณะที่กรมป่าไม้ให้ ความสนั บ สนุ น ด้ า นวิ ช าการแก่ ช ุ ม ชน ชุ ม ชนเองจะใช้ วัฒนธรรมท้องถิ่นและใช้องค์การชุมชนเป็นฐานโดยแต่งตั้ง สมาชิกชุมชนออกเป็นทีมงานชุดต่าง ๆ ขึ้น บทเรียนที่สำคัญ จากโครงการนี้ก็คือ ควรให้สิทธิอย่างถาวรแก่ชุมชนในการ ครอบครองทรัพยากรป่าไม้ซึ่งชุมชนปกป้องดูแล ทั้งนี้ต้องอยู่ ภายใต้ เ งื ่ อ นไขของการจั ด การทรั พ ยากรอย่ า งยั ่ ง ยื น การ ปฏิบัติหน้าที่โดยไม่มีรายได้เป็นสิ่งจูงใจทำให้ชุมชนเกิดความ รู ้ ส ึ ก เป็ น เจ้ า ของและความรั บ ผิ ด ชอบที ล ะน้ อ ย การให้ ก าร ยอมรั บ ต่ อ “นโยบายป่ า ไม้ แ กมเบี ย ” โดยบรรจุ ไ ว้ เ ป็ น นโยบายใหม่ของรัฐบาล และการออกเป็นกฎหมายรับรองใน เวลาต่อมาได้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของกฎหมายสำหรับ


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

22

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

แนวทางใหม่ น ี ้ และปั จ จุ บ ั น ได้ น ำแนวทางนี ้ ไ ปปฏิ บ ั ต ิ ท ั ่ ว ประเทศ แกมเบีย

กรณีศึกษา, ประเทศฟิลิปปินส์ (โอลิวา) สืบเนือ่ งจากรัฐบาลฟิลปิ ปินส์ประสบปัญหาความไร้ประสิทธิภาพ ของกฎหมาย นโยบายและโครงการด้านป่าไม้ การบังคับใช้กฎหมายที่ ไม่มีประสิทธิภาพ การไม่ให้ความสำคัญต่อการอนุรักษ์ป่าไม้และการ ปกป้องสิ่งแวดล้อมและการขาดความสนับสนุนจากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและทุกภาคส่วนในชุมชนต่อโครงการจัดการป่าไม้ส่งผลให้ จำนวนพื้นที่ป่าลดลง รัฐบาลฟิลิปปินส์ฐานะที่เป็นเจ้าของทรัพยากร ธรรมชาติของประเทศเพียงหน่วยงานเดียวจึงได้ออกกฎข้อบังคับใหม่ซึ่ง มอบอำนาจให้ ก รมทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ มอนุ ญ าตให้ ชุมชนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสามารถเข้าถึงและรับผิดชอบในการใช้ การจัดการ การปกป้องและการฟืน้ ฟูทรัพยากรป่าไม้ได้ จึงได้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการคุ้มครองป่าทุกภาคส่วนรวม ๑๖ คณะ สมาชิกของแต่ละ คณะกรรมการจะเป็นตัวแทนของทุกกลุ่ม (ยกตัวอย่าง ทหาร ศาสนา สื่อ เยาวชน เกษตรกร ผู้หญิงและกลุ่มธุรกิจ องค์การที่มิได้แสวงหา กำไร กรมยุติธรรม ตำรวจแห่งชาติ เจ้าหน้าทีรักษาชายฝั่ง ทนายความ อื่น ๆ) ปัจจุบันนี้ มีคณะกรรมการรวม ๒๙๙ คณะ ทั่วประเทศและมี ด้วยกัน ๔ ระดับ คือ ระดับประเทศ ภาค จังหวัดและเทศบาล บทเรียน ที ่ ส ำคั ญ คื อ การกำหนดนโยบาย การให้ ก ารศึ ก ษาและการเผยแพร่ ข้อมูล การคุ้มครองป่าไม้และการบริหารป่าไม้ระดับชุมชนจะก้าวหน้า ต่อเมื่อมีการจัดตั้งองค์การขึ้นเพื่อทำหน้าที่เป็นกลไกให้ทุกภาคส่วนของ สังคมได้พบปะและร่วมแก้ไขปัญหา


๒.๒ การบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเล กรณีศึกษา, ประเทศฟิลิปปินส์ (ตะเลา-แม็กมานัส, ยามบัว, ซัลโม III, ละ อัลลิโย) โครงการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลชายฝั่งระดับชุมชนมี บทบาทที่สำคัญต่อการระดมพลังชุมชนและการก่อตัวขององค์การภาค ประชาชนส่วนท้องถิ่นขึ้น (POs) รวมทั้งการจัดทำแผนพัฒนาทรัพยากร ชายฝั่งแบบมีส่วนร่วม (CDP) ของประเทศเป็นฉบับแรก วัตถุประสงค์ ของโครงการนี้ก็คือการจัดทำแผน CDP (แผนพัฒนาทรัพยากรชายฝั่ง แบบมีสว่ นร่วม) โดยผนึกกำลังระหว่างองค์การภาคประชาชนส่วนท้องถิน่ ภาคประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลงานสองชิ้นแรก ของโครงการก็ ค ื อ การจั ด ตั ้ ง องค์ ก ารภาคประชาชนส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ขึ ้ น จำนวน ๔ องค์การซึ่งต่อมาได้รวมตัวกันเป็นสมาพันธ์และการถ่ายทอด ความรู้และทักษะให้แก่องค์การ ลำดับต่อมาก็คือ การให้คำปรึกษา หารือในการจัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งแบบมีส่วนร่วมในทุก ด้านโดยประกาศเป็นข้อบังคับของเทศบาล การให้คำปรึกษาหารือ

แก่องค์การช่วยทำให้มีการยอมรับแผนพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งแบบมี ส่วนร่วมซึ่งองค์การภาคประชาชนส่วนท้องถิ่น (PO) ได้ริเริ่มไว้ในที่สุด

นี้คือตัวอย่างของการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรนิติบัญญัติและองค์กร บริ ห ารระดั บ ท้ อ งถิ ่ น ในการพั ฒ นากระบวนการวางแผนอย่ า งเป็ น ทางการ การพิจารณานำแผนพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งแบบมีส่วนร่วม (CDP) มาดำเนิ น การเป็ น กลไกที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที ่ ส ุ ด ที ่ จ ะสร้ า ง ฉันทานุมัติร่วมกันในการพัฒนาวิสัยทัศน์และวางแผนงานเพื่อให้บรรลุ วิสัยทัศน์ที่ได้วางไว้ แผนงานฉบับนี้เป็นตัวอย่างให้เทศบาลต่างๆ ได้ใช้ เป็นแนวทางในการออกแบบแผนงานของตนเอง รัฐบาลท้องถิ่นและ องค์การที่มิได้แสวงหากำไร ซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทั่วประเทศ ฟิลิปปินส์และในประเทศต่างๆ แถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ก็ยังได้อ้างถึงแผนงานฉบับนี้อีกด้วย

23 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

24

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

กรณีศึกษา, ประเทศบาเบโดส (แม็กคอนนิ) โครงการศึกษานี้ซึ่งได้ดำเนินการเมื่อปี ๒๕๔๘ ได้เสนอแนะแนว ทางการจัดการทรัพยากรประมงอย่างเป็นลำดับขั้นตอน สืบเนื่องจาก ประเทศบาเบโดสไม่มีประสบการณ์การจัดการทรัพยากรประมงใน ชุมชนเช่นเดียวกับประเทศที่เป็นเกาะอื่น ๆ ในภูมิภาคนี้ ซึ่งได้วาง รากฐานการจัดการทรัพยากรประมงในชุมชนเป็นสำคัญ โครงการนี้จึง ได้เสนอแนะให้องค์กรประมงชุมชนนอกเหนือจากองค์กรประมงพื้นบ้าน ทำหน้ า ที ่ ข ั บ เคลื ่ อ นการทำงานของชุ ม ชนร่ ว มกั น พระราชบั ญ ญั ต ิ ประมง พ.ศ. ๒๕๔๗ เองก็เปิดให้มีการจัดทำและปรับปรุงแก้ไขแผนการ จั ด การทรั พ ยากรประมงของประเทศบาเบโดสขึ ้ น โดยผ่ า นคณะ กรรมการที่ปรึกษาด้านการประมงในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ปรึกษา

ยิ่งไปกว่านี้ ยังได้มีการจัดตั้งกลุ่มงานประมงแบบมีส่วนร่วมขึ้น อีกทั้ง ยังได้มีความพยายามสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรประมงพื้นบ้าน กับประเทศเพื่อนบ้านในการใช้ปลาทะเลร่วมกัน การพัฒนาแนวคิดการ จัดการทรัพยากรประมงจะต้องคำนึงถึงประเด็นด้านเศรษฐกิจและ สังคมเป็นสำคัญเพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงด้านการเมืองในการ อนุรักษ์ทรัพยากรประมงของประเทศกำลังพัฒนา ปัจจัยที่จะนำไปสู่ ความสำเร็จประการหนึ่งคือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้จัดการ/

นักวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมประมงเพื่อสร้างความร่วมมือกันใน การบริหารจัดการทรัพยากรประมงอย่างยั่งยืน ที่มา: กรณีศึกษาทั้งหมดอาศัยข้อมูลจากการประชุมของธนาคารโลกเรื่องการ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ช ุ ม ชน กรุ ง วอชิ ง ตั น ดี ซี เดื อ นพฤษภาคม ๒๕๔๑ และข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตจากเครือข่ายการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชน


๒.๓ บทสรุปเชิงเปรียบเทียบ การนำหลักการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชนมาปฏิบัติ มี อ งค์ ป ระกอบย่ อ ยที ่ ค วรพิ จ ารณาอยู ่ ๓ องค์ ป ระกอบ ได้ แ ก่ การ ถ่ายทอดความรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้าง ความชัดเจนของกฎหมายซึ่งจะระบุวิธีการเข้าถึงกฎหมายและการ

จัดตั้งกลไกสถาบันขึ้น เพื่อให้ชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างมี นัยยะ หรือจะกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า เพื่อให้บรรลุความสำเร็จในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชน ควรจัดให้มีเครื่องมือ หลั ก ๓ ประการ ได้ แ ก่ (๑) สานเสวนา (๒) การปฏิ รู ป นโยบายและ กฎหมาย (๓) การเสริมสร้างสมรรถภาพ ทั้งนี้ ควรเน้นองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งเป็นหลักและบูรณาการปัจจัยต่างๆ ของแนวคิดอื่น ๆ เข้าไว้ด้วยกัน

๑. กระบวนการสานเสวนา (Deliberative Democracy หรื อ DD) หมายถึ ง การจั ด ตั ้ ง กลไกเชิ ง โครงสร้ า ง ซึ ่ ง ประชาชนทุกภาคทุกส่วนสามารถพบปะหารือกันและแก้ไข ปัญหาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ต้องจัดสถาปนาให้ ชุมชนเป็นองค์การอย่างถูกต้องตามกฎหมายเพื่อว่ารัฐจะได้ แบ่งสรรทรัพยากรของชาติร่วมกับชุมชนที่มีปัญหา

๒. การปฏิรูปนโยบายและกฎหมาย (Policy and Legal Reform หรือ PLR) เน้นการคุ้มครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ สินร่วม รวมไปถึงการออกกฎหมายให้นิยามกรรมสิทธิ์ใน ทรั พ ย์ ส ิ น และกำหนดหน้ า ที ่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบเกี ่ ย วกั บ ทรัพยากรธรรมชาติระดับรัฐ ปัจเจกบุคคลและส่วนรวมให้ ขัดเจน ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้อาจเป็นข้อตกลงระหว่างรัฐและ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ หรือ การริเริ่มให้ มีการปฏิรูปกฎหมายหรือนโยบาย

25 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

26

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

๓. การเสริมสร้างสมรรถภาพ (Capacity Building หรือ CB) ต้องมุ่งไปที่การบริหารจัดการ ๓ ระดับ การเสริมสร้าง สมรรถภาพมี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่ อ การถ่ า ยทอดความรู ้ แ ละ ทักษะในด้านต่างๆ รวม ๓ ด้าน ด้านที่ ๑ การสร้าง การ ตระหนักรู้เกี่ยวกับกลไกเพื่อควบคุมความสัมพันธ์ภายใน ชุมชน รัฐ และภาคเอกชน รวมทั้งกฎหมาย ข้อบังคับหรือ ประเพณี ด้านที่ ๒ การให้การฝึกอบรมด้านวิชาการเกี่ยวกับ วิธีการใช้และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ด้านที่ ๓ คือ การสร้างพลังด้านการบริหารจัดการ การวางแผน และการ จัดทำงบประมาณให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

โครงการที ่ ป ระสบความสำเร็ จ ทั ้ ง ๔ โครงการ ได้ บู ร ณาการ

องค์ประกอบย่อยในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ ประเทศแกมเบีย-ป่าไม้ (กรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของทรัพยากรป่าไม้ร่วม) องค์ประกอบด้าน การสานเสวนา (DD) (๑) การจัดตั้งคณะ กรรมการป่าไม้ระดับ หมู่บ้าน ซึ่งมีบทบาทในการ วางแผนการบริหารจัดการ ป่าไม้

