การออกแบบและเทคโนโลยี ( Design and Technology )

Page 1

OVE SYSTE T S S M GA ระบบทางเทคโนโลยีข องเตาแก๊ส

Input

Process

แก๊สหุงต้ม ประกายจุดนํา ไฟฟา

การทํางานของเตาแก๊ส

Feedback

Output

(ตัวปอน)

(ขอมูลยอนกลับ)

ถ้าไฟดับให้เปดเตาแก๊สใหม่อีก ครัง

(กระบวนการ)

(ผลผลิต)

เปลวไฟความร้อนบนหัวเตา แก๊ส

นางสาวธนาภา เจริญสุ ข ชัน ม.4/4 เลขที 10ข


การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

เตาแก๊ส

เตาฟน อาศัยความรูก้ ารคุม ความร้อนและ เครืองปน ดินเผา นํา ไปสูก่ าร ประดิษฐ์ เตาฟนครอบกองไฟ

เตาแก๊ส มีการนํา แก๊สมาใช้เปนเชือเพลิง เตาแก๊สรูปร่างกะทัดรัด ใช้งานง่าย สร้างความร้อนได้เร็วกว่าการก่อไฟ

เตาแม่เหล็กไฟฟา การเหนียวนํา ของสนามแม่เหล็ก ทํา ให้ เกิดความร้อนทีภาชนะเท่านัน

เตาก้อนเส้า ใช้ก้อนหินสามก้อน เพือให้สามารถตัง ภาชนะและมี ช่องสําหรับใส่ไม้หรือฟน

เตาอังโล่ มีรูปทรงทีใช้งานได้สะดวกมีชอ่ งให้ อากาศไหลเข้ามีรงั ผึงทีมีลกั ษณะ เปนรู ซึงช่วยระบายอากาศและขีเถ้า ร่วงลงไปก้นเตาได

เตาไฟฟา เปลียนพลังงานไฟฟาเปน พลังงาน ความร้อน โดยใช้ ขดลวดนํา ไฟฟา นางสาวธนาภา เจริญสุข ชัน ม.4/4 เลขที 10ข


ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ต่ อ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ

รถยนต์ไฟฟา

ข้อดี 1. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบํารุง และประหยัดค่านํามัน 2. เงียบและเร็ว เนืองจากกลไกในการ ขับเคลือนไม่ต้องใช้การจุดระเบิดเพือ เผาไหม้ 3. เปนมิตรกับสิ งแวดล้อม เนืองจากไม่ ต้องใช้นํามัน หรือก๊าซในการเผาไหม้ 4. ไม่ต้องขับรถไปเติมนํามัน เพราะ คุณสามารถชาร์จไฟได้เองทีบ้านได้

แนวทางแก็ไขปั ญหา ทางด้านรัฐบาลไทยเองก็สนับสนุนเรืองการใช้ รถยนต์ไฟฟาเช่นกัน โดยมีมติให้ลดภาษี สรรพ สามิตรถยนต์ไฟฟาจากเดิม 8% เหลือ 2%

ข้อเสีย 1. ราคาสู ง รถยนต์ไฟฟามีราคาค่อนข้างแพง เนืองจากกระบวนการผลิตจนถึงการวาง จําหน่ายจําเปนต้องใช้เทคโนโลยีทีมีราคาสู ง 2. จากการชาร์จแต่ละครัง รถยนต์ไฟฟา สามารถวิงไว้ประมาณ 160-200 กิโลเมตร ซึงไม่เหมาะสํ าหรับการขับรถระยะไกล 3. จุดชาร์จไฟ ทีอาจจะยังไม่ครอบคลุมทุก พืนที และใช้เวลาในการชาร์จ ซึงสถานีชาร์จ ด่วนก็ใช้เวลาอย่างน้อยครึงชัวโมง 4. ยังมีตัวเลือกไม่มาก รถไฟฟายังเปน ยานพาหนะทีใหม่อยู่ จึงมีค่ายรถยนต์เพียง ไม่กีค่ายเท่านันทีผลิตรถยนต์ไฟฟา EV ออกสู่ ตลาด สํ าหรับรถยนต์ไฟฟาทีได้รับบัตรส่ งเสริมการ ลงทุนจาก BOI จะได้ปรับลดภาษี สรรพสามิตจาก 2% เหลือ 0% จนถึง 31 ธันวาคม 2565

นางสาวธนาภา เจริญสุข ชัน ม.4/4 เลขที 10ข


โลหะ (Metal)

