corntos packaging design

Page 1

PACKAGING

CORNTOS Graphic design on package

CORN CRISPS

DESIGN BY JANON KASEMVARNAKON






ประเภทบรรจุภัณฑ์ บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ การขายปลีก (Consumer Package) เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ที่ผบู ้ ริ โภคซื้อไปใช้ไป อาจมีช้ นั เดียวหรื อ หลายชั้นก็ได้ ซึ่งอาจเป็ น Primary Package หรื อ Secondary Package ก็ได้ บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ การขนส่ ง (Shopping หรื อ Transportation Package) เป็ นบรรจุภณั ฑ์ท่ีใช้รองรับหรื อห่ อหุม้ บรรจุภณ ั ฑ์ข้นั ทุติยภูมิ ทําหน้าที่รวบรวมเอาบรรจุภณ ั ฑ์ขายปลีกเข้าด้วยกัน ให้เป็ นหน่วยใหญ่ เพื่อความ ปลอดภัยและความสะดวกในการเก็บรักษา และการขนส่ ง เช่น กล่องกระดาษลูกฟูกที่ใช้บรรจุยาสี ฟัน กล่อง ละ 3 โหล แบ่ งตามวัสดุบรรจุภัณฑ์ ทใี่ ช้ การจัดแบ่งและเรี ยกชื่อบรรจุภณั ฑ์ในทรรศนะของผูอ้ อกแบบ ผูผ้ ลิต หรื อนักการตลาด จะแตกต่างกัน ออกไป บรรจุภณ ั ฑ์แต่ละประเภทก็ต้ งั อยูภ่ ายใต้วตั ถุประสงค์หลักใหญ่ (Objective Of Package) ที่คล้ายกัน คือ เพื่อป้ องกันผลิตภัณฑ์ (To Protect Products) เพื่อจําหน่ายผลิตภัณฑ์ (To Distribute Products) เพื่อ โฆษณาประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ (To Promote Products)

ประโยชน์ ของบรรจุภณ ั ฑ์ 1. การป้ องกัน (Protection) เช่น กันนํ้า กันความชื้น กันแสง กันแก๊ส เมื่ออุณหภูมิสูงหรื อตํ่า ด้านทานมิให้ ผลิตภัณฑ์แปรสภาพไม่แต่ไม่ฉีกขาดง่าย ปกป้ องให้สินค้าอยูใ่ นสภาพใหม่สดอยูใ่ นสภาวะแวดล้อมของ ตลาดได้ในวงจรยาว โดยไม่แปรสภาพขนานแท้และดั้งเดิม 2. การจัดจําหน่ายและการกระจาย (Distribution) เหมาะสมต่อพฤติกรรมการซื้อขายเอื้ออํานวยการแยกขาย ส่ งต่อ การตั้งโชว์ การกระจาย การส่ งเสริ มจูงใจในตัว ทนต่อการขนย้าย ขนส่ ง และการคลังสิ นค้า ด้วย


ต้นทุนสมเหตุสมผล ไม่เกิดรอยขูดขีด / ชํารุ ด ตั้งแต่จุดผลิตและบรรจุจนถึงมือผูซ้ ้ือ / ผูใ้ ช้ / ผูบ้ ริ โภค ทนทานต่อการเก็บไว้นานได้ 3. การส่ งเสริ มการจําหน่าย (Promotion) เพือ่ ยึดพื้นที่แสดงจุดเด่น โชว์ตวั เองได้อย่างสะดุดตา สามารถระบุ แจ้งเงื่อนไข แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอผลประโยชน์เพิม่ เติมเพื่อจูงใจผูบ้ ริ โภค เมื่อต้องการจัดรายการเพื่อ เสริ มพลังการแข่งขัน ก็สามารถเปลี่ยนแปลงและจัดทําได้สะดวก ควบคุมได้และประหยัด 4. การบรรจุภณั ฑ์กลมกลืนกับสิ นค้า และกรรมวิธีการบรรจุ (Packaging) เหมาะสมทั้งในแง่การออกแบบ และเพื่อให้มีโครงสร้างเข้ากับขบวนการบรรจุ และเอื้ออํานวยความสะดวกในการหิ้ ว – ถือกลับบ้าน ตลอดจนการใช้ได้กบั เครื่ องมือการบรรจุที่มีอยูแ่ ล้ว หรื อจัดหามาได้ ด้วยอัตราความเร็ วในการผลิตที่ ต้องการ ต้นทุนการบรรจุภณั ฑ์ต่าํ หรื อสมเหตุสมผล ส่ งเสริ มจรรยาบรรณและรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ ก่อให้เกิดมลพิษและอยูใ่ นทํานองคลองธรรมถูกต้องตามกฎหมายและพระราชบัญญัติต่าง ๆ 5. เพิ่มยอดขาย เนื่องจากในตลาดมีสินค้าและคู่แข่งเพิ่มขึ้นตลอดเวลา หากบรรจุภณั ฑ์ของสิ นค้าใดได้รับ การออกแบบเป็ นอย่างดี จะสามารถดึงดูดตา ดึงดูดใจผูบ้ ริ โภคและก่อให้เกิดการซื้อในที่สุด รวมทั้งการลด ต้นทุนการผลิต ภาพเครื่องหมาย 1. คําแนะนําในการยกขน ภาพเครื่ องหมายที่แสดงไว้บนหี บห่ อ 2. ข้อความมูลฐาน อาจจะเขียนข้อความมูลฐานเตือนให้ใช้ความระมัดระวังไว้ใต้ภาพเครื่ องหมายการด้วย ภาษาของประเทศต้นทางและ / หรื อปลายทาง 3. สี ภาพ เครื่ องหมายที่กล่าวในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ตอ้ งเขียนหรื อพิมพ์ดว้ ยสี ดาํ ทั้งหมด ถ้าสี ของหี บห่ อทําทําให้เครื่ องหมายได้ไม่ชดั เจน ให้ใช้ป้ายซึ่งสี ตดั กันตามความเหมาะสมเป็ นพื้น ซึ่งถ้าจะให้ดี ควรเน้นสี ขาว อาจเขียนเป็ นเครื่ องหมายไว้บนป้ ายนําไปติดกับหี บห่ อ หรื อถ้าจะให้ดี ใช้พิมพ์แบบฉลุ (Stencil) บนหี บห่ อโดยตรง จํานวนตําแหน่ งของภาพเครื่องหมายบนหีบห่ อ 1. จํานวนภาพเครื่ องหมายแบบเดียวกันบนหี บห่อขึ้นอยูก่ บั การตัดสิ นใจของผูใ้ ช้และขนาดรู ปร่ างของหี บ ห่อด้วย ภาพเครื่ องหมายแสดงอันตรายต้องแสดงไว้ก่อนภาพเครื่ องหมายอื่น ๆ และต้องเขียนหรื อพิมพ์ภาพ เครื่ องหมายอื่น ๆ ใกล้ภาพเครื่ องหมายเท่าที่จะทําได้สะดวก และควรเขียนหรื อพิมพ์ไว้ในระดับเดียวกัน


