อนุสารอุดมศึกษา issue 431

Page 1

อุดมศึกษา อนุสาร

ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๑ ประจำ�เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๗

เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461

อนุ ส ารอุ ด มศึก ษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web


สารบัญ

ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๑ ประจำ�เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๗

เรื่องเล่าอุดมศึกษา สกอ. เร่งปรับปรุงค่าตอบแทนพนักงานมหาวิทยาลัย ๓ จังหวัดชายแดนใต้ ๓ สกอ. คุมเข้มมาตรฐาน สั่งตรวจ ๑๖ ม.เอกชนที่เปลี่ยนประเภท ๔ เกษตรฯ-เภสัช-วิศวกรรมเคมี ของไทย ติดท็อป ๑๐๐ ของโลก ๕ สกอ. เปิดโอกาส ‘นอกทีต่ งั้ ’ ไม่ผา่ น ๑๑ หลักสูตร ทักท้วงได้ภายใน ๓๐ วัน ๖ สกอ. เปิดรับสมัครครูมืออาชีพ ๒๕๕๗ ผ่านออนไลน์ของ สทศ. ๗ กรอบความร่วมมือ เอเชีย - ยุโรป ๘ การประชุม GOING GLOBAL ๙ สกอ. พิจารณาตัวบ่งชี้ ทีคิวเอฟ ๑๐

เรื่องเล่าอาเซียน ASEAN Community Roadshow

๑๑

เรื่องพิเศษ ติดตามนักเรียนทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ๑๒

พูดคุยเรือ่ งมาตรฐาน FISU FORUM 2014

๑๕

เรื่องแนะน�ำ โครงการวิจัยร่วมภายใต้ความร่วมมือด้านอุดมศึกษาฯ

ปฏิทนิ การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง

๑๘ ๑๙

๑๒ ๒๐

ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๗

เหตุการณ์เล่าเรื่อง ‘อ่างแก้วเกมส์’ กีฬาบุคลากรส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

๒๐

เล่าเรื่องด้วยภาพ

๒๓

คณะผู้จัดทำ� สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

อนุสารอุดมศึกษา

เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ เว็บไซต์ http://www.mua.go.th อีเมล pr_mua@mua.go.th เฟสบุ๊ค www.facebook.com/ohecthailand ทวิตเตอร์ www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.ทศพร ศิรสิ มั พันธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พินติ ิ รตะนานุกลู รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำ จร ตติยกวี ดร.วราภรณ์ สีหนาท ดร.สุภัทร จำ�ปาทอง นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายพรชัย สิทธินันทน์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำ�กัด โทรศัพท์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗ - ๙


นราธิวาสราชนคริ นทร์ ๒๕๕๗ ว่า ขณะนี- ศาสตราจารย์ ้ สกอ. ได้ข้อมูเรืลพ่อสรุงเล่ิเศษปาอุจดมศึานวนบุ กษา คลาก ๓๐ เมษายน ดร.ทศพร ศ รวมของมหาวิ ทยาลัก ารคณะกรรมการการอุ ยทั้ง ๓ แห่ง เพื่อประกอบการจั าข้อเปิ เสนอฯ แบ สั ม พั น ธ์ เลขาธิ ด มศึดกทษา ด เผยถ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ความก้าวหน้าการจั เสนอในการปรั บปรุงค่าบตอบแทน กา ตามประเภทบุ คลากรดททัาข้​้งอสายวิ ชาการและสายสนั สนุน เป็สวั น ๔สดิกล ศิ ริ สั ม พั น ธ์ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เปิ ด เผยถึ ง ทพนั ธิ ปาการจั ระโยชน์ ข องพนั ท ยาลั ย ในพื้ นนทีดิ่ น๓มีจัจงานว หว คืและสิ อ (๑) กงานมหาวิ ยาลักยงานมหาวิ ที่ใช้เงินงบประมาณแผ่ ความก้ า วหน้ ด ท�ำข้ อทเสนอในการปรั บ ปรุ ง ค่ า ตอบแทน จ านวนข๓องพนั แห่กง งานมหาวิ คื อ มหาวิททยาลั ย สงขลานคริ ท สวัสชายแดนภาคใต้ าร และสิท๘๘๒ ธิประโยชน์ ยในพื ้น๑๓๗ ที่ คนน(๒ บุดิคกลากรรวม คน และกรอบอั ตราว่าง มียาลั จานวน ยาเขตปั ต ตานี มหาวิ ท ยาลั๓ย ราชภั ๓ จัวิงทหวั ด ชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน แห่ ง ฏคื อยะลา มหาวิและมหาวิ ท ยาลั ย ท ยาล พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย ที ่ ใ ช้ เ งิ น รายได้ ข องมหาวิ ย มี จคานว นราธิวาสราชนคริ นทร์ตว่ตานี า ขณะนี ข้อมูฏลยะลา สรุทปยาลั จและ านวนบุ ลาก สงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั มหาวิ้ ทสกอ. ยาลัยได้ ราชภั บุรวมของมหาวิ คทลากรรวม า้ งสกอ. มีจานวน (๓) ลูกแบ จ มหาวิ ยาลัยนราธิ๔๔ วทาสราชนคริ ได้ข้อด๑๒ มูทลาข้ สรุคน ยาลัคนยทัและกรอบอั ้ง ๓นทร์แห่ว่งาเพืตขณะนี ่อราว่ ประกอบการจั อปเสนอฯ จ�ำนวนบุ คลากรรวมของมหาวิ ยาลั ้งรายได้ ๓ แห่งข องมหาวิ เพื่อประกอบการ คลากร บสนุ น เป็ กล ชัตามประเภทบุ ่ ว คราวและพนั ก งานทั้งททีสายวิ ่ ใ ช้ เยงิชทันาการและสายสนั ท ยาลั ย นมี จ๔านว จัดท�ำข้ อ(๑) เสนอฯ งตามประเภทบุ คยลากร ทังิน้งสายวิ ชาการและสาย คือคลากรรวม พนักแบ่งานมหาวิ ทไม่ยาลั ที่ใช้ตเราว่ งบประมาณแผ่ นจ้ดิางชั น ่วมีคราว จานว บุ ๔๑๗ คน ม ก ี รอบอั า ง และ (๔) ลู ก สนับบุสนุ น เป็น ๔ ๘๘๒ กลุ่ม คืคน อ (๑) พนักงานมหาวิ ่ใช้เงินงบ คงลากรรวม และกรอบอั ตราว่ทยาลั าง มีย๖จทีานวน ๑๓๗ คน ต(๒ร ใช้ บประมาณแผ่ น ดิ น มี จ านวนบุ ค ลากรรวม คน ประมาณแผ่นดิน มีจ�ำนวนบุคลากรรวม ๘๘๒ คน และกรอบอัและกรอบอั ตรา พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ใ ช้ เ งิ น รายได้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย มี จ านว ว่างว่มีาจง �ำนวน ๑๓๗๑๒คนคน(๒) พนักงานมหาวิทยาลัย ที่ใช้เงินรายได้ มีจานวน บุ ค ลากรรวม คน และกรอบอั ตราว่คนางและกรอบอั มีจานวน ๑๒ ของมหาวิทยาลัย มี๔๔ จ�ำนวนบุ คลากรรวม ๔๔ ตราว่คน าง (๓) ลูกจ เลขาธิ ก ารางชักกอ. า กวต่งานอขไปว่ า สกอ. ได้ ร่ ว มก ชั่ ว คราวและพนั ที่ ใ ช้ เ งิกล่ น รายได้ ท ยาลั มีจ�ำนวน ๑๒ คน (๓) ลูกกจ้งาน ่วคราวและพนั ทีองมหาวิ ่ใช้เงินรายได้ ของย มี จ านว สงขลานคริ (วิ๔๑๗ ทยาเขตปั ตานี )(๔)มหาวิ ราชภ บุมหาวิ คทลากรรวม ๔๑๗ คคน ไม่นทร์ มีกรอบอั ตราว่ กทจ้าายาลั มหาวิ ยาลัทยยาลั มีจย�ำนวนบุ ลากรรวม คน าไม่งตมและ ีกรอบอั ตลูราว่ งงชั่วยคราว งบประมาณแผ่ ดิทีน่ใยช้งนราธิ มีบประมาณแผ่ จานวนบุ คลากรรวม และกรอบอั ตร และใช้ (๔) ลูและมหาวิ กจ้างชั่วคราว นดินนมีทร์ จ�ำนวนบุ คลากร ยะลา ทนยาลั วาสราชนคริ จั๖ดคน ทาโครงร่ างข้อเสน รวมว่๖างคน ตคน ราว่าง มีจ�ำนวน ๑๒ คน มีจและกรอบอั านวน ๑๒ ในการปรั บ ปรุ ง ค่ า ตอบแทน สวัสาดิสกอ. การ และสิทธิประโยชน์ ของพนักงา เลขาธิ วต่ออไปว่ เ ลกขารา ธิกกอ. ก า กล่ ร ากก . ก ล่ า วได้ต่ รอ่วไมกัปว่บมหาวิ า ส ทกยาลั อ . ยไ ด้ ร่ วม ก มหาวิทยาลั ้นที่ ๓ตจัตานี งหวัด(วิชายแดนภาคใต้ โดยมี ข้อทมูยาลั ลพื้นยฐานขอ สงขลานคริ ทร์ ยย(วิในพื ทยาเขตปั ทยาลัยราชภั มหาวิทนยาลั สงขลานคริ นทร์) มหาวิ ทยาเขตปั ตตานีฏ)ยะลา มหาวิและ ราชภ มหาวิ ท ยาลั ย นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ จั ด ท�ำโครงร่ า งข้ อ เสนอในการ สถาบั อุดมศึกษาทยาลั สภาพปั ความต้อนงการของสถาบั ดมศึ กษ ยะลา นและมหาวิ ยนราธิญวหาาสราชนคริ ทร์ จัดทาโครงร่นาอุงข้ อเสน ปรับปรุงค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์ของพนักงาน และบุ คลากร งของค่ าตอบแทนระหว่ างข้าขราชการพ ในการปรั บปรุงความแตกต่ ค่าตอบแทนาสวั สดิการ และสิทธิประโยชน์ องพนักงา มหาวิ ท ยาลั ย ในพื้ น ที่ ๓ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ โดยมี ข ้ อ มู ล ทยาลัยนในพื ่ ๓กสภาพปั จัษาและพนั งหวัดญชายแดนภาคใต้ เรืมหาวิ อนในสถาบั งานมหาวิ ทโดยมี ยาลัขย้อมูงบประมาณ พืน้ ฐานของสถาบั อุนดอุมศึ้นดทีกมศึ ษา หา กความต้ องการของสถาบั นลพื้นฐานขอ สถาบั มศึคใกนการปรั ษา สภาพปั งการของสถาบั มศึกษ อุดมศึ กษาและบุ ลากร ความแตกต่ าความต้ งของค่าอสวั ตอบแทนระหว่ จาเป็ นนต้อุอดงใช้ บปรุงญค่หา าตอบแทน สดิการ และสิางทนธิอุปดระโยช และบุคลากร ความแตกต่ างของค่ าตอบแทนระหว่ งข้ายราชการพ ข้าราชการพลเรื อนในสถาบั นอุดมศึ กษาและพนั กงานมหาวิทายาลั และข้ อ เสนอแนะเพิ ่ ม เติ ม ขณะนี ้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการวิ เ คราะห์ ข้อมูล แล งบประมาณที ่จ�ำเป็นต้อุอดงใช้ บปรุกงค่งานมหาวิ าตอบแทนทยาลั สวัสดิยกงบประมาณ าร เรือนในสถาบั มศึใกนการปรั ษาและพนั จัจดาเป็ อเสนอฯ คณะกรรมการข้ าราชการพลเรื และสิ ททธิาร่ ปนระโยชน์ และข้ดัองบกล่ เสนอแนะเพิ ่มอเติ ม สวั ขณะนี ะหว่ างทธิประโยชอ ต้าองข้งใช้ ในการปรั ปรุาวเสนอต่ งค่าตอบแทน สดิก้อารยู่รและสิ การวิและข้ เคราะห์ ท�ำร่มาขณะนี งข้อพิเสนอฯ ดังกล่าคางการวิ วเสนอต่ อชอบก่ คณะ ขอ้อนน ในสถาบั นข้อุอมูดลมศึและจั กษา่มด(ก.พ.อ.) จ้อารณาให้ วามเห็ อเสนอแนะเพิ เติ ยู่ระหว่ เนคราะห์ มูลาเสน แล กรรมการข้ ราชการพลเรื อดันในสถาบั นอุดมศึ กษา (ก.พ.อ.) พิจาารณา จัคณะรั ดทาร่ฐาามนตรี งข้อเสนอฯ งกล่อไป าวเสนอต่ อคณะกรรมการข้ ราชการพลเรือ พ จ ิ ารณาต่ ให้ความเห็นชอบก่อนน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป ในสถาบั“การด นอุดมศึกษาน การปรั (ก.พ.อ.) ปรุ พิจงารณาให้ ความเห็นสชอบก่ อนนาเสน ค่าตอบแทน ดิกทาร “การด�ำเนินาเนิ การปรับปรุงค่บาตอบแทน สวัสดิการสวั และสิ ธิ และสิ ท คณะรัขฐองพนั พิจารณาต่ อไปยในพืน้ ที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประโยชน์ กงานมหาวิ ทยาลั ประโยชน์มนตรี ของพนั กงานมหาวิ ทยาลัยในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใ “การด าเนิ น การปรั บ ปรุ งค่ า ตอบแทนค ลากรของ สวั ส ดิ ก าร และสิ ท จะเป็ น กลไกหนึ่ ง ในการแก้ ป ั ญ หาการขาดแคลนบุ จะเป็ น กลไกหนึ ่ ง ในการแก้ ป ั ญ หาการขาดแคลนบุ ค ลากรขอ ประโยชน์ องพนั้นกทีงานมหาวิ ยาลัยในพื้นที่ ๓เพืจั่องทีหวั ดชายแดนภาคใ สถาบั นอุดมศึกขษาในพื ่ ๓ จังหวัทดชายแดนภาคใต้ ่จะดึ งดูด สถาบั ดมศึกษาในพื ้นทีและชดเชยความเสี ่ ๓ จัปงั ญหวัหาการขาดแคลนบุ ดชายแดนภาคใต้ ที่จะดึงด จะเป็ ่ ง ในการแก้ และรั กษาบุนนคอุกลไกหนึ ลากรไว้ ในระบบ ่ยงในการปฏิเพื บัตค่อิ ลากรขอ หน้าสถาบั ที่ในจักนงหวั ชายแดนภาคใต้ ความจ�ำเป็ นตามภาระงาน อุดดมศึ กษาในพืใ้นนระบบ ที่ ภายใต้ ๓ จังและชดเชยความเสี หวั ดชายแดนภาคใต้ เพื่อที่จะดึงบด และรั ษาบุ คลากรไว้ ่ยงในการปฏิ ของสถาบั อุดมศึคกลากรไว้ ษาในพื้นใทีนระบบ ่ ๓ จังหวัและชดเชยความเสี ดชายแดนภาคใต้ โดยจะ และรั กน่ในจั ษาบุ ่ ยงในการปฏิ บ หน้ า ที ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ภายใต้ ความจาเป็ นตามภาระงานขอ ขอรัหน้ บจัาดทีสรรงบประมาณเพิ ่ ม เติ ม ในสายวิ ช าการจากเดิ ม ๑.๗ เท่า ่ในนจั งหวั ดกชายแดนภาคใต้ ภายใต้ ความจาเป็นตามภาระงานขอ สถาบั อุ ด มศึ ษาในพื ้ น ที ่ ๓ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เป็น ๒ เท่า และสายสนับสนุนจากเดิม ๑.๕ เท่า เป็น ๑.๘ เท่า ซึโดยจะขอร ่ง สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาในพื้ นที่ ๓ จั งหวั ด ชายแดนภาคใต้ โดยจะขอร จะใช้จังดบประมาณเพิ ่มเติมประมาณ ๑๐๐ ล้าชนบาทต่ อปี” เลขาธิ การ เท่า เป็น สรรงบประมาณเพิ ่​่มมเติ มมในสายวิ าการจากเดิ มม ๑.๗ จั ด สรรงบประมาณเพิ เติ ในสายวิ ช าการจากเดิ ๑.๗ เท่า เป็น กกอ. กล่าวในตอนท้าย เท่ เท่ าา และสายสนั และสายสนั บบ สนุ สนุ นน จากเดิ จากเดิ มม ๑.๕ ๑.๕ เท่ เท่ าา เป็ เป็ นน ๑.๘ ๑.๘ เท่ เท่ าา ซึซึ่​่ งงจะใ จะใ งบประมาณเพิ่มเติมประมาณ ๑๐๐ ล้านบาทต่อปี” เลขาธิการ กก อนุสารอุดมศึกษา 3 กล่ กล่าาวในตอนท้ วในตอนท้าายย