วัสดุ และเครืองมือพืนฐาน

1. สามารถนําความร้อนได้ดี 2. เปนตัวนําไฟฟาได้อย่างดีเยียม 3. มีความคงทน ใช้งานได้อย่างยาวนาน 4. มีอุณหภูมป ิ กติ ยกเว้นโลหะประเภทปรอท 5. ต้องมีความเหนียวและความแข็งสูงมาก 6. มีผวิ มันขาว ซึงก็เปนสีของโลหะทัวไป 7. สามารถขยายตัวทีอุ ณหภูมส ิ ง ู ๆ

1. วัสดุโลหะประเภทเหล็ก เปนโลหะทีมีเหล็กเปน ฐาน โดยจะนิยมใช้กันมากในวงการอุ ตสาหกรรม ทีสําคัญวัสดุประเภทนี ก็สามารถนํามาปรับปรุง คุณภาพ ให้มค ี วามแข็งทนยิงขึนและสามารถ เปลียนแปลงรูปทรงได้หลายวิธี 2. วัสดุโลหะประเภทไม่ใช่เหล็ก เปนวัสดุโลหะทีไม่มี เหล็กเปนส่วนผสมเลย ซึงโลหะประเภทนีก็ได้แก่ ดีบุก สังกะสี ทองแดง ทองคํา เปนต้น โดยโลหะ ประเภทนีก็สามารถนํามาใช้ในงานอุ ตสาหกรรม บางประเภท

ความเหนียวและความเปราะของโลหะ จะมีความแตกต่างและตรงข้ามกันอย่างสินเชิง ซึงก็สง ั เกตได้จากการทีวัตถุนนๆ ั สามารถยืดออกจากกันได้มากน้อยแค่ไหน ซึงก็คือ หากวัสดุสามารถยืดออกจากกันได้มาก ก็แสดงว่ามีความเหนียว แต่หากวัสดุยด ื ออกจากกัน ได้แค่นด ิ เดียวก็ขาดออก นันหมายความว่าวัตถุนนๆ ั มีความเปราะมากกว่า นางสาวธนาภา เจริญสุข ชัน ม.4/4 เลขที 10ข


เครื องมื อ พื นฐาน เครืองมือสําหรับการตัด

ชนิดของคีม

(2)

(1)

(3)

(4)

การบํารุงรักษา

ข้อควรระวังในการใช้คีม

(5)

(6)

(7)


ความหมายของเฟอง

( 3 )

( 5 )

( 7 )

( 1 ) ( 2 )

ชนิดของเฟอง

( 6 ) ( 4 )

( 8 )

ลักษณะความเสียหายทีเกิดขึนกับเฟอง

นางสาวธนาภา เจริญสุข ชัน ม.4/4 เลขที 10ข


มอเตอร์

(Motor)

มอเตอร์ หมายถึง อุ ปกรณ์ไฟฟาทีเปลียนพลังงานไฟฟา เปนพลังกล มอเตอร์ทีใช้งานในปจจุบน ั แต่ละชนิดก็จะมีคณ ุ สมบัติทีแตกต่างออก ไปต้องการความเร็ว รอบหรือกําลังงานที แตกต่างกัน

มอเตอร์มี 2 ประเภท คือ 1. มอเตอร์ไฟฟากระแสสลับ หรือ เรียกว่า เอ.ซี มอเตอร์ 2. มอเตอร์ไฟฟากระแสตรง หรือ เรียกว่า ดี.ซี มอเอตร์

ส่วนประกอบหลักๆ ของมอเตอร์ 1. ขดลวดสนามแม่เหล็ก คือ ขดลวดทีถูกพันอยูก ่ ับ ขัวแม่เหล็กทียึดติดกับโครงมอเตอร์ 2. ขัวแม่เหล็ก คือ แกนสําหรับรองรับขดลวดสนามแม่เหล็กถูกยึดติดกับโครงมอเตอร์ด้านใน 3. โครงมอเตอร์ คือ ส่วนเปลือกหุม ้ ภายนอกของมอเตอร์ 4. อาร์เมเจอร์ คือ ส่วนเคลือนที ถูกยึดติดกับเพลา และ รองรับการหมุนด้วยทีรองรับการหมุน 5. คอมมิวเตเตอร์ คือ ส่วนเคลือนทีอีกส่วนหนึง ถูกยึดติดเข้ากับอาร์เมเจอร์และเพลาร่วมกัน 6. แปรงถ่าน คือ ตัวสัมผัสกับคอมมิวเตเตอร์

นางสาวธนาภา เจริญสุข ชัน ม.4/4 เลขที 10ข


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.