2. เครื่ องหมาย “ คล้องที่นี่ ” และ “ ศูนย์กลางความถ่วง ” จะต้องเขียนหรื อพิมพ์ให้ตรงตามตําแหน่งนั้น ๆ จริ ง ๆ เพื่อแสดงความหมายของภาพเครื่ องหมายนั้น ขนาดของภาพเครื่องหมาย ภาพเครื่ องหมายไม่จาํ เป็ นต้องล้อมกรอบและขนาดเบ็ดเสร็ จของภาพเครื่ องหมายควรเป็ น 10 ซม ., 15 ซม . หรื อ 20 ซม . อย่างใดอย่างหนึ่ง สรีระในการอ่ านและประสาทสั มผัส ส่ วนประกอบต่าง ๆ ที่ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์จะได้รับการอ่านโดยทางประสาทตา ประสาทความรู ้สึกของคน จะอ่านข้อมูลเปรี ยบเทียบกับประสบการณ์เดิมที่มี เช่น ยีห่ อ้ สี สรรในการออกแบบ หรื ออาจมีการ เปรี ยบเทียบกับข้อมูลของบรรจุภณ ั ฑ์คูแ่ ข่งที่อยูใ่ กล้ ๆ แล้วทําการวิเคราะห์ ขบวนการตัดสิ นใจดังกล่าวนี้จะ กระทําอย่างเร็ วมากโดยใช้เวลาไม่กี่วินาที ภายใต้สภาวะการจัดจําหน่ายในซุปเปอร์มาร์เก็ต ขั้นตอนของความสนใจในบรรจุภณ ั ฑ์ใด ๆ ที่วางอยูบ่ นหิ้ง มักจะเกิดในระยะประมาณ 3 เมตรขึ้นไปหรื อในระยะที่คนผ่านหิ้ งชั้น การออกแบบให้เกิดความสนใจใน ระยะนี้ มักจะเกิดจากรู ปทรงและส่ วนประกอบโดยรวมของบรรจุภณ ั ฑ์ เช่น ตราสิ นค้า เป็ นต้น บ่อยครั้งที่ เกิดจากโฆษณาหรื อมีความทรงจําที่ดีมาก่อน ในบางครั้งอาจเกิดจากป้ ายโฆษณา ณ จุดขาย ราคาที่ลดพิเศษ หรื อมีการส่ งเสริ มการขาย เป็ นต้น ขั้นตอนความประทับใจในบรรจุภณ ั ฑ์จะเกิดในระยะไม่เกิน 3 เมตร ซึ่งเป็ นระยะที่กลุ่มเป้ าหมายเริ่ มอ่านได้ ว่าเป็ นสิ นค้าอะไร ผลิตโดยใคร ในช่วงระยะไม่เกิน 3 เมตรที่กลุ่มเป้ าหมายเริ่ ม อ ◌่านรายละเอียดบนบรรจุ ภัณฑ์ได้ ส่ วนประกอบในการออกแบบที่สาํ คัญ คือ ต้องทราบถึงจุดเด่นของสิ นค้าที่เรี ยกว่า Unique Selling Point ซึ่งบรรจุภณ ั ฑ์พยายามจะอวดและเชิญชวนให้ติดตามรายละเอียดบนบรรจุภณั ฑ์ดว้ ยการหยิบขึ้นมา พิจารณาและเปรี ยบเทียบ ขั้นตอนที่เหลือคือ การเปรี ยบเทียบหารายละเอียดเพื่อความมัน่ ใจ การตัดสิ นใจซื้อหรื อไม่ซ้ือนั้นมักจะเกิด ในระยะไม่เกิน 1 เมตร ระยะนี้เกิดขึ้นที่ระยะประมาณ 20 เซนติเมตรคือ ในระยะที่กลุ่มเป้ าหมายจะหยิบ บรรจุภณ ั ฑ์ข้ ึนมาศึกษาเปรี ยบเทียบและตัดสิ นใจ


สรีระการอ่าน ณ จุดขาย ภายในซุปเปอร์มาร์เก็ต หิ้งชั้นที่วางสิ นค้ามีอยูห่ ลายส่ วนหลายประเภท สิ นค้าในแต่ละส่ วนจะถูกจัดวางเรี ยง เป็ นชั้น ๆ จากการศึกษาสรี ระการอ่านของคนจะพบว่า โดยเฉลี่ยการอ่านรายละเอียดบนบรรจุภณั ฑ์ที่อยูบ่ น หิ้งจะอยูท่ ี่ระยะห่ างไม่เกิน 1 เมตรหรื อประมาณ 90 เซนติเมตร จากหิ้ งชั้นที่วางแสดงสิ นค้า ณ ระยะห่ าง ประมาณ 90 เซนติเมตรนี้ สายตามที่กวาดอ่านไปตามแนวราบหรื อแนวของหิ้ งชั้นจะอยูใ่ นระยะประมาณ 130 เซนติเมตร ซึ่งจากการศึกษาการอ่านในแนวดิ่งพบว่า ระดับความสูงที่สายตาจะให้ความสนใจมากที่สุด อยูท่ ี่ระดับความสู งจากพื้นประมาณ 110 เซนติเมตร หิ้ งชั้นที่อยูส่ ู งจากพื้นตั้งแต่ระดับ 60 เซนติเมตร ถึง 125 เซนติเมตร จะเป็ นหิ้ งชั้นที่ได้รับความสนใจมากกว่าหิ้งชั้นในระดับความสูงอื่น ๆ การศึกษายังได้ศึกษาถึงโอกาสที่สินค้าจะถูกหยิบจากชั้นที่มีความสูงต่าง ๆ กัน ผลปรากฎว่าสิ นค้าที่วางอยู่ ในระดับความสู งที่ 93-100 เซนติเมตรจากพื้นจะมีโอกาสได้รับการหยิบมากที่สุดเนื่องจากเป็ นชั้นที่สะดวก ต่อการหยิบมากที่สุดซึ่งให้คะแนนเต็ม 100 หิ้งชั้นที่มีโอกาสได้รับการหยิบรองลงมาคือ หิ้ งชั้นที่มีความสูง จากพื้น 120-145 เซนติเมตร นับเป็ นคะแนนได้ 85 คะแนนแต่ในความเป็ นจริ งแล้ว ระดับความสูงนี้เป็ น ระดับความสูงที่สินค้าจะได้รับการมองเห็นมากที่สุด สําหรับความสูงอื่น ๆ ที่ลดหลัน่ กันไปตามที่แสดงเป็ น คะแนนไว้ กล่าวสรุ ปได้วา่ เมื่อเทียบความสู งของหิ้งชั้นจากความสูงของไหล่ หิ้ งชั้นที่ห่างจากไหล่ทาง ด้านล่างจะมีโอกาสได้รับการหยิบมากกว่าหิ้งชั้นที่อยูใ่ นระดับสูงกว่าไหล่ จากขั้นตอนและระยะทางที่เกี่ยวข้องดังกล่าวนี้ เป็ นหน้าที่ของผูอ้ อกแบบบรรจุภณ ั ฑ์จาํ ต้องออกแบบ ส่ วนประกอบของบรรจุภณ ั ฑ์ต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา เช่น ชื่อ ตราสิ นค้า เป็ นต้น ไว้ที่ดา้ นใดด้านหนึ่งทั้ง 6 ด้าน ของบรรจุภณ ั ฑ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผูซ้ ้ือ นอกจากนั้นการจัดสรรเลือกตําแหน่งของส่ วนประกอบการ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์เรี ยงตามลําดับก่อนหลังว่าจะไว้ที่ไหนบนบรรจุภณั ฑ์แต่ละด้านนั้นจะต้องเข้าใจถึง สรี ระการอ่านของสายตาคนเมื่อเพ่งมองสิ่ งของใด ๆ ในระยะไม่เกิน 1 เมตร สรีระในการอ่ านบรรจุภณ ั ฑ์ จากการทดลองโดยใช้อุปกรณ์วดั การเคลื่อนไหวของสายตาคนพบว่า คนส่ วนใหญ่มีการเคลื่อนไหวของลูก นัยน์ตาในการอ่านคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ 1. เมื่อสายตาเริ่ มเพ่งจากจุดเริ่ มต้นจุดใดจุดหนึ่งเหมือน ๆ กัน สายตาจะเริ่ มอ่านจากทางซ้ายมือขึ้นสู่ขา้ งบน 2. การกวาดสายตาจะเริ่ มกวาดจากด้านซ้ายไปยังด้านขวาในแนวทางตามเข็มนาฬิกา


