GISTDA Magazine ฉบับที่ 10

Page 1

พฤศจ�กายน 2555 ป ที่ 3 ฉบับที่ 10 ISSN : 1906-8719

นับถอยหลังพ�ธีเป ดอุทยานรังสรรค นวัตกรรมอวกาศ Space Krenovation Park (SKP) ระบบบร�การภูมิสารสนเทศเพ�่อการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด (GISCHANGWAT) ดาวเทียมออกไปสู อวกาศได อย างไร? Curiosity กับภารกิจพ�ชิตดาวอังคาร !!!


กอนอื่น ในนามของ GISTDA ดิฉันใครขอบคุณสำหรับการ ตอบรับที่ดีมากตอ GISTDA e-Magazine ฉบับแรกที่เผยแพร ออกไปในชวง 2-3 เดือนที่ผานมา ซึ่งเห็นไดจากจำนวนผูที่รวม เลนสนุกตอบคำถามเพื่อชิงรางวัลหมอนอิงลายนารัก เกินกวา เปาที่ตั้งไวหลายเทาตัว ทำให ทีม GISTDA e-Magazine มีกำลังใจ ที่จะหาสาระประโยชนมานำเสนอตอทานตอไปเรื่อยๆ คะ

GISTDA มีเรื่องเล า

นับถอยหลังพิธีเปดอุทยานรังสรรคนวัตกรรมอวกาศ Space Krenovation Park (SKP)

ประเด็นเด็ดสังคม ภาษาอังกฤษกับความพรอม ของบุคลากรไทยเมื่อเขาสู ประชาคมอาเซียน

การประยุกต ใช เทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ (GISCHANGWAT)

โคจรรอบโลก

Curiosity กับภารกิจพ�ชิตดาวอังคาร !!! พิธีเปดงานมหกรรมวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ ประจำป 2555

เรื่องเล านอกกรอบ

และ GPS กับร านเด นโดนใจ

ในปจจุบัน เปนที่ยอมรับกันแลววา เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สามารถใชเปนเครื่องมือในการติดตามสภาพปจจุบัน, สภาพ การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ ตลอดจนใชในการวางแผนปองกัน และฟนฟู พื้นที่ที่เสียหาย ทั้งยังสามารถบูรณาการกับสารสนเทศอื่น ไดเปนอยางดี ทำใหหนวยงานตางๆ โดยเฉพาะหนวยงานภาครัฐ มีความตื่นตัวที่จะนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเหลานี้ไปใชงาน ประกอบกับ นโยบายของรัฐบาล ขอ 6.5 ทีว่ า “สงเสริมการใช ขอมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนการผลิตดานการเกษตร การ ปองกันและแกไขปญหาภัยพิบัติ ยกระดับคุณภาพชีวิต และ เสริมสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ” GISTDA จึงพัฒนาระบบ “GISCHANGWAT” ขึ้น เพื่อหนวยงานปกครอง ระดับจังหวัดสามารถนำไปประยุกตใชในการบริหารจัดการใน พื้นที่ของตน GISTDA e-Magazine นำเสนอในฉบับนี้แลว และ ถาสนใจ ลองคลิกดูที่ http://pdc.gistda.or.th/gischangwat นะคะ ชวงวันที่ 26-30 พฤศจิกายนนี้ GISTDA จัดงานใหญระดับ นานาชาติ นั่นคือ การประชุม Asian Conference on Remote Sensing ครั้งที่ 33: The 33 rd ACRS ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร จอมเทียน พัทยา หลายทานคงไดลงทะเบียนรวมงานแลว และ เพื่อไมใหพลาดกิจกรรมเสริมที่ GISTDA ตื่นเตนที่จะจัดขึ้นเปนพิเศษ จึงขอเรียนย้ำใหทราบ ณ ที่นี้ วา ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 นอกจากจะมีการลอยกระทงในงานเลี้ยงตอนค่ำแลว ยังมีอีกหนึ่ง กิจกรรมที่นาสนใจที่จัดขึ้นในชวงบาย ไดแก พิธีเปดอุทยาน รังสรรคนวัตกรรมดานอวกาศ (Space Krenovation Park: SKP) ที่ศูนยควบคุมดาวเทียมไทยโชต ศรีราชา ขอเชิญทุกทานมารวม นับถอยหลังและไปรวมในพิธีเปดพรอมกับเรา เพื่อหาคำตอบวา “SKP” คืออะไร “Visionarium” หมายถึงอะไรกันแน แคชื่อ ก็ชวนใหฉงนแลวใชไหมคะ ขอย้ำวา หามพลาด สุดทายนี้ อยาลืมพลิกไปทีค่ อลัมน GISTDA for FUN เพือ่ รวมตอบคำถามชิงรางวัล ชาหมดอดไดของนารักไปครอง ไมรูดวยนะคะ

