ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพของประชาชนโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 2

Page 68

การสํารวจสภาวะสุขภาพ ครัง้ ที่ 2 พศ. 2539 หน้ า 67

ได้ รับผลกระทบหากเด็กมีภาวะทุพโภชนาการ เด็กในวัยเรี ยนใช้ เวลาหนึง่ ในสามในโรงเรี ยน มีอิสระในการเลือก อาหารเองมากขึ ้น (ยกเว้ นในท้ องถิ่นที่ขาดแคลน) การเจริญเติบโตของสมอง ผ่านช่วงที่มีอตั ราสูงสุดภายหลัง เกิดไปแล้ ว การประเมินภาวะโภชนาการในด้ านการขาดอาหารจึงมีความสําคัญน้ อยกว่าในเด็กเล็ก ความสําคัญของการเจริ ญเติบโตจะอยูท่ ี่แนวโน้ มของการมีขนาดรูปร่างอย่างไรเมื่อเข้ าสูว่ ยั รุ่นหรื อผู้ใหญ่ โดยให้ ความสนใจที่การมีรูปร่างปกติ อ้ วน ผอม สูง หรื อเตี ้ย การเจริ ญเติบโตของเด็กวัยเรี ยนจะแสดงแนวโน้ มลักษณะรูปร่างในช่วงวัยผู้ใหญ่ได้ พอสมควร ยกเว้ น ในกลุม่ ที่มีการเข้ าสูช่ ่วงวัยรุ่นเร็วหรื อช้ ากว่าเด็กในวัยเดียวกัน กล่าวคือ ช่วงใกล้ เข้ าสูว่ ยั รุ่น (ประมาณ 9-12 ปี ) เด็กบางคนสูงกว่าเพื่อน เพราะเริ่มเข้ าสูว่ ยั รุ่นก่อน และบางคนเตี ้ยกว่าเพื่อนเพราะเริ่มเข้ าสูว่ ยั รุ่นช้ ากว่า อย่างไรก็ตามทังสองกลุ ้ ม่ จะมีความสูงสุดท้ ายไม่ตา่ งกับคนอื่นๆ ในวัยเดียวกันมากนัก ขึ ้นอยูก่ บั พันธุกรรมของ ตนเองว่าจะสูงมากน้ อยเพียงใด การกระจายของค่าเฉลี่ยนํ ้าหนักต่ออายุของเด็กแยกตามรายภาคและเพศแสดงไว้ ในตารางที่ 5.4 และแสดงการกระจายโดยรวมไว้ ในรูปที่ 5.2 เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยของนํ ้าหนักในแต่ละภาคในรูปที่ 5.3 และ รูป ที่ 5.4 จะเห็นได้ วา่ ค่าเฉลี่ยของนํ ้าหนักต่ออายุของเด็กในเขตเทศบาลสูงกว่า กลุม่ ที่อยูน่ อกเขตเทศบาล


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.