ฝึกงาน__จรรย์วรท__รอบที่1

Page 1

1

รายงานการฝึ กงาน การจัดทําบัญชี กรณีศึกษา บริษัท ซี.เค.อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด

โดย

นางสาวจรรย์ วรท เจตนา

รายงานฉบับนีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ปี การศึกษา 2556


2


3

กิตติกรรมประกาศ การศึกษาหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชีบริ หาร) คณะวิทยาการจัดการ มหาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ได้มีการจัดให้นิสิตสาขาการบัญชีบริ หารเข้ารับการฝึ กงาน ในช่วงภาคฤดูร้อนของชันปี ที 3 สําหรับภาคเรี ยนการศึกษาปี 2555 ระหว่างวันที 18 มีนาคม 2556 ถึงวันที 31 พฤษภาคม 2556 และเป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 400 ชัวโมงของการปฏิบตั ิงาน เพือให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจ ในการปฏิบตั ิงานจริ ง และยังสร้างความเชือมันและทัศนคติทีดีต่อวิชาชีพและให้นิสิตฝึ กงานทํางาน ร่ วมกับผูอ้ ืน ทีสําคัญเป็ นการเสริ มสร้างสมรรถภาพในการประกอบอาชีพในอนาคตต่อไป การฝึ กงานสําเร็ จได้อย่างสมบูรณ์ดว้ ยความกรุ ณาเป็ นอย่างยิ งจากคณาจารย์ทุกท่านทีได้ กรุ ณาให้ความรู้ คําปรึ กษา แนะนํา และให้คาํ แนะนําทีเป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาในครังนีเป็ นอย่าง มาก ผูจ้ ดั ทําขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี ขอขอบพระคุณบิดาและมารดาทีเคารพรักเป็ นอย่างยิ ง รวมถึงญาติพีน้องทีมีส่วนช่วยเป็ น กําลังใจในระหว่างการปฏิบตั ิการฝึ กงานจนสําเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ขอขอบคุ ณ บุ ค ลากรของ บริ ษ ัท เมืองทองการบัญชี และภาษี อากร จํากัด ไม่ว่าจะเป็ น หัวหน้างาน รุ่ นพีทีให้คาํ ปรึ กษา คําแนะนํา สอนงาน ตลอดจนเพือนร่ วมงานทุกท่านด้วย ท้ายทีสุดนี ขอขอบคุณทุกท่านทีอยูเ่ บืองหลังความสําเร็ จของการฝึ กงานและรายงานเล่มนี และหากมีขอ้ ผิดพลาดหรื อบกพร่ องประการใด ผูจ้ ดั ทําของอภัยเป็ นอย่างยิงมา ณ โอกาสนีด้วย จรรย์วรท เจตนา พฤษภาคม 2556


4

คํานํา รายงานเล่มนี เป็ นส่ ว นหนึ งของหลัก สู ต รปริ ญญาบริ หารธุ ร กิ จ บัณ ฑิ ต สาขาการบัญชี บริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ผูจ้ ดั ทําได้นาํ องค์ความรู้ ทีได้จากการฝึ กปฏิบตั ิงาน นํามารวบรวมและได้ศึกษาระบบบัญชีตลอดจนการนําเสนองบการเงิน ของบริ ษทั ซี.เค. อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด เป็ นกรณี ศึกษา และนิ สิต นักศึกษา หรื อผูท้ ีสนใจ สามารถนําความรู้จากรายงานเล่มนีประยุกต์ใช้ในการศึกษาหรื อการปฏิบตั ิงานได้ ผูจ้ ดั ทําหวังว่ารายงานเล่มนี จะเป็ นประโยชน์แก่นิสิต นักศึกษา หรื อผูท้ ีสนใจพอสมควร หากรายงานเล่มนีมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทําต้องขออภัยมา ณ ทีนีด้วย จรรย์วรท เจตนา ผูจ้ ดั ทํา


5

สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ คํานํา บทที 1 บทนํา ความสําคัญของการฝึ กงาน

1

วัตถุประสงค์หลักของการฝึ กงาน

2

ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการฝึ กงาน

2

บทที 2 การฝึ กงาน ณ เมืองทองการบัญชีและภาษีอากร สถานทีตัง

3

ประวัติบริ ษทั เมืองทองการบัญชีและภาษีอากร จํากัด

3

ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ฯ

3

กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั ฯ

4

ประโยชน์ทีได้รับจากการฝึ กงาน

4

รายงานการบันทึกการปฏิบตั ิงาน

5

การบันทึกเวลาการปฏิบตั ิงาน

15

ข้อเสนอแนะ

17

ประเด็นสําคัญจากการฝึ กงานนําสู่รายงานการศึกษา

17


6

สารบัญ(ต่อ) หน้ า บทที 3 การจัดทําบัญชี ความหมายของ “การบัญชี” และ “การจัดทําบัญชี”

18

ประโยชน์และวัตถุประสงค์ของการบัญชี

18

การบัญชีกบั รู ปแบบของกิจการ

19

ข้อสมมติทางการบัญชี

23

รายงานทางการเงิน

31

หลักเกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินเพือให้มีมาตรฐานเดียวกัน

32

ขันตอนการจัดทํารายงานทางการเงิน

36

บทที 4 กรณีศึกษา บริษัท ซี.เค.อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด ข้อมูลบริ ษทั ซี.เค.อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด

38

ประวัติความเป็ นมาของบริ ษทั ซี.เค.อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด

38

เกณฑ์ทีใช้ในการจัดทํางบการเงินของบริ ษทั ฯ

40

นโยบายทางการบัญชีของบริ ษทั ฯ

40

กระดาษทําการปี 2555 (แบบเปรี ยบเทียบ) ของบริ ษทั ฯ

42

รายละเอียดค่าเสือมราคาอุปกรณ์ของบริ ษทั ฯ

53

รายละเอียดภาษีมลู ค่าเพิ มตามแบบ ภ.พ. 30

54

รายละเอียดภาษีหกั ณ ทีจ่ายตามแบบ ภ.ง.ด. 53

55


7

สารบัญ(ต่อ) หน้ า รายงานทางการเงินปี 2555 (แบบเปรี ยบเทียบ) ของบริ ษทั ฯ

56

แบบนําส่งงบการเงิน (สบ.ช.3) ของบริ ษทั ฯ

67

สําเนาบัญชีรายชือผูถ้ ือหุน้ (บอจ.5) ของบริ ษทั ฯ

69

แบบแสดงรายการภาษีเงิน (ภ.ง.ด.50) ของบริ ษทั ฯ

70

บทที 5 บทสรุ ป บทสรุ ป

77


1

บทที 1 บทนํา ความสําคัญของการฝึ กงาน การฝึ กงานเป็ นการจัด กระบวนการเรี ยนรู้ เพือเพิ มและฝึ กทัก ษะ กระบวนการคิ ด การ จัดการการ การเผชิญสถานการณ์จริ ง และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพือป้ องกันและแก้ปัญหา การ ฝึ กงานจึ งมีค วามจําเป็ นอย่างยิ งสําหรั บการประกอบอาชีพด้านการบัญชี ทีมีคุ ณภาพ นอกจาก การศึกษาภาคทฤษฎีในชันเรี ยนอย่างเดียวคงไม่เพียงพอ จําเป็ นจะต้องมีการฝึ กภาคปฏิบตั ิเพือให้ สามารถปฏิบตั ิ งานในหน้าที ได้อย่างดี มีค วามมันใจและเชื อมันในการทํางาน ได้ฝึกทัก ษะนํา ความรู้มาประยุกต์ใช้กบั สถานการณ์จริ งทีเกิดขึนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และยังถือเป็ นโอกาสที สําคัญทีนิสิตจะได้ฝึกงานภายใต้คาํ แนะนําของผูบ้ งั คับบัญชาและอาจารย์ทีปรึ กษา และได้ฝึกการ ทํางานร่ วมกับบุค ลากรในสถานทีประกอบการจริ ง มีมนุ ษ ย์สัมพันธ์ทีดี กบั บุค คลอืน ได้พฒั นา บุคลิกภาพ ช่วยสร้างความมันใจในการทํางาน การกล้าแสดงออก และการแสดงความคิดเห็นมาก ขึน และยังฝึ กให้นิสิตมีความรับผิดชอบต่อหน้าที เคารพระเบียบวินัยการเรี ยนรู้ทีจะอยู่ร่วมกัน ขององค์ก ร และทํางานร่ วมกับผูอ้ ืนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และได้ทราบถึงปั ญหาต่างๆ ทีอาจ เกิดขึนระหว่างการปฏิบตั ิงานและสามารถนําความรู้และสติปัญญาแก้ไขปั ญหาได้อย่างมีเหตุผล และยังสร้างทัศนคติทีดีต่อการทํางานและมีความภูมิใจในวิชาชีพนักบัญชี เพือเป็ นแนวทางในการ ในการประกอบอาชีพต่อไปภายหลังจากการสําเร็ จการศึกษา ดังนันการฝึ กงานถือเป็ นหัวใจหลัก ของนัก บัญชี และมีค วามจําเป็ นอย่างยิ งในการเพิ ม ทักษะในด้านการทํางานด้านวิชาชีพทางการบัญชีเพือเตรี ยมความพร้อมก้าวสู่โลกการทํางานอย่างมี ประสิทธิภาพได้อย่างแท้จริ ง


2

วัตถุประสงค์หลักของการฝึ กงาน 1.

เพือเพิ มทักษะในด้านการทํางาน สร้างเสริ มประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตาม

สภาพความเป็ นจริ งในสถานประกอบการ 2.

เพือให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบวินัยขององค์กร

และปฏิบตั ิงานร่ วมกับผูอ้ ืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.

เพือทราบถึงปั ญหาต่ างๆ ทีอาจเกิด ขึนในระหว่างการปฏิบัติงาน และแสวงหา

แนวทางในการแก้ปัญหาร่ วมกันผูอ้ ืนให้ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ประโยชน์ ทีคาดว่าจะได้ รับจากการฝึ กงาน 1.

ได้ฝึ กทัก ษะนํา ความรู้ ม าประยุก ต์ใ ช้ก ับ สถานการณ์ จ ริ งที เกิ ด ขึ นได้อ ย่า งมี

ประสิทธิภาพ 2.

ได้ฝึกตนเองให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ปฏิบตั ิงานร่ วมกับผูอ้ ืนและเรี ยนรู้ที

จะอยูร่ ่ วมกับบุคคลอืนได้ 3.

ได้เรี ยนรู้ สิ งต่ างๆ เปิ ดโลกทัศน์ให้ก ว้างขึ นหรื อพบปั ญหาทีอาจจะไม่มีโอกาส

เกิดขึนในการศึกษาภาคทฤษฎีจากชันเรี ยน และแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ 4.

ได้พฒั นาบุคลิกภาพ ช่วยสร้างความมันใจในการทํางาน การกล้าแสดงออก และ

การแสดงความคิดเห็นมากขึน 5.

ได้ฝึกฝนให้เป็ นคนช่างสังเกตและรู้จกั ปรับปรุ งการพัฒนาการทํางานของตนเอง


3

บทที 2 การฝึ กงาน ณ เมืองทองการบัญชีและภาษีอากร สถานทีตัง ตังอยูเ่ ลขที 668/54 - 55 หมู่ที 6 แยกลํากะโหลก ถนนพระยาสุ เรนทร์ แขวงบางชัน เข ตค ลอง สา ม วา กรุ งเท พม หาน คร 10510 โ ท รศั พ ท์ 02-9193309-10,

02-39193586

โทรสาร 02-9193124 ประวัตบิ ริษัท เมืองทองการบัญชีและภาษีอากร จํากัด บริ ษทั เมืองทองการบัญชีและภาษีอากร จํากัด ได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ เป็ นนิ ติ บุ ค คลประเภท บริ ษัท จํา กัด เมื อวัน ที 5 เมษายน 2545 ทะเบี ย นเลขที 0105545038794 ( เดิมเลขที 10754500665 ) ด้วยทุนจดทะเบียน 700,000 บาท ซึงกรรมการของ บริ ษทั มี 1 คน คือ นางสมจิตร ดิษฐ์คล้าย ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ - จดทะเบียนจัดตังเป็ นนิติบุคคล - ให้คาํ แนะนํา และปรึ กษาเกียวกับเรื องบัญชีและภาษีอากร - รับบริ การจัดทําบัญชี ปิ ดงบการเงิน - ยืนเสียภาษี ประกันสังคม - งานตรวจสอบบัญชี


4

กลุ่มลูกค้าของบริษัทฯ กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั ฯ จะมีทงลู ั กค้ากลุ่มนิติบุคคล (บริ ษทั จํากัด ห้างหุ ้นส่ วนจํากัด) และ ทังกลุ่มบุคคลธรรมดา ทางบริ ษทั ได้ให้บริ การทางด้านการบัญชีและภาษีอากรแบบครบวงจร อาทิ ตังแต่ จดทะเบียนจัดตังนิติบุคคล คําแนะนํา คําปรึ กษา เกียวกับบัญชีและภาษีอากรโดยผูเ้ ชียวชาญ จัดทําบัญชี และงานตรวจสอบบัญชี ฯ ประโยชน์ ทได้ ี รับจากการฝึ กงาน การฝึ กงานช่วยให้เราได้ฝึกคิด วิเคราะห์อย่างเป็ นขันเป็ นตอน นําความรู้จากทฤษฎีทีได้ ศึกษาจากชันเรี ยนมาประยุกต์ใช้กบั สถานการณ์จริ ง เพิ มทักษะในการทํางานและยังฝึ กการป้ องกัน และแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเกิดขึนจากการปฏิบตั ิงานจริ ง นอกจากการฝึ กงานจะถือเป็ นประสบการณ์ อย่างหนึง ทีไม่สามารถหาในชันเรี ยนได้แล้ว ยังเป็ นการฝึ กให้ตนเองรู้จกั ความรับผิดชอบมากขึน ตรงต่ อเวลา เรี ยนรู้ ทีจะอยู่ร่วมกับบุค คลอืนในกฎเกณฑ์ต่างๆ ปรับตัวให้เข้ากับวัฒ นธรรมของ องค์กรทีเราทํางานอยูไ่ ด้