GISTDA ON TOUR

ถามมา ตอบไป

ดาวเทียมออกไปสูอวกาศ ไดอยางไร ???

สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Geo-Informatics and Space Techonogy Development Agency (Public Organization) หรือ GISTDA ในกำ�กับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2543 โดยมีภารกิจหลักในการให้บริการข้อมูลดาวเทียมและข้อมูลภูมิสารสนเทศทั้งภายในและต่าง ประเทศ การกำ�หนดมาตรฐานกลางสำ�หรับระบบภูมิสารสนเทศ ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมในหลายสาขา รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ และพัฒนาบุคลากร คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ บรรณาธิการ นายสามารถ ดวงวิจิตรกุล บรรณาธิการ นางนิรมล ศรีภูมินทร์ กองบรรณาธิการ นายปัญญา สงวนสุข, นายชัยยันต์ เมาลานนท์, น.ส.นวนิตย์ อภิชลติ, ดร.เชาวลิต ศิลปทอง, น.ส.สุภาพิศ ผลงาม, นางรำ�พึง สิมกิ่ง, นายรุ่งอนันต์ ศิรินิยมชัย, นางสุนทรี ศรีสุวรรณ, น.ส.พิมพ์นภัส เกิดผล จัดทำ�โดย สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ ( องค์การมหาชน ) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 เลขที่ 120 หมู่ 3 อาคารรวมหน่วยราชการ (อาคารรัฐประศาสนภักดี) ชั้น 6 และ ชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2141-4470 โทรสาร 0-2143-9586-87 Website : www.gistda.or.th, E-mail: pr@gistda.or.th

2

สร้างสรรค์โดย บริษัท ดับบลิวพี ครีเอชั่น กรุ๊ป จำ�กัด www.wpcreation.com


นับถอยหลังพิธีเปิดอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ Space Krenovation Park (SKP) GISTDA พร้ อ มแล้ ว ที่ จ ะเปิ ด ตั ว อุ ท ยานรั ง สรรค์ นวัตกรรมอวกาศ หรือ Space Krenovation Park (SKP) ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 ภายใต้ concept การเปิดตัว “Inspiring Beyond” พร้อมทั้งได้รับเกียรติจาก รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เกียรติเป็น ประธานเปิดงานครั้งนี้ด้วย พิธีเปิดตัว SKP จะมีผู้มีเกียรติ ทั้งชาวไทยและต่างประเทศมากกว่า 300 คน และยังมีการลง นามในสัญญากับองค์กรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ SKP ด้วย

ขอนำ�ท่านผู้อ่านมารู้จักกับ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ หรือ Space Krenovation Park (SKP) พอสังเขปดังนี้

อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมด้านอวกาศ (Space Krenovation Park : SKP)

พิธีเปิด SKP จะเกิดขึ้น ณ พื้นที่รูปทรงกลม ภายในอาคาร ภายใต้ชื่อ “Visionarium” แนวคิดเกี่ยวกับ Visionarium

มนุษย์เราในขณะนี้อยู่ในโลกแห่งปัญญาซึ่งท่วมท้นด้วยข้อมูล มหาศาลจากอินเทอร์เน็ตทั่วทั้งโลก ณ ที่นี้....ความอยากรู้และความคิด สร้างสรรค์ยอ่ มถือกำ�เนิดจากการดำ�รงชีวติ ทีก่ อปรด้วยความรักแห่งการ อยากเรียนรู้เป็นที่ตั้ง

สรรพสิ่งทั้งหลายมาจากไหน? แล้วสรรพสิ่งทั้งหลายเหล่านี้จะมีวิวัฒนาการไปเช่นไร และจะมี จุดจบอย่างไร? คำ�ถามทั้งหลายทั้งมวลนี้... สามารถตอบได้อย่างไร โดยจากการเชื่อม โยง จุดในจักรวาล ความฝัน มโนภาพ จินตนาการ และความปรารถนา จะได้ไหม และแล้ว... ณ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศแห่งนี้... เธียเตอร์ แสดงการเชื่อมต่อสรรพสิ่งบนโลกและจักรวาล ซึ่งล้วนเชื่อมโยงให้เห็นเป็นแผนที่จินตภาพ...

โครงการอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมด้านอวกาศ (SKP) เป็นโครงการ ทีม่ จี ดุ ประสงค์เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาต่อยอดงานวิจยั และ พัฒนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อสร้าง มูลค่าเพิม่ ของผลิตภัณฑ์ของผูป้ ระกอบการ SME และระดับอุตสาหกรรม อันจะเป็นเครือ่ งมือส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นผูน้ �ำ ของการพัฒนาธุรกิจ บนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในภูมิภาคอาเซียน ดังนั้น อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมด้านอวกาศ จึงเป็นกลไกที่ สำ�คัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในระดับภูมิภาค และเป็น โครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและระบบนวัตกรรม เพื่อ ให้รองรับการพัฒนาของประเทศทีม่ งุ่ เน้นนำ�วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ อันเป็นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน ของประเทศอย่างยัง่ ยืน โดยทีอ่ ทุ ยานรังสรรค์นวัตกรรมด้านอวกาศจะมี พื้นที่ให้หน่วยงานภาคเอกชนเข้าทำ�การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้าน เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ พร้อมกับให้บริการอันเป็นการ สนับสนุนการวิจัยให้บังเกิดผลเชิงพาณิชย์และเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันทางธุรกิจ

3


การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศ

ระบบบริการภูมิสารสนเทศ เพื่อการจัดทำ�แผนพัฒนาจังหวัด (GISCHANGWAT) จากบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระหว่ า งกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาจังหวัดและ การป้องกัน/แก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง GISTDA เป็นหน่วยงานที่ เชีย่ วชาญด้านภูมสิ ารสนเทศเป็นผูน้ �ำ การให้บริการข้อมูลดาวเทียมจนนำ� ไปสูโ่ ครงการ “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศ เพือ่ การบริหาร จัดการพื้นที่ (GISCHANGWAT)” โดยมีการออกแบบและพัฒนาระบบ โดย GISTDA ดังนี้

การออกแบบและพัฒนาระบบ แผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด

MIS

• ปีงบประมาณ • แหล่งงบประมาณ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • ประเภทผลผลิต/กิจกรรม • ประเภทโครงการ • แผนงาน/โครงการ • พิกัดX, Y • อื่นๆ

4

ประโยชน์ของระบบ ระบบบริ ก ารภู มิ ส ารสนเทศเพื่ อ การจั ด ทำ � แผนพั ฒ นาจั ง หวั ด เป็ น การนำ � วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการบริ ห ารจั ด การ ข้อมูล ข้อสนเทศเพื่อใช้ในการจัดทำ�แผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้อง กับความต้องการของประชาชนและความจำ�เป็นเร่งด่วนของพื้นที่ โดย พิจารณาตามกรอบยุทธศาสตร์จังหวัด ระบบฯ จะเป็นกลไกที่สำ�คัญใน การวางแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งในด้านเชิงพื้นที่และคุณภาพ ชีวิตของประชาชนให้เป็นไปอย่างยั่งยืน เป็นรูปธรรมและมีความคุ้มค่า ในการลงทุน รวมทั้งจะช่วยวิเคราะห์ภาพรวม นโยบาย ทิศทาง เป้า หมาย และตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาจังหวัดและกลุ่ม จังหวัด รวมทัง้ แผนอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารจัดการพืน้ ทีก่ ารพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาท้องถิ่น

ข้อมูล จปฐ. - 2553 • ประชากร, อาชีพ, รายได้ • ตัวชี้วัด GIS ระบบบริการภูมิสารสนเทศ เพื่อการจัดทำ�แผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด

• ฐานการผลิตอาหารปลอดภัย • ระบบการขนส่ง/กระจายสินค้า • ศาสนา/ วัฒนธรรม/ ธรรมชาติ • แหล่งน้ำ�ต้นทุนฯ • ทรัพยากรธรรมชาติทางชีวภาพ

• ข้อมูลดาวเทียม • ข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน • ตำ�แหน่งสถานที่ (GPS) ฯลฯ


การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศ

การให้บริการในระบบสมาชิก ระบบบริการภูมิสารสนเทศจังหวัด ให้บริการผ่านเครือข่ายในรูปแบบ สมาชิก โดยคิดค่าบริการตารางกิโลเมตรละ 10 บาท สมาชิกจะได้รับการบริการพิเศษ ดังนี้ • ใช้บริการภาพถ่ายดาวเทียมแบบออร์โท ที่ให้บริการผ่านเครือข่าย • ใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศที่ได้รับการปรับปรุงความทันสมัยอย่าง ต่อเนื่อง • ภาพถ่ายในช่วงเกิดภัยธรรมชาติ และการประเมินพื้นที่เฝ้าระวัง และพื้นที่เสียหาย • รับสิทธิพิเศษในการฝึกอบรมบุคลากร รวมทั้งการพัฒนาการ ใช้ประโยชน์ในระดับสูง

ระบบบริการภูมิสารสนเทศประกอบด้วยข้อมูลที่สำ�คัญ ได้แก่ 1. ข้อมูลจากดาวเทียมรายละเอียดสูงที่มีความทันสมัย และผ่านการปรับแก้ความถูกต้องเชิงตำ�แหน่ง 2. ข้อมูลภูมิสารสนเทศที่สำ�คัญ ได้แก่ ขอบเขตการ ปกครอง เส้นทางคมนาคม ทีต่ งั้ หมูบ่ า้ น อำ�เภอ จังหวัด สภาพการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ และสถานทีส่ �ำ คัญต่างๆ เช่น สถานทีร่ าชการ สถานศึกษา สถานทีส่ �ำ คัญทาง ศาสนาและสถานที่ท่องเที่ยว เป็นต้น 3. ข้อมูลด้านการบริหารจัดการของจังหวัด (MIS)ประกอบด้วยข้อมูลแผนงาน/โครงการ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเภทงบประมาณ ประเภทผลผลิต การเบิกจ่าย รวมถึงการ เตือนภัยและข้อมูลด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างการใช้งานการจัดทำ�แผนที่จังหวัดผ่าน web browser ต่างๆ

นอกจากนี้ GISTDA ยังให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ ภาพถ่ายจากดาวเทียมขนาดใหญ่ ได้แก่ QUICKBIRD, IKONOS, WorldView-2

หากท่านใดสนใจโครงการ GISCHANGWAT สามารถดูรายละเอียดได้ที่นี่ http://pdc.gistda.or.th/gischangwat 5


ภาษาอังกฤษกับความพร้อมของบุคลากรไทย เมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เมื่อไรก็ตาม ที่ประชาคมอาเซียนได้เปิดประตูต้อนรับสมาชิกด้วยกัน อย่างเป็นทางการ นั่นหมายถึงการเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงในด้าน ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งทางด้านเศรษฐกิจ ที่เกือบจะทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเริ่มให้ ความสำ�คัญในการเตรียมแผนความพร้อมทั้งเชิงรุกและเชิงรับเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น แน่นอนว่าแรงงานฝีมือในประเทศต่างๆที่อยู่ ในกลุ่มอาเซียนจะสามารถโยกย้ายการทำ�งานได้อย่างเสรีมากขึ้น หลาย องค์กรจึงมีความจำ�เป็นต้องปรับตัว ซึ่งประเด็นสำ�คัญที่องค์กรควรเร่งให้ ความสนใจเป็นพิเศษในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การพัฒนาอาจ ขึน้ อยูก่ บั ทักษะ ความใส่ใจและระยะเวลาในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของ บุคลากรแต่ละคน อย่างไรก็ตาม สิ่งที่องค์กรไทยควรให้การสนับสนุนและเร่งพัฒนา อย่างจริงจัง คือ ทักษะทางด้านภาษา โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เนือ่ งจาก ประชาคมอาเซียนได้ระบุไว้ในมาตราที่ 34 ของกฎบัตรสมาคมแห่ง ประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ว่า “The working Language of