3. สายตาจะเสาะหาจุดสิ้ นสุ ดในการอ่านซึ่งมักจะเป็ นขวามือข้างล่าง การค้นพบสรี ระการอ่านดังกล่าวนี้ จะ พบว่าตําแหน่งของบรรจุภณ ั ฑ์ทางซ้ายมือจะได้รับการอ่านก่อนทางขวามือ ในขณะเดียวกันตําแหน่งทาง ส่ วนบนของบรรจุภณ ั ฑ์จะได้เปรี ยบกว่าส่วนล่างของบรรจุภณ ั ฑ์ ดังนั้นในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์จาก ข้อมูลที่ได้รับ เช่น กลยุทธ์ทางการตลาด สภาวะคู่แข่ง และปัจจัยอื่น ๆ ผูอ้ อกแบบจะสามารถจัดเรี ยง ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบให้สอดคล้องกับเป้ าหมายในการออกแบบกราฟฟิ กบนบรรจุภณ ั ฑ์ โดยมีสรี ระในการอ่านดังนี้ถา้ แบ่งพื้นที่บนบรรจุภณ ั ฑ์ออกเป็ น 5 จุด ตําแหน่งที่ดีที่สุดจากสายตาของผูซ้ ้ือ มักจะควานหาจากส่ วนประกอบของการออกแบบจะเริ่ มจากจุดที่ 1 คือ ส่ วนซ้ายมือด้านบน แล้วค่อยเคลื่อน มาจุดที่ 2 คือ ส่ วนซ้ายด้านบน ( บนจุดที่ 1 ) ตําแหน่งสําคัญ คือ จุดที่ 3 ส่ วนขวาด้านบน ถ้าผูบ้ ริ โภคยังมี ความสนใจอ่านต่อ สายตาจะเบนไปสู่จุดที่ 4 คือ ส่ วนซ้ายด้านล่างซึ่งเป็ นจุดที่แสวงหาสิ่ งที่ตอ้ งการ (Point of Pleasure) และจบลงที่มีความสําคัญน้อยที่สุด คือ จุดที่ 5 ส่ วนขวามือด้านล่าง ตัวอย่างการออกแบบแสดง ไว้ในรู ปหน้า โดยเริ่ มจากส่ วนประกอบอาหารจากธรรมชาติ (1) แล้วมาที่ชื่อสิ นค้ารายละเอียดของสิ นค้า และจบลงด้วยวิธีการปรุ งและนํ้าหนักที่บรรจุ จุดสําคัญที่จะดึงให้กลุ่มเป้ าหมายอ่านได้ครบวงจรก่อนละสายตาไปที่อื่น คือ เมื่อสรี ระการอ่านจากจุดที่ 1 มาถึงจุดที่ 3 พบว่าไม่มีอะไรน่าสนใจนักสายตาจะกวาดออกนอกบรรจุภณั ฑ์ ด้วยเหตุน้ ีจุดที่ 4 จึงเป็ น จุดสําคัญที่จะดึงความสนใจของคนอ่านให้มีโอกาสอ่านข้อมูลได้ครบบริ บูรณ์จนถึงจุดที่ 5 ในกรณี ที่มีขอ้ มูล มากพอที่จะสื่ อให้ผซู ้ ้ือเกิดความสนใจและสามารถตัดสิ นใจซื้อได้

ข้ อมูลบนบรรจุภัณฑ์ การออกแบบกราฟฟิ คบนบรรจุภณ ั ฑ์ เป็ นการบอกถึงเรื่ องราวของสิ่ งที่บรรจุอยูภ่ ายในให้ผบู ้ ริ โภคทราบถึง ข้อมูลต่าง ๆ ที่มี ทั้งผลดีและผลเสี ยของผลิตภัณฑ์ ข้อมูลที่นกั ออกแบบกราฟฟิ คควรนําเสนอมีดงั นี้ • • • • • • • •

ประเภท ส่ วนประกอบหรื อส่ วนผสมโดยประมาณ คุณค่าทางสมุนไพร ขั้นตอนหรื อวิธีใช้ การเก็บรักษา วันที่ผลิตและวันหมดอายุ คําบรรยายสรรคุณ ข้อมูลเกี่ยวกับผูผ้ ลิต


การใช้ ตวั อักษรและตัวพิมพ์ ประชิด ทินบุตร (2530 :29) กล่าวไว้วา่ ตัวอักษรหรื อตัวพิมพ์จดั ว่าเป็ นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาํ คัญอันดับ แรกของการออกแบบ การออกแบบโดยทัว่ ๆ ไป มีการนําตัวอักษรมาใช้เพื่อการออกแบบเป็ น 2 ลักษณะ ใหญ่ ๆ คือ 1. ใช้ตวั อักษรเป็ นส่ วนดึงดูดตา มีลกั ษณะตัวอักษรแบบ Display face เพื่อต้องการตกแต่งหรื อการเน้น ข้อความข่าวสารให้สามารถดึงดูดความสนใจของผูด้ ู ผูอ้ ่าน ด้วยการใช้ขนาดรู ปแบบตัวอักษรที่มีขนาดใหญ่ มีความเด่นเป็ นพิเศษ 2. ใช้ตวั อักษรเป็ นส่ วนบรรยายหรื ออธิบายเนื้อหา คือ การใช้ตวั อักษรเป็ น Book face หรื อเป็ นตัว Text ที่มี ขนาดเล็กในลักษณะของการเรี ยงพิมพ์ขอ้ ความเพื่อการบรรยายหรื ออธิบายส่ วนประกอบปลีกย่อย และ เนื้อหาที่สื่อสารเผยแพร่ ดังนั้นการที่จะนําตัวอักษามาใช้ในการออกแบบกราฟฟิ คผูอ้ อกแบบจึงควรที่จะต้องศึกษาเรี ยนรู ้ถึง ส่ วนประกอบของตัวอักษรในภาษาต่าง ๆ ในเรื่ องต่อไปนี้ 1. รู ปแบบตัวอักษร 2. รู ปลักษณะของตัวอักษร 3. ขนาดตัวอักษร การพิจารณาเลือกตัวหนังสื อในการออกแบบ 1. ลักษณะรู ปร่ างหนังสื อแต่ละตัวสวยน่าพอใจ และมีความสูง ความกว้าง สมดุล สําหรับผูอ้ ่านทัว่ ไป ( สัดส่ วนโดยประมาณ สูง 1 กว้าง 3/5) 2. การประสมคําบรรทัดเป็ นหน้า - การประสมคํา ตัวหนังสื อทุกตัวต้องเข้ากันได้ ในการออกแบบมีช่องไปเหมาะสม - การเรี ยงบรรทัด ต้องไม่ผอมเกินไป เพราะอ่านได้ไม่สะดวก อ่านช้า น่าเบื่อ


