Ryuji Nakamura

Page 1

RYUJI NAKAMURA

5434518225 Boonvadee Laoticharoen IA418


บทคัดย่อ Ryuji Nakamura เป็ นนักออกแบบชาวญี่ปุ่น ผูใ้ ห้ความส�ำคัญกับเส้นในการออกแบบ โดยแนวความคิดของเขา คือ เส้นที่ สามารถควบคุมได้ และไม่สามารถควบคุมได้ (Controlled and Uncontrolled lines) ความเข้าใจในการออกแบบที่เริ่ มจากการขีดเส้นลง กระดาษ การพัฒนาจากเส้นเป็ นตาราง เกิดเป็ นระนาบ หรื อรู ปร่ างบางอย่าง จนประกอบกันเป็ นผลงานสามมิติข้ ึนมา เส้นแต่ละเส้นที่ถูกเขียนลงบนกระดาษ ท้ายที่สุดจะถูก Ryuji Nakamura เลือกวัสดุอยากละเมียดละไมเพื่อให้เส้นบนกระดาษ ถูกสร้างขึ้นจริ ง การเลือกวัสดุที่สามารถแทนเส้นๆนั้ได้ จะต้องเข้าใจศักยภาพจริ งๆของวัสดุแต่ละชนิด และจังหวะการหยิบจับมาใช้ อย่างถูกที่ การสร้างที่วา่ งจากเส้นของ Ryuji Nakamura จะให้ความส�ำคัญในด้านของมิติเวลาด้วย ในแง่ของคนที่เข้าไปได้สมั ผัสและรับ รู ้ถึงมิติน้ ี มุมมองที่เปลี่ยนไป ตามมุมของการมอง นอกจากแนวความคิดของเส้นสองชนิด ในการออกแบบงาน Ryuji Nakamura ได้แบ่งแนวคิดการออกเป็ นเป็ นประเภทต่างๆอย่างน่า สนใจ คือ Straight line, Corrugated sheets, Circles, Bends, Curves, Cuts, Wall, The same windows และ Irregular shapes การเลือกใช้วสั ดุที่เหมาะสม และการเข้าใจศักยภาพของวัสดุ คุณลักษณะพิเศษของวัสดุชิ้นนั้น สามารถช่วยให้เราใช้งานได้ อย่างเต็มประสิ ทธิภาพ โดยที่ไม่จำ� เป็ นต้องฝื นหรื อเปลี่ยนความเป็ นตัวตนของวัสดุน้ นั เลย


ค�ำน�ำ รายงานการศึกษาแนวความคิดการใช้วสั ดุในงานออกแบบของ Ryuji Nakamura เป็ นอีกวิธีหนึ่งในการศึกษาค้นคว้า เรี ยนรู ้และ ท�ำความเข้าใจกับแนวคิดต่างๆ ทั้งในการออกแบบ และการใช้วสั ดุ เพื่อเป็ นแนวทางหนึ่งในการพัฒนาและน�ำไปใช้ Ryuji Nakamura เป็ นนักออกแบบที่ให้ความส�ำคัญกับเส้นในการออกแบบ โดยแนวความคิดของเขาคือ เส้นที่สามารถควบคุมได้ และไม่สามารถควบคุมได้ (Controlled and Uncontrolled lines) รวมถึงการเลือกใช้วสั ดุอย่างเหมาะสมในแต่ละชิ้นงาน ที่มีการใช้งานที่แตก ต่างกันออกไป ผูจ้ ดั ท�ำหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า ผูอ้ ่านจะได้รับความรู ้และแนวคิดในการออกแบบและเลือกใช้วสั ดุของ Ryuji Nakamura ไปประยุกต์ใช้ และพัฒนาต่อยอดความคิดต่อไปในงานออกแบบต่างๆ

คณะผูจ้ ดั ท�ำ ธันวาคม 2557


กิตติกรรมประกาศ

รายงานเล่มนี้จะสาเร็ จลุล่วงไม่ได้ หากไม่ได้รับการสนับสนุนและความช่วยเหลือจากบุคคลต่อไปนี้

ขอขอบพระคุณผูช้ ่วยศาสตราจารย์บุญเสริ ม เปรมธาดา อาจารย์ประจาวิชาวัสดุสถาปั ตยกรรมภายใน ที่คอยให้ความรู ้ เรื่ องราวต่างๆเกี่ยวกับคุณสมบัติและวิธีการใช้วสั ดุประเภทต่างๆ ท�ำให้ได้รับประโยชน์และความรู ้ที่นามาต่อยอดในการท�ำรายงานเล่มนี้ได้

ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผูจ้ ดั ท�ำ ธันวาคม 2557



สารบัญ บทคัดย่อ ค�ำน�ำ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทน�ำ ความส�ำคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา ประโยชน์ที่ได้รับ บทที่ 2 : ข้อมูลทัว่ ไป ประวัติ ผลงานและแนวความคิด แนวความคิดในการออกแบบ Straight line: Insect cage Water lily Spring Corn field Pond Corrugated sheets: Cardboard and wood chair Hechima Hechima4 Hechima5 Nukegara 2 Kuma Circles: Bouquet Bends: Bench between pillars sheet Bang Red whale Catena rhythm Atmosphere Blank room

หน้า ก ข ค ง 1 1 1 1 2 3 3 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 14 15 15 16 17 18 19 20 21 22


Curves: Pin up Blossom Cuts: Snow Walls: Foundation Beam Shortcut The same windows : Shell Irregular shapes: Concrete roof บทที่ 3 : การวิเคราะห์ขอ้ มูล บทที่ 4 : บทสรุ ป index บรรณานุกรม

24 25 26 27 28 31 33 34 35 39 40 41


บทน�ำ ความส�ำคัญ ในปั จจุบนั มีนกั ออกแบบจ�ำนวนมาก ที่มีแนวความคิดในการออกแบบ รวมถึงเทคโนโลยีที่พฒั นาก้าวไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุ ด ท�ำให้ ข้อจ�ำกัดในการออกแบบที่เคนเกิดขึ้นเมื่อในครั้งอดีตนั้นถูกท�ำลายลง งานออกแบบในปั จจุบนั จึงมีความหลากหลาย แนวทางการออกแบบที่ แตกต่างกันออกไป Ryuji Nakamura เป็ นหนึ่งในนักออกแบบที่มีผลงานที่น่าสนใจ ด้วยแนวคิดที่แปลกใหม่ งานออกแบบของเขามีท้ งั ชิ้นงานที่เป็ น Product, Installation, Furniture, และรวมไปถึงงาน Interior Design กับการเล่นกับวัสดุที่น่าสนใจ ไม่วา่ จะเป็ น กระดาษ, Polyurethane String, Polyester film, Music wire, Robbon และอื่นๆอีกหลากหลายชนิด ความรู ้จากการศึกษางานออกแบบของ Ryuji Nakamura จึงเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาแนวความคิดที่แปลกใหม่และน่าสนใจ ผ่านกระบวนการความคิด การเลือกใช้วศั ดุ รวมไปถึงองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งจะสร้างแรงบันดาลใจ รวมถึงมุมมองใหม่ให้กบั นักออกแบบรุ่ น ใหม่ๆรวมถึงผูท้ ี่สนใจในงานออกแบบได้ไม่มากก็นอ้ ย

วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาถึงชนิดและประเภทของวัสดุต่างๆที่ Ryuju Nakamura ใช้ในงานออกแบบ 2. เพื่อศึกษาถึงวัสดุในงานออกแบบต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นผลิตภัณฑ์ต่างๆหรื องานสถาปั ตยกรรมภายใน 3. เพื่อศึกษาถึงเหตุผล และแนวทางในการเลือกใช้วสั ดุชนิดนั้นๆ 4. เพื่อศึกษาถึงข้อดี-ข้อเสี ยของการเลือกใช้วสั ดุน้ นั

ขอบเขตของโครงการ

1. ขอบเขตทางด้านกายภาพ 1.1 สถาปัตยกรรมภายใน 1.2 ผลิตภัณฑ์แและเครื่ องเรื่ อนต่างๆ 1.3 Installation 2. ขอบเขตทางด้านเนื้อหา 2.1 กระดาษ 2.2 เหล็ก 2.3 ไม้ 2.4 ผ้า 2.5 กระจก 2.6 Polyurethane String 2.7 Polyster film 2.8 Music wire 2.9 Stainless 2.10 Vinyl 2.11 Aluminium 2.12 Concrete

001


ระเบียบวิจยั

- รวบรวมข้อมูล เอกสาร งานออกแบบต่างๆ - เรี ยบเรี ยง วิเคราะห์ขอ้ มูล ในประเด็นต่างๆ ทั้งแนวความคิดในการออกแบบ การเลือกใช้วสั ดุ - สังเคราะห์ขอ้ มูล ข้อดี-ข้อเสี ย - สรุ ปรวม เสนอแนวทางการท�ำไปใช้

ระยะเวลา

วันที่ 14 สิ งหาคม 2557 - 9 ตุลาคม 2557 วันที่ 9 ตุลาคม 2557 - 4 ธันวาคม 2557

: สื บค้นและเก็บรวบรวมข้อมูล : วิเคราะห์ขอ้ มูล สังเคราะห์ขอ้ มูล ข้อดี-ข้อเสี ย และจัดรวมรู ปเล่ม

ประโยชน์ที่ได้รับ

1. ได้ทราบถึงชนิด ประเภท วัสดุต่างๆ 2. ได้ศึกษาแนวความคิดในการออกแบบ สามารถน�ำไปประยุกต์งานออกแบบในอนาคตได้ 3. ได้แนวทางในการเลือกใช้วสั ดุที่เหมาะสมในการออกแบบชิ้นงานต่างๆ 4. ได้ทราบถึงข้อดี-ข้อเสี ย รวมถึงอุปสรรคในการเลือกใช้วสั ดุต่างๆ 5. ได้ทราบถึงเทคโนโลยีต่างๆที่มีส่วนช่วยในการสร้างงานออกแบบให้เป็ นจริ ง 6. ได้ศึกษาถึงแนวโน้มในการออกแบบและเลือกใช้วสั ดุในอนาคต

002


บทที่ 2 : ข้อมูลทัว่ ไป

ประวัติ Ryuji Nakamura

1972 1999 2000-2003 2004

Award

2005 2006 2007 2008 2009

Exhibition

2005 2006 2007 2008

born in Nagano Japan completed the master course of architecture, Tokyo National University of Fine Arts and Music worked at Jun Aoki & Associates established Ryuji Nakamura & Associates