องค์ประกอบด้าน การเสริมสร้าง สมรรถภาพ (CB) (๒) การจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการด้านความรู้และ ทักษะด้านการบริหาร จัดการป่าไม้โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ ห้ ส ามารถ บริหารจัดการด้วยตนเอง

องค์ประกอบด้าน การปฏิรูปนโยบายและ กฎหมาย(PLR) (๓) การลงนามในข้อตกลง ด้ า นการบริ ห ารจั ด การป่ า ชุมชนระหว่างชุมชนท้องถิ่น และกรมป่าไม้ ในนาม รั ฐ บาลซึ ่ ง ให้ ส ิ ท ธิ ก ารเป็ น เจ้ า ของทรั พ ยากรป่ า ไม้ อย่ า งถาวร ซึ ่ ง มี ข อบเขต พื้นที่ป่าที่ชัดเจนแก่ชุมชน และระบุรายละเอียดความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งชุ ม ชนและ กรมป่ า ไม้ อาทิ การให้ ความช่วยเหลือด้านวิชาการ และการกำหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบของทั้งสองฝ่าย อย่างชัดเจน


(๔) ชุ ม ชนได้ เ ปิ ด บั ญ ชี ธนาคารซึ ่ ง เป็ น แหล่ ง เก็ บ รายได้จากการจัดกิจกรรม การจัดการป่า ข้อตกลงได้ กำหนดให้ร้อยละ ๔๐ ของ จำนวนรายได้ต้องจัดสรรไว้ สำหรับการบำรุงรักษาป่าไม้

(๖) กรมป่าไม้ได้ริเริ่มที่จะ ทบทวนกระบวนการกำหนด นโยบายและกฎหมายเพื่อ รับรองกรรมสิทธิ์ป่าไม้ของ ชุ ม ชน ซึ ่ ง มี ผ ลทำให้ ม ี ก าร ออกนโยบายและกฎหมาย ใหม่ ซึ่งกำหนดบทบาทของ ชุมชนในการบริหารจัดการ ป่า

(๕) ได้ ม ี ก ารจั ด ตั ้ ง “คณะ กรรมการศานติวิธี” ขึ้นเพื่อ ทำหน้าที่แก้ไขความขัดแย้ง เกี่ยวกับที่ดินในหมู่บ้าน

ประเทศบาเบโดส-ทรัพยากรชายฝั่ง (การเข้าถึงทรัพยากร) องค์ประกอบด้าน การเสริมสร้าง สมรรถภาพ (CB)

องค์ประกอบด้าน การสานเสวนา (DD)

(๒) การจัดตั้งคณะ กรรมการที่ปรึกษาด้านการ ประมง (FAC)ประกอบด้วย

ผู้แทนจากอุตสาหกรรมการ ประมง (ชาวประมงชายฝั่ง และนอกชายฝั่ง ผู้ขาย และ ผู้ประกอบการปลา) ผู้แทน จากภาครั ฐ และที ่ ป รึ ก ษา ประมงเอกชน

องค์ประกอบด้าน การปฏิรูปนโยบายและ กฎหมาย(PLR) (๑) การออกพระราช บัญญัติประมงฉบับใหม่ ซึ่ง อนุ ญ าตให้ จ ั ด ตั ้ ง คณะ กรรมการที่ปรึกษาด้านการ ประมง (FAC)

(๓) การจัดให้มีการปรึกษาหารือสาธารณะ ณ บริเวณ พื้นที่เทียบเรือประมง เพื่อช่วยคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการประมง (FAC) วางแผนงานบริหารจัดการ

27 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

28

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม (๔) ได้ จ ั ด ตั ้ ง กลุ ่ ม ทำงาน ด้ า นการประมงจำนวน ๓ กลุ ่ ม ประกอบด้ ว ยผู ้ แ ทน จากภาครั ฐ ชาวประมง องค์กรมิแสวงหากำไร เพื่อ ทำหน้าที่ในคณะอนุกรรมการที่ปรึกษาของคณะ กรรมการที่ปรึกษาด้านการ ประมง (FAC)

(๕) ได้มอบหมายให้ที่ ปรึกษาระหว่างประเทศด้าน ประมงพื ้ น บ้ า นทำหน้ า ที ่ เสริ ม สร้ า งสมรรถภาพการ วางแผนบริหารจัดการและ ด้านปฏิบัติการระดับชุมชน และท้องถิ่น (๖) ได้ จ ั ด ให้ ม ี ก ารประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารเพื ่ อ แลก เปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ชายฝั่ง

ประเทศฟิลิปปินส์-ป่าไม้ (สิทธิในการใช้) องค์ประกอบด้าน การเสริมสร้าง สมรรถภาพ (CB)

องค์ประกอบด้าน การสานเสวนา (DD)

องค์ประกอบด้าน การปฏิรูปนโยบายและ กฎหมาย(PLR) (๑) การออกเทศบั ญ ญั ต ิ ท ี ่ ๒๖๓ ซึ่งรับรองการถือครอง ป่าให้แก่ชุมชนที่มี คุณสมบัติเหมาะสมและให้ ชุมชนสามารถเข้าพื้นที่ป่า และมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบใน การใช้ การจั ด การ การ ป ก ป ้ อ ง แ ล ะ ก า ร ฟ ื ้ น ฟู ทรัพยากรป่า


(๒) การจัดตัง้ คณะกรรมการ (๓) การจั ด เตรี ย มและการ คุ้มครองป่าจากทุกภาคส่วน เผยแพร่ คู ่ ม ื อ ขั ้ น ตอนและ (MFPCs) ประกอบด้ ว ย การปฏิบัติงานสำหรับคณะ ผู้แทนจากภาครัฐ และภาคี กรรมการคุ ้ ม ครองป่ า จาก อื่น ๆ ได้แก่ ทหาร ศาสนา ทุกภาคส่วน (MFPCs) สื่อ เยาวชน ผู้หญิงและกลุม่ ธุ ร กิ จ องค์ ก รที ่ ม ิ แ สวงหา กำไรด้านสิ่งแวดล้อม กรม ยุ ต ิ ธ รรม ตำรวจแห่ ง ชาติ กรมรั ก ษาชายฝั ่ ง ทนาย ความ เป็นต้น (๔) ได้กำหนดให้คณะกรรมการคุ้มครองป่าจากทุกภาค ส่วน (MFPCs) มีหน้าที่การวางแผนการจัดการและ เสริม สร้ า งขี ด ความสามารถด้ ว ยการเผยแพร่ ง านและการ ประชุมของคณะกรรมการ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงการ การสร้างจิตสำนึกและอาชีพให้แก่ชุมชน และสร้างเครือ ข่ายสมาชิกเพื่อสนับสนุนงานพิทักษ์ป่าไม้ ประเทศฟิลิปปินส์-ทรัพยากรชายฝั่ง (สิทธิในการใช้) องค์ประกอบด้าน การสานเสวนา (DD)

องค์ประกอบด้าน องค์ประกอบด้าน การเสริมสร้าง การปฏิรูปนโยบายและ สมรรถภาพ (CB) กฎหมาย(PLR) (๑) การจั ด ให้ ม ี โ ครงการ รณรงค์ ก ารศึ ก ษาและข่ า ว สารด้านสิ่งแวดล้อม

(๓) การจั ด ตั ้ ง องค์ ก รภาค ประชาชนในหมู่บ้านต่างๆ

(๔) ได้จัดให้มีปฐมนิเทศการพัฒนาชายฝั่งให้แก่ผู้นำและ สมาชิกองค์กรภาคประชาชน การระดมสมองเกี่ยวกับการ บริหารจัดการชายฝั่งและการประมง และทางเลือกอื่น

29 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

30

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

(๕) ได้มีการจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการด้านการบริหาร จั ด การทรั พ ยากรชายฝั ่ ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

(๖) ได้ อ อกเทศบั ญ ญั ต ิ จ ั ด ตั้งคณะกรรมการเพื่อ วางแผนทรั พ ยากรชายฝั ่ ง จากทุ ก ภาคส่ ว น (MCDB) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน ๒๑ คน มาจากชุ ม ชน ๑๑ คน และองค์กรภาค ประชาชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น


โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

วิธีการศึกษา



แผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (CBNRM)

ที่ประสบความสำเร็จ สามารถแบ่งออก เป็น ๓ ขั้นตอน: การ ระบุสิ่งท้าทายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ขั้นตอนที่ ๑ ประกอบ ด้วยการศึกษาบริบทเบื้องต้น) การพัฒนารูปแบบ CBNRM โดยใช้บริบทเป็นฐาน (ขั้นตอนที่ ๒ ประกอบด้วยการจัดให้มี การปรึ ก ษาหารื อ สาธารณะ ๑ ถึ ง ๒ ครั ้ ง ) และการลงมื อ ปฏิบัติตามแผน (ขั้นตอนที่ ๓ ประกอบด้วยส่วนย่อย ๓ ส่วน ได้แก่ การเสริมสร้างสมรรถภาพ การสร้างกลไกสานเสวนา และการปฏิรูปนโยบายและกฎหมาย)


๒. ระบุพื้นที่ เปาหมาย

๔. ออกแบบ เครื่องมือ

สมรรถภาพ

๖. กาเสริมสราง

- การประชุมเชิงปฏิบัติการ หัวขอกฎหมายและ โครงสรางที่เกี่ยวกับการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ - การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทักษะบริหาร

๕. สานเสวนา

- การจัดลําดับประเด็นปญหา - การระบุวัตถุประสงคและ แผนงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค - การแจกแจงความรับผิดชอบ - การลงนามในขอตกลง

ขั้นตอนที่ ๒

- การบังคับใชกฎขอบังคับ ออกโดย อบต. หรือ หนวยงานที่รับผิดชอบ ­ รางกฎหมายสรางกลไกการ เปลี่ยนแปลง

๗. การลงมือ ปฏิบัติ

ขั้นตอนที่ ๓

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

สถานะ: เสร็จสิ้นกลางเดือนธันวาคม ๒๕๕๒ สถานะ: ระหวางดําเนินการ

= ขั้นตอนการระบุ สถานะ: เสร็จสิ้นปลายเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๒ = ขั้นตอนการสานเสวนา สถานะ: เสร็จสิ้นกลางเดือนธันวาคม ๒๕๕๒ == ขัขั้น้นตอนการปฏิ บัติตามแผน สถานะ: ระหว่างดำเนิ นการ ตอนการระบุ สถานะ: เสร็จสิ้นปลายเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๒

- การลงพื้นที่ - การติดตอบุคคลในชุมชน เปาหมาย - การประชาสัมพันธโครงการ - การเก็บรวบรวมขอมูลจาก ประชาชน

๓. เก็บ ขอมูลใน พื้นที่

- การศึกษากรอบ กฎหมาย - การวิเคราะห ปญหาดานปฏิบัติ - การเตรียมคูมือ

ขัน้ ตอนที่ ๕ = ขั้นตอนการสานเสวนา ขั้นตอนที่ ๖-๗ = ขั้นตอนการปฏิบัติตามแผน

หมายเหตุ ขัหมายเหตุ ้นตอนที่ ๑- ๔ ขั้นตอนที่ ๕ ขัขั้น้นตอนที ่ ๖-๗ ตอนที ่ ๑- ๔

- แนวคิด DD - แนวคิด LEP - แนวคิด CBNRM - วิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ - วิธีการศึกษา

๑. ศึกษา วรรณกรรม

- ชุมชนเปาหมาย - สมาชิกเครือขาย KPI ที่มี ความสัมพันธ ใกลชิดชุมชน

ขั้นตอนที่ ๑

วิธีการศึกษา

วิธีการศึกษา

ประกอบดวยสวนยอย ๓ สวน ไดแก การเสริมสรางสมรรถภาพ การสรางกลไกสานเสวนา และการปฏิรูปนโยบายและกฎหมาย)

34

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ขั้นตอนที่ ๑ การระบุสิ่งท้าทายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

- ค้นหาชุมชนซึ่งมีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชน (CBNRM) ความพยายามในช่วงแรกก็คือ อธิบายและสร้าง ความชัดเจนของเป้าหมายโครงการ กระบวนการที่จะต้อง ดำเนินการและประโยชน์ที่คาดว่าชุมชนจะได้รับ

นำเกณฑ์มาตรฐานมาใช้เพื่อคาดคะเนการใช้ทรัพยากรอย่าง

ยั่งยืนของชุมชน รวมทั้งการสร้างขีดความสามารถของชุมชนเพื่อปฏิบัติ หน้าที่ในการบริหารจัดการ

เกณฑ์มาตรฐานเหล่านี้ได้แก่

î ระดับความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่เกิดจากการใช้อย่าง