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยภายหลัง การประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๕/๒๕๕๗ ว่า ทีป่ ระชุมได้เห็นชอบแนวทางและวิธกี ารในการด�ำเนินการติดตามตรวจสอบ คุณภาพมาตรฐานของวิทยาลัยเอกชนที่เปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัยแล้ว ว่าได้ด�ำเนินการอย่างมีคุณภาพมาตรฐานตามแผนที่ วิทยาลัยเสนอมาหรือไม่ โดยก�ำหนดให้ด�ำเนินการประเมินคุณภาพมาตรฐานฯ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ได้เปลี่ยนประเภทเป็น มหาวิทยาลัยแล้วทั้งหมด จ�ำนวน ๓๖ สถาบัน แบ่งเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะเร่งด่วน พิจารณาจากระยะเวลาที่ได้เปลี่ยนประเภทมาแล้ว ไม่เกิน ๑๐ ปี และเป็นสถาบันที่มีปัญหาด้านคุณภาพมาตรฐานหรือมีข้อร้องเรียนเป็นกรณีที่ต้องติดตามตรวจสอบเร่งด่วน ซึ่งมีจ�ำนวน ๑๖ แห่ง และระยะที่สอง ให้ด�ำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่ได้เปลี่ยนประเภทแล้ว ที่เหลือ ให้ครบ ซึ่งมีจ�ำนวน ๒๐ แห่ง เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า การด�ำเนินการครั้งนี้เป็นการติดตามตรวจสอบเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจัดการศึกษา โดยยึดหลักความเป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพจริง และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ โดยจะ พิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขของคณะกรรมการการอุดมศึกษาในการเห็นชอบให้เปลี่ยนประเภทได้ ข้อมูลตามแผนด�ำเนินงานที่สถาบัน อุดมศึกษาเอกชนได้เสนอขอเปลี่ยนประเภทสถาบันที่ปรากฏตามข้อก�ำหนดของสถาบันนั้นๆ ข้อมูลการจัดการศึกษามีความสอดคล้อง ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลพื้นฐานและแผนยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน และข้อมูล การประกันคุณภาพภายในของสถาบันนั้นๆ ในรอบปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ ได้ก�ำหนดใช้การตรวจเยี่ยมในสถานที่ โดยระบบพิชญพิจารณ์ (Peer Review) ซึ่งเป็นการประเมินเชิงคุณภาพ “หลังจากการติดตามตรวจสอบ หากสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใดยังด�ำเนินการไม่เป็นไปตามแผนการด�ำเนินการและไม่มี คุณภาพมาตรฐาน มีประเด็นต้องปรับปรุง จะมีการก�ำหนดระยะเวลาในการปรับปรุงตามประเด็น ตั้งแต่ ๑ ภาคการศึกษาขึ้นไป แต่ไม่เกิน ๒ ปีการศึกษา และจะมีการติดตามซ�้ำในแต่ละประเด็น ให้ด�ำเนินการได้อีกเพียง ๑ ครั้ง โดยอาจใช้วิธีให้สถาบันจัดท�ำรายงาน หรือตรวจ ประเมินซ�้ำเฉพาะประเด็น แล้วแต่กรณี และถ้าสถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้น ไม่สามารถปรับปรุงหรือพัฒนาตามประเด็นที่ต้องปรับปรุง ก็จะน�ำเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาให้ค�ำแนะน�ำรัฐมนตรีสงั่ ให้งดรับนักศึกษาในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึง่ หรือทุกสาขาวิชา หรือเพิกถอนการรับรองวิทยฐานะ หรืออาจถึงขั้นเพิกถอนใบอนุญาต” เลขาธิการ กกอ. กล่าว เลขาธิการ กกอ. กล่าวถึงการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ ว่า ที่ประชุม กกอ. ได้ เห็นชอบผลการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งที่ได้ด�ำเนินการตรวจประเมินในระหว่างวันที่ ๒๐ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๕ สถาบัน ๖ ศูนย์ ๑๕ หลักสูตร ซึ่งมีผลการตรวจประเมิน คือ ระดับผ่าน จ�ำนวน ๒ หลักสูตร ต้องปรับปรุง จ�ำนวน ๒ หลักสูตร และระดับไม่ผ่าน จ�ำนวน ๑๑ หลักสูตร โดยรับทราบหลักสูตรที่มีผลการประเมินระดับผ่าน ในภาคการศึกษาที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ และหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ของสถาบันรัชต์ภาคย์ ณ อาคารรัชภาคย์ (นครศรีธรรมราช)

4

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์ พิเศษ พดร.ทศพร ศิริสัมศิพัรนิสธ์ัมพัเลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดมศึดมศึ กษากษาเปิเปิ ดเผยถึ ๑ พฤษภาคม - ศาสตราจารย์ ิเศษ ดร.ทศพร นธ์ เลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดเผยถึง งการจัด อันดับมหาวิ ชาในระบบ Quacquarelli Symonds (QS) ประจาปี(QS) ๒๐๑๔ (QS World การจัทดยาลั อันดัยบไทยจ มหาวิาแนกตามรายสาขาวิ ทยาลัยไทยจ�ำแนกตามรายสาขาวิ ชาในระบบ Quacquarelli Symonds ประจ�ำปี ๒๐๑๔ University (QS RankingWorld by University Subject 2014) พบว่byา มหาวิ ทยาลั ยของไทย านวนทยาลั ๓ แห่ ง มีสาขาวิ ชาที๓่ได้แห่ รับงการจั ดอันชดัาทีบ่ไอยู ๑๐๐ Ranking Subject 2014) พบว่าจมหาวิ ยของไทย จ�ำนวน มีสาขาวิ ด้ร่ใับนการจั ดอันอัดันบดับแรก จานวน อยู ๓ ่ใสาขาวิ (๑)จ�ำนวน สาขาวิ๓ชาด้ านเกษตรศาสตร์ ละวนศาสตร์ (Agricultureและวนศาสตร์ & Forestry)(Agriculture ของมหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร์ น ๑๐๐ชาอัได้ นดัแบก่แรก สาขาวิ ชา ได้แก่ (๑)แสาขาวิ ชาด้านเกษตรศาสตร์ & Forestry) ของ อยู่ ในอันดับมหาวิ ที่ ๔๘ทยาลั(๒)ยเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาด้านเภสั ชศาสตร์ ละเภสั ทยา ช(Pharmacy & Phamacology) ทยาลั มหิดล อยู่ในอันดับที่ อยู่ในอั นดับที่ แ๔๘ (๒)ชวิสาขาวิ าด้านเภสัชศาสตร์ และเภสัชวิทยา ของมหาวิ (Pharmacy & ยPhamacology) ๔๙ และของมหาวิ (๓) สาขาวิ ชาด้ยมหิ านวิดศลวกรรมเคมี ของจุ ฬาลงกรณ์(Engineering มหาวิทยาลัย -อยูChemical) ่ในช่วงอันดัของจุ บที่ ๕๑-๑๐๐ ทยาลั อยู่ในอันดับ(Engineering ที่ ๔๙ และ (๓)- Chemical) สาขาวิชาด้านวิ ศวกรรมเคมี ฬาลงกรณ์ ทั้งนี้ ย อยู่ในช่ บทีา่ งน้ ๕๑-๑๐๐ ทั้งนี้ มีชมาหาวิ ทยาลัย๑๗ ของไทยติ างน้อยหนึม่งหาวิ สาขาวิ ชา จ�ำนวน แห่ยงมหิ ด ล มีม หาวิมหาวิ ท ยาลัทยยาลั ของไทยติ ด อัวนงอัดันบดัอย่ อ ยหนึ่ งสาขาวิ จานวน แห่ ง ดได้อันแดัก่บจุอย่ฬ าลงกรณ์ ท ยาลั ย มหาวิ๑๗ ทยาลั ได้แยก่เชีจุยฬงใหม่ าลงกรณ์ มหาวิ ทยาลั ย มหาวิทยาลัยมหาวิ มหิดทลยาลั มหาวิ ทยาลัยนเชีมหาวิ ยงใหม่ทยาลั มหาวิยสงขลานคริ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ ยขอนแก่พนระจอม มหาวิทยาลั มหาวิ ทยาลั ยเกษตรศาสตร์ ยขอนแก่ นทร์ มหาวิมหาวิ ทยาลัทยยาลั เทคโนโลยี มหาวิ ยาลัยทสงขลานคริ นทร์ มหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้อาธนบุ รี นมหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ อ ง เกล้ า ธนบุ รี ทมหาวิ ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื สถาบั เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ าณพระนครเหนื ทหารลาดกระบั สถาบัยธรรมศาสตร์ นเทคโนโลยีพมหาวิ ระจอมเกล้ าคุณทหารลาดกระบั ง มหาวิ ทยาลั ธรรมศาสตร์ ยาลันยคริเทคโนโลยี สุรนารี ย า มหาวิทยาลั ทยาลัายเจ้เทคโนโลยี สุรนารี มหาวิ ทยาลั ยศิลยปากร มหาวิทมหาวิ ยาลัยทศรี นทรวิ โรฒ มหาวิมหาวิ ทยาลัทยาลั ยหอการค้ ศิลปากร มหาวิทแห่ยาลั ยศรียนโดยมี ครินทรวิ โรฒทยาลั มหาวิ ทยาลัยงหอการค้ นเทคโนโลยี ห่งเอเชี ย โดยมี มหาวิทและสถาบั ยาลัยสองแห่ ไทย สถาบั นเทคโนโลยี งเอเชี มหาวิ ยสองแห่ ที่ติดอันาดัไทย บเพิ่มสถาบั ขึ้นมาในปี นี้ คือ แมหาวิ ทยาลั ยนเรศวร นบังณทีฑิ่ ตพัฒ ติดอันดับเพิ่มขึ้นมาในปีนี้ คือ มหาวิทยาลัยนเรศวร และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ นบริหารศาสตร์ วต่อว่า จากการจั าว มีทมยาลั หาวิยทไทยที ยาลัย่ไทยที วง ๒๐๐ ดับแรกอย่ อยหนึ ่ง ช า เลขาธิการเลขาธิ กกอ.การกล่กกอ. าวต่อกล่ ว่าาจากการจั ดอันดับดดัอังนกล่ดับาวดังมีกล่มหาวิ อยู่ในช่​่อยูว่ใงนช่๒๐๐ อันดับอันแรกอย่ างน้าองน้ ยหนึ ่งสาขาวิ แห่ง ได้มแก่หาวิ จุฬทาลงกรณ์ มหาวิททยาลั ยาลัยยมหิ มหาวิ ยาลัยมหิ ดล ยมหาวิ ทยาลัยมหาวิ เชียงใหม่ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ จานวน สาขาวิ ๖ แห่ชง าได้จ�ำนวน แก่ จุฬ๖าลงกรณ์ ยาลัย มหาวิ ดลทมหาวิ ทยาลั เชียงใหม่ ทยาลัมหาวิ ยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ ร ี และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และถ้ า ขยายผลการจ�ำแนกอั น ดั บ ตามราย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และถ้าขยายผลการจาแนกอันดับตามรายมหาวิทยาลัยเป็น ๔๐๐ อันดับ ทยาลัทยยาลั เป็นยที๔๐๐ มีมหาวิ ทยาลัชยาเพิ ที่ต่มิดขึอั้นนอีดับกอย่๔าแห่ งน้องยหนึ ่มขึย้นธรรมศาสตร์ อีก ๔ แห่ง ได้มหาวิ แก่ มหาวิ ทยาลั ย น จะพบว่ามหาวิ มีมหาวิ ่ติดอัอันนดัดับบอย่จะพบว่ างน้อายหนึ ่งสาขาวิ ได้แ่งก่สาขาวิ มหาวิชทาเพิ ยาลั ทยาลั ยขอนแก่ ธรรมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยขอนแก่ น มหาวิทอยาลั ยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าพระนครเหนื นเทคโนโลยี มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าพระนครเหนื และสถาบั นเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าเจ้าคุอณและสถาบั ทหารลาดกระบั ง พระจอมเกล้า าคุณทหารลาดกระบั โดยจุ ฬเจ้าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลังย มี จ านวนสาขาวิ ช าที่ ติ ด ในช่ ว งอั น ดั บ ๑-๔๐๐ มากที่ สุ ด จ านวน ๑๔ สาขาวิ ช า รองลงมาได้ แ ก่ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ย มีจจานวน �ำนวนสาขาวิ ชาทีช่ตาิดในช่ วงอันดัทบยาลั ๑-๔๐๐ มากที่สพุดระจอมเกล้ จ�ำนวน ๑๔ สาขาวิ ชา รองลงมา มหาวิทยาลัยมหิดโดยจุ ลและมหาวิ ทยาลั ยเชีทยาลั ยงใหม่ ๔ สาขาวิ และมหาวิ ยเทคโนโลยี าธนบุ รี จานวน ๓ สาขาวิชา ได้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จ�ำนวน ๔ สาขาวิ ช า และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุชราต่ ี างๆ “จากผลการจัดอันดับ สกอ. จะนามาขยายผล โดยเร่งส่งเสริมและสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยไทยต่อยอดการพัฒนาสาขาวิ จ�ำนวน ๓ สาขาวิชา ที่มีศักยภาพสู ง เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐาน และยกระดับการบริหารจัดการการศึกษา โดยเน้นการ “จากผลการจัดอันดับ สกอ. จะน�ำมาขยายผล โดยเร่งส่งเสริมและสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยไทยต่อยอดการพัฒนาสาขา วิจัยที่เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนากาลังคนที่มีคุณภาพในระดับสูง เพื่อผลักดันให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวไปสู่มหาวิทยาลัย วิชาต่างๆ ที่มีศักยภาพสูง เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐาน และยกระดับการบริหารจัดการการ ระดับโลกอย่างต่อเนื่องต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนท้าย ศึกษา โดยเน้นการวิจัยที่เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนาก�ำลังคนที่มีคุณภาพในระดับสูง เพื่อผลักดันให้มหาวิทยาลัย ไทยก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยระดับโลกอย่างต่อเนื่องต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนท้าย อนุสารอุดมศึกษา