Daikanyama Installation 2005 / winner JCD Design Award 2006 / gold award Good Design Award 2006 / winner JCD Design Award 2007 / grand award Tokyo Designer’s Week 2007 Tokyo Design Premio / winner Nashop Lighting Awards 2007 / excellent prize The Great Indoors Award 2007 / winner Competition of Kumamoto Art Polis West Station Plaza of Kumamoto Station / second prize JCD Design Award 2009 / grand award and gold award Competition of Exhibition Kitanososakuisu / winner

group / Daikanyama Installation / The Loyal Danish Embassy / Tokyo solo / Exhibition Ryuji Nakamura / Prismic Gallery / Tokyo group / DEROLL Commissions Series 1: box / ars gallery / Tokyo group / Exhibition 0, Tokyo Tesigner’s Week / Karajan Platz of Ark Hills / Tokyo group / Phenomenal Resolution - Jpanese Architects in their 30s / INAX GINZA Creative Space / Tokyo solo / Exhibition Ryuji Nakamura / Living Design Gallery / Tokyo 003


2009 2010 2011

group / 100% Design London / Earls Court 2, Earls Exhibition Centre / London group / generation of generativity / hiromiyoshii gallery / Tokyo group / Second Nature / Rundetaarn / Copenhagen group / Seoul Design Olympic / Seoul Olympic Stadium / Seoul group / KIID International Invitation Exhibition / COEX artium / Seoul group / ARCHITECTURE AFTER 1995 / AD&A gallery / Osaka group / PROTOTYPE 03 / DESIGN HUB in Tokyo Midtown / Tokyo group / PAPERcuts / Peel Gallery / Texas group / Color and Form of Architects / Turner Gallery / Tokyo group / Past, Present and Future of Designer’s Collective Housing / Interior Hall of Shinjuku NS building / Tokyo group / Where is Architecture? Seven Installations by Japanese Architects / The National Museum of Modern Art Tokyo / Tokyo group / LLOVE / Daikanyama I Studio / Tokyo group / Cardboard High - made in or-ita / Claska gallery & shop”DO” / Tokyo group / DESIGNING EXHIBITION 2011 / Tenjin Place / Fukuoka group / SPACE OURSELVES / radlab. / Kyoto group / Studying of SMALLNESS / hiromiyoshii, Tokyo group / KENCHIKU | ARCHITECTURE 2011 / Ecole Spéciale d’Architecture / Paris group / Mark-ing / DESIGNTIDE TOKYO 2011, Midtown Hall / Tokyo group / (SHOP) / Raum / Tokyo Daikanyama Installation 2005 / winner

004


Concept and Works

Straight line:

Insect cage Water lily Spring Corn field Pond

Corrugated sheets: Cardboard and wood chair Hechima Nukegara 2 Kuma Mont blanc

Circles:

Bouquet Bench between pillars cylinder

Bends:

Bench between pillars sheet Bang Red whale Catena rhythm Atmosphere Blank room

Curves:

Puddle Pin up Blossom

Cuts:

Snow Dress

Walls:

Foundation Beam Shortcut

The same windows :

Shell House EG House YI

Irregular shapes:

Butterflies Concrete roof Puddles

005


แนวคิดในการออกแบบ Staight Lines

Insect Cage Water Lily Spring Corn Field Pond

An Ordinary Thickness

หากคุณลองพับครึ่ งนึงของกระดาษหลายๆครั้ง และคลี่มนั ออกมา สิ่ งที่คุณได้ คือ รู ปแบบของตาราง คุณอาจจะเชื่อว่าสิ่ งนี้คือ วิธี การในนามธรรม เมื่อเส้นตรงตัดกันเป็ นตาราง, และระนาบถูกแบ่งออกจากกัน แต่หากลองมองให้ลึกลงไป จะพบว่า เส้นที่ตดั กันสร้างพื้น ผิวของเส้นโค้งที่ซบั ซ้อน คุณจะพบว่าพื้นที่รอบๆของเส้นที่ตดั กันเป็ นรอบพับย่น และคุณก็ไม่สามารถเข้าใจได้วา่ ท�ำไมถึงเป็ นเช่นนั้น แต่ในความเป็ นจริ งแล้วคุณได้พบว่ามีสองสิ่ นที่แตกต่างกันเกิดขึ้น คือ เมื่อคุณพยายามที่จะสร้างเส้นตรง แต่สุดท้ายสิ่ งที่คุณได้ กลับมากลายเป็ นเส้นโค้งบนระนาบผิว เมื่อคุณได้รู้ถึงความเป็ นไปของสิ่ งนี้ คุณก็จะเริ่ มเข้าใจธรรมชาติของความหนาและความลึก

Two types of lines

ในความเป็ นจริ งแล้วการสร้างตาราง(grid)ขึ้นมา เป็ นเรื่ องที่ซบั ซ้อน มากกว่าความเรี ยบง่ายของตารางที่เราสามารถรับรู ้ได้ และ มราแน่นอนกว่านั้นคือ ตาราง(grid) เป็ นเพียงแนวความคิด คุณไม่สามารถที่จะเรี ยกมันว่าเป็ นรู ปร่ าง ใดใดเลย แต่เมื่อคุณสร้างตาราง สิ่ งที่ คุณได้กลับเป็ นรู ปร่ าง รู ปร่ างเหล่านี้ไม่ได้เป็ นรู ปร่ างที่คุน้ เคยส�ำหรับสถานิกเท่านั้น แต่ยงั เป็ นสิ่ งที่คุน้ เคยส�ำหรับคนที่เรี ยนคณิ ตศาสตร์ดว้ ย และเมื่อตารางเหล่านี้ปรากฏขึ้นเป็ นรู ปร่ างทางกายภาพที่ชดั เจนขึ้น ปั ญหาหลายๆอย่างก็เกิดขึ้นตามมา ไม่วา่ จะเป็ น ความหนา และพื้นผิว ของจุดตัดระหว่างเส้น ท�ำให้วธิ ีการและโครงสร้างต่างๆมีความจ�ำเป็ นต่อการสร้างตารางนั้นให้เกิดขึ้นจริ ง แม้วา่ บางครั้งที่คุณพยายามมอง ข้าม และเดินหน้าการออกแบบต่อไป แต่สุดท้ายมันก็ปรากฏขึ้นมาให้คุณเห็นอีกครั้ง สิ่ งนี้เป็ นเรื่ องที่น่าสนใจ เนื่องจากสิ่ งเหล่านี้ปรากฏขึ้น อย่างง่ายดายกับคุณ และคุณต้องเผชิญหน้ากับสิ่ งนี้อย่างตรงไปตรงมา ยิง่ คุณพยายามจะควบคุมรู ปร่ างนี้มากเท่าไหร่ มันก็จะยิง่ ต่อต้านคุณ มากขึ้น จนกระทัง่ คุณไม่สามารถที่จะควบคุมมันได้เลย ผลลัพธ์ที่เกิดจากการที่คุณต่อสู ก้ บั เส้นที่คุณพยายามจะควบคุมมัน และเส้นที่คุณไม่ สามารถควบคุมมันได้ จะเกิดเป็ นรู ปร่ างอะไรบางอย่างขึ้นมาในที่สุด สิ่ งเหล่านี้เกิดขึ้นมาเห็นได้จากในอาคารต่างๆ

The way we see an overly familiar building

เมื่อคุณต้องการที่จะสร้างเส้นตรงในอาคาร สิ่ งที่คุณจ�ำเป็ นจะต้องท�ำ คือ เพียงการเขียงผังอาคารด้วยดินสอและไมม้บรรทัด แต่เมื่อ คุณลองท�ำ คุณจะพบว่ามันไม่ได้ง่ายอย่างที่คุณคิดเลย เพราะว่าในความเป็ นจริ งแล้วอาคารมีขนาดใหญ่มาก ซึ่งท�ำให้คุณไม่สามารถที่จะ ละเลยมันได้เลย ในหลายกรณี ของอาคารที่เกิดขึ้นจากเส้นตรง และสิ่ งที่ปรากฎขึ้นนั้นกลับต่างจากที่เขียนไว้ ซึ่งท�ำให้เห็นว่า การสร้างเส้น ตรงนั้นเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งให้ความส�ำคัญและความละเอียดละออกับมันมาก

006


Insect Cage

“ I Thought about an insect cage make up of thin line ” - Ryuji Nakamura

title: insect cage function: insect cage exhibition: deroll commissions series 1: box exhibition period: 31 october - 4 november 2007 site: ars gallery, tokyo material: resin d=0.3mm size: 121x121x105mm price: 1,000,000yen photo: ryuji nakamura

Ryuji Nakamura พยายามที่จะสร้างระยะทางระหว่างแมลงกับภายนอก เพื่อป้องกันไม่ให้ถูกกัด ความหนาแน่นเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆ ตามจ�ำนวนระดับชั้นของเส้นที่ถูกเติม ซึ่งเส้นแต่ละเส้นที่ถูกซ้อนทับกัน ท�ำให้ภายมองไม่เห็นถึงภายใน งานชิ้นนี้ถูกสร้างขึ้นด้วย เรซิ่น ศก. 0.30 cm โดยใช้เทคโนโลยี laser-etching ซึ่งท�ำให้ท้ งั ชิ้นงานไม่มีขอ้ ต่อเลย และการที่ไม่มีขอ้ ต่อชั้นช่วยท�ำให้รูปทรงลูกบาศก์ที่ดูยงุ่ ยากดูเรี ยบงายขึ้นมาทันที โครงของรู ปทรงลูกบากศ์เป็ นเพียงราวๆ 1 เปอร์เซ็นต์ ของปริ มาณทั้งหมดของรู ปทรงภายนอกทั้งหมด และแม้วา่ จะเป็ นเพียง 1 เปอร์เซ็นต์แต่รูปทรงนั้นก็ดูจะใหญ่อย่างน่าแปลกใจ

A study of straigt lines

ในขึ้นต้นความพยายามที่ต้ งั ใจในการสร้างรู ปทรงอะไรก็ได้จากเพียงเส้นตรง หรื ออาจจะเรี ยกว่า controlled line ณ ตอนนี้ เราอาจ จะกล่าวได้อย่างมัน่ ใจว่าพื้นนั้นแบนราบ เมื่อคุณได้ลองพิจารณาว่า โต๊ะและเก้าอี้กบั ขาทั้ง 4 ขาได้ถูกสร้างบนพื้นผิวที่ราบเรี ยบ คุณจะเห็น ได้วา่ พื้นที่วา่ งในการใช้ชีวติ ของเรานั้นได้ขน้ อยูก่ บั เส้นตรง แล้วถถ้าหากว่าทุกสิ่ งแบนราบ ความเปลี่ยนแปลงอะไรจะเกิดขึ้น ?

