GS1 Thailand Newsletter Vol.26 No.2

Page 1



EDITOR’S TALK

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

เกษตรกรยุคใหม กาวทันเทคโนโลยี

ประวิทย โชติปรายนกุล

ผูอํานวยการสถาบันรหัสสากล

ปั จ จุบัน เกษตรกรรุ่ น ใหม่ หรื อ ยัง สมาร์ ท ฟาร์ เ มอร์ (YSF : Young Smart Farmer) เป็ นกลุม่ เกษตรกรยุคใหม่ที�ริเริ� ม นําเทคโนโลยีมาปรับใช้ ทางด้ านการเกษตรหลายส่วนเพือ� ผลผลิต ที�ดียิ�งขึ �น อาทิเช่น พยากรณ์ปริ มาณนํ �าที�ต้องใช้ ในการเกษตร ปริ มาณการใช้ ป๋ ยุ หรื อวางแผนจัดสรรพื �นที�ในการเพาะปลูกได้ ดียิ�งขึ �น รวมถึงผลักดันและสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั เกษตรกร ไทยได้ เติบโตอย่างต่อเนื�องเพื�อการแข่งขันทางการค้ าในอนาคต โดยทางสถาบัน ฯ ร่ ว มกับ สํ า นัก งานส่ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ดิจิทัล (DEPA) ได้ ริเริ� มโครงการส่งเสริ มและสนับสนุนคูปอง ดิจิทลั เพื�อการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทลั โดย ให้ ทนุ สนับสนุนการซื �อผลิตภัณฑ์และบริ การดิจิทลั แก่เกษตรกร และผู้ประกอบการสินค้ าเกษตร เพื�อสร้ างโอกาสและเพิ�มมูลค่า ผลผลิตทางการเกษตรให้ สามารถส่งออกสูต่ ลาดต่างประเทศได้ สําหรับวารสารฉบับนี �ไม่เพียงแต่แบ่งปั นความรู้มาตรฐาน สากลที�นําไปประยุกต์ ใช้ กับอุตสาหกรรมเกษตรเพียงเท่านัน� ยังมีเนื �อหาเกี�ยวกับการขยายนวัตกรรมซัพพลายเชนสูเ่ กษตรกร รายย่อยในต่างประเทศ ทัง� การใช้ ประโยชน์ จากเลขบ่งชีท� ี�ตงั � สากล (GLN: Global Location Number) เพื�อความมัน� คงและ ยัง� ยืนทางอาหาร รวมถึงเนื �อหาที�น่าสนใจเรื� องอื�นๆ ภายในเล่ม สามารถติดตามอ่านได้ ในวารสารฉบับนี �เลยครับ

CONTENTS 04

GS1 Standard : A Global Farm Registry for the United Nations การขึ้นทะเบียนฟารมสากลสําหรับองคการสหประชาชาติ

08

GS1 Global News : Extending Supply-Chain Innovation to the Small Farmer ขยายนวัตกรรมซัพพลายเชนสูเกษตรกรรายยอย

11

Scoop Hilight : Thailand Smart Farm 4.0 ปฏิวัติเกษตรไทย ปรับใชเทคโนโลยี

14

GS1 Traceability : Traceability สูการบริโภคที่ปลอดภัยในอนาคต

20

ECR Corner : IoT Will Transform the Agriculture Supply Chain – Get On Board! IoT จะเปลี่ยนหวงโซอุปทานทางการเกษตร

24

GS1 Thailand Newsletter Vol. 26 No. 2 28

GS1 Society : การเกษตร 4.0 ในยุคดิจิทัลตองกาวไปขางหนาอยางรวดเร็ว เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลก

30

Techno Sharing : Why IoT in agriculture is set to see ‘incredible’ growth until 2025 เหตุใด IoT ในภาคเกษตรจึงถูกมองวามีการเติบโตอยางไมนาเชื่อจนถึง ป ค.ศ. 2025

32

Training Buzz : • สสว. ผนึก 30 องคกรจัดงาน “วันของ SME : Together We Share วันแหงความรวมมือรวมพลังเปนอันหนึ่งเดียวกัน เพื่อผลักดันให SME ไทย กาวตอไปอยางมั่นคง”

GS1 Healthcare : การใชงานระบบมาตรฐานสากล GS1 ที่สอดคลอง กับระเบียบขอบังคับดาน Coding & Serialization ของสินคาในกลุม Healthcare (Pharmaceuticals and Medical Devices) (ตอนที่ 1/2)

17

RFID Corner : Fresh Food Provider Sees £150,000 Savings With RFID ผูใหบริการอาหารสดพบวาสามารถประหยัดเงินจํานวน 150,000 ปอนด ดวย RFID

A new generation of farmers or Young Smart Farmer (YSF), which is a group of new farmers generation that initiates the technology to implement on various type of agricultural activities, have introduce a program which aims to create better productivity such as water forecasting for agriculture, fertilizer consumption, allocating space for cultivation, and also encourage Thai farmers to grow continuously for the future trade competition. GS1 Thailand together with Digital Economy Promotion Agency (DEPA) have initiated the ‘DEPA Mini Transformation Voucher’ project to promote and support Thai agriculturists and agricultural manufacturers to adopt technology into their working process by funding them a voucher to buy digital products and services which aiming to create an opportunities for farmers and increase value for agricultural product to be export globally. In this newsletter, not only share the global standard knowledges to apply into agricultural industry, but also the content about expanding supply chain innovation to small agriculturists in the other countries including the benefit from using GLN (Global Location Number) for food sustainability and other valuable and interesting topics which will be available for you in this newsletter.

• งานแถลงขาว ThaiStar Packaging Awards 2019 34

Biz Breakthrough : ฟรีแลนซผูสูงวัย ทางเลือกธุรกิจ + CSR

35

Health Me : ที่เธอเห็น คาฝุนมันขึ้นมา

37

Kitchen of The World : ความทาทายภายใตมาตรการลดใชพลาสติก

38

Trendy Tech : เกษตรกรยุคใหมใสใจเทคโนโลยี

40

Member Zone : Member Portal (เมมเบอร พอรทัล) แอพพลิเคชั่นใหม จัดเต็มมาตรฐาน โดย GS1 Thailand

BOARD OF CONSULTANTS รายชื่อคณะที่ปรึกษา • ดร.ขัติยา ไกรกาญจน • ศ.ดร.ปกรณ อดุลพันธุ ราชบัณฑิต • นายไพโรจน เกษแมนกิจ • คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ EDITORIAL TEAM บรรณาธิการ • ประวิทย โชติปรายนกุล EDITOR กองบรรณาธิการ • วันรัตน ยอดนิล • จิราภรณ เฉลิมจิระรัตน • มยุรินทร เพชรชัด • พราภา รมโพธิ์ทอง • เมธิณี วรรลยางกูร • ปทิตตา คิมประโคน • กรกมล โภคทรัพยมงคล • ชนัฎนันท รัตนเอกวาที • วิลาวัณย กิจนิเทศ • วิทยา ทิงาเครือ • SHAWN CHEN • พรรณปพร จิตจํารูญโชคไชย • กรองกาญจน ศรีแยม ออกแบบรูปเลมและจัดพิมพโดย บริษัท ที.เค.เอส. สยามเพรส แมเนจเมนท จํากัด * วารสารฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรความรู จึงขอสงวนสิทธิ์ในบทความ ขอเขียน และขอคิดเห็นตางๆ ที่ปรากฎในวารสารฉบับนี้ เปนทัศนะสวนบุคคล และลิขสิทธิ์ของผูเขียน มิใชความเห็นของ GS1 Thailand ในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียน หรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง กรุณาแจงกลับมายังสถาบันฯ และหากประสงคจะนําบทความใด ๆ ในวารสารไปตีพิมพ ทําซํ้า หรือดัดแปลง เพื่อเผยแพร ตองแจงเปนลายลักษณอักษรตอกองบรรณาธิการ จักขอบคุณยิ่ง


Thailand Newsletter

GS1 Standard Article by / บทความโดย : GS1 Global Office Translated and Edited by / แปลและเรียบเรียงโดย : Metinee Wanlayangkoon / เมธิณี วรรลยางกูร

A Global Farm Registry for the United Nations การขึน ้ ทะเบียนฟารมสากลสําหรับองคการ สหประชาชาติ การใช้ประโยชน์ จากพลังของเลขบ่งชีที� �ตงั � สากล GS1 เพื�อความมั�นคงและยั�งยืนทางอาหาร

Harnessing the power of GS1 Global Location Numbers for food security and sustainability

จํานวนประชากรของโลกคาดการณ์ ว่าจะเพิ�มขึน� ราว 9 พันล้ านคน ภายในปี ค.ศ. 2050 ความต้ องการในระบบ อาหารทั�วโลกจึงยังคงทวีเพิ�มสูงขึน� อย่ างต่ อเนื�อง

As the world’s population grows to approximately 9 billion by 2050, the demand on global food systems will continue to intensify.

เพื�อให้ มนั� ใจว่าประชากรที�กําลังเติบโตจะสามารถเอาชนะความ หิวโหยและภาวะการขาดแคลนอาหารได้ โดยที�ไม่กระทบต่อความ หลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศนัน� จะต้ องมีการลดการ สูญเสีย และของเสียในกระบวนการผลิตอาหาร (food losses and waste) ซึง� องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ หรื อ FAO ประมาณการว่าของเสียในกระบวนการผลิตอาหาร อยู่ที� ป ระมาณร้ อยละ 30 ของอาหารที� ผ ลิ ต ทัง� หมด ตัว อย่ า ง เช่น การผลิตอาหารในปั จจุบันใช้ นํา� 79.5 เปอร์ เซ็นต์ ของนํ า� ที�ใช้ ทัง� หมด จึงจําเป็ นต้ องมีการปรั บปรุ งกระบวนการผลิตและ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการลดการใช้ สารกําจัดศัตรู พืช ยาฆ่าแมลง และปุ๋ยเคมี เป็ นต้ น

To ensure the growing population can overcome hunger and malnutrition without compromising biodiversity and eco-systems, there must be a reduction in food loss and waste-which the FAO estimates to be about 30 percent of all food produced. Improvements are needed in productivity and the use of natural resources; for example, food production currently uses 79.5 percent of all water used as well as a reduction in the use of herbicides, pesticides and fertilizers.

การเกิดขึ �นขององค์กรและหน่วยงานที�เกี�ยวข้ องทางด้ านมาตรฐาน ความยัง� ยืนและแผนการรับรองในช่วง 20 ปี ที�ผ่านมาได้ กระตุ้น ให้ มีการนําระบบการผลิตที�ยงั� ยืนมาใช้ ร่วมกับการพัฒนานโยบาย ทางการเกษตร และการตระหนักถึงประเด็นในเรื� องของความ ยัง� ยืน อย่างไรก็ตามสิ�งเหล่านี �ได้ ตอบสนองต่อความคาดหวังของ ผู้บริ โภคในประเทศที�พฒ ั นาแล้ ว และความต้ องการเหล่านี �ได้ สร้ าง แรงกดดันต่อเกษตรกรโดยเฉพาะอย่างยิ�งเกษตรกรในประเทศ กําลังพัฒนา คําถามยังคงมีอยูว่ า่ เป็ นไปได้ หรือไม่ทจี� ะผลักดันให้ เกษตรกรทุกคน ได้ รับการรับรองตามมาตรฐานสากลในหนึ�งหรื อหลายมาตรฐาน ด้ วยความสมัครใจ ซึ�งแนวทางใหม่นีจ� ําเป็ นที�จะต้ องทําให้ ง่าย คุ้มค่า และน่าสนใจมากยิ�งขึน� สําหรั บเกษตรกรทั�วโลก เพื�อให้ เกษตรกรเต็มใจที�จะนํ าแนวทางการผลิตที�ปลอดภัยและยั�งยืน เหล่านี �มาใช้

4

GS1 Thailand april – june 2019

The emergence of corporate and third-party sustainability standards and certification schemes over the past 20 years have spurred the adoption of more sustainable production systems, in conjunction with developments in agricultural policy and greater public awareness of sustainability issues. However, these respond largely to expectations of consumers in developed countries and their requirements have put added pressure on farmers, especially in developing countries. Questions remain as to whether it is reasonable, or even possible, to compel all farmers to become certified to one or more voluntary international standards. A new approach is clearly needed that will make it easier, more cost effective, and attractive for farmers worldwide to willingly adopt safer and more sustainable production practices.


GS1 Standard

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

UNGC และ ศูนย การค าระหว างประเทศ (International Trade Center)

Introducing the UNGC and the International Trade Centre

Dr. Puvan J. Selvanathan หัวหน้ าฝ่ ายอาหารและเกษตรของ UNGC กล่าวว่า “หากมองไปอีก 15 ปี ข้ างหน้ า ความยัง� ยืนของโลก และความมั�นคงด้ านอาหารนัน� จํ าเป็ นต้ องให้ ทุกคนมี ส่วนร่ วม โดยในส่ ว นของผู้ผ ลิ ต คื อ การผลิ ต ในรู ป แบบที� ยั�ง ยื น มากขึ น� ส่วนของผู้บริโภค คือการทําให้ เกิดการสูญเสียน้ อยทีส� ดุ และส่วนของ ผู้มสี ว่ นได้ สว่ นเสียทังหมดในซั � พพลายเชน ได้ แก่ ผู้ขนส่งสินค้ า ผู้ให้ บริ การด้ านโลจิสติกส์ และร้ านค้ าต่างๆ คือ การนําเอากระบวนการ ที�ยงั� ยืนมาใช้ ในการดําเนินธุรกิจ โดยเรากําลังสร้ างข้ อกําหนดของ GLN ในเรื� องของความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ และความสามารถ ในการที�จะเรี ยนรู้ และแบ่งปั น ซึ�งทัง� หมดจะทํ าให้ เกิ ดการผลิต และการบริ โภคอาหารอย่างยัง� ยืนขึ �นได้ ในปี ค.ศ. 2050”

“Looking forward 15 years, sustainability for the planet and for food security will require that every individual is a contributor,” explains Dr. Puvan J. Selvanathan, Head of Food and Agriculture with the UNGC. “For producers, this means producing more in sustainable ways, and for consumers, it means wasting less. And for all stakeholders along the supply chain-shippers, logistic services providers and grocers, it means adopting sustainable processes as the preferred way of doing business. With GLNs, we’re creating the conditions of transparency, accountability and the ability to learn and share-all that will make sustainable food production and consumption possible in 2050.”

ข้ อตกลงแห่งสหประชาชาติ United Nations Global Compact (UNGC) เริ� มขึน� เมื�อ 15 ปี ที�แล้ ว และเป็ นแพลตฟอร์ มสําหรั บ ธุรกิจที�จะนําไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมายของสหประชาชาติ ซึง� เดิมคือ เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) และไม่นานเป้าหมาย การพัฒนาอย่างยัง� ยืน (SDGs) ได้ ถกู นํามาใช้ ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2015 ประเด็นที�สําคัญของ SDGs คือ การยุติความหิวโหย การบรรลุความมัน� คงด้ านอาหาร การปรับปรุงทางด้ านโภชนาการ และการส่งเสริ มการเกษตรแบบยัง� ยืน

แนวปฏิ บั ติ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ทางด้ านอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ หรื อ FABs ได้ รับการพัฒนาหลังจากการ ประชุม Rio+20 ในปี ค.ศ. 2012 ซึ�ง แนวปฏิ บัติ ข อง FABs ในระดับ “หลักการ” ถือเป็ นพันธมิตรโดยธรรมชาติกบั แผนมาตรฐาน ที�พฒ ั นาโดยศูนย์การค้ าระหว่างประเทศ ซึง� เป็ นหน่วยงานร่วมของ สหประชาชาติ แ ละองค์ ก ารการค้ า โลก เมื� อ แนวปฏิ บัติ เ หล่า นี � รวมเข้ ากับเลขบ่งชีท� ี�ตงสากล ั� GS1 หรื อ GLN ที�กําหนดให้ กับ ผู้ดําเนิ นการทัง� ระบบอาหาร ก็ จะทํ าให้ เกิ ดฟั งก์ ชั�นการใช้ งาน ที�เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ �น

The United Nations Global Compact (UNGC) initiative was started 15 years ago and is a platform for businesses to contribute to the achievement of UN goals – originally the Millennium Development Goals (MDGs), and soon the Sustainable Development Goals (SDGs), which will be adopted in September 2015. Key among the SDGs is the imperative to end hunger, achieve food security, improve nutrition and promote sustainable agriculture.

The UNGC Food and Agriculture Business Practices (FABs) were developed following the Rio+20 Conference in 2012. The UNGC’s FABs at the “principle” level is a natural partner to the Standards Map developed by the International Trade Centre, a joint agency of the UN and World Trade Organization. When these are combined with GS1 Global Location Numbers (GLNs) ascribed to actors across food systems, a powerful suite of functionality emerges.

GS1 Thailand april – june 2019

5


Thailand Newsletter

GS1 Standard

การเป ดตลาดใหม

การสนับสนุน FABs และแผนมาตรฐานต่างๆ GS1 ได้ ร่วมมือ กับ UNGC และ ITC โดยให้ บริ การการลงทะเบียนรหัสบ่งชี �สากล เพื�อให้ ฟาร์ มในทุกประเทศสามารถลงทะเบียนและได้ รับ GLN ซึง� เป็ นรหัสระบุบง่ ชี �ของฟาร์ มและที�ตงทางกายภาพ ั� “เช่นเดียวกับ สินค้ าที�มีการระบุรหัสบ่งชี �ของสินค้ าที�ไม่ซํ �าซ้ อนกัน ขณะนี �ฟาร์ ม ก็ ส ามารถระบุร หัส บ่ ง ชี ไ� ด้ ใ นฐานะที� เ ป็ นแหล่ง ที� ม าของสิ น ค้ า สิง� เหล่านี �สามารถเกิดขึ �นได้ เนื�องจาก GLN จะถูกรวมเข้ ากับ GS1 GLN Service ทัว� โลกทําให้ ข้อมูลทางด้ านความยัง� ยืนของฟาร์ ม สามารถแบ่งปั นกับผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียอื�นๆ ได้ ตลอดซัพพลายเชน ด้ วย GLN ของฟาร์ มและข้ อมูลหลักที�เกี�ยวข้ องในรายละเอียด และที�ตงั � “GLN ช่วยให้ ฟาร์ มทุกขนาดได้ มีโอกาสสื�อสารถึงวิธีการทําฟาร์ ม แบบยัง� ยืนของตนเองไปยังผู้ซื �อทัว� โลก ซึ�งถือเป็ นการเปิ ดโอกาส ทําให้ เกษตรกรสามารถเข้ าถึงตลาดต่างประเทศที�พวกเขาไม่เคย มีมาก่อน” Joe Wozniak ผู้จดั การโครงการการค้ าเพื�อการพัฒนา ที�ยงั� ยืน ของ ITC กล่าว Wozniak ยังคงอธิบายว่า GLN ยังสามารถช่วยขยายโอกาสทางการ ตลาดสําหรับฟาร์ มที�ผ่านการรับรองทางด้ านความยัง� ยืนในตลาด เฉพาะ หรื อภายใต้ ระบบการรับรองเฉพาะ “การมี GLN จะช่วยให้ ผู้ผลิตสามารถทําการประเมินตนเองเพื�อดูโอกาสในการเข้ าร่ วม กับตลาดอื�น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น ผู้ผลิตกาแฟอาจได้ รับการรับรอง ตามแนวปฏิบตั ิทางด้ านมาตรฐานที�ใช้ กบั ตลาดของสหรัฐอเมริ กา ซึ�งอาจพบได้ ว่าสินค้ าและระดับของการปฏิบตั ิทางด้ านการผลิต ทีย� งั� ยืนของตนเองนันอยู � ใ่ นระดับทีใ� กล้ เคียงกับมาตรฐานการรับรอง ที�ใช้ กบั ตลาดของสหราชอาณาจักรด้ วย”

การตรวจสอบย อนกลับในระดับฟาร ม

ฟาร์ มที�ลงทะเบียนในระบบจะได้ รับ GLN สําหรับการระบุบ่งชี � จากนัน� เกษตรกรก็จะมีโอกาสที�จะสามารถใส่ข้อมูลอะไรก็ได้ ที� ต้ องการในโปรไฟล์ของตนเอง สําหรับคําถามที�วา่ ใครเป็ นเจ้ าของ ข้ อมูลและใครสามารถเข้ าถึงข้ อมูลได้ Wozniak กล่าวว่า “นีเ� ป็ นความ ร่วมมือทางด้ านข้ อมูล ซึง� GLN ได้ รบั การสนับสนุนจากสหประชาชาติ ดัง นัน� จึ ง ไม่ มี ใ ครถูก เรี ย กเก็ บ เงิ น และไม่ มี ก ารขายข้ อ มูล เพื� อ ผลประโยชน์ทางการค้ า เกษตรกรเป็ นผู้ตดั สินใจในการเลือกข้ อมูล ที�ต้องการแบ่งปั น ดังนัน� เราจะไม่ส่งออกหรื อแบ่งปั นข้ อมูลใดๆ โดยที�ไม่ได้ รับการยินยอมจากเกษตรกร”

6

GS1 Thailand april – june 2019

Opening new markets

Supporting the FABs and Standards Map, GS1 is partnering with the UNGC and ITC by providing a global identification registration service so farms in every country will be able to register and receive a GLN-a unique identifier of the farm and its physical location. “Just as products are assigned their own unique item identifiers, farms will now be able to be identified as the sources that make so many of these products possible,” says Selvanathan. This is possible since the GLNs will be integrated into the global GS1 GLN Service, enabling farm sustainability information to be selectively shared with other stakeholders along the supply chain. This will stem from the farm’s GLNs and associated master data on its profile and location. “With GLNs, all sizes of farms will have an opportunity to communicate the fact that they are using sustainable farming practices to possible buyers around the world-opening up and giving them access to international markets that they may have not had before,” says Wozniak. Wozniak continues to explain how GLNs can also help expand market opportunities for farms already certified sustainable in a particular market, under a specific certification system. “For example, a coffee producer may be certified based on a standard set of practices for the U.S. market. Having a GLN allows the producer to be able to conduct a self assessment to see what other markets present opportunities for entry. They may recognize that, based on its products and level of sustainable production practices, it is also quite close to complying with certification standards in, for example, the U.K. market.”