5

รายการการบันทึกการปฏิบัตงิ าน


6


7


8


9


10


11


12


13


14


15

การบันทึกเวลาการปฏิบัตงิ าน


16


17

ข้ อเสนอแนะ ช่วงระยะเวลาการนําเสนองบการเงิน งานจะเยอะมากจนอาจมีเวลาพักผ่อนไม่เพียงพอ ประเด็นสําคัญจากการฝึ กงานนําสู่ รายงานการศึกษา จากการฝึ กปฏิบตั ิงานการจัดทําบัญชีเพือนําเสนองบการเงินทีสํานักงานบัญชี บริ ษทั เมือง ทองการบัญชี และภาษี อากร จํากัด นัน ทําให้สามารถคิด วิเคราะห์ปัญหาต่ างๆ มากมาย ทําให้ สามารถรู้จกั วิธีการคิดอย่างเป็ นระบบ รู้จกั วิธีการเริ มงานยังไงเพือทีจะให้ทาํ งานต่อได้อย่างเป็ น ระบบเพือให้ไม่เกิดปัญหาหรื ออาจเกิดปัญหาน้อยทีสุด


18

บทที 3 การจัดทําบัญชีและรายงานทางการเงิน ความหมายของ “การบัญชี” และ “การจัดทําบัญชี” การบัญชี (Accounting) หมายถึง งานศิลปะของการนํารายงานและเหตุการณ์ทางการเงิน มาจดบันทึก จัดหมวดหมู่ สรุ ปผล และวิเคราะห์ ตีความอย่างมีหลักเกณฑ์ คําว่า การบัญชี (Book-keeping) ได้มีผใู้ ห้คาํ จํากัดความไว้มากมาย เช่น “การบัญชี คือ การ จดบัน ทึก รายการค้าต่างๆ ที เกี ยวกับการรั บ-จ่ ายเงิ น และสิ งที มีค่ าเป็ นเงิ นไว้ในสมุด บัญชีอย่าง สมําเสมอ เป็ นระเบียบถูกต้องตามหลักการ และสามารถแสดงผลการดําเนิ นงานและฐานะการเงิน ของกิจการในระยะเวลาหนึงได้” การจัดทําบัญชี (Bookkeeping) หมายถึง งานประจําทีเกียวข้องกับการบันทึกและรวบรวม ข้อมูลประจําวันเพือให้สามารถจัดทํางบการเงินได้ การทําบัญชีเป็ นงานย่อยส่วนหนึ งของการบัญชี บุคคลผูป้ ฏิบตั ิงานเกียวกับการบัญชี เรี ยกว่า นักบัญชี (Accountant) ส่ วนผูท้ ี มีหน้าทีบันทึ กและ รวบรวมข้อมูลเกียวกับการเงินประจําวัน เรี ยกว่า ผูท้ าํ บัญชี (Bookkeeper) ประโยชน์ และวัตถุประสงค์ของการบัญชี 1.

ช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุมรักษาสินทรัพย์ของกิจการได้

2.

ช่วยให้ทราบผลการดําเนินงานของกิจการ ในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึงว่า ผลการ

ดําเนินงานทีผ่านมา กิจการมีกาํ ไรหรื อขาดทุนเป็ นจํานวนเท่าใด


19

3.

ช่ว ยให้ทราบฐานะการเงิ นของกิ จ การ ณ วัน ใดวันหนึ งว่า กิ จการในสิ น ทรั พย์

หนีสิน และทุน ซึงเป็ นส่วนของเจ้าของกิจการเป็ นจํานวนเท่าใด 4.

การทําบัญชีเป็ นการรวบรวมสถิติอย่างหนึงทีช่วยในการบริ หารงาน และให้ขอ้ มูล

อันเป็ นประโยชน์ในการวางแผนการดําเนินงาน และควบคุมกิจการให้ประสบผลสําเร็ จตามความ มุ่งหมาย 5.

เพือบัน ทึกรายการค้าทีเกิดขึนตามลําดับก่อนหลัง และจําแนกตามประเภทของ

รายการค้าไว้ 6.

เพือให้ถกู ต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการทําบัญชีของกิจการต่างๆ

การบัญชีกบั รู ปแบบของกิจการ การจัดทํางบการเงินในแต่ละธุรกิจจะมีรายการค้าทีแตกต่างกันออกไปบ้าง โดยต้องศึกษา ว่ากิจการค้านันตังขึ นในลักษณะใดและประกอบธุร กิจในลักษณะอย่างไร กิจการหากแบ่งตาม ลักษณะของการดําเนินงานเพือประกอบการ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ 1.

กิจการให้บริ การ เรี ยกว่า ธุรกิจบริ การ (Service business) เป็ นธุรกิจทีตังขึนเพือให้

บริ การแก่ลกู ค้า เช่น โรงแรม โรงภาพยนตร์ โรงพยาบาล โรงเรี ยน บริ ษทั ขนส่ง อู่ซ่อมรถ เป็ นต้น 2.

กิจการจําหน่ายสินค้า (ซือมาขายไป) เรี ยกว่า ธุรกิจพาณิ ชย์กรรม (Merchandising

business) เป็ นธุรกิจทีซือสินค้ามาเพือจําหน่ายโดยมิได้ทาํ การผลิตเอง เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านขาย ยา ร้านขายเครื องใช้ไฟฟ้ า เป็ นต้น


20

3.

กิจการอุตสาหกรรม เรี ยกว่า ธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing business) เป็ น

ธุรกิจทีผลิตและจําหน่ายสินค้าเองโดยการซือวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็ นสินค้าสําเร็ จรู ปเพือนําไป จําหน่าย เช่น บริ ษทั ผลิตยา บริ ษทั ผลิตอาหารสําเร็ จรู ป เป็ นต้น รู ปแบบกิจการของธุรกิจแบ่งตามลักษณะของการจัดตังได้เป็ น 3 รู ปแบบ คือ 1.

กิจการเจ้าของคนเดียว (Single Proprietorship) เป็ นธุรกิจขนาดเล็กใช้เงินทุนไม่

มากมีเจ้าของเพียงคนเดียวเป็ นผูน้ าํ เงินมาลงทุนและทําหน้าทีเป็ นผูบ้ ริ หารงานเอง เช่น ร้านค้าปลีก อู่ซ่อมรถ และกิจการบริ การวิชาชีพต่างๆ เป็ นต้น ผูเ้ ป็ นเจ้าของกิจการเป็ นผูม้ ีสิทธิในสินทรัพย์ และ เมือมีกาํ ไรหรื อขาดทุนเกิดขึนก็จะเป็ นผูร้ ับส่ วนของกําไรหรื อขาดทุนทังหมดนันแต่เพียงผูเ้ ดียว ตลอดจนรับผิดชอบในหนีสินทีเกิดขึนทังหมดของกิจการโดยไม่จาํ กัดจํานวนเช่นเดียวกัน ในทาง กฎหมายกิจการเจ้าของคนเดียวไม่ถือเป็ นนิติบุคคลแยกต่างหากจากผูเ้ ป็ นเจ้าของกิจการแต่ในทาง บัญชีถือเป็ นหน่วยอิสระหน่วยหนึงและแยกต่างหากจากผูเ้ ป็ นเจ้าของ ข้อดีของธุรกิจทีจัดตังขึนใน รู ปของกิจการเจ้าของคนเดียวนีคือ การจัดตังและการบริ หารงานง่าย รวดเร็ ว เนืองจากการตัดสิ นใจ ขึนอยูก่ บั เจ้าของกิจการเพียงคนเดียว ส่วนข้อเสียคือ การขยายกิจการทําได้ยาก เพราะมีเจ้าของเพียง คนเดียว การกูย้ ืมเงินจากเจ้าหนี จึงขึนอยู่กบั ฐานะและชือเสี ยงของเจ้าของแต่เพียงผูเ้ ดียว รู ปแบบ ของกิจการชนิดนีมีฐานะเป็ นบุคคลธรรมดา และเสียภาษีในอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2.

ห้างหุน้ ส่วน (Partnership) เป็ นธุรกิจทีจัดตังขึนโดยบุคคลตังแต่ 2 คนขึนไปตกลง

ร่ วมลงทุ น ซึ งทุ น ที จะนํา มาลงทุ น นั นอาจเป็ นเงิ น สด สิ นทรั พ ย์อื น หรื อแรงงา นก็ ไ ด้ โดยมีวตั ถุประสงค์ทีจะแบ่งผลกําไรระหว่างกัน มีการกําหนดเงือนไขในการบริ หารงานและการ แบ่งผลกําไรไว้อย่างชัดเจน ผูล้ งทุนในห้างหุ ้นส่ วน เรี ยกว่า “ผูเ้ ป็ นหุ ้นส่ ว น” กิจการร้านค้าปลีก ขนาดกลางมักจัดตังขึนในรู ปของห้างหุน้ ส่วน ข้อดีของธุรกิจทีตังขึนในรู ปแบบกิจการห้างหุน้ ส่วน คือ การตัด สิ น ใจในการบริ หารงานเป็ นไปอย่างรอบคอบเนื องจากมีผเู้ ป็ นหุ ้นส่ ว นร่ ว มในการ ตัดสินใจ การขยายกิจการทําได้ง่ายกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว ส่ วนข้อเสี ยคือ อาจทําให้เกิดความ


21

ล่าช้าในการตัดสินใจ เนืองจากต้องรอความเห็นชอบจากผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนอืน ๆ ก่อน ห้างหุน้ ส่ วนตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิ ชย์ (ปพพ.) แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 2.1

ห้า งหุ ้น ส่ ว นสามัญ ลัก ษณะสํา คัญ ของห้า งหุ ้น ส่ ว นประเภทนี คื อ มี

หุน้ ส่วนประเภทเดียว คือหุน้ ส่วนสามัญ ดังนันผูเ้ ป็ นหุ ้นส่ วนทุกคนต้องรับผิดชอบในหนี สิ นของ ห้างหุน้ ส่วนโดยไม่จาํ กัดจํานวน หมายความว่าถ้าห้างหุน้ ส่วนเกิดล้มละลายและสิ นทรัพย์ของห้าง หุน้ ส่วนทีมีอยูไ่ ม่พอนํามาชําระหนี เจ้าหนีของห้างหุน้ ส่วนสามารถฟ้ องร้องหุน้ ส่วนแต่ละคนให้นาํ ทรัพย์สินส่วนตัวมาชําระหนี ได้ การจัดตังห้างหุ ้นส่ วนสามัญจะจดทะเบียนหรื อไม่จดทะเบียนก็ ได้ ถ้าจดทะเบียนจะมีฐานะเป็ นนิติบุคคล เรี ยกว่า "ห้างหุน้ ส่วนสามัญนิติบุคคล" เสี ยภาษีเงินได้ใน อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ถ้าไม่จดทะเบียนจะมีฐานะเป็ นคณะบุคคลมิใช่นิติบุคคลมีสภาพเป็ น บุคคลธรรมดา เช่น เดียวกับกิจการเจ้าของคนเดียวและเสี ยภาษีเงิ นได้ในอัตราภาษี เงินได้บุคคล ธรรมดา 2.2

ห้างหุ ้นส่ วนจํากัด ลักษณะสําคัญของห้างหุ ้นส่ วนประเภทนี คือ มีผเู้ ป็ น

หุน้ ส่วน 2 ประเภท คือ 2.2.1 หุน้ ส่วนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ หมายถึง ผูเ้ ป็ นหุ ้นส่ วนที รับผิดชอบในหนีสินของห้างจํากัดจํานวนเพียงไม่เกินจํานวนเงินทีตนรับจะลงทุนในห้างหุ ้นส่ วน นัน 2.2.2 หุ ้นส่ วนประเภทรับผิดชอบในหนี สิ น ไม่จาํ กัด หมายถึง ผูเ้ ป็ น หุ ้นส่ ว นทีรั บผิด ชอบร่ วมกันในหนี สิ นทีเกิ ดขึนของห้างหุ ้นส่ ว นโดยไม่จาํ กัดจํานวน และผูเ้ ป็ น หุน้ ส่วนประเภทรับผิดชอบในหนีสินไม่จาํ กัดจํานวน หุ ้นส่ วนพวกนี เท่านันทีจะเป็ นผูบ้ ริ หารห้าง หุน้ ส่วนในฐานะผูจ้ ดั การห้างหุน้ ส่วน ห้างหุน้ ส่ วนจํากัดต้องจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์เป็ น นิติบุคคลและมีหุน้ ส่วนประเภทรับผิดชอบในหนีสินไม่จาํ กัดจํานวนอย่างน้อย 1 คน เสียภาษีเงินได้ ในอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล


22

3.

