Message of Islam -vol 18- No .1

Page 121

สาส์น อิส ลาม

นองเลือ ดไปสู่ ส งั คมใต้ข นบใหม่ ๆ ด้ว ย การศึ ก ษา ท่ า นพยายามสร้า งแนวคิ ด ใน การปลดปล่ อ ยตัว เองจากจัก รวรรดิ นิ ย ม อัง กฤษด้ว ยการปลุ ก พลัง บวกของความ รั ก ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ ช า ช น ช า ว มุ ส ลิ ม แ ล ะ ฮิ น ดู ที ่เ คยมี ป มขัด แย้ง ระหว่ า งกัน ผ่ า น ส�ำ นึ ก สาธารณะของความเป็ น พี ่น อ้ งร่ ว ม แผ่ น ดิ น ผู ม้ ี ส่ ว นร่ ว มในชะตากรรมแห่ ง ความเป็ นพลเมื อ งอิ น เดี ย ใต้นิ ย ามค�ำ ว่ า “Qaum” (Nation)” (อับ ดุ ร เราะฮหมา น มู เ ก็ ม 2558, 38) ว่ า ด้ว ย ถั ง ค ว า ม คิ ด อิ น เ ดี ย มี ปราชญ์ จ � ำ นวนมากมายที่ ค อยเติ ม เต็ ม วิ ถี คิ ด และก� ำ หนดสู ต รการอยู่ ร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ส ัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรมมี ค วามเป็ น เอกภาพและก้า วข้า มผ่ า นความรุ น แรง และความสุ ด โต่ ง ไปได้ อย่ า งน้อ ยก็ มีน ัก คิ ด นัก เขี ย นรุ่ น ใหม่ ท่ี พ ยายามน� ำ เสนอ วิถีคิ ด เหล่ า นั้น เช่ น เมาลานาวาฮิ ดุ ด ดี น คาน (Maulana Wahiduddin Khan) และคนอื่ น ๆ ซึ่ ง ผู เ้ ขี ย นจะน� ำ เสนอให้ ผู อ้ ่ า นได้ร ับ ทราบในงานเขีย นชิ้ น ถัด ไป

120

3. พลั ง แห่ ง ความต่ า งในการสร้ า ง เอกภาพ ความรุ น แรงคื อ หนึ่ ง ในสัญ ญาณ กระตุ น้ เตื อ นส�ำ นึ ก สัง คมได้เ ป็ นอย่ า งดี อย่ า งน้อ ยก็ ป ลุ ก ให้ทุ ก คนรับ รู ว้ ่ า “ความ สามัค คี เ ริ่ ม บกพร่ อ ง” เพราะธรรมชาติ ของมนุ ษ ย์น ั้น ไม่ มีใ ครสัก คนที่จ ะทนได้ และชาชิ น กับ การฆ่ า ฟัน โดยไร้ค วามรู ส้ ึก แต่ อ ย่ า งใด บรรดาปราชญ์เ หล่ า นั้น ก็ โ ต

มาท่ า มกลางสภาพสัง คมที่ โ หดร้า ยและ มี บ าดแผล จนทุ ก คนเล็ ง เห็ น เป็ นเสี ย ง เดี ย วกัน ว่ า “ความรุ น แรงสร้า งสรรค์ สัง คมไม่ ไ ด้” บทเรี ย นส�ำ คัญ คงหนี ไ ม่ พ้น การแยกประเทศเมื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม 1947 ซึ่ง ห้ว งยามนั้น แผ่ น ดิ น อิ น เดี ย ถู ก ฉี ก ออกเป็ นชิ้ น ๆ เปรอะเปื้ อนไปด้ว ย บาดแผลสีแ ดงหม่ น ส่ ง ผลให้ผู ค้ นหลาย ล า้ นต้อ งสัง เวยชี วิต จนภาพความรุ น แรง เหล่ า นั้น มัน น่ า กลัว เกิ น กว่ า จะ “ผลิต ซ�ำ้ ” ความรุ น แรงระลอกใหม่ ซึ่ง แน่ น อนไม่ มี ใครที่จ ะยิ น ยอมให้เ กิ ด ความรุ น แรงและ การฆ่ า ฟัน กัน ขึ้ น โดยง่ า ยดายในสัง คม พหุ ว ฒ ั นธรรมอี ก ต่ อ ไป ความต่ างถื อ เป็ นพลัง แห่ ง การ สร้า งสรรค์ส่ิ ง ดี ๆ ให้ก ับ สัง คมองค์ร วม ของเรา ผู เ้ ขี ย นได้ร ั บ แนวความคิ ด นี้ มาจากการปรุ ง อาหารอิ น เดี ย ที่ เ รี ย กว่ า “บิ ร ยานี ” ในบทความชิ้ น หนึ่ ง ผู เ้ ขี ย น ได้ตี พิ ม พ์เ มื่ อ ปี 2017 ชื่ อ ว่ า “บิ ร ยานี (Indian Biryani) นิ ย ามและความ หลากหลายในหม้อ เครื่ อ งเทศ” ซึ่ง อาหาร ชนิ ด นี้ อุ ด มไปด้ว ยเครื่ อ งเทศน์ ก ว่ า 20 ชนิ ด เช่ น ขิง กระเที ย มปัน่ กานพลู ใบ กระวาน ลู ก กระวาน อบเชย ยี่ ห ร่ า ขาว ยี่ ห ร่ า ด�ำ ยี่ ห ร่ า ป่ น พริ ก ไทยด�ำ ผงกา รัม มัส สาลา พริ ก แดงป่ น ลู ก จัน ทร์เ ทศ ดอกจัน ทร์เ ทศ กะทิ แ ห้ง มะเขือ เทศสด พริ ก เขีย วสด หญ้า ซัฟ ร่ อ น หัว หอม นม เปรี้ ย ว เนื้ อ ข้า วสาร เกลือ น�้ำ มัน น�้ำ และอื่ น ๆ เครื่ อ งเทศแต่ ล ะชนิ ด นั้น มี ค วาม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.