“ If things were ever fkatter, would something different occer ? ” - Ryuji Nakamura

007


Water lily

“ I Thought about an insect cage make up of thin line ” - Ryuji Nakamura

title: water lily function: bench exhibition title: canon neoreal in the forest in mirano salone 2012 site: superstudio piu art point, via tortona 27, mirano, 20144, italy exhibition period: 17 april - 22 april 2012 material: 2.6mm stainless rod, colored pencil, clear lacquer size: w1600mm d400mm h400mm produce: trunk design: ryuji nakamura & associates manufacture: otti design works, ryuji nakamura & associates

แนวคิดในการออกแบบ Ryuki Nakamura พยายามที่จะสร้างเก้าอี้ จากแนวความคิดของเส้นตรง ที่ ถูกประกอบขึ้นเป็ นรู ปทรงของตารางสามมิติ Ryuji Nakamura ได้เติมสี เข้าไปที่เส้น แต่ละเส้นด้วยดินสอสี แท่งเหล็กสเตนเลสตันแต่และเส้นถูกแบ่งออกเป็ นสี่ สี โดยที่ สี เดียวกันจะถูกทาลงในทิศทางเดียวกัน สี ของเก้าอี้น้ นั ก็จะค่อยๆเปลี่ยนไป เมื่อมอง จากมุมมองที่แตกต่าง เราสามารถมองเห็นได้มากสุ ดเพียงแค่ 3 สี ในเวลาเดียวกัน แต่สีโดยรวมของเก้าอี้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั สัดส่ วนของพื้นผิวของสี แต่ละสี ที่เรามองเห็นได้ ยิง่ เส้นของเหล็กสเตนเลสเล็กเท่าไหร่ สี ที่เรามองเห็นก็จะค่อยๆจางลง จน เหมือนกับว่า สี แต่ละสี บนเส้นนั้นถูกผสมกันจรเป็ นเพียงแค่สีเดียว แนวคิดในการใช้วสั ดุ โดยวัสดุที่ใช้เป็ น stainless steel rod เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.6 มาเชื่อมกัน ด้วย เส้นตารางขนาดเล็ก Ryuji Nakamura อดกังวลไม่ได้วา่ เก้าอี้จะพัง เมื่อมีคนมานัง่ บน เก้าอี้

008


Spring

“ It seems to be empty, but it’s filled with thin line ” - Ryuji Nakamura

title: spring function: screen for projector exhibition title: neoreal in the forest site: superstudio piu art point, via tortona 27, milan, 20144, italy exhibition period: 17 april - 22 april 2012 material: 0.3mm music wire size: w8m d5m h2m produce: trunk screen design: ryuji nakamura & associates image design: nobuhiro shimura space design: hikaru mori photo: ryuji nakamura & associates

งานชิ้นนี้ของ Ryuji Nakamura ประกอบด้วยระนานของตาราง 80x50 จนเป็ นรู ปทรงขนาดใหญ่ แต่ดว้ ยลักษณะเล้นที่บางมาก ท�ำให้แทบจะมองไม่เห็นวัตถุเลย ในมุมมองมี่เส้นแต่และเส้นมาประกอบกันจ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดเป็ นระนาบขึ้นมา และเมื่อ Ryuji Nakamura ได้ส่องแสงเข้าไปที่ตวั วัตถุ เส้นสายจ�ำนวนเหล่านั้นก็ปรากฏขึ้นมา

วัสดุที่ใช้เป็ น สายเปี ยโน ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงแค่ 0.3mm ซึ่งมีความยืดหยุน่ สู ง 009


Cornfield title: cornfield function: installation exhibition title: “where is architecture? seven installations by japaneses architects” exhibition period: 29 april - 8 august 2010 site: the national museum of modern art tokyo material: paper and glue size: 53.90m2 curator: kenjiro hosaka

แนวคิดในการออกแบบ แนวความคิดหลักในการออกแบบคือการใช้เส้นตรง สร้างรู ปทรงขนาดใหญ่ โดยรวมเป็ นแปลนสามเหลี่ยม ที่มีมุม 30 60 และ 90 องศา รู ปทรงรวมของงานสู งเท่ากับความสู งเฉลี่ยของคนทัว่ ไป คือ 160 cm รู ปทรงที่ออกมานั้นเกิดเป็ นความงามที่เกิดจากความสมดุลของ การออกแบบและเทคนิคได้ดี ไม่วา่ จะมองจากมุมไหนก็ตามแต่ เราไม่สามารถที่จะเห็นภาพรวมของรู ปทรงทั้งหมดได้เลย และในมุมมองที่ ต่างกันออกไป รู ปทรงก็จะแตกต่างกันออกไป

แนวคิดในการใช้วสั ดุ ส�ำหรับงานชิ้นนี้ Ryuji Nakamura เลือกใช้กระดาษเป็ นวัสดุในการสร้างเส้นRyuji Nakamura ตัดกระดาษเป็ นชิ้นส่ วนเดียวกัน ทั้งหมดทุกชิ้น และน�ำมาวางกลับหัวประกอบกัน เพื่อจะได้ใช้วสั ดุได้อย่างคุม้ ค่า ชิ้นส่ วนแต่ละชิ้นนั้นถูกเชื่อมต่อกันด้วยกาว ท�ำให้ไม่เห็น รอยต่อใดๆเลยในชิ้นงาน 010


Pond title: pond function: hotel “llove” by lloyd hotel period: 23 october ~ 23 november 2010 site: daikanyama i studio, 1-36-10 ebisu-nishi, sibuya-ku, tokyo material: polyurethane string size: 37m2 architect director: jo nagasaka

แนวคิดในการออกแบบ โปรเจคชิ้นนี้เป็ นโปรเจค renovated อาคารเก่า ให้เป็ น โรงแรมในช่วงระยะเวลาที่จำ� กัด Ryuji Nakamura ตั้งใจออกแบบ โดยที่คงลักษณะความเป็ นญี่ปุ่นของอาคารเดิมไว้ และได้เพิ่มพื้นที่คน สามารถเดินผ่านได้ ส่ วนความสู งของพื้น Ryuji Nakamera ได้ค้งั ค�ำถามว่า จริ งๆ แล้วความสู งนั้นความขึ้นอยูก่ บั อะไร ลักษณะท่าทางวิธีการใช้งานของ คน หรื อว่าการใช้ชีวติ ประจ�ำวันของเรา ที่ส่วนใหญ่แล้วเราได้พ้ืนที่ที่ มีความสู งตั้งแต่ 70cm ขึ้นไป และเข้าได้นำ� เส้นตรงเข้าไปในห้อง เพื่อ แบบห้องออะเป็ นสองส่ วนในระดับที่ต่ำ� กว่า 70 cm และสู งกว่า แนวคิดในการใช้วสั ดุ วัสดุที่ถูกท�ำมาใช้เป็ นเส้นตรงเพื่อแบ่งห้องที่ความสุ งคือ เชือกโพลียรู ิ เทน (polyurethane string) เส้นแต่ละเส้นถูกเรี ยงกันเป็ น ระเบียบราวกับว่า พื้นที่วา่ งสองส่ วนนั้นถูกตัดขาดจากกันโดนสิ้ นเชิญ แต่ดว้ ยลักษณะของเชือกที่ถูกยึดเพียงที่ปลายทั้งสองข้าง บนผนังสอง ด้านของห้อง เราสามารถที่จะกางตัวเชือกออก เพื่อสร้างที่วา่ งที่เชื่อมต่อกันระกว่างด้านบนและล่าง

011


Corrugated Sheet

Cardboard and wood chair Hechima Nukegara Mont blanc

Cardboard and Wood chair title: function: exhibition title: period: site: material: tool: size: curator: design: photo:

cardboard and wood chair chair cardbord high 30 october ~ 21 november 2010 claska gallery & shop “do”, tokyo cardboard t5mm, wood stick d4mm or-ita cutter by makoto orisaki w460 d405 h660 sh420 eizo okada ryuji nakamura & associates ryuji nakamura & associates

เก้าอี้ที่ Ryuji Nakamura ต้องการเล่นกับความรู ้สึกคน ที่มองเห็นแต่ cardboard ที่ดูบอบบาง เหมือนว่าจะนัง่ ไม่ได้ แต่ได้ซ่อน โครงสร้าง wood strick ไว้ในช่องว่างระหว่าง cordboard เพื่อความแข็งแรง

012


Hechima title: date: site: function: material: size: award: photo:

hechima november 2005 royal danish embassy in japan chair plywood t5.0 w700 d700 h700 daikanyama installation 2005 winner ryuji nakamura

งานชิ้นนี้ประกอบด้วย ชิ้นส่ วนทั้งหมด 18 ชิ้น ในการผสมกันระหว่างแผ่นที่เป็ นเส้นโค้งทั้งหมดขึ้นมาเป็ นเก้าอี้ Ryuji Nakamura ได้สร้างลายที่เป็ นรู ปแบบตามธรรมชาติข้ ึน วัสดุที่นำ� มาใช้เป็ นไม้อดั ดัด ชิ้นส่ วนแต่ละชิ้นถูกยึกเข้าด้วยกันด้วยสลักเกลียว

A study of corrugated sheets การซ้อนทับกันของแผ่นลูกฟูก(corrugated sheets) เราสามารถสร้างบางสิ่ งที่มีลกั ษณะเหมือนกันกับรังผึงขึ้นมาได้ หรื อการเจาะลง

บนพื้นผิวก็สร้างมาท�ำได้เช่นกัน เมื่อคุณประกอบแผ่นแต่ละแผ่นขึ้น ราวกับว่าคุณก�ำลังสร้างโครงสร้างถักขึ้น แม้วา่ มันจะเป็ นเส้นโค้ง แทนที่จะเป็ นเส้นตรงก็ตาม ความน่าสนใจของลูกฟูก (corrugated sheets) คือการที่มนั เป็ นอะไรบางอย่างที่อยูร่ ะหว่าง ระนาบ กับทรงทึบดัน แผ่นโค้งนี้ค่อยข้างมีความขัดแย้งในตัวเอง หากมองจากไกลๆมันก็เป็ นเพียงแค่ระนาบแบนๆ แต่ถา้ หากเรามองใกล้ข้ ึนมา แผ่นนี้จะ ดูเหมือนแป็ น ripped solid มันค่อนค้างยากหากเราจะต้องจัดการกับอะไรที่เป็ นทรงทึบตัน แต่เมื่อเราลองเปลี่ยนมันให้เป็ นระนาบอะไรบาง อย่าง หลายๆอย่างก็สามารถจัดการได้ง่ายขึ้น แผ่นลูกฟูก(corrugated sheets)ท�ำหน้าที่เป็ นเหมือนกับสะพาน เชี่อมแผ่นโค้งสองแผ่นเข้าด้วย กัน

Ryuji Nakamura กล่าวว่า “แม้วา่ รู ปทรง ของมันอาจดูซบั ซ้อน แต่แนวความคิดในการออกแบบนั้นเรี ยบง่ายมาก”

013


Hechima 4 title: date: site: function: material: size:

hechima 4 september 2008 london chair paper t2.4 w900 d900 h750

เเก้าอี้ hechima 4 นี้ได้พฒั นามาจาก hechima ตัวแรก ที่ใช้วสั ดุเป็ น ไม้อดั แต่เก้าอี้ตวั นี้ได้เปลี่ยนวัสดุเป็ นกระดาษ ที่มีความแข็งแรง เมื่อรวมกับ ลักษณะของโครงสร้างแบบ hachima ท�ำแข็งแรง และสามารถใช้เป็ นวัสดุ แทนไม้ได้เลย และนอกจากนี้ขอ้ ดี คือ น�้ำหนักที่เบาลง