บริ ษทั จํากัด (Corporation or Limited Company) เป็ นธุรกิจทีจัดตังขึนโดยมีผเู้ ริ ม

ก่อการจัด ตังบริ ษ ัทไม่ต ากว่ ํ า 7 คน ผูเ้ ริ มก่ อการตอนจดทะเบี ยนบริ ค ณห์ สนธิ ตอ้ งเป็ นบุ ค คล ธรรมดาเท่านัน ร่ วมกันจดทะเบียนจัดตังบริ ษทั โดยกําหนดวัตถุประสงค์ของบริ ษทั จํานวนทุนและ จํานวนหุน้ จดทะเบียน และแบ่งทุนออกเป็ นหุ ้นแต่ละหุ ้นมีมูลค่าเท่าๆกัน บริ ษทั จํากัดจัดตังขึนใน รู ปของนิ ติ บุ ค คลคื อ ต้อ งจดทะเบี ย นเป็ นนิ ติ บุ ค คลแยกต่ า งหากจากเจ้า ของคื อ ผู้ถื อ หุ ้ น (Stockholders or Shareholders) ผูถ้ ือหุ ้น ทุก คนรับผิดชอบในหนี สิ น จํากัดจํานวนเพียงไม่เกิ น จํานวนเงินค่าหุน้ ทียังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุน้ ทีตนถืออยูเ่ ท่านัน บริ ษทั จะให้ผถู้ ือหุน้ ชําระเงินค่า หุน้ ครังแรกเป็ นจํานวนเงินเท่าใดก็ได้แต่ตอ้ งไม่น้อยกว่า 25% ของราคาหุ ้นทีขาย ผูถ้ ือหุ ้น 1 หุ ้นมี สิ ทธิ ออกเสี ยงในการประชุมผูถ้ ือหุ ้น 1 เสี ยง ถ้ามีหุ้นเป็ นจํานวนมากจะมีสิทธ์ออกเสี ยงเท่ ากับ จํานวนหุน้ ทีถืออยูน่ นั ผูถ้ ือหุน้ ทุกคนไม่มีสิทธิเข้ามาจัดการงานของบริ ษทั เว้นแต่ได้รับการแต่งตัง จากทีประชุมผูถ้ ือหุน้ ให้เป็ นกรรมการเพราะการจัดการบริ ษทั เป็ นหน้าทีของกรรมการบริ ษทั เท่านัน ผูถ้ ือหุน้ ได้รับส่วนแบ่งกําไรในรู ปของเงินปันผล (Dividends) หุน้ ของบริ ษทั จํากัดอาจเปลียนมือกัน ได้โดยการจําหน่ายหรื อโอนหุ ้นให้ผอู้ ืน โดยไม่ตอ้ งเลิกบริ ษทั เนื องจากผูถ้ ือหุ ้น (เจ้าของ) ทุกคน รั บ ผิ ด ชอบในหนี สิ น ของบริ ษั ท จํา กัด จํา นวน คุ ณ สมบั ติ ส่ วนตัว ของผู้ถื อ หุ ้ น จึ ง ไม่ เ ป็ น สาระสําคัญ บริ ษทั ทีจดทะเบียนแล้วจะใช้คาํ นําหน้าว่า "บริ ษทั " และคําลงท้ายว่า “จํากัด” ยกเว้น ธนาคารพาณิ ชย์ จะใช้คาํ ว่า “บริ ษทั ….….จํากัด” หรื อไม่ก็ได้ บริ ษทั จํากัดมี 2 ประเภท คือ 3.1

บริ ษทั เอกชนจํากัด (Private Company Limited) เป็ นบริ ษทั ทีจัดตังขึ น

ตามประมวลกฎหมายเพ่งและพาณิ ชย์ (ปพพ.) ตามมาตรา 1096 มีผเู้ ริ มก่อการไม่ตากว่ ํ า 7 คน 3.2

บริ ษทั มหาชนจํากัด (Public Company Limited) เป็ นบริ ษทั ทีจัดตังขึ น

ตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 มีผเู้ ริ มจัดตังบริ ษทั ไม่ตากว่ ํ า 15 คน และต้อง จองหุน้ รวมกันอย่างน้อย 5 % ของทุนจดทะเบียนแต่ละคนถือหุน้ ไม่เกิน 10% ของหุน้ ทีจดทะเบียน และตังขึ นมาโดยมีว ัต ถุประสงค์ เพือเสนอขายหุ ้น ต่ อประชาชนทั วไป/ต้องมีค าํ นําหน้าชื อว่ า “บริ ษทั ” และคําลงท้ายว่า “จํากัด (มหาชน)”


23

ข้ อสมมติทางการบัญชี ประเทศไทย หน่วยงานทีรับผิดชอบในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีคือ สมาคมนักบัญชี และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย เมือต้น ปี พ.ศ. 2542 ทางสมาคมได้มีการปรั บปรุ ง มาตรฐานการบัญชีใหม่ และยกเลิกมาตรฐานการบัญชีเดิมในหลายฉบับ ทังนี เพือเป็ นการพัฒนา มาตรฐานการบัญชี ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศแนวคิดพืนฐานของการ บัญชี จ ะเกี ยวข้องกับหลัก เกณฑ์ทีสําคัญในการศึก ษาแนวทิ ศทางการบัญชี จะช่ว ยให้เข้าใจถึง หลักเกณฑ์สาํ คัญในการกําหนดมาตรฐานการบัญชี ซึงโยงไปถึงหลักเกณฑ์ในการจัดทํางบการเงิน และจะช่วยให้ผใู้ ช้งบการเงินมีความเข้าใจ และเชือถือในข้อมูลทางการบัญชีมากขึนด้วย ซึงสมาคม นัก บัญชี และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย ได้ก าํ หนดไว้ในแม่บทการบัญชี ซึ งเป็ น มาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่ทีใช้แทนมาตรฐานการบัญชีฉบับที 1 เรื องข้อสมมติขนมู ั ลฐานทางการ บัญชี ดังนี 1.

เกณฑ์คงค้าง ภายใต้เกณฑ์ค งค้าง รายการ และเหตุ ก ารณ์ทางบัญชี จะรั บรู้ เมือ

เกิดขึน ไม่ใช่เมือมีการรับ หรื อจ่ายเงินสด ซึงหมายถึง การบันทึกรายการทางการบัญชีจะบันทึกและ แสดงในงบการเงินตามงวดเวลาทีรายการนันๆ เกินขึนจริ ง โดยไม่คาํ นึ งว่ามีการรับเงินสด หรื อ จ่ายเงินสดขณะเกิดรายการนันหรื อไม่

2.

การดําเนิ น งานที ต่อเนื อง โดยทั วไปงบการเงิ นจะจัดทําขึ นภายใต้ขอ้ สมมติ ว่า

กิจการจะดําเนินงานอย่างต่อเนือง และดํารงอยูต่ ่อไปในอนาคต ซึงหมายถึง กิจการทีตังขึนมาแล้ว ย่อมมีวตั ถุประสงค์จะดําเนิ นงานต่อไปเรื อยๆ โดยไม่มีกาํ หนดเวลา ว่าจะเลิกกิ จการเมือไร หรื อ นานเพี ย งพอที จะปฏิ บัติ ต ามแผนงาน และข้อ ผูก พัน ต่ า งๆ ที ได้ผูก พัน ไว้จ นกว่ า จะเสร็ จ ลักษณะเชิงคุณภาพ ลักษณะเชิงคุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติทีทําให้ขอ้ มูลในงบการเงินมีประโยชน์ ต่อผูใ้ ช้งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงินมี 4 ประการได้แก่ ความเข้าใจได้ ความ เกียวข้องกับการตัดสินใจ ความเชือถือได้ และการเปรี ยบเทียบกันไป


24

2.1

ความเข้าใจได้ หมายถึง งบการเงินนันจะต้องสามารถเข้าใจได้ทนั ทีทีผูใ้ ช้

งบการเงินใช้ขอ้ มูล ทังนีอยูภ่ ายใต้ขอ้ สมมติทีว่าผูใ้ ช้งบการเงินนันจะต้องมีความรู้ในเรื องของธุรกิจ พอควร 2.2

ความเกียวข้องกับการตัดสิ นใจ ข้อมูลทีปรากฏในงบการเงินจะต้องเป็ น

ข้อมูลที มีประโยชน์ต่ อการตัด สิ น ใจของ ผูใ้ ช้งบการเงิ น นั นคื อ สามารถทําให้ผใู้ ช้งบการเงิ น ประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบนั และอนาคต รวมทังยืนยัน หรื อชีข้อผิดพลาดของผลการประเมิน ทีผ่านมาของผูใ้ ช้งบการเงินได้ 2.3

ความเชื อถื อ ได้ ข้อ มูล ที แสดงในงบการเงิ น จะต้อ งปราศจากความ

ผิดพลาดทีมีนยั สําคัญ และความลําเอียง นันคือ จะต้องแสดงรายการ และเหตุการณ์ทางบัญชีอย่าง เทียงธรรม ตามทีต้องการให้แสดงหรื อควรจะแสดง ตามเนือหา และความเป็ นจริ งเชิงเศรษฐกิจ เช่น กิจการอาจจะโอนรถยนต์ให้กบั บุคคลอืน โดยมีหลักฐานยืนยันการโอนกรรมสิทธิตามกฎหมาย แต่ ในสัญญายังระบุให้กิจการสามารถใช้ประโยชน์จากรถยนต์ดงั กล่าวในอนาคตนันต่อไป กรณี เช่นนี การทีกิจการจะรายงานว่ามีการขายรถยนต์ จึงไม่สามารถถือได้ว่าเป็ นตัวแทนอันเทียงธรรมของ รายการทีเกิดขึน ผูจ้ ดั ทํางบการเงินจะต้องใช้ความระมัดระวังในการรายงานเหตุการณ์ทางการเงิน เมือประสบกับความไม่แน่นอน อันหลีกเลียงไม่ได้เกียวกับเหตุการณ์บางอย่าง เช่น ความสามารถ ในการเก็บหนี , การประมาณอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ ความไม่แน่ นอนของหนี สิ นทีอาจจะ เกิดขึ นจากสัญญารั บประกัน , คดีฟ้องร้อง โดยจะต้องใช้ดุ ลยพินิจที จําเป็ นในการประมาณการ รายได้ ความไม่แน่นอน เพืองบการเงินแสดงจํานวนทีสูงหรื อตําจนเกินไป นอกจากนี ข้อมูลในงบ การเงิ น ที เชื อถื อ ได้ต ้อ งครบถ้ว น ภายใต้ ข ้อ จํา กัด ของความมี นั ย สํา คัญ และต้ น ทุ น ในการ จัดทํา เหตุการณ์ทีมีนยั สําคัญ หมายถึง เหตุการณ์ซึงถ้าหากผูท้ ีเกียวข้องไม่มีโอกาสรับทราบแล้ว อาจจะตัดสินผิดไปในกรณี ทีรับทราบ ในทางปฏิบตั ิความมีนยั สําคัญของรายการมักจะกําหนดโดย คิดเทียบเป็ นร้อยละของสินทรัพย์ หนีสิน หรื อกําไรสุทธิ แล้วแต่กรณี


25

2.4

การเปรี ยบเทียบกันได้ ผูใ้ ช้งบการเงินต้องสามารถเปรี ยบเทียบงบการเงิน

ของกิ จ การในรอบระยะเวลาต่ างกัน เพือคาดคะเนถึงแนวโน้มของฐานะการเงิ น และผลการ ดําเนินงานของกิจการนัน และต้องสามารถเปรี ยบเทียบงบการเงินระหว่างกิจการเพือประเมินฐานะ การเงิน ผลการดําเนินงาน และการเปลียนแปลงฐานะการเงิน โดยผูใ้ ช้งบการเงินต้องได้รับข้อมูล เกียวกับนโยบายการบัญชีทีใช้ในการจัดทํางบการเงิน รวมทังการเปลียนแปลงนโยบายการบัญชี และผลกระทบจากการเปลียนแปลงดังกล่าวด้วย อย่างไรก็ตาม แม้มาตรฐานการบัญชีฉบับที 1 จะ ถูก ยกเลิก แล้ว แต่ ในเนื อหาบางส่ ว นโดยเฉพาะข้อสมมติ ข ันมูลฐาน ยังเป็ นสิ งจําเป็ นที ผูศ้ ึก ษา วิชาการบัญชีตอ้ งทําความเข้าใจ ข้อสมมติขนมู ั ลฐานของการบัญชี คือ ข้อกําหนดทางการบัญชีทีเป็ นทียอมรับกันโดยไม่มี การพิสูจน์ โดยปกติมกั กําหนดขึนจากการประมวลจากหลักและวิธีการปฏิบตั ิต่าง ๆ กัน ในบางครัง ข้อกําหนดดังกล่าวมีลกั ษณะทีไม่มีเหตุผล ข้อสมมติขนมู ั ลฐานของการบัญชีเป็ นหลักเกณฑ์ทีสําคัญ ในการจัดทํางบการเงิน หากผูใ้ ช้งบการเงินไม่เข้าใจถึงข้อสมมติขนมู ั ลฐานของการบัญชี ก็ยากทีจะ เข้าใจว่าทําไมนักบัญชีจึงเสนอข้อมูลในลักษณะเช่นนัน โดยปกตินักบัญชีทีจัดทํางบการเงินจะไม่ กล่าวถึงข้อสมมติดงั กล่าวซําอีก ทังนี เพราะเป็ นทีเข้าใจกันว่าข้อสมมติขนมู ั ลฐานนัน ได้รับการ ยอมรับและใช้กนั อยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม หากในการจัดทํางบการเงินไม่ได้ใช้ขอ้ สมมติดงั กล่าว ก็ จําเป็ นต้องเปิ ดเผยให้ทราบพร้อมด้วยเหตุผล เท่าที ผ่านมาข้อสมมติขนมู ั ลฐานของการบัญชี ถูก กําหนดขึ นโดยประมวลมาจากหลักและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ กัน จนข้อสมมตินัน ๆ ได้ถือปฏิบตั ิก ัน โดยทัวไป คณะกรรมการของสมาคมวิชาชีพการบัญชีและนักวิชาการต่าง ๆ ได้พยายามจัดทําข้อ สมมติขนมู ั ลฐานดังกล่าว ซึงปรากฏว่าทํากันได้หลายแบบ แต่ละแบบจะมีจาํ นวนข้อสมมติซึงเป็ น แนวความคิ ด ขันมูล ฐาน (Concepts) ข้อสมมติ ข ันมูลฐาน (Assumption) และหลัก การบัญ ชี (Principles) ต่าง ๆ กัน ข้อสมมติขนมู ั ลฐานของการบัญชีทีจะกล่าวถึงต่อไปนี เป็ นข้อสมมติขนมู ั ล ฐานของการบัญชี ต ามมาตรฐานการบัญชี ข องสมาคมนักบัญชี แ ละผูส้ อบบัญชี รั บอนุ ญาตแห่ ง ประเทศไทย ฉบับที 1 ซึงกําหนดให้เริ มถือปฏิบตั ิกบั งบการเงินสําหรับงวดหรื อปี สิ นสุ ด วันที 1 กันยายน 2522 เป็ นต้นไป สรุ ปได้ดงั นี


26

1.

หลักการใช้หน่ วยเงินตราในการบัญชี (The Monetary Unit Assumption)

การบัญชีให้ขอ้ มูลทีเป็ นประโยชน์แก่ผทู้ ีเกียวข้อง ข้อมูลทางการบัญชีอาจเป็ นพรรณนาโวหารก็ได้ แต่ขอ้ มูลดังกล่าวจะให้ความหมายไม่ชดั เจนเท่าข้อมูลทีเป็ นตัวเลข เนื องจาก หน่ วยเงินตราใช้เป็ น สื อในการแลกเปลียน และทําหน้าทีเป็ นหน่ วยวัดราคา ดังนันนักบัญชีจึงใช้ห น่ วยเงินตราในการ วัดผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน และการเปลียนแปลงฐานะการเงินของกิจการ 2.