Farm-level traceability

Farms registering on the system will receive a GLN for unique identification. Farmers then have the opportunity to provide whatever information as they wish on their profile. “Critically, who owns the data and who has access to it?” asks Wozniak. “Imagine this is an ‘information cooperative.’ GLNs are UN-sponsored so no one is charged for a number and there is no commercial interest in selling the information. Farmers decide how much information they want to share. And we won’t export or share data without the express approval from the farmers themselves.”


The power of data

GS1 Global Location Numbers will begin to be issued from September 2015, with registrations expected from over 10,000 farms in pilot countries including Colombia, Denmark, Malaysia, Netherlands, Turkey, and Vietnam.

พลังของข อมูล

เลขหมายบ่งชี �ที�ตงสากล ั� GS1 หรื อ เลข GLN เริ� มใช้ ตงแต่ ั � เดือน กันยายน 2015 โดยคาดว่าจะมีการลงทะเบียนมากกว่า 10,000 ฟาร์ มในประเทศนํ าร่ อง ได้ แก่ โคลัมเบีย เดนมาร์ ก มาเลเซีย เนเธอร์ แลนด์ ตุรกี และเวียดนาม ซึ�งข้ อมูลที�ได้ รับจากประเทศ นําร่ องเหล่านี �ในอีกสามถึงห้ าปี ข้ างหน้ าจะช่วยให้ เกิดสมมติฐาน ที� สํ า คัญ เกี� ย วกับ ระบบอาหาร “ตัว อย่ า งเช่ น สมมติ ฐ านที� ว่ า การตัด ไม้ ทํ า ลายป่ าลดลงในเอเชี ย เพราะผู้บ ริ โ ภคชาวยุโ รป หลีกเลี�ยงการซื �อนํ �ามันปาล์มหรื อไม่” Selvanathan กล่าว “เมื�อ เราพิจารณาข้ อมูลเราอาจพบว่าการบริ โภคในยุโรปนันเป็ � นเพียง ส่วนเล็กน้ อยในตลาดโลก ซึ�งทางเลือกของผู้บริ โภคในยุโรปอาจ ไม่ได้ ส่งผลกระทบที�ดีขึน� หรื อแย่ลงต่อสิ�งแวดล้ อม แต่อาจเป็ น ผู้บริ โภคในเอเชียที�ทําให้ เกิดผลกระทบที�แท้ จริ ง ทังนี � �ข้ อมูลอาจมี การเปลีย� นแปลงทีส� าํ คัญถ้ ามีการกําหนดเป้าหมายอย่างเหมาะสม GLN จะถูกนําเสนอให้ กบั ทุกคนทัว� โลกที�ต้องการใช้ งาน ในขณะ ที�เกษตรกรในประเทศนํ าร่ องจะได้ รับประโยชน์ จากข้ อกํ าหนด และการทดลองเพื�อทดสอบสมมติฐานของระบบอาหาร “เรากําลัง สร้ างรากฐานสํ า หรั บ การตรวจสอบย้ อนกลั บ และค้ นหาว่ า การปรั บ ปรุ ง ประสิท ธิ ภ าพการพัฒ นาอย่า งยั�ง ยื น นัน� เป็ นไปได้ อย่างไรด้ วยการใช้ งาน GLN” Wozniak กล่าว “ด้ วยแพลตฟอร์ ม ITC ของเรา เรายังคงจัดเก็บรวบรวมข้ อมูล แต่เป็ นการระบุบ่งชี � และการแบ่งปั นของข้ อมูลที�จดทะเบียนผ่าน GS1 GLN Service ทัว� โลกซึง� จะช่วยให้ เรามีอํานาจในการตัดสินใจและก่อให้ เกิดการ เปลี�ยนแปลงในที�สดุ ” Selvanathan กล่าวโดยสรุ ปทิ �งท้ ายว่า “เพื�อให้ ทราบถึงจํานวน ของเกษตรกรและคู่ค้า เพื� อให้ เข้ าใจว่าเกษตรกรทํ าฟาร์ มและ ดํ า เนิ น งานกั น อย่ า งไร และเพื� อ ทํ า ให้ เกษตรกรเหล่ า นี เ� ป็ น ส่วนหนึ�งของเครื อข่ายชุมชนในระดับสากล เราจึงจําเป็ นต้ องมี การลงทะเบียนสากลเพื�อให้ เกษตรกรทัว� โลกได้ รับการยอมรับ ทังนี � � GLN จะช่วยทําให้ สมาชิกในเครื อข่ายชุมชนนี �ตระหนักว่า “ฉันต้ อง รับผิดชอบในส่วนของฉัน” ไม่วา่ พวกเขาจะอยูท่ ี�ใดในโลก

Data gleaned from particular pilot countries over the next three to five years will also allow for important assumptions on food systems. “For example, is deforestation actually reduced in Asia because European consumers avoid buying palm oil?” asks Selvanathan. “When we consider the data, we may find that European consumption is so small a fraction of the global market that consumer choices in Europe have no impact on environmental outcomes for better or worse. Rather, it is consumers in Asia that make a real difference. With data, significant changes may be possible if targeted appropriately. GLNs will be offered globally to anyone wishing to have one, while farmers in pilot countries will also benefit from particular conditions and experiments to test assumptions of our food systems. “With GLNs we are creating the foundation for traceability and discovering how improved sustainability performance is possible,” says Wozniak. “With our ITC platform, we could still collect the data, but it’s the unique identification and sharing of the data across the registries through the global GS1 GLN Service that will help us power decision-making and ultimately change.” Selvanathan concludes, “To know how many farmers and trading partners are out there, and understand how they are farming and operating-to make them part of a global community-we needed a global registry for them to be visible and recognized. GLNs empower the people of this community to say, “I’m accountable for my part’ wherever they are on the planet.”

GS1 Thailand april – june 2019

7


Thailand Newsletter

GS1 Global News Article by / บทความโดย : Robert J. Bowman, Supply Chain Brain Translated by / แปลโดย : Pimporn Lakpech / พิมพ์พร หลักเพ็ชร์

Extending Supply-Chain Innovation to the Small Farmer ขยายนวัตกรรมซัพพลายเชนสูเ่ กษตรกรรายย่อย

เทคโนโลยีลำ�้ สมัยทีใ่ ช้สำ� หรับกำรจัดกำรซัพพลำยเชนทัว่ โลก ในปัจจุบนั เป็นเพียงกำรเริม่ ต้นเท่ำนัน้ โดยเทคโนโลยีนจี้ ะค่อยๆ แพร่หลำยไปสู่ผู้ที่จ�ำเป็นต้องใช้มำกที่สุด ซึ่งก็คือเกษตรกร รำยย่อยที่อยู่ในยุคเศรษฐกิจก�ำลังพัฒนำ

State-of-the-art technology for managing global supply chains is only now beginning to percolate down to the individuals who need it most: small farmers in developing economies.

ปั จจุบนั มีการใช้ ระบบในการสัง่ สินค้ า ผลิต ติดตาม และช�าระเงิน ซึง่ ส่วนใหญ่จะใช้ ในบริษทั ขนาดใหญ่และกลุม่ พาร์ทเนอร์ ขณะเดียวกัน กลุม่ เกษตรกรรายย่อยในภูมภิ าค เช่น แอฟริกา และเอเชีย ยังต้ องดิ ้นรน เพือ่ ปลูกพืชยังชีพ แต่หากโชคดีอาจปลูกได้ พชื เศรษฐกิจ 1 หรือ 2 ชนิด

When it comes to deploying systems for ordering, producing, tracking and paying for goods, much of the attention to date has been focused on larger companies and their Tier 1 partners. Meanwhile, smallholder farmers in regions such as Africa and Asia struggle to grow subsistence crops and, if they’re lucky, one or two cash crops for a limited marketplace.

Dan Lancu รองศาสตราจารย์ฝ่ายปฏิบตั ิการข้ อมูลและเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัยบัณฑิต Stanford University’s Graduate School of Business กล่าวว่าอุปสรรคที่ขดั ขวางเกษตรกรชาวไร่ รายย่อยนัน้ มีมากมาย รวมถึงการไม่สามารถเข้ าถึงการเงินและการธนาคาร การใช้ ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ และข้ อมูลที่จ�ากัดเกี่ยวกับแนวทาง ปฏิบตั ใิ นการเข้ าสูต่ ลาดโลก

8

GS1 Thailand april – june 2019

The disadvantages that hamper the small farmer are many, according to Dan Iancu, associate professor of operations, information and technology at Stanford University’s Graduate School of Business. They include lack of access to formal banking, inefficiencies in resource usage, and limited information about best practices for tapping global markets.


วารสารสถาบั น รหั ส สากล

Small farms, which are usually family-run, tend to lack digitized transactions and written contracts, relying instead on wordof-mouth processes. And despite the diminutive nature of their operations, they may be engaged in practices that carry long-term environmental and social consequences. “It’s hard to apply standard analytics to smallholder supply chains”, said Iancu.

ฟาร์ มขนาดเล็กซึ่งส่วนใหญ่ ด�าเนิ นกิ จการภายในครอบครั ว มักมี แนวโน้ ม ขาดการท� า ธุ ร กรรมดิ จิ ทัล และสัญ ญาที่ เ ป็ นลายลัก ษณ์ อักษร โดยเน้ นการพูดกันปากเปล่ามากกว่า แม้ จะเป็ นเพียงส่วน เล็กๆ แต่พวกเขาอาจมี ส่วนร่ วมในทางปฏิบัติที่ช่วยลดผลกระทบ ด้ านสิง่ แวดล้ อมและสังคมในระยะยาว ซึง่ Lancu ได้ กล่าวไว้ วา่ เป็ น การยากที่จะน�าเอามาตรฐานมาประยุกต์ใช้ กบั การวิเคราะห์ในกลุ่ม เกษตรกรรายย่อย ในแบรนด์ ชัน้ น� า ระดับ โลกบางแบรนด์ ที่ พึ่ง พาเกษตรกรรายย่ อ ย ก็ท�างานบนความไม่เป็ นสมดุลนี ้ มีความคิดริ เริ่ มในการสนับสนุน เทคโนโลยีและการใช้ นวัตกรรมในทางปฏิบตั ิท่ีเกี่ยวข้ องกับการผลิต น� า้ มันปาล์ มในประเทศอินโดนี เซีย ผู้ร่วมสนับสนุนมี ทัง้ ยูนิลีเวอร์ บริ ษัทที่ปรึกษา Daemeter กลุม่ ผู้คิดริ เริ่ ม SAWIT (ผู้ถือหุ้นรายย่อย ทีพ่ ฒ ั นาด้ วยการใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี) มูลนิธิ David and Lucile Packard และองค์กร Financial Access กว่าครึ่งของสินค้ าทัว่ ไปใช้ น� ้ามันปาล์มเป็ นส่วนประกอบ อีกทังน� ้ ้ามัน ปาล์มยังเป็ นส่วนประกอบส�าคัญในน� ้ามันไบโอดีเซล ซึ่งแหล่งผลิต 41% มาจากรายย่อย “แม้ มนั เป็ นสินค้ าที่มองไม่เห็นได้ ชดั แต่มนั ก็ถกู ใช้ อย่างแพร่หลาย” Lancu กล่าว การขาดการแนะน�ากระบวนการการผลิตที่ทนั สมัย เกษตรกรผู้ปลูก น�า้ มันปาล์มหลายคนจึงหันไปใช้ การท� าลายป่ าโดยการเผา ท� าให้ เกิดปั ญหามลพิษทางอากาศอย่างรุนแรงในหลายพื ้นที่ เช่น ในเอเชีย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ นอกจากนี พ้ วกเขายัง ต้ อ งท� า ธุ ร กิ จ และเจรจา ในวงการซัพพลายเชนที่ซบั ซ้ อน ซึง่ รวมถึงกลุม่ พ่อค้ าคนกลาง โรงงาน และโรงกลัน่ เหล่าพาร์ ทเนอร์ ที่คดิ ริ เริ่ มร่วมกันได้ เน้ นไปที่สองช่วงแรกของซัพพลาย เชนเป็ นหลัก เริ่ มด้ วยการรวบรวมข้ อมูลของฟาร์ ม 3,000 แห่ง และ ยังบันทึกข้ อมูลเส้ นทางรถบรรทุกที่พ่อค้ าคนกลางใช้ ในการรับผลไม้ (ทุกๆ 2 สัปดาห์ ต้ นไม้ 1 ต้ น สามารถผลิตผลไม้ ได้ 50 ปอนด์)

Some major global brands that rely on small farmers are working to right that imbalance. One early initiative to provide technology and innovative practices involves the production of palm oil in Indonesia. Participants include Unilever, the consulting firm Daemeter, the initiative called SAWIT (Smallholders Advancing With Innovation and Technology), the David and Lucile Packard Foundation, and Financial Access. Palm oil is found in more than half of all packaged goods, as well as being an essential ingredient in biodiesel fuels. With 41 percent of production sourced from smallholders, “it’s a very invisible but ubiquitous commodity,” Iancu said. Lacking guidance on modern production methods, many palm oil farmers resort to deforestation through burning. That creates serious air-quality problems in areas such as Southeast Asia. In addition, they must negotiate a complex supply chain, including a series of middlemen, mills and refineries. The multi-partner initiative focused on the first couple of miles in the chain, beginning with the collection of data on some 3,000 farms. It also recorded the routes that trucks follow when middlemen pick up the fruit. (Every two weeks, a single tree products a 50-pound fruit bunch.) With information in hand, the analysts began to digitize and reconcile key data on transactions, road segments and maps. Then they honed in on the initial delivery process. Farmers don’t get paid until the mill is paid by the refinery, Iancu noted. The goal was to reduce payment delays in order to boost productivity on existing farms, thereby reducing reliance on deforestation. The participants also developed a platform to match farmers with the right middlemen, to create more efficient routes and reduce the number of empty trucks. Describing a project to increase supply-chain transparency in Zambia were Patricio Prini, global vice president of technology GS1 Thailand april – june 2019

9


Thailand Newsletter

GS1 Global News

ด้ วยข้ อมูลเหล่านี ้ นักวิเคราะห์ ได้ เริ่ มแปลงข้ อมูลเป็ นดิจิทัล และ ใส่ข้อมูลที่ส�าคัญเกี่ ยวกับธุรกรรมต่างๆ ถนน และแผนที่ จากนัน้ พวกเขาได้ ฝึกฝนส�าหรับกระบวนการส่งสินค้ าครัง้ แรก โดยโรงงานต้ อง ได้ รั บ เงิ น จากโรงกลั่น ก่ อ นจึ ง จะให้ เ งิ น เกษตรกร เป้ าหมายของ โครงการนี ้เพื่อลดการจ่ายเงินล่าช้ า ช่วยเพิ่มผลผลิตในฟาร์ ม อีกทัง้ ยังช่วยลดการท�าลายป่ าได้ อีกด้ วย ผู้เ ข้ า ร่ ว มยัง ได้ พัฒ นาแพลตฟอร์ ม ที่ ช่ ว ยจับ คู่เ กษตรกรกับ พ่ อ ค้ า คนกลางที่ถกู ต้ อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งและลดจ�านวน รถบรรทุกเปล่า อีกหนึ่งโครงการคือโครงการเพื่อเพิ่มความโปร่ งใสของซัพพลายเชน ในประเทศแซมเบีย ร่วมด้ วย Patricio Prini รองประธานด้ านนวัตกรรม เทคโนโลยีโลก ส�านักข่าว Anheuser-Busch InBev และ Ashish Gadnis ผู้ร่วมก่อตังและ ้ CEO ของบริ ษัท BanQu ซึง่ ได้ เสนอแอพพลิเคชัน่ บล็อกเชนส�าหรับบุคคล โดยไม่ต้องเข้ าร่วมบริ การธนาคารออนไลน์

innovations with Anheuser-Busch InBev, and Ashish Gadnis, co-founder and chief executive officer of BanQu. The latter offers a blockchain application for individuals without access to traditional banking services.

เป้าหมายของโครงการนี ้เพื่อหาวัตถุดิบ 100% จากเกษตรกรท้ องถิ่น ใน Eager Lager เพื่อท�าเบียร์ ข้าวฟ่ าง ด้ วยเหตุนี ้เหล่าหุ้นส่วนจึงริ เริ่ ม ท�าบล็อกเชนเพื่อช่วยในการสืบย้ อนกลับและเพื่อความโปร่ งใสของ ซัพพลายเชน

The goal was to source 100 percent of the ingredients in Eagle Lager, a sorghum-based beer, from small local farmers. To achieve it, the partners launched a blockchain initiative for enabling supply-chain traceability and transparency.

เกษตรกรจะได้ รับสมาร์ ทโฟนซึง่ สามารถใช้ ได้ ทงการยื ั้ นยันการจัดส่ง และช�าระเงินสินค้ า มีข้อความทางโทรศัพท์เพือ่ ยืนยันน� ้าหนัก คุณภาพ และการช�าระเงิน ด้ วยเทคโนโลยีบล็อกเชนจะสร้ างบันทึกธุรกรรมต่างๆ ที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ผา่ นผู้ใช้ งานทุกคน

Farmers were supplied with smartphones that can be used to confirm both proof of delivery and payment for their goods. Text messages confirm weight, quality and payout, with blockchain technology creating an immutable record of transactions across all participants.

Gadnis ได้ กล่าวว่ากระบวนการเก็บหลักฐานถือเป็ นปั ญหาส�าคัญ ในกลุ่ม เกษตรกรรายย่ อ ย ปั จ จุบัน ในกลุ่ม เกษตรกรซึ่ง ส่ว นใหญ่ ผู้ที่เป็ นแม่จะไปตามโรงงานต่างๆ เช่นเดียวกับสินค้ า ถ้ าเธอไม่ได้ รับ เงิน สินค้ าก็จะยังไม่ได้ “(เธอ) สามารถเป็ นเจ้ าของ เข้ าถึง สร้ างรายได้ และอนุญาตข้ อมูลของเธอได้ ” ปั จจุบนั มีเกษตรกรประมาณ 2,000 รายก�าลังใช้ แพลตฟอร์ มนี ้ และ มีสนิ ค้ าถูกจ�าหน่ายกว่า 1,300 เมตริ กตัน ซึง่ เริ่ มต้ นด้ วยข้ าวบาร์ เลย์ และข้ า วฟ่ าง แต่ ไ ม่ ว่ า พื ช ชนิ ด ใดก็ ส ามารถใช้ กับ บล็ อ กเชนและ สมาร์ ทโฟนได้ แม้ วา่ เทคโนโลยีเป็ นสิง่ ส�าคัญส�าหรับโครงการนี แต่ ้ นนั่ ก็ไม่ได้ รบั ประกัน ความส�าเร็จ เกษตรกรรายย่อยอีกพันราย และพ่อค้ าคนกลางหลายคน ยังไม่ได้ อยูใ่ นแพลตฟอร์ มนี และการจั ้ บคูพ่ วกเขากับแบรนด์ขนาดใหญ่ ระดับโลกอาจเป็ นเรื่ องท้ าทาย

10

GS1 Thailand april – june 2019

Chain of custody is a serious problem in smallholder supply chains, said Gadnis, with the farmer often invisible to prospective purchasers. Now, the farmer - who is frequently the mother of the family - stays in the loop as goods move by truck to the factory. “If she didn’t get paid, the asset’s not released,” said Gadnis. “[She] has the ability to own, access, monetize and permission her data.” Currently some 2,000 farmers are live on the platform, with 1,300 metric tons of product sold. The initiative began with barley and sorghum, although “any crop would work” with a blockchain and supporting smartphone, Gadnis said. While technology is vital to the project, it’s no guarantor of success. Thousand of additional small farmers and hundreds of middlemen have yet to be included on the platform, and matching them up with big global brands can be a challenge.