ASEAN shall be English.” ที่ประเทศในประชาคมอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ต้องยอมรับในการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการติดต่อ สื่อสารระหว่างกลุ่มสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ดังนั้นภาษาอังกฤษ จึงถูกนำ�มาใช้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสาร หรือการประสานงาน เพือ่ ความสะดวกในการติดต่อเจรจาทางการค้า หรือจะเป็นการหารือกัน ระหว่างประเทศในอาเซียน อีกทั้ง การเปิดประชาคมอาเซียนนั้น ทำ�ให้ การตลาด การค้า มีความหลากหลายมากยิง่ ขึน้ และแน่นอนว่าจะต้องมี ลูกค้าทีเ่ ป็นบริษทั ข้ามชาติเพิม่ ขึน้ เป็นจำ�นวนมากอย่างแน่นอน อย่างไร ก็ดี การเตรียมความพร้อมทางด้านทักษะภาษาอังกฤษนั้น มิใช่เพียงแต่ การศึกษาการสือ่ สารขัน้ พืน้ ฐานตามหลักกระทรวงศึกษาธิการเท่านัน้ แต่ หัวใจหลักทีม่ คี วามจำ�เป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีคอื ความเข้าใจในการสือ่ สาร นั้นๆ อย่างถูกต้อง เพื่อไม่ให้เกิดความเข้าใจผิด หรือ ความผิดพลาดใน ด้านต่างๆ ทีม่ สี าเหตุมาจากความไม่แม่นยำ�หรือไม่เข้าใจในภาษาอังกฤษ อย่างแท้จริง การเตรียมพร้อมทางด้านภาษาอังกฤษ ไม่ได้หมายความ ถึงการเริ่มต้นนับหนึ่งใหม่ ฝึกหัดจนเชี่ยวชาญในทุก ทักษะ ไม่ว่าจะเป็น การฟัง การพูด การอ่าน หรือการ เขียน รวมถึงความถูกต้อง แม่ น ยำ � ในด้ า นไวยากรณ์ เพราะนั่นหมายถึงการใช้ เวลาอั น ยาวนานในการ ฝึ ก ฝนทั ก ษะต่ า งๆ ซึ่ ง ใน ขณะนี้ มี ห ลายองค์ ก รชั้ น นำ�ของประเทศที่ได้ลุกขึ้นมาเตรียมความพร้อมด้านภาษาอังกฤษให้แก่ บุคลากรภายในองค์กร ยกตัวอย่างเช่น บริษทั เครือซีเมนต์ไทย ทีจ่ ดั สรร งบลงทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ปีละกว่า 600 ล้านบาท เพื่อผลักดันวิสัย ทัศน์ 2015 ที่จะมุ่งสู่การเป็นผู้นำ�ภูมิภาคอาเซียน โดย คุณมนูญ สรรค์ คุณากร ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการบุคคลกลาง บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) กล่าวว่า “ต้องชำ�นาญภาษาอังกฤษ มีความคล่องตัว สูง สามารถเคลื่อนย้ายไปทำ�งานในทุกประเทศที่เอสซีจีดำ�เนินธุรกิจ อยู่ ชนิดทีใ่ ช้สนามบินเป็นจุดนัดหมาย พบปะและสัง่ งานกันได้เสมอ” ซึง่ ถือว่าเป็นภารกิจด้านการจัดการบุคลากรของเอสซีจใี นวิสยั ทัศน์ 2015 ทีม่ งุ่ เฟ้นหาบุคลากรทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ มาขับเคลือ่ นองค์กรให้ไปสูเ่ ป้าหมาย ที่วางไว้ GISTDA เป็นองค์กรที่ตระหนักถึงความสำ�คัญในการเป็นส่วน หนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน GISTDA ได้มีแผนเตรียมความ พร้อมให้กบั บุคลากร ได้แก่ การส่งเสริมให้เจ้าหน้าทีอ่ บรมทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษในด้านต่างๆด้วยเช่นกัน เพื่อพร้อมที่จะเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตอันใกล้นี้