- การจัดบรรทัดเป็ นหน้า อย่าวางบรรทัดชิดเกินไป ทําให้อ่านยากและอ่านพลาดได้ง่าย ควรมีชายหน้าและ หลัง เพราะอ่านง่ายกว่า และง่ายต่อการผลิต 3.Contrast ของตัวหนังสื อ เกิดจากความหนักเบาของเส้น และความอ่อนแก่ของแสงสี พ้ืนกับตัวอักษร 4. ความเหมาะสมกับผูอ้ ่าน โดยพิจารณาจาก คนที่มีปัญหาทางสายตา เช่น สายตาสั้น สายตายาว ตาบอดสี ก็ตอ้ งเลือกใช้ตวั หนังสื อแก่สิ่งเหล่านี้ สภาพแวดล้อมของที่ใช้อ่าน เช่น มีเสี ยงรบกวนมาก คนพลุกพล่าน อากาศร้อนไป เย็นไป เช่น ตัวหนังสื อที่ ใช้กบั เบลเดอร์กลางแจ้ง ก็ตอ้ งมี Contrast ของตัวหนังสื อมาก เพื่อแข่งกับสิ่ งแวดล้อมนั้นได้ ในที่ร่มอ่าน สบายตาดี ลด Contrast ให้นอ้ ยลง 1. การวัดตัวพิมพ์ ( Type Measuremen ) แนวตั้งใช้ระบบการวัดเป็ นพอยท์ ( Point ) 1 พอยท์เท่ากับ 1/72” เลขที่มากขึ้นก็คือขนาดที่สูงขึ้น 2. แนวนอน ใช้ระบบวัดความยาวของคอลัมน์เป็ นไพกา ( Pica ) 1 ไพกาเท่ากับ 1/6” จํานวนไพกาจะเพิ่มขึ้น ตามความยาวที่เพิ่มขึ้น 3. ช่องไฟตัวอักษร ( Lettrspacing ) จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับช่องไฟบริ เวณช่องว่าง ระหว่างตัวอักษรแต่ละตัว รู ปทรงตัวอักษรแต่ละชนิดมีความเด่นชัดแตกต่างกัน 4. แนวเส้น (Stroke) ตัวอักษรประกอบด้วยแนวเส้น 4 แนว การรวมตัวต้องพิจารณาช่องไฟอย่างเป็ นเหตุ เป็ นผล มีความสมํ่าเสมอและให้ความรู ้สึกถูกต้องกับการรับรู ้ คงไว้ซ่ ึงปริ มาณในการมองเห็นอย่างระรื่ นตา ระหว่างตัวอักษรผูกเนื่องต่อไปกับตัวอักษรถัดไป 5. ปริ มาตรทางสายตา ( Optical Volume ) โดยคํานึงถึงปริ มาตรที่มีดุลยภาพ ความสมดุลโดยประมาณทาง สายตา 6. มาตราส่ วนของช่องไฟตัวอักษร (Letter Spacing Scale) การวางช่องไฟตัวอักษรให้ดีควรคํานึงถึงสภาพ การมองเห็น (มากกว่าความกว้างของช่องไฟที่มีขนาดเท่ากัน ) พยายามสร้างความเข้าใจ และค้นหาระบบ ช่องไฟตัวอักษรด้วยตนเอง 7. เส้นฐาน (Baseline ) ตัวอักษรโค้งจะนิยมออกแบบให้สูงกว่าอักษรเส้นตรงเล็กน้อยจึงจะมองดูความสูง ใกล้เคียงกัน ตัวอักษรโค้งต้องวางให้ต่าํ กว่าเส้นฐานเล็กน้อย จึงจะมองดูเหมือนกับว่าตั้งอยูบ่ นเส้นฐานพอดี


ตามสภาพหลอน (lllusion) ของรู ปทรง 8. กรอบ ( Margin ) ตัวอักษรโค้ง ตัวอักษรเอียง และตัวอักษร เส้นนอนบาง ตัวควรวางลํ้าเส้นของเล็กน้อย การรับรู ้จึงจะให้ความรู ้สึกตรงเส้นขอบ ถ้ามีการเว้นวรรคจากบรรทัดก่อน ก็ควรนํามาชนเส้นขอบ 9. ปรับช่องไฟ (Kerning ) การจัดช่องไฟจําเป็ นต้องลดช่องไฟให้แคบลงระหว่างตัวอักษรเส้นเอียง เส้นโค้ง ตัวอักษรที่มีบริ เวณว่างภายนอก การราวตัวของตัวใหญ่กบั ตัวเล็ก จําเป็ นต้องปรับช่องไฟจํานวนมาก 10. เว้นวรรค ( Wordspacing ) คําต่าง ๆ เริ่ มต้นและส่ งท้ายด้วยตัวอักษรที่มีรูปร่ างต่างกัน การเว้นวรรคควร จัดให้มีความสอดคล้องระหว่างคํา ให้มองดูแล้วเหมือนกันทั้งหมด ปริ มาตรของเว้นวรรคควรปรับ เช่นเดียวกับช่องไฟของตัวอักษร (Letterspacing) 11. ตัวอักษรหัวเรื่ อง ( Headline Type ) อักษรทุกแบบสามารถที่จะเป็ นตัวอักษรหัวเรื่ องได้ ขนาดตัวอักษร หัวเรื่ องอาจจะเล็กตั้งแต่ 14 พอยท์ จนถึง 144 พอยท์ หรื ออาจโตกว่านั้น 12. ตัวอักษรเนื้อความ ( Body Type ) ขนาดประมาณตั้งแต่ 4-14 พอยท์ 8-14 พอยท์ เป็ นที่นิยมกันโดยทัว่ ไป แบบอักษรควรจะเลือกให้เหมาะสม ตัวอักษรแต่ละแบบมีบุคลิกที่แตกต่างกัน ตัวอักษรควรเป็ นสิ่ งเร้า การ สื่ อสารและกระตุน้ ผูอ้ ่าน (It should enhance the message and stimulate the audience) ตัวอักษรมากมายนั้น ก็มีเพียงไม่กี่แบบที่เหมาะสมกับการพิมพ์เนื้อความ แบบการจัดตัวอักษร Type Composition การเลือกรู ปแบบการจัดตัวอักษร ควรคํานึงถึงการรับรู ้ของกลุ่มผูอ้ ่านด้วย เช่น • แบบชิดซ้ าย Flush Left แบบชิดซ้ายจะปล่อยให้ทางขวามือเว้าแหว่งแบบอิสระ ให้ความรู ้สึกความลื่นไหลของคําเป็ นธรรมชาติ เป็ น ที่นิยมของนักออกแบบกราฟฟิ ค การชิดแนวด้านซ้ายมือ เป็ นวิธีการของพิมพ์ดีดโดยทัว่ ไป • แบบปรับซ้ ายขวาตรง Justified เป็ นแบบที่ปรับตัวอักษรให้ได้แนวตรงทั้งซ้ายขวา นิยมใช้พิมพ์ในหนังสื อและนิตยสาร ไม่ดีตรงที่คาํ บางคํา ถูกตัดขาดทําให้ยากต่อการอ่าน


• แบบชิดขวา Flush Right แบบชิดขวาจะปล่อยให้ทางซ้ายมือเว้าแหว่งเป็ นอิสระ ให้ความรู ้สึกอ่อนแอ ทางซ้ายมือเหมาะสมกับข้อมูล สั้น ๆ เช่น คําโฆษณา (Ad Copy) ระบบธุรกิจ (Business Systems) หัวเรื่ อง (Headlinees) ให้ความสมบูรณ์ และช่องไฟดี • แบบศูนย์ กลาง Centered เป็ นการจัดแบบสมดุลยภาพ ทั้งขอบซ้ายและขวาเว้าแหว่ง ช่องไฟระหว่างคําดี แต่ละบรรทัดควรจะมีความ สั้นยาวแตกต่างกัน เพื่อสร้างรู ปร่ างที่น่าสนใจ ให้ความรู ้สึกเป็ นแบบแผน • แบบรอบขอบภาพ (Contour) เป็ นการจัดวางตัวอักษรให้สมั พัทธ์กบั รู ปร่ างของสัญลักษณ์ภาพถ่ายเฉพาะรู ปร่ าง (Silhouette) หรื อ ภาพประกอบ ให้ความรู ้สึกสบาย ตื่นเต้น • แบบล้อมรอบ (Run Around) ตัวอักษรที่จดั ล้อมรอบรู ปภาพซึ่งส่ วนใหญ่จะเป็ นภาพสี่ เหลี่ยม ความยาวของคอลัมน์แต่ละตอนแตกต่างกัน ออกไป ส่ วนมากเป็ นคําบรรยายภาพ • แบบอดุลภาค Asymmetric มีสภาพเว้าแหว่งทั้งซ้ายและขวา เป็ นแบบหรื อการจัดวางที่คาดเดาไม่ได้ ดึงความสนใจในการมองเห็นได้ดี อ่านค่อนข้างยาก นิยมใช้กบั ข้อความสั้น ๆ • แบบแสดงรูปร่ าง Shaped การจัดตัวอักษรแบบนี้สมั พันธ์ กับทฤษฎีเกสตอลท์ ในเรื่ องของความสื บเนื่อง (Continuation) สายตาจะมอง สื บเนื่องไปตามแนวโค้งหรื อแนวเส้น ฐานในลักษณะต่าง ๆ ให้ความรู ้สึกในการแสดงออกได้ดี เป็ นแบบ การจัดที่หาดูไม่ค่อยได้ • แบบรูปธรรม Vertical Type เป็ นการจัดตัวอักษรให้เกิดรู ปร่ างของวัตถุ หรื อรู ปร่ างอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้น เช่น รู ปร่ างเรขาคณิ ตหรื อ นามธรรม ซึ่งสอดคล้องกับคําที่บรรยาย เป็ นการช่วยกระตุน้ ความหมายของภาษาให้มีศกั ยภาพกว้างขึ้น • แบบแนวตั้ง Vertical Type การจัดตัวอักษรตามแนวตั้งนี้นิยมใช้กบั หัวเรื่ อง บ่อยครั้งที่พบการนําไปใช้อย่างผิดพลาด