Scoop Hilight

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

Article by / บทความโดย : Karanyapas Wongsricharoenchai / การัณยภาส ว่องศรีเจริญชัย

Thailand

Smart Farm 4.0 ปฏิวัติเกษตรไทย ปรับใช้เทคโนโลยี

การท�าเกษตรในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปอย่าง มากเมื่ อ เที ย บกั บ อดี ต มี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี เพื่ อ เข้ า มาช่ ว ยภาคเกษตรมากยิ่ ง ขึ้ น อาทิ โดรนรดน�้า / พ่นยา อุปกรณ์บังคับระยะไกล และ การน�าระบบเซนเซอร์เข้ามาใช้งานในด้านต่างๆ เพือ่ ช่วยอ�านวยความสะดวกและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการท�างาน อาทิ การตรวจสอบสภาพภูมอิ ากาศ ความชื้นในดิน โดยจะรับข้อมูลจากอุปกรณ์ผ่าน การเชื่อมโยงทางอินเทอร์เน็ตและส่งเข้าสู่ระบบ ประมวลผลและวิเคราะห์ขอ้ มูล เพือ่ ส่งข้อมูลมาที่

แอพพลิ เ คชั่ น ในมื อ ถื อ เพื่ อ แสดงผลผ่ า นทาง แอพพลิเคชั่นที่ได้มีการพัฒนาไว้ ซึ่งจะสามารถ สั่งการให้ด�าเนินการต่างๆ ได้ เช่น รดน�้า ให้ปุ๋ย ให้แสงสว่าง ฯลฯ ในยุ ค 4.0 หลายๆ อย่ า งถู ก ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย นวัตกรรมที่มีผลต่อเศรษฐกิจ (Value-Based Economy) เป็นหลัก คนรุน่ ใหม่หลายๆ รายกลาย เป็นเกษตรกรยุคใหม่-Young Smart Farmer โดยการน� า เทคโนโลยี ต ่ า งๆ เข้ า มาเพื่ อ ช่ ว ย

GS1 Thailand april – june 2019

11


Thailand Newsletter

Scoop Hilight

ในการ บริหารจัดการการผลิตเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และสร้างความสะดวกสบาย รวมถึง ยังสามารถขายสินค้าผ่านเว็บไซต์ออนไลน์ต่างๆ ในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ได้มีการปรับเปลี่ยน แนวทางการสร้ า งผลผลิ ต ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากขึ้น และใช้เวลาในการเก็บเกี่ยวที่น้อยลง โดยน� า เทคโนโลยี เ ข้ า มาช่ ว ยในการยกระดั บ การผลิ ต และสามารถคาดการณ์ ผ ลผลิ ต ที่ จ ะ ออกสู่ท้องตลาดได้ ภาครั ฐ จึ ง มี บ ทบาทเป็ น อย่ า ง มากในการผลักดัน การส่งเสริม การเรียนรู้ รวมถึงการสนับสนุน ด้ า นเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เพื่ อ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ให้ กั บ เกษตรกรรุ ่ น ใหม่ หรื อ ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจจะน� า เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เข้ามาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ และ ลดต้นทุนในการผลิตสินค้า

12

GS1 Thailand april – june 2019

ส� า นั ก งานส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล – Digital Economy Promotion Agency (depa) ซึ่งเป็น หน่ ว ยงานที่ มี บ ทบาทส� า คั ญ ในการพั ฒ นา อุ ต สาหกรรมและนวั ต กรรมดิ จิ ทั ล เพื่ อ ให้ เ กิ ด การน�าเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความมั่นคง ของประเทศ โดยฝ า ยส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ ร่วมกับ สถาบัน รหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ ริ เ ริ่ ม โครงการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น คู ป อง ดิ จิ ทั ล เพื่ อ การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แ ละ


วารสารสถาบั น รหั ส สากล

นวัตกรรมดิจทิ ลั (depa Mini Transformation Voucher) ส�าหรับธุรกิจเกษตรในพื้นที่ EEC (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง) โดยให้ ทุ น สนั บ สนุ น การซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ บริการดิจิทัลสูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท* แก่เกษตรกร และผู ้ ป ระกอบการสิ น ค้ า เกษตร เพื่ อ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการปรั บเปลี่ ยนการน� าเทคโนโลยี เข้ า มาประยุ ก ต์ ใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมการเกษตร สร้ า งโอกาสและเพิ่ ม มูลค่าผลผลิตทางการเกษตรให้สามารถส่งออกสู่ตลาด ต่ า งประเทศได้ รวมถึ ง ส่ ง เสริ ม ผู ้ ป ระกอบการด้ า น เทคโนโลยีให้สามารถสร้างธุรกิจได้ตรงตามกลุม่ เป้าหมาย

หมวดหมู่ค่าใช้จ่ายที่สนับสนุนมีดังนี้ • ค่าระบบ Software • ค่าเช่าใช้บริการระบบ ตามระยะเวลา โครงการตั้งแต่ 6 เดือน – 1 ปี • สนับสนุนค่าอุปกรณ์ Hardware Smart Device จ�านวน 50% ของค่าใช้จ่าย

เงื่อนไขส�าหรับผู้สนใจเข้าร่วม โครงการฯ มีดังนี้

• เกษตรกร หรื อ ผู ้ ป ระกอบการสิ น ค้ า เกษตร ทั้งบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล หากเป็นบุคคล ธรรมดา จะต้องขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานภาครัฐ อาทิ กรมส่งเสริมการเกษตร ธนาคารเพือ่ การเกษตร และสหกรณ์ ก ารเกษตร ส� า นั ก งานมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ฯลฯ และมีพื้นที่ท�ากินอยู่ในพื้นที่เป้าหมายเท่านั้น • จัดเตรียมเอกสารประกอบการขอรับทุนสนับสนุน • รั บ ทุ น สนั บ สนุ น ในรู ป แบบเงิ น ให้ เ ปล่ า 100% ( ลั ก ษ ณ ะ ก า ร เ บิ ก ค ่ า ใ ช ้ จ ่ า ย ย ้ อ น ห ลั ง (Reimbursement)ในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท ของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงก่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม) • ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น ต้ อ งเป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ ภาษีมูลค่าเพิ่มและส่วนต่างของค่า Software, Hardware หรือบริการที่เกิดขึ้น ** บุ ค คลธรรมดาหรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ น

ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องช�าระภาษีมูลค่าเพิ่ม จ�านวน 700 บาท คืนเข้าโครงการฯ • การเลือกซือ้ หรือใช้บริการ Software & Hardware ของผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารจะต้ อ งเลื อ กผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ ขึ้ น ทะเบียนกับส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั แล้ว เท่านั้น สามารถดู ข ้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ www.gs1th.org หรือสอบถามรายละเอียดโครงการเพิ่มเติมได้ที่ นายการัณยภาส ว่องศรีเจริญชัย โทร. 0-2345-1205 email: karanyapasw@gs1th.org

GS1 Thailand april – june 2019 13


Thailand Newsletter

GS1 Healthcare Article by / บทความโดย : Jiraporn Chalermjirarat / จิราภรณ เฉลิมจิระรัตน

การใชงาน

ระบบมาตรฐานสากล GS1

ที่สอดคลองกับระเบียบขอบังคับดาน Coding & Serialization ของสินคาในกลุม Healthcare (Pharmaceuticals and Medical Devices) (ตอนที่ 1/2)

ปจจุบนั ซัพพลายเชนสุขภาพในหลายๆ ประเทศ กําลังใหความสนใจ ในเรือ่ งการสงเสริมความปลอดภัยของผูป ว ย โดยมุง เนนไปทีค่ ณ ุ ภาพ ของสินคาในกลุม Healthcare ไดแก ยาและเครื่องมือแพทย ทั้งคุณภาพในดานการผลิต รวมถึงคุณภาพในดานการจัดสงสินคา ตลอดสายซัพพลายเชน ประเด็นเรื่องการตรวจสอบยอนกลับและ การเรียกคืนสินคา (Traceability & Recall) รวมถึงการปองกัน การปลอมแปลงสินคา (Anti-Counterfeit) ถูกพูดถึงในหลายๆ การประชุม และไดถกู บรรจุเปนขอพึงปฏิบตั อิ ยูใ นขอกําหนด ระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมายของหลายๆ ประเทศทั่วโลก ทําใหเจาของ สินคาหรือผูส ง ออกสินคาไปยังประเทศปลายทางเหลานัน้ ตองศึกษา และปฏิบัติตามขอบังคับที่เพิ่มขึ้น หั ว ใจสํ า คั ญ ของการทํ า ระบบตรวจสอบย อ นกลั บ ต อ งเริ่ ม จาก มี ก ารบ ง ชี้ สิ น ค า สถานที่ หรื อ สิ่ ง ต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งด ว ยชื่ อ ที่ ไ ม ซํ้ า กั น ในสายซั พ พลายเชนนั้ น ๆ และต อ งมี ก ารเก็ บ ข อ มู ล

14

GS1 Thailand april – june 2019

การเคลื่อนที่ของสินคา (Physical Event Data) รวมกันตลอดทาง ตั้งแตโรงงานผลิต ผูขนสง ผูจัดจําหนาย ไปจนถึงผูคาปลีก ไมวาจะ เปนขอมูลตางๆ ดังนี้ • What - สิ น ค า อะไร โดยบั น ทึ ก รายการด ว ยชื่ อ เรี ย กสิ น ค า ซึ่งตามมาตรฐานสากลจะนิยมบงชี้สินคาดวยรหัสตัวเลข และ การตรวจสอบยอนกลับสินคาจะลงลึกถึงระดับใด การบงชี้สินคา ดวยรหัสตัวเลขก็จะตองลงลึกถึงระดับนั้น เชน จะตรวจสอบ ย อ นกลั บ สิ น ค า ในระดั บ Batch/Lot หรื อ ในระดั บ รายชิ้ น (Serialization) • When - เกิดขึ้นเมื่อไหร โดยบันทึกวันและเวลาของกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้น


GS1 Healthcare

• Where - จากที่ไหนไปที่ไหน โดยบันทึกชื่อสถานที่ที่เกี่ยวของกับ กิจกรรมที่เกิดขึ้น ซึ่งตามมาตรฐานสากลจะบงชี้สถานที่ดวย รหัสตัวเลข • Why - ขั้นตอนทางธุรกิจใด โดยบันทึกกิจกรรมที่ดําเนินการ เชน รับ-สงสินคา เรียกคืนสินคา เปนตน

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

รหัสบงชี้ในระบบมาตรฐานสากล GS1 มีหลายประเภท ประเภท ที่มีการใชงานกวางขวางและถูกนํามาใชในดาน Healthcare ไดแก

Global Trade Item Number (GTIN) หรือ เลขหมายประจําตัวสินคาสากล

รหัส GTIN-13 ถูกนํามาใชบงชี้สินคาคาปลีกในทุกอุตสาหกรรม ทั่วโลก ซึ่งในโครงสราง 13 หลักจะประกอบดวย ตัวเลข 3 หลัก แรกเปนรหัสประเทศ (GS1 Country Prefix) ตามดวยรหัสบริษัท และรหัสสินคา ซึ่งสองสวนหลังนี้จะมีกี่หลักก็ข้ึนอยูกับการบริหาร จัดการขององคกร GS1 ในแตละประเทศ และหลักสุดทายจะเปน ตัวเลขตรวจสอบ (Check Digit: C) ที่เกิดจากการนําเอาตัวเลข ดานหนาทัง้ หมด 12 หลัก มาคํานวณผานสูตรเฉพาะทางคณิตศาสตร โครงสรางรหัส GTIN-13 แสดงในตารางดานลาง

นอกจากนี้ การพิ ม พ ชื่ อ เรี ย กสิ น ค า ลงบนฉลากสิ น ค า โดยตรง จะทํ า ให ส ามารถติ ด ตามตั ว สิ น ค า นั้ น ๆ ได อ ย า งถู ก ต อ งตลอด ซั พ พลายเชน และหากใช เ ทคโนโลยี ก ารบั น ทึ ก รหั ส บ ง ชี้ สิ น ค า ดวยบารโคดหรือ RFID ก็จะยิ่งทําใหการดําเนินการในขั้นตอนตางๆ เกิดความเปนอัตโนมัติและถูกตองรวดเร็วมากยิ่งขึ้น องคกร GS1 (The first of Global Standard) เปนหนวยงานกลาง ที่ ทํ า หน า ที่ กํ า กั บ ดู แ ลการออกรหั ส บาร โ ค ด ที่ ใ ช บ  ง ชี้ สิ น ค า ในอุตสาหกรรมคาปลีกมายาวนานกวาครึง่ ทศวรรษ เนือ่ งจากมาตรฐาน สากล GS1 มีเครือ่ งมือและมีวธิ ปี ฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนสําหรับการบงชีส้ นิ คา เพือ่ ไมใหซาํ้ ซอนกันทัว่ โลก และมีวธิ กี ารทําระบบตรวจสอบยอนกลับ ตลอดสายซัพพลายเชนอยางเปนรูปธรรม จึงเปนมาตรฐานที่ถูก นํามาใชแพรหลายในหลายๆ อุตสาหกรรม รวมถึงอุตสาหกรรม สุขภาพที่มีจุดประสงคเพื่อเพิ่มความปลอดภัยใหแกผูปวย

GS1 Thailand april – june 2019 15


Thailand Newsletter

GS1 Healthcare

Application Identifiers (AIs) หรือเลขหมาย บงชี้การใชงาน

เลขหมายบ ง ชี้ ก ารใช ง าน หรื อ เลขหมาย AIs ตามมาตรฐาน สากล GS1 จะเปนตัวเลข 2-4 หลักที่แสดงอยูในวงเล็บ ทําหนาที่ บอกชนิดของชุดขอมูลที่ตามมา ถูกนํามาใชในการบงชี้สิ่งตางๆ ในซัพพลายเชน ครอบคลุมจุดประสงคตางๆ ของทุกอุตสาหกรรม สามารถใสขอ มูลไดทงั้ เลขหมายประจําตัวสินคา Batch/Lot. number หรือ Serial number วันเดือนปที่ผลิต วันเดือนปที่หมดอายุ นํ้าหนัก สุทธิ บริษัทตนทาง บริษัทปลายทาง เปนตน เลขหมาย AIs พื้ น ฐานที่ ถู ก ใช เ พื่ อ บ ง ชี้ ข  อ มู ล ให ส อดคล อ งกั บ กฎระเบียบตางๆ ดานสาธารณสุข มีดังนี้ เลขหมาย AIs (01) (17) (10) (21)

ชุดขอมูลที่ตามมา เลขหมายประจําตัวสินคาสากล (GTIN) วันที่หมดอายุของสินคา (YYMMDD) เลขหมายครั้งที่ทําการผลิต หรือกองสินคา (Batch/Lot. Number) เลขหมายเรียงลําดับตัวสินคา (Serial Number)

รูปแบบ N2+N14 N2+N6 N2+X..20 N2+X..20

สัญลักษณบารโคดที่รองรับการใชงานเลขหมาย AIs ที่นิยมใช ในดาน Healthcare คือ สัญลักษณบารโคด 1 มิติ ชนิด GS1-128 และสัญลักษณบารโคด 2 มิติ ชนิด GS1 DataMatrix ตัวอยาง ดังแสดงในรูปดานลาง ซึ่งจะเห็นเลขหมาย AIs แสดงอยูในวงเล็บ

รูปแสดงบาร โคดแบบ 1 มิติ ชนิด GS1-128

รูปแสดงบาร โคดแบบ 2 มิติ ชนิด GS1 DataMatrix (01)08851234500017(10)ABC123(17)151209 ในตอนตอไปจะแนะนําระเบียบขอบังคับและกฎหมายของ บางประเทศ ที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบยอนกลับสินคา ในกลุม ยาและเครือ่ งมือแพทย ซึง่ สงผลใหผปู ระกอบการทีต่ อ ง สงออกสินคาในกลุม ดังกลาวไปยังประเทศปลายทางเหลานัน้ ตองปฏิบัติตามอยางหลีกเลี่ยงไมได

16

GS1 Thailand april – june 2019


GS1 Traceability

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

Article by / บทความโดย : Karanyapas Wongsricharoenchai / การัณยภาส วองศรีเจริญชัย

Traceability

สูก  ารบริโภคทีป ่ ลอดภัยในอนาคต ป จจุบันสินค าหลายๆ ชนิดถูกผลิตขึ้นเพื่อตอบสนองต อความต องการของมนุษย ที่เพิ่มขึ้นอย างไม หยุดยั้ง ส งผลให ผ ผู ลิตคิดค นวิธกี ารต างๆ มากมายในการเพิม่ ผลผลิต เช น การใช สารเคมีเพ อ่ื เร งผลผลิต การลด ต นทุนการใช วัตถุดิบ การลดคุณภาพของสินค า การลดแรงงาน เป นต น

และยังมีอีกหลายๆ วิธีที่ผูผลิตนํามาใชเพื่อผลผลิตที่มากขึ้น โดยใชตนทุนที่ตํ่าลง สงผลใหเกิดการลดประสิทธิภาพและ คุณภาพของสินคา ทําใหผบู ริโภคไดรบั ผลกระทบอืน่ ๆ ตามมา เชน สินคาไมไดมาตรฐาน สินคาเกิดการชํารุดเสียหาย สินคา หมดอายุกอนกําหนด เปนตน Traceability – การตรวจสอบย อ นกลั บ จึ ง ถู ก นํ า มาใช เพื่อใหผูบริโภคสามารถตรวจสอบขอมูลของสินคา เมื่อเกิด ความสงสัยหรือเกิดปญหาในตัวสินคาขึ้น สามารถเรียกคืน สินคาไดถกู ตองในระยะเวลาทีร่ วดเร็ว ลดการสูญเสียคาใชจา ย ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากผลกระทบดังกลาว การตรวจสอบยอนกลับ

GS1 Thailand april – june 2019 17


Thailand Newsletter

GS1 Traceability

สินคาสามารถทําไดในทุกอุตสาหกรรมการผลิต ไมวาจะ เปนอุตสาหกรรมอาหาร การเกษตร เครื่องจักร สิ่งทอ ฯลฯ สําหรับอุตสาหกรรมอาหารซึ่งเปนปจจัยสําคัญของมนุษย ความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) เปนขอกําหนด หลักของผูประกอบการในการขอรับรองมาตรฐานอาหาร ปลอดภัย เพื่อใหแนใจสินคาวามีความปลอดภัย สามารถ ตรวจสอบแหลงทีม่ าของสินคาได ซึง่ จะตองมีการเก็บขอมูล ทุกขั้นตอนในการผลิตสินคา การแปรรูป การขนสง จนถึง มือผูบริโภค เกษตรกรซึ่งเปนผูมีบทบาทสําคัญจึงควรมี การนําเทคโนโลยีเขามาประยุกตใชเพือ่ ชวยใหเกิดระบบการ ตรวจสอบยอนกลับทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพราะนอกจากจะชวย แกไขปญหาการเรียกคืนสินคา (Recall) ในกรณีที่พบสาร ตกคาง ศัตรูพืช แมลง หรืออื่นๆ แลวยังลดความเสี่ยงของ การขยายตัวของปญหา ชวยใหเกษตรกรหรือผูป ระกอบการ สินคาเกษตรสามารถใชขอมูลเพื่อตัดสินใจ และจัดการกับ ปญหานั้นไดอยางทันทวงทีอีกดวย นอกจากนี้ยังชวยเพิ่ม มูลคาสินคาเกษตรของไทยใหมคี วามแตกตางดานคุณภาพ ความปลอดภัย และสงเสริมใหสินคาไทยสามารถแขงขัน กับตางประเทศได

GS1 เปนหนวยงานทีเ่ ปนนายทะเบียนในการออกเลขหมาย บารโคดบนตัวสินคาเพียงหนวยงานเดียวและมีมาตรฐาน ตางๆ ที่สําคัญ เพื่อใชในกระบวนการตรวจสอบยอนกลับ หรือ Traceability เพื่อระบุขอมูลสินคาตั้งแตแหลงผลิต จนถึ ง มื อ ผู  บ ริ โ ภค โดยเก็ บ ข อ มู ล ต า งๆ ที่ ส ามารถสื บ ยอนกลับได เชน GLN หรือ เลขหมายประจําตัวบริษทั GTIN 18

