เรือดำน้ำ submarine

Page 18

แนวคิดทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เกี่ยวกับการพัฒนายานใต้น้ำ�ในยุคต้น ห้องดำ�น้ำ� (bathyshphere) หรือ ระฆังดำ�น้ำ� (diving bell) : แนวคิดในการนำ�มนุษย์ลงไปสำ�รวจใต้น้ำ� มีมาตั้งแต่ในสมัยดึกดำ�บรรพ์ ห้องดำ�น้ำ� (bathyshphere) เป็นอุปกรณ์ชนิดแรกๆ ที่มนุษย์ใช้สำ�รวจสภาพ ใต้น้ำ� ภายในห้องดำ�น้ำ�บุด้วยวัสดุกันน้ำ� เช่น  หนังสัตว์ ถ่วงด้วยหิน เพื่อให้จมลงในน้ำ �   แต่ไม่ได้ออกแบบเกี่ยวกับระบบหมุนเวียนอากาศ ภายในห้อง และ การต้านทานแรงกดไว้ ดังนั้น ห้องดำ�น้ำ� ในยุคเริ่มแรก จึงดำ�ลงไปได้ในระยะไม่ลกึ มากนัก และใช้ระยะเวลาเพียงสัน้ ๆ เมือ่ อากาศ ภายในห้องเริ่มเสีย ใช้หายใจไม่ได้ ห้องดำ�น้ำ�จะถูกดึงขึ้นมาเหนือผิวน้ำ� ห้องดำ�น้ำ� (bathysphere) ได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์ อักษรครั้งแรกโดย อริสโตเติลนักปราชญ์ชาวกรีก ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วง 384 - 322 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดยกล่าวถึง ถังทำ�จากสัมฤทธิ์ (bronze tank) ข้างในบรรจุอากาศ น้ำ�เข้าไม่ได้ นำ�คนลงไปยังใต้ทะเล นอกจากนี้เขายัง ระบุถึง หมวกดำ�น้ำ� (diving helmet) รูปทรงคล้ายเหยือกน้ำ�กลั บ หั ว ซึ่ง นักดำ�น้ำ�นำ�มาสวมหั ว เพื่อใช้หายใจ ขณะสำ�รวจพื้นทะเล บันทึกของ อริสโตเติล ยังกล่าวถึง การนำ�ห้องดำ�น้ำ� มาใช้ในการโจมตีเมืองไทร์ (Tyre) ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช  ซึ่งอาจนับเป็นครั้งแรกที่มีการนำ� อุปกรณ์ดำ�ใต้น้ำ�มาเป็นส่วนหนึ่งของการทำ�สงคราม ห้องดำ�น้ำ�โดยส่วนใหญ่  จะสร้างเป็นรูปทรงคล้ายระฆังคว่ำ� จึง ถูกเรียกขานว่า ระฆังดำ�น้ำ� หรือ ห้องดำ�น้ำ�รูประฆัง (diving bell) ในปี ค.ศ. 1690 ดร. เอ็ดมัน ฮาลเลย์ ได้ปรับปรุง ระฆังดำ�น้ำ� ให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น  สามารถถ่ายเทอากาศจากด้านนอกเข้าสู่ห้อง  ทำ�ให้สามารถ ปฏิบัติการใต้น้ำ�ได้นานขึ้น อย่างไรก็ตาม ระฆังดำ�น้ำ�ในยุคต่อมาไม่ได้ ถูกพัฒนาเพื่อใช้เป็นอาวุธในสงครามทางเรือ แต่ได้กลายเป็นห้องกู้ภัยเรือ ดำ�น้ำ� (submarine rescue chamber) ซึ่งใช้อพยพลูกเรือดำ�น้ำ�ประสบภัย จากเรือดำ�น้ำ�อับปาง ขึ้นมาสู่เรือผิวน้ำ� ค.ศ.1634 นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรัง่ เศส แมริน เมอร์แซน (Marin เรื อดำ�น้ำ� 18

1.indd 18

27/3/2560 15:41:28


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.