หลักความเป็ นหน่วยงานของกิจการ (The Entity Concept) ข้อมูลทางการ

บัญ ชี เ ป็ นข้อมูล เกี ยวกับหน่ ว ยงานหนึ ง ๆ ซึ งแยกต่ า งหากจากเจ้า ของกิ จ การและกิ จ การอื น หน่วยงานในทีนีได้แก่หน่วยธุรกิจ ซึงอาจเป็ นในรู ปของบริ ษทั จํากัด ห้างหุ ้นส่ วน บุคคลคนเดียว หรื อในรู ปอืน ดังนันจึงต้องระบุหน่วยของกิจการไว้ในงบการเงินนัน ๆ ความเป็ นหน่วยงานตามข้อ สมมติของการบัญชีอาจไม่เหมือนกับความหมายของความเป็ นหน่วยงานตามกฎหมาย เช่น บริ ษทั ต่าง ๆ ในเครื อเป็ นกิจการแยกกันตามกฎหมาย แต่ในการทํางบการเงินรวมนักบัญชีถือว่าบริ ษทั ต่าง ๆ ในเครื อนันเป็ นหน่วยธุรกิจเดียวกัน 3.

หลักการใช้หลักฐานอันเทียงธรรม (The Objectivity Principle) เนื องจาก

งบการเงินทําขึนเพือประโยชน์ของบุค คลหลายฝ่ าย ซึงอยู่ในสถานะต่าง ๆ กัน นักบัญชีผทู้ าํ งบ การเงินอยู่อีกสถานะหนึ ง ดังนัน เพือให้บุค คลทีเกียวข้องเข้าใจงบการเงินของกิจการได้ถูกต้อง ใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมากทีสุด การบันทึกรายการบัญชีและการทํางบการเงิน จึงต้องจัดทําขึน โดยอาศัยหลักฐานและข้อเท็จ จริ งอันเที ยงธรรมที บุค คลต่ าง ๆ ยอมรั บและเชือถือได้ หลักฐาน ดังกล่าวจะต้องปราศจากความลําเอียงหรื อไม่มีอคติต่อบุคคลหนึงบุคคลใดโดยเฉพาะ โดยพยายาม หลีกเลียงความคิดเห็นส่วนบุคคลให้มากทีสุด 4.

หลักรอบเวลา (The Time Period Assumption) กระบวนการการบัญชี

การเงินให้ขอ้ มูลเกียวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการสําหรับรอบเวลาหรื อรอบบัญชีทีระบุไว้ ส่ วนผูใ้ ช้งบการเงิ นทําการประเมินผลและตัดสิ น ใจเกียวกับกิ จการตามวาระและเวลาต่าง ๆ กัน ตลอดอายุของกิจการ ดังนัน จึงต้องแบ่งการทํางานของกิจการออกเป็ นรอบเวลาสัน ๆ เพือจัดทํา


27

ข้อมูลไว้เพือประโยชน์ในการตัดสิ น ใจ โดยปกติ ร อบเวลาดังกล่าวมักจะกําหนดไว้เท่ากันเพือ ประโยชน์ในการเปรี ยบเทียบและมีระบุไว้ชดั ในงบการเงิน 5.

หลักการดําเนินงานสืบเนื อง (The Going Concern Assumption) กิจการที

จัดตังขึนย่อมมีวตั ถุประสงค์ทีจะดํารงอยูโ่ ดยไม่มีกาํ หนด กล่าวคือ หากไม่มีเหตุชีเป็ นอย่างอืนแล้ว กิจการทีตังขึนย่อมจะดําเนินงานต่อเนืองกันไปอย่างน้อยก็นานพอทีจะดําเนิ นงานตามแผนและข้อ ผูกพันทีได้ทาํ ไว้จนสําเร็ จ นักบัญชีจึงมีขอ้ สมมติขนมู ั ลฐานว่ากิจการไม่ตงใจที ั จะเลิกดําเนิ นงาน หรื อไม่จาํ เป็ นต้องเลิกดําเนินงาน หรื อต้องลดปริ มาณการดําเนิ นงานลงอย่างมาก หากมีเหตุอืนใด ชีให้เห็นว่าเหตุการณ์ในภายหน้าจะไม่เป็ นไปตามข้อสมมติดงั กล่าว ก็จะต้องใช้มาตรฐานการบัญชี ทีกําหนดไว้สาํ หรับเหตุการณ์นนั ๆ โดยเฉพาะแทน 6.

หลักราคาทุน (The Cost Principle) หลักราคาทุนเกียวโยงกับหลักความ

ดํารงอยู่ของกิ จการ ตามหลักราคาทุน การบันทึก สิ น ทรั พย์และหนี สิ นถือเกณฑ์ราคาทุนเดิม ซึ ง หมายถึงราคาอันเกิดจากการแลกเปลียน ราคาทุนเป็ นราคาทีเหมาะสมกว่าราคาอืน ๆ เพราะราคา ทุนเป็ นราคาทีแน่นอนและสามารถคํานวณได้อย่างตรงไปตรงมาไม่ขึนอยู่กบั ความเห็นของแต่ละ คนซึงอาจแตกต่างกันได้ อย่างไรก็ตามการใช้ราคาทุนเป็ นเกณฑ์ก็มีขอ้ เสียหลายประการ โดยเฉพาะ อย่างยิงในกรณี ทีระดับราคาสินค้าเปลียนแปลงไปอย่างมาก ในกรณี ทีมีการใช้ราคาอืนทีมิใช่ราคา ทุน ควรเปิ ดเผยให้ทราบด้วย 7.

หลักการเกิดขึนของรายได้ (The Revenue Realization Principle) หลักการ

เกิดขึนของรายได้เป็ นหลักเกียวกับการบันทึกรายได้จากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การแก่ลูกค้าว่า ควรจะถือว่ารายได้เกิดขึนเมือใด และในจํานวนเงินเท่าใด โดยทัวไป นักบัญชีจะลงบันทึกว่ารายได้ ได้เกิดขึนแล้ว เมือมีเงือนไข 2 อย่างต่อไปนี (1) กระบวนการก่อให้เกิดรายได้ได้สาํ เร็ จแล้ว และ (2) การแลกเปลียนได้เกิดขึนแล้ว กล่าวอีกนัยหนึงก็คือ รายได้เกิดขึนในงวด ซึงได้มีการส่ งมอบสิ นค้า หรื อให้บริ การแก่ลกู ค้าแล้ว สําหรับจํานวนเงินทีบันทึกเป็ นรายได้นันก็คือจํานวนทีได้รับหรื อคาด


28

ว่าจะได้รับ อย่างไรก็ตาม ในบางกรณี นักบัญชีถือว่ารายได้เกิดขึนโดยใช้หลักเกณฑ์อืนทีแตกต่าง ไปจากข้างต้น 8.

หลักการจับคู่ค่าใช้จ่ายกับรายได้ (The Matching Principle) หน้าทีสําคัญ

อย่างหนึงของบัญชีคือการจับคู่ผลความสําเร็ จ (ตามทีวัดด้วยรายได้) กับความพยายาม (ตามทีวัด ด้วยค่าใช้จ่าย) หลักการจับคู่ค่าใช้จ่ายกับรายได้เป็ นแนวทางสําหรับตัดสิ นว่า รายการใดบ้างทีจะ เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีนัน ๆ วิธีการคือ จะมีการบันทึกรายได้ตามหลักการเกิดขึนของรายได้ ก่อน ถัดจากนันจึงเอาค่าใช้จ่ายไปจับคู่กบั รายได้ 9.

หลักเงินค้าง หรื อ เกณฑ์คงค้าง (The Accrual Principle) ในการคํานวณ

กําไรและขาดทุนสําหรับงวด นักบัญชีตอ้ งคํานึงถึงรายได้และค่าใช้จ่ายนัน และแยกส่ วนทีไม่เป็ น ของงวดนันออก ตามวิธีการบัญชีทีถือเกณฑ์เงินสด จํานวนเงินทีจ่ายไปทังหมดสําหรับงวดอาจถือ ได้ว่าเป็ นค่าใช้จ่ายทีเกิดขึน แต่ตามหลักเงินค้างหรื อเกณฑ์คงค้าง รายได้ถือว่าเกิดขึนเมือเข้าเกณฑ์ 2 ประการดังกล่าวแล้ว และใช้หลักการจับคู่ค่าใช้จ่ายกับรายได้เพือให้ได้มาซึงค่าใช้จ่ายทีเกิดขึน สําหรับงวด แม้จะยังไม่มีการรับเงินและจ่ายเงินก็ตาม 10.

หลักโดยประมาณ (The Approximation Assumption) การคํานวณกําไร

และขาดทุ นต้องอาศัยการปั น ส่ วนรายได้และค่าใช้จ่ ายเข้ารอบบัญชีต่าง ๆ เข้ากิจกรรมต่าง ๆ ที สลับซับซ้อนและเป็ นส่วนเข้ากิจกรรมทีมีลกั ษณะร่ วมกัน การคํานวณจึงจําเป็ นต้องทําโดยวิธีการ ประมาณการ การทีการดําเนินงานของกิจการมีลกั ษณะต่อเนื องกันมีความสลับซับซ้อนมีความไม่ แน่นอนและมีลกั ษณะร่ วมสัมพันธ์กนั ทําให้นักบัญชีไม่อาจคํานวณกําไร และขาดทุนได้ถูกต้อง แน่นอนจึงต้องใช้วิธีประมาณการและใช้ดุลยพินิจประกอบอย่างหลีกเลียงไม่ได้ 11.

หลัก ความสมําเสมอ (The Consistency Principle) การใช้งบการเงิ น

สําหรับระยะเวลาหนึ ง บางครังอาจเพียงพอในการช่วยตัดสิ นใจ แต่งบการเงินสําหรับระยะเวลา หลาย ๆ ช่วงติดต่อกันไปย่อมจะมีความหมายและให้ประโยชน์แก่ผใู้ ช้ได้ดีกว่าการเปรี ยบเทียบงบ


29

การเงินสําหรับระยะเวลาทีแตกต่าง ย่อมจะเกิดผลและมีประโยชน์ต่อเมืองบการเงินนัน ๆ ได้จดั ทํา ขึนโดยอาศัยมาตรฐานการบัญชีเดียวกัน ฉะนันการปฏิบตั ิทางบัญชีของกิจการหนึ ง ๆ จึงต้องยึด หลักความสมําเสมอ กล่าวคือ เมือเลือกใช้การปฏิบตั ิบญ ั ชีวิธีใดแล้วจะต้องใช้วิธีนันโดยตลอด แต่ ทังนี มิได้หมายความว่าจะเปลียนแปลงการปฏิบตั ิบญ ั ชีไม่ได้เลย เพราะเหตุการณ์และสิ งแวดล้อม ในธุรกิจย่อมเปลียนแปลงไปตามกาลเวลา 12.

หลักการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ (The Full Disclosure Principle) นัก

บัญชีมีหน้าทีเปิ ดเผยข้อมูลการเงินทีสําคัญทังหมดต่อผูใ้ ช้งบการเงิน ในเรื องการเปิ ดเผยข้อมูลนี ไม่ มีกฎเกณฑ์ทีแน่นอนว่า การเปิ ดเผยอย่างเพียงพอควรมีลกั ษณะอย่างไร โดยทัวไปนักบัญชีจะตัดสิน โดยถือว่า ถ้าไม่เปิ ดเผยแล้วจะเป็ นเหตุให้ผใู้ ช้งบการเงินหลงผิดหรื อไม่ ความเห็นจึงอาจแตกต่าง กัน ได้มาก ว่ารายการใดบ้างที ควรเปิ ดเผย ดังนัน หลัก เกณฑ์ทีควรนํามาใช้คื อ "เมือสงสัยให้ เปิ ดเผย" การเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอหมายความรวมถึง รู ปแบบการจัดรายการและข้อมูลในงบ การเงิ น หมายเหตุประกอบงบการเงิ น คําศัพท์ทีใช้ การแยกประเภทรายการ เกณฑ์ทีใช้ในการ คํานวณ ฯลฯ ทังหมดนีเน้นถึงลักษณะและชนิดของการเปิ ดเผยต่าง ๆ ทีจําเป็ นทีทําให้งบการเงินให้ ข้อมูลอย่างเพียงพอ นอกจากข้อสมมติขึนมูลฐานของการบัญชี 12 ข้อข้างต้นแล้ว ยังมี ข้อควรคํานึ งในการใช้ มาตรฐานการบัญชี (Exceptions to Accounting Principles) เพิ มเติมเพือยึดถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ิ ทางการบัญชีเพือให้เป็ นไปตามหลักการบัญชีทีรับรองทัวไป ดังนี 13.

หลัก ความระมัด ระวัง (Conservatism) ในการดําเนิ น กิ จ การ ความไม่

แน่นอนมักเกิดขึนเสมอ การทํางบการเงินจึงต้องใช้ความระมัดระวังรับรู้เรื องความไม่แน่ นอนนี ไว้ ด้วย หลักความระมัดระวัง หมายถึงว่าในกรณี ทีอาจเลือกวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีได้มากกว่าหนึ งวิธี นักบัญชีควรเลือกวิธีทีจะแสดงสินทรัพย์และกําไรในเชิงทีตํากว่าไว้ก่อน หลักโดยย่อคือ "ไม่คาดกา รณว่าจะได้กาํ ไร แต่จ ะรับรู้การขาดทุ นไว้อย่างเต็มที ในกรณี ทีสงสัยให้ตดั เป็ นค่าใช้จ่ ายทันที "


30

อย่างไรก็ตาม มิได้หมายความว่าหลักความระมัดระวังจะเป็ นเหตุผลสนับสนุ นให้กิจการตังสํารอง ลับได้ 14.

หลักเนือหาสําคัญกว่ารู ปแบบ (Substance Over Form) นักบัญชีให้ความ

สนใจในเนื อหาทางเศรษฐกิ จของเหตุก ารณ์ แม้รู ปแบบทางเศรษฐกิจ ของเหตุ ก ารณ์ นันอาจจะ แตกต่างจากรู ปแบบทางกฎหมายก็ตาม โดยปกติเนือหาทางเศรษฐกิจของเหตุการณ์ทีเกิดขึนมักจะ สอดคล้องกับรู ปแบบทางกฎหมาย อย่างไรก็ตามในบางครังเนื อหากั บรู ปแบบทางกฎหมายอาจ แตกต่างกัน นักบัญชีจึงควรเสนอในงบการเงิน ซึงรายการและเหตุการณ์ทีเกิดขึนตามเนื อหาและ ตามความเป็ นจริ งทางการเงินไม่ใช่ตามรู ปแบบทางกฎหมายเท่านัน ทังนี เพือให้ผใู้ ช้งบการเงินได้ ทราบข้อมูลเกียวกับกิจการทางเศรษฐกิจของเหตุการณ์นนได้ ั ชดั เจนยิงขึน 15.