GS1 Thailand april – june 2019

หรือ เลขหมายประจําตัวสินคา เลข Batch/Lot, QTY, SSCC หรื อ เลขลํ า ดั บ การขนส ง วั น ที่ ผ ลิ ต /หมดอายุ เป น ต น ซึ่งขอมูลเหลานี้จะถูกเก็บทุกๆ ขั้นตอนของการเคลื่อนที่ ของสินคาตลอดทั้งซัพพลายเชน เพื่อใชในการอางอิงขอมูล เมื่อสินคานั้นๆ ถูกตรวจสอบ หรือเรียกดู เปนตน


GS1 Traceability

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

ทุ ก วั น นี้ เ ทคโนโลยี ต  า งๆ ได ก  า วไกล ไปมาก ผูบริโภคสามารถตรวจสอบขอมูล กระบวนการผลิ ต สิ น ค า หรื อ การขนส ง ได ง  า ยๆ เพี ย งใช แ อพพลิ เ คชั่ น ต า งๆ บนสมาร ท โฟน เพี ย งสแกนที่ ตั ว สิ น ค า ก็สามารถดูรายละเอียดตางๆ ที่ตองการ ไดทันที เพือ่ นํามาประกอบในการตัดสินใจ เลือกซือ้ สินคาได ในประเทศไทยหลายหน ว ยงาน ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนได หั น มาใส ใ จ ในการตรวจสอบย อ นกลั บ สิ น ค า เพิ่มขึ้น สงผลใหผูผลิตหลายๆ ราย เ ร  ง พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ท า ง ด  า น เทคโนโลยี เ พื่ อ ให ส ามารถตอบ สนองความตองการเหลานั้น และยัง สามารถเพิ่มคุณคา สรางเอกลักษณ ให กั บ สิ น ค า ของตนเองได อี ก ด ว ย เชน การปองกันการปลอมแปลงสินคา (Anti-Counterfeit) การควบคุมคุณภาพ สินคา (Quality Control) เปนตน

GS1 Thailand april – june 2019 19


Thailand Newsletter

ECR Corner Article by / บทความโดย : Mayurintr Petchad / มยุรินทร เพชรชัด Edited by / เรียบเรียงโดย : Pimporn Lakpech / พิมพพร หลักเพ็ชร

Supply chain visibility and efficiency เป นส วนสําคัญ ของการดําเนินธุรกิจเกษตรที่ทํากําไรได มีวิธีแก ไขป ญหา ทีห่ ลากหลายสําหรับการติดตามและจัดการห วงโซ อปุ ทาน ตั้งแต การตรวจสอบด วยตนเองไปจนถึงการติดตามแบบ ใช เซ็นเซอร

Supply chain visibility and efficiency is a big part of running a profitable agricultural business. There are a variety of solutions out there for tracking and managing the supply chain that range from manual checks to full sensor-based tracking, but despite advances,

อย่ำงไรก็ตำมในสหรัฐอเมริ กำอำหำรประมำณ 40% ยังคงสูญเปล่ำ และครึ่ งหนึ่งของขยะเกิดขึ ้นระหว่ำงกำรแจกจ่ำย กำรใช้ โซลูชนั่ ที่ใช้ Internet of Things (IoT) ที่ยืดหยุน่ และสมบูรณ์ยิ่งขึ ้นจะสำมำรถช่วย เพิ่มประสิทธิภำพของห่วงโซ่อปุ ทำนที่มีควำมซับซ้ อนสูงส�ำหรับภำค กำรเกษตรได้

About 40% of food is still wasted in the U.S. and half of this waste happens during distribution. Introducing a more flexible and complete Internet of Things (IoT) based approach can help to optimize the highly complex supply chain for agriculture.

เมื่ อ มองลึก ลงไปจะเผยให้ เ ห็ น เครื อ ข่ำ ยที่ ซับ ซ้ อ นอย่ำ งยิ่ ง ส� ำ หรั บ กำรขนส่งปริ มำณมำกและสินค้ ำที่เน่ำเสียง่ำยหลำยประเภทในระยะ ทำงไกลพร้ อมกำรส่งมอบบ่อยครั ง้ ผลิตภัณฑ์ ทำงกำรเกษตร เช่น ผลไม้ ผัก เนื อ้ สัตว์ และผลิตภัณฑ์ นม ได้ รับผลกระทบอย่ำงมำก จำกควำมล่ำช้ ำ กำรแปรผันของอุณหภูมิ และปั จจัยแวดล้ อมอื่นๆ เมื่อเดินทำงจำกฟำร์ มผ่ำนศูนย์แปรรู ปและกระจำยสินค้ ำไปยังลูกค้ ำ ทุกขัน้ ตอนของห่วงโซ่อุปทำนน� ำเสนอจุดอ่อนด้ ำนควำมปลอดภัย ที่อำจเกิดขึ ้น ปั ญหำกำรรวมตัว และอุปสรรคอื่นๆ ซึง่ ท�ำให้ กำรปรับ ห่วงโซ่อปุ ทำนด้ วยเทคโนโลยีเป็ นสิง่ ที่ท้ำทำย

Taking a deeper look reveals an extremely intricate network for transporting huge volumes and many different types of perishable goods over long distances with frequent deliveries. Agricultural products like fruits, vegetables, meats and dairy are highly impacted by delays, temperature variations and other environmental factors as they travel from farms through processing and distribution centers to customers. Every stage of the supply chain introduces potential security vulnerabilities, integration issues and other hurdles, which makes optimizing the supply chain with technology quite a challenge.

ฟำร์ ม บริ ษัทอำหำร ผู้ให้ บริ กำรด้ ำนโลจิสติกส์และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง ในห่ ว งโซ่อุป ทำนสำมำรถได้ รั บ ประโยชน์ อ ย่ ำ งมี นัย ยะส� ำ คัญ กับ กำรด� ำเนิ นงำนที่ เชื่ อมต่อมำกขึน้ Gartner คำดกำรณ์ ว่ำอุปกรณ์ ทำงกำยภำพที่ เ ชื่ อ มต่อ อิ น เทอร์ เ น็ ต จะเพิ่ ม ขึน้ สำมสิบ เท่ำ ภำยใน ปี 2563 ซึ่งจะ “เปลี่ยนแปลงวิธีกำรท�ำงำนของห่วงโซ่อปุ ทำนอย่ำง มีนยั ยะส�ำคัญ” เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอุตสำหกรรมกำรเกษตร มักจะได้ รับควำมได้ เปรี ยบในกำรแข่งขัน

Farms, food companies, logistics operators, and others involved in the supply chain can gain a significant advantage with a more connected operation. Gartner predicts a thirty-fold increase in Internet-connected physical devices by 2020 that will “significantly alter how the supply chain operates.” As technology changes the agriculture industry, it will be important to gain competitive advantage as an early adopter.

กำรเชื่อมโยงแง่มมุ ต่ำงๆ ของห่วงโซ่อปุ ทำนโดยใช้ โซลูชนั่ ที่ใช้ IoT อำจ มีผลกระทบอย่ำงมำกต่อสิง่ ที่ท�ำในกำรเกษตร นี่คือวิธีที่หว่ งโซ่อปุ ทำน ทำงกำรเกษตรจะเปลี่ยนแปลง

Connecting various aspects of the supply chain using IoT-based solutions can have a big impact on how things are done in agriculture. Here are some of the ways the ag supply chain will change:

การจัดการเหตุการณ์ : รูปแบบกำรจัดหำที่คำดเดำไม่ได้ เช่น ควำม ล่ำช้ ำหรื ออุบตั ิเหตุจะถูกระบุอย่ำงรวดเร็ วด้ วยเซ็นเซอร์ แบบเรี ยลไทม์ หรื อหลีกเลี่ยงโดยสิ ้นเชิงตำมแบบจ�ำลองกำรคำดกำรณ์ 20 GS1 Thailand april – june 2019

Incident Management : Unpredictable supply variations like delays or accidents will be quickly identified with real-time sensors or avoided altogether based on predictive models.


วารสารสถาบั น รหั ส สากล

ระเบียบ : ข้ อก�ำหนดด้ ำนคุณภำพ ควำมปลอดภัย และควำมยัง่ ยืน ที่เข้ มงวด จะได้ รับกำรตอบสนองและจัดท�ำเอกสำรได้ ง่ำยขึน้ ด้ วย ข้ อมูลที่ละเอียดและครบวงจร

Regulation : Strict food quality, safety and sustainability requirements will be more easily met and documented with granular, end-to-end data.

การขนส่ง : เส้ นทำงที่เหมำะสมสำมำรถค�ำนวณได้ โดยใช้ กำรจรำจร สภำพอำกำศและข้ อ มูล สภำพแวดล้ อ มอื่ น ๆ เพื่ อ ประหยัด น� ำ้ มัน เชื ้อเพลิงและลดควำมซ� ้ำซ้ อน

Transportation : Optimal routes can be calculated using traffic, weather and other environmental condition data to save fuel and reduce redundancies (Deadhead miles that don’t generate revenue account for up to 10 percent of truck miles, according to the EPA).

ความโปร่งใสของผูบ้ ริโภค : ผู้บริโภคจะรู้ได้ วำ่ อำหำรของพวกเขำมำ จำกไหน โดยมีรำยละเอียดมำกขึ ้น บรรจุภณ ั ฑ์ : กำรเตือนภัยล่วงหน้ ำตำมสภำพปั จจุบนั และประวัตศิ ำสตร์ สินค้าคงคลัง : มีสินค้ ำน้ อยลงในคลังสินค้ ำที่มีกำรตรวจสอบสินค้ ำ คงคลังแบบไดนำมิก กระบวนการ : ห่วงโซ่อปุ ทำนจะเป็ นไปโดยอัตโนมัติ เพื่อให้ สำมำรถ จัดส่งสินค้ ำแบบเรี ยลไทม์ตำมอุปสงค์และอุปทำน ในขณะที่ ห นึ่ ง บริ ษั ท ไม่ ไ ด้ ค วบคุม ซัพ พลำยเชนทัง้ หมด แต่ ผ้ ูเ ล่น แต่ละคนสำมำรถใช้ โซลูชนั่ ซัพพลำยเชนที่เชื่อมต่อซึง่ มีควำมยืดหยุ่น เพียงพอที่จะท�ำงำนกับระบบอื่นได้ งำ่ ย โซลูชนั่ infiswift swiftAg เป็ น ตัวอย่ำงหนึ่งของแพลตฟอร์ มที่ปรั บแต่งได้ ซึ่งช่วยให้ องค์ กรต่ำงๆ สำมำรถสร้ ำงโซลูชนั่ เพือ่ เชือ่ มต่อกำรท�ำงำนของพวกเขำกับซัพพลำยเชน เต็มรู ปแบบและขยำยไปยังพื น้ ที่ กำรเกษตรอื่ นๆ เช่น กำรจัดกำร สิ น ทรั พ ย์ กำรตรวจสอบภำคสนำม กำรแปรรู ป อำหำรและอื่ น ๆ ซึง่ กำรประเมินโซลูชนั่ เป็ นสิง่ ส�ำคัญที่จะต้ องระบุเทคโนโลยีที่สำมำรถ ท� ำ งำนร่ ว มกับ ระบบดัง้ เดิ ม และบุค คลที่ ส ำม สำมำรถปรั บ ขนำด ตำมควำมต้ องกำร เสนอระบบรักษำควำมปลอดภัยทำงอินเทอร์ เน็ต หลำยระดับ ด�ำเนินกำรตำมเวลำจริง และด�ำเนินกำรแม้ วำ่ กำรเชือ่ มต่อ จะล้ มเหลวได้ ห่วงโซ่อปุ ทำนเป็ นพื ้นที่เกษตรกรรมส�ำหรับกำรปรับปรุ งและไม่ต้อง สงสัยเลยว่ำจะเป็ นผู้รับเทคโนโลยี IoT ใหม่เพื่อช่วยขับเคลื่อนกำร เปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ กำรปรับปรุงเหล่ำนี ้จะช่วยให้ เรำสำมำรถเติบโต และส่งมอบอำหำรได้ มำกขึ ้น 70% ตำมทีอ่ งค์กำรอำหำรและกำรเกษตร แห่งสหประชำชำติให้ ไว้ เพื่อรองรับจ�ำนวน 2.3 พันล้ ำนคนที่คำดไว้ ภำยในปี 2593 ซึง่ เทคโนโลยี IoT จะเปลี่ยนห่วงโซ่อปุ ทำนทำงกำร เกษตรและให้ ประโยชน์แก่ผ้ ใู ช้ ในช่วงต้ น

Consumer Transparency : End consumers will know where their food came from with extreme detail if desired via a more transparent supply chain. Packaging : Dynamic best-before dates and early warning of food incidents based on present and historical conditions. Inventory : Fewer out of stock occurrences in warehouses with dynamic inventory monitoring. Process : Ultimately most aspects of the supply chain will be automated so goods can be delivered in real-time based on supply and demand. While one company generally doesn’t control the entire supply chain, each player can implement a connected supply chain solution that is flexible enough to work easily with other systems. The infiswift swiftAg solution is one example of a customizable platform that enables enterprises to build solutions to connect their operation to the full supply chain and even expand to other areas of agriculture like asset management, field monitoring, food processing, and more. When evaluating a solution, it is important to identify technology that can interoperate with legacy and third-party systems, scale to needs, offer several grades of cybersecurity, perform in a real-time manner, and operate even if connectivity fails. The supply chain is an area of agriculture ripe for improvement and will therefore undoubtedly be an early adopter of new IoT technologies to help drive the big changes coming. These improvements will enable us to grow and deliver 70% more food that is needed according to the UN Food and Agriculture Organization to feed the additional 2.3 billion people expected by 2050. IoT technologies will change the agricultural supply chain and give early adopters a significant advantage so makes sure to explore what’s out there soon!

GS1 Thailand april – june 2019 21


งานตัดสินการประกวดบรรจุภณ ั ฑ ไทยครัง้ ที่ 42 ประจําป 2562

THAISTAR PACKAGING AWARDS 2019 และการตัดสินรางวัลพิเศษการประกวดออกแบบบาร โค ดบนบรรจุภณ ั ฑ ป 2562 (Barcode Design Awards 2019) ศูนย ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร างสรรค กรมส งเสริม อุตสาหกรรม ได จดั การตัดสินการประกวดบรรจุภณ ั ฑ ไทยครัง้ ที่ 42 ประจําป 2562 (ThaiStar Packaging Awards 2019) ภายใต หัวข อ “บรรจุภัณฑ เพื่อความยั่งยืน” (Sustainable Packaging) และการตัดสิน รางวัลพิเศษการประกวดออกแบบบาร โค ดบนบรรจุภัณฑ ป 2562 (Barcode Design Awards 2019) ขึน้ เมือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2562 โดยสถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) ได รว มสนับสนุนรางวัลพิเศษ รางวัลการออกแบบบาร โค ดบนบรรจุภัณฑ มาอย างต อเนื่องเป นป ที่ 5 ซึ่งป นี้มีผลงานส งเข าประกวด จํานวนมาก รวมผลงานทุกประเภททัง้ สิน้ กว า 400 ผลงานใน 8 ประเภท และสําหรับป นี้ได มกี ารเพิม่ รางวัล ให กบั ประเภทนักออกแบบอิสระ บนต นแบบบรรจุภณ ั ฑ ใหม ทยี่ งั ไม มวี างจําหน ายในท องตลาด สําหรับสินค า ทั่วไป (New Design Packaging) เพื่อเป ดโอกาสให กับนักออกแบบอิสระได พัฒนาการออกแบบให เป น นักออกแบบบรรจุภัณฑ มืออาชีพ

• ประเภทบรรจุภัณฑ เพื่อการจัดจําหน าย สําหรับสินค าทั่วไป (Consumer Packaging : CP) จํานวน 2 รางวัล ได รบั การยกเว นค าบํารุงสมาชิกบาร โค ด 1 ป พร อมเกียรติบัตร ได แก บริษัท หนึ่งบรรจง จํากัด และ บริษัท ซันไชน อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด

สําหรับป นี้ผลรางวัลการออกแบบบาร โค ดบนบรรจุภัณฑ ป 2562 สถาบั น รหั ส สากลสนั บ สนุ น ทั้ ง สิ้ น 4 รางวั ล ใน 3 ประเภทการประกวด โดยผลงานที่ได รับรางวัลดังนี้ • ประเภทนักเรียน นักศึกษา ต นแบบบรรจุภัณฑ เพื่อการจัดจําหน าย (Student-Consumer Packaging : SC) จํานวน 1 รางวัล เงินรางวัล มูลค า 5,000 บาทพร อมเกียรติบัตร ได แก นายธกร กําเหนิดผล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

• ประเภทนักออกแบบอิสระ บนต นแบบบรรจุภัณฑ ใหม ยังไม มีวางจําหน าย ในท องตลาด สําหรับสินค าทัว่ ไป (New Design Packaging : ND) 1 รางวัล พร อมเกียรติบัตร ในป นี้ คณะกรรมการลงความเห็นว ายังไม มีผลงานใด เข าหลักเกณฑ จึงทําให ไม มีผลงานที่ได รับรางวัล

โดยผลงานที่ ไ ด รั บ รางวั ล การประกวดบรรจุ ภั ณ ฑ ไ ทยและการประกวด ออกแบบบาร โ ค ด บนบรรจุ ภั ณ ฑ ป 2562 ทุ ก ประเภทรางวั ล จะมี พิ ธี ม อบ รางวัลในเดือนมิถุนายน ต อไป



Thailand Newsletter

RFID CORNER Article by / บทความโดย : Clare Swedberg Translated by / แปลโดย : Kornkamon Poksapmongkol / กรกมล โภคทรัพยมงคล Edited By / เรียบเรียงโดย : Mayurintr Petchad / มยุรินทร เพชรชัด

Fresh Food Provider Sees £150,000 Savings With RFID ผูใหบริการอาหารสดพบวาสามารถประหยัดเงิน จํานวน 150,000 ปอนดดวย RFID

Reynolds ได สร างระบบ UHF RFID เพือ่ ติดตามลังประมาณ Reynolds built its own UHF RFID-based system to track 60,000 ตัว ที่ใช บรรจุจัดส งและส งกลับจากลูกค า ซึ่งตอนนี้ its approximately 60,000 reusable crates as they are บริษัทกําลังตรวจสอบวิธีอื่นๆ ที่เทคโนโลยีสามารถช วยได packed, then shipped to and returned from customers; the company is now examining other ways in which the เมือ� ผู้จดั จําหน่ายอาหารสด Reynolds Catering Supplies เปลีย� นจากการใช้ technology could help. กล่องกระดาษแบบใช้ แล้ วทิ �งเพื�อส่งไปยังร้ านอาหาร คาเฟ่ และโรงพยาบาล เป็ นการใช้ ลงั พลาสติกทีท� นทาน นํากลับมาใช้ ใหม่ได้และมีมลู ค่าสูงกว่าลังทัว� ไป หรือทีเ� รียกว่าลังกระจายสินค้ า (tote) แต่การเปลีย� นแปลงนันสร้ � างความท้ าทาย ใหม่ให้ กบั บริษทั ซึง� ให้ บริการด้ านอาหารเกือบ 1 ล้ านลัง ทัว� สหราชอาณาจักร ในแต่ละปี นัน� คือการบริหารจัดการลังเหล่านันและสร้ � างความมัน� ใจว่าพวกเขา จะได้ รบั ลังกระจายสินค้ าคืน บริษทั ตัดสินใจทีจ� ะสร้ างโซลูชนั� ทีใ� ช้ เทคโนโลยี RFID และใช้ ทมี ไอทีของบริษทั เองเพื�อสร้ างซอฟต์แวร์ ที�สามารถเชื�อมโยงเข้ ากับระบบการวางแผนจัดการ ทรัพยากรองค์กรได้ (ERP) โดยระบบใช้ เครื�องอ่าน RFID แบบ fixed จากบริษทั Impinj และทํางานร่วมกับบริษทั Avery Dennison เพือ� ระบุแท็ก (Tag) ทีท� นทาน และมีประสิทธิภาพทีส� ดุ สําหรับจุดประสงค์ดงั กล่าว