î ความสัมพันธ์ของชุมชนด้านการเมืองและสังคม

î การอาศัยทรัพยากรเพื่อการดำรงชีวิตของชุมชน

î ความเอาใจใส่ต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรของชุมชน

î ความสนใจของชุมชนต่อเป้าหมายและกิจกรรมของโครงการ

î ระดั บ ความศรั ท ธาของชุ ม ชนต่ อ ระบบกฎหมายและตั ว

î ระดับความสัมพันธ์ในองค์กรของชุมชน (ข้อบังคับชุมชน

ไม่ยั่งยืน (ใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย)

ผู้แทนระดับชาติและท้องถิ่น

การผูกมัดสัญญา การลงโทษกรณีละเมิดข้อบังคับ เป็นต้น)

35 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

36

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

นอกจากนี้ ยังต้องพิจารณาคุณลักษณะของชุมชน ได้แก่ (ก) ผล ประโยชน์ทับซ้อนด้านใดบ้าง (ข) ใครที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใน ชุมชน (ค) องค์กรภายในและภายนอกที่เป็นผู้ออกแบบกระบวนการ ตัดสินใจ (Agrawal และ Gibson ๑๙๙๙) จะต้องค้นหาและทำความ เข้าใจในคุณสมบัติของชุมชนเหล่านี้ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

- ลงพื้นที่เป้าหมายเพื่ออธิบายและทำความเข้าใจเป้าหมาย ของโครงการและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้แก่ผู้มีส่วนได้ ส่ ว นเสี ย (ข้ า ราชการ ผู ้ แ ทนชุ ม ชน ผู ้ น ำการเมื อ ง และ

ผู้ประกอบการ) ในรูปของการประชุมกลุ่มย่อยและไม่เป็น ทางการ การประชุ ม หารื อ เหล่ า นี ้ จ ะช่ ว ยให้ ค ณะวิ จ ั ย สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ ขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ ได้

- ออกแบบคู่มือโดยใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา (ศึกษากรอบ ของกฎหมาย วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน เป็นต้น) เพื่อนำเสนอต่อชุมชนในขั้นตอนต่อไป

ผลลัพธ์ที่ได้รับจากขั้นตอนที่ ๑:

- รายชื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ก) จังหวัดน่าน คณะกรรมการป่า ชุ ม ชน ผู ้ แ ทนองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น และชุ ม ชน (ข) จังหวัดนครศรีธรรมราช เครือข่ายประมงพื้นบ้าน องค์กรที่มิ แสวงหากำไร ผู ้ แ ทนองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น และ ข้าราชการจากหน่วยงานส่วนกลาง

- รายชื่อบุคคลในท้องถิ่นที่มีทักษะและมีความสัมพันธ์กับ เครือข่ายสถาบันพระปกเกล้า (นักศึกษาเก่า สมาชิกสภา

ผู ้ แ ทนราษฎร) ซึ ่ ง ช่ ว ยแนะนำสถาบั น พระปกเกล้ า ให้ แ ก่ จังหวัดนำร่องให้เป็นที่รู้จัก


- รายชื ่ อ กฎหมาย หลั ก การ นโยบาย และความสนใจของ ชุมชน ทั้งสองจังหวัด ๒

ขั้นตอนที่ ๒ สานเสวนา

- ค้นหาและบ่งชี้ประเด็นปัญหา การระบุประเด็นปัญหา ต้องอาศัยข้อมูลจากมุมมองของชุมชนที่ประชาชนนำเสนอ ได้อย่างเสรีและเสมอภาคในการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ

- ยอมรั บ ทางเลื อ กในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ ทางเลื อ กในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ ค วรจะเกิ ด ขึ ้ น จากการระดมความคิ ด เห็ น และ

ข้อเสนอแนะของชุมชน ทีมวิชาการสามารถเสนอแนวคิด และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมได้ แต่การตัดสินใจขั้นสุดท้ายควร จะเป็นเอกสิทธิของชุมชน กระบวนการตัดสินใจควรจะต้อง เป็นเอกฉันท์และใช้เสียงข้างมาก กระบวนการตัดสินใจต้อง โปร่งใสและยุติธรรมในขณะที่ชุมชนบางคนและบางกลุ่ม อาจจะไม่เห็นด้วยทั้งหมดหรือไม่พอใจทั้งหมด แต่อย่างน้อย กลุ่มคนเหล่านั้นควรเข้าใจว่า การตัดสินใจเหล่านั้นได้มา อย่างไรและยอมรับความคิดเห็นของเสียงส่วนมาก ชุมชน ต้องให้ความเห็นชอบและยอมรับข้อผูกพันอย่างกว้างขวาง ก่อนลงมือปฏิบัติตามทางเลือก

ชุมชนต้องตัดสินใจในประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ - การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา - วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

๑ คู ่ ม ื อ ของจั ง หวั ด น่ า นได้ ร วบรวมโดยนั ก วิ จ ั ย ในขณะที ่ คู ่ ม ื อ ของจั ง หวั ด นครศรีธรรมราชจัดทำโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

37 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

38

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

- กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ - โครงสร้างการบริหารจัดการ - แผนปฏิบัติการ (แผนการดำเนินงาน)

ผลลัพธ์ที่ได้รับจากขั้นตอนที่ ๒:

- การประชุมปรึกษาหารือระยะเวลา ๒ วัน๒ ประกอบด้วยผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียที่ได้ระบุไว้ในขั้นตอนที่ ๑ (ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๓๐-๖๐ คน) ตามด้วยการประชุมเพื่อหาฉันทานุมัติ และวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สิน

- ข้อตกลงซึ่งระบุความต้องการพื้นฐานของชุมชน (มี ๑๔-๑๗ ข้อ) แผนการดำเนินงานที่สนองตอบความต้องการเหล่านี้ และผู้รับผิดชอบในการดำเนินการตามแผนงาน ข้อตกลง

ดังกล่าวได้รับการยอมรับและลงนามจากทุกฝ่าย

- การประชุมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยประเด็นกฎหมายเกี่ยวกับ ทรัพยากรป่าไม้และกรรมสิทธิ์ในที่ดิน๓

ขั้นตอนที่ ๓ การลงมือปฏิบัติตามรูปแบบ CBNRM

- เริ่ ม ลงมื อ ปฏิ บั ติ มาตรการต่ า งๆ ที ่ จ ะดำเนิ น การต้ อ ง ดำเนินการโดยชุมชนเองเท่าที่จะกระทำได้

- ทบทวน ประเมินและตรวจสอบการดำเนินงาน ชุมชนจะ ต้องตรวจสอบการดำเนินการด้วยตนเอง

๒ การประชุมปรึกษาหารือจัดที่จังหวัดน่านระหว่างวันที่ ๓ – ๔ ธันวาคม ๒๕๕๒ และที่จังหวัดนครศรีธรรมราชระหว่างวันที่ ๑๕-๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๒ ๓ การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดขึ้นที่จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒


โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

บริบทเกี่ยวกับท้องถิ่น



ทีมนักวิจัยได้คัดเลือกพื้นที่นำร่องจำนวน ๒ แห่ง เพื่อ นา่ยากไร ทดลองและดำเนิ นการตามรู โครงการสรางพลังทางดานกฎหมายใหพั แกปฒ ระชาชนที : การแกไขปญหาทองถิ่นดวยกระบวนการมี สวนรวม ปแบบการสร้างพลังทาง โครงการสรางพลังทางดานกฎหมายใหแกประชาชนที่ยากไร: การแกไขปญหาทองถิ่นดวยกระบวนการมีสวนรวม ด้านกฎหมายแก่ประชาชนที่ยากไร้

๑๕

พื้นที่ที่ ๑ ตั้งอยู่ ณ ตำบลศิลาแลง จังหวัดน่านในภาคเหนือ ๔. บริบทเกี่ยวกับทองถิ่นทเกี่ยวกับทองถิ่น ของประเทศไทย พื้นที่ดัง๔.กล่บริาบวเป็ นพื้นที่เชิงเขาและปกคลุม ด้วยป่าไม้ การดำรงชีพของชาวบ้านส่วนใหญ่อาศัยการทำไม้ ทีมนักวิจัยไดคัดเลือกพื น ้ ที น ่ า ํ ร อ งจํคาัดนวน ๒ แห ง่นเพื พัฒ นา ทดลองและดํ นการตามรู ปแบบการสร างพลังปทางด านกฎหมายแก ทีมนักวิจัยน้ได เลือกพื ํารอ่องจํ ๒ แหง เพื่อพัาเนิ ฒนา ทดลองและดํ าเนินการตามรู แบบการสร างพลังทางดานกฎหมา ำและเก็ บ้นทีของป่ าา นวน ประชาชนทีย่ ากไร

ประชาชนทีย่ ากไร

พื้นที่ที่ ๒ ตั้งอยู่ ณ ตำบลท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

พื้นที่ที่ ๑ ตั้งอยู ณ ตําพืบลศิ จัง หวั านในภาคเหนื อของประเทศไทย ที่ดังกลาวเปนพืพื้น้นที่ทีเชิ่ดงังเขาและปกคลุ าไม ้นที่ทลี่ าแลง ๑ ตั้งอยู ณ ดตํนาบลศิ ลาแลง จังหวั ดนานในภาคเหนืพือ้นของประเทศไทย กลาวเปนพื้นทีม่เดชิวงยป เขาและปกคลุ มดวยป ในภาคใต้ ข องประเทศไทย พื ้ น ที ่ ด ั ง กล่ า วเป็ น พื ้ น ที ่ ท ะเลชายฝั ่ ง การดํารงชีพของชาวบการดํ านสวานใหญ อาศัยการทํ าไมวนใหญ น้ําและเก็ ของปาาไม น้ําและเก็บของปา รงชีพของชาวบ านส อาศับยการทํ

การดำรงชีพของชาวบ้านส่วนใหญ่อาศัยผลิตภัณฑ์ในทะเล าตัศาลา นครศรี ธรรมราชในภาคใต ที่ดังกลาวเปนพื้นพืที้นท่ ทีะเลชายฝ พืณ้นที่ทตํี่ าบลท ๒ชายฝั ้งอยู่ง ณจังหวัตํดาบลท าศาลา จังหวัดนครศรีขธองประเทศไทย รรมราชในภาคใตพืข้นองประเทศไทย ่ดังกลาวเปง นพื้นทีท่ ะเลชา

พื้นที่ที่ ๒ ตั้งอยู การดํารงชีพของชาวบการดํ านสวานใหญ อาศัยผลิตานส ภัณวฑนใหญ ในทะเลชายฝ รงชีพของชาวบ อาศัยผลิตง ภัณฑในทะเลชายฝง

ชนทัห้งารจั สองแห งไดมพีการบริ หารจัดการทรั ยากรธรรมชาติ เพื่อการดํ ารงชีชุมพชนได และการพั ฒถนาึง การขาดแคลนและ ชุมชนไดเรียนรูถึง การขาดแคลน ชุมชนทั้งสองแหงไดมชุีกมารบริ ดการทรั ยากรธรรมชาติ เพื่อพการดํ ารงชีพและการพั ฒนา เรียนรู ความเสื ่อมโทรมของทรั พยากรธรรมชาติ งไดจ่อัดพิตั้งทองค มชนเพื พิทักกษรทั สิ่ง้งแวดล กรทั้งในจังหวัดนาน ความเสื่อมโทรมของทรั พยากรธรรมชาติ ชุมชนทั ้งสองจึงไดจัดชุตัม้งชนทั องคก้งสองจึ รชุมชนเพื ักษสกิ่งรชุแวดล อม่อองค ในจังอหวัม ดองค นานและ นครศรี ธ รรมราชได ส ง  เสริ ม การใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ เ ชิ ง อนุ ร ั ก ษ แ ละอย า งยั ่ ง ยื น อี ก ทั ้ ง ให การยอมรั นครศรีธรรมราชไดสงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติเชิงอนุรักษและอยางยั่งยืน อีกทั้งให การยอมรับตอกฎระเบียบ บตอกฎระเบ และขมอบัครองและอนุ งคับเกี่ยวกับรการคุ รักษทรัพยากรธรรมชาติ และขอบังคับเกี่ยวกับการคุ ักษทรัมพครองและอนุ ยากรธรรมชาติ


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

42

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

ชุมชนทั้งสองแห่งได้มีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อ การดำรงชีพและการพัฒนา ชุมชนได้เรียนรู้ถึงการขาดแคลนและความ เสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชนทั้งสองจึงได้จัดตั้งองค์กร ชุมชนเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม องค์กรทั้งในจังหวัดน่านและนครศรี-

ธรรมราชได้ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเชิงอนุรักษ์และอย่าง

ยั่งยืน อีกทั้งให้การยอมรับต่อกฎระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับการ คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม องค์กรชุมชนในจังหวัดน่านและนครศรีธรรมราช ยังคงถูกกีดกันจากการได้รับประโยชน์ตามกฎหมายและกฎระเบียบ ท้องถิ่น ซึ่งไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของกรอบกฎหมายของประเทศ ในขณะที่จังหวัดน่านยังไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับป่าชุมชนถึงแม้ว่า

