22
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 6 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559)
ไวต่าร้อยละ 38 เพราะฉะนั้นจะมีเด็กร้อยละ 60 ที่คัดกรองแล้วพบว่าเป็นเด็กปกติแล้วเป็นเด็กออทิ สติกที่หลังสูง (Robin D, Fein D, Barton M, Green J, 2001: 131-144) 2. Modified Checklist for Autism in Toolder (M-CHAT) เป็นแบบทดสองของประเทศ สหรัฐอเมริกาที่พัฒนามาจาก CHAT ประกอบด้วยแบบสอบถามสาหรับผู้ปกครองทั้งสิ้น 23 ข้อ (Robin D, Fein D, Barton M, Green J, 2001: 131-144) 3. แบบคัดกรองโรคออทิสซึมในเด็กอายุระหว่าง 1-6 ปี กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข มีข้อคาถามสาหรับผู้ปกครอง 10 ข้อ สาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อค้นหาเด็กที่มีความเสี่ยงต่อ ออทิสติก (โรงพยาบาลยุวประสารทไวทโยปถัมภ์: 2546) 4. แบบคัดกรอง Pervasive Developmental Disorders Screening Questionnaire (PDDSQ) พัฒนาโดย นพ.ชาญวิทย์ พรนภาดล ภาควิชาจิ ตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราช พยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นแบบสอบถามทั้งสิ้น 40 ข้อประกอบด้วยแบบสอบถาม 2 ฉบับคือ PDDSQ 1-4 สาหรับเด็กอายุ 12-47 เดือน มีค่าความไวร้อยละ 82 และค่าความจาเพาะร้อยละ 94 และ PDDSQ 4-18 สาหรับเด็กอายุ 4-18 ปี มีค่าความไวร้อยละ 77 และค่าความจาเพาะร้อยละ 94 (สงวนลิขสิทธิ์) (ชาญวิทย์ พรนพดล, 2545: 141) แบบทดสอบคัดกรองที่ช่วยในการวินิจฉัยออทิสติกโดยส่วนใหญ่มักจะทดสอบในเด็กอายุน้อย และจะใช้แบบทดสอบชนิดใดนั้น จะต้องขึ้นอยู่กับช่วงอายุและการรับรู้ของเด็กที่จะทาการทดสอบ โดยจะมีแพทย์หรือนักจิตวิทยาเป็นผู้ประเมินและทดสอบ การรักษา โรคออทิสติกเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้เปูาหมายของการรักษาอยู่ที่การกระตุ้น และการฟื้นฟูพัฒนาการในด้านต่างๆ เช่นการพูด การเข้าสังคม การรับรู้และการเรียน ให้ดีขึ้นจน ใกล้เคียงเด็กปกติมากที่สุดและลดหรือกาลัง พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นการรักษาผลที่ดีที่สุดคือ การผสมผสานการรักษาในด้านต่างๆเข้าด้วยกัน การรักษาเหล่านั้นได้แก่ (เบญจมาศ พระธานี, 2550) 1. การปรับพฤติกรรมและการฝึกทักษะในสังคม โปรแกรมการปรั บ พฤติกรรมมีห ลายโปรแกรมแต่ที่ พิสู จน์ว่า มีประสิ ท ธิภ าพสู ง งที่สุ ดคื อ โปรแกรม Applied Behavioral Analysis (ABA) พัฒนาโดย Dr. Lovaas อาศัยทฤษฎีพฤติกรรม ศาสตร์และการเรียนรู้ และมีการดัดแปลงประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาผู้ปุวยโรคออทิสติก เช่นพฤติกรรม ที่ทาอะไรซ้าๆ พฤติกรรมก้าวร้าว ทาร้ายตนเอง และส่งเสริมผู้ปุวยทาพฤติกรรมที่ต้องการมากขึ้น 2. การฝึกพูด (Speech therapy) การฝึกพูดเป็ น หัว ใจสาคัญของการรักษาโดยเฉพาะในรายที่พัฒ นาการล่าช้าและมีความ บกพร่องทางการใช้ภาษา ควรผสมผสานการพูดร่วมไปกับการปรับพฤติกรรม และผู้ปุวยควรได้รับการ ฝึกสัปดาห์ละ 1-2 ครั้งในช่วงแรกของการรักษา ถ้าสามารถเริ่มฝึ กได้เร็วเท่าไร โอกาสที่ผู้ปุวยจะ ตอบสนองได้อย่างดีและมีพัฒนาการทางภาษาใกล้เคียงกับเด็กปกติมากขึ้น 3. การกระตุ้ น พั ฒนาการ (Developmental Stimulation) และการฝึกอาชี พ (Vocational Training)