ผลลัพธ์คอื ระบบทีร� ะบุได้ โดยอัตโนมัตเิ มือ� แต่ละลังถูกบรรจุตามคําสัง� รวมถึง เวลาทีท� าํ การจัดส่งและส่งกลับคืน ด้ วยข้ อมูลดังกล่าว บริษทั สามารถระบุได้ ว่าลังเหล่านันจั � ดส่งสิ �นสุดอยูท่ ี�ใดหรื อหายไปไหนและสามารถระบุปัญหาที� เกิดขึ �นได้ Richard Calder ผู้อาํ นวยการฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศของ Reynolds กล่าวว่า เนือ� งจากได้ทดลองระบบกับลูกค้าบางส่วนเมือ� หนึง� ปี ทแี� ล้ว พบว่าระบบ นี �ช่วยให้ บริษทั ประหยัดได้ ประมาณ 150,000 ปอนด์ (หรือ 197,000 ดอลล่าร์) ในต้ นทุนของการเปลีย� นลังกระจายสินค้ า โดยเขากล่าวว่า “เรามีความมัน� ใจ เมื�อลังกระจายสินค้ าพลาสติกนี �ถูกนํามาใช้ งานกับลูกค้ าทังหมดจะทํ � าให้ ประหยัดค่าใช้ จา่ ยรายปี ได้ เกินกว่า 350,000 ปอนด์” นอกจากนี �เทคโนโลยี นี �สามารถใช้ เพือ� ติดตามคําสัง� ซื �ออาหารได้ ในอนาคตอีกด้ วย 24 GS1 Thailand april – june 2019

When fresh food distributor Reynolds Catering Supplies transitioned out of using disposable cardboard boxes for delivery to its restaurants, cafés and hospital customers, it introduced a more durable, reusable and higher-value plastic crate, also known as a tote. But that transition created a new challenge for the company, which delivers nearly 1 million crates of food across the United Kingdom each year: namely, managing those totes and ensuring that they are returned. The company decided to create a solution employing RFID technology, and used its own IT team to create software that can be integrated with its own enterprise resource planning (ERP) system. It acquired fixed RFID readers from Impinj and worked with Avery Dennison to identify the most durable and effective tag for that purpose. The result is a system that automatically identifies when each crate is packed according to a specific order, as well as when it is shipped and when it returns. Armed with that data, the company can now identify where its totes end up delayed or missing, and thus address the problem. Since the system was taken live with some of its customers one year ago, says Richard Calder, Reynolds’ IT director, it has saved the firm approximately £150,000 ($197,000) in the cost of replacement totes. “We are confident when the plastic totes are fully rolled out to all clients that the annual savings will be in excess of £350,000,” he says. In addition, the technology could be used in the future to track food orders. Reynolds is one of the United Kingdom’s leading suppliers of fresh produce and dairy products for the food-service and catering industries. The company began investigating RFID after its customers requested a non-disposable container for food deliveries. Cardboard boxes required that restaurants or other meal providers dispose of the containers, which was an added expense for them. Reynolds responded to the


วารสารสถาบั น รหั ส สากล

Reynolds เป็ นหนึง� ในซัพพลายเออร์ของสหราชอาณาจักรทีเ� ป็ นผู้นาํ ทางด้ าน อาหารสดและผลิตภัณฑ์นมสําหรับอุตสาหกรรมบริ การอาหารและจัดเลี �ยง บริษทั เริ�มตรวจสอบระบบ RFID หลังจากลูกค้ าได้ ร้องขอให้ ใช้ วสั ดุจดั ส่งอาหาร แบบนํากลับมาใช้ ใหม่ได้ สําหรับกล่องกระดาษแข็งนันร้ � านอาหารหรื อผู้ให้ บริการอาหารอืน� ๆ เมือ� ใช้ เสร็จแล้วต้องกําจัดทิ �งซึง� เป็ นค่าใช้ จา่ ยเพิม� เติมสําหรับ พวกเขา Reynolds ตอบรับคําขอนี �ด้ วยการใช้ ลงั พลาสติกซึง� มีราคาน้ อยกว่า 5 ปอนด์ตอ่ ชิ �น (หรือ 6.66 ดอลล่าร์) คนขับรถของ Reynolds ส่งมอบผลิตภัณฑ์ ทีบ� รรจุอยูใ่ นลังแล้วใช้ ลงั เปล่าในการส่งมอบตามคําสัง� ซื �ออาหารทีแ� จ้ งมา ลังกระจายสินค้ า (tote) ได้ ทําการเปิ ดตัวพร้ อมกับลูกค้ ารายใหญ่ที�สดุ ของ Reynolds ซึ�งส่วนใหญ่เป็ นเช่นร้ านอาหารและขยายไปยังลูกค้ ารายอื�นๆ ในเวลาต่อมาเกิดปัญหาขึ �นเมือ� มีลงั บางส่วนทีไ� ม่สามารถนํากลับไปยังศูนย์กลาง ของ Reynolds ซึง� ตังอยู � ใ่ นเมือง Waltham Cross ได้ Calder กล่าวว่า “เมื� อเวลาผ่านไป อัตราการสูญเสียก็เกิดขึ �นและเราพบว่า มี ห ลุม ดํ า ที� ดู เ หมื อ นทํ า ให้ ลัง กํ า ลัง จะจบลง” เขากล่าวว่าปัญหาไม่ได้ถกู แยก ออกจาก Reynolds เขาได้ ตงข้ ั � อสังเกต เนื�องจากบริ ษัทอื�นๆ ในอุตสาหกรรม การจัดส่งอาหารมีปัญหาแบบเดียวกัน ในการบริ หารจัดการบรรจุภณ ั ฑ์ที�นํา กลับมาใช้ ใหม่ได้

เครือ่ งอ าน Impinj เหนือแท นโหลดสินค า

Calder กล่าวว่า “นัน� คือสิ�งที�ทําให้ เราคิดได้ เกี�ยวกับสิ�งที�เราสามารถทําได้ เพื�อติดตามลังกระจายสินค้ าอย่างมีประสิทธิ ภาพ สิ�งสําคัญสําหรั บเรา คือ การสามารถพูดกับลูกค้ าของเราว่า ‘ขอโทษนะครับ คุณยังไม่ได้ คนื ลัง’ แต่เรา ต้องการระบบทีแ� ข็งแกร่งเพือ� ให้สามารถทําเช่นนันได้ � ” ในความเป็ นจริงนัน� บริษทั ไม่สามารถมัน� ใจได้ วา่ ใครล้มเหลวในการส่งคืนลังหรือลังนันส่ � งไปทีไ� หน การพัฒนาของ Reynolds ประกอบด้ วยการสร้ างซอฟต์แวร์เพือ� จัดการข้ อมูล แท็ก RFID ที�รวบรวมมา จากนันแบ่ � งปั นข้ อมูลนันกั � บระบบ ERP ที�มีอยู่ เริ�มต้นด้วยการทดสอบแท็ก UHF และตําแหน่งแท็ก UHF รวมถึงวิธกี ารอ่านแท็ก ทีส� ามารถเชือ� มโยงกับการสแกนบาร์โค้ ดของใบคําสัง� จัดส่ง บริษทั ทํางานอย่าง ใกล้ ชดิ กับ Avery Dennison ในการระบุตวั แท็ก ไม่เพียงแต่ใช้ แท็กทีด� ที สี� ดุ แต่ ยังใช้ กาวทีด� ที สี� ดุ เพือ� ให้ มนั� ใจว่าแท็กสามารถทนทานต่อการทําความสะอาด โดยตัดสินใจว่าการกําหนดค่าทีด� ที สี� ดุ คือการใช้สองแท็กทีม� หี มายเลข EPC UHF RFID เดียวกันวางไว้ ทดี� ้ านตรงข้ ามของบริเวณด้ านล่างของแต่ละลังซึง� ผู้ผลิตลัง กระจายสินค้ ากําลังดําเนินการติดตังแท็ � กทีต� ้ นกําเนิด ปั จจุบนั เมื�อแต่ละลังใช้ ระบบ RFID ติดตามกระบวนการบรรจุ การจัดส่ง และการส่งคืน ขันตอนแรกทุ � กลังจะเชือ� มโยงกับคําสัง� ซื �อของลูกค้ าทีม� กี ารพิมพ์ บาร์ โค้ ดบนสติกเกอร์ กระดาษทีใ� ช้ กบั ด้ านข้ างของลัง จากนันลั � งจะเคลือ� นลง สายพานลําเลียง ซึง� บรรจุด้วยรายการอาหารทีต� ้องการ เครื�องอ่าน Impinj ทีต� ดิ ตัง� ใต้ สายพานลําเลียงจะอ่านแท็กบนลังในขณะทีเ� ครื�องสแกนบาร์ โค้ ดจะสแกน รหัสประจําตัวของการจัดส่งทีด� ้ านข้ างของลังเดียวกัน ด้ วยวิธีนี �ข้ อมูลของลัง จะสามารถเชือ� มโยงกับคําสัง� ซื �อและลูกค้ าได้

request with the plastic tote, which costs less than £5 ($6.66) apiece. Reynolds’ drivers deliver products loaded in the totes, then pick up the empty totes on subsequent deliveries of food orders. The totes were launched with some of Reynolds’ largest customersprimarily restaurant chains-and were expanded to other customers throughout the following months. A problem soon arose, however, as not all totes found their way back to Reynolds’ central DC, located in the city of Waltham Cross. “Over time,” Calder says, “the scale of the loss emerged, and we found there was a black hole where the crates seemed to end up.” The problem isn’t isolated to Reynolds, he notes, as many other companies in the food-delivery industry have expressed having the same problem managing reusable containers.

An Impinj reader above a loading dock.

“That’s what set us to thinking about what we could do to track and trace them effectively,” Calder recalls. “The crucial thing for us was to be able to say to our customers, ‘Hang on, you haven’t returned your crates,’ but we needed a robust system to be able to do that.” In fact, the company could not be sure who was failing to return the crates, or where those crates were going. Reynolds’ development consisted of building software to manage collected RFID tag data, and to then share that information with the existing ERP system. It began testing UHF RFID tags and tag placements, as well as how tag reads could be linked to bar- code scans of shipment orders. The firm worked closely with Avery Dennison to identify not only the best tag, but also the best adhesive, in order to ensure that the tag could withstand numerous washing cycles. It determined that the best configuration was two tags with the same EPC UHF RFID number, placed on opposing sides of the bottom of each crate. The crate manufacturer is applying the tags at the source. Now, as each crate is used, the RFID system tracks the packing, shipping and return processes. First, every crate is linked to a specific customer order that is printed, along with a bar code, on a paper sticker applied to the side of the crate. The crate then travels down a GS1 Thailand april – june 2019 25


Thailand Newsletter

RFID CORNER

conveyor, where it is loaded with the requested food items. An Impinj reader installed under the conveyor reads the tags on the crate, while a bar-code scanner scans the shipment order’s ID on the side of the same crate. In that way, the specific crate can be linked to the particular order and customer.

ลังที�บรรจุแล้ วจะถูกย้ ายไปยังพื �นที�จดั เตรี ยมก่อนที�จะทําการโหลดขึ �นบน รถบรรทุกผ่านประตู 1 ใน 19 ประตู ซึง� ประตูแต่ละบานจะติดตังเครื � �องอ่าน Impinj อีกตัวหนึง� เมื�อลังเคลือ� นผ่านประตูไปยังยานพาหนะแท็กจะถูกอ่าน อีกครัง� และข้ อมูลจะถูกส่งไปยังซอฟต์แวร์ซงึ� จะอัพเดตสถานะตามทีจ� ดั ส่ง ลัง จะถูกส่งโดยตรงไปหาลูกค้าภายในสหราชอาณาจักรหรือหนึง� ในแปดคลังสินค้า ภายในภูมิภาคซึง� หลังจากนันลั � งจะถูกบรรจุใหม่ในยานพาหนะขนส่ง โดยที� คลังเก็บสินค้ าจะไม่อา่ นแท็ก RFID

The loaded crates are moved into a staging area before being loaded onto a truck through one of 19 doors, above each of which another Impinj reader is mounted. As the crates pass through the doors onto the vehicles, their tags are read again, and the data is transmitted to the software, thereby updating the status as shipped. The crates are delivered either directly to a customer within the United Kingdom, or to one of eight regional depots, after which they are reloaded onto a delivery vehicle. The depots do not read the RFID tags.

เมื�อลังเปล่าถูกส่งคืนจากลูกค้ ามาถึงศูนย์กระจายสินค้ าและผ่านประตู 1 ใน 19 ประตู แท็กจะถูกตรวจสอบอีกครัง� โดยซอฟต์แวร์ สามารถระบุได้ วา่ ลังถูกส่งคืนแล้ ว เพือ� ทีล� กู ค้ าจะไม่ต้องรับผิดชอบลังเหล่านันอี � กต่อไป และเมือ� ล้ างลังเปล่าแล้ วเจ้ าหน้ าที� จะทํ าการวางซ้ อนกันและใช้ เครื� องอ่านแบบ มื อ ถื อ สแกนเพื� อ ให้ แน่ ใ จว่ า แท็ ก ทั ง� หมดยั ง คงทํ า งานอยู่ Calder กล่ า วว่ า หลั ง จากใช้ ระบบเป็ นเวลาหนึ� ง ปี บริ ษั ท ไม่ เ กิ ด ความ ล้ ม เหลวขึ น� เลยแม้ เ พี ย งแท็ ก เดี ย ว ส่ ว นที� ท้ า ทายที� สุด ของการติ ด ตัง� ระบบ RFID นัน� คือการเชื�อมโยงการสแกนบาร์ โค้ ดบนฉลากบรรจุภณ ั ฑ์ แต่ละอันกับแท็ก RFID บนลังระหว่างกระบวนการบรรจุ

When a crate is returned empty from a customer, it arrives at the DC and passes once more through one of the 19 dock doors, and the tag is again interrogated. The software can then indicate the crate has been returned so that the customer will no longer be held responsible for that crate. Once the emptied crates have been washed, personnel stack them and use a handheld scanner to ensure that all tags are still operating.

ด้ วยระบบทีด� าํ เนินการอย่างสมบูรณ์ การจัดการสามารถใช้ ข้อมูลทีเ� ก็บรวบรวม มาเพือ� ระบุวา่ ลูกค้ ารายใดไม่สง่ คืนลังตรงเวลา จากนันสามารถติ � ดต่อลูกค้ า เหล่านัน� เพื�อขอข้ อมูลเกี� ยวกับลังที�หายไปได้ และหากเกิดเหตุการณ์ ขึน� หลังจากนี �ลูกค้ าสามารถระบุปัญหาทีอ� าจเกิดขึ �นและแก้ ไขปั ญหาได้

After using the system for a year, Calder says, the company has not had a single tag fail. The most challenging part of the RFID installation, he reports, was linking the bar-code scan of each packing label with the RFID tag on the crate during the packing process.

Calder ระบุวา่ โซลูชนั� RFID นันมี � ราคาไม่แพงในการประยุกต์ใช้ และบริษทั ได้รบั ผลตอบแทนจากการลงทุนภายในไม่เกินสามเดือน ซึง� ขึ �นอยูก่ บั การป้องกัน การสูญเสียของลัง ตัวลังนันมี � ราคาน้ อยกว่า 5 ปอนด์ตอ่ ชิ �น ส่วนกล่องกระดาษ แข็งแบบใช้ ครังเดี � ยวราคา 40 เพนนี (53 เซนต์) ด้ วยเหตุนี �บริษทั จึงจําเป็ นต้ อง นําลังมาใช้ ใหม่อย่างน้ อย 10 ถึง 12 ครัง� เพือ� ขจัดค่าใช้ จา่ ยของแต่ละลัง เขา เสริมว่า บริษทั สามารถนําลังมาใช้ ซํ �าได้ หลายครังมากกว่ � านันด้ � วยระบบ RFID

With the system fully implemented, management can use the collected data to identify which customers are not returning crates on time. It can then contact those customers with specific information about which crates went missing and when this occurred, after which those customers can identify where the crates in question might be, and thus address the problem.

ในขณะเดียวกัน ลูกค้ ากําลังประหยัดเงิน โดยการใช้ ลงั ทีน� าํ กลับมาใช้ ใหม่ได้ แทนที� จะจ่ายเงินเพื�อใช้ กระดาษแข็งรี ไซเคิล ระบบดังกล่าวช่วยให้ พวกเขามัน� ใจได้ ว่าลูกค้ าได้ รับเครดิตสําหรับแต่ละลังที� ส่งคืนด้ วยการใช้ โซลูชั�นนี � Reynolds สามารถลงนามข้ อตกลงกับลูกค้ า ทําให้ พวกเขาสามารถใช้ ลงั ได้ฟรีโดยไม่ต้องเสีย ค่าใช้ จา่ ยตราบใดทีพ� วกเขาคืนลังใช้ แล้ ว ในอัตราเกือบ 100% สําหรับลูกค้ าบาง รายทีไ� ม่สามารถตอบสนองความต้ องการ ได้ ก็ ส ามารถเปลี� ย นกลับ ไปใช้ ก ล่อ ง กระดาษแข็งได้

The RFID solution was inexpensive to deploy, Calder indicates, and the company achieved a return on its investment within fewer than three months, based on the prevented loss of crates. The crates themselves cost somewhat less than £5 apiece, while the single-use cardboard boxes are priced at 40 pence (53 cents). With that in mind, the company needs to reuse the crates at least 10 to 12 times in order to pay back the cost of each crate. With the RFID system, he adds, the firm can reuse the crates many more times than that.

26 GS1 Thailand april – june 2019

In the meantime, customers are saving money by using the reusable crates rather than paying to have cardboard recycled. The system enables them to be sure they are credited for each returned crate.


วารสารสถาบั น รหั ส สากล

Calder กล่าวว่า ปั จจุบนั บริษทั มีลงั ทีน� าํ กลับมาใช้ ใหม่ได้ ประมาณ 50,000 ถึง 60,000 ลัง โดยมีการส่งมอบลังพลาสติกประมาณ 20,000 ลังต่อสัปดาห์ เขากล่าวว่า บริ ษัทกําลังพิจารณาวิธีอื�นๆ ที�สามารถใช้ ระบบหรื อขยายการ เข้ าถึงได้ ตัวอย่างเช่น Reynolds สามารถติดตังเครื � �องอ่าน RFID ในรถบรรทุก ขนส่งสินค้า เชือ� มโยงข้ อมูลทีอ� า่ นได้กบั ตําแหน่ง GPS ของยานพาหนะแต่ละคัน เพือ� ให้ ระบบทราบเวลาและสถานทีท� สี� ง่ มอบลัง ด้ วยรหัสใบสัง� ซื �อทีเ� ชื�อมโยง กับลัง บริษทั จึงสามารถระบุได้ วา่ จะต้ องส่งมอบผลิตภัณฑ์ใดและเมือ� ไหร่ บริษัทอาจเลือกทีจ� ะทดสอบเทคโนโลยีกบั รถโฟล์คลิฟท์ทศี� นู ย์กระจายสินค้ า ในสถานการณ์สมมตินนั � รถโฟล์คลิฟท์แต่ละคันจะมีแท็ก RFID ติดอยูแ่ ละ เครื�องอ่านภายในคลังสินค้ าสามารถจับตําแหน่งของรถโฟล์คลิฟท์ทเี� คลือ� นที� อยูไ่ ด้ ทวั� ทังโรงงาน � ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั กิ ารสามารถดูตาํ แหน่งของรถโฟล์คลิฟท์ และสัง� งานสําหรับการเลือกหยิบสินค้ าไปยังคนขับรถโฟล์คลิฟท์ในบริ เวณ ทีใ� กล้เคียงทีส� ดุ ของสินค้ าทีต� ้ องการได้

By using the solution, Reynolds can sign agreements with customers enabling them to use the crates at no cost, as long as they return used crates at a near-100 percent rate. Those who cannot meet that demand could be transitioned back to cardboard boxes. Currently, Calder reports, the company has between 50,000 and 60,000 reusable crates in circulation, with delivery of about 20,000 plastic crates per week. He says the company is now considering other ways in which it can use the system or expand its reach. For instance, Reynolds could install RFID readers in delivery trucks, linking read data with each vehicle’s GPS location, so that the system knows when and where the crate was delivered. Since the packing order ID is linked to the crate, the firm could also identify which products were delivered and when this occurred. The company might also opt to test the technology on forklifts at the DC. In that scenario, each forklift could have an RFID tag attached to it, and readers inside the warehouse could capture the locations of forklifts moving throughout the facility. Operations managers could then view the forklift’s locations and send tasks for the picking of items to the driver within the closest vicinity of the products requested.