ผู้แทนชุมชนเหล่านี้ได้พยายามผลักดันเป็นอย่างมาก สำหรับจังหวัด นครศรีธรรมราชได้ออกข้อบังคับตำบลเพื่อคุ้มครองเขตพื้นที่พิเศษ ประมง โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ยังขาดการบังคับใช้อย่าง เหมาะสม

๔.๑ ปัญหาพื้นฐาน ดังนั้น พื้นที่ทั้งสองแห่งซึ่งได้รับการคัดเลือกให้เป็นพื้นที่นำร่อง จึงมีคุณสมบัติโดดเด่นและประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชนท้องถิ่น แต่ชุมชนทั้งสองถูกกีดกันออกจากการให้ความคุ้มครองตาม กฎหมาย ชุมชนเหล่านี้ยังขาดปัจจัยสนับสนุน ซึ่งเป็นประเด็นสำคัญยิ่ง ได้แก่ - การรับรองชุมชนตามกฎหมาย - กรรมสิทธิ์เฉพาะในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน


- การบังคับใช้กฎหมาย - การเข้าถึงความยุติธรรม

การให้กรรมสิทธิ์เฉพาะในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้แก่ชุมชน นำร่องทั้งสองแห่งจะช่วยสร้างพลังทางด้านกฎหมายแก่ชุมชนเพื่อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ บ ุ ค คลภายนอกเข้ า มาใช้ ท รั พ ยากรชุ ม ชนโดยไม่ เ คารพ

ข้อบังคับชุมชนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเรียกพวกเขาเหล่านั้นว่า ผู้บุกรุกอย่างผิดกฎหมาย การสร้างพลังทางด้านกฎหมายด้วยการช่วยให้ชุมชนเหล่านี้ สามารถได้รับประโยชน์จากโครงสร้างทางกฎหมายอย่างเป็นทางการ จะช่วยหาข้อยุติในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน ทำให้ การบริหารจัดการและการกระจายอำนาจท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง และ ลดความยากจนในชนบทได้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักการบริหารทรัพยากร ธรรมชาติตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๕๐ บทบัญญัตใิ นมาตรา ๖๗ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้ระบุว่า: “สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บำรุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และความ หลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมเพื่อให้ดำรงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อม

ที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพ ชีวิตของตน ย่อมได้รับการคุ้มครองตามความเหมาะสม การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มี

43 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

44

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก่อน รวมทั้งได้ให้องค์กรอิสระ ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชน ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการ ศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ ความเห็นประกอบก่อนมีการดำเนินการดังกล่าว สิ ท ธิ ข องชุ ม ชนที ่ จ ะฟ้ อ งหน่ ว ยราชการ หน่ ว ยงานของรั ฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง” ดังนั้น ปัญหาพื้นฐานของชุมชนทั้งสองแห่ง ได้แก่

- กฎหมายที่บังคับใช้อยู่ไม่สนับสนุนงานของชุมชนแต่ละแห่ง เกี ่ ย วกั บ การใช้ แ ละการปกป้ อ งทรั พ ยากรธรรมชาติ ต าม บทบั ญ ญั ต ิ ใ นมาตรา ๖๖ และ ๖๗ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อีกทั้งกฎหมายเหล่านี้

ก็ไม่ได้รบั รองการคงอยูข่ องชุมชนทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ อย่างเป็นทางการ

- สมาชิ ก ชุ ม ชนขาดความรู ้ ด ้ า นกฎหมาย กฎระเบี ย บและ ระบบยุติธรรม

- กฎหมายที่เกี่ยวข้องมีผลบังคับใช้ในพื้นที่หลายแห่งและ ประชาชนอย่างไม่เท่าเทียมกันและไม่เสมอภาค

- กฎหมายที่เกี่ยวข้องมีช่องว่างและไม่ชัดเจน อาทิ เส้นแบ่ง พืน้ ทีค่ มุ้ ครอง การกระจายความรับผิดชอบระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง

- การเข้าถึงความยุติธรรมที่ไม่ชัดเจน ข้อจำกัดการเข้าถึง

ข่าวสารและการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ


- การขาดแผนที่ทางการซึ่งแสดงอาณาเขตพื้นที่ที่มีสถานภาพ แตกต่างกัน

๔.๒ จังหวัดน่าน

- กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๔ พระราชบั ญ ญั ต ิ ป ่ า ไม้ พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๘๔ พระราชบั ญ ญั ต ิ ใ ช้ ป ระมวลกฎหมายที ่ ด ิ น พ.ศ. ๒๔๙๗ พระราชบั ญ ญั ต ิ ป ่ า สงวนแห่ ง ชาติ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๗

- ชาวบ้ า นต้ อ งเผชิ ญ หน้ า กั บ บุ ค คลภายนอกที ่ เ ข้ า มาใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่ยั่งยืนและฟุ่มเฟือย (โดยเฉพาะ การทำนาเลื่อยลอย) และต้องเผชิญกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและขาดแคลน (การขาดแคลน น้ำ ต้นสัก) ซึ่งมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของเขาเหล่านั้น

- หัวหน้าหมู่บ้านจึงจัดการประชุมเป็นประจำและการระดม สมองอย่างสม่ำเสมอเกี่ยวกับปัญหาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เป็นต้นมา

- ชาวบ้านสนับสนุนเงินให้แก่คณะกรรมการอนุรักษ์ป่า เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๗ คณะกรรมการชุ ด นี ้ ไ ด้ อ อกกฎระเบี ย บป่ า ชุมชน กำหนดนโยบายและพยายามติดตามตรวจสอบการ ทำงานของคณะกรรมการ

- อย่ า งไรก็ ต าม ได้ ม ี ก ารปฏิ รู ป กฎหมายโดยประกาศเขต อุทยานแห่งชาติดอยภูคาขึ้น ซึ่งได้ผนวกพื้นที่ป่าชุมชนศิลา แลงเข้าไว้ด้วย ซึ่งจำกัดสิทธิการใช้ทรัพยากรจากป่าไม้

45 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

46

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

- ในปี ๒๕๔๒ เครือข่ายคณะกรรมาธิการป่าชุมชนในระดับ ชาติได้จัดทำและเสนอร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชนฉบับ โดยปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ แต่ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้อยู่ในกระบวนการพิจารณา (ปัจจุบัน อยู่ภายใต้การตรวจสอบของศาลรัฐธรรมนูญ)

- หน่วยงานที่มีอำนาจบังคับใช้กฎหมาย ซึ่งอาศัยอำนาจตาม พระราชบั ญ ญั ต ิ อ ุ ท ยานแห่ ง ชาติ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๔

ไม่ ส ามารถช่ ว ยชุ ม ชนปกป้ อ งป่ า ได้ แ ละไม่ ม ี ค วามรู ้ แ ละ ความสามารถในการพิทักษ์ป่าไม้

๔.๓ จังหวัดนครศรีธรรมราช

- กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๔๘๖ และ ๒๕๒๘

- ชาวบ้ า นต้ อ งประสบปั ญ หาเรื อ ประมงผิ ด กฎหมายและ วัฒนธรรมการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลือง ซึ่งเป็นการทำลายและ สร้างความขาดแคลนให้แก่ทรัพยากรธรรมชาติ (ปลา หอย) และมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของชุมชนเป็นอย่างยิ่ง

- ชาวประมงได้ เ ชื ้ อ เชิ ญ ให้ ผู ้ เ ชี ่ ย วชาญด้ า นการอนุ ร ั ก ษ์ ทรัพยากรทางทะเลให้เข้ามาเสริมสร้างขีดความสามารถให้ แก่ชุมชนและช่วยหาทางแก้ไขปัญหาการทำลายทรัพยากร ธรรมชาติ

- ชาวประมงได้รวมตัวกันจัดตั้ง “เครือข่ายประมงพื้นบ้าน” ขึ้นเมื่อปี ๒๕๕๒ เพื่อจัดทำและบังคับใช้ข้อบังคับชุมชนและ เจรจาหารือร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล


- เครือข่ายประมงพื้นบ้านได้จัดประชุมขึ้นเป็นประจำเพื่อ กำหนดข้อ บัง คับ ชุม ชน (อาทิ เครื่อ งมื อประมงต้อ งห้ าม) กำหนดนโยบายสาธารณะ (อาทิ การปลู ก ป่ า ชายเลน พัฒนาปะการังเทียม) และพยายามตรวจสอบการบังคับใช้ กฎหมาย (การจัดตั้งผู้แทนชุมชนตรวจตราการกระทำบุกรุก พื้นที่หวงห้าม)

- อย่างไรก็ดี การมิได้รับการสนับสนุนจากผู้แทนของรัฐ ทำให้ ชุมชนไม่ประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ

- เครือข่ายประมงพื้นบ้านได้จัดสานเสวนาจำนวน ๕ ครั้งและ การประชุ ม สาธารณะจำนวน ๑ ครั ้ ง เพื ่ อ ระดมสมองใน การหาวิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและร่างข้อบังคับชุมชนเพื่อ นำเสนอต่ อ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลท่ า ศาลาให้ ค วาม

เห็นชอบต่อไป

- ได้ประกาศข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลท่าศาลาเมื่อ วั น ที ่ ๓๐ กั น ยายน ๒๕๕๒ ซึ ่ ง เป็ น ข้ อ บั ญ ญั ต ิ ฉ บั บ แรก

เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติระดับท้องถิ่นใน ประเทศไทย

- ข้ อ บั ญ ญั ต ิ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลท่ า ศาลาดั ง กล่ า ว

ไม่สามารถนำมาบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องด้วย เหตุผลหลายประการและโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องจากขาด ทรัพยากรสนับสนุน เช่น เครื่องมือ และบุคลากร เป็นต้น

47 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม



โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

การพัฒนารูปแบบ



รู ป แบบการพั ฒ นาพลั ง ทางด้ า นกฎหมายอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว ม

ที่เหมาะสมกับประเทศไทย จังหวัดน่าน- ทรัพยากรป่าไม้// จังหวัดนครศรีธรรมราช—ทรัพยากรชายฝั่ง องค์ประกอบด้าน การสานเสวนา (DD)

องค์ประกอบด้าน การปฏิรูปนโยบาย และกฎหมาย (PLR)

องค์ประกอบด้าน การเสริมสร้าง สมรรถภาพ (CB)

*(๑) การจัดตั้งคณะ กรรมการป่ า ชุ ม ชน/เครื อ ข่ า ยประมงพื ้ น บ้ า น โดยมี คุณลักษณะดังนี้ - มีการออกข้อบังคับ ภายใน - มีการประชุมอย่าง สม่ำเสมอ - มีการวางแผนงานร่วมกัน

**(๒) การจัดสานเสวนา: เพื่อหาฉันทานุมัติเกี่ยวกับการ บริหารจัดการทรัพยากรอย่างที่มุ่งหวัง - จัดที่จังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ ๓- ๔ ธันวาคม - จั ด ที ่ จ ั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ระหว่ า งวั น ที ่ ๑๕-๑๖ ธันวาคม

(๒ ทวิ ) การลงนามในข้ อ ตกลงระหว่างผู้แทนรัฐและ ชุ ม ชนเกี ่ ย วกั บ แผนการ ทำงานร่วมกันในการแก้ไข ปัญหาความขัดแย้ง กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน

**(๓) การประชุมเชิงปฏิบัติการการแลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการป่า ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากหน่วยงาน ของรัฐและชุมชน จัดที่จังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ ๒๙ – ๓๐ ธันวาคม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

52

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

***(๔) การจั ด การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร-- ทางวิ ช า การด้านทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้/ทรัพยากรทางทะเล - การอนุ ร ั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ

***(๕) การลงนามในข้ อ ตกลงระหว่างผู้แทนรัฐและ ชุมชนเกี่ยวกับการกำหนด หน้ า ที ่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบใน การบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ ใ นฝ่ า ยปกครอง แต่ละระดับ ***(๖) การออกข้อบังตับจัด ตั้งองค์กรเพื่อขับเคลื่อนการ เปลี่ยนแปลง

หมายเหตุ * ได้มีการจัดตั้งโครงสร้างและจัดกิจกรรมแล้ว ** กิจกรรมซึ่งจัดโดยสถาบันพระปกเกล้าภายใต้กรอบงานโครงการ *** กิ จ กรรมที ่ ว างแผนจั ด ทำต่ อ ไปเพื ่ อ บรรลุ ก ารบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติชุมชน

ภายในกรอบรูปแบบการสร้างพลังทางด้านกฎหมายเพื่อการ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ จึ ง ได้ ม ี ก ารพั ฒ นาและทดสอบ

รู ป แบบการแก้ ไ ขข้ อ ขั ด แย้ ง เกี ่ ย วกั บ กรรมสิ ท ธ์ ใ นทรั พ ย์ ส ิ น แบบมี

ส่วนร่วมในจังหวัดน่านและนครศรีธรรมราช:

วันที่ ๑ (ก) เริ่มต้นด้วยการสร้างความเชื่อมั่นและความไว้เนื้อเชื่อใจ ระหว่างผู้เข้าร่วมการประชุม (ประมาณ ๑ ชั่วโมง) (ข) จัดให้มีการแบ่งกลุ่มทำงานซึ่งในแต่ละกลุ่มประกอบด้วย

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน กลุ่มทำงานจะระดมสมอง กำหนดวัตถุประสงค์ แผนงานทีจ่ ำเป็นเพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์


และแต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดำเนินการแต่ละกิจกรรม (เจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวก จะเป็นทีมงานจากสถาบัน พระปกเกล้าและนักศึกษา และผูแ้ ทนจากองค์กรทีม่ แิ สวงหา กำไร ทีมงานทั้งหมดจะได้รับการอบรมให้เป็นเจ้าหน้าที่ อำนวยความสะดวก บางท่ า นเป็ น นั ก ศึ ก ษาสถาบั น

พระปกเกล้ า หลั ก สู ต รการจั ด การความขั ด แย้ ง และการ

ไกล่เกลี่ย (ค) กลุ ่ ม ทำงานนำเสนอผลการระดมสมองโดยผู ้ แ ทนกลุ ่ ม (อาสาสมั ค รที ่ ม ิ ใ ช่ เ จ้ า หน้ า ที ่ อ ำนวยความสะดวก หรื อ

ทีมงานจากสถาบันพระปกเกล้า) (ง) จัดทำสิ่งที่ต้องการดำเนินการ โดยให้หาฉันทานุมัติและ ระดมสมองคัดเลือกผู้รับผิดชอบดำเนินงาน (จ) รวบรวมจัดทำเป็นสิ่งที่ต้องการดำเนินการ ออกเป็นข้อ ๆ จำนวน ๑๔-๑๗ ข้อ วันที่ ๒ (ก) จัดให้มีการออกเสียงเพื่อลำดับความสำคัญก่อนหลัง โดย ให้ผู้แทนที่ได้รับแต่งตั้งแต่ละคนเลือกสิ่งที่ ต้องการดำเนิน งานที่สำคัญและด่วนที่สุด เพียง ๓ ข้อ โดยออกเสียงลับ (ข) นับคะแนนที่ออกเสียง และให้การยอมรับทางเลือกที่ได้รับ การลงคะแนนเสียงทั้ง ๓ ข้อ (ค) จัดให้มีการลงนามข้อตกลงระหว่างผู้แทนของแต่ละกลุ่ม ซึ่งผูกพันว่า จะร่วมกันลงมือดำเนินการตามสิ่งที่ได้ตกลง กัน

53 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

54

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

รูปแบบการมีส่วนร่วมต้องทำการประเมินด้วยจำนวนตัวแทนที่ เข้าร่วม ในจังหวัดน่าน วันแรกซึ่งได้จัดการประชุมระดมสมอง มีผู้แทน เข้าร่วมจำนวน ๖๙ คน ในขณะที่มีจำนวนผู้แทน ๒๕ คน ในวันที่สอง ซึ่งมีการลงคะแนนเสียงเลือกความต้องการเพียง ๓ ข้อ สำหรับจังหวัด นครศรีธรรมราช วันแรกมีผู้เข้าร่วมประชุม ๖๙ คนและในวันที่สอง จำนวน ๓๓ คน ผู้เข้าร่วมการประชุมและผู้ลงคะแนนเสียงเป็นสมาชิกจากหน่วยงาน ดังนี้

จังหวัดน่าน

จังหวัดนครศรีธรรมราช

- นายอำเภอ ๑. องค์ ก รปกครองส่ ว น - อดีตนายอำเภอ - กำนัน - นักบริหาร ท้องถิ่น - สมาชิกองค์กรปกครองส่วน - สมาชิกองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ท้องถิ่น ๒. องค์กรชุมชน

- คณะกรรมการรั ก ษาป่ า - เครือข่ายประมงพื้นบ้าน (สมาชิกและประธาน)

๓. ข้าราชการ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - กรมป่าไม้ - กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม - กระทรวงมหาดไทย - กรมที่ดินและผู้แทนกองทัพ บก

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมประมง กระทรวงคมนาคม - กรมเจ้าท่า

๔. สถาบันการศึกษา

อาจารย์จาก - มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครศรีธรรมราช - มหาวิทยาลัยราชมงคล


๕ . อ ง ค์ ก ร ที่ มิ แ ส ว ง ห า - มูลนิธิฮักเมืองน่าน กำไรและสมาชิ ก ประชา - สภาพัฒนากรเมือง สังคม

- ดับบ้านดับเมือง - สมาคมอนุรักษ์ทรัพยากร ทะเล - สมาชิกสภาพัฒนา การเมือง - ศูนย์กลางการเมือง ประชาชน

๖. ชาวบ้าน

- ผู้ใหญ่บ้าน - ชาวบ้าน

- ผู้ใหญ่บ้าน - ชาวประมง - ชาวบ้าน

๗. เครือข่าย สถาบันพระปกเกล้า

- นักศึกษาเก่าสถาบัน พระปกเกล้า (ท้องถิ่น) - นักวิจัยสถาบัน พระปกเกล้า

- นักศึกษาเก่าสถาบัน พระปกเกล้า (ท้องถิ่น) - นักวิจัยสถาบัน พระปกเกล้า

55 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม



โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

บทสรุปและข้อเสนอแนะ



ตามรูปแบบการพัฒนาพลังทางด้านกฎหมายซึ่งพัฒนา โดยสถาบันพระปกเกล้าและอาศัยวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชน สถาบันพระปกเกล้า ได้ดำเนินโครงการตามข้อย่อยที่ (๒) และ (๓) โดยใช้หลักการ สานเสวนาสำเร็จลุล่วงด้วยดี ในขณะที่ได้ดำเนินการตามข้อย่อย (๑) ตามโครงการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชน (CBNRM) ระหว่างปี ๒๕๔๐ – ๒๕๔๑ พบว่ า ผลลั พ ธ์ จ ากโครงการ (การจั ด ตั ้ ง องค์กรชุมชน) ไม่ได้รับการรับรองตามกฎหมายและสิทธิชุมชน เหนือทรัพยากรธรรมชาติได้รับการบังคับใช้แต่ไม่ได้อยู่ภายใต้ กรอบของกฎหมาย ทฤษฎีการสร้างพลังทางด้านกฎหมายได้แสดงเห็นถึง การบรรจุบทกฎหมายพิเศษเข้าไว้ในหัวข้อกฎหมายจะก่อให้ เกิดประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชุมชนและรัฐ ผลการสำรวจข้ อ คิ ด เห็ น ของชาวบ้ า นตำบลศิ ล าแลง จำนวน ๘๔ คน ซึ่งเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการเมื่อวันที่ ๓๐ ธั น วาคม ๒๕๕๒ ได้ พ บว่ า ชาวบ้ า นมี ค วามรู ้ เ รื ่ อ ง กฎหมายเกี ่ ย วกั บ กรรมสิ ท ธิ ์ ท ี ่ ด ิ น เพิ ่ ม ขึ ้ น ผลการสำรวจ ปรากฏในภาคผนวกที่ ๒ ชาวบ้านจำนวนหนึ่งได้เสนอแนะให้ มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านกฎหมายเป็นระยะๆ ปั จ จุ บ ั น ในเบื ้ อ งต้ น จะไม่ ม ี ก ารยกเลิ ก โครงการซึ ่ ง ดำเนินการไปเพียงครึ่งทาง และมีความคิดที่จะดำเนินการต่อ ไปเพื ่ อ ให้ บ รรลุ ข ้ อ ย่ อ ย ที ่ (๕) และ (๖) เกี ่ ย วกั บ การปฏิ รู ป นโยบายและกฎหมาย ซึ่งจะเป็นก้าวข้ามที่สำคัญในการนำ


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

60

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

แนวคิดการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ผู้ยากไร้ตามแนวทางของ Mr. Hernando de Soto จังหวัดน่าน- ทรัพยากรป่าไม้// จังหวัดนครศรีธรรมราช—ทรัพยากรชายฝั่ง องค์ประกอบด้าน การสานเสวนา (DD)

องค์ประกอบด้าน การปฏิรูปนโยบาย และกฎหมาย (PLR)

องค์ประกอบด้าน การเสริมสร้าง สมรรถภาพ (CB)

(๑) การจั ด ตั ้ ง คณะกรรม- การป่ า ชุ ม ชน/เครื อ ข่ า ย ประมงพื้นบ้าน โดยมี คุณลักษณะดังนี้ - มีการออกข้อบังคับ ภายใน - มีการประชุมอย่าง สม่ำเสมอ - มีการวางแผนงานร่วมกัน

(๒) การจัดสานเสวนา: เพื่อลงมติเอกฉันท์เกี่ยวกับการ บริหารจัดการทรัพยากรอย่างที่มุ่งหวัง - จัดที่จังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ ๓- ๔ ธันวาคม - จั ด ที ่ จ ั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ระหว่ า งวั น ที ่ ๑๕-๑๖ ธันวาคม

(๒ ทวิ ) การลงนามในข้ อ ตกลงระหว่างผู้แทนรัฐและ ชุ ม ชนเกี ่ ย วกั บ แผนการ ทำงานร่วมกันในการแก้ไข ปัญหาความขัดแย้ง กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน

(๓) การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารการแลกเปลี ่ ย นความรู ้ ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการป่า ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วย งานของรัฐและชุมชน จัดที่จังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ ๒๙ – ๓๐ ธันวาคม


(๔) การจั ด การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร-- ทางวิ ช าการ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ป่า ไม้/ทรัพยากรทางทะเล - การอนุ ร ั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ

(๕) การลงนามในข้อตกลง ระหว่างผู้แทนรัฐและชุมชน เกี่ยวกับการกำหนดหน้าที่ ความรั บ ผิ ด ชอบในการ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ ใ นฝ่ า ยปกครอง แต่ละระดับ (๖) การออกข้อบังตับจัดตั้ง องค์ ก รเพื ่ อ ขั บ เคลื ่ อ นการ เปลี่ยนแปลง

ข้อเสนอแนะในการจัดทำนโยบายสาธารณะ

๑. รัฐบาลควรริเริ่มให้ความสนับสนุนการสร้างพลังทางด้าน กฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้ (การผนวกกลุ่มผู้ยากไร้ เข้าไว้ในภาคกฎหมาย) และการจัดสานเสวนาเพื่อให้ทุกคน สามารถเข้าถึงกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและความยุติธรรม

๒. ควรให้ความสำคัญกับการเข้าถึงความยุติธรรมและระเบียบ ข้อกฎหมายอย่างจริงจังเพื่อรับประกันความเสมอภาคเกี่ยว กับกรรมสิทธ์ในทรัพย์สินให้แก่ทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาชนที่ยากไร้ รัฐ ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ควรจะสร้างความมั่นใจให้แก่ชุมชนเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐาน ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติทั่วไป และการเข้า ถึงความยุติธรรมตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ และควรจะมีการทบทวนและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและ ระเบียบข้อบังคับซึ่งเป็นอุปสรรคต่อสิทธิ์ดังกล่าว

61 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

62

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

๓. ควรจะกำหนดนโยบายเพื ่ อ การพั ฒ นาการศึ ก ษาให้ แ ก่ ประชาชนในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประชาชนที่ ยากไร้และกลุ่มชายขอบ รวมทั้งควรจัดสรรงบประมาณเพื่อ การนี้ด้วย

ข้อเสนอแนะด้านการบริหารจัดการ

๑. สนับสนุนกลไกเพื่อส่งเสริมแนวคิดและเทคนิคด้านสาน-

เสวนาเพื่อนำไปใช้ในการแก้ไขความขัดแย้งในการเข้าถึง กรรมสิ ท ธิ ์ ใ นทรั พ ย์ ส ิ น ยกตั ว อย่ า ง (๑) ส่ ง เสริ ม และ พั ฒ นาการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารเพื ่ อ ฝึ ก อบรมผู ้ แ ทน สาธารณะหรือผู้นำท้องถิ่นในการอำนวยความสะดวก สาน เสวนา และ (๒) เผยแพร่แนวคิดสานเสวนาและวิธีปฏิบัติที่ เป็นเลิศแก่หน่วยงานของรัฐ

๒. ศึ ก ษาวิ ธ ี ป ฏิ บ ั ต ิ ท ี ่ เ ป็ น เลิ ศ ด้ า นการสร้ า งพลั ง ทางด้ า น กฎหมายของประเทศต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบของประเทศ ไทยให้ก้าวหน้ามากขึ้น

๓. นำระบบการศึ ก ษาเพื ่ อ ประชาชนมาดำเนิ น การเพื ่ อ ให้ ประชาชนเข้าใจสิทธิและหน้าที่อย่างถ้วนหน้า โดยเฉพาะ อย่างยิ่งประชาชนที่ยากไร้และคนชายขอบ