5


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. เปิดโอกาส ‘นอกที่ตั้ง’ ไม่ผ่าน ๑๑ หลักสูตร ทักท้วงได้ภายใน ๓๐ วัน ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ชี้แจงถึงผลการประชุมคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (กกอ.) ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ที่ผ่านมา ซึ่งได้เห็นชอบผลประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ในกรณีที่ไม่ผ่าน ๑๑ หลักสูตร และต้องปรับปรุง ๒ หลักสูตร ว่า ยังมีกระบวนการที่ต้องด�ำเนินการต่อไป ซึ่งยังไม่ถือเป็นที่สิ้นสุด โดย สกอ. จะแจ้งผลการตรวจประเมินไปยังสถาบันอุดมศึกษา และสถาบันสามารถทักท้วง หากไม่เห็นด้วยกับผลการตรวจ ประเมินภายใน ๓๐ วัน นับจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งผล สถาบันสามารถน�ำหลักฐานที่เป็นข้อมูลที่มีอยู่ก่อน หรือ ณ วันที่ตรวจ ประเมิน แต่ไม่ได้น�ำมาแสดงให้คณะกรรมการตรวจประเมินได้พิจารณา มาทักท้วงผลการประเมินได้ ทั้งนี้ สกอ.จะน�ำข้อมูล ดังกล่าวเสนอต่อคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล พิจารณาทบทวนผลการประเมินและน�ำเสนอ กกอ. ต่อไป และ จะแจ้งผลการทักท้วงผลการประเมินต่อสถาบันอุดมศึกษาเมื่อกระบวนการทักท้วงถือเป็นที่สิ้นสุด “ส�ำหรับสถาบันที่ไม่ทักท้วงผลการประเมินเมื่อครบก�ำหนดระยะเวลา ๓๐ วัน สถาบันอุดมศึกษาจะต้องด�ำเนินการตาม ผลการประเมิน โดย (๑) กรณีต้องปรับปรุง ให้ปรับปรุงก่อนภายใน ๑ ภาคการศึกษา และส่งแผนการพัฒนาที่ได้ไปด�ำเนินการ มายัง สกอ. เพื่อพิจารณาด�ำเนินการตรวจประเมินซ�้ำต่อไป หากปรับปรุงไม่ได้ให้ด�ำเนินการเช่นเดียวกับกรณีไม่ผ่าน (๒) กรณี ไม่ผ่าน ขอให้ยุติการรับนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษาถัดไป หากยังเปิดรับนักศึกษาใหม่อยู่ จะไม่รับทราบหลักสูตรนั้นทั้งในและ นอกสถานที่ตั้ง นับตั้งแต่วันที่แจ้งไม่รับทราบและประกาศต่อสาธารณะ รวมทั้งแจ้งส�ำนักงาน ก.พ. ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาต้อง แจ้งระยะเวลาที่จะปิดศูนย์การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งดังกล่าว โดยรายงานข้อมูลจ�ำนวนนักศึกษาที่ยังไม่ส�ำเร็จการศึกษาและ มาตรการ/วิธีการ ด�ำเนินการต่อนักศึกษาที่ยังไม่ส�ำเร็จการศึกษาภายใน ๙๐ วัน หลังจากได้รับหนังสือแจ้งผลการตรวจประเมิน พร้อมแนบมติสภาสถาบันอุดมศึกษาที่ให้ปิดศูนย์การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งมายัง สกอ. เพื่อเสนอ กกอ. ต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

6

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. เปิดรับสมัครครูมืออาชีพ ๒๕๕๗ ผ่านออนไลน์ของ สทศ. ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.ทศพร ศิรสิ มั พันธ์ เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยถึงการรับสมัครเข้าร่วมโครงการผลิตครูมอื อาชีพ ปี ๒๕๕๗ กรณีนสิ ติ นักศึกษาครูทกี่ �ำลังศึกษาชัน้ ปีที่ ๕ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ และผูส้ �ำเร็จการศึกษา หลักสูตรผลิตครู ๕ ปี รูปแบบประกันการมีงานท�ำ ว่า การคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการฯ ปี ๒๕๕๗ กรณีนิสิตนักศึกษาครูที่ก�ำลังศึกษาชั้นปีที่ ๕ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ และ ผู้ส�ำเร็จ การศึกษาหลักสูตรผลิตครู ๕ ปี ใช้การสอบคัดเลือกใน ๔ วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร วิชาชีพครูและกฎหมายการศึกษา และวิชาการคิด อย่างมีวจิ ารณญาณ โดยจะเปิดรับสมัครออนไลน์ ระหว่างวันที่ ๖ - ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ผ่านเว็บไซต์ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) www.niets.or.th/ protbyohec และจะประกาศผู ้ มี สิ ท ธิ์ แ ละสนามสอบ ในวั น ที่ ๗ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๗ โดยก�ำหนดให้สอบคัดเลือกวันที่ ๒๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ และประกาศผลการสอบคัดเลือกวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า ผู้ที่มีสิทธิ์สมัครเข้าร่วมโครงการต้องก�ำลังศึกษา หลักสูตรการผลิตครู (๕ ปี) ในชั้นปีที่ ๕ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ หรือส�ำเร็จการศึกษาใน หลักสูตรครูระดับปริญญาตรี ๕ ปี ในสาขาวิชาเอกทีต่ รงกับความต้องการของส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ตามประกาศรับสมัคร และต้องมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมทุกวิชา ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมใน วิชาเอก และผลการเรียนเฉลี่ยสะสมในวิชาชีพครู ไม่ต�่ำกว่า ๓.๐๐ โดยนิสิตนักศึกษาครู (หลักสูตรระดับปริญญาตรี ๕ ปี) ทีก่ �ำลังศึกษาชัน้ ปีที่ ๕ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ใช้ผลการเรียน เฉลีย่ สะสม (GPAX) (รวมภาคฤดูรอ้ น) ตามข้อบังคับของสถาบันอุดมศึกษา ตัง้ แต่ชนั้ ปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ของชั้นปีที่ ๕ ส�ำหรับผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรการผลิตครู ๕ ปี ใช้ผลการเรียนเฉลีย่ สะสมตลอดหลักสูตร(GPAX) ทัง้ นี้ ต้องศึกษาตามหลักสูตรการผลิตครู ระดับปริญญาตรี (๕ ปี) ที่ผ่านการรับทราบจาก สกอ. และผ่านการรับรองปริญญาบัตรทาง การศึกษาจากคุรสุ ภา และมาตรฐานคุณวุฒจิ าก ส.ก.ค.ศ. นอกจากนี้ ผู้ที่มีสิทธิ์จะสมัครต้องมีคุณสมบัติเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากร ทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ และ มีคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ กรณีผู้ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรการผลิตครู ๕ ปี ต้องไม่เป็น ข้าราชการครู และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู “การคัดเลือกผูเ้ ข้าร่วมโครงการครัง้ นี้ จะพิจารณาจากภูมลิ �ำเนาของผูส้ มัครทีต่ รงกับ ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา (สพท.)/สถานศึกษา ทีเ่ ลือกบรรจุ เป็นล�ำดับแรก ดังนัน้ ผูส้ มัคร ต้องพิจารณาการเลือกบรรจุ สพท. หรือสถานศึกษาสังกัด สอศ. ทีต่ อ้ งการบรรจุอย่างรอบคอบ ส�ำหรับเงือ่ นไขการบรรจุเข้ารับราชการ ผูท้ ผี่ า่ นการคัดเลือกแล้ว ต้องเข้าอบรมตามทีโ่ ครงการฯ ก�ำหนด ซึ่งจะประกาศให้ทราบในวันประกาศผล หลังการอบรม จะมีการสอบวัดความรู้ แล้ว สกอ.จึงจะส่งรายชือ่ ให้ สพฐ. และ สอศ.บรรจุเข้ารับราชการ ถ้าไม่เข้ารับการอบรม หรือ เข้ารับการอบรมไม่ถงึ ร้อยละ ๙๐ สกอ.จะไม่สง่ รายชือ่ ให้ สพฐ. และ สอศ.บรรจุเข้ารับราชการ หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่หมายเลข ๐ ๒๖๑๐ ๕๓๕๘-๕๙ (สกอ.) และ ๐ ๒๒๑๗ ๓๘๐๐ (สทศ.)” เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนท้าย อนุสารอุดมศึกษา

7


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

8

๙ พฤษภาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗- รองศาสตราจารย์ - รองศาสตราจารย์ ดร.พิ ดร.พินนิติติ​ิ รตะนานุ ดมศึดมศึ กษากษา เข้าร่เข้วมา ๗ -๗๙- พฤษภาคม รตะนานุกกูลูลรองเลขาธิ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุ การคณะกรรมการการอุ มเจ้มาเจ้หน้ าทีา่อทีาวุ โสเพื ่อเตรี ยมการประชุ มรัมฐรัมนตรี ศึกศษาเอเชี ย-ยุยโ-ยุรปโรปครัครั ้งที้ง่ ที๕่ ๕(Intermediate ร่วการประชุ มการประชุ าหน้ ่อาวุ โสเพื ่อเตรี ยมการประชุ ฐมนตรี ึกษาเอเชี (IntermediateSenior Senior Officials Officials th Meeting(SOM) (SOM)ofof5th5 Asia-Europe Asia-EuropeMeeting MeetingofofMinisters MinistersforforEducation Education- -ASEMME5) ASEMME5)ซึ่งซึจั่งดจัดโดยกระทรวงการศึ โดยกระทรวงการศึกกษา ษา Meeting ของจีนร่นวร่มกั วมกับบZhejiang Zhejiang University University โดยมี กเอเชี ยยุยโรปจาก ๒๓๒๓ ประเทศเข้ าร่วมการประชุ ม ณ เมื ของจี โดยมีผผแู้ ู้แทนของประเทศสมาชิ ทนของประเทศสมาชิ กเอเชี ยุโรปจาก ประเทศเข้ าร่วมการประชุ ม อณงหัเมืงโจว อง ฐประชาชนจี น น หังสาธารณรั โจว สาธารณรั ฐประชาชนจี รองศาสตราจารย์ นิติ รตะนานุ กูล รองเลขาธิ การคณะกรรมการการอุ มศึกล่ กษาาวว่กล่ วว่า ในการประชุ งนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.พิดร.พิ นิติ รตะนานุ กูล รองเลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดมศึกดษา า าในการประชุ มครั้งนีม้มครัีก้าร การพิจารณาหารื อในสาขาความร่ ซึ่งทีม่ปรัระชุ มรัฐศมนตรี ศึกษาเอเชี ให้คาคั วามส�ำคั (๑) การประกั คุณภาพ พิจมีารณาหารื อในสาขาความร่ วมมือ วซึมมื ่งที่ปอ ระชุ ฐมนตรี ึกษาเอเชี ย-ยุโรปย-ยุให้โรป ความส ญ ได้ญแก่ได้(๑)แก่การประกั นคุณนภาพและ และการรั วุฒิกการศึ ษา (Quality Assurance Recognition) การมี วมของภาคธุรกิรกิจจและอุ และอุตตสาหกรรมใน สาหกรรมใน การรั บรองคุบณรองคุ วุฒิกณารศึ ษา ก(Quality Assurance andand Recognition) (๒)(๒)การมี ส่วสนร่​่วนร่ วมของภาคธุ การจัดการศึ ดการศึกกษาษา (Engaging (Engaging Business Business and (๓)(๓) การเคลื ่อนย้่อานย้ ยทีา่สยที มดุ่สลมดุ(Balanced Mobility) และ การจั andIndustry IndustryininEducation) Education) การเคลื ล (Balanced Mobility) (๔) (๔) การเรี ยนรูย้ตนรู ลอดชี วิต การอาชี วศึกษาและฝึ กอบรมกอบรม (Lifelong Learning including Vocational Education and Training) และ การเรี ้ตลอดชี วิต การอาชี วศึกษาและฝึ (Lifelong Learning including Vocational Education and “ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้ ต อบรั บ เข้ า ร่ ว มการด�ำเนิ น งานที ่ เ ป็ น ข้ อ ริ เ ริ ่ ม ใหม่ เพื ่ อ ขั บ เคลื ่ อ นนโยบาย Training) ความร่“ส วมมืานัอกของที ่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชี -ยุโรปตอบรั ให้บบรรลุ ส่งเสริ มการพั กษาของทั ิภาค โดย งานคณะกรรมการการอุ ดมศึกยษาได้ เข้าผร่ลและเพื วมการด่อาเนิ นงานที ่เป็ฒนข้นาอุ อริเดริมศึ ่มใหม่ เพื่อขับ้งสองภู เคลื่อมนนโยบาย การจัวดมมื ตั้งอกลุ ่มผู้เ่ปชีระชุ ่ยวชาญเพื ่อร่วศมกั นสร้างกลไกการถ่ ยโอนหน่ วยกิต่อระหว่ มิภาค ร่วมกั บ กออสเตรเลี เบลเยีมิภยมาคบรูโดย ไน ความร่ ของที มรัฐมนตรี ึกษาเอเชี ย-ยุโรป ให้บารรลุ ผลและเพื ส่งเสริามงภูการพั ฒนาอุ ดมศึ ษาของทั้งยสองภู ดารุดสตัซาลาม เนียนสร้ มาเลเซี ย และโปรตุ เกส พร้วอยกิ มทัต้งเข้ระหว่ าร่วมด�ำเนิ ASEM Work Placement การจั ้งกลุ่มผูจี้เนชี่ยเอสโทเนี วชาญเพืย ่อลิร่ทวัวมกั างกลไกการถ่ ายโอนหน่ างภูมนิภการโครงการ าค ร่วมกับ ออสเตรเลี ย เบลเยี ยม บรูไน Pilot Program ในระยะน�ำร่ อ ง ซึ ่ ง เป็ น โครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภู ม ิ ภ าคที ่ ส ่ ง เสริ ม การฝึ ก ปฏิ บ ั ต ิ ใ นสถานประกอบการจริ ดารุ ส ซาลาม จี น เอสโทเนี ย ลิ ทั ว เนี ย มาเลเซี ย และโปรตุ เ กส พร้ อ มทั้ งเข้ า ร่ ว มด าเนิ น การโครงการ ASEM Workง และสร้างความเข้ านความแตกต่ างทางวัาร่ฒอนธรรม มกับ เบลเยียม วบรู สซาลาม โดยไทยจะเป็ เจ้าภาพ Placement Pilotาใจด้Program ในระยะน ง ซึ่งเป็นร่วโครงการความร่ มมืไนดารุ อระหว่ างภูมิภและเยอรมนี าคที่ส่งเสริมการฝึ กปฏิบัตนิในสถาน จัดประชุมหารืงอและสร้ ระหว่างผู ้แทนของประเทศที ่เข้าร่วมโครงการเกี วกับแนวทางการด�ำเนิ ่มต้น ซึและเยอรมนี ่งคาดว่าจะจัดโดย การ ประกอบการจริ างความเข้ าใจด้านความแตกต่ างทางวัฒ่ยนธรรม ร่วมกับ เบลเยียนมงานในระยะเริ บรูไนดารุสซาลาม ประชุมในปลายปี การางผูกกอ. กล่าว ไทยจะเป็ นเจ้าภาพจั๒๕๕๗” ดประชุมรองเลขาธิ หารือระหว่ ้แทนของประเทศที ่เข้าร่วมโครงการเกี่ยวกับแนวทางการดาเนินthงานในระยะเริ่มต้น นอกจากนี ้ ไทยจะเป็ น เจ้ า ภาพจั ด กิ จ กรรมส�ำคั ญ ภายใต้ กรอบความร่ วมมือเอเชีย-ยุโรป คือ 4 ASEF Rectors’ ซึ่งคาดว่าจะจัดการประชุndมในปลายปี ๒๕๕๗” รองเลขาธิการ กกอ. กล่ าว Conference และ 2 Students’ Forum ซึ่งเป็นาคัการจั ดร่วมกั นระหว่างส�ำนั มศึกษา Rectors’ ASEAN นอกจากนี ้ ไทยจะเป็ นเจ้าภาพจั ดกิจกรรมส ญภายใต้ กรอบความร่ วมมืกงานคณะกรรมการการอุ อเอเชีย -ยุโรป คือ 4th ดASEF University Network ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Asia-Europe Foundation และ International Association of Universities Forum ซึ่งเป็นการจัดร่วมกันระหว่างสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ASEAN Conference และ 2nd จุStudents’ ระหว่างวันที่ ๒๓ - ๒๖ กันยายน ๒๕๕๗ ณ กรุงเทพมหานคร University Network จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Asia-Europe Foundation และ International Association of Universities ระหว่างวันที่ ๒๓ - ๒๖ กันยายน ๒๕๕๗ ณ กรุงเทพมหานคร อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