หลัก การมีนัย สํา คัญ (Materiality) งบการเงิ น ควรเปิ ดเผยข้อ มูล ที มี

นัยสําคัญพอทีจะกระทบต่อการตัดสิ นใจ ทังนี เพือให้ผใู้ ช้งบการเงิน เข้าใจโดยถูกต้องถึงผลการ ดําเนิ น งาน ฐานะการเงิน และการเปลียนแปลงฐานะการเงิน ของกิจ การ เหตุก ารณ์ทีมีนัยสําคัญ หมายถึงเหตุ การณ์ ซึงหากผูท้ ี เกียวข้องไม่ได้รั บทราบแล้ว อาจต้องตัด สิ นใจผิดไปจากกรณี ทีได้ รับทราบ ดังนัน เมือนัก บัญชี ได้สังเกตเห็น เหตุ ก ารณ์ ใดซึ งมีนัยสําคัญต่ อการตัด สิ นใจของผูท้ ี เกียวข้องแล้ว นักบัญชีตอ้ งรายงานเหตุการณ์นนด้ ั วยความระมัดระวัง 16.

หลักการปฏิบตั ิเฉพาะธุรกิจบางประเภท (Industry Practice) หมายความ

ถึง การยอมให้ใช้วิธีปฏิบตั ิทางบัญชีสาํ หรับธุรกิจบางประเภท เช่น สถาบันการเงิน เป็ นต้น แตกต่าง ไปจากวิธีปฏิบตั ิทางบัญชีสาํ หรับธุรกิจทัวไปได้ เนืองจากการเน้นถึงความสําคัญของข้อมูลอาจจะ ให้ตามลําดับไม่เหมือนกัน


31

รายงานทางการเงิน รายงานทางการเงิน หมายถึง รายงานทางการเงินทีจัดทําขึนเพือวัดผลการดําเนิ นงานของ กิจการในช่วงระยะเวลาหนึง งบการเงินทีสําคัญประกอบด้วย 1.

งบกําไรขาดทุ น หมายถึ ง งบการเงิ น ที แสดงผลการดํา เนิ น งานของกิ จ การใน

ช่วงเวลาใดเวลาหนึ ง โดยแสดงรายได้หักค่าใช้จ่าย แล้วอยู่ในรู ปของกําไรหรื อขาดทุน ถ้ารายได้ มากกว่าค่าใช้จ่ายคือกําไร ถ้าค่าใช้จ่ายมากกว่ารายได้คือขาดทุน 2.

งบแสดงฐานะทางการเงิน หมายถึง งบการเงินทีแสดงฐานะของกิจการ ณ วันใด

วันหนึง โดยแสดงสินทรัพย์ทีกิจการเป็ นจ้าของ แสดงหนีสินทีกิจการต้องจ่ายชําระ และแสดงส่ วน ของเจ้าของทีกิจการเป็ นเจ้าของ รวมทังส่วนทีเจ้าของนํามาลงทุน 3.

งบแสดงการเปลียนแปลงในส่ วนของผู้ถือหุ้น หมายถึง งบการเงินทีแสดงทังการ

เปลียนแปลงของผูเ้ ป็ นเจ้าของ ถ้าเป็ นกิจการเจ้าของคนเดียว จะประกอบด้วยบัญชีทุน และบัญชีเงิน ถอน หากเป็ นกิจการห้างหุน้ ส่วน จะประกอบด้วยบัญชีทุนและบัญชีเดินสะพัดของหุ ้นส่ วนแต่ละ คน ถ้าเป็ นกิจการบริ ษทั จํากัด จะเรี ยกว่างบแสดงการเปลียนแปลงในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ส่ วนของ เจ้าของจะเปลียนแปลงเมือมีการเพิ มทุน ถอนทุน กําไร ขาดทุน และแบ่งผลตอบแทนคืนแก่เจ้าของ และในทางปฏิบตั ิกิจการในรู ปบริ ษทั อาจจะมีงบกําไร (ขาดทุน) สะสมเพือแสดงรายละเอียดของ การเพิ มขึนและลดลงในระหว่างปี ของกําไรสะสม 4.

งบกระแสเงิ น สด หมายถึง งบการเงิ น ที แสดงการเคลือนไหวของเงิ น สดและ

รายการทีเทียบเท่าเงิ นสดของกิ จการในช่ว งเวลาใดเวลาหนึ ง งบกระแสเงินสดจะแสดงเงินสดที ได้รับและจ่ายออกไปทีเกิดขึนตาม 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมลงทุนและกิจกรรม จัดหาเงิน


32

5.

หมายเหตุประกอบงบการเงิน เป็ นส่ วนทีเป็ นข้อมูลสําคัญประกอบตัวเลขในงบ

การเงิน ทังงบแสดงฐานะทางการเงิน งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น และงบกระแสเงินสด จะว่าไปแล้ว ก็เป็ นเหมือนส่วนทีจะขยายความ หรื อให้ขอ้ มูลเพิ มเติมแก่ผอู้ ่าน งบการเงินในส่วนทีตัวเลขทีแสดงไว้ในงบชนิดต่างๆนัน ไม่ได้ให้รายละเอียดไว้ หลักเกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินเพือให้ มมี าตรฐานเดียวกัน 1.

พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 มาตรา 11 กําหนดให้ผมู้ ีหน้าทีจัดทําบัญชี 5

ประเภท เท่านัน ที ต้องจัดทํางบการเงิ นและนําส่ งงบการเงินต่ อกรมพัฒ นาธุร กิจการค้า คือ ห้าง หุน้ ส่วนจดทะเบียน บริ ษทั จํากัด บริ ษทั มหาชนจํากัด นิ ติบุคคลทีตังขึนตามกฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่ วมค้าตามประมวลรัษฎากร 2.

นิติบุคคลทีตังขึนตามกฎหมายต่างประเทศ คือ นิ ติบุคคลซึงไม่ได้จดทะเบียนใน

ประเทศไทยและเข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทยในทุกกรณี ไม่ว่าจะประกอบธุรกิจโดยได้รับ อนุ ญาตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุ รกิ จ ของคนต่ างด้าวหรื อไม่ก็ตาม โดยครอบคลุมถึง สํานักงานผูแ้ ทนและสํานักงานภูมิภาคด้วย 3.

ผูม้ ีหน้าทีจัดทําบัญชีตอ้ งจัดทํางบการเงินโดยมีรายการย่อตามประกาศกรมพัฒนา

ธุรกิจการค้า เรื อง กําหนดรายการย่อทีต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 สําหรับงบการเงินซึงมีรอบปี บัญชีเริ มต้นในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2552 เป็ นต้นไป แต่ผมู้ ีหน้าทีจัดทําบัญชีจะปฏิบตั ิตาม ประกาศฉบับนีก่อนถึงกําหนดเวลาบังคับใช้ก็ได้ เช่น งบการเงินสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2551 หากปฏิบตั ิตามประกาศฉบับนีก็ถือว่างบการเงินนันได้จดั ทําถูกต้องแล้ว 4.

การกําหนดรายการย่อของงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็ นการ

กําหนดรายการย่อของงบการเงิน สําหรับธุ รกิจ โดยทัวไปเท่ านัน สําหรับธุรกิ จทีต้องปฏิบตั ิ ตาม กฎหมายเฉพาะ เช่น สถาบันการเงิน บริ ษทั ประกันภัย บริ ษทั หลักทรัพย์ บริ ษทั บริ หารสิ นทรัพย์


33

บริ ษทั โฮลดิ งทีเป็ นบริ ษทั แม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ก็ให้ใช้รายการย่อตามทีกําหนดในกฎหมาย เฉพาะนัน 5.

สําหรับรอบปี บัญชีแรกที จัดทํางบการเงินตามประกาศฉบับนี หรื อกรณี ทีมีการ

แปรสภาพกิจการระหว่างปี งบการเงินของรอบปี บัญชีก่อนทีนํามาเปรี ยบเทียบอาจมีการจัดประเภท รายการหรื อมีรูปแบบทีแตกต่างจากประกาศฉบับนี ผูม้ ีหน้าทีจัดทําบัญชีควรจัดประเภทรายการ หรื อรู ปแบบทีจะนํามาเปรี ยบเทียบให้สอดคล้องกับประกาศฉบับนี ด้วย เว้นแต่ในทางปฏิบตั ิไม่ สามารถทําได้ กรณี ทีมีก ารแปรสภาพกิ จ การในระหว่า งปี การจัด ทํา งบการเงิ น ให้ถือว่ ารอบ ระยะเวลาบัญชีต่อเนืองกัน ตัวอย่างเช่น ห้างหุ ้นส่ วนจํากัดปิ ดบัญชีตามปี ปฏิทิน และห้างหุ ้นส่ วน ดังกล่าวได้แปรสภาพจากห้างหุน้ ส่วนจํากัดเป็ นบริ ษทั จํากัด เมือวันที 1 มิถุนายน 25X1 ดังนัน รอบ ปี บัญชีแรกภายหลังการแปรสภาพเป็ นบริ ษทั จํากัด คือ 1 มกราคม 25X1 สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 25X1 โดยกิจการควรเปิ ดเผยข้อมูลเกียวกับการแปรสภาพกิจการในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วย 6.

การจัดประเภทรายการในงบการเงิน ให้พิจารณา ดังนี 6.1

ให้พิจารณาลัก ษณะการดําเนิ นงานของธุร กิจ และมาตรฐานการบัญชี ที

เกียวข้องกับเรื องนัน ๆ รวมทังคํานึงถึงนโยบายการกํากับดูแลของหน่วยงานทีเกียวข้อง 6.2

ให้พิจารณาเนื อหาเชิ งเศรษฐกิจ มากกว่ารู ปแบบทางกฎหมาย เช่น หุ ้น

บุริมสิทธิซึงให้สิทธิกิจการทีออกหุน้ ในการบังคับไถ่ถอนด้วยจํานวนเงินทีแน่ นอนหรื อทีสามารถ ทราบได้ ณ วัน ที กําหนดไว้หรื อวัน ที ทราบได้ หรื อหุ ้น บุ ริ มสิ ทธิ ซึงให้สิทธิ แก่ ผถู้ ือหุ ้น ในการ เรี ยกร้องให้กิจการไถ่ถอนหุน้ ในหรื อหลังวันทีทีกําหนดไว้ดว้ ยจํานวนเงินทีแน่นอนหรื อทีสามารถ ทราบได้ หุน้ บุริมสิทธินนต้ ั องจัดประเภทเป็ นหนีสินในงบดุล 7.

แบบรายการย่อเป็ นเพียงแนวทางทีกําหนดให้แสดงรายการแยกเป็ นแต่ละบรรทัด

พร้อมจํานวนเงิน หากผูม้ ีหน้าทีจัดทําบัญชีไม่มีรายการตามที แบบรายการย่อกําหนดไว้ก็ไม่ตอ้ ง


34

แสดงรายการดังกล่าวไว้ในงบการเงิน เช่น งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั จํากัด ถ้าในระหว่างปี มีก ารเปลียนแปลงเฉพาะกําไร (ขาดทุ น ) สุ ทธิ ประจําปี เท่านัน ไม่มีก าร เปลียนแปลงในรายการอืน ก็ให้แสดงเฉพาะการเปลียนแปลงในกําไร (ขาดทุน) สุทธิเท่านัน 8.

กรณี ทีผูม้ ีหน้าทีจัดทําบัญชีมีรายการนอกเหนือจากทีแบบรายการย่อกําหนดไว้ให้

แสดงรายการนันได้ตามความจําเป็ นและเหมาะสมแก่กรณี เช่น แบบรายการย่อกําหนดให้แสดง รายการย่อไว้เพียงรายการเดียว ผูม้ ีหน้าทีจัดทําบัญชีจะแสดงรายละเอียดภายใต้รายการนันก็ได้ แต่ ต้องแสดงรายการให้ถกู ต้องตามประเภทและลักษณะของสินทรัพย์ หนีสิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ หรื อค่าใช้จ่าย กรณี ทีมาตรฐานการบัญชีกาํ หนดให้มีรายการย่อนอกเหนื อจากรายการทีกําหนดใน ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจ การค้า เรื อง กําหนดรายการย่อทีต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ก็ตอ้ ง แสดงรายการนันเพิ มเติมตามทีมาตรฐานการบัญชีกาํ หนด 9.

การกําหนดหน่ วยจํานวนเงิน บาท อาจแสดงเป็ นหน่ วยของหลัก พัน หลัก หมืน

หลักแสน หลักล้าน ก็ได้ แต่ตอ้ งระบุหน่วยของหลักทีใช้ไว้ในงบการเงิน 10.

หมายเลขกํากับทีปรากฏในงบการเงินมีไว้เพือความสะดวกในการอ้างอิงเท่านัน

ในการจัดทํางบการเงินไม่ตอ้ งแสดงหมายเลขดังกล่าว 11.

งบกําไรขาดทุนอาจเลือกแสดงแบบจําแนกค่าใช้จ่ายตามลัก ษณะของค่าใช้จ่าย

หรื อจําแนกค่าใช้จ่ายตามหน้าที- แบบขันเดียว หรื อจําแนกค่าใช้จ่ายตามหน้าที-แบบหลายขันก็ได้ งบแสดงการเปลียนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุ ้น งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของสํานักงานใหญ่ งบ แสดงการเปลียนแปลงส่วนของผูร้ ่ วมค้า อาจเลือกแสดงแบบงบแสดงการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย แทนก็ได้ ทังนี หากเลือกแสดงแบบใดแล้ว ควรถือปฏิบัติ อย่างสมําเสมอ เพือประโยชน์ในการ เปรี ยบเทียบ กรณี ทีมีการเปลียนแปลงแบบทีเลือกแสดงควรเปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบ การเงินด้วย


35

12.

งบการเงินของบริ ษทั มหาชนจํากัด แบบ 3 กรณี ทีบริ ษทั มหาชนจํากัดมีเพียงแต่เงิน

ลงทุ น ในบริ ษ ัทร่ ว ม และหรื อเงิ น ลงทุ นในการร่ ว มค้าที เลือกใช้วิธีส่ว นได้เสี ยให้ใช้ค าํ ว่า "งบ การเงินทีแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย" แทน "งบการเงินรวม" และเพือความสะดวกในการ จัดทํางบการเงินอาจแยกฉบับระหว่าง "งบการเงินรวม" กับ "งบการเงินเฉพาะกิจการ" ก็ได้ กรณี ผมู้ ี หน้าที จัดทําบัญชีมิได้เป็ นบริ ษ ัทมหาชนจํากัด แต่มีเงิ นลงทุ นในบริ ษทั ย่อย และหรื อบริ ษ ัทร่ ว ม และหรื อเงินลงทุนในการร่ วมค้าทีเลือกใช้วิธีส่วนได้เสี ย และประสงค์จะทํางบการเงินรวม ให้นาํ มาตรฐานการบัญชีหรื อแบบรายการย่อในงบการเงินของบริ ษทั มหาชนจํากัด แบบ 3 มาใช้ 13.