GS1 Thailand april – june 2019 27


Thailand Newsletter

GS1 Society บทความโดย : ฝายสมาชิก ที่มา : https://www.salika.co/2018/05/19/cp_difital_agriculture-2018/

การเกษตร 4.0

ในยุคดิจท ิ ล ั ตองกาวไปขางหนาอยางรวดเร็ว เพือ ่ รับมือกับการเปลีย ่ นแปลงของโลก ความท าทายในการขับเคลื่อนประเทศไทยในช วงเวลานี้คงไม มีอะไรสําคัญ ไปกว าการเปลี่ยนแปลงแบบติดจรวดของยุคดิจิทัลที่รุกคืบเข ามา และปฏิวัติ ประเทศในแทบทุกด าน ซึง่ รวมไปถึงภาคการเกษตรไทยที่ได รบั โจทย วา จะปรับ ทิศทางไปอย างไรเพื่อรองรับการเข าสู ยุคดิจิทัลเต็มรูปแบบ ศุ ภ ชั ย เจี ย รวนนท์ ประธานคณะผู้ บริ ห าร เครือเจริญโภคภัณฑ์ และประธานคณะกรรมการ บริ หาร บมจ.ทรู คอร์ ปอเรชัน� ได้ ให้ ข้อมูลอัพเดท ของภาคการเกษตรไทยในมุมมองของเขาผ่าน บทความเรื� อง “การเกษตร ยุคดิจิทัล รองรับ การเปลี่ยนแปลงของโลก” เมื� อ พู ด ถึ ง ภาคเกษตรกรรม ถื อ ว่ า เป็ นการ พู ด คุ ย ถึ ง เรื� อ งที� ยิ� ง ใหญ่ เพราะการเกษตร เป็ นรากฐานหลักของประเทศ มี ค วามสํา คัญ ไม่น้อยไปกว่าภาคท่องเทีย� วและภาคอุตสาหกรรม ทว่าต้ องยอมรั บว่าระบบเกษตรของไทยยังอยู่ ในยุค 1.0 – 1.5 เกษตรกรไทยส่วนใหญ่ ไม่มี เทคโนโลยี ไม่มีการบริ หารจัดการ ไม่มีการตลาด ไม่มีทุน ไม่มีองค์ความรู้ อีกทังยั � งมีความเสี�ยง จากโรคระบาด ภัยธรรมชาติ ความผันผวนของ ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ (Commodities) เกษตรกร

28 GS1 Thailand April – june 2019

จึงมีหนี �สินล้ นพ้ นตัว เป็ นปั ญหาสําคัญที�ทําให้ ประเทศไทยยังติดอยู่ในกับดักรายได้ ปานกลาง (Middle Income Trap) เราจะไม่สามารถก้ าว หลุดจากการเป็ นประเทศกับดักรายได้ ปานกลาง ได้ ถ้ายังไม่ปรับปรุงเปลี�ยนแปลงภาคเกษตร แต่นับจากนี � ทิศทางการเกษตรของไทยกํ าลัง จะเปลี�ยนแปลง (Transformation) ตามการ ขับเคลื�อนของโลกยุคดิจิทลั และปรากฏการณ์ น่าสนใจซึ�งคาดว่าจะเกิดขึ �นกับภาคการเกษตร ไทยมี 9 ด้ านด้ วยกันได้ แก่

ด านแรก ดาวเทียมเพื่อการเกษตร

จะเป็ นเทคโนโลยี เ ข้ ามาเปลี� ย นโลกอย่ า ง แท้ จ ริ ง หลัง จากมี Google Map ซึ�ง จัด เป็ น ระบบ Satellite ที�ค้นหาสถานที�ต่างๆ ได้ อย่าง แม่นยํา ถ้ านําดาวเทียมเข้ ามาใช้ ในระบบเกษตร

การเปลี�ยนแปลงจะเกิดขึ �นมหาศาล โดยเฉพาะ อย่ า งยิ� ง การที� จ ะบอกได้ ว่ า ที� ดิ น ในพื น� ที� นั น� เหมาะกับอะไร ปั จจุบนั ระบบดาวเทียมสามารถ ถ่ายรูปได้ ชดั ถึงเฉดสีที�ระบุได้ ถงึ แร่ธาตุสภาพดิน และความพร้ อมของดินแค่ไหนในเวลาเดียวกัน ระบบดาวเทียมยังช่วยในการวางแผนเพาะปลูก ที� แม่นยํ ารวมไปถึงการบริ หารจัดการด้ านการ เก็ บเกี� ยวและผลผลิตจะเป็ นประโยชน์ ต่อการ วางแผนแก้ ปั ญหา สิ น ค้ าเกษตรล้ นตลาด และการอุดหนุนราคาจากภาครัฐ

ด านที่ 2 คือ การวางแผนจัดการพืน้ ที่

เป็ นอี ก แนวโน้ มที� จ ะเกิ ด ขึ น� และสร้ างความ เปลี�ยนแปลงให้ ภาคเกษตร การวางแผนจัดการ พื �นที�หรื อโซนนิ�งพื �นที�เพาะปลูกให้ เหมาะสมกับ สภาพภูมิศาสตร์ และความต้ องการของตลาด จะทําให้ ประเทศไทยมัง� คัง� เกษตรกรรํ� ารวย


GS1 Society

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

ด านที่ 3 คือ การบริหารจัดการนํ้า โดยใช นวัตกรรม Internet of Things หรือ IoT

เนื�องจากนํ �า หรื อ ระบบชลประทาน ถือเป็ นหัวใจ ในการพัฒนาภาคเกษตร และสาเหตุที�เกษตรกร ไทยส่วนใหญ่ทยี� งั ยากจนก็เพราะมีปัญหาเรื�องนํ �า ทําให้ ได้ ผลผลิตที�ไม่ดี หากสามารถนํานวัตกรรม การจัดการนํ �ามาช่วยวางแผนการทําการเกษตร ให้ มปี ระสิทธิภาพมากยิง� ขึ �น ก็จะช่วยแก้ ปัญหาได้

ระบบ Social enterprise หรื อ วิ ส าหกิ จ ด า นที่ 4 เป น เรื่ อ งของการพั ฒ นา ชุ ม ชน เข้ ามาเป็ นโมเดลที� ใ ห้ เกษตรกร เป็ นผู้ถือหุ้น สร้ างสรรค์ธุรกิจใหม่ที�เรี ยกว่า เมล็ดพันธุ และดิน เพราะการเกษตรจะประสบความสํ า เร็ จ Service Farming หรื อ Smart Farming ขึ �น ได้ ต้ อ งมี เ มล็ ด พัน ธุ์ แ ละดิ น ที� ดี เ หมาะกั บ การ มาทดแทน สามารถตอบโจทย์ความยัง� ยืนให้ เพาะปลูก การเตรี ยมดินมีความสําคัญถื อเป็ น กับเกษตรกร และยังสร้ างเกษตรกรรุ่ นใหม่ที� เกษตรอุตสาหกรรมในยุคใหม่ ถ้ าไม่เตรี ยมดิน เป็ น Start up อีกด้ วย ให้ เหมาะสม ผลผลิตก็ จะไม่ได้ ตามที� ต้องการ แข่งขันกับต่างประเทศไม่ได้ ปั จจุบนั เราก้ าวทัน ด านที่ 6 คือ การตรวจสอบย อนกลับ เทคโนโลยีในการปรับปรุ งดินแล้ ว โดยส่วนใหญ่ และเครือข ายการเก็บข อมูล � าวได้ วา่ จะทํ า ในไร่ น าหรื อ ฟาร์ ม ที� มี ข นาดใหญ่ ที� เ รี ย ก สําหรับภาคการเกษตรนันสามารถกล่ ว่า Mega farming แต่ในเมืองไทยขนาดของไร่ การตรวจสอบย้ อนกลับ เป็ นเรื� องที�ยิ�งใหญ่ นาเป็ นแปลงเล็ก หากต่างคนต่างทําจะมีต้นทุน และสํ า คัญ มากในยุ ค 4.0 ที� ก ล่ า วกั น ว่ า สูงมาก ถือเป็ นอีกประเด็นสําคัญที�ทกุ ภาคส่วน เทคโนโลยี จ ะเปลี� ย นโลก ปั ญ หาของภาค ทีเ� กีย� วข้ องต้ องเข้ ามาจัดการเพือ� ช่วยเกษตรกรไทย เกษตรที�เกิดขึ �นในปั จจุบนั หลายเรื� องเกิดจาก การขาดเรื� อ งการตรวจสอบย้ อ นกลับ เช่ น ด านที่ 5 การรับจ างการทําเกษตรกับ ปั ญหาประมงไทย ต่อไปจะเกิ ดวิทยาการ การทําการเกษตรพันธสัญญา ใหม่ที�เรี ยกว่า Blockchain หรื อเครื อข่าย ท่า มกลางการเปลี� ย นแปลงของโลก แนวโน้ ม การเก็บข้ อมูล จะมีการส่งต่อข้ อมูลแบบใหม่ การเกษตรยุค ใหม่ จ ะเป็ นฟาร์ ม ขนาดใหญ่ ใ น รู้ ได้ ถึงที�มาที�ไปสามารถตรวจสอบแหล่งที�มา ต่ า งประเทศ ถ้ าเป็ นแถบยุ โ รปจะทํ า เกษตร อาหารและสร้ างความโปร่ ง ใสในการผลิ ต รูปแบบ “สหกรณ” (Co-Op) โดยความสําเร็จเกิด ที� ไ ด้ เ ข้ า ไปเกี� ย วข้ อ งกับ ผู้มี ส่ว นได้ ส่ว นเสี ย ขึ �นจาก Entrepreneur Spirit ของผู้นําสหกรณ์ จํานวนมาก ตลอดห่วงโซ่อาหารเป็ นไปตาม ซึง� แตกต่างจากประเทศไทย ส่วนในสหรัฐอเมริกา ภายใต้ หลักการสากลเพือ� ได้ สนิ ค้ าทีม� คี ณ ุ ภาพ ประสบความสําเร็ จจาก “เกษตรพันธสัญญา” และปลอดภัยเป็ นมิตรกับสิ�งแวดล้ อมและไม่ (Contract Farming) และ Mega farm เพราะ ละเมิดสิทธิมนุษยชน สามารถเข้ า ถึ ง เทคโนโลยี ก ารตลาดและการ บริ ห ารจัด การจํ า นวนเกษตรกรลดลงโดยถูก ด านที่ 7 การเพิ่มมูลค าให สินค า ดูดซับไปยังอุตสาหกรรมต่างๆ และการบริ การ เกษตร ด วยการแปรรูป ทําให้ ไม่เกิดปั ญหาสังคมเนื�องจากสหรัฐอเมริ กา สิ น ค้ าเกษตรของไทยนั น� เป็ นที� ย อมรั บ ในเรื� องคุณภาพ แต่ยงั ขาดเรื� องการเพิม� มูลค่า เป็ นประเทศขนาดใหญ่ การสร้ างแบรนด์และการสร้ างสรรค์นวัตกรรม แต่สําหรับประเทศไทยการพัฒนาภาคเกษตรให้ รวมถึ ง การแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตรไทยซึ� ง จะ ก้ าวไปกับการเปลี�ยนแปลงของโลกโดยนําระบบ ช่ ว ยเสริ ม ศัก ยภาพสิ น ค้ า เกษตรไทยให้ ไ ป � �มหาวิทยาลัยซึง� มีความ สหกรณ์ และ/หรื อเกษตรพันธสัญญามาใช้ อาจ ไกลถึงระดับโลก ทังนี จะมีปัญหา โดยเฉพาะระบบเกษตรพันธสัญญา สามารถในการสร้ างสรรค์ น วัต กรรมและ เนื�องจากประเทศไทยมีขนาดเล็ก การอพยพหรื อ ภาคเอกชน ซึ� ง มี ค วามสามารถทางการ ย้ ายแรงงานภาคเกษตรไปสู่อุตสาหกรรมอื� นๆ ตลาดและการสร้ างแบรนด์ ค วรร่ ว มมื อ กัน หรื อ การบริ การอาจไม่สามารถรองรั บได้ อย่าง เพือ� เสริมศักยภาพให้ กบั สินค้ าเกษตรของไทย พอเพี ย ง ด้ ว ยเหตุนี จ� ึง เกิ ด แนวคิ ด ใหม่โ ดยนํ า

ด านที่ 8 คือ การวิจัยและพัฒนา ด านเกษตรและอาหาร

ประเทศไทยจะก้ า วไกลจะเป็ นแผ่ น ดิ น ทอง ด้ านเกษตรในยุค 4.0 ได้ จะต้ องให้ ความสําคัญ กั บ เรื� อ งการวิ จั ย และพัฒ นา จะต้ องดึ ง คน เก่ง (Talent) ระดับโลก เชิญนักวิทยาศาสตร์ ระดับโลกด้ านไบโอเทคโนโลยีที�เกี�ยวกับเกษตร และอาหารเข้ ามาในเมืองไทย เพื�อช่วยในการ Transform ด้ านการเกษตรของประเทศไทย ให้ รับกับการเปลี�ยนแปลงของโลกและที�สําคัญ ต้ องทําให้ เมืองไทยเป็ นศูนย์กลางด้ านการวิจยั และพัฒนาด้ านเกษตรและอาหารในภูมิภาค ให้ ได้

บทสรุปที่ คุณศุภชัย เน นยํ้าว า ต องทําให เกิดขึ้นให ได นั่นคือ ความยั่งยืนและการใช ที่ดิน (Sustainability & Land Use)

โลกในยุค ใหม่ที� เ รี ย กว่า 4.0 ขับ เคลื� อ นโดย คนรุ่ น ใหม่ ที� เ ชื� อ ในเรื� อ งความยั�ง ยื น ทุก คน ต้ องการเห็นความยัง� ยืน นี�คือมุมมองของโลก องค์กรระดับโลก คนเก่งระดับโลก ทุกคนต่าง ตระหนักถึงความยัง� ยืน องค์กรมีกําไรแต่ไม่มี เป้ าหมายด้ า นความยั�ง ยื น ก็ จ ะไม่ ยั�ง ยื น ใน ที� สุด ดังนัน� ในการพัฒนาภาคเกษตรไทยจะ ต้ องยึดหลักการพัฒนาที�ยงั� ยืน เพื�อให้ เติบโต อย่างยัง� ยืนไปพร้ อมกับทุกภาคส่วน รักษาสมดุล ทังด้ � านเศรษฐกิจ สังคม และสิง� แวดล้ อม เพือ� ให้ โลกใบนี �อยูไ่ ด้ อย่างมีความสุข ทีส่ ดุ แลว มุมมอง การเกษตร 4.0 ในฐานะ ผูป ระกอบการทีม่ ปี ระสบการณในการบริหาร องคกร ซึง่ อยูค ก ู บั ภาคเกษตรกรรมไทยมาเปน เวลาหลายสิบปนี้ นาจะชวยเปดมุมมองให ทั้ ง ป จ เจกบุ ค คล ที่ เ ป น เกษตรกร เหล า SMEs ผูป ระกอบการรายเล็กรายใหญรวมถึง หนวยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วของในการพัฒนาดาน การเกษตรของไทย ใหตระหนักถึงการปรับตัว ทีจ่ าํ เปนเพือ่ ใหการเกษตรไทยอยูร อด และ รุง ไดในยุคดิจทิ ลั อยางภาคภูมิ GS1 Thailand april – june 2019 29


Thailand Newsletter

Techno Sharing Article by / บทความโดย : IoT News Translated by / แปลโดย : Kornkamon Poksapmongkol / กรกมล โภคทรัพยมงคล

เหตุใด IoT ในภาคเกษตรจึงถูกมองวา มีการเติบโตอยางไมนาเชื่อจนถึงป ค.ศ. 2025 WHY IoT IN AGRICULTURE IS SET TO SEE ‘INCREDIBLE’ GROWTH UNTIL 2025 อ างอิงจากผลงานวิจัยของ Transparency Market Research (TMR) พบว าการประยุกต ใช โซลูชั่น IoT (Internet of Things) ในภาคการเกษตรสามารถ ปฏิวัติวงการเกษตรได สามารถเพิ่มประสิ ทธิภาพ การผลิต ลดการสูญเสียทางการเกษตรให น อยที่สุด รวมถึ ง เอาชนะป ญ หาภั ย ธรรมชาติ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สภาพภูมิอากาศด วย

The use of IoT solutions in agriculture can bring in a revolution to the industry by enhancing productivity, minimising agriculture wastage, and overcoming climate related natural calamities, according to a new missive from Transparency Market Research.

ตามข้ อมูลขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ บ่ง ชี ว� ่ า ผลผลิ ต ทางการเกษตรที� เ พิ� ม ขึน� หมายถึ ง การลดลง ของจํานวนผู้ด้อยโอกาสซึง� ระหว่างปี 2557 ถึง 2559 มีผ้ ดู ้ อย โอกาสจํานวนกว่า 795 ล้ านคน

Enhanced agricultural productivity implies a decline in the number of undernourished individuals, the count of which stands at 795 million between 2014 and 2016, as per the Food and Agriculture Organization data.

30 GS1 Thailand april – june 2019


Techno Sharing

ความจําเป็ นสําหรับ IoT ในอุตสาหกรรมเกษตรนันเกิ � ดจาก ความจําเป็ นในการตรวจสอบสุขภาพและประสิทธิ ภาพ ของปศุสตั ว์ รวมถึงความไม่แน่นอนของการเปลี�ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ซึง� ส่งผลเสียต่อการผลิตทางการเกษตร อย่างไรก็ ตามการเติบโตของ IoT ในตลาดการเกษตร ถูกจํากัดเนือ� งจากขาดบริการการเชือ� มต่อในภาคการเกษตร คาดการณ์ ว่ า IoT ในตลาดเกษตรจะเติ บ โตขึน� อย่ า ง ไม่น่าเชื� อในช่วงปี ค.ศ. 2025 การใช้ งานอินเทอร์ เน็ต และสมาร์ ทโฟนที�เพิ�มขึ �นคาดว่าจะสร้ างโอกาสการเติบโต สําหรับ IoT ในตลาดการเกษตรได้ ทวั� โลก การใช้ IoT ในภาคการเกษตรผสมผสานเทคโนโลยี และโซลูชนั� ขันสู � งสําหรับการตรวจสอบข้ อมูลการเกษตร แบบเรี ย ลไทม์ ผ่ า นการเก็ บ ข้ อมูล แบบเรี ย ลไทม์ แ ละ การวิเคราะห์ข้อมูล นอกจากนี � IoT ยังสามารถประยุกต์ ใช้ งานในเกษตรกรรมอื�นๆ ได้ เช่น การตรวจสอบปศุสตั ว์ การจัดการสินค้ าคงคลัง การตรวจสอบดิน การควบคุม สภาพอากาศ การตรวจสอบความชื น� การตรวจสอบ สารอาหาร การตรวจสอบพืชผล การตรวจสอบผลผลิต โลจิสติกส์อจั ฉริ ยะและรายการอื�นๆ ในช่วงเวลาที�สภาพอากาศไม่เอื �ออํานวยทัว� โลกสร้ างผล กระทบต่อการผลิตนัน� การบูรณาการของระบบ IoT คาดว่า จะเพิ�มขึ �นอย่างมีนยั สําคัญเพื�อพิชิตปั ญหาเหล่านี � Cisco Systems, AGCO, Semios Technologies, SenseFly, DeLaval และ Advanced Ag Solutions เป็ นหนึง� ในผู้ให้ บริการชันนํ � าด้ านโซลูชนั� IoT การเกษตรขันสู � ง ในขณะเดี ย วกั น รายงานล่ า สุด จาก ReportLinker คาดการณ์ ว่าตลาด IoT จะเติบโตถึง 561.04 พันล้ าน ดอลลาร์ ในปี ค.ศ. 2565 จาก 170.57 พันล้ านดอลลาร์ ในปี ค.ศ. 2017 ทีอ� ตั ราการเติบโตของพอร์ ตเฉลีย� ต่อปี แบบ ทบต้ น 26.9%

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

The need for IoT in the agricultural industry is driven by the need to monitor health and performance of livestock and the uncertainties in climate change, which negatively impacts agriculture production. However, the growth of IoT in agriculture market is restrained due to a lack connecting services in agriculture. It is anticipated that the IoT in agriculture market will witness incredible growth during 2025. The increasing use of internet and smartphones is anticipated to make significant growth opportunities for the IoT in agriculture market throughout the world. The use of IoT in agriculture incorporates advanced technologies and solutions for real-time monitoring of agricultural fields via real-time collection and analysis of data. In addition, IoT can be used for several other agricultural tasks such as examining livestock, inventory management, soil monitoring, climate control, moisture monitoring, nutrient monitoring, crop scouting, yield monitoring, smart logistics and the list continues. At a time when unfavourable weather conditions throughout the world are affecting production, integration of IoT is expected to show significant rise to surmount these issues. Cisco Systems, AGCO, Semios Technologies, SenseFly, DeLaval and Advanced Ag Solutions are among some of the leading providers of advanced agricultural IoT solutions. Meanwhile, a new report from ReportLinker has projected that the IoT market will grow to $561.04 billion by 2022 from $170.57 billion in 2017, at a CAGR of 26.9%. GS1 Thailand april – june 2019 31