Hechima 5 title: date: site: exhibition : function: material: size:

hechima 5 8 august - 20 september 2009 undetaarn koebmagergade 52a dk-1150 copenhagen denmark second nature (danish - japanese design) stool paper w470 d470 h400

แนวคิดในการออกแบบ เป็ นเก้าอี้อีกหนึ่งตัวของ Ryuji Nakamura ที่ใช้แนวคิดของแผ่นลูกฟูกในการออกแบบ โดยรู ปทรงของเก้าอี้เป็ นเพียงรู ปทรงง่ายๆ ไม่มีพนักพิงหลังเหมือนกันกับ hechima ตัวก่อนๆ แนวคิดในการใช้วสั ดุ วัสดุที่ใช้ในการสร้างคือ กระดาษ (vulcanized fibre) ท�ำให้เก้าอี้ที่ไม่มี พนักพิงนี้มีน้ ำ� หนักเบามาก และการเชื่อมต่อแผ่นลูกฟูแต่ละแผ่นเข้าด้วยกัน

014


Nukegara title: completion: site: exhibition: function: material: size: manufacture: award: photo:

nukegara 2 26 july 2009 nakasatsunai-mura kawanishi-gun hokkaido exhibition kitanososakuisu 2009 garden stool aluminum t2.5 w600 d600 h450, w540 w540 w400, w470 w470 h350 ochiai seisakusho competition of exhibition kitanososakuisu, winner ryuji nakamura

เก้าอี้ที่ไม่มีพนักพิง ซึ่งได้แนวความคิดมาจากชิ้นงาน “hechima” โดยเปลี่ยนวัสดุเป็ นอลูมิเนียม

Kuma title: date: site: function: material: size: photo:

kuma november 2006 prismic gallery healing paper 28x21x30cm ryuji nakamura

งานชิ้นนี้เป็ นการผสมกันขอแผ่นลูกฟูก(corrugated sheet) กับรู ปทรงของหมี 015


Circle

Bouquet bench between pillars cylinder

Bouquet title: function: date: site: material: size: design:

bouquet trophy for vogue women of the year 2010 22 november 2010 grand hyatt tokyo paper w181.5 d181.5 h181.5 ryuji nakamura & associates

งานชิ้นนี้ถูกท�ำขึ้นเพื่อเป็ นถ้วยรางวัลในงานประกวด โดยรู ปทรงทั้งหมดเกิดจากการประกอบกันขึ้นของรู ปทรง “วงแหวน” ที่ชิ้นส่ วน แต่และขึ้นยึดติดกันด้วยรอยบากของแต่ละชิ้น เมื่อมองถ้วยรางวัลจากองศาที่แตกต่างกัน เกิดเป็ นมุมมองที่หลากหลาย

the study of circles เมื่อเราพยายามจะสร้างรู ปทรงบางอย่างที่น่าสนใจด้วยชิ้น ส่ วนบางอย่างเพียงชิ้นเดียว คุณจะเลือกชื้นส่ วนแบบใด ? ส�ำหรับ วงกลมสองวง คุณจะสามารถสร้างวงแหวนขึ้นมาได้ และเกิดเป็ น ช่องว่างขึ้น หรื อในทางกลับกัน การเชี่อมสี่ เหลี่ยม หรื อสามเหลี่ยม ด้วยเส้นตรง คุณจะสร้างรู ปทรงที่แบนราบ หรื อรู ปทรงสามมิติ ที่ไม่ ได้มีช่องว่างระหว่างชิ้นส่ วนเหมือนกันกับวงกลม

016


Bends

bench between pillars sheet Bang Red whale Catena rhythm Atmosphere Blank room

Bench between pillars sheet title: function: completion: site: material: size: total direction: director: design:

bench between pillars rest space 26 june 2010 7f seibu ikebukuro flagship store, minamiikebukuro, toshima-ku, tokyo vinyl sheet for floor w8270 d1273 h2330 sh450 construction management room, sogo & seibu co.,ltd. masaaki hiromura ryuji nakamura

ม้านัง่ ตัวนี้ดูราวกับว่าถูกแขวนลงมาจากเพดาน และรู ปทรงของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ขึ้นอยูก่ บั ท่านัง่ ม้านัง่ ตัวนี้ไดเสร้างพื้นที่ส่วนตัว ให้กบั ภายในพื้นที่สาธารณะ A Study of Bending อะไรคือหัวใจของการสร้างบางสิ่ งบางอย่างในพื้นที่วา่ งด้วยบริ บทที่เบาบาง เหมือนกันกับห้องแสดงผลงานที่ประกอบด้วย ผนังที่ปรับเปลี่ยนได้ และไม่มีหน้าต่างในห้อง ยกตัวอย่างเช่น การโค้งงอที่เกิดขึ้นเมื่อคุณน�ำเชือกมาแขวนไว้จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ด้วย โรงโน้มถ่วงของโลก ทึกคนสามารถรับรู ้การมีอยูข่ องแรงโน้มถ่วงที่มีอยูท่ ว่ั โลกได้เป็ นอย่างดี ท�ำให้เส้นโค้งนั้นมีแรงดึงดูหรื อความน่าสนใจ เพราะว่าเส้นโค้งท�ำให้เรานั้นรับรู ้ถึงการมีอยูข่ องแรงโน้มถ่วง

017


Bang title: bang function: exhibition space exhibition title: costume national:25 years exhibition period: 1st september - 25th october 2011 site: cnac lab, costume national aoyama complex, 5-4-30 minami-aoyama, minato-ku, tokyo 107-0062 japan event: talk event with teppei fujiwara and ryuji fujimura at cnac lab on 20 september 2011 material: ribbon size: 130.27m2 client: costume national japan space design: ryuji nakamura & associates

เป็ นนิทรรศการที่ถูกสร้างพื้นที่วา่ ง อันมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างให้เราเผชิญหน้ากันกับเสื้ อผ้าของแต่ละบุคคล ด้วยการใช้สายริ บบิ้นที่ กว้างเพียง 18 มม. ระหว่างพื้นกับเพดาน สร้างช่องว่างระหว่างริ บบิ้นแต่ละเส้น10 มม. ริ้ บบินแต่ละเส้นถูกท�ำให้โค้ง เกินเป็ นเส้นโค้งที่เหมือน ก�ำลังเคื่อนไหว นอกจากนี้ริบบินยังเกิดการเคลื่อนที่ได้ขา้ งหน้าและหลังจากทิศทางของลมจากเครื่ องปรับอากาศ และบางครั้งมันเป็ นเหมือนกัน กับม่านบังตา

018


Red Whale title: red whale function: installation for new year site: tgs building, 8-8-3, ginza, tyuo-ku, tokyo exhibition period: 28 december 2012 - 24 january 2013 material: ribbon 24mm size: w2090mm d24mm h5155mm x 2 client: shiseido lighting: izumi okayasu manufacture: gendai-kobo

เป็ นการใช้ริบบิ้นเช่นเดียวกันกับงาน Bang การสร้างมุมมองที่แตกต่างให้กบั หน้าต่าง ของร้านค้า ด้วยลักษณะของริ บบิ้น สร้างความโปร่ งของการมองเห็นที่ข้ ึนอยูก่ บั ระยะทาง

019


Catenarhythm title: date: site: function: material: size: director:

catenarhythm from 30th october to 11th november 2008 living design gallery installation for ribbon project by mina perhonen ribbon designed by mina perhonen 80m2 eizo okada

สร้างที่วา่ งเพื่อแสดงริ้ บบิน โดยการใช้ช่องตารางบนเพดาน เพื่อแขวนริ้ บบินและปล่อยให้มนั ทิ้งตัวตามแรงโน้มถ่วง แต่ริ้บบินที่ถูก แขวงอย่างมีระเบียบ ได้สร้างให้เกิดพื้นที่วา่ งระหว่างริ้ บบินที่ไม่เป็ นระเบียบ คนที่เข้าไปชมงาน เดินข้ามริ้ บบินแต่ละเส้นราวกับว่าเราก�ำลังเดิน อยูใ่ นป่ า

หลังจากได้เข้าไปภายในริ้ บบิน ก็จะค้นพบว่า ริ้ บบิน แต่ละเส้นนั้นมีการออกแบบที่แตกต่างกันออกไป ริ้ บบิ้นส่ วนใหญ่ นั้นเป็ นสี ขาว แต่จะมีสอดแทรงริ้ บบินสี เข้าไป โดยริ้ บบินสี มี ทั้งหมด 4 แบบ ออกแบบโดย mina perhonen ริ้ บบินทั้ง 4 สี เป็ นสี ของผลไม้ที่อยูใ่ นป่ า

020


Atmosphere title: date: site: function: material: size: director: production: award:

atmosphere 7,8th february 2009 new national theatre, tokyo scenery of opera “le grand macabre” mold ribbon by yoko ando w16.4m d17.5m h9.0m yasuki fujita the tokyo chamber opera theatre jcd design award 2009, gold award

แนวความคิดในการออกแบบและการเลือกใช้วสั ดุ งานออกแบบเวทีแสดงส�ำหรับโอเปร่ าโดยนักประพันธ์ร่วมสมัย ที่ โรงละครแห่งชาติ บนเวทีน้ นั ไม่มีผนังหรื อพื้นที่สามารถปรับเปลี่ยนระดับได้ Ryuji Nakamura จึงเลือกใช้ราวที่สามารถแขวนได้บริ เวณเหนือเวที เส้นโค้งที่ ดูเคลื่อนไหวของริ้ บบิน ถูกแขวนจากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดบนราว ทิ้งตัวห้อยลง สู่ พ้นื เวทีตามแรงโน้มถ่วงของโลก เขาพยายามที่เติมเต็มให้กบั พื้นที่วา่ งบนเวที ด้วยเส้นโค้งที่เต็มไปด้วยแรงโน้มถ่วง เส้นโค้งทั้ง 242 ถูกห้อยขึ้นไปในระดับ ความสู ง 11 เมตร และปล่อยให้ทิ้งตัวลงมา การจัดวางของเส้นโค้งบนรู ปแบบ ของตารางที่บิดเบี้ยว ที่ตอ้ งการเน้นมุมมอง ความลึกของเวที ฉากบนเวทีท้ งั หมดนี้เกิดจากการเคลื่อนที่และเปลี่ยนรู ปร่ างไปของ ริ้ บบินอย่างรวดเร็ ด และอย่างช้าๆของราวฉากทั้งหมดในเวลาเดียวกัน

021


Blank room

title: blank room function: exhibition space for designtide tokyo 2010 period: 30 october ~ 3 november 2010 site: midtown hall, tokyo material: steel t1.6mm size: 1260m2 design: ryuji nakamura & associates structural design: ohno japan