งบการเงินของนิติบุคคลทีตังขึนตามกฎหมายต่างประเทศ แบบ 4 รายการทุนขัน

ตําตามกฎหมายแยกตามประเภทธุรกิจ ให้แยกทุนขันตําตามกฎหมายทีได้รับจากสํานักงานใหญ่ ตามประเภทธุรกิจนัน โดยอาจแสดงรายละเอียดแต่ละประเภทในงบการเงิน หรื ออาจแสดงยอดรวม ไว้ในงบการเงินแล้วเปิ ดเผยรายละเอียดแยกตามประเภทธุรกิจไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินก็ ได้ กรณี ทีนิติบุคคลทีตังขึนตามกฎหมายต่างประเทศได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลาย ประเภท เช่น ได้รับอนุ ญาตให้ประกอบธุร กิจบริ ก ารเป็ นสํานัก งานผูแ้ ทน และได้รั บอนุ ญาตให้ประกอบ ธุรกิจบริ การเป็ นสํานักงานสาขาเพือประกอบธุรกิจบริ การให้คาํ ปรึ กษาด้วย ให้จดั ทํางบการเงิ น ฉบับเดียวในภาพรวมโดยถือเป็ นหนึงหน่วยธุรกิจ 14.

การแสดงรายการส่ ว นเกิ น (ตํากว่า) มูลค่าหุ ้นบุริ มสิ ทธิ หรื อส่ วนเกิน (ตํากว่า )

มูลค่าหุน้ สามัญ หากมีทงส่ ั วนเกินและส่ วนตําของหุ ้นทุนประเภทเดียวกันและมีเนื อหาเศรษฐกิจ เดียวกันสามารถนํามา หักกลบและแสดงเป็ นมูลค่าสุทธิได้ เช่น ส่วนตํากว่ามูลค่าหุน้ สามัญสามารถ หักกลบกับส่ วนเกิน มูลค่าหุ ้นสามัญได้ แต่ไม่ให้หักกลบส่ วนตํากว่ามูลค่าหุ ้นสามัญกับส่ วนเกิ น มูลค่าหุน้ บุริมสิทธิ เนืองจากเป็ นหุน้ ทุนคนละประเภทและมีสิทธิตามกฎหมายทีแตกต่างกัน ทังนี การหักกลบดังกล่าวเป็ นเพียงการนําเสนอข้อมูลในงบการเงินเท่านัน อย่างไรก็ตามในการบัน ทึก รายการบัญชี จะต้องแยกบันทึ ก รายการส่ ว นเกิ น มูลค่ าหุ ้น และส่ ว นตํากว่ามูลค่ าหุ ้น ของทังหุ ้น บุริมสิทธิและหุน้ สามัญเป็ นแต่ละบัญชีแยกจากกัน รายการส่ วนเกินมูลค่าหุ ้น ต้องเป็ นเงินทีได้รับ


36

จากการขายหุน้ ส่วนทีสูงกว่ามูลค่าทีตราไว้ตามทีจดทะเบียนหรื อทีได้มาจากการลดทุนจดทะเบียน ในส่วนทีได้มีการชําระเงินจากผูถ้ ือหุน้ แล้วและมิได้คืนกลับให้ผถู้ ือหุน้ รายการส่วนเกินมูลค่าหุน้ ต้องเป็ นเงินทีได้รับจากการขายหุ ้นส่ วนทีสูงกว่ามูลค่าทีตราไว้ ตามทีจดทะเบียนหรื อทีได้มาจากการลดทุนจดทะเบียนในส่วนทีได้มีการชําระเงินจากผูถ้ ือหุ ้นแล้ว และมิได้คืนกลับให้ผถู้ ือหุน้ ขันตอนการจัดทํารายงานทางการเงิน ในการจัด ทําบัญชี ข องกิ จ การจําเป็ นต้องอาศัยเอกสารหลัก ฐานที เชื อถือได้เพือบัน ทึ ก รายการทีเกิดขึนจนกระทังประมวลผลเพือนําเสนองบการเงิน ซึงสามารถสรุ ปขันตอนการจัดทํา รายงานทางการเงิน ได้ดงั นี 1.

การวิเคราะห์ร ายการค้า (Transaction Analysis) ซึ งเป็ นขันตอนแรกและเป็ น

ขันตอนทีสําคัญมากของวงจรบัญชี คื อการวิเคราะห์รายการค้าทีเกิดขึนในกิจการว่ารายการค้าที เกิดขึนส่งผลให้สินทรัพย์ หนีสิน และส่วนของเจ้าของของกิจการเปลียนแปลงอย่างไร 2.

การบันทึ กรายการลงในสมุดบัญชี ขนต้ ั น (สมุดรายวัน) (Journalizing Original

Entries) เมือเราวิเคราะห์รายการค้าได้แล้วว่ารายการค้าทีเกิดขึนนันทําให้สินทรัพย์ หนี สิ น และ ส่วนของเจ้าของเปลียนแปลงอย่างไรแล้ว หลังจากนันจึงนําผลการวิเคราะห์รายการค้ามาบันทึกลง ในสมุดบัญชีขนต้ ั น (สมุดรายวัน) 3.

การผ่านรายการจากสมุดบัญชีขนต้ ั น (สมุดรายวัน) ไปยังสมุดบัญชีขนปลาย ั (สมุด

บัญชีแยกประเภท) (Posting) เป็ นการนํารายการค้าทีบันทึกไว้ในสมุดรายวันไปจําแนกแยกแยะ บัญชีให้เป็ นหมวดหมู่ในสมุดบัญชีแยกประเภทบัญชีต่าง ๆ


37

4.

การปรับปรุ งบัญชีในวันสิ นงวด (Adjusting Entries) เมือถึงวันสิ นงวดบัญชีของ

กิ จ การ หากมีร ายการค้าใดที ได้บัน ทึ ก และผ่านรายการแล้ว ยังไม่ถูก ต้อ ง เราจะต้องมาทําการ ปรับปรุ งรายการ โดยบันทึกรายการปรับปรุ งลงในสมุดรายวันเหมือนรายการค้าทีเกิดขึนใหม่แล้ว ผ่านรายการปรับปรุ งไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทเหมือนเดิม 5.

การจัดทํางบการเงิน (Preparing Financial Statement) หลังจากปรับปรุ งบัญชีให้

ถูกต้องแล้ว ก็จะต้องนํายอดคงเหลือทีถูกต้องของบัญชีต่าง ๆ มาจัดทํางบการเงิน ซึงได้แก่ งบแสดง ฐานะการเงิน งบรายได้ค่าใช้จ่าย งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลียนแลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น หมาย เหตุประกอบงบการเงิน 6.

การปิ ดบัญชี (Closing Entries) หลังจากทีปรับปรุ งรายการ และจัดทํางบการเงิน

เสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ก็จะต้องทําการปิ ดบัญชีต่าง ๆ ทีจะต้องปิ ดบัญชีในแต่งวดบัญชีในสมุดรายวัน และผ่านรายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภททีเกียวข้อง สําหรับบัญชีทีไม่ได้ปิด ก็จาํ ทําการยกยอด บัญชีนนไปในงวดบั ั ญชีใหม่ต่อไป


38

บทที 4 กรณีศึกษา : บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด ข้ อมูลของบริษัทฯ บริ ษทั ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด ได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิ ชย์ เป็ นนิ ติ บุ ค คลประเภทบริ ษัท จํา กัด เมื อวัน ที 18 สิ ง หาคม 2553 ทะเบี ย นเลขที 0125553016200 สํานักงานแห่งใหญ่ ตังอยูเ่ ลขที 98 หมู่ที 6 ตําบลลําลูกกา อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 บริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจ การจําหน่ าย นําเข้า ส่ งออก อุปกรณ์และชิ นส่ วนอิเล็กทรอนิ กส์ เครื องใช้ไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า ประวัตคิ วามเป็ นมาของบริษัทซี.เค. อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด บริ ษัท ฯ ดํา เนิ น ธุ ร กิ จ จํา หน่ า ยอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ เครื องใช้ไ ฟฟ้ าและอุ ป กรณ์ ไฟฟ้ า ให้แก่ลกู ค้าภายในประเทศ บริ ษทั ห้างร้าน หรื อ หน่ วยงานราชการ โดยทีมงานผูเ้ ชียวชาญ ดําเนินการกว่า 10 ปี สามารถขอใบเสนอราคาได้ และยังมีหน้าร้านขายสิ นค้าสามารถมาเลือกซือ สินค้าได้ดว้ ยตนเอง , นอกจากนันเรายัง รับจัดหา บอร์ดทดลอง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ เซ็นเซอร์ , บริ การ อบรมทางด้าน Embedded System ต่าง ๆ อาทิ Embedded OS เช่น Linux , WIN CE , Qt และยังมี สิ น ค้าใหม่ ทุ กเดื อน และยังมีบริ การ บทความ ทางอิเล็ก ทรอนิ กส์ เพือช่ว ยให้ผสู้ นใจ สามารถนําความรู้ไปพัฒนาใช้งานต่อได้


39

บริ ษทั ซี .เค. อิเล็ก ทรอนิ ก ส์ จํากัด ดําเนิ นธุ ร กิจ เมือวันที 18 สิ งหาคม พ.ศ. 2553 มี วิสยั ทัศน์เพือพัฒนาศักยภาพทางด้านเทคโนโลยีของไทยเพือเป็ นผูน้ าํ ในระดับโลก มีพนั ธกิจคือ 1.

มุ่งมันบูรณาการองค์ความรู้ ทางด้านเทคโนโลยีให้กบั บุคลากรในประเทศ

2.

มุ่งมัน ค้นหาและจําหน่าย อุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีลาํ สมัยเพือตอบสนองและ

อํานวยความสะดวกลูกค้าทีจะสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ด้วย Slogan หลักของทีมงานคือ "Enable Your Design" ซึงช่วยตอกยําอีกครังว่า เราจะ มุ่งมันตอบสนองให้ลกู ค้าสามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ทออกแบบไว้ ี โดยพวกเราจะไม่ได้เพียงแค่ ขายสินค้าแล้วจบไป แต่เรายังสามารถให้คาํ แนะนําในตัวสิ นค้านัน ๆ ด้วย ในราคาทีเหมาะสม เรา สร้างความแตกต่าง ทีลูกค้าเท่านันถึงจะรู้สึกได้ ปัจจุบนั เราให้บริ การ จําหน่ายสินค้า, บริ การอบรม, และรับออกแบบ พัฒนา สินค้าทางด้าน Electronics ดังนี 1.

จําหน่ ายอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิ คส์ , บอร์ ดทดลอง, บอร์ ด พัฒนา, เซนเซอร์ และ

อุปกรณ์ทีเกียวข้องกับการพัฒนาร่ วมกับไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.

บริ การจัดหา อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิคส์, บอร์ดทดลอง, บอร์ ดพัฒนา, เซนเซอร์ และ

อุปกรณ์ทีเกียวข้องกับการพัฒนาร่ วมกับไมโครคอนโทรลเลอร์ 3.

ให้บริ การ ฝึ กอบรม ทางด้าน อิเล็กทรอนิคส์ และอุปกรณ์ทีเกียวข้องกับการพัฒนา

งานทางด้าน ระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System)


40

เกณฑ์ทีใช้ ในการจัดทํางบการเงินของบริษัทฯ บริ ษทั ฯ ได้จดั ทํางบการเงินตามกฎหมายเป็ นภาษาไทยตามมาตรฐานการบัญชีทีรับรอง ทัวไปในประเทศไทยซึงเป็ นไปตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 โดยมาตรฐานการบัญชี ดังกล่าวประกาศโดยสภาวิชาชีพบัญชีอย่างไรก็ตามบริ ษทั ฯ มิใช่กิจการทีมีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (Publicly Accountable Entities: PAEs) ดังนัน บริ ษทั ฯ จึงต้องปฏิบตั ิตามประกาศของสภาวิชาชีพ บัญชี ฉบับที 20/2554 เรื อง มาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการทีไม่มีส่วนได้เสี ย สาธารณะ (Non-Publicly

Accountable Entities: NPAEs)

ซึงได้ประกาศลงในราชกิจจา

นุ เบกษา เมือวัน ที 6 พฤษภาคม 2554 รวมถึงประกาศสภาวิชาชี พบัญชี ฉบับที 28/2554 เรื อง คําอธิบายเกียวกับการปฏิบตั ิตามข้อกําหนดของมาตรฐานรายงานทางการเงินสําหรับกิจการทีไม่มี ส่ วนได้เสี ยสาธารณะ ซึงหากบริ ษทั ฯ ไม่ประสงค์จ ะจัดทํารายงานทางการเงิน ฉบับนี บริ ษทั ฯ จะต้องจัดทํารายงานทางการเงินตามมาตรฐานทางการเงินของไทย (TFRSs) ทุกฉบับโดยปฏิบตั ิ อย่างสมําเสมออีก ทังงบการเงิ น นี ยังปฏิบัติ ต ามประกาศกรมพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้า เรื อง กําหนด รายการย่อทีต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 ลงวันที 28 กันยายน 2554 โดยมีผลบังคับสําหรับงบ การเงินซึงมีรอบระยะเวลาบัญชีทีเริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2554 เป็ นต้นไป นโยบายทางการบัญชีของบริษัทฯ 1.

บริ ษทั ฯ รับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง

2.

บริ ษ ัทฯ ตังค่ าเผือหนี สงสัยจะสู ญ สําหรั บหนี ที จะเก็บเงิ นไม่ได้ ลูกหนี การค้า

แสดงสุทธิจากค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ 3.

อุปกรณ์ - สุ ทธิ อุปกรณ์แสดงในราคาทุนหักค่ าเสื อมราคาสะสม ค่าเสื อมราคา

คํานวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ ประมาณ 5 ปี


41

4.

กําไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุน้ คํานวณโดยการหารกําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ ด้วยจํานวน

หุน้ สามัญถัวเฉลียถ่วงนําหนักในระหว่างปี


42

กระดาษทําการปี 2555 (แบบเปรียบเทียบ) ของบริษัทฯ

A

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด

Working paper เงินสดและรายการเทียบเท่าYear end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…... รายการ

เงินสด

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

รายการปรับปรุ ง

31-12-54

31-12-55

34,956.58

93,665.55

93,665.55

3,057.03

5,409.03

5,409.03

38,013.61

99,074.58

99,074.58

Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

เงินฝากธนาคาร:ออมทรัพย์ รวม

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor…………………………………………………………

Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


43

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด Working paper .......... ลูกหนีการค้า…..……… รายการ

ลูกหนีการค้า

รวม

B Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

รายการปรับปรุ ง

31-12-54

31-12-55

385,313.11

216,226.83

216,226.83

385,313.11

216,226.83

216,226.83

Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


44

C

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด

Working paper .......... สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน…..……… Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…... รายการ

ภาษีซือยังไม่ถึงก ําหนด ดอกเบียค้างรับ ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ทีจ่าย รวม

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

31-12-54

31-12-55

431.37

-

รายการปรับปรุ ง Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55 -

6,336.99

14,047.98

14,047.98

9.01

9.01

9.01

6,777.37

14,056.99

14,056.99

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


45

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด

D

Working paper ลูกหนีเงินให้กยู ้ ืมแก่บุคคลหรื อกิจการทีYear เกียวข้ endองกั …...สํ น าหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…... รายการ

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

รายการปรับปรุ ง

31-12-54

31-12-55

ลูกหนีกรรมการ

770,000.00

1,170,000.00

1,170,000.00

รวม

770,000.00

1,170,000.00

1,170,000.00

Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


46

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิ เล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากดั Working paper อุปกรณ์-สุ ทธิ …..……… รายการ

E Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

31-12-54

31-12-55

รายการปรั บปรุ ง Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

เฟอร์ นิเจอร์ และเครื องตกแต่ ง

4,500.00

4,500.00

4,500.00

หัก ค่ าเสื อมราคาสะสม

(1,129.32)

(2,029.12)

(2,029.12)

3,370.68

2,470.88

2,470.88

เครื องใช้สาํ นักงาน

43,046.74

65,162.63

65,162.63

หัก ค่ าเสื อมราคาสะสม

(8,339.38)

(15,823.16)

34,707.36

49,339.47

45,838.00

38,078.04

51,810.35

48,308.88

สุ ทธิ

สุ ทธิ รวม

(3,501.47)

(19,324.63)

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


47

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด Working paper .......... เจ้าหนีการค้า..……… รายการ

เจ้าหนีการค้า

รวม

AA Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

31-12-54

31-12-55

รายการปรับปรุ ง Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

17,120.00

187,548.78

187,548.78

17,120.00

187,548.78

187,548.78

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


48

Client …บริ ษท ั เค.ซี . อิเล็กทรอนิ คส์ ซัพพลาย จําก ัด Working paper .หนีสิ นหมุ นเวียนอื น รายการ

BB Year end …...สําหรั บปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

31-12-54

31-12-55

รายการปรั บปรุ ง Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

ค่าสอบบัญชี

7,000.00

7,000.00

7,000.00

ค่าทําบัญชี

4,123.72

3,092.78

3,092.78

ค่าบริ การค้างจ่าย

-

ค่าโทรศัพท์คา้ งจ่าย

-

-

-

4,607.60

4,607.60

ภาษีหกั ณ ที จ่าย

185.58

185.58

185.58

เจ้าหนีกรมสรรพากร

224.00

547.08

547.08

ภาษีเงิ นได้นิติบุคคล

-

171.47

171.47

15,604.51

15,604.51

รวม

11,533.30

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


49

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด Working paper ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ รายการ ทุน กําไรสะสม รวม

300 Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

รายการปรับปรุ ง

31-12-54

31-12-55

1,000,000.00

1,000,000.00

1,000,000.00

209,528.83

209,528.83

209,528.83

1,209,528.83

1,209,528.83

1,209,528.83

Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


50

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด Working paper .........รายได้......…..……… รายการ

รายได้จากการขาย ดอกเบียรับ รวม

400 Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

รายการปรับปรุ ง

31-12-54

31-12-55

1,498,043.41

1,307,011.50

1,307,011.50

5,400.92

7,710.99

7,710.99

1,503,444.33

1,314,722.49

1,314,722.49

Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


51

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด Working paper ………....ต้นทุนขาย…..……… รายการ

สิ นค้าคงเหลือต้น

500 Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

31-12-54

31-12-55

-

-

รายการปรับปรุ ง Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55 -

บวก ซื อสิ นค้า

1,252,957.45

1,075,541.79

1,075,541.79

ต้นทุนสิ นค้าเพือขาย

1,252,957.45

1,075,541.79

1,075,541.79

หัก

สิ นค้าคงเหลือปลายงวด

-

-

83.63% ต้ นทุนขาย

1,252,957.45

82.29%

1,075,541.79

1,075,541.79

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date………………………………….Date……………………………………… Date……………………………………………………………


52

Client …บริ ษทั เค.ซี . อิ เล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด Working paper....ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร รายการ

600 Year end …...สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555…...

ยอดตามบัญชี

ยอดตามบัญชี

31-12-54

31-12-55

รายการปรับปรุ ง Dr.

Cr.

ยอดหลังตรวจสอบ

31-12-55

ค่าใช้จ่ายในการขาย :ค่าส่ งเสริ มการขาย ค่ารับรอง ค่าใช้จ่ายเดินทางและยานพาหนะ ค่าโทรศัพท์

-

1,453.27

1,453.27

3,729.00

19,642.00

19,642.00

35,701.77

24,516.10

24,516.10

3,750.16

9,557.31

9,557.31

ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร :ค่าธรรมเนี ยมวิชาชีพ

-

4,309.28

4,309.28

ค่าธรรมเนี ยมราชการ

-

700.00

700.00

6,000.00

6,000.00

ค่าสอบบัญชี

6,000.00

ค่าซ่ อมแซม

-

-

-

ค่าบริ การ

-

-

-

ค่าเครื องเขียนแบบพิมพ์ ค่าวัสดุ สิ นเปลือง

1,535.04

4,367.53

4,367.53

-

-

-

900.00

899.80

899.80

6,721.36

7,483.78

ค่าบริ การทําบัญชี

12,371.14

16,494.87

16,494.87

ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด

4,095.02

4,700.00

4,700.00

ภาษีซือไม่ขอคืน

2,595.60

288.66

288.66

ค่าไปรษณี ย ์

164.00

110.00

110.00

ค่าธรรมเนี ยมธนาคาร

200.00

-

-

26,000.00

-

-

ค่าเสื อมราคา-เฟอร์นิเจอร์ ค่าเสื อมราคา-เครื องใช้สาํ นักงาน

ค่าเบียเลียง รวม

103,763.09

100,522.60

3,501.47

10,985.25

104,024.07

Repared by………………………… Repared by……………………………… Auditor………………………………………………………… Date…………………………………. Date……………………………………… Date……………………………………………………………


53

รายละเอียดค่าเสือมราคาอุปกรณ์ของบริษัทฯ บริษัท เค.ซี. อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด รายละเอียด-ค่าเสื อมราคาและค่าสึ กหรอ ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 ว/ด/ป

รายการทรัพย์สิน

ทีซือ/ได้มา

ราคาทรัพย์สิน มูลค่าต้นทุนในวัน อัตรา เวลาใน ค่าสึกหรอหรื อค่าเสือม มูลค่าต้นทุนหลัง ทีซือ/ได้มา สุดท้ายของรอบบัญชี ร้อยละ ก่อน

ราคาทีหักในรอบ จากหักค่าสึกหรอหรื อ

คํานวณ ระยะเวลาบัญชีนี

20

เครืองใช้ สํานักงาน

การ

ค่าเสือมราคาแล้ว

1 ปี

Fax Panasonic KX-F1701 CX 18-08-53

3,542.06

2,569.69

1 ปี

708.41

1,861.28

Prinier Epson LQ-300+

21-08-53

7,009.35

5,096.66

1 ปี

1,401.87

3,694.79

โทรศัพท์ SAM-S5620 Black

30-09-53

6,532.71

4,893.27

1 ปี

1,306.54

3,586.73

โทรศัพท์ SAM-S5620 Deep

30-09-53

6,532.71

4,893.27

1 ปี

1,306.54

3,586.73

เก้าอี 003 (507-LP)

27-10-53

4,200.00

3,208.11

1 ปี

840.00

2,368.11

ตูเ้ อกสารพลาสติก

01-11-53

485.05

371.83

1 ปี

97.01

274.82

เครื องคิดเลข

01-11-53

279.44

214.21

1 ปี

55.89

158.32

พัดลม HATARI 18"

01-08-54

932.71

854.52

1 ปี

186.54

667.97

LCD 32" SAMSUNG

29-08-54

9,803.74

9,132.25

1 ปี

1,960.75

7,171.50

DVD AJ HD-808

29-08-54

3,728.97

3,473.56

1 ปี

745.79

2,727.77

ตูบ้ านเลือนกระจก

07-02-55

4,200.00

4,200.00

328 วัน

754.90

3,445.10

เครื องปั นนําผลไม้

25-04-55

1,859.81

1,859.81

250 วัน

254.95

1,604.86

โทรศัพท์มือถือ

29-06-55

4,663.55

4,663.55

185 วัน

473.90

4,189.65

Microwave

05-07-55

3,072.90

3,072.90

179 วัน

300.57

2,772.33

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

09-08-55

3,600.00

3,600.00

144 วัน

285.17

3,314.83

ปัมอัตโนมัติ

04-09-55

4,719.63 65,162.63

4,719.63 56,823.25

118 วัน

304.33 10,983.17

4,415.30 45,840.08

30-09-53

4,500.00 4,500.00

3,600.00 3,600.00

900.00 900.00

2,700.00 2,700.00

รวม เครืองตกแต่ งสํ านักงาน ชุดโต๊ะทํางาน รวม

20

1 ปี


54

รายละเอียดภาษีมูลค่าเพิมตามแบบ ภ.พ.30 บริษัท เค.ซี. อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด รายละเอียด-ภาษีมูลค่าเพิม ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 เดือน ภาษี

ยอดขาย

มค. 40,040.00 กพ. 131,605.00 มีค. 108,750.00 เมย. 27,875.00 พค. 96,479.60 มิย. 156,824.34 กค. 79,635.00 สค. 94,964.41 กย. 232,702.00 ตค. 136,055.00 พย. 185,270.00 ธค. 16,811.15 รวม 1,307,011.50

ภาษีขาย

ยอดซือ

2,802.80 9,212.35 7,612.50 1,951.25 6,753.57 10,977.70 5,574.45 6,647.52 16,289.14 9,523.86 12,968.90 1,176.78 91,490.82

39,502.41 2,765.17 37.63 37.63 - 15/2/55 111,477.02 7,803.41 1,408.94 1,408.94 - 15/3/55 78,656.00 5,505.92 2,106.58 2,106.58 - 17/4/55 24,988.61 1,749.21 202.04 202.04 - 15/5/55 112,635.00 7,884.45 - 1,130.88 1,130.88 15/6/55 121,752.03 8,522.67 2,455.03 1,130.88 1,324.15 - 16/7/55 77,077.03 5,395.39 179.06 139.06 - 15/8/55 72,343.78 5,064.08 1,583.44 1,583.44 - 17/9/55 206,666.16 14,466.65 1,822.49 1,822.49 - 15/10/55 105,075.21 7,355.28 2,168.58 2,168.58 - 15/11/55 165,515.61 11,586.10 1,382.80 1,382.80 - 17/12/55 12,195.83 853.70 323.08 323.08 - 15/1/56

เจ้าหนี-กรมสรรพากร ปี 2555 =

323.08

ภาษีซือ

ผลต่าง

vat ยกมา

ต้องชําระ ขอเครดิต หมายเหตุ


55

รายละเอียดภาษีหัก ณ ทีจ่าย ตามแบบ ภ.ง.ด.53 บริ ษัท เค.ซี. อิเล็กทรอนิกส์ ซั พพลาย จํากัด รายละเอียด-ภาษีหัก ณ ทีจ่ าย ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 เดื อน ภาษี

ภงด.53

ว.ด.ป.

เบียปรับ-

ที นําส่ ง

เงิ นเพิ ม

มค.

-

-

กพ.

556.72

มีค.

-

-

เมย.

-

-

พค.

-

-

มิ ย.

123.72

กค.

-

-

สค.

-

-

กย.

92.79

8/10/55

-

ตค.

61.86

7/11/55

-

พย.

-

-

ธค.