๔. ส่งเสริมแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดีเพื่อการเข้าถึง กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน อันจะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนพลังทาง ด้านกฎหมายของประเทศไทย ความเข้าใจในแนวคิดการ บริหารจัดการที่ดีเป็นกุญแจหลักของกระบวนการสร้างพลัง ทางกฎหมาย


๕. การบังคับใช้หลักนิติธรรมอย่างเสมอภาคเป็นสิ่งสำคัญใน ทุ ก หน่ ว ยงาน เพื ่ อ ว่ า ประชาชนที ่ ย ากไร้ ส ามารถเข้ า ถึ ง กฎหมายและระเบียบข้อบังคับอย่างเสมอภาค

๖. จัดตั้งกองทุนเพื่อให้ความช่วยเหลือและการปรึกษาหารือ ด้านกฎหมายจะช่วยทำให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึง ความยุติธรรมและโดยเฉพาะอย่างยิ่งการคุ้มครองกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สิน

ข้อเสนอแนะต่อ UNDP แม้ว่าสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติจะให้ความ สนั บ สนุ น การจั ด ทำโครงการสร้ า งพลั ง ทางกฎหมายแก่ ป ระชาชนที ่ ยากไร้ในประเทศกำลังพัฒนาหลายประเทศในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ก็ตาม แต่การนำเอาแนวคิดการสร้างพลังทางกฎหมายแก่ผู้ยากไร้มาใช้ ในประเทศไทยยังคงเป็นเรื่องใหม่อยู่ แนวคิดซึ่งสถาบันพระปกเกล้าได้ เสนอให้นำมาดำเนินการในทางปฏิบัติก็เพิ่งจะได้นำมาเผยแพร่แก่ ข้าราชการ, องค์กรมิแสวงหากำไร, สมาชิกประชาสังคม, ผู้แทนองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น, และชาวบ้าน ตราบจนถึงปัจจุบันนี้ก็ยังไม่ได้จัด ทำโครงการอย่างเต็มรูปแบบ ดังปรากฏในข้อ ๕ หัวข้อ การพัฒนา

รูปแบบ ยิ ่ ง ไปกว่ า นี ้ เพื ่ อ ทำให้ แ นวคิ ด การสร้ า งพลั ง ทางกฎหมายใน ประเทศไทยถูกนำมาปฏิบัติในประเทศไทยอย่างเข้มข้น UNDP ควรจะ คงความช่วยเหลือในการจัดทำโครงการสร้างพลังทางกฎหมายด้วย กระบวนการมีส่วนร่วมในพื้นที่นำร่องต่อไป

63 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

64

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

การจัดทำโครงการในท้องถิ่นจะพบสิ่งที่ท้องถิ่นต้องการดำเนิน การหลายเรื่อง ซึ่งจะพบได้ในข้อตกลงของชุมชน แต่ผลผลลัพธ์ที่สำคัญ จากความสำเร็จของโครงการก็คือ การปฏิรูปนโยบายและกฎระเบียบ (PLR) สถาบันพระปกเกล้าจะเผยแพร่ผลลัพธ์และวิธีการจากโครงการ ต่อหน่วยงานของรัฐ อาทิ กระทรวงยุติธรรม ศาลและองค์กรอิสระ รวม ถึงองค์กรที่มิแสวงหากำไรและภาคประชาสังคม เพื่อว่า หน่วยงาน เหล่านี้จะได้เรียนรู้กับแนวคิดนี้ เข้าใจรูปแบบที่นำมาใช้ในประเทศไทย อย่างแท้จริง และมุ่งมั่นที่จะปรับปรุงและประกาศบังคับใช้ระเบียบ

ข้อบังคับระดับประเทศและท้องถิ่นต่อไป


โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

ภาคผนวก



ภาคผนวก ๑

สัญญาประชาคมชุมชน (สรุปประเด็นสำคัญ) ว่าด้วยการอนุรักษ์ การจัดการ และการใช้ประโยชน์จาก ป่าชุมชนศิลาแดง ตำบลศิลาแลง อำเภอปํว จังหวัดน่าน

จากการประชุ ม เสวนาเมื ่ อ วั น ที ่ ๓ ธั น วาคม ๒๕๕๒ ณ ห้ อ ง ประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลศิลาแลง อำเภอปัว จังหวัดน่าน ผู้เข้า ร่วมประชุมได้สรุปปัญหาของชุมชนที่สำคัญ มีดังนี้ ความจำเป็นและ หนทางนำไปสู่เป้าหมาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความปรารถนา ๑. อยากมีเอกสารสิทธิ์ที่ดิน - ยกเลิกเขตปฏิรูปที่ดิน - รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง ทำกินส่วนบุคคล - เร่งรัดออกเอกสารสิทธิ์ - เจ้าหน้าที่ที่ดิน กรมป่าไม้/ สำนั ก งานการปฏิ รู ป ที ่ ด ิ น เพื ่ อ เกษตรกรรม/ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น/กรม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ส ั ต ว์ ป ่ า และพันธุ์พืช ๒. อยากเห็ น การแบ่ ง เขต - จัดทำแผนที่ภาพถ่ายทาง - ห น ่ ว ย ง า น ข อ ง ร ั ฐ ท ี ่ อนุรักษ์ให้ชัดเจนระหว่างเขต อากาศและดาวเทียม แล้ว เกี่ยวข้อง อุทยานฯ เขตป่าไม้ และป่า นำเสนอให้ประชาชนตรวจ ชุมชน สอบ ๓. อยากเห็ น กฎหมายป่ า ชุมชนที่ระบุให้อำนาจหน่วย งานของรัฐและชุมชนมีส่วน ร่วมในการจัดการ

- พิจารณาทบทวนกฎหมาย ป่าชุมชนฉบับประชาชน - เข้าชื่อเสนอกฎหมายผ่าน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร/ คณะรัฐมนตรี - สนั บ สนุ น และผลั ก ดั น กฎหมายป่าชุมชน

- รัฐบาล - ประชาชน/สมาชิ ก สภา

ผู้แทนราษฎร - สถาบันพระปกเกล้า

67 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

68

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ความจำเป็นและ หนทางนำไปสู่เป้าหมาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความปรารถนา ๔. อยากเห็ น ศิ ล าแลงเป็ น - พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิง - เทศบาล/กรมอุ ท ยานแห่ ง แหล่งสถานที่ท่องเที่ยว อนุรักษ์ (บ้านน้ำกูน) โดย ชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช การจัดภูมิทัศน์ - กรมป่าไม้ ๕. อยากเห็นป่าชุมชนมีความ - เอกสารเป็ น ลายลั ก ษณ์ - ประชาชน อุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละยั ่ ง ยื น อักษรในการรักษาป่าโดย ตลอดไป ประชาชน มีส่วนร่วม สืบทอดเจตนารมณ์ ๖. อยากเห็ น สิ ท ธิ ใ นการ - ตรากฎหมายลู ก รองรั บ - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร/ จัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ มาตรา ๖๐ และ ๖๗ สมาชิกวุฒิสภา แบบมีส่วนร่วม ๗. อยากเห็ น โครงการทุ ก - สร้ า งมาตรการทางสั ง คม โครงการเป็นเหมือนโครงการ เกี่ยวกับ “ข้าราชการที่ดี” ในพระราชดำริ โดยมีจิตสาธารณะหรือจิต อาสา - ให้รางวัล ๘ . อ ย า ก เ ห ็ น ง า น ว ิ จ ั ย - งานวิจัยเชิงปฏิบัติการ ชิ ้ น นี ้ ( และชิ ้ น อื ่ น ๆ) เกิ ด - ค ว า ม ต ่ อ เ น ื ่ อ ง ใ น ก า ร ประโยชน์ ต ่ อ ชุ ม ชนอย่ า ง ดำเนินงาน แท้จริง ๙. อยากมี ท ี ่ เ ก็ บ น้ ำ อย่ า ง - สร้ า งแหล่ ง เก็ บ น้ ำ เพื ่ อ ใช้ เพียงพอ ประโยชน์ตลอดปี

- ประชาชน - ประชาชน - สถาบันพระปกเกล้า/ชุมชน และประชาชน

- กรมทรั พ ยากรน้ ำ /จั ง หวั ด ทหารบกน่าน/กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์ พืช/กรมป่าไม้ ๑๐. อยากให้ ม ี ก ารดู แ ล - มีงบประมาณสนับสนุน - ผู้รับประโยชน์ (ปลายน้ำ) รักษาป่าต้นน้ำอย่างจริงจัง - คิดเปอร์เซ็นจากรายได้ - สมาชิ ก สภาผู ้ แ ทนราษฎร - บังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับ และสมาชิกวุฒิสภา ทรัพยากรน้ำ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


ความจำเป็นและ หนทางนำไปสู่เป้าหมาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความปรารถนา ๑๑. อยากให้ ช ุ ม ชนตำบล - ทำเศรษฐกิ จ พอเพี ย งทุ ก - ผู้นำและทุกครัวเรือน ศิลาแลงพึ่งตนเองได้ทุกครัว ครัวเรือน เรือน ๑๒. อยากใช้ประโยชน์จาก - ออกกฎหมาย - สมาชิ ก สภาผู ้ แ ทนราษฎร ผลผลิตจากป่าของหมู่บ้าน และสมาชิกวุฒิสภา โดยไม่ ข ั ด กั บ ป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ๑๓. อยากเห็นความสามัคคี - มี ก ิ จ กรรมร่ ว มกั น และ - เทศบาลและผู้นำชุมชน รักใคร่ในตำบลศิลาแลง จั ด การสานเสวนาอย่ า ง น้อยปีละ ๒ ครั้ง ๑๔. อยากเห็นเวทีสาน - คณะกรรมการป่าชุมชน เสวนาระหว่ า งฝ่ า ยต่ า งๆ เจ้าหน้าที่รัฐและชาวบ้าน เพื ่ อ การบู ร ณาการด้ า นงบ (จับเข่าคุยกัน) ประมาณ

- เทศบาลและหน่ ว ยงาน อื่นๆ เช่น จังหวัดทหารบก น่าน

ผู้เข้าร่วมประชุมเสวนาทุกฝ่ายได้ให้ความเห็นชอบต่อถ้อยคำ

ข้างต้นและสัญญาจะร่วมประชุมเสวนาในครั้งต่อไปเพื่อหาวิธีแก้ไข ปัญหาอื่น ๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อชุมชน ยิ่งไปกว่านี้ ผู้เข้าร่วมการประชุม จึงได้ลงนามในสัญญาประชาชุมชนฉบับนี้ร่วมกันเพื่อสร้างความสำเร็จ ในการจัดกิจกรรมของชุมชนในครั้งต่อๆ ไป ผู้ลงนามในสัญญาประชาชุมชนมาจากหน่วยงาน/องค์กรทั้งสิ้น ๑๔ หน่วยงาน/องค์กร ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน กรมป่าไม้ องค์การ บริหารส่วนตำบลศิลาแลง (ปลัด อบต.) นักวิจยั เกีย่ วกับอุทยานดอยภูคา สภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า (ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและ พัฒนา) ชุมชนได้ลำดับความสำคัญของปัญหาจำนวน ๓ ข้อ ปรากฏใน ข้อ ๑๔ (ลงคะแนนเสียงสนับสนุน ๑๐ เสียง) ข้อ ๓ (ลงคะแนนเสียง สนับสนุน ๘ เสียง) และข้อ ๒ (ลงคะแนนเสียงสนับสนุน ๗ เสียง)

69 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

70

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

สัญญาประชาคมชุมชน (สรุปประเด็นสำคัญ) ว่าด้วยการอนุรักษ์ การจัดการ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ ตำบลท่าศาลา อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ……………………………………………

จากการประชุมเสวนาเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๒ ณ ห้อง ประชุ ม องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลท่ า ศาลา อำเภอท่ า ศาลา จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ผู้เข้าร่วมประชุมได้สรุปปัญหาของชุมชนที่สำคัญ

มีดังนี้ ๑. ปัจจัยนำไปสู่ความสำเร็จในการประกาศข้อบังคับ อบต.