งานออกแบบส�ำหรับการจัดกิจกรรมส�ำหรับงานออกแบบใน ห้องโถงขนาดใหญ่ แนวความคิดในการออกแบบและเลือกใช้วสั ดุ แนวความคิดเกิดจาก Ryuji Nakamura ลองจินตนาการถึง พื้นที่วา่ งที่เหมือนกันกับพุม่ ไม้ขนาดใหญ่ โดยวัสดุที่นำ� มาใช้คือ แผ่น เหล็กสเตนเลส ในห้องที่มีความสู งของเพดาน 7.5 เมตร แผ่นเหล็กส เตนเลสถูกวางตัวเป็ นรู ปทรงเหมือนกับตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น ที่มีความ หมายว่า “คน” โดยรู ปทรงที่เกิดขึ้นท�ำให้แผ่นเหล็กสเตนเลสอยูไ่ ด้โดย อาศัยตัวมันพิงกันเอง และด้วยแรงโน้มถ่วงก็ทำ� ให้แผ่นนั้นเกิดการแอ่น ตัว เนื่องจากข้อจ�ำกันที่ไม่สามารถท�ำอะไรกับเพดานหรื อผนังได้เลย แผ่นเหล็กสเตนเลสสองแผ่นถูกยึดไว้เพียงแต่จุดด้านล่างเพียงจุดเดียว และส่ วนปลายด้านบนอาศัยการพิงจากอีกแผ่นหนึ่ง

022


การจัดว่างเรี ยงตัวกันของแผ่นแต่ละแผ่น เปรี ยบเหมือนกับการวาดตารางขึ้นกลางอากาศอย่าง ละเอียดละออ ท�ำให้เกิดที่วา่ งระหว่างตารางนั้น เป็ น เหมือนกับทางเดินที่ขนานกันเป็ นแนวยาว และชิ้นงาน ต่างๆก็จะถูกน�ำมาจัดวางตามทางเดินนี้

023


Pinup title: date: site: function: material: size:

pinup january 2007 nagareyama chiba optician paper 104m2

แนวความคิดในการออกแบบ แนวทางในการออกแบบเริ่ มจาก Ryuji Nakamura ตั้งค�ำถาม ว่า เขาจะสามารถสร้างชั้นว่าของอย่างไร โดยที่ไม่มีรูปทรงของชั้นว่าง ของอยูเ่ ลย เกิดการน�ำกระดาษมาดัดโค้ง พอที่จะสามารถวางแว่นตา และยึกแว่นตาไม่ให้หล่นได้

แนวความคิดในเลือกใช้วสั ดุ Ryuji Nakamura ต้องการที่จะแสดงลักษณะของ post it จึง เลือกใช้กระดาษ (vulcanized fibre) ที่มีความหนา t1

024


Blossom title: date: site: function: material: size: award:

blossom 6 february 2009 les halles de saison sage 1-28 takamiyahigashi matsumoto-shi nagano private dining in wedding hall stainless steel t0.1 30m2 jcd design award 2009, grand award แนวคิดในการออกแบบ งานชิ้นนี้เป็ นการปรับปรุ งห้องห้องหนึ่งในห้องจัดงาน แต่งงาน ซึ่งเป็ นพื้นที่สำ� หรับนัง่ รับประทานอาหารอย่างสบายๆ โดยที่หอ้ งเดิมนั้นเป็ นห้องสี ขาวที่ประดับด้วยลวดลายของดอกไม้ ท�ำให้ Ryuji Nakamura อยากที่จะรักษารู ปแบบของเดิมไว้

แนวคิดในการเลือกใช้วสั ดุ วัสดุที่นำ� มาใช้คือ แผ่นสเตนเลส ที่บางเพียง 1 mm เพื่อให้แผ่นสเตรเลสที่ถูก เลเซอร์คดั นั้นเกิดการโค้งงอขึ้นมาเล็กน้อย ด้วยคุณสมบัติของวัสดุน้ ี ท�ำให้ได้มาซึ่ง แผ่น สเตนเลสรู ปดอกไม้สีขาว ที่ถูกน�ำไปติดบนผนังห้องทั้งห้อง สเตนเลสถูกท�ำให้เป็ นสี ขาว เนื่องจากสิ่ งที่ตอ้ งการให้ปรากฏขึ้นบนผนังนั้นคือ แสงและเงา หากดูภาพโดยรวม ของผนังแล้ว เราแทบจะรู ้เลยว่า แผ่นสเตนเลสนั้นถูกน�ำไปแปะ แต่มนั เหมือนกับว่า แผ่นสเตนเลสนั้น ได้โค้งงอออกมาจากผนังเองอยากเป็ นธรรมชาติ

the study of curves ถ้าคุณตัดแผ่นเหล็กบางๆ ด้วยเลเซอร์ ขอบของมันจะโค้งเล็กน้อยตามความร้อน ถ้าคุณ เกี่ยวกระดาษกับก�ำแพงด้วยตะขอ กระดาษจะ ค่อยๆ โค้ง และการโค้งเหล่านี้น้ นั ต่างงดงามในตัว มันเอง แต่ที่สำ� คัญไปกว่านั้นคือ การเกิดช่องว่าง และเงาระหว่างวัตถุกบั โต๊ะหรื อก�ำแพง ความ สัมพันธ์ที่ชดั เจนระหว่างรู ปร่ างและปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นสามารถท�ำให้เกิดเป็ น ความงามที่น่า ประทับใจขึ้นได้ 025


Cuts

Snow Dress

Snow title: date: site: function: material: size: award:

snow/jin’s global standard aoyama march 2006 kita-aoyama tokyo optician fabric by yoko ando 50m2 good design award 2006 winner, jcd design award 2006 gold award

แนวคิดในการออกแบบ Ryuji Nakamura ออกแบบโดยมีความคิดที่จะสร้างที่แขวนแว่นด้วยการตัดออกให้เป็ นรู ผนังแสดงแว่นตาขนาดใหญ่ ที่มีแว่นตา จ�ำนวนกว่า 1,000 แขวนอยูาบนผนัง โดยที่ไม่จำ� เป็ นจะต้องมีตูส้ ำ� หรับวางแว่นอยูเ่ ลย แนวคิดในการเลือกใช้วสั ดุ แนวความคิดหลักคือการตัดออก Ryuji Nakamura ได้ ทดลองหาวัสดุที่เหมาะสมกับการแขวนแว่น คือ ผ้า และได้ทำ� การ เจาะผ้าเป็ นรู ดว้ ยแม่พิมพ์ ผ้านั้นถูกขึงตึงด้วยการยึดโดยใช้เทปตีน ตุก๊ แก(velcro tape) ยึดเข้ากับโครงที่ต่ออกมาจากผนัง และให้แสง สว่างผ่านทะลุผา้ ออกมาจากด้านหลัง ผนังผ้าส�ำหรับแสดงสิ นค้านี้ อาจไม่สามารถเรี ยกได้วา่ เป็ นเครื่ องเรื อน อาจเรี ยกได้วา่ เป็ นผนังที่ ดูไม่มีกรอบมากกว่า มีเพียงแค่แว่นตาที่ถูดแสดงบนพื้นสี ขาว เหมือนกันกับหิ มะ

026


Walls

Foundation Beam Shortcut

Foundation title: date: site: function: material: size:

foundation/jin’s global standard kobe october 2006 kobe hyogo optician and furnishing shop concrete, plywood 170m2

แนวความคิดในการออกแบบ Ryuji Nakamura เริ่ มการออกแบบด้วยแนวความคิดที่วา่ แทนที่จะให้ความส�ำคุญกับการเลือกตูส้ ำ� หรับแสดงแว่นตา เราลอง ออกแบบร้านให้มนั เป็ น อย่างที่มนั เคยเป็ น อาคารเดิมที่กำ� ลังก่อสร้างอยู่ นั้น ไม่ได้มีผนังสู งอยูเ่ ลย เป็ นเพียงฐานราก หรื อผนังที่สูงไม่เกิน 1 เมตร ซึ่งลักษณะมุมมองของความสู งแบบเช่นนี้สามารถสร้างความน่าสนใจ ขึ้นได้ แนวความคิดในการเลือกใช้วสั ดุ วัสดุน้ นั เลือกใช้วสั ดุอย่างที่มนั เป็ น คือ คอนกรี ต บริ เวณพื้น และผนังเตี้ยส�ำหรับแสดงสิ นค้า ผสมกันกับไม้อดั ในบริ เวณอื่นๆ

027


Beam title: beam function: exhibition space exhibition title: feel and think : a new era of tokyo fashion site: tokyo opera city art gallery, 3-20-2 nishi-shinjuku, shinjuku-ku, tokyo 163-1403 japan exhibition period: 18 october - 25 december 2011 event: talk with yoko takagi and motoaki hori at 14:00-16:00 on 13 november material: steel size: 886.14m2 client: tokyo opera city cultural foundation curator: yoko takagi, hiroshi narumi, mariko nishitani, motoaki hori, yuki sayama space design: ryuji nakamura & associates structural design: ohno japan construction: inoue industries

นิทรรศการที่ถูกออกแบบเพื่อการสร้างพื้นที่วา่ งส�ำหรับแสดง ผลงานของนักออกแบบแฟ่ ชัน่ ทั้งหมด 10 คน พื้นที่วว่างในนิทรรศการ ถูกแบ่งออกเป็ นส่ วนย่อยจ�ำนวนมาก ซึ่งนักออกแบบสามารถเลือกพื้นที่ ได้มากตามเท่าที่ตอ้ งการ

ในการออกแบบครั้งนี้มีขอ้ จ�ำกัดคือ ไม่สามารถที่จะท�ำอะไร กับพื้นและเพดานได้ Ryuji Nakamura จึงเลือกใช้ผนังมาออกแบบ Ryuji Nakamuraได้นำ� คานเข้ามาใช้ โดยวางในระดับสายตา ท�ำให้ บริ เวณนั้นถูกบดบังไป แต่วา่ พื้นที่ส่วนบน และส่ วนล่างของระดับเส้น สายตานั้นก็ได้ปรากฏขึ้น

028


วัสดุที่นำ� มาใช้น้ นั เป็ นเหล็กกล่อง ซึ่งความยาวตลอดคาน ความลึกของคานคือ 40 cm. แต่ละ เส้นนั้น มีน้ ำ� หนักถึง 300 กิโลกรัม โดยจุดที่รับน�้ำหนักทั้งหมดของคานมีเพียงแค่สองจุดที่บนผนัง เท่านั้น เมื่อมาคนเข้าไปใช้ภายในนิทรรศการ ด้วยระดับความสู งของคานที่บงั บริ เวณหน้าพอดี ท�ำให้ ราวกับว่าคนที่เข้าไปใช้งานเป็ นส่ วนหนึ่งของงานแสดงนิทรรศการเช่นกัน