Thailand Newsletter

Training Buzz บทความโดย : ปทิตตา คิมประโคน

สสว. ผนึก 30 องคกรจัดงาน “วันของ SME : Together We Share วันแหงความรวมมือรวมพลังเปนอันหนึง ่ เดียวกัน เพือ ่ ผลักดันให SME ไทย กาวตอไปอยางมัน ่ คง”

นายประวิทย์ โชติปรายนกุล ผู้อํานวยการสถาบัน รหั ส สากล เข้ าร่ ว มงานพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อตกลง ความร่วมมือ (MOU) “วันของ SME : Together We Share วั น แห่ ง ความร่ ว มมื อ รวมพลั ง เป็ นอั น หนึ� ง เดี ย วกั น เพื� อ ผลั ก ดั น ให้ SME ไทย ก้ าวต่ อ ไปอย่ า งมั� น คง” ณ ลานเซ็ น ทรั ล คอร์ ท ห้ า งสรรพสิ น ค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ ซึ�งเป็ นความร่ วมมือระหว่างสํานักงานส่งเสริ มวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) กับพันธมิตรมากกว่า 15 หน่วยงาน และ E-Marketplace ชื�อดัง 14 แห่ง อีกทัง� ยัง ได้ ขึ น� กล่ า วถึ ง สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นการสมัค รบาร์ โ ค้ ด มาตรฐานสากล พร้ อมรั บสิทธิ ประโยชน์ พิเศษจากทาง สถาบันฯ เพื�อผู้ประกอบการ SME ที�สมัครเป็ นสมาชิก สสว.เท่านัน� โดยเจ้ าหน้ าที�สถาบันรหัสสากลได้ ร่วมออกบูธ เพื�อประชาสัมพันธ์สทิ ธิประโยชน์ดงั กล่าวด้ วย นอกจากนี ย� ั ง มี ง านสั ม มนาหั ว ข้ อที� น่ า สนใจ และการออกบูธของผู้ประกอบการ SME กว่า 150 บูธ ในงาน SME One Fest in Summer โดยงานจัดขึ �นระหว่างวันที� 4-7 เม.ย. 2562 ณ บริ เวณลานหน้ าเซ็นทรัลเวิลด์

32 GS1 Thailand april – june 2019


วารสารสถาบั น รหั ส สากล

งานแถลงขาว ThaiStar Packaging Awards 2019

นายจารุ พนั ธุ์ จารโยภาส รองอธิ บดีกรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม นายประวิ ท ย์ โชติ ป รายนกุ ล ผู้ อํ า นวยการสถาบัน รหั ส สากล และหน่วยงานร่ วมดําเนินการ ได้ ร่วมแถลงข่าวในงาน “ThaiStar Packaging Awards 2019” ปี ที� 42 ภายใต้ ห้วข้ อ “บรรจุภณ ั ฑ์เพื�อ ความยัง� ยืน” (Sustainable Packaging) ณ ศูนย์ออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (Thai-idc) ซึง� ในปี นี �สถาบันฯ ให้ การสนับสนุน รางวัลการประกวดออกแบบบาร์ โค้ ดบนบรรจุภณ ั ฑ์ จํานวน 4 รางวัล 3 ประเภทการประกวด ได้ แก่ 1. รางวัลการออกแบบบาร์ โค้ ดบนต้ นแบบบรรจุภณ ั ฑ์เพื�อการ จัดจําหน่ายสําหรับสินค้ าทัว� ไป (SC) ประเภทนักเรียน/นักศึกษา จํานวน 1 รางวัล เงินรางวัล 5,000 บาท พร้ อมเกียรติบตั ร 2. รางวัลการออกแบบบาร์ โค้ ดบนบรรจุภณ ั ฑ์เพือ� การจัดจําหน่าย สําหรับสินค้ าทัว� ไป (CP) ประเภท บริ ษัท/หน่วยงาน/ผู้ประกอบการ จํานวน 2 รางวัล เป็ นการยกเว้ นค่าบํารุงสมาชิกบาร์ โค้ ด1 ปี มูลค่าสูงสุด 12,000 บาท ซึง� ขึ �นอยูก่ บั อัตราค่าสมาชิกของบริ ษัทนันๆ �

3. รางวัลการออกแบบบาร์ โค้ ดบนต้ นแบบบรรจุภณ ั ฑ์ใหม่ สําหรับ สินค้ าทัว� ไป : ND (New Design Packaging) ซึง� เป็ นกลุม่ นักออกแบบ อิสระ จํานวน 1 รางวัล เงินรางวัล 5,000 บาท พร้ อมเกียรติบตั ร ทังนี � �เพื�อให้ นกั เรี ยน นักศึกษา บริ ษัท และผู้สนใจ ได้ สร้ างสรรค์ ไอเดี ย ในการออกแบบบาร์ โ ค้ ด ที� ส วยงามเป็ นการสร้ างมูล ค่ า เพิ� ม ให้ กบั สินค้ า ซึง� ผลงานที�ชนะการประกวดเตรี ยมต่อยอดส่งไปประกวด ในระดับเอเชีย (AsiaStar) และในระดับโลก (WorldStar) ต่อไป

หลักสูตรการอบรมเดือนเมษายน – มิถน ุ ายน 2562

เพื�อส่งเสริ มให้ ผ้ ปู ระกอบการที�ขึ �นทะเบียนบาร์ โค้ ด สามารถนําหลักเกณฑ์ข้อกําหนดต่างๆ ของการสร้ างและการนําบาร์ โค้ ดไปใช้ อย่างถูกต้ อง เป็ นไปตามมาตรฐาน ทางสถาบันฯ จึงกําหนดให้ สมาชิกรายใหม่ทกุ ราย ต้ องผ่านการอบรม ความรู้เบื �องต้ นมาตรฐานสากล GS1 ในภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรม (CERTIFICATE PROGRAM)สําหรับสมาชิกรายใหม่ ลงทะเบียนและเข้ าอบรมภายในระยะเวลา 1 ปี นับจากวันรับอนุมตั เิ ป็ นสมาชิก ทางสถาบันฯ จัดโปรแกรมการอบรมตางๆ ในชวงเดือนเมษายน – มิถุนายน 2562 ดังนี้ หลักสูตร หลักสูตร ความรูเบื้องตน มาตรฐานสากล GS1 ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม (CERTIFICATE PROGRAM)

การประยุกต ใช มาตรฐานสากล GS1-128 ในระบบซัพพลายเชน

เนื้อหาหลักสูตร

วันที่จัด

อัตราคาอบรม

• องคกร GS1 และสถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) • ระบบมาตรฐานสากล GS1 (GS1 System of Standards) • โครงสรางและการกําหนดเลขหมายประจําตัวสินคา • ตัวอยางการประยุกต ใชเทคโนโลยีบาร โคดและ RFID • โครงการระบบฐานขอมูลของสินคา & แอพพลิเคชั่น SmartBar • สิทธิประโยชนของสมาชิก GS1 Thailand

2, 22 เมษายน สมาชิก GS1 TH: สามารถใชสิทธิ์เขาอบรมได 14, 21 พฤษภาคม ฟรี 1 ครั้ง / 2 ทาน / บริษัท ภายใน 1 ป 4,18 มิถุนายน นับตั้งแตวนั ที่ ไดรับการอนุมัติเปนสมาชิก สถาบันฯ โดยผูเขาอบรมจะไม ไดรับ ประกาศนียบัตรจากทางสถาบันฯ

• ระบบมาตรฐานสากล GS1 (GS1 System of Standards) • Capture: GS1-128 • Application Identifiers (AI) • GS1 Solutions • การประยุกต ใช ในงานโลจิสติกสและซัพพลายเชน

23 เมษายน 25 มิถุนายน

ทั้งนี้หากผูเขาอบรมประสงคจะรับ ใบประกาศนียบัตรจะมีคาใชจายเพิ่มเติม ทานละ 500 บาท สมาชิก GS1 TH: สมาชิกใหม สามารถ ใชสิทธิ์เขาอบรมฟรี 1 ครั้ง / 2 ทาน / บริษัท ภายใน 1 ป นับตั้งแตวันที่ ไดรับการอนุมัติ เปนสมาชิกสถาบันฯ

ผูสนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและสํารองที่นั่งไดที่ www.gs1th.org GS1 Thailand april – june 2019 33


Thailand Newsletter

BIZ BREAKTHROUGH ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

ฟรีแลนซ์ผส ู้ ง ู วัย ทางเลือกธุรกิจ+CSR นับแต่ปี 2548 ประเทศไทยได้เริ่มต้น ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยจะมีผู้สูง อายุที่ย่างเข้าวัยเกษียณเพิ่มสูงขึ้น กว่ า อั ต ราการเกิ ด ของทารก จาก ข้อมูลประชากรล่าสุดในปี 2561 ระบุ ว่า ประเทศไทยมีจา� นวนผูส้ งู อายุราว 11.8 ล้านคน หรือประมาณ 17.7% ของประชากรทั้งประเทศ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวในแง่มุมหนึ่งนั่นคือ ภาระที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของสั ง คมในการดู แ ลผู ้ สู ง อายุ แต่ อี ก มุ ม หนึ่ ง การเพิ่ ม ขึ้ น ของผู ้ สู ง อายุ ก็ เ ป็ น โอกาสใหม่ของธุรกิจเช่นกัน โดยเฉพาะประเภท สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ผู ้ สู ง อายุ ผู้ประกอบการจึงต้องมีการวางแผนและปรับตัว เพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อย่างไรก็ดีตลาดของธุรกิจผู้สูงอายุอาจจะจ�ากัด อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุที่ยังคงมีรายได้ภายหลังจาก เกษี ย ณเท่ า นั้ น ขณะที่ ผู ้ สู ง อายุ ส ่ ว นใหญ่ ข อง ไทย ยังเป็นกลุ่มผู้มีรายได้น้อยหรือไม่มีรายได้ อย่างไรก็ตามผู้สูงอายุในกลุ่มนี้ยังเป็นกลุ่มที่มี ขีดความสามารถ และมีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ มีทักษะความเชี่ยวชาญในงาน

ซึ่งยังเป็นที่ต้องการของภาคธุรกิจอยู่ ในส่วนนี้ จึงยังเป็นโอกาสของธุรกิจในการจ้างงานผู้สูง อายุที่ยังมีขีดความสามารถสูง ซึ่งนอกจากบริษัท จะได้ประโยชน์จากการจ้างงานผูม้ คี วามสามารถ แล้ว ยังเป็นการสร้างคุณค่าให้กับธุรกิจ และเป็น อีกหนึ่ง CSR ขององค์กรอีกด้วย

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีมุมมองว่า โมเดลธุรกิจหนึ่ง ที่อาจจะสามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ คือ ธุรกิจชุมชนฟรีแลนซ์ผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นศูนย์รวม ของชุมชนผู้สูงอายุและองค์กรธุรกิจที่ต้องการ จ้างงานผู้สูงอายุในรูปแบบฟรีแลนซ์ เพื่อปฏิบัติ งานเฉพาะเจาะจงทีต่ อ้ งการความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ และทั ก ษะความเชี่ ย วชาญใน แต่ ล ะงาน นอกจากเป็ น การได้ ค นดี ค นเก่ ง ที่ เหมาะกับงานแล้ว ยังเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระ ในการดูแลผูส้ งู อายุของสังคม ซึง่ เป็นอีกแง่มมุ หนึง่ ในการดูแลสังคม (CSR) ได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีมุมมองว่า โมเดลธุรกิจชุมชนฟรีแลนซ์ผู้สูงอายุ มีข้อจ�ากัด ที่ อ าจจะไม่ ส ามารถสร้ า งงานได้ ค รอบคลุ ม ผู้สูงวัยทุกคนและทุกสายอาชีพ รวมทั้งอาจมี จ� า นวนผู ้ สู ง วั ย ที่ ไ ด้ รั บ จ้ า งงานฟรี แ ลนซ์ จ ริ ง มี อยู่น้อย และน่าจะกระจุกตัวอยู่ที่ผู้สูงอายุวัยต้น ที่มีอายุระหว่าง 60 ถึง 69 ปี ทั้งนี้ ผู้สูงวัยที่ได้ งานน่าจะขึ้นอยู่กับทักษะความเชี่ยวชาญและ สุ ข ภาพของผู ้ สู ง วั ย แต่ ล ะคน รวมไปถึ ง ความ ต้องการฟรีแลนซ์ขององค์กรธุรกิจต่อสายอาชีพ ที่ผู้สูงวัยมีทักษะความเชี่ยวชาญ ตลอดจนการ แข่งขันระหว่างฟรีแลนซ์ผู้สูงวัยและฟรีแลนซ์ หนุ่มสาว

34 GS1 Thailand april – june 2019


Health me

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

บทความโดย : พราภา รมโพธิ์ทอง ขอมูลโดย : กรมควบคุมมลพิษ(คพ.) กรมฝนหลวงฯ และศูนยขอมูล สสส. หนังสือชีวิตติดฝุนอันตราย ที่มา : ชมนภัส วังอินทร www.thaihealth.or.th

ทีเ่ ธอเห็น

คาฝุน  มันขึน ้ มา

กลายเป นป ญหาใหญ ของคนไทย โดยเฉพาะชาวกรุงทีต่ อ งประสบ กับฝุ นในตอนนี้ เมื่อฝุ นละอองเต็มเมืองจนส งผลกระทบกับการใช ชีวิตประจําวัน จากปั ญหาฝุ่ นละอองที�มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน ยังเป็ นเรื�องทีป� ระชาชนไม่เข้ าใจว่าคืออะไรนัน� แท้ จริง แล้ ว คือ ฝุ่ นที�มีขนาดละเอียดมาก ขนาดเทียบเท่ากับ แบคทีเรี ย หรื อเล็กเกินกว่าที�ขนจมูกของเราจะกรองได้ ซึ� ง ฝุ่ นละอองระดั บ นี ร� ะบบป้ องกั น ในร่ า งกาย ไม่สามารถดักจับได้ ดนี กั ทําให้ มีโอกาสเข้ าสูร่ ่างกาย สูง ซึ�งเป็ นสาเหตุหนึ�งของโรคมะเร็ งปอด และหาก จํ า เป็ นต้ อ งใช้ ชี วิ ต อยู่ใ นพื น� ที� เ สี� ย งต่ อ ฝุ่ นละออง มลภาวะต่างๆ ที�ไม่อาจหลีกเลี�ยงได้ สิง� ที�ถกู ต้ อง คือ การดูแลตนเอง ซึง� เป็ นสิง� สสส. เน้ นยํ �าเสมอ หากเรา มีสขุ ภาพแข็งแรง อยูใ่ นสิง� แวดล้ อมทีด� ี ก็จะช่วยให้ เรา ห่างไกลจากโรคภัย และเกิดการเจ็บป่ วยได้ ยากขึ �น

จากสถานการณ์ ฝุ่นที�ต้องเจอในปั จจุบนั การดูแล ตนเองเป็ นเรื�องสําคัญ ทางกรมควบคุมมลพิษ จึงออก มาตรการให้ ประชาชนหันมารู้จกั วิธีการป้องกันตนเอง ซึง� กระทรวงสาธารณสุข ได้ แนะนําไว้ มี 5 มาตรการ “หลีก ปิ ด ใช้ เลี�ยง ลด” คือ 1. หลีกการสัมผัสฝุนละออง โดยเฉพาะกลุม่ เสี�ยง ได้ แก่ ผู้สงู อายุ หญิงตังครรภ์ � เด็กเล็ก และผู้ป่วยด้ วย โรคระบบทางเดินหายใจ หอบหืด ภูมิแพ้ 2. ปดประตู หนาตางใหมิดชิด ป้องกันฝุ่ นละออง หมัน� ทําความสะอาดบ้ านทุกวัน

GS1 Thailand april – june 2019 35


Thailand Newsletter

Health me

6. ถ้ าสวมใส่ แ ล้ ว มี อ าการมึ น งงหรื อ คลื� น ไส้ ควรหลบไปอยู่ที� ที� ป ลอดมลพิ ษ อากาศ ถอด หน้ ากากออกและปรึกษาแพทย์ นอกจากการรู้ จัก การป้ องกัน ตัว เอง วิ ธี ก าร ใส่หน้ ากากอนามัยทีถ� กู ต้ องแล้ ว การรู้จกั ประเภท ของฝุ่ นสาเหตุของฝุ่ นนันก็ � เป็ นเรื� องใกล้ ตวั ที�เรา ควรรู้เช่นกัน เพื�อให้ ทราบถึงสาเหตุของการเกิด ค่าฝุ่ นพิษ PM2.5 ที�เกินมาตรฐานนัน� เกิดจาก อะไร เพราะโดยทัว� ไปแล้ วฝุ่ นละอองในอากาศ มีขนาดตังแต่ � 100 ไมครอนลงมา จะเป็ นฝุ่ นที� สามารถก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสุขภาพคน สัตว์ และสิ�งแวดล้ อม ทังในรู � ปแบบทีเ� รามองเห็นและ มองแทบไม่เห็นอย่างฝุ่ นละอองหรื อฝุ่ นที�มองเห็น เป็ นสีดําอย่างเขม่า หมอกควัน ซึ�งฝุ่ นเหล่านี � แยกย่อยออกเป็ น 3 ประเภทดังนี �

3. ใชหนากากที่มีประสิทธิภาพ ในการกรอง อนุภาคที�มีขนาดเล็กกว่า 0.3 ไมครอนได้

สาเหตุของการเกิดค าฝุ นพิษ PM2.5 ที่เกินมาตรฐานนั้น เกิดจากอะไร เพราะโดยทั่วไป แล ว ฝุ น ละอองในอากาศ มีขนาด ตั้งแต 100 ไมครอน ลงมา จะเป น ฝุ น ที่ ส ามารถ ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ สุขภาพคน สัตว และสิง่ แวดล อม

4. เลี่ยงการออกกําลังกายหรือทํางาน นาน กว่า 12 ชัว� โมงในที�โล่งแจ้ ง 5. ลดการใชรถยนตและการเผาขยะ ถ้ า มี อาการผิดปกติ เช่น หายใจติดขัด แน่นหน้ าอก วิงเวียนศีรษะ หรื อหมดสติ ให้ รีบไปรับการตรวจ รักษาที�สถานพยาบาลโดยเร็ ว

กระทรวงสาธารณสุข ได้ แนะนําวิธี การใช้ หน้ ากากอนามัยทีถ� กู ต้ อง ดังนี � 1. เลือกใช้ หน้ ากากอนามัยกันฝุ่ นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอนที�ได้ มาตรฐาน

2. ควรสวมหน้ ากากให้ กระชับกับใบหน้ า กดส่วน ที�เป็ นโลหะให้ กระชับแน่นกับสันจมูก 3. เลือกขนาดที�เหมาะ ครอบได้ กระชับกับจมูก และใต้ คาง ควรแนบกับใบหน้ า 4. ควรทิ �ง เมื�อพบว่าหายใจลําบาก หรื อ ภายใน หน้ ากากสกปรก 5. หากเป็ นไปได้ ควรเปลี�ยนหน้ ากากอันใหม่ ทุกวัน

36 GS1 Thailand april – june 2019

1. ฝุน ละอองรวม (Total Suspended Particulate : TSP) มีอนุภาคขนาดเล็ก เกิดขึ �นตามภายใน และนอกอาคาร โดยฝุ่ นชนิดนี �ที�เกิดจากการเผา ไหม้ เชื �อเพลิง เช่น นํ �ามันเตา ถ่านหิน ฟื น แกลบ จะมีสารพิษที�เป็ นอินทรี ย์สาร และอนินทรี ย์สาร เป็ นส่วนประกอบ 2. ฝุนหยาบ (Particutate Matter : PM10) มีอนุภาคขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน เช่น ฝุ่ น ที� เ กิ ด จากถนนที� ไ ม่ ไ ด้ ล าดยาง หรื อ โรงงาน บดหิน เป็ นต้ น 3. ฝุน ละเอียด (Particulate Matter : PM 2.5) มีอนุภาคขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน เกิดจากควัน เสียของรถยนต์ โรงไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรม เห็ น ไหมว่ า สาเหตุที� เ กิ ด ขึ น� ส่ ว นใหญ่ ม าจาก ฝี มือของมนุษย์เกือบทังสิ � �น หากทุกคนมีความ ตระหนักรู้และร่วมกันปรับเปลีย� นพฤติกรรมก็จะ ช่วยลดปั ญหามลพิษอากาศได้ อาทิ เลีย� งการใช้ รถยนต์ถ้าไม่จําเป็ น งดการเผาขยะมลพิษต่างๆ ในที�โล่ง ทําความสะอาดบ้ านหรื อพื �นที�ใช้ สอย อยู่เสมอ เท่านีก� ็เป็ นการกระทําง่ายๆ ที�เราจะ สามารถช่วยให้ ประเทศไทยกลับมามี อากาศ ที�ดีขึ �นอีกครัง� ถึงแมวันนี้ปญหาฝุนจะยังอยูกับเรา แตสิ่งที่ ทุกคนทําได คือ การปองกันและดูแลตนเอง ใหแข็งแรงอยูเสมอ ไมเปนผูสรางมลพิษ เทานี้อากาศก็จะดีหางไกลโรคภัยได