• แบบเอียง lnclined Type โดยจัดเอียงมุมเปลี่ยนไปตามมุมที่ตอ้ งการมีส่วนดึงความสนใจต่อประชากรเป้ าหมายได้พอสมควร ตัวอักษรเอียงช่วยกระตุน้ ความรู ้สึกสร้างสรรค์หรื อก้าวหน้าได้ การเอียงลาดขึ้นทางขวามือจะให้ความรู ้สึก สะดวกสบายกว่าเอียงลง • ลักษณะเฉพาะของตัวอักษร Identification โดยทัว่ ไปแล้วจะพิจารณาตามบุคลิกของตัวอักษรแบบต่าง ๆ ซึ่งมีแบบตัวอักษรอยูม่ ากมาย อาจจะพิจารณา ตัวอักษรต่าง ๆ ได้ดงั นี้ รู ปร่ าง (Shape) การกําหนดชื่อแบบตัวอักษรบางแบบมาจากชื่อนักออกแบบ บางแบบมาจากบุคลิกของตัวอักษร หรื อบาง แบบมาจากจุดประสงค์ในการออกแบบก็ได้ ขนาด (Size) ขนาดของตัวอักษรจะวัดตามแนวตั้ง โดยวัดเป็ นพอยท์ ตัวอักษรภาษาอังกฤษจะวัดตัวใหญ่เป็ นหลัก นํา้ หนัก (Weight) ความกว้างของเส้นตัวอักษรเป็ นสิ่ งสําคัญในการกําหนดรู ปแบบของตัวอักษร คําที่ใช้คือ บาง (Light) กลาง (Medium) หนา (Bold) และความหนามาก (Extra Bold) โดยพิจารณาตามความแคบกว้างของสี ดาํ หรื อความ ทึบ (Density) ความกว้ าง (Width) เป็ นการวัดความกว้างของตัวอักษรตามแนวราบ คําที่ใช้เรี ยกคือ ผอม (Condensed) ปกติ ( Normal ) กว้าง (Expanded) โดยพิจารณาจากแคบไปสู่ กว้าง แนวลาด (Slope) เป็ นการพิจารณามุมของตัวอักษรเพื่อบอกบุคลิก คําที่ใช้คือ ตัวตรง (Vertical) ตัวเอียง (Italic หรื อ Inclined) ความคิดพืน้ ฐาน Fundamental Concept ความคิดรวบยอดพื้นฐานสําหรับการแก้ปัญหาการจัดวางตัวอักษร จําเป็ นต้องคํานึงถึงปัญหาความขัดแย้งกัน (Contrast) ของตัวอักษร ต้องเปรี ยบเทียบผลการมองเห็นที่ขดั แย้งกันของประชากรเป้ าหมาย สภาพตัดกัน หรื อขัดแย้งกันเป็ นตัวแสดงพลัง ในอันที่จะช่วยให้การออกแบบเสนอความคิดที่ชดั เจนขึ้น ความขัดแย้งคือ พลังอันเร้าใจทางการเห็น (Force of Visual Intensity) และช่วยให้กระบวนการสื่ อสารง่ายดายขึ้นได้


เข้ าใจง่ าย Readability ความเข้าใจในสื่ อสารเกินความถึงการจัดตัวอักษรแบบต่าง ๆ เกี่ยวข้องกับการออกแบบสภาพส่ วนรวม ที่ มองเห็นได้ เป็ นความง่ายบนการผสมผสานแบบตัวอักษร สัญลักษณ์ ภาพถ่าย และภาพประกอบเข้าด้วยกัน ( รวมความซับซ้อนให้เข้าใจง่าย ) อ่านง่ าย Legibility เป็ นการเกี่ยวข้องกับการออกแบบหรื อเลือกแบบตัวอักษรที่แสดงบุคลลิกเฉลาะตัว ให้อ่านง่าย รวดเร็ ว การ ทดสอบอาจทําโดยอ่านตัวอักษรแต่ละแบบ แล้วเปรี ยบเทียบเวลาของการอ่าน

หน้ าทีข่ องกราฟฟิ คบนบรรจุภณ ั ฑ์ • สร้างทัศนคติที่ดีงามต่อผลิตภัณฑ์และผูผ้ ลิต • ชี้แจงและบ่งชี้ให้ผบู ้ ริ โภคทราบถึงชนิด ประเภทของผลิตภัณฑ์ • แสดงเอกลักษณ์เฉพาะสําหรับผลิตภัณฑ์และผูป้ ระกอบการ • แสดงสรรพคุณและวิธีใช้ของผลิตภัณฑ์ กระป๋ องกระดาษ (Paper/Composite Can) เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์รูปทรงกระบอกที่ได้จากการพันกระดาษทับกันหลาย ๆ ชั้น พันแบบเกลียวหรื อแบบแนว ตรง ถ้าใช้กระดาษเหนียวแต่เพียงอย่างเดียวจะเรี ยกว่า Paper Can นิยมใช้บรรจุของแห้ง แต่ถา้ ใช้วสั ดุร่วม ระหว่าง กระดาษเหนียว / อลูมิเนียมฟอยล์ / พลาสติก จะเรี ยกว่า Compostie Can ซึ่งมักจะบรรจุอาหาร ประเภทขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ ฝากระป๋ องมักเป็ นโลหะหรื อพลาสติกบางครั้งจะใช้ฝาแบบมีห่วงเปิ ดง่าย (Easy Opening End) ก็ได้ การเลือกใช้ตอ้ งพิจารณาคุณภาพของตะเข็บระหว่างตัวกระป๋ องฝาและรอยต่อของการ พัน เพื่อป้ องกันมิให้เกิดการรั่วซึม ในอดีตที่ผา่ นมาต่างประเทศได้เริ่ มมีการใช้กระป๋ องกระดาษ สําหรับบรรจุน้ าํ มันเครื่ องหรื อนํ้าผลไม้ที่ไม่มีก๊าซ เนื่องจากมีขอ้ ดี คือ ถ้าผลิตจํานวนมากราคาจะถูกกว่ากระป๋ องโลหะและมีน้ าํ หนัก เบากว่า ปั จจุบนั ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต จนสามารถ นํามาใช้บรรจุผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ ทั้งประเภทของเหลวและ