เมื่อไม่มีอะไรที่มาขัดขวางการมองภายในพื้นที่วา่ งนี้ ที่วา่ งใน ส่ วนบนและว่างก็ดูเหมือนก�ำลังขยายตัวกว้างเพิ่มมากขึ้น

Ryuji Nakamura พยายามที่จะสร้างพื้นที่วา่ ง เพื่อให้เกิดมุม มองในลักษณะที่แตกต่างออกไปอย่างที่เป็ น คือ bird’s eye view

029


ในการเคลื่อนที่ผา่ นที่วา่ งในแต่ละส่ วนนั้น คนที่เข้าไปใช้งานจะ ต้องเคลื่อนที่ผา่ นด้านใต้คานนั้น โดยที่คานทั้งหมดนั้นดูเป็ นอิสระออกจากกัน โดยที่ไม่มีรายต่อ ใดๆบนคานที่แสดงให้เห็นเลย

บางครั้งนั้นคานก็ประพฤติตวั ราวกับเป็ นรั้วที่มน่ั คง และในบางครั้งคานก็ดูเหมือนเป็ นเพียงระนาบหนึ่งที่ติดอยูบ่ นผนัง ขึ้นอยูก่ บั การมองเส้นคานในมุมมองที่แตกต่างกัน

030


Shortcut title: date: site: function: material: size: award:

shortcut/jin’s global standard nagareyama march 2007 nagareyama chiba optician wall 104m2 jcd design award 2007 grand award, the great indoors award 2007 winner, nashop lighting awards 2007 excellent prize

ร้านขายแว่นที่ Ryuji Nakamura ในออกแบบชิ้นนี้ ได้ให้ความส�ำคัญกับความน่าสนใจของมุมร้าน ซึ่งร้านนี้ต้ งั อยูใ่ นบริ เวณทางสี่ แยก ผูค้ นสามารถเลือกที่จะเข้าร้านได้ ไม่วา่ จะจากทางซ้ายขวา หรื อจากทุกทิศทาง ภายในร้านประกอบไปด้วยเพียงทางเดินที่เป็ นลักษณะแถวยาว ที่ วางตัวทะแยงมุม ตลอดทั้งสร้าง เพื่อที่จะสร้างทางลัดให้เกิดขึ้นภายในร้าน ซึ่งเป็ นความน่าตื่นเต้นที่เกิดขึ้นเมื่อร้านขายแว่น ประกอบขึ้นเพียง จากช่องทางเดิน (aisle)

031


ร้านขายแว่นร้านนี้ต้ งั อยูใ่ นห้างสรรพสิ นค้าย่านดังใน โตเกียว ด้วยอารออกแบบที่เป็ นเอกลักษณ์ทำ� ให้ร้านนี้นงั่ ดูแตก ต่างจากร้านค้าอื่นๆสิ้ นเชิง โดยที่ไม่จำ� เป็ นต้องมีป้ายชื่อร้าน ขนาดใหญ่หรื อป้ายที่มีสีสนั โดดเด่นกว่าร้านอื่นๆ ภายในประกอบด้วยลักษณะที่โดดเด่น คือ ทางเดินที่กว่าง เพียง 3 ฟุต หรื อราวๆ 90 cm และความสู ง 11 ฟุต หรื อ 3.3 เมตร การน�ำผนังที่ต้ งั เรี ยงกัน โดยที่ทะแยงมุม 45 องศา และสร้าง ทางลัด เหมือนเป็ นการเชิญชวนให้คนเข้าไปเดินเลือกซื้อสิ้ นค้า

โดยปกติแล้ว เราจะไม่เดินเข้าไปในร้านเหล่านี้ หากไม่ ได้มีเป้าหมายที่จะซื้อสิ นค้านั้นตั้งแต่แรก ในการสร้างร้านที่ ไม่มีประตูอยูเ่ ลย เป็ นเหมือนกันกับสร้างร้านที่ดูเป็ นกันเอง และเชิญชวนให้คนผ่านเข้าและรู ้สึกอยากจะลองสวมแว่นกว่า 1,500 อันที่วา่ งอยูถ่ ายในร้าน สิ นค้าถูกว่างขนาบทางเดินแคบๆสองข้าง และด้านใน ของทางเดินนั้นเป็ นห้องรู ปตัวแอลโดยที่ดา้ นหนึ่งนั้นเป็ นพื้นที่ พักคอยและเป็ นส่ วนส�ำหรับการวัดสายตา และในอีกด้าน หนึ่งเป็ นส่ วนของของพนักงานที่คอยดูแลบริ การลูกค้า

the study of walls

ลักษณะของก�ำแพงมีความพิเศษและแตกต่างจากงาน สถาปั ตยกรรมในท้องที่อื่นๆ การเกิดช่องว่างอันน่าสนใจของ สิ่ งก่อสร้างที่แข็งแรงนี้ซ่ ึงส่ งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่น่าประหลาด ใจสองประการเป็ นอย่างมาก ประการแรกในด้านการมองเห็น เราไม่สามารถมองเห็นอีกฝั่งได้ และในขณะเดียวกันทางด้าน กายภาพเราก็ไม่สามารถเข้าถึงฝั่งตรงข้ามได้เช่นกัน แต่ถา้ คุณ สร้างก�ำแพงด้วยวิธีอื่นคุณจะสามารถสร้างให้สามารถมองเห็น อีกฝั่งได้โดยที่ไม่สามารถเข้าถึงมัน หรื อสามารถไปยังอีกฝั่ง ทั้งๆ ที่มองไม่เห็น โดยลักษณะดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องและ ขึ้นอยูก่ บั มุมมองที่หลากหลาย 032


The same windows

Shell House yi

Shell title: date: site: function: material: size:

shell 2008 nerima-ku tokyo collective housing concrete 690m2

ในการออกแบบชิ้นนี้ เกิดจากแนวความคิดของ Ryuji Nakamura ที่วา่ อาคารนั้นจะเป็ นอย่างไร หากทั้งอาคารนั้นประกอบด้วยเพียง รู ปแบบของห้องที่เป็ นแบบเดียวกันทั้งอาคาร

นอกจากห้องแต่ละห้องที่เหมือนกัน หน้าต่างของอาคารทั้ง อาคารก็มีลกั ษณะเพียงแบบเดียวและขนาดเดียวเท่านั้น ไม่วา่ จะเป็ นใน ห้องครัว หรื อว่าจะห้องน�้ำก็ตาม ด้วยลักษณะของหน้าต่างที่เหมือนกัน ท�ำให้เราเกิดความพยายามที่จะการสังเกต หรื อมองเข้าไปภายในมาก ขึ้น

รู ปด้านของอาคารที่ประกอบด้วยหน้าต่างเพียงแบบเดียว the Study of the windows จะเกิดอะไรขึ้นถ้ารู ปร่ างและขนาดของหน้าต่างภายในบ้าน เหมือนกันหมด ในบ้านส่ วนใหญ่น้ นั ใช้ขนาดและรู ปร่ างของหน้าต่าง ที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยูก่ บั สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ของแต่ละห้อง โดยค�ำนึงถึงต�ำแหน่ง ทิศทาง และขนาดของห้องนั้นๆ ด้วย ในทางกลับกันถ้าทั้งบ้านใช้หน้าต่างที่มีขนาดและรู ปร่ างเหมือน กันหมดจะให้ความรู ้สึกแบบไหน? เสน่ห์อีกประการของ สถาปั ตยกรรมนั้นคือ สามารถช่วยท�ำให้เราควบคุมความสัมพันธ์ ระหว่างตัวเรากับสภาพแวดล้อมได้ 033


Irregular Shapes

Butterflies Concrete roof Puddles

Concrete Roof title: concrete roof function: roof exhibition title: “space ourselves” exhibition period: 28th april - 15th may 2011 site: radlab. kyoto material: concrete (model/plaster) size: 19.14m2

แนวความคิดในการออกแบบและการเลือกใช้วสั ดุ เป็ นชิ้นงานการทดลองของ Ryuji Nakamura ส�ำหรับโครงสร้างหลังคาคอนกรี ต ที่ต้ งั ใจจะขยายพื้นที่ออกไปถึง 19.14 ตารางเมตร ด้วยโครงสร้างเสาอัน วางตัวกันเป็ นรู ปสามเหลี่ยม คานถูกวางพาดบนเสา แบ่งการถ่ายเป็ นลักษณะสองทิศทาง กระจายลงสู่ คาน และเสาในทาง ตั้ง โมเดลนี้เป็ นเพียงแค่การทดลอง โมเดลมีขนาดเล็กเทียบเเท่ากับโต๊ะ ท�ำขึ้นจากโมเดลพลาสเตอร์ โครงสร้างจริ งนั้นเป็ นคานแบบคอนกรี ตเสริ มเหล็ก โดยที่เป็ น ลักษณะโครงสร้างแบบโครงแข็ง และการที่มีเสาเพียงสามต้น ค่อนค้าง เป็ นเรื่ องยากที่จะท�ำให้เรารับรู ้ถึงการโอบล้อมของที่วา่ ง หรื อทิศทาง ต่างๆ รู ปทรงโดยรวมนั้นประกอบขึ้นจากเส้นตรงและเส้นโค้ง ในมุม มองที่แตกต่างกัน ท�ำให้เรารับรู ้ความหนาบางของเสาที่แตกต่างกัน

A study of irregular shapes การสร้างรู ปทรงที่แปลกใหม่ให้กบั อาคารนั้นมีความน่า สนใจกว่าที่คุณคิด ในความเป็ นจริ งคือ บางครั้งการใช้รูปทรงพื้น ฐานอย่างเดียวก็อาจท�ำให้งานไม่น่าสนใจ ฉันเคยคิดแบบหลังคา ใหม่ๆ ที่ผสมผสานระหว่างรู ปทรงพื้นฐานและความแปลกใหม่ เข้าไปซึ่งได้ผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจมากทีเดียว 034


บทที่ 3 : การวิเคราะห์ขอ้ มูล ในงานออกแบบของ Ryuji Nakamura แต่ละชิ้นเกิดจากแนวความคิดที่แตกต่างกันออกไป แต่ส่ิ งที่จะเป็ นเหตุผลที่ใช้ในการเลือก ใช้วสั ดุ เป็ นผลเนื่องมาจากการใช้งาน หรื อลักษณะพิเศษของวัสดุชิ้นนั้นๆ

แนวความคิดในการออกแบบ

เมื่อแบ่งผลงานตามแนวความคิดการออกแบบจะสามารถแบ่งได้เป็ น Straight line Corrugated sheets Circles Bends Curves Cuts Wall The same windows Irregular shapes