-

-

รวม

835.09

8/3/55

9/7/55

-

-

หมายเหตุ


56

รายงานทางการเงิน ปี 2555 (แบบเปรียบเทียบ) ของบริษทั ฯ

บริษัท เค.ซี. อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554


57

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 สิ นทรัพย์ หน่ วย : บาท สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่า ลูกหนีการค้าและลูกหนีอืน - สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน อุปกรณ์ - สุ ทธิ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

2555

2554

(หมายเหตุ 4 ) (หมายเหตุ 5) (หมายเหตุ 6)

99,074.58 230,274.81 9.01 329,358.40

38,013.61 391,650.10 440.38 430,104.09

(หมายเหตุ 7) (หมายเหตุ 8)

1,170,000.00 48,308.88 1,218,308.88 1,547,667.28

770,000.00 38,078.04 808,078.04 1,238,182.13

202,249.16 171.47 732.66 203,153.29 203,153.29

28,243.72 409.58 28,653.30 28,653.30

1,000,000.00

1,000,000.00

1,000,000.00 344,513.99 1,344,513.99 1,547,667.28

1,000,000.00 209,528.83 1,209,528.83 1,238,182.13

หนีสินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีสิ นหมุนเวียน เจ้าหนีการค้าและเจ้าหนีอืน ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย หนีสิ นหมุนเวียนอืน รวมหนีสิ นหมุนเวียน รวมหนีสิน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 10,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท ทุนทีออกและชําระแล้ว หุน้ สามัญ 10,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีสินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

(หมายเหตุ 9) (หมายเหตุ 10)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี ข้อมูลในงบการเงินนีได้จัดทําขึนอย่างถูกต้องครบถ้วนตามความเป็ นจริ งและตามมาตรฐานการบัญชีและ งบการเงินนีได้รับอนุมตั ิจากทีประชุมสามัญผูถ้ ือหุ้นครังที 1/2556 เมือวันที 30 เมษายน 2556 รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ…………………………………กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย เพ็ชรชัย)


58

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด งบกําไรขาดทุน สํ าหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่ วย : บาท 2555

2554

รายได้ : รายได้จากการขาย รายได้อืน รวมรายได้

1,307,011.50

1,498,043.41

7,710.99

5,400.92

1,314,722.49

1,503,444.33

ค่าใช้ จ่าย : การเปลียนแปลงในสินค้าสํา เร็ จรู ปและงานระหว่างทํา

-

-

งานทีกิจการทําและถือเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุน

-

-

วัตถุดิบและวัสดุสิ นเปลืองใช้ไป

1,075,541.79

ค่าใช้จ่ายพนักงาน

-

ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจําหน่าย

11,885.05

ขาดทุนจากการด้อยค่า

-

ค่าใช้จ่ายอืน

1,252,957.45 0

9,468.70 -

92,139.02

94,294.39

1,179,565.86

1,356,720.54

กําไร (ขาดทุน) ก่ อนหักภาษีเงินได้ นิติบุคคล

135,156.63

146,723.79

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

171.47 134,985.16

146,723.79

รวมค่าใช้ จ่าย หัก

กําไร (ขาดทุน) สุทธิ กําไรต่ อหุ้นขันพืนฐาน กําไรต่อหุน้

บาท

13.49

14.67

จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลียถ่วงนํา หนัก

หุน้

10,000

10,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี

รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ………………….....………………กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย เพ็ชรชัย)


59

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น สํ าหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่ วย : บาท ทุนเรือนหุ้นทีออก

กําไร (ขาดทุน)

และชํ าระแล้ว

สะสม

ยอดคงเหลือ ณ ต้นปี 2554

1,000,000.00

กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ

-

ยอดคงเหลือ ณ สิ นปี 2554

1,000,000.00

กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ

-

ยอดคงเหลือ ณ สิ นปี 2555

1,000,000.00

62,805.04

1,062,805.04

146,723.79

146,723.79

209,528.83

1,209,528.83

134,985.16

134,985.16

344,513.99

1,344,513.99

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี

รับรองว่าถูกต้อง

ลงชือ..............................................................กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย

เพ็ชรชัย)

รวม


60

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด การคํานวณภาษีเงินได้ นิติบุคคล สํ าหรับปี สิ นสุ ด วันที 31 ธันวาคม 2555 หน่ วย : บาท รายได้ หัก

1,314,722.49 ค่าใช้จ่าย (ไม่รวมภาษีเงินได้นิติบุคคล)

1,179,565.86

กําไรก่อนการคํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล บวก

135,156.63

ภาษีซือไม่ขอคืน

288.66

ค่ารับรอง

15,697.87

กําไรเพือการคํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล

( 150,000.00 ( 1,143.16 หัก ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ทีจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย

15,986.53 151,143.16

x x

0% ) 15% )

171.47

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี

รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ…………..……..……..…...กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย เพ็ชรชัย)

171.47 171.47 171.47


61

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด รายละเอียด - ค่าใช้ จ่ายจําแนกตามหน้ าที สํ าหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่ วย : บาท 2555

2554

1,075,541.79

1,252,957.45

1,075,541.79

1,252,957.45

ค่าใช้จ่ายในการขาย

55,168.68

43,180.93

ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

48,855.39

60,582.16

ค่าใช้ จ่าย ต้นทุนขาย ต้นทุนขาย รวมต้นทุนขายและต้นทุนบริ การ ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายอืน

-

รวมค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร รวมค่าใช้ จ่าย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี

รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ…………………………………กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย

เพ็ชรชัย)

-

104,024.07

103,763.09

1,179,565.86

1,356,720.54


62

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด รายละเอียด - ต้นทุนขาย สํ าหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

หน่ วย : บาท 2555

2554

1,075,541.79

1,252,957.45

1,075,541.79

1,252,957.45

ต้นทุนขาย ซื อสิ นค้า รวมต้ นทุนขาย หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ งของงบการเงินนี

รับรองว่าถูกต้อง

ลงชือ…………………….………..กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย เพ็ชรชัย)


63

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด รายละเอียด - ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่ วย : บาท 2555

2554

ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าส่ งเสริ มการขาย

1,453.27

ค่ารับรอง

*

ค่าใช้จ่ายเดินทางและยานพาหนะ ค่าโทรศัพท์ รวมค่าใช้ จ่ายในการขาย

-

19,642.00

3,729.00

24,516.10

35,701.77

9,557.31

3,750.16

55,168.68

43,180.93

ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ

4,309.28

-

ค่าธรรมเนียมราชการ

700.00

-

ค่าสอบบัญชี

6,000.00

6,000.00

ค่าเครื องเขียนแบบพิมพ์

4,367.53

1,535.04

899.80

900.00

ค่าเสือมราคา-เครื องใช้สาํ นักงาน

10,985.25

6,721.36

ค่าบริ การทําบัญชี

16,494.87

12,371.14

ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด

4,700.00

4,095.02

288.66

2,595.60

110.00

164.00

ค่าธรรมเนียมธนาคาร

-

200.00

ค่าเบียเลียง

-

26,000.00

ค่าเสือมราคา-เฟอร์นิเจอร์เครื องตกแต่ง

ภาษีซือไม่ขอคืน

*

ค่าไปรษณี ย์

รวมค่าใช้ จ่ายในการบริหาร รวมค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร

48,855.39

60,582.16

104,024.07

103,763.09

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ…………………….………..กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย เพ็ชรชัย)


64

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด หมายเหตุประกอบงบการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 1) ข้อมูลทัวไป บริ ษทั ซี.เค.อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด ได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ เป็ นนิติบุคคล ประเภทบริ ษทั จํากัดเมือวันที 18 สิ งหาคม 2553 ทะเบียนเลขที 0125553016200 สํานักงานแห่งใหญ่ ตังอยูเ่ ลขที 98 หมู่ที 6 ตําบลลําลูกกา อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี บริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจ การจําหน่าย นําเข้า ส่ งออก อุปกรณ์และชิ นส่วนอิเล็คทรอนิกส์ เครื องใช้ไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า 2) เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงิน บริ ษทั ฯ ได้จดั ทํางบการเงินตามกฎหมายเป็ นภาษาไทยตามมาตรฐานการบัญชีทีรับรองทัวไปในประเทศไทยซึ งเป็ นไปตาม พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 โดยมาตรฐานการบัญชีดงั กล่าวประกาศโดยสภาวิชาชีพบัญชีอย่างไรก็ตามบริ ษทั ฯ มิใช่กิจการทีมีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (Publicly Accountable Entities: PAEs) ดังนัน บริ ษทั ฯ จึงต้องปฏิบตั ิตามประกาศของ สภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที 20/2554 เรื อง มาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการทีไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities : NPAEs ) ซึ งได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมือวันที 6 พฤษภาคม 2554 รวมถึงประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที 28/2554 เรื อง คําอธิบายเกียวกับการปฎิบตั ิตามข้อกําหนดของมาตรฐานรายงาน ทางการเงินสําหรับกิจการทีไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ ซึงหากบริ ษทั ฯ ไม่ประสงค์จะจัดทํารายงานทางการเงินฉบับนีบริ ษทั ฯ จะต้องจัดทํารายงานทางการเงินตามมาตรฐานทางการเงินของไทย (TFRSs) ทุกฉบับโดยปฏิบตั ิอย่างสมําเสมออีกทังงบการเงิน นียังปฏิบตั ิตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื อง กําหนดรายการย่อทีต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 ลงวันที 28 กันยายน 2554 โดยมีผลบังคับสําหรับงบการเงินซึ งมีรอบระยะเวลาบัญชีทีเริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2554 เป็ นต้นไป 3) นโยบายบัญชี 3.1) บริ ษทั ฯ รับรู ้รายได้และค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง 3.2) บริ ษทั ฯ ตังค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ สําหรับหนีทีจะเก็บเงินไม่ได้ ลูกหนีการค้าแสดงสุ ทธิจากค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ 3.3) อุปกรณ์ - สุ ทธิ อุปกรณ์แสดงในราคาทุนหักค่าเสื อมราคาสะสม ค่าเสือมราคาคํานวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งาน โดยประมาณของสินทรัพย์ ประมาณ 5 ปี 3.4) กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิต่อหุ้น คํานวณโดยการหารกําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ ด้วยจํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลียถ่วงนําหนักในระหว่างปี 4) เงินสดและรายการเทียบเท่า ประกอบด้วย หน่ วย : บาท 2555

2554

เงินสด

93,665.55

34,956.58

เงินฝากสถาบันการเงิน-ออมทรัพย์ รวม

5,409.03 99,074.58

3,057.03 38,013.61

รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ…………………………………กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย

เพ็ชรชัย)


65

บริษัท ซี.เค. อิเล็กทรอนิคส์ ซัพพลาย จํากัด หมายเหตุประกอบงบการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 5) ลูกหนีการค้าและลูกหนีอืน ประกอบด้วย หน่ วย : บาท ลูกหนีการค้า

2555

2554

216,226.83

385,313.11

14,047.98

6,336.99

230,274.81

391,650.10

ลูกหนีอืน ดอกเบียค้างรับ รวม 6) สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน ประกอบด้วย หน่ วย : บาท 2555

2554

ภาษีซือ-ยังไม่ถึงกําหนด

-

ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ทีจ่าย

9.01

9.01

9.01

440.38

รวม

431.37

7) เงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน เป็ นเงินให้กยู้ มื แก่กรรมการ บริ ษทั ฯ คิดดอกเบียในอัตราร้อยละ 1% ต่อปี เงินกูด้ งั กล่าวไม่ได้ทาํ สัญญาและ และไม่ได้กาํ หนดเวลาชําระคืน 8) อุปกรณ์ - สุ ทธิ ประกอบด้วย หน่ วย : บาท 2555 เฟอร์ นิเจอร์ เครื องตกแต่ง

2554

4,500.00

4,500.00

เครื องใช้สาํ นักงาน

65,162.63

43,046.74

รวม หัก ค่าเสือมราคาสะสม

69,662.63

47,546.74

(21,353.75)

(9,468.70)

อุปกรณ์ - สุ ทธิ

48,308.88

38,078.04

รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ…………………………………กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย

เพ็ชรชัย)


66

บริษัท เค.ซี. อิเล็กทรอนิกส์ ซัพพลาย จํากัด หมายเหตุประกอบงบการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 9) เจ้าหนีการค้าและเจ้าหนีอืน ประกอบด้วย หน่ วย : บาท 2555

2554

187,548.78

17,120.00

ค่าสอบบัญชีคา้ งจ่าย

7,000.00

7,000.00

ค่าทําบัญชีคา้ งจ่าย

3,092.78

4,123.72

ค่าโทรศัพท์คา้ งจ่าย

4,607.60

รวม

202,249.16

เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน

28,243.72

10) หนีสิ นหมุนเวียนอืน ประกอบด้วย หน่ วย : บาท 2555

2554

ภาษีหกั ณ ทีจ่าย

185.58

185.58

เจ้าหนีกรรมสรรพากร

547.08

224.00

รวม

732.66

409.58

11) การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการของปี 2554 ได้จดั ประเภทรายการใหม่ให้สอดคล้องกับการแสดงรายการของปี 2555 12) การอนุมตั ิงบการเงิน งบการเงินของบริ ษทั ฯ ได้รับอนุมตั ิให้เผยแพร่ แล้วโดยกรรมการของบริ ษทั ฯ รับรองว่าถูกต้อง ลงชือ…………………………………กรรมการตามอํานาจ (นายนันทชัย

เพ็ชรชัย)


67

แบบนําส่ งงบการเงิน (สบ.ช.3) ของบริษัทฯ


68


69

สําเนาบัญชีรายชือผู้ถือหุ้นของบริษัท(บอจ.5) ของบริษัทฯ


70

แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของบริษัท (ภ.ง.ด.50) ของบริษัทฯ


71


72


73


74


75


76


77


78

บทที 5 บทสรุป จากการได้ฝึกการปฏิบตั ิ งานจริ ง ทําให้ได้เจอกับสถานการณ์ จ ริ งที เกิ ด ขึน รู้จ ัก การนํา ความรู้ ที เรี ยนมานํา มาประยุก ต์ใ ช้ ได้ฝึ กการคิ ด วิ เ คราะห์ อย่า งเป็ นระบบมากขึ น ได้รู้ จ ัก กระบวนการการทํางานอย่างเต็มรู ปแบบตังแต่เริ มการออกเลขทีเอกสาร การบันทึกบัญชี ปรับปรุ ง รายการ ปิ ดบัญชีต่างๆ และนําไปกรอกในกระดาษทําการ และนําเสนองบการเงินสู่สาธารณะได้ อย่างเป็ นขันตอนทีถูกต้อง และยังสามารถทําให้ทราบข้อคิด แนวคิดต่างๆ เพิ มมากขึน ได้เรี ยนรู้ การทํางานร่ วมกับผูอ้ ืน วัฒนธรรมขององค์กรทีทํางานเรา ได้ฝึกตัวเองให้เป็ นคนทีมีระเบียบวินัย มากขึน เช่นการเข้ามาทํางานให้ตรงต่อเวลา ได้ฝึกตนเองเรื องความรับผิดชอบต่อหน้าทีต่องานที ได้รับมอบหมาย ได้มีโอกาสได้ร่วมเรี ยนรู้ไปกับผูห้ ลักผูใ้ หญ่ ได้เรี ยนมากมายหลากหลายเรื องจาก ได้มีโอกาสรู้จกั ผูค้ นมากมายมากขึน ได้ประสบการจริ งจากการทํางานจากการฝึ กงาน ได้เรี ยนรู้การ ปฏิบตั ิตวั ในขณะฝึ กงาน ได้เรี ยนรู้สิ งใหม่ๆ จากการฝึ กงานมากมาย เข้าใจหลักการทํางานมากขึนๆ การฝึ กงานในครังนี ทําให้ประประโยชน์กบั เรามาก ทําให้เรามีความรับผิดชอบต่อหน้าทีทีได้รับ มอบหมาย ตรงต่อเวลา มีระเบียบวินยั มากขึน


79


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.