ของแข็ง สําหรับในบ้านเรานั้นเริ่ มมีการตื่นตัวต่อการใช้กระป๋ องกระดาษเพียงไม่กี่ปีที่ผา่ นมานี้ ตัวอย่างที่ เห็นเด่นชัดคงจะได้แก่ ถัว่ อบ ซึ่งดูเหมือนเป็ นขนมคู่ใจของเด็กๆ ทีเดียว แต่เดิมบรรจุในถุงพลาสติก มีขนาด และราคาต่างๆ ที่ไม่แพงนัก เมื่อผูผ้ ลิตได้หนั มาใช้กระป๋ องกระดาษซึ่งมีราคาใบละ 33.50 บาท แล้วขายใน ราคา 2024 บาท ปรากฏว่าขายดีมากจนผลิตไม่ทนั ทั้งนี้อาจเป็ นการใช้กระป๋ องกระดาษเป็ นการเปลี่ยนโฉม หน้าใหม่ของผลิตภัณฑ์ให้ดูทนั สมัย ประกอบกับคุณสมบัติของ กระป๋ องเองที่สามารถรักษาคุณภาพของถัว่ อบให้คง ความกรอบและมีกลิ่นรสหอมได้นาน จึงทําให้ผลิตภัณฑ์เป็ นที่นิยมของหมู่วยั รุ่ นเป็ นอย่างยิง่ วัสดุที่ใช้ทาํ กระป๋ องกระดาษประกอบด้วยกระดาษที่มีน้ าํ หนักมาตรฐาน 180 กรัม/ตารางเมตร นํามา ประกอบกับแผ่นอะลูมิเนียมเปลว แล้ว ประกบกับฟิ ล์มพลาสติกเอทีลีนอีกชั้นหนึ่งโดยให้กระดาษอยู่ ชั้นนอกและพลาสติกอยูช่ ้ นั ใน กรรมวิธีการผลิตมี 2 วิธีคือ วิธีแรกเรี ยกว่า “spiral winding” เป็ นการม้วนกระดาษพับเป็ นเกลียวเฉียงออกไป (เหมือนแกนกระดาษชําระ) ภายใต้เกลียวจะมีแท่งโลหะขนาดเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางที่ตอ้ งการ เมื่อพันเสร็ จ ใหม่ๆ จะยังไม่แห้ง หลังจากปล่อยให้แข็งตัวแล้วจึงตัดเป็ น ท่อนๆ ตามความต้องการด้วยเลื่อยวงเดือน อีก วิธีหนึ่งเรี ยกว่า “parallel winding” ใช้กระดาษจุ่มกาวพันรอบๆ แกน ทับกันไปเรื่ อยๆ จนมีความหนาตาม ต้องการ วิธีหลังนี้ไม่นิยมใช้กบั การผลิตกระป๋ องกระดาษเท่าใดนัก แต่มกั ใช้กบั การผลิตถังกระดาษ (กระป๋ องขนาดใหญ่) ซึ่งต้องการความ แข็งแรงสามารถบรรจุสินค้าที่มีน้ าํ หนักมาก เช่น ถังบรรจุสารเคมี เป็ นต้น ในปัจจุบนั บ้านเรามีโรงงานผลิตกระป๋ องกระดาษสําหรับบรรจุอาหารแห้งได้แล้ว และกําลังได้รับ ความนิยมอย่างสู งทั้งจากผูผ้ ลิตอาหาร ผูส้ ่ งออก และผูบ้ ริ โภค เพราะนอก จากจะทําให้ผลิตภัณฑ์ทนั สมัย แล้ว ยังช่วยเพิม่ คุณค่าและยืดอายุการเก็บได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามการเลือกใช้กระป๋ องกระดาษสําหรับบรรจุ อาหารแห้งนี้ จําเป็ น ต้องมีความมัน่ ใจในเรื่ องคุณสมบัติ ของกระป๋ องนั้น ซึ่งสัมพันธ์กบั การผลิต โดยเฉพาะ อย่างยิง่ การป้ องกันไอนํ้าและก๊าซได้ เพื่อรักษาคุณภาพของอาหารให้ คงความอร่ อยตลอดอายุการจําหน่าย แผ่ นเปลวอะลูมเิ นียมหรือฟรอยด์ แผ่นเปลวอะลูมิเนียมหรื อฟรอยด์ คือ อะลูมิเนียมที่มีความหนา 0.15 มิลลิเมตรหรื อน้อยกว่า การนําไปใช้ งานแบ่งได้เป็ น 3 ลักษณะคือ *แผ่นเปลวอะลูมิเนียมธรรมดา *แผ่นเปลวอะลูมิเนียมที่มีการเคลือบด้วยสาร ที่ทาํ ให้สามารถปิ ดผนึกได้ดว้ ยความร้อน *แผ่นเปลวอะลูมิเนียมที่มีการเคลือบหรื อประกบกับกระดาษหรื อฟิ ล์มพลาสติก


โดยทัว่ ไปไม่นิยมใช้แผ่นเปลวอะลูมิเนียมแต่เพียงอย่างเดียว สําหรับทําเป็ นภาชนะบรรจุ เนื่องจากพับแล้ว จะ เป็ นรอย แตกได้ง่าย ดังนั้นจึงได้มีการใช้วสั ดุที่อ่อนตัวอื่นๆ เคลือบหรื อประกบแผ่นเปลวอะลูมิเนียม แผ่นเปลวอะลูมิเนียม ลักษณะนี้ได้นาํ ไปใช้ใการยืดอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์ได้อีก ทั้งช่วยให้ผลิตภัณฑ์มี ลักษณะเด่นดูสวยงามขึ้นด้วย คุณสมบัตขิ องแผ่ นเปลวอะลูมเิ นียม 1. ไม่มีกลิ่นและรสไม่เป็ นพิษ จึงเหมาะสําหรับใช้เป็ นภาชนะบรรจุอาหาร ยา และเครื่ องสําอาง 2. ทึบแสง จึงใช้เป็ นภาชนะบรรจุเพื่อป้ องกันแสงสําหรับผลิตภัณฑ์ที่เสื่ อมคุณภาพได้ง่ายเมื่อได้รับแสง 3. สะท้อนรังสี ความร้อน เนื่องจากผิวหน้าทั้ง 2 ด้านต่างกันคือ มันและด้าน จึงสามารถสะท้อนรังสี ความ ร้อนได้ 95% ใช้เป็ น ฉนวนป้ องกันความร้อนสําหรับผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งรักษาอุณหภูมิให้ต่าํ หรื อสูงตามที่ ต้องการ เช่น อาหารแช่แข็งที่บรรจุในภาชนะแผ่นเปลวอะลูมิเนียมจะ เกิดการสะท้อนรังสี ความร้อนทําให้ การละลายเกิดขึ้นช้าลง 4. เป็ นตัวนําความร้อน กล่าวคือ แผ่นเปลวอะลูมิเนียมร้อนและเย็นได้อย่างรวดเร็ ว ทําให้เหมาะกับการใช้ เป็ นภาชนะในการแช่แข็งหรื ออบด้วยความร้อน และยังทําให้การปิ ดผนึกด้วยความร้อนเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว และมีคุณภาพ 5. มีเสถียรภาพในช่วงอุณหภูมิกว้าง ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่บรรจุในแผ่นเปลวอะลูมิเนียมจึงสามารถนําไปให้ ความร้อนแล้ว นํามาแช่แข็ง และให้ความร้อนอีกครั้งหนึ่งได้โดยไม่ตอ้ งถ่ายภาชนะ 6. ไม่ดูดความชื้นและของเหลว จึงไม่หดตัว ย่นหรื ออ่อนตัว 7. โค้งงอได้ สามารถพับ จีบ หรื อขึ้นรู ปได้ อยูต่ วั ดี จึงนํามาใช้ได้กบั ผลิตภัณฑ์หลายประเภท เช่น ใช้เป็ นฝา ปิ ดขวดนมเครื่ องดื่มและใช้ห่อเนย ขนมปั ง ช็อกโกเลต ลูกกวาด บุหรี่ 8. ป้ องกันการซึมผ่านของไขมันได้ดี จึงเหมาะกับการใช้ห่ออาหารประเภทที่มีน้ าํ มัน เนยและเนยแข็ง