แนวความคิด : Straight Line โครงการ Insect Cage

การใช้งาน Insect Cage

Water Lily

เก้าอี้มานัง่

Spring

installation

Cornfield

installation

Pond

ห้องพักในโรงแรม

วัสดุ เรซิ่น 3mm

ปั จจัยการเลือกวัสดุ เนื่องจากกรงแมลงไม่ได้มีความจ�ำเป็ น ต้องใช้โครงสร้างที่มี ความแข็งแรงส�ำหรับการรับแรงหรื อน�้ำหนัก เรซิ่นจึงเป็ นทางเลือก ที่ดี เพราะสามารถที่จะเชี่อมต่อกันได้โดยไม่มีรอยต่อ รวมถึงน�้ำ หนักเบา เหล็กตัน 2.6 mm จากการใช้งานที่จำ� เป็ นต้องรับน�้ำหนัก และต้องการให้เห็น เป็ นลักษณะของเส้นตรง จึงเลือกใช้เหล็กตัน ที่สามารถรับน�้ำหนัก ได้ ซึ่งขนาดของเหล็กเพียง 2.6mm เพียงพอ เพราะมีโครงสร้างที่มี ส่ วนช่วยในการถ่ายแรง และไม่ได้มีช่วงของความยาวเหล็กที่มาก เกิน จนเกิดการโค้งหรื อดัดงอของเหล็กได้ music wire 0.3mm เส้นลวดของเครื่ องดนตรี มีความหนาเพียง 0.3mm แม้วา่ จะ ถูกจัดเรี ยงเป็ นตารางสามมิติที่เป็ นรู ปทรงขนาดใหญ่มาก แต่ดว้ ย ความบางของมัน ท�ำให้เส้นเหล่านี้ดูหายไปได้ และเมื่อถูกแสง ตกกระทบ เส้นลวดก็จะปรากฏขึ้นอีกครั้ง พร้อมกับแสดงปริ มาตร ของที่วา่ งนั้นให้เราเห็น กระดาษ กระดาษสามารถที่จะตัดด้วยการเลเซอร์ให้เป็ นรู ปต่างๆตามที่ (vulcanized fibre) ต้องการได้ และมีขนาดเบา และงานชิ้นนี้ไม่จำ� เป็ นจะต้องรับแรง หรื อน�้ำหนักใดใด รวมถึงข้อได้เปรี ยบของกระดาษที่สามารถเชื่อม ต่อกันด้วยกาว โดยที่ไม่มีรอยต่อเลย polyurethane string เนื่องจาก ต้องการสร้างระนาบที่ยดื หยุน่ เพื่อเชื่อมต่อระหว่าง พื้นที่ดา้ นบนและล่าง เชือกเส้นเล็กจึงเป็ นทางเลือกที่น่าสนใจ 035 ประกอบกับต้องมีความยืดหยุน่ ด้วย


แนวความคิด : Corrugated Sheet โครงการ Cardboard and Wood chair

การใช้งาน เก้าอี้

วัสดุ กระดาษลังและ เหล็กเส้น

Hechima

เก้าอี้

ไม้อดั

Hechima 4

เก้าอี้

Hechima 5

เก้าอี้

Nukegara

เก้าอี้ในสวน

กระดาษ (vulcanized fibre) อลูมิเนียม

Kuma

product

กระดาษ (vulcanized fibre)

การใช้งาน ถ้วยรางวัล

วัสดุ กระดาษ

ปั จจัยการเลือกวัสดุ การผสมผสานนกันระหว่างวัสดุสองชิ้น โดยที่ใช้กระดาษลัง เป็ นส่ วนส�ำหรับใช้งาน โดยที่ตอ้ งท�ำหน้าที่รับน�้ำหนัก แต่ดว้ ยุณ สมบัติของวัสดุที่ไม่สามารถรับน�ัำหนักได้มากนัก เหล็กเส้นจึงเป็ น ส่ วนที่เข้ามาช่วยให้กระดาษลังสามารถรับน�้ำหนักได้ แนวความคิดในการออกแบบคือแผ่นลูกฟูที่จะต้องถูกดัดโค้ง เป็ นรู ปร่ างของเส้นโค้ง ไม้อดั ที่สามารถดัดโค้งได้ ทั้งยังสามารถรับ น�้ำหนักของคนที่มานัง่ ได้ดว้ ย แนวความคิดที่เป็ นการพัฒนาต่อจาก Hechima เนื่องจากรู ป ทรงของเก้าอี้ที่เกิดจากโครงสร้างของแผ่นโค้งที่ประกอบกันขึ้​้ น ท�ำให้ช่วยลดแรงที่โครงสร้างจะต้องรับได้ ท�ำให้เกิดการทดลอง เปลี่ยนวัสดุ จากไม้มาเป็ นกระดาษ (vulcanized fibre) ที่มีความแข็ง แรง และสามารถดัดโค้งได้ ข้อได้เปรี ยบของกระดาษ คือ น�้ำหนักที่ เบากว่าไม้อดั และสามารถใช้ความบางที่นอ้ ยกว่าไม้อดั ได้ ปั จจัยเดียวกันกับ hechima 4 แต่มีความบางของกระดาษที่ มากกว่า เป็ นการลองเปลี่ยนการใช้วสั ดุ แต่แนวความคิดในการ ออกแบบและการใช้งานยังเป็ นไปในลักษณะแบบเดียวกันกับ hechima การเลือกใช้อลูมิเนียมนั้น ข้อดี คือความบางของวัสดุ และ น�้ำหนักที่เบามากกว่าไม้อดั ปั จจัยเดียวกันกับ hechima แต่ดว้ ยการใช้งานที่ต่างกัน ท�ำให้ สามารถเลือกใช้กระดาษที่บางกว่าได้

แนวความคิด : Circle โครงการ จึงBouquet

ปั จจัยการเลือกวัสดุ เนื่องจากเป็ นชิ้นงานที่ไม่ตอ้ งรับแรงหรื อน�้ำหนักเลย ทั้ง ต้องการรู ปร่ างของวัสดุที่สามารถท�ำเป็ นรู ปแบบได้ตามที่ตอ้ งการ กระดาษที่มีความหนา และสามารถเลเซอร์คทั ได้จึงเป็ นทางเลือกที่ดี

036


แนวความคิด : Bends โครงการ Bench between pillars sheet

การใช้งาน เก้าอี้

วัสดุ แผ่นไวนิล

Bang

installation

ริ้ บบิน

Red Whale

installation

ริ้ บบิน

Catenarhythm

installation

ริ้ บบิน

Atmosphere

installation

ริ้ บบิน

Blank room

installation

แผ่นเหล็กสเตนเลส

ปั จจัยการเลือกวัสดุ เนื่องจากต้องการแผ่นที่เป็ นระนาบขนาดใหญ่ที่มีความแข็ง แรงคงทน และสามารถที่จะรับน�้ำหนักได้ แผ่นไวนิล ข้อได้เปรี ยบ ส�ำหรับการน�ำมาใช้ในการนี้คือ การที่มนั มีน้ ำ� หนัก พอที่จะท�ำให้ตวั มันเองโค้งแอ่นตัวลงมาตามแรงโน้มถ่วง เมื่อยึดที่ปลายทั้งสองข้าง ของแผ่นไว้ และความยืดหยุน่ ที่ทำ� ให้เมื่อคนเข้าไปใช้งาน เกิดการ เปลี่ยนรู ปร่ างตามท่านัง่ ของคนนั้นๆ ความพิเศษของริ้ บบินคือความบาง และหน้ากว้าง เมื่อเราวาง ริ้ บบินเรี ยงต่อกันโดยมีที่วา่ งระหว่างเส้นที่เท่าๆกัน จะสามารถสร้าง ความทึบ-โปร่ ง การมองเห็นในมุมมองที่แตกต่างกันได้ นอกจากนี้ ริ้ บบินยังมีน้ ำ� หนักเมื่อเวลาปล่อยมันก็จะทิ้งตัวลงตามแรงโน้มถ่วง แต่ในขณะเดียวกัน น�้ำหนักที่ไม่ได้หนักมากนักก็ทำ� ให้ริ้บบิน สามารถเคลื่อนที่ตามแรงลมได้ ริ้ บบินมีความพิเศษคือ ความบาง และหน้ากว้าง เมื่อเราวางริ้ บ บินเรี ยงต่อกันโดยมีที่วา่ งระหว่างเส้นที่เท่าๆกัน จะสามารถสร้าง ความทึบ-โปร่ ง การมองเห็นในมุมมองที่แตกต่างกันได้ ริ้ บบิ้นที่ถูก ห้อยเรี ยงตัวกันอย่างเป็ นระเบียบ เมื่อถูกรวบปลายไปไว้ดา้ นใดด้าน หนึ่ง ก็จะเกิดเป็ นเส้นโค้งที่เป็ นไปในลักษะเดียวกันกับผ้าม่าน แต่ ความแตกต่างคือ การมองเห็นที่เปลี่ยนแปลงไปจากมุมมองที่ต่างกัน ริ้ บบินที่ถูกจับยึดปลายทั้งสองข้างแขวนเอาไว้ ถูกทิ้งตัวลง มาตาแรงโน้มถ่วงของโลก หน้ากว่างของริ้ บบินเป็ นเหมือนการเน้น ให้รู้ถึงการมีอยูเ่ ส้นโค้งนั้นภายในที่วา่ ง ในมุมมองที่แตกต่างกัน ความหนาและบางของริ้ บบินจะแตกต่างกันออกไป ริ้ บบิ้นที่ถูกห้อยลงมา ระยะของปลายที่ห่างไม่เท่ากัน จะสร้าง รู ปทรงของเส้นโค้งริ้ บบินที่หอ้ ยลงมาตามแรงโน้มถ่วงที่ต่างกัน การออกแบบต้องการที่จะวาดเส้นกลางอากาศ เพื่อให้คนได้รับรู ้ถึง การมีอยูข่ องที่วา่ งนั้น จากแนวคิดในการออกแบบที่มีขอ้ จ�ำกัด ที่ไม่สามารถห้อย หรื อท�ำอะไรกับเพดานได้ การสร้างเส้นที่สูงจากพื้นไปถึงเพดาน ท�ำได้เพียงการตั้ง หรื อยึดให้มนั อยูก่ บั พื้น และสามารถที่จะรับน�้ำ หนักของตัวมันเองได้ แผ่นเหล็กสเตนเลส เมื่อมีจุดยึดเพียงจุดเดียว บนพื้น ปลายที่ต้ งั สู งสู่ เพดาน ก็จะโค้งกลับลงมาสู่ พ้นื เพื่อท�ำให้ แผ่นเหล็กสเตนเลสนั้นสามารถตั้งอยูไ่ ด้ เลยให้แผ่นแหล็กสเตนเล สอีกแผ่นช่วยผยุงเป็ นรู ปสามเหลี่ยม ซึ่งสามารถท�ำให้มนั ตั้งอยูด่ ว้ ย ตัวของมันเองได้ 037