พฤษภาคม ๒ ๙ เ๒๙ ม ษ าเมษายน ย น - ๑- ๑พฤษ ภ า ค ม ๒๒๕๕๗ ๕ ๕ ๗ -รองศาสตราจารย์ ดร.พิ ิ รตะนานุกกูลลู รองเลขาธิ รองเลขาธิกการาร รองศาสตราจารย์ ดร.พิ นิตนิ ติ รตะนานุ คณะกรรมการการอุ มศึเข้ กษา าร่วมการประชุ ม คณะกรรมการการอุ ดมศึกดษา าร่วเข้ มการประชุ ม Going Going 8: The Conference Global 8: Global The Conference for Leaders forof Leaders ofEducation International ณ เมือดงา International ณ เมือEducation งไมอามี รัฐฟลอริ ฐ ฟลอริ ด าม Going สหรั ฐ อเมริ ก า การประชุ สหรัฐไมอามี อเมริการัการประชุ Global เป็นการจัมด เป็ น การจั ด ประชุ มกิประจ�ำปี โ ดย ประชุGoing มประจGlobal าปีโดย British Council จกรรมในการ Council กิจกรรมในการประชุ ประกอบ ประชุBritish มประกอบด้ วยการประชุ มสัม มนาเกี่ยมวกั บ ความ วยการประชุมสัมมมนาเกี นไหวและ เคลื่อด้นไหวและแนวโน้ ที่สาคั่ยญวกัด้บาความเคลื นการศึก่อษาของโลก ญด้ทาี่เนการศึ กษาของโลก ทั้งยังเป็นมี อีก ทั้ งแนวโน้ ยั งเป็นมทีเป็่สน�ำคัเวที ปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ ข้ า ร่อีวกมงานได้ เป็นเวที ที่เปิดอโอกาสให้ ผู้เข้าวร่มมื วมงานได้ าง โอกาสสร้ า งเครื ข่ า ยความร่ อ ระหว่มาีโอกาสสร้ งผู้ ก าหนด เครื อ ข่ า ยความร่ า งผู ้ ก�ำหนดนโยบาย นโยบายทางการศึ กษา วผูมมื ้บริอหระหว่ ารการศึ กษาและนั กวิชาการ ทางการศึ กษา มผู้บครัริห้ งารการศึ โดยการจั ด ประชุ นี้ มี นั ก วิกชษาและนั าการ กผูวิ้ บชริาการ ห าร ประชุ ม ครั้ ง นี้ มลี นนิั กธิ ผวิู้ ชบาการ ผู ้ บวริยงาน ห าร สถาบัโดยการจั น การศึ กดษา ประธานมู ริ ห ารหน่ สถาบันการศึกกรเอกชนเข้ ษา ประธานมู นิธิผู้บริหาารหน่ วยงาน ราชการและองค์ าร่วลมงานกว่ ๑,๒๐๐ คน กรเอกชนเข้ จากกว่ราชการและองค์ า ๘๐ ประเทศทั ่วโลก าร่วมงานกว่า ๑,๒๐๐ คน จากกว่ า ๘๐ ประเทศทัดร.พิ ่วโลกนิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า กิจกรรมในการประชุมดังกล่าวเป็น รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ นิติ บรตะนานุ ูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา กล่า้บวว่ริหาารระดั กิจกรรมในการประชุ การประชุมสัมมนาเกี ่ยวกับการศึกดร.พิ ษาระดั อุดมศึกกษาในหลากหลายมิ ติ ซึ่งนาเสนอและอภิ ปรายโดยผู บสูงของสถาบันมอุดัดงกล่ มศึากวษา เป็นกการประชุ มสัมมนาเกี กษาระดั อุดกมศึ กษาในหลากหลายมิ ติ แซึก่​่งน�ำเสนอและอภิ ปรายโดยผูและ ้บริหารระดั บสูโดยเนื งของสถาบั น และองค์ รเอกชนจากภู มิภาคต่​่ยาวกังๆบการศึ ของโลก หัวข้อบหลั ของการประชุ มครั้งนี้ ได้ Inclusion, Innovation Impact ้อหาการ กษาและองค์ รเอกชนจากภู ิภาคต่างๆนของโลก หัวข้อหลักของการประชุ ครั้งนี้ ได้แก่ Inclusion, และมีคImpact ประชุอุมดส่มศึ วนใหญ่ กล่าวถึกงบทบาทส าคัญมของสถาบั อุดมศึกษาในการพั ฒนาประเทศมโดยเฉพาะอย่ างยิ่งการพัฒInnovation นานักศึกษาให้ วามเป็น ส่วนใหญ่ กล่านวถึ บทบาทส�ำคั ญของสถาบั นอุดมศึ ษาในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่ างยิส่งวการพั ฒนา พลเมืโดยเนื องโลก้อหาการประชุ ความร่วมมือมระหว่ างสถาบั อุดงมศึ กษากับภาคอุ ตสาหกรรม เพื่อกตอบสนองความต้ องการของสั งคม ซึ่งจะมี นช่วยในการ นักศึกษาให้ มีความเป็นพลเมื องโลก้ การประชุ ความร่วมมื นอุดนมศึ ษากับภาคอุ สาหกรรม เพืญ่อตอบสนองความต้ พัฒนาเศรษฐกิ จของประเทศ นอกจากนี มยัองระหว่ ได้กล่างสถาบั วถึงประเด็ ด้ากนการอุ ดมศึกตษาอื ่นๆ ที่สาคั อาทิ การประกันอคุงการ ณภาพ คม ซึ่งจะมีส่วนช่ณวยในการพั ฒนาเศรษฐกิ จของประเทศ นอกจากนี้ การประชุ มยังได้กTNE) ล่าวถึการเรี งประเด็ นด้านการอุดมศึกษาอื ่นๆ การศึของสั กษา งกรอบมาตรฐานคุ วุฒิระดับชาติ การศึกษาข้ ามชาติ (Transnational Education: ยนการสอนออนไลน์ ในระบบ ่ส�ำคับญมหาชน อาทิ การประกั นคุณOpen ภาพการศึ กษา กรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิรซึะดั บชาติ การศึกษาข้ มชาติ (Transnational Education: TNE) เปิดสทีาหรั (Massive Online Courses: MOOCs) ่งจะมี บทบาทเพิ ่มขึ้นาในการส่ งเสริมให้ประชาชนเข้ าถึงการศึ กษา การเรี ยนการสอนออนไลน์ ในระบบเปิ ส�ำหรัวบิตมหาชน (Massive Openของสถาบั OnlineนCourses: ซึ่งจะมี ได้มากขึ ้นและเป็ นการส่งเสริมการเรี ยนรู้ตดลอดชี และความเป็ นนานาชาติ อุดมศึกษาMOOCs) เช่น การเคลื ่อนย้บาทบาทเพิ ยนิสิตนั่มกขึศึ้นกในการ ษา และ มให้งกฤษเป็ ประชาชนเข้ าถึงการศึ กษาได้มากขึน้ และเป็นการส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ และความเป็นนานาชาติของสถาบันอุดมศึกษา การใช้ส่ภงเสริ าษาอั นสื่อการเรี ยนการสอน เช่น การเคลื่อนย้ายนิสิตนักศึกษา และการใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการเรียนการสอน

อนุสารอุดมศึกษา

9


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. พิจารณาตัวบ่งชี้ ทีคิวเอฟ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัด การประชุมปรึกษา หารือคณาจารย์น�ำร่องของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เรื่อง การพิจารณา หั ว ข้ อ ต่ า งๆ ในแนวปฏิ บั ติ แ ละตั ว บ่ ง ชี้ ต ามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ณ ห้องการะเกด โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพมหานคร โดยได้รับเกียรติจาก ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุม ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในการเปิดการ ประชุม ว่า การประชุมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณารายละเอียดของการด�ำเนินการตามตัวบ่งชี้ของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เพื่อน�ำไปใช้ในการเผยแพร่หลักสูตรต่อไป พร้อมทั้ง พิจารณาทบทวนความซ�้ำซ้อนในรายละเอียดของแบบต่างๆ ตามแนวปฏิบัติของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติให้มีความเหมาะสม และสะดวกต่อการด�ำเนินการ ตลอดจนหารือร่วมกันถึง แนวปฏิบัติในการเผยแพร่หลักสูตรที่ด�ำเนินการได้มาตรฐานตามตัวบ่งชี้ของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ “เนื่ อ งจากประกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ รวมทั้งประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐาน คุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาต่างๆ และสถาบันอุดมศึกษาได้ใช้เป็นหลักอ้างอิงในการจัดหลักสูตรการเรียนการ สอนให้มีคุณภาพมาได้ระยะเวลา ๔ - ๕ ปี ซึ่งเป็นเวลาที่สมควรจะได้พิจารณาทบทวนและปรับปรุงแนว ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ประกอบกับตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายในจะมีการปรับปรุงให้มุ่งเน้นคุณภาพ ในระดับหลักสูตรและสาขาวิชา ดังนั้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดประชุมคณาจารย์ น�ำร่องเพื่อพิจารณารายละเอียดของตัวบ่งชี้ และแบบต่างๆ ตามแนวปฏิบัติของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า สกอ. ต้องขอขอบคุณคณาจารย์น�ำร่องที่ได้ให้ความร่วมมือกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในวงจรมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) ตั้งแต่การจัดท�ำ มาตรฐานฯ TQF ในสาขา/สาขาวิชา การน�ำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ การสร้างความเข้าใจให้แก่ประชาคม อุดมศึกษา ทั้งภายในและระหว่างสาขา/สาขาวิชา ด้วยดีมาโดยตลอด จนขณะนี้สามารถประกาศใช้ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา จ�ำนวน ๑๑ สาขา/สาขาวิชา อยู่ระหว่างการด�ำเนินการวิจัย จ�ำนวน ๒๑ สาขา/สาขาวิชา และอยู่ระหว่างการสรรหาคณะผู้วิจัย จ�ำนวน ๓ สาขา/สาขาวิชา