ข้ าวโพดหวาน อยูใ่ น ตระกูล Gramineae ซึ่งเป็ นตระกูลเดียวกับหญ้าหรื อข้าว มีชื่อวิทยาศาสตร์วา่ Zeamays Line var. rugasa หรื อ saccharata ข้ าวโพดหวานมีคุณประโยชน์มากมาย นอกจากจะใช้รับประทานเป็ นผัก สดแล้ว ยังสามารถนําไปแปรรู ปได้หลาย รู ปแบบ เช่น ข้าวโพดหวานบรรจุึกระป๋ องทั้งฝัก หรื อบรรจุ กระป๋ องเฉพาะเมล็ด ทําครีมข้ าวโพดหวาน ข้ าวโพดแช่ แข็ง ซึ่งผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เหล่านี้ สามารถส่ งไป จําหน่ายยังตลาดต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน และกลุ่มประเทศในแถบยุโรป ฤดูปลูก


ข้ าวโพดหวานสามารถ ปลูกได้ตลอดปี แต่นิยมปลูกกันมากในช่วงฤดูฝน และสามารถปลูกได้ดีในดินทุก สภาพ แต่จะขึ้นได้ดีในสภาพดินร่ วนปนทราย จะทําให้ผลผลิตดีและเก็บเกี่ยวได้เร็ วกว่าความเป็ นกรด-ด่าง ของดินที่เหมาะสมอยูใ่ นช่วง 6.0-6.5 ข้าวโพดหวานต้องการแสงแดด เต็มที่ตลอดวัน อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมในการปลูกข้ าวโพดหวาน เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงที่สุดจะอยูใ่ นช่วง 24-30 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิกลางคืน อยูใ่ นช่วง 15-18 องศาเซลเซียส จะทําให้ข้าวโพดหวานมีคุณภาพดีและมีความหวาน สูง การเตรียมแปลงปลูก การปลูกข้ าวโพดหวานจะแตกต่างจากการปลูกข้าวโพดไร่ เพราะข้ าวโพดหวานต้องดูแล และปฏิบตั ิอย่าง พิถีพิถนั เช่นเดียวกับการ ปลูกพืชผัก จึงจะได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ดังนั้นในการเตรี ยมดินและการปลูก ต้องการทําอย่างประณี ต โดยการไถดินลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร แล้วตากทิ้งไว้ 7-10 วัน เพื่อกําจัดไข่ แมลงและเมล็ดวัชพืช หากมีการใส่ ปุ๋ยคอกหรื อหว่านปูนขาวเพื่อปรับ สภาพดินควรใส่ ในช่วงนี้ แล้วจึงไถ พรวนอีกครั้ง จากนั้นวัดระยะห่างระหว่างแถวประมาณ 80-100 เซนติเมตร ความยาวขึ้นอยูก่ บั พื้นที่ ทําการ ขุดเป็ นร่ องลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร ถ้าหากสภาพดินแห้งไม่มีความชื้น ควรปล่อยนํ้าเข้าตามร่ อง หรื อ ทําให้ดิน มีความชื้นบริ เวณ

ข้ อมูลเกีย่ วกับข้ าวโพดหวาน ทําการเจาะหลุมปลูกบริ เวณข้างๆ ร่ อง ใช้ระยะห่างระหว่างหลุม(ต้น) ประมาณ 25-35 เซนติเมตร นําเมล็ด ข้ าวโพดหวานหยอดลงไป หลุมละ 1-2 เมล็ด ในพื้นที่ 1 ไร่ จะใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1-1.5 กิโลกรัม หลัง หยอดเมล็ดแล้วไม่ควรปล่อยดินแห้งเกินไป ควรให้ดินมีความชื้นอย่างสมํ่าเสมอ ไม่ควรให้น้ าํ มากเกินไป ซึ่งจะทําให้เมล็ดข้าวโพดเน่าได้ หลังจากหยอดเมล็ดพันธุ์ 5-7 วัน ข้าวโพดก็จะเริ่ มงอก ให้สงั เกตุดูวา่ ถ้าหลุม ที่ไม่งอกให้รีบปลูกซ่อมทันที การปฏิบตั ดิ ูแลรักษาข้ าวโพดหวาน - การถอนแยกต้ น ควรกระทําหลังจากหยอดเมล็ด 12-14 วัน โดยการถอนแยกให้เหลือหลุมละ 1 ต้น - การให้ ปุ๋ย


ครั้งที่ 1 หลังจากหยอดเมล็ดประมาณ 14-10 วัน โดยการใส่ ปุ๋ย 46-0-0 ผสมกับปุ๋ ย 15-15-15 ในอัตรา 1:1 (ประมาณ 50 ก.ก./ไร่ ) โดยหว่านที่ร่องนํ้าข้างๆ ต้น แล้วกลบโคนต้น ครั้งที่ 2 เมื่อข้าวโพดหวานเริ่ มติดฝักอ่อนโดยการใส่ ปุ๋ยสู ตร 14-14-21 หรื อ 13-13-21 อัตราประมาณ 50 ก.ก./ไร่ โดยหว่าน ที่ร่องพื้นแล้วกลบโคนต้น - การใ◌้หนํา้ ให้น้ าํ อย่างสมํ่าเสมออย่าให้ขาดนํ้า โดยปล่อยเข้าตามร่ องนํ้าหรื อให้แบบสปริ งเกอร์ - การกําจัดวัชพืช กระทําพร้อมๆ กับการกลบโคนต้นและการให้ปุ๋ย - การฉีดพ่นสารป้องกันกําจัดโรคและแมลง การปลูกข้าวโพดหวานต้องระวังในเรื่ องของหนอนเจาะฝัก หรื อ เจาะลําต้น ควรฉี ดพ่น ยาพวกคาร์บาริ ล หรื อยาพวกถูกตัวตาย เช่น เมทโธมิล การเก็บเกีย่ วและการรักษา การเก็บเกีย่ วข้ าวโพดหวานเป็ นปั จจัยที่สาํ คัญที่สุด ที่จะทําให◌้ข้ าวโพดหวานมคุณภาพดีหรื อเลว ไม่วา่ จะ เป็ นข้าวโพดหวานเพื่อส่ ง โรงงานหรื อจําหน่ายฝักส ควรเลือกเก็บเกี่ยวในระยะที่มีน้ าํ ตางสูงที่สุด และ คุณภาพดีที่สุด หรื อระยะที่เรี ยกว่า ระยะนํา้ นม(Milk Stage) หากเลยระยะนี้ไปแล้วปริ มาณนํ้าตาลจะลดลง และมีแป้ งเพิ่มขึ้น การเก็บเกี่ยวข้ าวโพดหวานมีหลักพิจารณาง่ายๆ คือ 1. นับอายุ หลังจากวันหยอดเมล็ด วิธีการนี้ตอ้ งทราบอายุของข้ าวโพดหวานแต่ละพันธุว์ า่ เป็ นพันธุ์ หนัก, เบา หรื อปานกลาง เช่นพันธุ์เบา อายุ 55-65 วัน พันธุ์ปานกลาง 70-85 วัน และพันธุ์หนักตั้งแต่ 90 วันขึ้นไป ี 2. เก็บสุ่ มตัวอย่างในแปลงมาตรวจดู วิธีน้ ีแน่นอน และนิยมกระทํากันมากที ่สุด การเก็บเกี่ยวข้ าวโพด หวาน ควรเก็บเกี่ยวในเวลา เช้าตรู่ และรี บส่ งตลาดทันที ไม่ควรทิ้งไว้เกิน 24 ชัว่ โมง เพราะจะทําให้ นํ้าตาลลดลง