แนวความคิด : Bends โครงการ Pinup

การใช้งาน ชั้นวางของ

วัสดุ กระดาษ

ปั จจัยการเลือกวัสดุ แนวคิดของการออกแบบพยายามที่จะรักษารู ปแบบของความ คิด post it ที่เป็ นกระดาษเอาไว้ ซึ่งข้อดีของกระดาษนี่ คือ สามารถ ดัดโค้งได้ และสามารถที่จะรับน�้ำหนักของแว่นตาได้ ง่ายกับการ ท�ำให้เป็ นรู ปร่ างตามที่เราต้องการ แผ่นสเตนเลสแบบบางที่นำ� มาใช้ มีความพิเศษ คือเมื่อน�ำไป เลเซอร์คทั แล้ว แผ่นจะมีความโค้งงอมาเล็กน้อย ซึ่งเป็ นข้อดีในการ สร้างมิติบนผนังที่ตอ้ งการจะเล่นกับแสงและเงา

Blossom

installation

สเตนเลส

การใช้งาน ที่แขวนแสดงสิ นค้า

วัสดุ ผ้า

ปั จจัยการเลือกวัสดุ แนวคิดในการออกแบบเริ่ มจาก ความพยายามที่จะสร้างผนังที่ ไว้แขวนแสสดงสิ นค้า ซึ่งจะต้องเกิดการเจาะรู เพื่อแขวน ผ้านั้น สามารถที่จะใช้แม่พิมพ์เจาะเป็ นรู ได้ตามแบบ และสามารถที่จะขึง ให้ตึงบนระนาบที่ตอ้ งการ

ปั จจัยการเลือกวัสดุ แนวคิดในการออกแบบที่พยายามรักษารู ปแบบเดิมของอาคาร ในช่วงของการก่อสร้างเอาไว้ โดยใช้ลกั ษณะของฐานราก หรื อผนัง เตี้ย ซึ่งวัสดุที่ใช้เป็ นคอนกรี ตแบบบเดียวกันกับที่ใช้ในการก่อสร้าง จริ ง น�ำมาผสมกับวัสดุที่ดูอบอุ่นอย่างไม้ ท�ำให้เกิดความรู ้สึกที่ลงตัว จากแนวคิดในการออกแบบที่จะสร้างเส้นของคาน โดยพาด จากผนังถึงผนัง โดยที่มีจุดรับน�้ำหนักเพียงสองจุดที่ปลายทั้งสอง ข้างของคานเท่านั้น ท�ำให้ตอ้ งเลือกใช้เหล็กกล่องที่เป็ นโครงสร้าง ช่วงกว้าง โดยที่ไม่เกิดการตกท้องช้าง และไม่จำ� เป้นต้องมีเสามารับ ด้านล่าง ท�ำให้เกิดที่วา่ งข้างบนและล่าง

แนวความคิด : Cuts โครงการ Snow

แนวความคิด : Walls โครงการ Foundation

การใช้งาน พื้นที่จดั แสดงสิ นค้า

วัสดุ คอนกรี ตและไม้

Beam

พื้นที่แสดงนิทรรศการ

เหล็กกล่อง

038


บทที่ 4 : สรุ ปผล ด้านแนวความคิดในการออกแบบ ในการออกแบบของ Ryuji Nakamura ได้ให้ความส�ำคัญกับเส้นสองชนิด คือ เส้นที่เราสามารถควบคุมมันได้ และเส้นที่เราไม่ สามารถควบคุมได้ และเมื่อการออกแบบเกิดจากเส้น เส้นที่นำ� เรี ยงต่อกันเกิดเป็ นตาราง(Grid) ซึ่งตารางนี่เองที่ทำ� ให้เกิดรู ปร่ างบางอย่างขึ้น ในการออกแบบต่างๆ เรามักจะเริ่ มออกแบบจากเส้นที่เราเขียนลงไปในกระดาษ คือ เส้นที่เราควบคุมได้ แต่ในระหว่างการออกแบบ เส้นที่ เราไม่สามารถควบคุมได้กจ็ ะปรากฏขึ้น Ryuji Nakamura เลือกที่จะไม่มองข้ามมันไป และเผชิญหน้ากับมันอย่างตรงไปตรงมา การออกแบบ หรื อการน�ำไปใช้สำ� หรับแนวความคิดเกี่ยวกับเส้น ได้มีมิติในเรื่ องของความหนาของเส้นเข้ามาเกี่ยวข้อง การซ้อน ทับกันของเส้นตารางในมิติของที่วา่ ง ท�ำให้เกิดความทึบ และความโปร่ งที่แตกต่างกันออกไป นอกจากแนวความคิดของเส้นสองชนิด ในการออกแบบงาน Ryuji Nakamura ได้แบ่งแนวคิดการออกเป็ นเป็ นประเภทต่างๆ คือ Straight line, Corrugated sheets, Circles, Bends, Curves, Cuts, Wall, The same windows และ Irregular shapes ซึ่งแนวคิดเหล่านี้เป็ นเพียง แนวความคิดที่เป็ นลักษณะของ มิติเดียว หรื อ สองมิติ ของเส้นและรู ปร่ าง การน�ำแนวความคิดนี้มาสานต่อในงานออกแบบ สร้างเป็ นรู ป ธรรมขึ้นมาในรู ปของงานสามมิติ มิติที่เกี่ยวข้องกับที่วา่ ง และการสร้างแบบแผนเข้าไปในสร้าง สามารถสร้างมิติในเรื่ องของเวลามากขึ้น เมื่อที่วา่ นั้นถูกใช้งาน จะสามารถสังเกตได้วา่ งานของ Ryuji Nakamura ส่ วนใหญ่เกี่ยวข้องกับมิติของเวลา ในมุมมองที่เปลี่ยนแปลงไปตาม มุมต่างๆของการมองเห็น แม้วา่ งานบางชิ้นนั้นจะดูซบั ซ้อน แต่แนวความคิดของ Ryuji Nakamura นั้นเรี ยบง่ายมาก เริ่ มต้นจากเพียงแนวคิดของเส้าหรื อ ระนาบบางอย่าง และพัฒนาตามแบบแผน จนเกิดเป็ นชิ้นงานขึ้นมา ในงานออกแบบภายใน Ryuji Nakamura พยายามหลุดออกจากกรอบเดิม และตั้งค�ำถามกับตัวเอง ตัวอย่างเช่น “ท�ำไมชั้นวางของ จะต้องเป็ นรู ปทรงแบบนั้น แล้วถ้าไม่เป็ นรู ปทรงแบบเดิมๆที่เป็ น แล้วจะเป็ ยรู ปทรงแบบไหนที่จะเหมาะสมกับการใช้งาน”

ด้านการเลือกใช้วสั ดุในการออกแบบ ส�ำหรับการเลือกใช้วสั ดุ อาจกล่าวได้วา่ เป็ นเหตุผลที่ต่อเนื่องมาจากแนวคิดในการออกแบบชิ้นงานแต่ละชิ้น การเลือกใช้วสั ดุอย่าง ตรงไปตรงมา ให้วสั ดุได้แสดงศักยภาพที่แท้จริ ง เช่น การน�ำริ้ บบินมาใช้ โดยปล่อยให้อิสระกับริ้ บบินในการเป็ นเส้นโค้งตามแรงโน้มถ่วง และแม้วา่ งานที่มีแนวความคิดในการออกแบบเหมือนกัน และลักษณะวิธีการใช้งานที่ตอ้ งการคุณสมบัติพิเศษที่ต่างการ วัสดุที่ถูกเลือกน�ำมา ใช้กต็ ่างกันออกไป เหมาะสมตามการใช้งาน การเลือกใช้วสั ดุของ Ryuji Nakamura ทีความน่าสนใจ อาจะด้วยเหตุผลที่งานส่ วนใหญ่ไม่ได้เป็ นงานออกแบบภายใน หรื อ ออกแบบสถาปั ตยกรรม แต่เป็ นงาน installation หรื อ เครื่ องเรื อน ท�ำให้ไม่มีขอ้ จ�ำกัดในเรื่ องโครงสร้างที่จำ� เป็ นต้องรับน�้ำหนักมาก จึงมี อิสระในการเลือก และลองใช้วสั ดุที่หลากหลาย

039


INDEX year work material type/function 2014 paper crafts paper exhibition ceiling polyurethane string exhibition 2013 camellia polyester film installation dance piano wire, solder installation atoll movable walls, pedestal exhibition 2012 red whale ribbon installation spring music wire screen for projector water lily stainless rod, colored pencil, clear lacquer furniture bench hechima 7 paper furniture chair 2011 beam steel exhibition bang ribbon exhibition concrete roof concrete exhibition 2010 bouquet paper trophy blank room steel exhibition cardboard and wood chair cardboard, wood stick furniture chair pond polyurethane string installation midget & giant paper exhibition cut-out paper house paper model bench between pillars vinyl sheet furniture bench cornfield paper and glue installation puddle cellophane installation colorful color and corrugated paper installation 2009 mont blanc remake paper observatory model exhibition generation of generativity paper exhibition nukegara 2 aluminum furniture stool hechima 5 paper furniture stool blossom stainless steel interior partition atmosphere mold ribbon installation 2008 catenarhythm ribbon installation hechima 4 paper furniture chair aurora 2 fabric exhibition shell concrete model housing exhibition ryuji nakamura 2 works 2004-2008 exhibition exterior interior ivy, billboard square for kumamoto station 2007 plants wood for interior shop hechima 3 paper furniture chair insect cage resin site shelf shelf for interior shop garden doll for interior office shortcut wall interior aurora fabric restuarant’s interior unpainted wood makeup room for wedding pinup paper shelf 2006 exhibition ryuji nakamura works 2004-2006 exhibition dress paper interior, furnishing shop, nami paper furniture chair nukegara paper furniture chair kuma paper sculpture hechima 2 paper furniture chair foundation concrete, plywood interior shop insect cabinet 2 wood, glass interior insect cabinet wood, glass interior snow fabric interior 2005 mont blanc corrugated steel pipe landmark and observatory hechima plywood furniture chair

040


เอกสารอ้างอิง Books • Ryuji Nakamura: Controlled and Uncontrolled lines, Contemporary Architect’s Concept Series ‘16, LIXIL Publishing Websites • http://www.ryujinakamura.com/ • http://surfaceasiamag.com/read-news-8-0-531-ryuji-nakamura.surfaceasia.magz#.U_c-n_nSDV4 • http://www.designboom.com/tag/ryuji-nakamura-architects/ • http://www.dezeen.com/2010/07/09/bench-between-pillars-by-ryuji-nakamura-architects/ • http://www.dezeen.com/2013/01/25/water-lily-steel-bench-by-ryuji-nakamura/ • http://thisispaper.com/Ryuji-Nakamura-Beam • http://www.youtube.com/watch?v=4O9heRQDGRQ • https://www.youtube.com/channel/UC_FMzR1BaqXf6kIkB6j6DqQ • http://www.designboom.com/design/ryuji-nakamura-blank-room-at-designtide/ • http://www.contemporist.com/2009/08/17/hechima-5-by-ryuji-nakamura/ • https://designtide.jp/2011/10td/focus/?page=1 • http://www.newitalianblood.com/show.pl?id=7140

041


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.