10

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอาเซียน

กรมอาเซี งประเทศ ในฐานะส�ำนั ในฐานะสานักกเลขาธิ เลขาธิกการอาเซี ารอาเซียนแห่ ยนแห่ งชาติ นความสญาคัทีญจ่ ะต้ ที่จอะต้ งดนาเนิ กรมอาเซียยนน กระทรวงการต่ กระทรวงการต่าางประเทศ งชาติ เล็งเล็เห็งนเห็ความส�ำคั งเร่องงเร่ ด�ำเนิ การนการใน เชิ งรุกงรุเพืก่อเพืเตรี ยมความพร้ อมของประเทศไทยในการเข้ าสูา่ปสูระชาคมอาเซี ยนในปี างยิางยิ ่งการเผยแพร่ ขอ้ ขมู้อลมูเชิลงลึก ในเชิ ่อเตรี ยมความพร้ อมของประเทศไทยในการเข้ ่ประชาคมอาเซี ยนในปี๒๕๕๘ ๒๕๕๘โดยเฉพาะอย่ โดยเฉพาะอย่ ่งการเผยแพร่ เกี นให้ยปนให้ ระชาชนในภาคส่ วนต่าวงนต่ๆาของประเทศ และเพิ ่มพูน่มการมี ส่วนร่ส่ววนร่ มของทุ กภาคส่ วนในการสร้ างประชาคมอาเซี เชิง่ยลึวกักเกีบอาเซี ่ยวกับยอาเซี ประชาชนในภาคส่ ง ๆ ของประเทศ และเพิ พูนการมี วมของทุ กภาคส่ วนในการสร้ างประชาคม ยน ซึ่ง สอดคล้ บแนวทางการสร้ างเสริมอาเซี ยนหลั งปี ย๒๕๕๘ ่งเน้นเรืซึ่อ่งงการให้ ระชาชนเป็ นศูนย์กนลาง อาเซียนอซึงกั่งสอดคล้ องกับแนวทางการสร้ างเสริ มอาเซี นหลังปีซึ๒๕๕๘ เน้นเรื่อปงการให้ ประชาชนเป็ ศูนย์กลาง ยนกยาหนดจั ดงาน ‘ASEAN Community ความรู กรมอาเซี กรมอาเซี นก�ำหนดจั ดงาน ‘ASEAN CommunityRoadshow’ Roadshow’เพื่อเพืเผยแพร่ ่อเผยแพร่ ความรู้และข้ ้และข้อมูอลมูเชิ ลเชิงลึงลึกกเกีเกี่ย่ยวกัวกับบอาเซี อาเซียยนน ซึ่งจะช่วย สนั บสนุวนยสนั ให้ปบระชาชนให้ มีความเข้มาีคใจที ่ถูกาต้ใจที องเกี่ถูก่ยต้วกัองเกี บประชาคมอาเซี ยนที่จยะเกิ น้ ในปี และสามารถน าไปปรับให้บเป็ให้นประโยชน์ ซึ่งจะช่ สนุนให้ประชาชนให้ วามเข้ ่ยวกับประชาคมอาเซี นทีด่จขึะเกิ ดขึ้น๒๕๕๘ ในปี ๒๕๕๘ และสามารถน�ำไปปรั ในการพั ฒนาศัในการพั กยภาพฒตลอดจนส่ มความสามารถในการแข่ งขันของไทยในระยะยาว ซึ่งภายในงานพบกั บบอร์ดนิทรรศการความรู ้ ชม เป็นประโยชน์ นาศักยภาพงเสริตลอดจนส่ งเสริมความสามารถในการแข่ งขันของไทยในระยะยาว ซึ่งภายในงานพบกั บบอร์ด มันิลทติรรศการความรู มีเดีย พร้อมร่้ วชมมั มกิจลกรรมที สนานหลายหลายและรั บของที่ระลึกมากมาย โดยมี ดงานก�ำหนดการจั ดังนี้ ติมีเดีย ่สพร้นุอกมร่ วมกิจกรรมที่สนุกสนานหลากหลายและรั บของที ่ระลึกาหนดการจั กมากมาย โดยมี ดงาน ดังนี้ ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒๑-๒๗ ่ ๒๑-๒๗เมษายน เมษายน๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ เซ็นลเฟสติ ทรัลเฟสติ ัล จัดงเชีหวัยงใหม่ ดเชียงใหม่ ระหว่ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านเซ็ค้นา ทรั วัล จังวหวั ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒๙ ่ ๒๙-๑ เมษายน ๒๕๕๗ ณ ๒๕๕๗ มหาวิทณยาลั ยแม่ทฟยาลั ้าหลวง หวัดเชีจัยงหวั งราย ระหว่ เมษายน - ๑ พฤษภาคม มหาวิ ยแม่ฟจั้างหลวง ดเชียงราย ระหว่างวัางวันทีน่ ที๒-๖ ่ ๒-๖พฤษภาคม พฤษภาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ณ สถานี ตารวจภู เชียงราย ระหว่ ณ สถานี ต�ำรวจภู ธรแม่ธสรแม่ าย สจัาย งหวัจัดงเชีหวัยดงราย ระหว่างวั างวันทีน่ ที๙-๑๑ ่ ๙-๑๑พฤษภาคม พฤษภาคม ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ เซ็ลนพลาซ่ ทรัลพลาซ่ า จัดงล�ำปาง หวัดลาปาง ระหว่ ๒๕๕๗ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านเซ็ค้นา ทรั า จังหวั ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑๕-๒๑ ่ ๑๕-๒๑พฤษภาคม พฤษภาคม ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ เซ็ลนพลาซ่ ทรัลพลาซ่ า จัดงพิหวั ระหว่ ๒๕๕๗ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านเซ็ค้นา ทรั า จังหวั ษณุดโพิลกษณุโลก ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑๖-๒๒ ่ ๑๖-๒๒มิถมิุนถายน ุนายน ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ เซ็ลนพลาซ่ ทรัลพลาซ่ า จัดงขอนแก่ หวัดขอนแก่ ระหว่ ๒๕๕๗ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านเซ็ค้นา ทรั า จังหวั น น ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒๓-๒๕ ่ ๒๓-๒๕มิถมิุนถายน ุนายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ หวัดขอนแก่ ระหว่ ๒๕๕๗ ณ มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ น จังนหวัจัดงขอนแก่ น น ระหว่ ๒๕๕๗ ณ ศูณนย์ศูกนารค้ า UDา UD Town จังหวัจัดงอุหวัดรธานี ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒๗-๒๙ ่ ๒๗-๒๙มิถมิุนถายน ุนายน ๒๕๕๗ ย์การค้ Town ดอุดรธานี ระหว่ ณ ตลาดท่ าเสด็าจเสด็จังจหวัจัดงหวั หนองคาย ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑-๓ ่ ๑-๓กรกฎาคม กรกฎาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ณ ตลาดท่ ดหนองคาย ระหว่ ณ ตลาดอิ นโดจีนโดจี น จังนหวัจัดงหวั มุกดดาหาร ระหว่างวั างวันทีน่ ที๕-๗ ่ ๕-๗กรกฎาคม กรกฎาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ณ ตลาดอิ มุกดาหาร ระหว่ ๒๕๕๗ ณ ซืณนวาน จังหวัจังดหวั อุบดลราชธานี ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑๐-๑๔ ่ ๑๐-๑๔กรกฎาคม กรกฎาคม ๒๕๕๗ ซืนวาน อุบลราชธานี ระหว่ ๒๕๕๗ ณ เดอะมอลล์ จังหวัจัดงหวั นครราชสี มา มา ระหว่างวัางวันทีน่ ที๑๒-๑๘ ่ ๑๒-๑๘สิงสิหาคม งหาคม ๒๕๕๗ ณ เดอะมอลล์ ดนครราชสี ระหว่ ๒๕๕๗ ณ วิณทยาลั ยเทคนิ คสระแก้ ว จังหวั ว ว ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒๐-๒๒ ่ ๒๐-๒๒สิงสิหาคม งหาคม ๒๕๕๗ วิทยาลั ยเทคนิ คสระแก้ ว จัดงสระแก้ หวัดสระแก้ ระหว่ ๒๕๕๗ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านโรบิ สันนจัสังนหวัจัดงจัหวั นทบุ ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒๔-๓๐ ่ ๒๔-๓๐สิงสิหาคม งหาคม ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ ค้า นโรบิ ดจัรนี ทบุรี ระหว่ ณ มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏร�ำไพพรรณี จังหวัจัดงจัหวั นทบุ ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒-๔ ่ ๒-๔กันกัยายน นยายน๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ณ มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏราไพพรรณี ดจัรนี ทบุรี ระหว่ ณ ศูณนย์ศูกนารค้ า Pacific ParkPark ศรีราชา งหวัจัดงชลบุ ี รี ระหว่างวั างวันทีน่ ที๖-๘ ่ ๖-๘กันกัยายน นยายน๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ย์การค้ า Pacific ศรีรจัาชา หวัดรชลบุ ระหว่ ณ วิณทยาลั ยอาชี วศึกวษานครสวรรค์ จังหวัจัดงนครสวรรค์ ระหว่างวั างวันทีน่ ที๗-๙ ่ ๗-๙ตุลตุาคม ลาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗ วิทยาลั ยอาชี ศึกษานครสวรรค์ หวัดนครสวรรค์ ระหว่ ณ อยุ ยาธพาร์ ค จังคหวัจัดงหวั อยุดธยา ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑๑-๑๓ ่ ๑๑-๑๓ตุลตุาคม ลาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ณ ธอยุ ยา พาร์ อยุธยา ระหว่ า งวั น ที ่ ๑๒-๑๔ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนาาตาก งหวัดจัตาก ระหว่างวันที่ ๑๒-๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ นนาจัตาก งหวัดตาก ระหว่ กายน ๒๕๕๗ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านโรบิ นสันนจัสังนหวัจัดงหวั กาญจนบุ รี รี ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑๖-๑๘ ่ ๑๖-๑๘พฤศจิ พฤศจิ กายน ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ ค้าโรบิ ดกาญจนบุ ระหว่ กายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิ ทยาลัทยาลั ยหาดใหญ่ จังหวัจัดงสงขลา ระหว่างวั างวันทีน่ ที๒๖-๒๘ ่ ๒๖-๒๘พฤศจิ พฤศจิ กายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิ ยหาดใหญ่ หวัดสงขลา ระหว่ า งวั น ที ่ ๑-๓ ธั น วาคม ๒๕๕๗ ณ โรงเรี ย นบ้ า นน� ำ ้ กระจาย จั ง หวั ด สงขลา ระหว่างวันที่ ๑-๓ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ โรงเรียนบ้านน้ากระจาย จังหวัดสงขลา ระหว่ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านเซ็ค้นา ทรั วัล จังวหวั เก็ตดภูเก็ต ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑๑-๑๖ ่ ๑๑-๑๖ธันธัวาคม นวาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ เซ็ลนเฟสติ ทรัลเฟสติ ัล จัดงภูหวั ระหว่ ณ ห้ณางสรรพสิ นค้านเซ็ค้นา ทรั า จังหวั ราษฎร์ านี ธานี ระหว่างวั างวันทีน่ ที๑๘-๒๒ ่ ๑๘-๒๒ธันธัวาคม นวาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ห้างสรรพสิ เซ็ลนพลาซ่ ทรัลพลาซ่ า จัดงสุหวั ดสุรธาษฎร์ ทั้งนี้ สามารถสื บหาข้อมูลบเพิหาข้ ่มเติอมมูได้ลเพิ ที่เว็่มบเติไซต์ ทั้งนี้ สามารถสื มได้www.aseancommunityroadshow.com ที่เว็บไซต์ www.aseancommunityroadshow.com อนุสารอุดมศึกษา

11


เรื่องพิเศษ

ติดตามนักเรียนทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ‘อนุสารอุดมศึกษา’ ฉบับนีม้ เี รือ่ งพิเศษเกีย่ วกับการสร้างฐานก�ำลังคน ที่ มี คุ ณ ภาพด้ า นมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ ใ นสาขาวิ ช าที่ มี ค วาม ส�ำคั ญ และจ�ำเป็น ที่ จ ะต้ องผลิ ต และพัฒ นาให้ มี ค วามต่ อ เนื่ อ งและด�ำรง ความมั่นคงยั่งยืนผ่าน ‘โครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ (ทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย)’ ซึ่งส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้จัดท�ำขึ้น โดยการจัดสรรทุน การศึกษาส�ำหรับผู้ที่เรียนดี มีความสนใจและมีความประสงค์จะประกอบ อาชีพด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในประเทศไทย รวมค่าใช้จ่ายตลอด โครงการกว่า ๖,๔๐๐ ล้านบาท ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ให้ด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ โดยให้ ความส�ำคัญแก่กระบวนการบริหารจัดการโครงการ รวมถึงการติดตามดูแล ผู้ได้รับทุนให้มีประสิทธิภาพ และให้ประเมินผลการด�ำเนินโครงการทุก ๕ ปี เพื่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี พิ จ ารณาความเหมาะสม คุ ้ ม ค่ า ของการด�ำเนิ น โครงการในระยะต่อไป รองศาสตราจารย์ ดร.พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล รองเลขาธิ ก ารคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เล่าให้ฟังถึงการด�ำเนินงานโครงการว่า ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารโครงการ พัฒนาก�ำลังคนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อบริหารโครงการฯ ให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เพือ่ ด�ำเนินการก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน ก�ำกั บ ดู แ ล และบริ ห ารโครงการให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ พร้ อ มทั้ ง ส่ ง เสริ ม การพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมผู้มีความสามารถพิเศษ และก�ำหนดแนวทาง การติ ด ตาม ประเมิ น ผลและรายงานผลการด�ำเนิ น งานทุ ก ปี ตลอดจน พิจารณาทบทวนสาขาวิชาที่ขาดแคลน และมีความจ�ำเป็นที่สอดคล้องตาม ความต้องการของประเทศ ซึ่งจากการด�ำเนินโครงการที่ผ่านมาตลอดระยะ เวลา ๕ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๒ - ปี พ.ศ.๒๕๕๗ ‘โครงการพัฒนาก�ำลังคนด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย)’ ได้สนับสนุนทุนการศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งสิ้น ๔๙๗ ทุน

12

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องพิเศษ

“สาขาวิ ช าที่ สกอ. จั ด สรรงบประมาณเพื่ อ สนั บ สนุ น เป็ น ทุ น การศึ ก ษาจะอยู ่ ใ นกลุ ่ ม สาขาวิ ช าขาดแคลนด้ า น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อาทิ สาขาวิชาด้านภาษาและวรรณกรรม สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมศาสตร์ ซึ่งคณะอนุกรรมการ บริหารโครงการฯ พิจารณาอนุมัติการจัดสรรทุนภายใต้ข้อมูลที่ได้จากค�ำร้องของนักเรียนทุนพร้อมเอกสารประกอบ การสืบค้น ข้อมูลเพิ่มเติม และประสบการณ์ของคณะอนุกรรมการบริหารโครงการฯ ซึ่งยังเป็นข้อมูลที่อาจต้องการความชัดเจน ครบถ้วนและ เป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวถึงการด�ำเนินงานว่า นอกจากการพิจารณาจัดสรรทุนแล้ว คณะอนุกรรมการบริหารโครงการฯ และ สกอ. ยังต้องให้ค�ำปรึกษา ค�ำแนะน�ำ แก่นักเรียนทุน โดยเฉพาะนักเรียนทุนต่างประเทศที่มีจ�ำนวนที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ในการช่วยแก้ปัญหาได้ทันกับเหตุการณ์ ส่งผลให้การบริหารโครงการมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ทั้งนี้ การติดตามนักเรียนทุน เพื่อติดตามความก้าวหน้าด้านการศึกษาและการด�ำเนินชีวิตของนักเรียนทุน ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ พร้อมทั้งรับทราบปัญหาและอุปสรรคของนักเรียนทุน และหน่วยงานที่ร่วมโครงการฯ เป็นสิ่งที่จ�ำเป็น ที่ สกอ. ต้องด�ำเนินการควบคู่กันกับการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการฯ กับนักเรียนทุน ในประเทศและต่างประเทศ และหน่วยงานที่ร่วมโครงการฯ ที่ดูแลนักเรียนทุน เพื่อจะได้ข้อมูลส�ำหรับใช้เป็นเครื่องมือในการ ควบคุม ก�ำกับและติดตามการด�ำเนินโครงการฯ และการบริหารโครงการฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อศึกษา รายละเอียดข้อมูลทางการศึกษา ระบบการศึกษา และสถานศึกษาในประเทศ และต่างประเทศ “เพื่อให้การรายงานผลการด�ำเนินโครงการ ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องมากที่สุด สกอ. จึงจัดโครงการติดตามนักเรียนทุน โครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยทุนในประเทศ จัดประชุม สัมมนา เพื่อติดตามและรับทราบข้อมูลที่เกี่ยวกับนักเรียนทุน และมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการฯ ณ กรุงเทพมหานคร ในเดือนกันยายน ๒๕๕๖ ส�ำหรับทุนต่างประเทศ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการฯ เดินทางไปจัดประชุมนักเรียนทุน เพื่อติดตามและรับทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนทุน มหาวิทยาลัยที่เข้าศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แบ่งเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มที่ ๑ สหรัฐอเมริกาและ แคนาดา และกลุ่มที่ ๒ สหราชอาณาจักรและสาธารณรัฐฝรั่งเศส” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว

อนุสารอุดมศึกษา

13


เรื่องพิเศษ

University of Oxford, Ruskin School of Drawing & Fine Art

SOAS, University of London

The University of Warwick

Institute National des Langues et Civilisations Orientales, Department Asie du Sud-est, Haute et Pacifique