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

๑.๑ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ประชาชนและ การเคลื่อนไหวของภาคสังคมซึ่งกำเนิดขึ้นจากการ เกิดปัญหาพื้นฐานซ้ำซาก ๑.๒ การเกิ ด ปั ญ หาเหล่ า นี ้ เ ป็ น ตั ว ขั บ เคลื ่ อ นให้ ม ี ก าร ปั ญ หาที ่ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ ชุ ม ชน

ประชุมหารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง ไ ม ่ ส า ม า ร ถ แ ก ้ ไ ข โ ด ย

ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหาร เจ้าหน้าที่ของรัฐเพียง

ส่วนตำบล) หน่วยงานราชการส่วนกลาง (กรมประมง หน่ ว ยเดี ย ว จำเป็ น ต้ อ ง และกรมเจ้าท่า) รวมทั้งองค์กรภาคประชาชนซึ่งมีการ อาศัยการมีส่วนร่วมของภาค ประชุมกันอย่างสม่ำเสมอ ประชาสังคม อาทิ เครือข่าย (๑) การประชุมหารือในวงน้ำชา ทุกวันจันทร์ ประมงพื ้ น บ้ า น สมาคม (๒) การประชุมเครือข่ายประมงพื้นบ้าน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (๓) การประชุมหารือในวงน้ำชาทุกวันศุกร์เพื่อสรุป ประเด็น ๑.๓ องค์การบริหารส่วนตำบลตระหนักถึงความสำคัญใน การแก้ไขปัญหาจากเรือประมงที่ผิดกฎหมาย ๑.๔ ชุมชนได้ตระหนักและสนใจปัญหาสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ตามลำดับ จะเห็นได้จากการใช้สื่อ


๑.๕ ความจำเป็ น ในการอนุ ร ั ก ษ์ แ ละการเพิ ่ ม จำนวน ทรัพยากรธรรมชาติ ๒. การสร้ า งความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ ห้ กั บ ข้ อ บั ง คั บ อบต. ด้วยการนำไปบังคับใช้ ๒.๑ การติดตามตรวจสอบและห้ามการใช้เครื่องมือประมง ที่ผิดกฎหมายภายในเขตพื้นที่พิเศษและแจ้งให้ทราบ ถึงการละเมิดกฎหมาย ๒.๒ ให้ความรู้และทักษะการใช้เครื่องมือประมง

๒.๓ จัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

๒.๔ จัดตั้งองค์กรที่เกี่ยวข้อง ทำหน้าที่ติดตามตรวจสอบ และห้ามการใช้เครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมายภายใน เขตพื้นที่พิเศษ (ในข้อ ๑) ๒.๕ ปรับปรุงและออกกฎข้อบังคับใหม่ เพื่อแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ ๒.๖ จัดให้มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

๒.๗ เผยแพร่ ค วามรู ้ เ กี ่ ย วกั บ กฎหมายท้ อ งถิ ่ น ให้ แ ก่ ประชาชนทราบ ๒. การสร้างความศักดิ์สิทธิ์ให้กับข้อบังคับ อบต. ด้วย การนำไปบังคับใช้(ต่อ) ๒.๘ ควบคุมการใช้เครื่องมือประมง พยายามลดจำนวน เครือ่ งมือและพยายามติดตามควบคุมการใช้เครือ่ งมือ ๒.๙ จัดทำแผนการบริหารจัดการของตำบลและจัดสรรงบ ประมาณเพื่อจัดซื้อจัดหาเรือความเร็วสูง ๒.๑๐ จัดทำสัญลักษณ์เพื่อใช้ในการแสดงการแบ่งเขต พื้นที่พิเศษ ๒.๑๑ สร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชน (ทุกรุ่น)

๒.๑๒ บังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาค

71 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

72

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ๒.๑๓ เผยแพร่ความรู้กฎหมายเพื่อให้ทุกคนปฏิบัติตาม อย่างถูกต้อง ๒.๑๔ จัดตั้งกลุ่มทำงานขึ้นเพื่อบังคับใช้ข้อบังคับ อบต.

๓. ปัญหาที่เกี่ยวกับกฎหมาย

๓.๑ ข้าราชการทุจริต ไม่ทำงานอย่างถูกต้องและไม่เอา จริงเอาจัง ข้าราชการบังคับใช้กฎหมายไม่เสมอภาค ๓.๒ ผู้มีอิทธิพลละเมิดกฎหมายโดยไม่มีความผิด

๓.๓ ประชาชนที ่ ก ระทำผิ ด กฎหมายจะใช้ ช ่ อ งว่ า งของ กฎหมายหลีกเลี่ยงการกระทำผิด ๓.๔ การทำประมงของชุ ม ชนผิ ด ข้ อ บั ง คั บ ตามพระราช บัญญัติประมง ๓.๕ รั ฐ บาลมี เ ครื ่ อ งมื อ ไม่ เ พี ย งพอในการบั ง คั บ ใช้ กฎหมาย ๓.๖ ไม่สามารถจับกุมเรือประมงที่กระทำผิดในเขตพื้นที่ พิเศษได้เมื่อเรือดังกล่าวได้แล่นพ้นเขตพื้นที่พิเศษ ๓.๗ มาตรการปิดอ่าวในช่วงฤดูปลาวางไข่ ไม่ครอบคลุม ทุกพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีเฉพาะบางพื้นที่ เท่านั้น ๔. วิธีการสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมาย

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

๔.๑ ริเริ่มศึกษางานวิจัยถึงความจำเป็นในการปิดอ่าวใน มหาวิ ท ยาลั ย ในพื ้ น ที ่ อาทิ ช่วงฤดูปลาวางไข่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๑๘ เสียง ๔.๒ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ตามหลักการที่ ประชาชนและเครือข่าย กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญและตามนโยบายต่างๆ - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๔ เสียง ๔.๓ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลท่ า ศาลาควรจั ด หาเรื อ ความเร็ ว สู ง ให้ แ ก่ ป ระชาชนเพื ่ อ ปฏิ บ ั ต ิ ห น้ า ที ่ ต าม ระบบการติ ด ตามตรวจสอบ-ออกเสี ย งสนั บ สนุ น จำนวน ๓ เสียง

ประชาชน องค์ ก ารบริ ห าร ส่ ว นตำบลท่ า ศาลา อำเภอ ท่ า ศาลาและองค์ ก ารที ่ เกี่ยวข้อง


๔.๔ ขยายเขตพื้นที่พิเศษตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๑๗ เสียง

ประชาชนจัดทำข้อเสนอต่อ กรมประมง

๔.๕ ติดตั้งทุ่นลอยหรือสัญญาณไฟเพื่อแสดงแนวเขตพื้นที่ ประชาชนจัดทำข้อเสนอต่อ กรมประมงและกระทรวง พิเศษให้ชัดเจน - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๙ เสียง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล้อม ๔.๖ ให้ความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องแก่ชุมชน,องค์การ สถาบันพระปกเกล้า บริหารตำบลท่าศาลาและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๑๐ เสียง ๔.๗ สร้างความมั่นใจว่าจะมีการดำเนินการตามขั้นตอน เครือข่ายภาคประชาชนแจ้ง ตั้งแต่เริ่มต้นจนขั้นตอนสุดท้ายโดยองค์กรเดียวกัน สถาบันทีเ่ กีย่ วข้อง - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๒ เสียง ๔.๘ จัดให้มีสานเสวนาเพื่อหาทางออก โดยมีผู้แทนจาก สถาบันพระปกเกล้าร่วมกับ องค์กรภาครัฐ ภาคประชาชนและภาควิชาการ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบล - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๑ เสียง เครือข่ายภาคประชาชนและ องค์กรต่างๆ ๔.๑๐ ให้เก็บรักษา “ทรัพย์สินที่ถูกขโมย (ของกลาง)” ไว้ เพื่อการนำมาใช้กระทำผิดซ้ำซาก - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๑ เสียง ๔.๑๑ องค์ ก รที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งต้ อ งจั ด ให้ ม ี ก ารเสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถด้านวางแผนการจัดการขั้นพื้นฐานที่ สามารถนำมาใช้ปฏิบัติงานได้จริง - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๑ เสียง

เครือข่ายภาคประชาชนและ หมู่บ้านเสนอตำรวจ เครือข่ายภาคประชาชนและ องค์การบริหารส่วนตำบล

๔.๑๒ สร้างระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เช่น วิทยุสื่อสาร องค์การบริหารส่วนตำบล ๔.๑๔ เพิ่มบริบท “ประมงพื้นบ้าน” ไวในกฎหมายเพื่อให้ สถาบันพระปกเกล้า ความคุ ้ ม ครองและการยอมรั บ ชุ ม ชนหรื อ โดย ชุมชน-ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๗ เสียง ๔.๑๕ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขพระราชบั ญ ญั ต ิ ตามจุ ด มุ ่ ง หมาย เครือข่ายภาคประชาชนและ ข้อบังคับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบล - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๕ เสียง

73 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

74

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ๔.๑๖ บั ง คั บ ใช้ ข ้ อ บั ง คั บ ท้ อ งถิ ่ น และกฎหมายอื ่ น ที ่ เครือข่ายภาคประชาชนและ เกี่ยวข้องให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด องค์การบริหารส่วนตำบล - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๖ เสียง ๔.๑๗ สร้ า งกลุ ่ ม ชุ ม ชนท้ อ งถิ ่ น สร้ า งและประสานงาน องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบล เครือข่ายตั้งแต่เขตขนอมถึงหัวไทร เพื่อการอนุรักษ์ และองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัด - ออกเสียงสนับสนุนจำนวน ๒ เสียง


ร้อยละ

๒. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายที่ท่านได้รับ

๒๘

๓๕

๒.๓๘

๒ น้อย

๑๑.๙๐ ๓๓.๓๓ ๔๑.๖๖ ๑๐.๗๑

๑๐

๑๗.๘๕ ๔๘.๘๐ ๒๙.๗๖

ร้อยละ

๔๑

๓ ปาน กลาง ๒๕

๑. ประโยชน์จากหัวข้อเรื่องกฎหมายที่นำเสนอ

หัวข้อ

๔ มาก

…………………………………………………..

๐ ๐

๒.๓๘

๐ ๒

๑.๑๙

๑ ๐ น้อย ไม่มีเลย มาก ๑ ๐

ผลสำรวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม เวทีเสริมสร้างศักยภาพด้านกฎหมายเพื่อการอนุรักษ์ การจัดการและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ ณ สำนักงานเทศบาลตำบลศิลาแลง อำเภอปัว จังหวัดน่าน ๕ มาก ที่สุด ๑๕

ภาคผนวก ๒

๑๐๐

๘๔

๑๐๐

๘๔

รวม

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

75


ร้อยละ

๗. อาหารว่างเหมาะสมหรือดี

ร้อยละ

๖. อาหารกลางวันเหมาะสมหรือดี

ร้อยละ

๕. สาถนที่จัดเวทีเหมาะสม

ร้อยละ

๔. ความเหมาะสมอของเวลาที่นำเสนอ

ร้อยละ

๓. ความรู้ความสามารถของวิทยากรที่มาบรรยาย

หัวข้อ ๔๕

๔ มาก

๓ ปาน กลาง ๑๗

๓๐

๔๗

๒๒

๒๗

๓๕

๓๔

๑.๑๙

๑๐.๗๑ ๔๑.๖๖ ๔๐.๔๗ ๓.๕๗

๑๐.๗๑ ๒๖.๑๙ ๓๒.๑๔

๗.๑๔ ๓๕.๗๑ ๕๕.๙๕

๐ ๐

๒๖

๒.๓๘

๓.๕๗

๐ ๓๐.๙๕

๑๐.๗๑ ๒๙.๗๖ ๔๒.๘๕ ๑๖.๖๖

๓๖

๑ ๐ น้อย ไม่มีเลย มาก ๐ ๒ ๐

๒๕

๑.๑๙

๒ น้อย

๑๔

๒๒.๖๑ ๕๓.๕๗ ๒๐.๒๓

๕ มาก ที่สุด ๑๙

๑๐๐

๘๔

๑๐๐

๘๔

๑๐๐

๘๔

๑๐๐

๘๔

๑๐๐

๘๔

รวม

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

76

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


๓๒

77

ภาพถ่ า ยในการจั ด เวที เ สวนาหาทางออก เรื ่ อ ง การพั ฒ นา

๓๒

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

ายในการจั เสวนาหาทางออกเรืเรื่อ่องงการพั การพัฒ ฒนาศั านกฎหมายของภาคประชาชนเพื ่อการอนุ รักษ รักษ ภาพถาภาพถ ยในการจั ดเวทีดเเวที สวนาหาทางออก นาศักกยภาพด ยภาพด านกฎหมายของภาคประชาชนเพื ่อการอนุ ทรัพศัยากรชุ ชน่อเมื ที่ ๑๕ธันธัวาคม นวาคม๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ณ ณ อบต. าศาลา ธรรมราช กมยภาพด้ รจั​ักงหวัษ์จัดทงนครศรี รัพดนครศรี ยากร ทรัพยากรชุ ชนมเมื วันา่อทีวันกฎหมายของภาคประชาชนเพื ่น๑๕ อบต.ททาศาลา าศาลาอํา่ออํเภอท าการอนุ เภอท าศาลา หวั ธรรมราช วันแรก

วันแรก

ชุ ม ชน เมื ่ อ วั น ที ่ ๑๕ ธั น วาคม ๒๕๕๒ ณ อบต. ท่ า ศาลา อำเภอ ท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

วันแรก

ลงทะเบียน- ผูเขารวมเสวนาไดรับเอกสารคูมือชี้แจงสาเหตุของปญหาการจัดการทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติ และเอกสารโครงการ

ลงทะเบียน- ผู้เข้าร่วมเสวนาได้รับเอกสารคู่มือชี้แจงสาเหตุของปัญหาการจัดการ

ลงทะเบียน- ผูเขารวมเสวนาไดรับเอกสารคูมือชี้แจงสาเหตุของปญหาการจัดการทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและเอกสารโครงการ และเอกสารโครงการ


