เศรษฐกิจพอเพียง

Page 1

วิชาสังคมศึกษา ชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4 โดย..ครูฮาซัน กาฮา


พระราชดาริว่าด้ วยเศรษฐกิจพอเพียง • “...การพัฒนาประเทศจาเป็ นต้ องทาตามลาดับขัน้ ต้ องสร้ างพื ้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของ ประชาชนส่วนใหญ่เบื ้องต้ นก่อน โดยใช้ วิธีการและ อุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถกู ต้ องตามหลักวิชาการ เมื่อ ได้ พื ้นฐานความมัน่ คงพร้ อมพอสมควร และปฏิบตั ิ ได้ แล้ ว จึงค่อยสร้ างค่อยเสริมความเจริญ และ ฐานะทางเศรษฐกิจขันที ้ ่สงู ขึ ้นโดยลาดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)


เศรษฐกิจพอเพียง • “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ

พระเจ้ าอยูห่ วั พระราชทานพระราชดาริ ชี ้แนะ แนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตังแต่ ้ ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ ทรงเน้ นย ้าแนว ทางการแก้ ไขเพื่อให้ รอดพ้ น และสามารถดารงอยูไ่ ด้ อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวตั น์และ ความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของ ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับ รัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์


ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้ วยคุณสมบัติ ดังนี้



๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยู่ในระดับ พอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนัน้ จะต้ องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้ อง ตลอดจน คานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นจากการกระทานันๆ ้ อย่างรอบคอบ ๓. ภูมิค้ มุ กัน หมายถึง การเตรี ยมตัวให้ พร้ อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ด้ านต่างๆ ที่จะเกิดขึ ้น โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาด ว่าจะเกิดขึ ้นในอนาคต


• โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้ อยูใ่ นระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี ้ ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้ วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องรอบด้ าน ความรอบคอบที่จะ นาความรู้เหล่านันมาพิ ้ จารณาให้ เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบตั ิ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้ องเสริมสร้ าง ประกอบด้ วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สจุ ริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้ สติปัญญาในการดาเนินชีวิต


• ทฤษฎีใหม่ ขนั ้ ต้ น ให้ แบ่งพื ้นที่ออกเป็ น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึง่ หมายถึง พื ้นที่สว่ นที่หนึง่ ประมาณ ๓๐% ให้ ขดุ สระเก็บกักน ้าเพื่อใช้ เก็บกักน ้าฝนในฤดูฝน และใช้ เสริมการปลูกพืช ในฤดูแล้ ง ตลอดจนการเลี ้ยงสัตว์และพืชน ้าต่างๆ พื ้นที่สว่ นที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ ปลูกข้ าวในฤดูฝนเพื่อใช้ เป็ นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัวให้ เพียงพอตลอด ปี เพื่อตัดค่าใช้ จ่ายและสามารถพึง่ ตนเองได้ พื ้นที่สว่ นที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ ปลูกไม้ ผล ไม้ ยืนต้ น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้ เป็ นอาหาร ประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย พื ้นที่สว่ นที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็ นที่อยูอ่ าศัย เลี ้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรื อนอื่นๆ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.