รองเลขาธิ รองเลขาธิการ การกกอ. กกอ.เล่เล่าถึาถึงการติ งการติดดตามนั ตามนักกเรีเรียยนทุ นทุนนกลุ กลุ่มม่ ทีที่ ่ ๒๒ ระหว่ ระหว่าางวังวันนทีที่ ่ ๑๕ ๑๕ -- ๒๔ ๒๔ เมษายน เมษายน ๒๕๕๗ ณ สหราชอาณาจั ก ร และสาธารณรั ฐ ฝรั ่ ง เศส ว่ า คณะอนุ ก รรมการบริ ห ารโครงการฯ ๒๕๕๗ ณ สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐฝรัง่ เศส ว่า คณะอนุกรรมการบริหารโครงการฯ ได้ได้จจัดดั ประชุ กงานผู ้ดูแ้ดลนั กเรีกยเรีนในประเทศอั งกฤษ และจั ประชุมมนันักกเรีเรียยนทุ นทุนนทีที่ศ่ศึกึกษาในสหราชอาณาจั ษาในสหราชอาณาจักกร รณณสานั ส�ำนั กงานผู ูแลนั ยนในประเทศอั งกฤษ และด ประชุ มนักมเรีนักยเรีนทุยนนทุที่ศนึกทีษาในสาธารณรั ฐฝรัฐ่งฝรั เศส่งเศส ณ Institute จัดประชุ ่ศึกษาในสาธารณรั ณ InstituteNational Nationaldes des Langues Langues et et Civilisations Orientales พร้อมทั้งศึกษาดูงานสถาบันอุดมศึกษาที่ University of Oxford, Ruskin Civilisations Orientales พร้อมทัง้ ศึกษาดูงานสถาบันอุดมศึกษาที่ University of Oxford, Ruskin School of Drawing & Fine Art, SOAS, University of London และ The University of School of Drawing & Fine Art, SOAS, University of London และ The University of Warwick ในสหราชอาณาจักร และ Institute National des Langues et Civilisations Warwick ในสหราชอาณาจักร และ Institute National des Langues et Civilisations Orientales, Orientales, Department Asie du Sud-est, Haute et Pacifique ในสาธารณรัฐฝรั่งเศส เพื่อเป็น Asie du Sud-est, Haute ในสาธารณรั ง่ เศส เพือ่ เป็นข้​้ อมีมูนลักในการ ข้Department อมูลในการดาเนิ นโครงการในระยะต่ อไปให้etมีปPacifique ระสิทธิภาพมากยิ ่งขึ้น ซึฐ่งฝรัในสองประเทศนี เรียน ด�ำเนิ น โครงการในระยะต่ อ ไปให้ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ ่ ง ขึ ้ น ซึ ่ ง ในสองประเทศนี ้ มี น ั ก เรี ย นทุ น ที ่ได้รฐับ ทุนที่ได้รับการจัดสรรทุนจานวน ๑๒๓ คน แบ่งเป็น สหราชอาณาจัก ร ๑๑๓ คน และสาธารณรั การจั นจ�ำนวน คนนแบ่ เป็กนษาในสาขาวิ สหราชอาณาจั และสาธารณรั ฝรัง่ เศสสาขาวิ ๑๐ ชคนา ฝรั ่งเศสดสรรทุ ๑๐ คน โดยมีน๑๒๓ ักเรียนทุ ที่ไงปศึ ชาต่การงๆ๑๑๓ อาทิคน สาขาวิ ชาประวัติศฐาสตร์ โดยมีนด ักการจดหมายเหตุ เรียนทุนที่ไปศึกษาในสาขาวิ างๆ อาทิ สาขาวิชาประวั ชาการจั ดการ การจั แ ละเอกสารชาต่สาขาวิ ช าโบราณคดี สาขาวิติศชาสตร์ ามานุ ษสาขาวิ ยวิ ท ยา สาขาวิ ชา จดหมายเหตุ ชาโบราณคดี สาขาวิ ชามานุษและสาขาวิ ยวิทยา สาขาวิ ชาสถาปั ตยกรรม สาขา สถาปั ตยกรรมและเอกสาร สาขาวิชาผังสาขาวิ เมือง สาขาวิ ชาภูมิศาสตร์ กายภาพ ชาบรรณารั กษศาสตร์ วิชาผังเมืสอานั ง สาขาวิ ชาภูมศิ าสตร์กายภาพ และสาขาวิ ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ชมุาบรรณารั ่ ง หวั ง ว่ากนัษศาสตร์ ก เรี ย นทุ น จาก ‘โครงการพั ฒ นา ก าลังคนด้ส�ำนั านมนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นดีงมว่นุานัษกยศาสตร์ ละสัง‘โครงการพั คมศาสตร์ฒ แห่นาก�ำลั งประเทศ กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึก(ทุษานเรีมุง่ยหวั เรียนทุนแจาก งคน ไทย)’ ในประเทศและต่ า งประเทศ(ทุนจะเป็ น ผลผลิ ตที่ มีคุ ณแภาพ ก ยภาพพร้ อมเป็ นฐาน ด้านมนุทัษ้งยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ เรียนดี มนุษยศาสตร์ ละสังและศั คมศาสตร์ แห่งประเทศไทย)’ กทัาลั งคนที่จะมาต่อยอดด้ านวิชาการ ฒนาประเทศด้ างๆ ต่อไป งคน ้งในประเทศและต่ างประเทศ จะเป็ช่วนยเหลื ผลผลิอสัตงทีคม ่มีคและช่ ุณภาพวยพั และศั กยภาพพร้าอนต่ มเป็ นฐานก�ำลั ทีจ่ ะมาต่อยอดด้านวิชาการ ช่วยเหลือสังคม และช่วยพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ต่อไป

14

อนุสารอุดมศึกษา


พูดคุยเรื่องมาตรฐาน

คณะกรรมการจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย โลก ฤดู ร ้ อ น กวางจู ๒๐๑๕ และคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (The Korean University Sports Board: KUSB) จัดการประชุม FISU Forum 2014 ซึ่งเป็นการ ประชุม FISU Forum ครั้งที่ ๑๒ ระหว่างวันที่ ๑๗ - ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ เมือง กวางจู สาธารณรัฐเกาหลี โดยมีนักศึกษาและบุคลากรประมาณ ๒๐๐ คน จาก มหาวิทยาลัยทั่วโลก ๖๘ ประเทศ เข้าร่วมประชุม ส�ำหรับประเทศไทย ดร.วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมคณะ เข้าร่วมการประชุม FISU Forum 2014 ครั้งนี้ด้วย การประชุ ม FISU Forum 2014 ในหั ว ข้ อ University Sport : A Networking Platform to advance the technical, Social and cultural skills of young leader ‘กีฬามหาวิทยาลัยสื่อการเชื่อมโยงเพื่อพัฒนา พื้นฐาน สังคมและวัฒนธรรมของเยาวชนที่จะขึ้นมาเป็นผู้น�ำในอนาคต’ มีประเด็น การประชุม FISU Forum 2014 รวม ๔ เรื่อง ดังนี้

อนุสารอุดมศึกษา

15


พูดคุยเรื่องมาตรฐาน

๑. เรือ่ ง คุณธรรม: ความรับผิดชอบส่วนบุคคลทีม่ ตี อ่ สังคม ในการแข่งกีฬามหาวิทยาลัย (Ethics Individual Social responsibility and University Sport Responsibility) Dr. A.J. Schneider จาก Western University Canada ได้บรรยายโดยเน้นเรือ่ งของการใช้ยาและสารกระตุน้ ในการแข่งขันกีฬา รวมทัง้ การเล่นนอกกติกา วิทยากรได้แบ่งระดับการรับผิดชอบเป็น ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับนักกีฬา ผูฝ้ กึ สอน และมหาวิทยาลัย ดังนัน้ การพัฒนา เด็กและเยาวชนของประเทศ ควรค�ำนึงถึงการพัฒนาบุคคลในด้านคุณธรรม จริยธรรม และการเล่นแบบมีนำ�้ ใจเป็นนักกีฬา (Sportsmanship) ส�ำหรับ Dr. Tamas Freyer จาก National Public Service University of Hungary ได้เน้นในเรือ่ งของการสร้างมาตรฐานในกฎของกีฬา มหาวิทยาลัยมากยิง่ ขึน้ ๒. เรือ่ ง การสือ่ สารของกีฬามหาวิทยาลัย: เพือ่ การเปลีย่ นแปลงตามยุคสมัย (Social Media in University Sport: New Challenges) ในหัวข้อนีไ้ ด้มผี บู้ รรยาย ๓ คน คือ Dr. Verena Burk จาก University of Tubingen, Germany Mr. David Vandenplus, FISU Media Assistant และ Prof. Dr. Emilio Fernandez Pena จาก Director of Olympic Studies Center วิทยากรทั้ง ๓ คน ได้เน้นเกี่ยวกับความส�ำคัญของสื่อสมัยใหม่ อาทิ เฟสบุ๊คและทวิตเตอร์ เพื่อสื่อสารไปสู่กลุ่มเป้าหมาย และ การโต้ตอบระหว่างผูร้ บั สารและองค์กร โดย Prof. Dr. Emilio Fernandez Pena ได้เสนอแนะวิธกี ารปรับปรุงการสือ่ สารของ FISU เพือ่ ให้ เป็นที่รู้จักในสังคมทั่วไปมากขึ้น ซึ่งหนึ่งในวิธีการนั้นคือ การเชื่อมต่อสื่อหลายๆ ประเภทเข้าด้วยกัน เช่น เพิ่มช่องทางระหว่างเว็บเพจ ขององค์กร และเฟสบุค๊ เข้าด้วยกัน ๓. เรือ่ ง กีฬามหาวิทยาลัย: สือ่ การสร้างวัฒนธรรมเพือ่ การพัฒนาความเท่าเทียมทางเพศ (University Sport: A fair Culture for Sustainable development from gender studies perspective) Dr. Toni Bruce จาก University of Auckland, New Zealand ได้เน้นว่าสือ่ ควรจะน�ำเสนอข่าวสารของนักกีฬาชายและหญิง ในสัดส่วนทีเ่ ท่าเทียมกัน ซึง่ จะน�ำไปสูค่ วามเท่าเทียมกันของชายและหญิงในสังคม และได้สรุปประเด็นว่า ควรจะสนับสนุนการถ่ายแบบวาบหวิว ของนักกีฬาผูห้ ญิงหรือไม่ เพราะจะท�ำให้ภาพลักษณ์ของนักกีฬาผูห้ ญิงถูกน�ำเสนอไปในรูปแบบอืน่ มากกว่าการเป็นนักกีฬา และ Dr. May Kim จาก Korea University พูดในเรือ่ งของการลิดรอนสิทธิใ์ นการเล่นกีฬาของผูห้ ญิง เพราะสังคมเป็นตัวชีน้ �ำว่าเป็นกีฬาของผูช้ าย รวมทัง้ เรือ่ ง ของการสนับสนุนนักกีฬาขององค์กรภาครัฐและเอกชน ควรจะสนับสนุนนักกีฬาหญิงให้เท่ากับนักกีฬาชาย ประเด็นสุดท้ายวิทยากรได้กล่าวถึง แผน Title IX (เป็นกฎหมายของสหรัฐอเมริกา ซึง่ บัญญัตไิ ว้วา่ ทุกเพศต้องไม่ถกู กีดกันจากการเข้าร่วมกิจกรรมในทุกชนิด ทีเ่ กีย่ วกับการศึกษา และกีฬา) ๔. เรือ่ ง ภาวะผูน้ �ำส�ำหรับการจัดกิจกรรมกีฬามหาวิทยาลัยของนักศึกษา (Leadership in large scale University Sports events) Ms. Nina Zirke, Deputy Director RWTH Aachen USD Germany และ Ms. Sang-A Kim นักกีฬาแบดมินตัน ของสาธารณรัฐ เกาหลี ได้เน้นถึงเรื่องของความชัดเจนในการจัดโครงสร้างขององค์กรและการพัฒนาบุคคลากร และย�้ำถึงการให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมใน การออกความคิดเห็นและรับผิดชอบงานในรูปแบบของอาสาสมัคร เพือ่ สร้างบุคคลกรทีม่ คี ณ ุ ภาพและการเป็นผูน้ �ำในอนาคต

16

อนุสารอุดมศึกษา


พูดคุยเรื่องมาตรฐาน

ผลจากการประชุมดังกล่าว จะน�ำไปสู่การพัฒนา ดังนี้ ๑. เปิดโอกาสให้นสิ ติ นักศึกษา ได้แลกเปลีย่ นความคิดเรียนรูซ้ งึ่ กันและกัน รวมทัง้ สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมในภูมิภาคและนานาชาติ ๒. ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในโลกของความเป็นจริง คือ ตัวนิสิตนักศึกษา ได้เรียนรู้สู่การวิเคราะห์ สังเคราะห์นวัตกรรมใหม่ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการ ท�ำงานเป็นทีม ตลอดจนพัฒนาขีดความสามารถในการปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง และความก้าวหน้าของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในสังคมโลก ๓. การพัฒนานิสิต นักศึกษา ให้เป็นผู้น�ำของสถาบันอุดมศึกษาของประเทศโดย น�ำองค์ความรู้ไปสู่การพัฒนาคนในชุมชนท้องถิ่น ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานการสอดคล้อง กับความต้องการของประเทศและสังคมโลก ๔. พัฒนาให้นิสิตนักศึกษาเรียนรู้สังคมการแข่งขันในเวทีระดับโลก ซึ่งช่วยให้ เกิดการพัฒนาและการสร้างสรรค์นวัตกรรมจากความรู้ข่าวสารให้ทันกับยุคสมัย ได้เรียนรู้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีทั้งทักษะที่ยืดหยุ่นหลากหลาย สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้รวดเร็ว มีความสามารถในการจัดการและแก้ไขปัญหาการท�ำงานเป็นทีม และความเป็น ผู้น�ำ ๕. ได้รปู แบบการพัฒนาผูน้ �ำนิสติ นักศึกษาเป็นตัวแทนของกลุม่ องค์กร หน่วยงาน เพื่อใช้ในการวางแผนยุทธศาสตร์ทางด้านการเป็นผู้น�ำรวมทั้งการพัฒนารูปแบบการ บริหารจัดการให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสังคมประเทศ และสังคมโลกโดยการ พัฒนานิสิต นักศึกษา ให้เข้าใจลักษณะการเป็นผู้น�ำ การท�ำงานเป็นทีมการสร้างเครือข่าย ภายในองค์ ก รหน่ ว ยงาน และขั บ เคลื่ อ นงานจากระดั บ ประเทศชาติ แ ละระดั บ โลก ต่อไป ๖. สร้ า ง พั ฒ นา กระบวนการคิ ด แนวใหม่ ต ่ อ การพั ฒ นาตนเอง องค์ ก ร มหาวิทยาลัย ชุมชนและท้องถิ่น

