Message of Islam -vol 18- No .1

Page 37

สาส์น อิส ลาม

36

กรรมทางปรัช ญาทัง้ ภายในและภายนอก เรี ย นรู ป้ ระวัติ ป รัช ญาเพื่ อ เข้า ถึ ง บริ บ ท ทางปรัช ญา ใช้ห ลัก ตรรกะเป็ นเครื่ อ ง มื อ ควบคู่ ก ับ หลัก ปรัช ญาอย่ า งเกื้ อกู ล กัน และกัน นัน่ หมายความว่ า นัก ปรัช ญา มุส ลิม ได้น�ำ ทฤษฎีท างปรัช ญามาอธิ บ าย และแจกแจงประเด็ น ปัญ หาโดยรู ป แบบ ทางปรัช ญาและรู ป แบบทางตรรกวิ ท ยา ด้ว ย หากพิ จ ารณาจากยุ ค สมัย ต้น ๆ ของการก� ำ เนิ ด ปรั ช ญาอิ ส ลาม และ ป ร ะ วั ติ ป รั ช ญ า มุ ส ลิ ม จ ะ พ บ ว่ า นั ก ปรัช ญามุ ส ลิม เปิ ดความคิ ด และยอมรับ กระบวนการทางความคิ ด ของต่ า งชาติ แ ล ะ เ ห็ น ว่ า ก า ร น� ำ เ ส น อ แ น ว คิ ด ท า ง ปรัช ญาไม่ ใ ช่ เ ป็ นเรื่ อ งของชาติ พ นั ธุ ์ห รื อ เชื้ อ ชาติ แ ละศาสนาและนัก ปรัช ญามุส ลิม พยายามจะหลีก เลี่ย งความเป็ น ชาติ นิ ย ม ทางความคิ ด โดยที่ พ วกเขาพยายามหา โอกาสในการสนทนาแลกเปลี่ย นวิช าการ พร้อ มกับ พู ด คุ ย ถึ ง แนวคิ ด ทางปรัช ญา ของกัน และกัน เช่ น ท่ า นอบู อิ ส ฮากอัล กิ น ดี ย ์ (Abu-Ishakh Al-Kindi) เป็ น นัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม ที่ นิ ย มในปรัช ญาของ อริ ส โตเติ ล เป็ น อย่ า งมาก หรื อ ท่ า นอัล ฟา รอบี ย ์ (Al-Farabi) ท่ า นอเวน สี น่ า (Aven cina) และถ้า สื บ ค้น ไปสมัย ก่ อ นหน้า นั้น ที่ ป รัช ญาอิ ส ลามเริ่ ม ก่ อ ตัว ในสมัย การปกครองของราชวงศ์ บ ะนี อับ บาส (Abbaziyah) ชาวมุส ลิม ยิ น ดี ที่ จ ะรับ แนวคิ ด ปรัช ญาแบบกรี ก โบราณ หรื อ แบบตะวัน ออก โดยปราศจากการ

ปิ ดกั้ น ไม่ ว่ า จะเป็ นแนวคิ ด ของเพล โต อริ ส โตเติ ล หรื อ นัก ปรัช ญาคนอื่ น ๆ ตลอดจนท�ำ ให้ค วามความสนอกสนใจ ต่ อ ศาสตร์ ป รัช ญาได้ท วี คู ณ มากยิ่ ง ขึ้ น ในสมัย นั้น หรื อ แม้แ ต่ ศ าสตร์อ่ื น ๆ ที่ ม า จากจี น หรื อ อิ น เดี ย ก็ ไ ด้ร ับ การขานรับ จ า ก ป ร า ช ญ์ มุ ส ลิ ม เ ป็ น อ ย่ า ง ดี แ ล ะ จนถึ ง ปั จ จุ บ ัน นี้ การศึ ก ษาด้า นปรัช ญา ในแวดวงของมุส ลิม ยัง ได้ศึ ก ษาแนวคิ ด ต่ า งๆ ทางปรัช ญามี ส าขาปรัช ญาตะวัน ตกสาขาปรัช ญาตะวัน ออกหรื อ ปรัช ญา เปรี ย บเที ย บในมหาวิ ท ยาลัย อิ ส ลาม และการสนทนาหรื อ การเสวนาทางความ คิ ด ของนัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม กับ นัก ปรัช ญา ที่ ไ ม่ ใ ช่ มุ ส ลิ ม มี ม าทุ ก ยุ ค ทุ ก สมัย และ จากบริ บ ทดัง กล่ า วนี้ ชี้ ใ ห้เ ห็ น ว่ า ปรัช ญา อิส ลามยอมรับ ในกระบวนที่ห า้ หรื อ เรี ย ก ว่ า กระบวนทัศ น์ ห ลัง นวยุ ค อี ก ทั้ง ได้ บู ร ณาการจากองค์ ค วามรู ด้ า้ นปรัช ญา และแนวทางของนั ก ปรั ช ญาที่ เ ป็ นค� ำ สอนของอิ ส ลามให้รู จ้ ัก การให้เ กี ย รติ ผู ้ อื่ น ไม่ ยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ พร้อ มที่ จ ะสรรสร้า ง ความถู ก ต้อ งและความสัน ติ ภ าพให้เ กิ ด ขึ้น จริ ง บนโลกใบนี้ ปรั ช ญาอิ สลามว่ า ด้ วยทฤษฎี หลั ก เอกภาพในพหุ ภ าพและความเป็ น เอกภาพในพหุภ าพ ในปรั ช ญาอิ ส ลามมี เ นื้ อหาหนึ่ ง เ ป็ น เ นื้ อ ห า ส� ำ คั ญ แ ล ะ ถื อ ว่ า เ ป็ น อั ต ลัก ษณ์ ข องส� ำ นั ก ปรั ช ญาอิ ส ลาม คื อ เรื่ อ ง “หลัก เอกภาพในพหุ ภ าพและความ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.