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

78

๓๓ ๓๓

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

๓๓

ยการสร้ างบรรยากาศความเชื อมัว่นางใจระหว และความไว้ างผู าชั่วโมง) ตน นดด้ววยการสร างบรรยากาศความเชื ่อมั่นและความไว ารววางใจระหว่ มประชุ ม (ประมาณ (๑)(๑) เริ(๑) ่มตเรินเริ่ม ด่มวต้ยการสร างบรรยากาศความเชื ่อมั่นและความไว ว่างใจระหว างผูเาขงผู ารเวขมประชุ ม (ประมาณ ๑ ชั้เข้่ว๑โมง) ร่วมประชุม (ประมาณ ๑ ชั่วโมง)

(๑) เริ่มตนดวยการสรางบรรยากาศความเชื่อมั่นและความไววางใจระหวางผูเขารวมประชุม (ประมาณ ๑ ชั่วโมง)

ผูเขารวมประชุมไดรับเชิญใหแนะนําตนเองและ เลนเกมสเพื่อ สรางบรรยากาศความเชื่อมั่นและความไววางใจ ผูเขารวมประชุมไดรับเชิญใหแนะนําตนเองและ เลนเกมสเพื่อ สรางบรรยากาศความเชื่อมั่นและความไววางใจ

ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับเชิญให้แนะนำตนเองและ เล่นเกมส์เพื่อ สร้างบรรยากาศ รขวา่น มประชุ มไดรับเชิ ญใหวแางใจ นะนํ เลนมเกมส เพื่อ สรวายผู งบรรยากาศความเชื ่อมั่นวและความไว (๒)แบผูงเผูข่อาเมั รวและความไว้ มการประชุ มออกเป นกลุามตนเองและ โดยแตละกลุ ประกอบด แทนจากแตละภาคส นและประชุวมางใจ ระดมสมอง ความเชื (๒)แบงผูเขารวมการประชุมออกเปนกลุมโดยแตละกลุมประกอบดวยผูแทนจากแตละภาคสวนและประชุมระดมสมอง เพื่อกําหนดวัตถุประสงคการเสวนา แผนงานและแตงตั้งผุรับผิดชอบแตละกิจกรรม เพื่อกํ(๒) าหนดวั ตถุประสงค แผนงานและแต งตั้งผุกลุ รับ่ม ผิดโดยแต่ ชอบแตลละกิะกลุ จกรรม าร่วการเสวนา มการประชุ มออกเป็ ่มประกอบด้ ยผู้แทนจาก (๒)แบแบ่ งผูเงขผูาร้เวข้มการประชุ มออกเปนกลุ มโดยแตลนะกลุ มประกอบด วยผูแทนจากแต ละภาคสววนและประชุ มระดมสมอง ะภาคส่ ว นและประชุ ม ระดมสมองเพื กำหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเสวนา

เพืแต่ ่อกําลหนดวั ตถุประสงค การเสวนา แผนงานและแต งตั้งผุรับผิด่ อชอบแต ละกิจกรรม

แผนงานและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม ‘แผนงานที่จะดําเนินการ? (ใครเปนผูร ับผิดชอบ?’

‘แผนงานที่จะดําเนินการ? (ใครเปนผูร ับผิดชอบ?’

‘แผนงานที่จะดําเนินการ? (ใครเปนผูร ับผิดชอบ?’

กลุมทํางาน

กลุมทํางาน กลุมทํางาน

แผนงานที่จะดำเนินการ? (ใครเป็นผู้รับผิดชอบ?)

กลุ่มทำงาน


79 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

๓๔ ๓๔

ทีมคณะวิ จัยสถาบั ้แทนจากองค์ กรที าทีม่ ซึ่งแตละทาน ทีมคณะวิจัยสถาบั นพะปกเกล าและผูนแพระปกเกล้ ทนจากองคกาและผู รที่มิแสวงหากํ าไรทําหน าที่มเ่ จิแาสวงหากำไรทำหน้ หนาทีอํานวยการประชุ เจ้าหน้ทาําทีหน อำนวยการประชุ ละท่านได้นรทีับ่เการฝึ กอบรมให้ทกำหน้ ที่นี้ บาง ไดรับการฝกอบรมให าที่นี้ บางทานเปนมนัซึกศึ่งแต่ กษาของสถาบั ขารับการอบรมหลั สูตร ากสรบริ หารความขัดแยง ทีมคณะวิจัยสถาบันพะปกเกลาและผูแทนจากองคกรที่มิแสวงหากําไรทําหนาทีเ่ จาหนาทีอํานวยการประชุมซึ่งแตละทาน และการไกลเกลีท่​่ยานเป็นนักศึกษาของสถาบันที่เข้ารับการอบรมหลักสูตร การบริหารความขัดแย้ง ไดรับการฝกอบรมใหทําหนาที่นี้ บางทานเปนนักศึกษาของสถาบันที่เขารับการอบรมหลักสูตร กสรบริหารความขัดแยง และการไกล่เกลี่ย และการไกลเกลี่ย


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

80

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม (๓) การนำเสนอความต้องการโดยผู้นำเสนอนำรายงาน (ซึ่งเป็นอาสาสมัครที่มิใช่ เป็นเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกการประชุมหรือผู้แทนสถาบันพระปกเกล้า)

๓๕

๓๕

(๓) การนําเสนอความตองการโดยผูนําเสนอนํารายงาน (ซึ่งเปนอาสาสมัครที่มิใชเปนเจาหนาที่อํานวยความสะดวกการ

ประชุมหรือผูแทนสถาบันพระปกเกลา)

(๓) การนําเสนอความตองการโดยผูนําเสนอนํารายงาน (ซึ่งเปนอาสาสมัครที่มิใชเปนเจาหนาที่อํานวยความสะดวกการ

ประชุมหรือ‘ความฝั ผูแทนสถาบั น: น พระปกเกลา)

๑ เอกสารสิทธิที่ดินทำกิน ๒. ...... เป็นต้น

‘ความฝน: ๑ เอกสารสิทธิที่ดินทํากิน ๒. ...... เปนตน


(๔) การลงมติเอกฉันทเกี่ยวกับความฝนที่ตองการ

(๔) การลงมติเอกฉันท์เกี่ยวกับความฝันที่ต้องการ

(๔) การลงมติเอกฉันทเกี่ยวกับความฝนที่ตองการ

ผูวิจัยสถาบันพระปกเกลา ประกาศความตองการ (ความฝน) ของชุมชน และชุมชนแสดงความยินดีดวยการปรบมือ

ผู้วิจัยสถาบันพระปกเกล้า ประกาศความต้องการ (ความฝัน) ของชุมชน และ ผูวิจัยสถาบันพระปกเกลา ประกาศความตองการ (ความฝน) ของชุมชน และชุมชนแสดงความยินดีดวยการปรบมือ ชุมชนแสดงความยิ ้วยการปรบมื (๕) เนื้อหาความฝ นของชุมชน มีทั้งนสิดี้นด๑๔-๑๗ ขอ อ (๕) เนื้อหาความฝ มชน มีทนั้งของชุ สิ้น ๑๔-๑๗ (๕) เนืน้อของชุ หาความฝั มชน ขมีอทั้งสิ้น ๑๔-๑๗ ข้อ วันที่ ๒

วันที่ ๒

วันที่ ๒ (๑) การลงคะแนนเสียงจัดลําดับความสําคัญความฝนเพียง ๓ ขอ การออกคะแนนเสียงใชวิธีลับ (๑) การลงคะแนนเสี ยงจัดลําดับความสํ ญความฝ นเพียง ๓ ญ ขอความฝั การออกคะแนนเสี ิธีลับ (๑) การลงคะแนนเสี ยงจัาดคัลำดั บความสำคั นเพียง ๓ยข้งใช อ วการออกคะแนน

เสียงใช้วิธีลับ

81๓๖ ๓๖

ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

82

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

๓๗

การนันบเพีคะแนนเสี นับคะแนนเสียงเพื่อคัดเลือ(๒) กความฝ ยง ๓ ขอ ยงเพื่อคัดเลือกความฝันเพียง ๓ ข้อ

(๓) การลงนามในขอตกลงประชาชุมชนโดยผูแทนจากภาคสวนที่เกี่ยวของแสดงภาระผูกพันในการลงมือปฏิบัติ ตามความตองการที่เลือกไว

(๓) การลงนามในข้อตกลงประชาชุมชนโดยผู้แทนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องแสดง ภาระผูกพันในการลงมือปฏิบัติตามความต้องการที่เลือกไว้

ภาพแสดงผ่ า นเครื ่ อ งฉาย LCD เพื ่ อ นำเสนอรู ป แบบข้ อ ตกลงพร้ อ มคำชี ้ แ จง

ภาพแสดงผ านเครื่องฉาย LCD เพื่อนําเสนอรูปแบบขอตกลงพรอมคําชี้แจงเกี่ยวการลงนามในขอตกลง. เกี่ยวการลงนามในข้ อตกลง. ตกลงไดมีการลงนามกํากับโดยผูแ ทนจกทุกภาคสวนที่เปนคูกรณี ข้อตกลงได้มขีกอารลงนามกำกั บโดยผู้แทนจากทุกภาคส่วนที่เป็นคู่กรณี

๓๘


บรรณานุกรม Ana Palacio (2006) Legal Empowerment of the Poor: An Action Agenda for the World Bank, The world Bank, Revised March 2006 ADB (2009) Legal Empowerment for Women and Disadvantaged Groups, The Asian Development Bank, The Philippines ADB (2009) Good practice Guide foe Incorporating Legal Empowerment into Ope rations, The Asian Development Bank and The Asia Foundation, The Philippines UNDP (2008) Commission on Legal Empowerment of the Poor, Making the Law work for everyone, Working Group Report Bibek Debroy (2009) Legal Empowerment for the Poor (LEP): An Agenda For Asia, UNDP public managers, Final Report of the Work Foundation’s public value consortium- November. The Work Foundation Emmeline Cooper (2009) Deliberative Democracy in practice: The Perspectiveness of Practitioners in Germany and Britain, Paper for the Political Studies Association Annual Conference Challenges for Democracy in a Global Era, Manchester, April 7-9, 2009 Associate Professor Patcharee Sirorose (2007) Strengthened Deliberative Democracy, Faculty of Political Science, Thammasat University

83 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

84

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

Louise Horner, Rohiy Lekhi and Ricardo Blaug (2006) Deliberative democracy and the role of public managers, Final Report of the Work Foundation’s public value consortium- November. The Work Foundation Bibek Debroy (2009) Legal Empowerment for the Poor (LEP): An Agenda For Asia, UNDP USAID (2007) Legal Empowerment of the Poor: from Concepts to assessment, The United States Agency for International Development, March 2007 Will Friedman (2006) Deliberative Democracy and the Problem of Scope, Journal of Public Deliberation, Vol. 2 Issue 1 Ministry of Foreign Affairs of Denmark (2007), CommunityBased Natural Management, Technical Note, 2007, Danida, available for download at www.danidadevforum.um.dk

กรณีศึกษา – วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ Database of CBNRM cases studies available at http://www.cbnrm.net/ World Bank (1998) Report on CBNRM Workshop held in Washington D.C, United States, 10-14 May 1998 Sustainable forest management through multisectoral forest protection committees : Philippine Experience, Roberto Oliva for the World Bank, 1998 available at http:// srdis.ciesin.org/cases/philippines-011.html


Creating conditions for community-based small-scale fisheries management in the Caribbean, Patrick Mc Conney for the World Bank, 1998, available at http:// srdis.ciesin.org/cases/Barbados-Paper.html Participatory Coastal Development planning in Bolinao, Northern Philippines : A potent tool for conflict resolution, Liana Talaue McManus, Alexis C. Yambao, Severine Salmo III and Portfirio Alino, for the World Bank, 1998, available at http://srdis.ciesin.columbia.edu/cases/ Philippines-Paper.html Community forest ownership : key to sustainable forest resource management : the Gambian experience, Foday Bojang and Dominique Reeb for the World Bank, 1998, available at http://srdis.ciesin.org/cases/GambiaPaper.html Case studies – Thailand Coastal Resource Management with Local Participation: Case Study of Surat Thani, Thailand, Ladawan Kumpa for the World Bank, 1998, available at http:// srdis.ciesin.org/cases/thailand-001.html Community Forestry in Thailand, Christl Ke?ler for the World Bank, 1998, available at http://srdis.ciesin.org/cases/thailand002.html

85 ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม


ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า

86

โครงการสร้างพลังทางด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนที่ยากไร้: การแก้ ไขปัญหาท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

Role of local organizations on highland water management, Northern Thailand, Sawat Dulyapach for the World Bank, 1998, available at http://srdis.ciesin.org/cases/thailand004.html Co-management in coastal resource conservation: A study of a Thai fishing community, Bongkot Sewatarmra for the World Bank, 1998, available at http://srdis.ciesin.org/ cases/thailand-005.html Coastal Zone Management at Kung Krabaen Bay, Eastern Thailand: Experience and Model Study, Siri Tookwinas for the World Bank, 1998, available at http:// srdis.ciesin.org/cases/thailand-006.html


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.