อนุสารอุดมศึกษา

17


เรื่องแนะน�ำ

โครงการวิจัยร่วมภายใต้ความร่วมมือด้านอุดมศึกษา และการวิจัยระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ประจ�ำปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาร่วมกับรัฐบาลฝรั่งเศสด�ำเนินการโครงการวิจัยร่วมภายใต้ความ โครงการวิ ัยร่วมภายใต้ ความร่วมมืCooperation อด้านอุดมศึProgramme กษา in Higher ร่วมมือด้านอุดมศึกษาและการวิ จัยระหว่จางไทย-ฝรั ่งเศส (Franco-Thai Education and Research) มาตั้งจแต่ัยระหว่ ปี พ.ศ.า๒๕๔๒ โดยมีว่งัตเศส ถุประสงค์ หลัาปี กเพื่อ๒๕๕๘ พัฒนาความร่ วมมือว่าด้วยอุดมศึกษา และการวิ งไทย-ฝรั ประจ - ๒๕๕๙ และการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนผู้สอน นักวิจัย นักศึกษา ซึ่งโครงการที่ได้รับคัดเลือก สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาร่วมกับรัฐบาลฝรัง่ เศสดาเนินการโครงการวิจัยร่วมภายใต้ความร่วมมือ จะได้รับด้งบประมาณสนั บสนุนจากฝ่ ายไทยและฝรั เศส(Franco-Thai Cooperation Programme in Higher Education านอุดมศึกษาและการวิ จัยระหว่ างไทย-ฝรั่ง่งเศส ส�ำนัResearch) ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึโดยมี ก ษารั ค รข้หอลัเสนอโครงการวิ ั ย ร่อวว่มภายใต้ ว มมื อ and มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ วัตถุบปสมั ระสงค์ กเพื่อพัฒนาความร่จวมมื าด้วยอุดมศึค กวามร่ ษาและการ ด้านอุดวิมศึ ษาและการวิาจงยิัย่งระหว่ างไทย-ฝรั ่งเศส ประจ�ำปี จัยกโดยเฉพาะอย่ ด้านการส่ งเสริมการแลกเปลี ย่ นผู๒๕๕๘ ้สอน นัก-วิจ๒๕๕๙ ัย นักศึกษา ซึ่งโครงการที่ได้รับคัดเลือกจะได้รบั ทั้งนี้ ผู้ที่ประสงค์ งข้อายไทยและฝรั เสนอโครงการได้ งบประมาณสนั บสนุจนะส่ จากฝ่ ง่ เศส โปรดศึกษารายละเอียดและด�ำเนินการ ดังนี้ กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษาใคร่ ขอประกาศรั ครข้อเสนอโครงการวิ จัยร่วมภายใต้ ความ สกานั รอกแบบฟอร์ ม Annex A โดยระบุ สาขาการวิ จัย วัตบถุสมั ประสงค์ กิจกรรม ระยะเวลาด�ำเนิ นการและ ร่วมมือด้าางละเอี นอุดมศึ ผู้รับผิดชอบอย่ ยดกษาและการวิจัยระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ประจาปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ ้งนี้ ขอให้ผู้ที่ปมระสงค์ จะส่Bงข้โดยกรอกรายละเอี อเสนอโครงการได้โยปรดศึ กษารายละเอี ณาด นการ ดัใงกล้ นี้ เคียงกับ กทัรอกแบบฟอร์ Annex ดค่าใช้ จ่ายของแต่ยลดและกรุ ะปีที่ด�ำเนิ นกิาเนิ จกรรมให้ ความเป็นจริงที่สุด กรอกแบบฟอร์ม Annex A โดยระบุสาขาการวิจัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม ระยะเวลาดาเนินการและ ผู้รับผิดชอบอย่างละเอียด กรอกหนังสือยืนยันการสนับสนุนโครงการวิจัยร่วมไทย-ฝรั่งเศส กรอกแบบฟอร์ม Annex B โดยกรอกรายละเอียดค่าใช้จ่ายของแต่ละปีที่ดาเนินกิจกรรมให้ใกล้เคียง แ นบประวั กับความเป็นจริงที่สตุดิย่อผู้รับผิดชอบโครงการหรือหัวหน้าโครงการฝ่ายไทยและฝรั่งเศส ลงนามรักรอกหนั บรองในข้งสืออเสนอโครงการโดยผู ้บริหารสถาบั อุดมศึกษาระดั ยืนยันการสนับสนุนโครงการวิ จัยร่นวมไทย-ฝรั ง่ เศส บอธิการบดีหรือผู้มีอ�ำนาจในการ ปฏิบัติราชการแทน แนบประวัติย่อผู้รับผิดชอบโครงการหรือหัวหน้าโครงการฝ่ายไทยและฝรัง่ เศส ขอให้ผู้เสนอโครงการส่ งโครงการฉบั บภาษาอังกฤษในนามสถาบั ดมศึ กษาไปยั กงานคณะกรรมการ ลงนามรับรองในข้ อเสนอโครงการโดยผู ้บริหารสถาบันอุนดอุมศึ กษาระดั บอธิงส�ำนั การบดี หรือผู้มีอานาจในการ ปฏิกบษา ัติราชการแทน การอุดมศึ จ�ำนวน ๖ ชุด (ต้นฉบับ ๑ ชุด และส�ำเนา ๕ ชุด) ภายในวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ โดยจะถือเอาวันที่ ขอให้ ู้เสนอโครงการส่ งโครงการฉบั บภาษาอังกฤษในนามสถาบั มศึก(หน่ ษาไปยั งสานับกข้งานคณะกรรมการ ที่ส�ำนักยุทธศาสตร์ อุดผมศึ กษาต่างประเทศ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึนอุกดษา วยงานรั อเสนอโครงการ) การอุ ด มศึ ก ษา จ านวน ๖ ชุ ด (ต้ น ฉบั บ ๑ ชุ ด และส าเนา ๕ ชุ ด ) ภายในวั น ที ่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ โดยจะถื เอา ลงตราประทับรับเอกสารข้อเสนอโครงการเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาขอสงวนสิ ทธิ์ใอนการ วันที่ที่สานักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (หน่วยงานรับข้อเสนอ พิจารณาเฉพาะข้ อเสนอโครงการที่มีรายละเอียดและครบถ้วน และจัดส่งถึงส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โครงการ) ลงตราประทับรับเอกสารข้อเสนอโครงการเป็นสาคัญ ทั้งนี้ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาขอสงวน ภายในเวลาที่ก�ำหนดเท่านั้น และไม่รับพิจารณาใบสมัครที่จัดส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และทางโทรสาร สิทธิ์ในการพิจารณาเฉพาะข้อเสนอโครงการที่มรี ายละเอียดและครบถ้วน และจัดส่งถึงสานักงานคณะกรรมการการ โหลดเอกสาร ได้ ทางเว็บาไซต์ http://inter.mua.go.th อุดดาวน์ มศึกษาภายในเวลาที ่กาหนดเท่ นั้น และไม่ รับพิจารณาใบสมัครที่จดั ส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และทางโทรสาร Call for Proposal ดาวน์โหลดเอกสาร ได้ทางเว็บไซต์ http://inter.mua.go.th ใบปะหน้Call าใบสมั ร for คProposal แบบฟอร์ใบปะหน้ มข้อเสนอโครงการ าใบสมัคร (Annex A) แบบฟอร์ มข้อเสนอโครงการ (Annex A) รายละเอี ยด Project budget, Living allowance, Partners contribution และ Global budget (Annexรายละเอี B) ยด Project budget, Living allowance, Partners contribution และ Global (Annex หนังสือbudget ยืนยันการสนั บสนุB)นโครงการวิจัยร่วมฯ หนังสือยืนยันการสนับสนุนโครงการวิจัยร่วมฯ คู่มือชี้แจงการสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัยร่วมฯ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ คู่มือชี้แจงการสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัยร่วมฯ ประจาปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ ขั้นตอนและก�ำหนดเวลาด�ำเนินโครงการโดยสังเขป ขั้นตอนและกาหนดเวลาดาเนินโครงการโดยสังเขป ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นายธีรธร ลิขิตพงศธร โทร. ๐ ๒๖๑๐ ๕๔๖๓ e-Mail: teeratorn.lk@gmail.com

18

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องแนะน�ำ

ปฏิทินการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ในระบบกลาง (Admissions) ประจำ�ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กิจกรรม

สถานที่

วัน เดือน ปี

จำ�หน่ายหนังสือระเบียบการฯ

ศูนย์กรุงเทพมหานคร ๑๒-๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย หมายเหตุ : ศูนย์จ�ำ หน่ายหนังสือระเบียบการฯ ศูนย์ภมู ภิ าค ๑๒-๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ อาจมีการปรับเปลีย่ นเพิม่ เติมหรือลดลง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต ซึง่ สามารถตรวจสอบได้ทาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น www.cuas.or.th ณ วันจำ�หน่ายอีกครัง้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี รับสมัคร ทางเว็บไซต์ www.cuas.or.th ๑๕-๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ ชำ�ระผ่านธนาคารหรือ ณ ทีท่ �ำ การไปรษณียไ์ ทย ๑๕-๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ ชำ�ระเงินค่าสมัคร ตรวจสอบคะแนนทีใ่ ช้ในการคัดเลือก และรายชือ่ นักเรียนทีถ่ กู ตัดสิทธิเ์ ข้า Admissions กลาง ประกาศรายชือ่ ผูม้ สี ทิ ธิส์ อบสัมภาษณ์และ ตรวจร่างกาย

ทางเว็บไซต์ www.cuas.or.th

๒๗-๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๗

ทางเว็บไซต์ www.cuas.or.th

๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗

สอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย

มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาทีส่ อบได้

๗-๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗

ประกาศรายชือ่ ผูม้ สี ทิ ธิเ์ ข้าศึกษาใน แต่ละสถาบัน

ทางเว็บไซต์ www.cuas.or.th

๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗

อนุสารอุดมศึกษา

19


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

ฬาบุ คลากรส กงานคณะกรรมการการอุ ที่ ๓๓ กีฬกีาบุ คลากรส านักานังานคณะกรรมการการอุ ดมศึดกมศึษากษา ครั้งครั ที่ ้ง๓๓ มหาวิ ทยาลั ยเชียยงใหม่ งใหม่ มอบหมายให้ เเป็ป็นนเจ้เจ้เาป็าภาพจั มหาวิ ทยยาลั เชี ยงใหม่ รั บมอบหมายให้ นเจ้าดภาพจั มหาวิ ทยาลั เชี ได้ได้รรั บับได้มอบหมายให้ ภาพจั ดการ การ ดการ ฬกีาบุ คลากรส�ำนั งานคณะกรรมการการอุ ดดมศึ ที้งที่ ๓๓ ฬคลากรส าบุ คลากรส านั กงานคณะกรรมการการอุ ดษา มศึครัครั ก้งษา แข่แข่ งขัแข่งนขักีงนขัฬกีนาบุ านักกงานคณะกรรมการการอุ มศึกกษา ่ครั๓๓้งที่ ๓๓ วเกมส์ ’ ระหว่ างวันานทีงวั ที่ ๑่ น๑ที- -๘่ ๑๘พฤษภาคม พฤษภาคม ๒๕๕๗๒๕๕๗ โดยจั การแข่ ขังนขัน งขัน ‘อ่า‘อ่งแก้ เกมส์ ’ ระหว่ างวั ๒๕๕๗ โดยจัดดโดยจั การแข่ ‘อ่างแก้ าวงแก้ วเกมส์ ’ ระหว่ - ๘ พฤษภาคม ดงการแข่ ้นสิ้น๑๙ชนิ ดฬกีดาฬกีาคืฬอคืาอฟุคืตฟุอบอล ตบอล วอลเลย์ อล บกรี กรีอลฑฑาากรี กอล์ เซปั ทั้งสิทั้น้งทัสิ้ง๑๙ ดกีชนิ วอลเลย์ บบอล กอล์ เซปักฟกตะกร้ ตะกร้ ๑๙ชนิ ฟุตบอล วอลเลย์ ฑาฟฟกอล์ เซปัอกอตะกร้อ ตะกร้ อลอดห่ แบดมิ เทเบิ ลเทนนิ เทนนิลเทนนิ สส เปตอง ลีลีลลาศาศแอโรบิ ตะกร้ อลอดห่ วงวงเทนนิ ส สแบดมิ นนตัตันนนเทเบิ เปตอง ค ค ตะกร้ อลอดห่ วเทนนิ ง เทนนิ ส แบดมิ ตัน ลเทเบิ ส เปตอง ลีแอโรบิ ลาศคแอโรบิ ครอสเวิ ร ด ์ ว่ า ยน� ำ ้ โบว์ ล ง ่ ิ หมากกระดาน วอลเลย์ บ อลชายหาด จั ก รยานเพื อ ่ ครอสเวิ ร์ด ว่รา์ดยน้ว่า ยน้ โบว์าลโบว์ ิ่ง หมากกระดาน วอลเลย์ บอลชายหาด จักรยาน ครอสเวิ ลิ่ง หมากกระดาน วอลเลย์ บอลชายหาด จักรยาน สุ ข ภาพ และสนุ ก เกอร์ มี ก ารชิ ง ชั ย กั น ๔๐๕ เหรี ย ญ มี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เพื่ อเพื สุ ข่ อภาพ แล ะส ก เกอร์ มี การชิ ง ชั ย กัง ชัน ย๔กั ๐น ๕๔ เหรี ญ มีย ญ มี สุ ข ภาพ แลนุะสนุ ก เกอร์ มี การชิ ๐ ๕ ยเหรี ที ่ เ ข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น จ�ำนวน ๖๘ แห่ ง โดยส�ำนั ก งานคณะกรรมการการ สถาบัสถาบั นอุดนมศึอุดกมศึ ษาทีก่ษาที เข้าร่​่เวข้มการแข่ งขัน งจขัานวน ๖๘ แห่ กงาน าร่วมการแข่ น จานวน ๖๘ง โดยส แห่ง านั โดยส านักงาน อุ ด มศึ ก ษาส่ ง นั ก กี ฬ าเข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ใน ๑๑ ชนิ ด กี ฬ า และสามารถคว้ า คณะกรรมการการอุ ดมศึกดษาส่ นักกีงฬนัาเข้ วมการแข่ งขันในงขั๑๑ คณะกรรมการการอุ มศึกงษาส่ กกีฬาร่าเข้ าร่วมการแข่ นในชนิ๑๑ด ชนิด มาได้ ๑ เหรียญทอง จากเทเบิลเทนนิส บุคคล เดี่ยว อายุ ๔๕ ปี ขึ้นไป กีฬากีและสามารถคว้ ามาได้ามาได้ ๑ เหรี๑ยเหรี ญทอง จากเทเบิ ลเทนนิลเทนนิ ส บุคคล ่ยว เดี่ยว ฬา และสามารถคว้ ยญทอง จากเทเบิ ส บุเดีคคล (หญิง) ๑ เหรียญเงิน จากกรีฑา ทุ่มน�้ำหนัก รุ่นอายุ ๓๕ - ๓๙ ปี (หญิง) อายุ อายุ ๔๕ ปี๔๕ขึ้นปีไปขึ้น(หญิ ง(หญิ ) ๑ งเหรี ญเงิยนญเงิ จากกรี ฑา ทุ่มน้าหนั รุ่นอายุรุ่น๓๕ ไป ๑ยเหรี น จากกรี ทุ่มงน้)กาหนั ๒ เหรียญทองแดง จากเทเบิ ล)เทนนิ ส บุคคลเดี ่ยว ทั่วไปฑา(หญิ และว่กายน� ้ำอายุ ๓๕ - ๓๙- ๓๙ ปี (หญิง) ๒ง)เหรี๒ยเหรี ญทองแดง จากเทเบิ ลเทนนิส บุคคลเดี ่ยว ทั่วไป ฟรีสไตล์ปี๕๐(หญิ เมตร อายุ ๓๑ย-ญทองแดง ๓๕ ปี (ชาย)จากเทเบิ อยู่ในอันลดัเทนนิ บที่ ๒๙ส บุคคลเดี่ยว ทั่วไป (หญิ(หญิ ง) และว่ ายน้าายน้ ฟรีาสไตล์ ๕๐ เมตร อายุ ๓๑ ๓๕ -ปี๓๕(ชาย) อยู่ใน อยู่ใน ง) และว่ ฟรีสไตล์ ๕๐ เมตร อายุ-๓๑ ปี (ชาย) อันดัอับนทีดั่ ๒๙ บที่ ๒๙