Kitchen Of The World

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

ขอมูลโดย : ศูนยวิจัยไทยพาณิชย

ความทาทาย

ภายใตมาตรการลดใชพลาสติก ประเทศไทยกําลังประสบป ญหาขยะพลาสติกที่มีปริมาณสูงขึ้นต อเนื่องโดยไทยติดอันดับ 6 ของโลก ที่มีการทิ้งขยะพลาสติกลงสู ทะเลมากที่สุด คิดเป นปริมาณราว1.3 ล านตันต อป ในป 2018 ภาครั ฐ ออกมาตรการลดและ ยกเลิกการใชพลาสติก ซึ่งเปนหนึ่งในนโยบาย เพือ่ ลดปริมาณขยะภายในประเทศ เพือ่ แกปญ  หา ดังกลาว รัฐบาลไทยจึงกําหนดเปาหมายยกเลิก การใชพลาสติกแบบใชแลวทิ้งจํานวน 7 ชนิด ภายในป 2025 ไดแก 1) Cap seal ฝานํ้า ดื่ม โดยปกติจะผลิตจากพลาสติก PVC ฟลม 2) ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี ส  ว นผสมของสารประเภท OXO สวนใหญมักจะผสมในพลาสติกประเภท HDPE และ LDPE 3) Microbead จากพลาสติก สวนผลิตภัณฑที่จะยกเลิกป 2022 ประกอบดวย 4) ถุงพลาสติกหูหิ้ว ขนาดความหนานอยกวา 36 ไมครอน ซึ่ ง ส ว นใหญ ผ ลิ ต จากพลาสติ ก LLDPE 5) กลองโฟมบรรจุอาหาร ในสวนของ พลาสติกที่จะยกเลิกในป 2025 ไดแก 6) แกว พลาสติ ก แบบใช ค รั้ ง เดี ย วทิ้ ง และ 7) หลอด พลาสติก

อยางไรก็ตาม การหามใช single-use plastic สามารถสรางโอกาสทางธุรกิจใหกับผูประกอบ การที่ ส ามารถรี ไ ซเคิ ล พลาสติ ก ประเภท PET เพราะเปนพลาสติกประเภทนํามาผลิตใหมได การ เก็บพลาสติกชนิดดังกลาวกลับเขาสูกระบวนการ ผลิตใหม หรือการนํามาใชซํ้า จึงสรางโอกาส ใหทั้งผูผลิตพลาสติก PET รวมถึงธุรกิจรีไซเคิล พลาสติก PET

ในขณะที่ ภ าคเอกชนไทยบางส ว นได เ ริ่ ม ยกเลิกการใชพลาสติกแลว ตัวอยางเชน เครือ Anatara ที่เริ่มยกเลิกการใชหลอดพลาสติกตั้งแต วันที่ 1 ตุลาคม 2018 เปนตนไป ตามนโยบาย ลดขยะพลาสติกของโรงแรม นอกจากนีร้ า นกาแฟ Starbucks ที่มีสาขาทั่วโลก ไดประกาศเมื่อวัน ที่ 9 กรกฎาคม 2018 ที่จะเลิกใชหลอดพลาสติก ของทุกรานภายในป 2020

นอกจากนี้ ผู  ป ระกอบการขึ้ น รู ป พลาสติ ก เพื่อผลิตบรรจุภัณฑ ตองเตรียมพรอมรับมือกับ ตนทุนที่อาจเพิ่มสูงขึ้น 1 เทาเปนอยางนอยจาก การเปลี่ยนไปผลิตบรรจุภัณฑแบบใหมที่ใสใจ ตอสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ตนทุนที่สูงขึ้นอาจสงผานไป ยังผูซื้อไดบาง เชน ผูซื้อในกลุมรานอาหารที่ใช หลอด กลองใสอาหารพลาสติก หรือรานคาปลีก

อีไอซีมองวา ผูประกอบการควรรับมือกับการ เปลี่ ย นแปลงนี้ ด ว ยการผลิ ต พลาสติ ก ที่ เ ป น มิตรตอสิ่งแวดลอม เชน bioplastic และเจาะ ตลาดบรรจุภัณฑที่ใชวัสดุอ่ืนทดแทนพลาสติก ปจจุบันมีพลาสติกเพียงประเภทเดียวที่สามารถ นํ า กลั บ มา re-material ใหม ไ ด คื อ PET สวนพลาสติกประเภทอื่นยังไมสามารถนํากลับ มาใชใหมได ที่ใชถุงพลาสติก ซึ่งจะตองรับมือกับราคาของ บรรจุภัณฑจากวัสดุใหมที่สูงขึ้นเชนกัน อยางไร ก็ตาม มาตรการดังกลาวจะเปนโอกาสใหผูผลิต แบบ non-plastic เชน กระดาษ ขาว สามารถ หาชองทางในการเจาะเขาสูตลาดบรรจุภัณฑ อาหารได เช น ถุ ง กระดาษใส นํ้ า ตาล หลอด ที่ทําจากขาวหรือกระดาษ เปนตน

GS1 Thailand april – june 2019 37


Thailand Newsletter

Trendy Tech บทความโดย : Panpraporn Jitjumroonchokchai / พรรณปพร จิตจ�ำรูญโชคไชย

เกษตรกรยุคใหม่ ใส่ใจเทคโนโลยี

โลกทุกวันนีด้ จู ะหมุนเร็วขึน้ ทุกวัน หันมาดูแปลงเกษตรอีกทีกม็ โี ซลูชนั่ ทางเทคโนโลยีเข้ามาเสนอให้ใช้แทบจะครบวงจรกันเลยทีเดียว

หัวข้อวันนี้ เรามาลองดูโซลูชั่นต่างๆ เผื่อจะได้ เป็นไอเดียส�าหรับหลายๆ ท่านที่อาจจะสับสนอยู่ ไม่มากก็น้อย ถ้าแบ่งเป็นสามหัวข้อหลักๆ ก็จะ ประกอบด้วย เรื่องเกี่ยวกับ

1.คน

ไม่ ว่ า จะเป็ น ผู้ ป ระกอบการ เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ ปฏิ บั ติ ก าร หรื อ ผู้ ป ระสานงานฝ่ า ยต่ า งๆ ก็เป็นปัจจัยส�าคัญที่จะท�าให้การท�าเกษตรกรรม ด�าเนินงานต่อไปได้ ปั ญ หาคื อ จะท� า อย่ า งไรให้ บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ สามารถเข้าใจการใช้เทคโนโลยี ได้ ต ามระดั บ หน้าที่ การอบรมด้วยการใช้ e-learning เป็นวิธี หนึ่งที่ลดต้นทุนและประหยัดเวลา แต่อาจจะ ท�าควบคู่ไปกับการอบรมแบบมีผู้สอน เพราะ บางหัวข้อในการอบรม ถ้าเป็นเชิงเทคนิค ควรมี ผูใ้ ห้คา� อธิบายให้สอดคล้องกับผูเ้ ข้ารับการอบรม เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันนั่นเอง ในส่วนของงาน ปฏิ บั ติ ก ารบางอย่ า งที่ ท� า ซ�้ า ๆ เราสามารถใช้ หุ่นยนต์และระบบออโตเมชั่นเข้ามาลดภาระได้

38 GS1 Thailand April – june 2019

อีกทางหนึ่ง ใช้โดรนในจุดประสงค์ที่หลากหลาย เช่น พ่นสารปราบศัตรูพืชแทนที่จะให้พนักงาน ต้องไปสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง บังคับโดรนให้ บินส�ารวจพื้นที่แทนที่จะต้องเสียแรงและเวลา เข้าไปส�ารวจเอง หรือระบบเซนเซอร์ตรวจสอบ สภาพอากาศ ถ้าอากาศร้อนก็สงั่ ให้รดน�า้ อัตโนมัติ ถ้าแดดแรงเกินไปอาจจะมีการสัง่ ให้เลือ่ นหลังคา มาคลุมโรงเรือน เป็นต้น

2.การลดค่าใช้จ่ายและการ บริหารเวลา

ตัง้ แต่ตน้ น�า้ ถึงปลายน�า้ ล้วนมีคา่ ใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ ทั้งสิ้น ซึ่งสมัยนี้การน�าเอาระบบธุรกิจอัจฉริยะ (BI: Business Intelligence) เข้ามาช่วยในการ ตรวจสอบข้อมูลถือเป็นสิง่ ทีค่ วรท�าอย่างยิง่ ถ้าพูด แบบนี้คงยังเห็นภาพไม่ชัดเท่าที่ควร ขอขยาย ด้วยตัวอย่างง่ายๆ อีกนิด สมมติเวลาเราจะปลูก ผักหนึ่งชนิด เราจะรู้ได้อย่างไรว่าซื้อเมล็ดพันธุ์ ทีไ่ หนถึงราคาถูกทีส่ ดุ แล้วมีตลาดอืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจ อีกหรือไม่? ราคาปุ๋ยตอนนี้เป็นอย่างไร? ค�าถาม เหล่านี้จะชัดเจนขึ้นด้วยการน�า BI เข้ามาช่วย

แสดงข้อมูลนั่นเอง จากนั้นก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะ ตัดสินใจเอง หรือจะใช้ตัวเลือกยอดฮิตอย่างเช่น การฝากให้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligence) ช่วยตัดสินใจให้ จากนั้นค�าถาม ที่ตามมาอาจจะเป็น เมื่อไหร่ควรจะเก็บเกี่ยว? สภาพอากาศอี ก สามเดื อ นข้ า งหน้ า จะเป็ น อย่ า งไร? จะมี ป ริ ม าณศั ต รู พื ช เยอะหรื อ ไม่ ? ในส่วนนี้สามารถใช้ AI เข้ามาช่วยประมวลผล แสดงการคาดการณ์ล่วงหน้าได้ อาจไม่แน่นอน ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ก็ยังดีที่เราได้เห็นแนวโน้ม ล่วงหน้า พอถึงเวลาเก็บเกี่ยว ในเรื่องการขนส่ง คงไม่มีใครอยากจะจ่ายค่าน�้ามันรถส่งของแล้ว เกิดปัญหาขนส่งผิดเส้นทาง หรือคนขับรถดัน ไปจอดแช่อยู่ที่ไหนสักที่ ในส่วนนี้ การติด GPS สามารถท� า ให้ ก ารติ ด ตามคนขั บ รถส่ ง ของได้ ทันที (กันพนักงานแอบนอกลูน่ อกทางได้แล้วค่ะ) ยิง่ ไปกว่านัน้ GPS บางรุน่ ค�านวณระยะทางทีใ่ กล้ ที่สุดในการส่งของได้ด้วยนะ ส่งของเร็วลูกค้า ก็เป็นปลื้ม เหลือเวลาเพิ่มก็ให้รถวิ่งไปส่งของ ได้มากขึ้นอีกต่างหาก

3.งานวิจัย ใครว่าไม่ส�าคัญ?

จากปั ญ หาสองข้ อ ที่ พู ด มาข้ า งต้ น ถ้ า โซลู ชั่ น ในปัจจุบันมันไม่ว้าว ไม่ตอบโจทย์ งานนี้ก็ต้อง ลองลุยเรื่องเกี่ยวกับการวิจัยดูแล้วล่ะค่ะ อันที่ จริงการทีจ่ ะวิจยั ปัญหาให้ได้จริงๆ นัน้ ข้อมูลก็มา จากฟาร์มเกษตรนีเ่ อง จากในสองข้อแรก อุปกรณ์ ส่วนใหญ่จะมีการเก็บข้อมูลจ�านวนหนึ่งไว้อยู่ แล้ว เก็บไปสักพักมันก็จะกลายเป็น Big DATA เอาสถิตขิ อ้ มูลย้อนหลังมานัง่ นับนัง่ ดูคงไม่สนุกแน่ๆ ดีไม่ดีตาลายเสียเวลานับผิดอีก ใช้ AI มานั บ มาค�านวณแทนดีกว่า จากนั้นค่อยมาดูผลลัพธ์ ว่าอันที่จริง ปัญหาจากข้อมูลตัวไหนควรเอาไป ต่อยอดเป็นนวัตกรรมตัวใหม่ อย่างเช่น ได้ข้อมูล การปลูกพืชช่วงเดือน x ถึงเดือน z มา พบว่าเจอ ภั ย ธรรมชาติ ท� า ให้ ผ ลผลิ ต ลดลงไป n% คราวนี้อาจจะตีความได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับ ที ม วิ เ คราะห์ ว ่ า จะมองไปในทิ ศ ทางใดบ้ า ง บางที่อาจจะบอกให้เปลี่ยนโซลูชั่น บางที่อาจจะ บอกว่ า นี่ เ ป็ น ปั ญ หาใหม่ ต้ อ งหานวั ต กรรม มาตอบโจทย์นั่นเองค่ะ


Trendy Tech

Agri Tech Human Resource • Training • Bot / Automation

Cost Reduction and Time Management • BI / AI • forcasting • GPS Tracking

Research • Big DATA /ML • new solution • new partner

วารสารสถาบั น รหั ส สากล

บางคนอาจเริ่ ม แย้ ง ว่ า การใช้ เ ทคโนโลยี เ ข้ า มา แก้ปญ ั หาเรือ่ งเกษตรกรรมอาจจะยังมีเรือ่ งน่ากังวล อาทิเช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์เองก็มีค่าใช้จ่าย ใช่ค่ะ ในระยะการลงทุนแรกๆ มีแน่นอน แต่ใน ระยะยาวแล้วจะเหลือแค่การซ่อมบ�ารุงเท่านั้นเอง ถ้าเป็นเรื่องของการจ้างผู้มีความรู้ในการจัดการ ข้ อ มู ล อั น ที่ จ ริ ง ซอฟท์ แ วร์ ส มั ย นี้ ค ่ อ นข้ า งเอื้ อ ต่อการเรียนรูเ้ ป็นอย่างมากค่ะ หรือถ้าเทียบการจ้าง ผู ้ เ ชี่ ย วชาญเข้ า มาดู แ ลและวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ก็ มี ผลดีในระยะยาวอีกเช่นกัน (มีคนคอยดูแลข้อมูล วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ให้ ไม่ ต ้ อ งเสี ย เวลาปวดหั ว เอง แบบนีม้ เี วลาไปเปิดแปลงเกษตรอืน่ ๆ เพิม่ อีกนะคะ) ท้ า ยที่ สุ ด ในการท� า เกษตรกรรม บางปั ญ หา เราแก้ไขด้วยวิธีปกติได้ก็ยังไม่ต้องเปลี่ยน แต่ถ้ามี โซลูชั่นที่เป็นประโยชน์กับเรา แบ่งเบาภาระได้มากขึ้น การจะใช้ วิ ธี แ ก้ ป ั ญ หาแบบดั้ ง เดิ ม หรื อ แบบ เอาเทคโนโลยี เ ข้ า มาสนั บ สนุ น ก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ การ ตัดสินใจของผู้ประกอบการนั่นเองค่ะ

GS1 Thailand april – june 2019 39


Thailand Newsletter

Member Zone บทความโดย : ฝ่าย IT

Member Portal

(เมมเบอร์ พอร์ทล ั )

แอพพลิเคชัน ่ ใหม่ จัดเต็ม มาตรฐาน โดย GS1 Thailand Member Portal คืออะไร?

Member Portal เป็ นระบบฐานข้ อมูลสินค้ าในรูปแบบ Web Application ที่ถูกพัฒนาขึน้ โดยสถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) ส�าหรับสมาชิก เพื่อใช้ บริ หารจัดการข้ อมูลสินค้ า ของตนเอง และสามารถเรี ยนรู้ การใช้ มาตรฐาน GS1 ได้ เช่นกัน เมื่อท่านได้ ท�าการสมัครเป็ นสมาชิกกับทางสถาบันฯ เจ้ าหน้ าที่ จ ะแจ้ งเลขหมายมาตรฐานสากลพร้ อมกั บ Username และ Password ให้ กบั ท่านสมาชิกเพื่อเข้ าใช้ งาน ระบบ Member Portal หลังจากนันภายใน ้ 1 วัน ท่านจึงจะ สามารถลงชื่อเข้ าใช้ งานระบบได้

ฟังก์ชั่นที่น่าสนใจจาก Member Portal

ทางสถาบันฯ ได้ คดิ ค้ นฟั งก์ชนั่ ที่ตอบโจทย์ความต้ องการของ ผู้ใช้ ระบบ เพื่อความสะดวกและง่ายต่อการเข้ าใช้ งานมาก ที่สดุ โดยเวอร์ ชนั่ ปั จจุบนั มี 4 ฟั งก์ชนั่ ดังนี ้

40 GS1 Thailand april – june 2019


วารสารสถาบั น รหั ส สากล

1. Members Information :

เป็ นฟั งก์ชนั่ ที่ใช้ สา� หรับแสดงรายละเอียดข้ อมูลสมาชิกเบื ้องต้ นที่ได้ ลงทะเบียนกับทาง GS1 Thailand โดยใช้ เพื่อดูข้อมูล และรายละเอียดต่างๆ ของสมาชิก เช่น หมายเลขสมาชิก หรื อ GLN ช่องทางการติดต่อสมาชิก เป็ นต้ น

2. GTIN Management :

เป็ นฟั งก์ ชั่นที่ ใช้ ส�าหรั บบริ หารจัดการข้ อมูลเลขหมายประจ� าตัวสินค้ า หรื อ GTIN ซึง่ ถือว่าเป็ นฟั งก์ชนั่ หลักเลยก็วา่ ได้ โดยผู้ใช้ งานสามารถบันทึก ปรับปรุง แก้ ไขข้ อมูลสินค้ าตามมาตรฐาน GS1 ได้ ทนั ที และในเร็ วๆ นี ้ ผู้ใช้ งานสามารถ สแกนบาร์ โค้ ดผ่านทางแอพพลิเคชัน่ SmartBar เพื่อดูข้อมูลเลขหมาย GTIN และรายละเอียดต่างๆ ที่บนั ทึกไว้ ในระบบได้ เช่นกัน Smartbar Application สามารถดาวน์โหลดได้ แล้ ว ที่ App Store (iOS) และ Play Store (Android)

GS1 Thailand april – june 2019 41


Thailand Newsletter

Member Zone

3. E-Learning :

เป็ นฟั งก์ชนั่ ที่ใช้ เพื่อการเรี ยนรู้มาตรฐาน GS1 การตังเลข ้ GTIN ตลอดจนการใช้ งานระบบ Member Portal เพื่อช่วยให้ ท่านสมาชิกสามารถใช้ งานระบบในเบื ้องต้ นได้ อย่างถูกต้ อง

4. Consumer Feedback :

เป็ นฟั งก์ชนั่ ที่สามารถแจ้ งปั ญหา ข้ อติชมหรื อข้ อร้ องเรี ยนจากผู้บริ โภคได้ ซึง่ ข้ อมูลเหล่านี ้จะมาจากผู้ที่มีแอพพลิเคชัน่ SmartBar หากมีข้อสงสัยหรื อพบเห็นปั ญหาที่เกิดจากการใช้ งาน สามารถติดต่อได้ ที่

ฝ่าย IT สถาบันรหัสสากล

คุณพงศ์อมร อมรชัยกิจ โทร. 02-345-1206 Email: pongamorna@gs1th.org คุณพรรณปพร จิตจ�ารูญโชคไชย โทร. 02-345-1207 Email: panprapornj@gs1th.org

42 GS1 Thailand april – june 2019


“GS1 Thailand Newsletter 26 Years of Sharing The Global Standard”

Specification

- 10,000+ Quarterly - Updates GS1 Thailand Member - Introduce GS1 Standard - Oversea Implement Case-study from GS1 Global - Bilingual content - 4 Color printed

Readership

- Retailer - SMEs / OTOP - Manufacturer - Health Care - Food Agriculture

- Transporter and Logistics - Technology - Traceability & Recall - Other Related Third Parties

พ�้นที่โฆษณาสนใจติดต อ ฝายการตลาด Email : training@gs1th.org

Thailand

Facebook: GS1Thailand

www.gs1th.org



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.