ข้ าวเกรียบข้ าวโพด ส่ วนผสม แป้ งมันสิ งค์โปร์ 2 ถ้วย เกลือ 1 ช้อนชา นํ้าตาลทราย 1 ช้อนชา นํ้า 1/2 ถ้วย + 1 ช้อนโต๊ะ ข้าวโพดหวานชนิดฝักตราเทสตี้ 3 ฝัก พริ กไทย 1 ช้อนโต๊ะ กระเทียม 1 ช้อนโต๊ะ วิธีทาํ 1. ผสมแป้ งมัน เกลือ นํ้าตาลทราย ในชามอ่าง ใส่ น้ าํ ทีละน้อย 2. โขลกพริ กไทย กระเทียมให้ละเอียด 3. ข้าวโพดฝานบดละเอียด ใช้ตะแกรงตาห่างกรองเอาแต่เนื้อ ผสมพริ กไทย กระเทียม ข้าวโพดลงในแป้ ง นวดให้เข้ากันปั้ นเป็ นแท่งยาวกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว นําไปนึ่ง 30 นาที จนสุ กใสดี ทิ้งให้เย็นแข็งตัว นํามาตัดเป็ นแผ่นบางหนา 2 มิลลิเมตร นําไปตากแดด 2-3 วัน จนแห้งดี เก็บไว้ได้นาน เวลาเสิ ร์ฟจึงทอดให้ กรอบพอง ขั้นตอนการออกแบบกราฟฟิ กบนบรรจุภณ ั ฑ์ 1.สื บค้ นจากบรรจุภณ ั ฑ์ ต่างๆทีเ่ กีย่ วข้ องและข้ อมูลสิ นค้ า •

• •

บรรจุภณ ั ฑ์ขา้ วเกรี ยบข้าวโพด โดยทัว่ ไปที่เห็นเป็ นการห่อถุงพลาสติกใสหรื อการบรรจุลงในขวด พลาสติกฝาเปิ ดเพื่อสะดวกเวลาเปิ ดรับประทาน กราฟิ กที่ใช้ จะใช้เป็ นป้ ายสี่ เหลี่ยมผืนผ้า และป้ ายที่ใช้สาํ หรับปิ ดปากบรรจุภณ ั ฑ์ กราฟฟิ กไม่เน้นสี สนั มากมาย เริ่ มต้นสื บค้นข้อมูลสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ท่ีเกี่ยวกับข้าวโพดหวาน สิ นค้าแปรรู ปของข้าวโพดหวานที่มี และศึกษากราฟฟิ ก การออกแบบ ประเภทสิ นค้า เพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาสิ นค้าให้มี


สิ นค้าที่หลากหลายขึ้น

การตรวจสอบและศึกษาบรรจุภณ ั ฑ์ท่ีมีในท้องตลาดเพื่อนํามาพัฒนาโดยการศึกเก็บรวมรวมข้อมูล ต่างและนํามาวิเคราะห์เพื่อให้ได้บรรจุภณ ั ฑ์ท่ีทนั สมัยและเพื่อให้เหมาะแก่ความต้องการของลูกค้า โดยสิ นค้าที่ศึกษามีดงั ต่อไป วิเคราะห์โลโก้ ส่ วนใหญ่จะใช้ภาพกราฟฟิ กของข้าวโพดมาเป็ นโลโก้หรื อส่ วนหนึ่งในโลโก้ สี ที่ใช้ เป็ นสี เขียวกับสี เหลือง ซึ่งสื อได้โดยตรงคือข้าวโพดนั้นเอง และสี ฟอนต์จะเป็ นสี ดาํ เพื่อให้อ่านได้ ชัดเจน


2.สมมติฐาน •

• • •

ต้องการสร้างบรรจุภณ ั ฑ์ขา้ วเกรี ยบข้าวโพดโดยที่รูปทรงของบรรจุภณ ั ฑ์ที่ได้แนวคิดมาจากข้าวโพด จริ ง ต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็ นกระดาษและสามารถเปิ ดบริ โภคได้ง่าย สามาถเก็บป้ องกันความชื้นที่จะให้สินค้าหมดสภาพด้วยการใช้ถุงพลาสติกเป็ นบบรจุภณ ั ฑ์ภายใน สร้างบรรจุภณ ั ฑ์ที่แปลกใหม่และเพื่อการส่ งออกไปยังต่างประเทศด้วย

แบบจําลองคล้ายจริง ครั้งที่ 1


ปัญหา เกีย่ วกับบรรจุภัณฑ์ 1 1. ลําบากขั้นตอนกระบวนการบรรจุสินค้าลง 2. ปากเปิ ดขนาดบรรจุภณ ั ฑ์มีขนาดเล็กเกินไป 3. ชื่อสิ นค้าและโลโก้ไม่สร้างแรงจูงใจการซื้อมากนัก 4. รู ปทรงของบรรจุภณ ั ฑ์ค่อนค้างเป็ นบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองอาจทําให้สินเปลืองค้าใช้จ่าย 5. ใส่ ผลิตภัณฑ์ได้จาํ นอนน้อยเกินไป แก้ไขและปรับปรุงครั้งที่ 1 1.เปลี่ยนชื่อสิ นค้า และโลโก้ 2.เปลี่ยนรู ปทรงของบรรจุภณ ั ฑ์จากขนาดเดิม 3.ใช้ภาพสิ นค้าจริ งเป็ นภาพประกอบบนบรรจุภณ ั ฑ์ แบบจําลองคล้ายจริง ครั้งที่ 2 เป็ นบรรจุภณั ฑ์ประเภทกระป๋ องกระดาษ ภายในเคลือบด้วยอลูมิเนียมฟรอยด์ มีฝาปิ ดปากขวดและ กราฟิ กติดลงบนฝาพลาสติกด้วย

ปัญหาครั้งที่ 2 1.ชื่อสิ นค้าและโลโก้ไม่เหมาะกับสิ นค้า 2.การจัดวางไม่มีความเป็ นเอกภาพ


3.ภาพประกอบดูไม่น่าสนใจ มีลกั ษณะคล้ายสิ นค้าเน่าเสี ย ไม่น่ารับประทาน แก้ไขและปรับปรุงครั้งที่ 2 1.เปลี่ยนชื่อสิ นค้า และโลโก้ 2.แก้สีโดนใช้สีโทนร้อน 3.ถ่ายภาพสิ นค้าใหม่ ให้สินค้ามีแรงดึงดูดดูน่ารับประทาน 4.จักวางองค์ประกอบบนฉลากใหม่ 3.สรุป ขั้นตอนและวิธีการออกแบบ 1.ดําเนินการตามแบบที่ออกแบบไว้และจําทําแบบจําลองคล้ายของจริ ง 2..ถ่ายภาพสิ นค้าเพื่อไดพคัททําภาพประกอบ

3.ไดคัทรู ป


4.ออกแบบโลโก้

5.จัดทํา ART WORK วัดขนาดตามจริ ง

6.จัดวางองค์ประกอบต่างรวมทั้งรายละเอียดต่างๆของสิ นค้าลงบนฉลาก


7.สร้างแบบจําลองคล้ายจริ ง

รายละเอียดเกี่ยวกับกราฟิ กบนฉลาก 1 ฟอนต์ที่ใช้ในการออกแบบ


2.สี ที่ใช้ในบรรจุภณ ั ฑ์ ชิ้นที่1 รสพริ ก โหมด CMYK

2.สี ที่ใช้ในบรรจุภณั ฑ์ ชิ้นที่1 รสพริ ก โหมด CMYK


3.สี ที่ใช้ในบรรจุภณ ั ฑ์ ชิ้นที่1 รสชีส โหมด CMYK

4.สี ที่ใช้ในบรรจุภณ ั ฑ์ ชิ้นที่1 รสพริ ก โหมด CMYK


แบบจําลองบรรจุภณ ั ฑ์คล้ายจิง




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.