20

อนุสารอุดมศึกษา


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

เมื่ อ วั น ที่ ๑๑ พฤษภาคม พฤษภาคม ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ดร.วราภรณ์ ดร.วราภรณ์สี หสีนาท ห นาท รองเลขาธิกการคณะกรรมการการอุ ารคณะกรรมการการอุดดมศึ ธีเปิธีเดปิด รองเลขาธิ มศึกกษา ษาเป็เป็นนประธานในพิ ประธานในพิ การแข่ ฬวั นาบุ ค่ ๑ลากร ก งานคณะกรรมการการอุ ษา การแข่ งขังนขัเมืกีนฬ่ อกีาบุ คทีลากร ส�ำนัส านั กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึดกมศึ ครั้งที่ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ดร.วราภรณ์ สีษาหกนาท ครั ง ้ ที ่ ๓๓ ‘อ่ า งแก้ ว เกมส์ ’ และมอบของที ่ ร ะลึ ก แก่ ผ ้ ู ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ ๓๓รองเลขาธิ ‘อ่างแก้กวเกมส์ ’ และมอบของทีด่รมศึ ะลึกแก่ ารสนับสนุนธีเโดยมี ารคณะกรรมการการอุ ษา ผเป็ู้ให้นกประธานในพิ ปินด โดยมี ตานัอธิก งานคณะกรรมการการอุ กมารบดี หาวิยทเชียาลั ยเชียแงใหม่ การแข่รศ.นพ.นิ ขั น กีฬนัเาบุ ด มศึแกละ ษา รศ.นพ.นิ เงวศน์ นวศน์ ทจิค ลากร ตนันอธิทจิกสารบดี หาวิทมยาลั ยงใหม่ ละประธาน ประธานคณะกรรมการอ านวยการจั ด การแข่ ง ขั น กล่ า วรายงาน และ ครั้งที่ ๓๓ ‘อ่างแก้วเกมส์’ ดและมอบของที กแก่ผู้ให้การสนั สนุน คณะกรรมการอ�ำนวยการจั การแข่งขันกล่​่ระลึ าวรายงาน และ บรศ.นพ. รศ.นพ.อ านาจ อยู ่ ส ุ ข รองอธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มอบสู จิ โดยมี รศ.นพ.นิ เวศน์ นักนารบดี ทจิต มอธิหาวิ การบดี มหาวิ ยเชีมอบสู ยงใหม่จแิ บละ อ�ำนาจ อยู ่ สุ ข รองอธิ ท ยาลั ย เชีทยยาลั งใหม่ ัตร บัประธานคณะกรรมการอ ต รการแข่ งขั น แก่ ตั ว แทนนั ก กี ฬ าจาก ๖๘ งสถาบั นาทีวรายงาน ่ เ ข้ า ร่ ว มการ านวยการจั ด การแข่ ขั น กล่ และ การแข่ แก่ ตัวแทนนั กกีฬาจาก สถาบั นที่เข้าร่วมการแข่งขัน แข่ งขันงขัณนานาจ สนามกี ฬ่สากลางมหาวิ ทารบดี ยาลั๖๘ ยมเชีหาวิ ยงใหม่ รศ.นพ.อ อยู ุ ข รองอธิ ก ท ยาลั ยเชียงใหม่ มอบสูจิ ณ สนามกีดร.วราภรณ์ ฬากลางมหาวิสีทหยาลั ยเชีรองเลขาธิ ยงใหม่ ก ารคณะกรรมการการ นาท บั ต รการแข่ งขั น แก่ ตั วสีแทนนั ก กีรองเลขาธิ ฬ าจาก ๖๘ก สถาบั น ที่ เ ข้ า ร่ ว มการ ดร.วราภรณ์ ห นาท ารคณะกรรมการการ อุแข่ ดมศึ ก ษา กล่ า วว่ า ทุ ก สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาล้ ว นแต่ ม เ ี ป้ า หมายเดี ยวกันที่ งขัน ณ สนามกีฬากลางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อุดจะส่ มศึงกเสริ ษามกล่ า วว่ า ทุ ก สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาล้ ว นแต่ ม ี เ ป้ า หมายเดี ให้บุคลากรของหน่ วยงานได้ ออกกาลัก ารคณะกรรมการการ งกายเล่นกีฬาเพื่อยสร้วกัางนที่ ดร.วราภรณ์ สี ห นาท รองเลขาธิ จะส่ งเสริมให้บุค่ดลากรของหน่ วยงานได้งอเป็อกก�ำลั งกายเล่ี่จนะให้ กีฬบาเพื ่อสร้าง เสริ นโอกาสที ุคยลากร อุดมมศึสุขกภาพที ษา กล่าีแวว่ละมี า ทุคกวามสุ สถาบัขนอุรวมถึ ดมศึกษาล้ วนแต่มีเ่ดป้ีทาหมายเดี วกันที่ เสริ มสุงขาเสริ ภาพที วามสุ ขวยงานได้ รวมถึงงสรรค์ นโอกาสที ่ดีทนี่จกีะให้ ระหว่ งสถาบั า งๆคได้ ม าพบปะสั า งความสั พับน่อุธ์คสร้ ทลากร ี่ ดางี จะส่ มให้่ดบนีแุคต่ละมี ลากรของหน่ อเป็อกก าลัสร้งกายเล่ ฬมาเพื แลกเปลี นเรีนย่ดนรู ้คงๆวามคิ ดมและทั ศนคติ ในด้ านต่ นจะน ระหว่ ต่ีแาละมี าพบปะสั งงเป็ สรรค์ สร้าางงความสั น ธ์ ท่ ี่ ดี เสริมาสุงสถาบั ข่ยภาพที คได้วามสุ ข รวมถึ นโอกาสที ่ดๆีที่อัจะให้ บมุคพัาไปสู ลากร ความร่ านในอนาคต ทัศ้งนคติ นีง้ สรรค์ ขอให้ กีาฬงความสั แลกเปลี นเรีอทุยกนรู ใ นด้นสร้ าักนต่ าาและกรรมการผู ง ๆ อัมนพัจะน�ำไป ระหว่ าว่ ยมมื งสถาบั นๆต่้ คาด้วามคิ งๆ ได้ดมและทั าพบปะสั น ธ์ ที่ ด้ ี ดสินทุวกมมื คนได้ กา เพืศนคติ ่อทัเป็้งนีนใ้ แบบอย่ ีแอัก่นจะน นักศึาไปสู กษา ่ สู่คตัแลกเปลี วามร่ อทุยเกคารพในกฎกติ านในอนาคต ขอให้ ่ยนเรี นรูๆ้คด้วามคิ ดและทั นด้ านต่นาาักงที งกีๆฬ่ดาและกรรมการ าๆชมการแข่ งขันกาพร้ทัเพื อ้งมทั ้งขอขอบคุ ผู้ตบุความร่ ัดคสิลากรและผู นทุวกมมื คนได้ นแบบอย่ าคณะกรรมการ งที่ดีแก่นักศึกษา้ อทุ้เกข้เคารพในกฎกติ ด้านในอนาคต นี่อ้ เป็ ขอให้ นักกีฬณาและกรรมการผู จั ด การแข่ ง ขั น ผู บ ้ ริ ห าร นั ก กี ฬ า ผู ้ ส นั บ สนุ น และผู ้ ท ่ ี เ กี ย บุคตัลากรและผู ้เข้เาคารพในกฎกติ ชมการแข่งขันกาพร้ มทัน้งแบบอย่ ขอขอบคุ คณะกรรมการ ดสินทุกคนได้ เพือ่ เป็ างทีณ่ย่ดวข้ ีแก่องทุ นักกศึฝ่กาษา ให้สนุก้งารต้ อนรับ้ทณคณะนั บุการแข่ คลากรและผู ข้ริาหชมการแข่ นผูพร้ จัดตลอดรวมไปถึ งขัน ผูง้เบชาวจั ารงหวันักดกีเชีฬงยขัางใหม่ ้สนัทอบี่มทั นขอขอบคุ และผู ี่เคณะกรรมการ กี่ยวข้กอกีงทุฬกาทีฝ่​่าย มาร่ วมการแข่ ขัผูน้บด้ริวหยความอบอุ ตรไมตรี อันดีกีย่ยิ่งวข้ ในนามของ จัดการแข่ งขันงงชาวจั า ่นผู้สและมิ น และผู อกงทุกีฬกฝ่าทีาย่มา ตลอดรวมไปถึ งาร หวันัดกเชีกียฬงใหม่ ทนัี่ใบห้สนุการต้ อนรั้ทบี่เคณะนั กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ขออวยพรให้ ก ารจั ด แข่ ง กี ฬ าในครั ้ ง นี ้ปกระสบ งหวัดเชีย่นงใหม่ ที่ให้ตกรไมตรี ารต้อนรั กีฬาที่ ร่วตลอดรวมไปถึ มการแข่งขันด้งชาวจั วยความอบอุ และมิ อันบดีคณะนั ยิ่ง ในนามของ ความส าเร็ จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ท ุ ก ประการ เหนื อ สิ ่ ง อื ่ น ใดนั ้ น คื อ มาร่วมการแข่ งขักนาร ด้วยความอบอุ ่น และมิ ตดรไมตรี อฬันาในครั ดียิ่ง ในนามของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ขออวยพรให้ ก ารจั แข่ ง กี ้ ง นี ้ ป ระสบ ความส าเร็จในด้ านกSpirit of Gameกคืารจั อ ความมี น้งนันีก้ปกีระสบ ฬา รู้ กระทรวงศึ กตามวั ษาธิ ารถุ ปขออวยพรให้ ดแข่งเหนื กีนฬ้าใจเป็ าในครั ความส�ำเร็ จ ต ระสงค์ ท ุ ก ประการ อ สิ ่ ง อื ่ น ใดนั ้ น คื อ แพ้ รู้ ชนะาเร็และรู ้ อ ภัยต ถุซึป่ งระสงค์ จะเป็น สิท่ งุ กสประการ าคั ญในการสานสั ม่ นพัใดนั น ธ์ ้ นชาว ความส จ ตามวั เหนื อ สิ ่ ง อื ความส�ำเร็ จในด้านัานกงานคณะกรรมการการอุ Spirit of Game คือ ดความมี น�้ำให้ใจเป็ นนักคืกีนอฬา บุความส คลากรของส มศึ ก ษา ย ึ ด โยงเป็ าเร็จในด้าน Spirit of Game คือ ความมีน้าใจเป็นนักกีฬา รู้ รู ้ เครื แ พ้ อรูข่้ ชานะ ้ อ ภั ย ซึ่ ง จะเป็ น สิ่ ง ส�ำคัญญในการร่ ในการสานสัฒมนา พั น ธ์ ยทีและรู ่ เและรู หนี ย้ อวแน่ แพ้ รู้ ชนะ ภัย ซึน่ งและเป็ จะเป็น สิน่ งพลั ส าคัง สญาคั ในการสานสัมวพัมพั น ธ์ ชาว ชาวบุ คลากรของส�ำนั กยิงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา ให้ยึดโยงเป็น ประเทศชาติ ให้เานั จริกญงานคณะกรรมการการอุ ่ง ๆ ขึ้นไป บุคลากรของส ดมศึกษา ให้ยึดโยงเป็น เครืเครื อข่าอยที หนี่ ยเ หนี วแน่ยนวแน่ และเป็ นพลังส�ำคั มพัฒนาประเทศชาติ ข่ า่เยที น และเป็ น พลัญงในการร่ ส าคั ญวในการร่ ว มพั ฒ นา ให้ประเทศชาติ เจริญยิ่ง ๆ ขึให้ ้นไปเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป

อนุสารอุดมศึกษา

21


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

ล�ำดั บที่

สถาบัน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

๖๒

๓๗

๓๖

๑๓๕

มหาวิทยาลัยมหิดล

๔๔

๔๒

๕๒

๑๓๘

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓๔

๓๗

๖๑

๑๓๒

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๒

๒๔

๒๒

๖๘

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

๑๗

๑๔

๒๔

๕๕

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

๑๕

๑๙

๒๖

๖๐

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

๑๑

๑๑

๒๙

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

๑๘

๑๖

๔๓

มหาวิทยาลัยศิลปากร

๒๖

๑๐

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

๑๐

๑๕

๓๓

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

..... ๒๙

22

อนุสารอุดมศึกษา


เล่าเรื่องด้วยภาพ

๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมิสเตอร์ ซี จอห์น อัทนัส (Mr. Z. John Atanas) ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธี มอบทุนการศึกษาเอสโซ่ สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี โดยมีนายมงคลนิมิตร เอื้อเชิดกุล กรรมการและผู้จัดการฝ่ายกิจกรรมองค์กรและ รัฐกิจสัมพันธ์ บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) และนายอิศรา สุนทรวิภาต ที่ปรึกษากิจกรรมองค์กรและรัฐกิจสัมพันธ์ บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) เข้าร่วม ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร

๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - รศ. ดร.พิ นิ ติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา เป็ น ประธานเปิ ด งาน LOWER MEKONG INITIATIVE PHASE TWO (LMI-Forum ครั้งที่ ๒) โดยมี Ms. Joëlle Uzarski, Director, Regional English Language Office, U.S. Embassy รศ.พรพจน์ เปี่ ย มสมบู ร ณ์ รองอธิ ก ารบดี จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ผศ.กุ ล พร หิ รั ญ บู ร ณะ ผู้ อำ � นวยการสถาบั น ภาษา จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ผศ.เสาวภา ฉายะบุระกุล อดีตผู้อำ�นวยการสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ รศ.สุชาดา นิ ม มานนิ ต ย์ ผู้ ป ระสานงานโครงการ LMI-ESP เข้าร่วมงาน ณ โรงแรมแมนดาริน

๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ กำ � จร ตติ ย กวี รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ รั ช ตะ รั ช ตะนาวิ น อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และประธานที่ประชุม อธิ ก ารบดี แ ห่ ง ประเทศไทย (ทปอ.) และ กวาง โจ คิม ผู้อำ�นวยการองค์การยูเนสโก กรุงเทพฯ (UNESCO Bangkok) ร่วมแถลงข่าว เปิดตัวรายงานการวิจัย ‘อุดมศึกษาในเอเชีย: การขยายตัวทั้งปริมาณและคุณภาพ’ (Higher Education in Asia: Expanding Out, Expanding Up) ณ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

๕ - ๑๔ เมษายน ๒๕๕๗ - ดร.วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เข้าร่วมประชุมวิชาการ เรื่อง The 26th Annual Quest for Excellence Conference ณ โรงแรม The Marriott Baltimore Waterfront เมื อ งบั ล ติ ม อร์ รัฐแมรี่แลนด์ สหรัฐอเมริกา

ข่าวประชาสัมพันธ์ สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเปิดรับสมัครบุคคลเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการศูนย์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ว่า ด้วยการอุดมศึกษาและการพัฒนา (SEAMEO RIHED) ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ ผู้สนใจสามารถดูรายละเอียดคุณสมบัติ และดาวน์โหลดใบสมัครได้ทางเว็บไซต์ www.mua.go.th และ www.inter.mua.go.th หรือสอบถามที่สำ�นักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา หมายเลขติดต่อ ๐ ๒๖๑๐ ๕๓๙๗ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๗๐ อนุสารอุดมศึกษา

23


24

อนุสารอุดมศึกษา


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.