Charter of the Association of Southeast Asian Nations, Article 34: Working Language of ASEAN. เครือซีเมนต์ไทย กลยุทย์บริหารคนของบริษัทใหญ่ http://www.easyroadtraining.com/index.php/copany-the-best/464-people-management

1 2

6

กลุ่มพัฒนาเครือข่ายพันธมิตรธุรกิจ


Curiosity

กับภารกิจพิชิตดาวอังคาร !!! จากภาพยนตร์ Sci Fi ที่มนุษย์สามารถเดินทางไปยังดาวดวงอื่น โดยยานอวกาศสุดล�้ำสมัย วันนี้อาจมิใช่แค่ในภาพยนตร์อีกต่อไป เมื่อ ปฏิบตั กิ ารของนาซ่าในการส่งยานอวกาศ Curiosity ประสบความส�ำเร็จ ในการน�ำยาน Curiosity ลงจอดบนดาวอังคาร แต่กว่าจะได้ฉลองความ ส�ำเร็จครัง้ ยิง่ ใหญ่นี้ เราลองมาดูเหตุการณ์ส�ำคัญอันน่าตืน่ เต้นในการเดิน ทางของยาน Curiosity วันที่ 5 สิงหาคมตามเวลา PDT (ช่วงเช้าของวันที่ 6 สิงหาคม ตาม เวลา EDT) Curiosity หรือห้องทดลองเคลื่อนที่ส�ำหรับวิเคราะห์ดาว อังคาร: Mars Science Laboratory (MSL) ได้แตะพืน้ ดาวอังคารเป็นผล ส�ำเร็จ การเดินทางจากบ้านเกิดกว่า 352 ล้านไมล์ (567 ล้านกิโลเมตร) เพื่อไปยังโลกใบใหม่ได้สิ้นสุดลงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตลอดการรอคอย กว่า 8 เดือน ช่วงทีส่ �ำคัญสุดคงเป็น 7 นาทีของการหย่อนตัวลงจอด ด้วย น�้ำหนักที่มากถึงประมาณ 1 ตัน Curiosity ซึ่งถูกบรรจุอยู่ใน capsule จ�ำต้องอาศัย sky crane ช่วยพยุงตัวมันเองฝ่าชั้นบรรยากาศดาวอังคาร ลงสู่เบื้องล่าง การลงจอดด้วยวิธีนี้ไม่เคยมีมาก่อน ครั้งนี้นับเป็นครั้งแรก ในประวัตศิ าสตร์การบินอวกาศ ท�ำให้ 7 นาทีดงั กล่าวเป็นช่วงเวลาตัดสิน ชะตาหรือ “Live or Die” ที่ใครหลาย ๆ คนคงลุ้นระทึก คลิปวีดีโอที่ 1 เป็น trailer บรรยากาศในห้องควบคุม JPL ขณะติดตามการลงจอด ของ Curiosity

http://www.youtube.com/watch?v=ofgsALmjGqo&fea ture=player_embedded คลิปวิดีโอที่ 1: trailer บรรยากาศในห้องควบคุม JPL ขณะติดตามการลงจอดของ Curiosity ที่มา : ท้องฟ้าจำ�ลองกรุงเทพ

การลงจอดอย่างแม่นย�ำนอกจากจะเป็นเรื่องยากแล้ว เพื่อให้ สามารถติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ทีมนักวิทยาศาสตร์ JPL ยังต้อง อาศัยการเชื่อมโยงอย่างพอเหมาะพอดีกับยานส�ำรวจอีก 2 ล�ำก่อนหน้า นี้ คือ Mars Odyssey orbiter (ODY) และ Mars Reconnaissance Orbiter (MRO) ซึ่ง Curiosity จะส่งคลื่นวิทยุโดยตรงกลับมายังโลก ส่วน ODY และ MRO จะคอยช่วยเป็นประจักษ์พยานระหว่างการลงจอด ท�ำหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางรับ-ส่งสัญญาณวิทยุทซี่ บั ซ้อนขึน้ จาก Curiosity เพือ่ บอกเล่าเรือ่ งราว 7 นาที “Live or Die” ให้กบั ทีมผูต้ ดิ ตามของ JPL บนโลก

ภาพจากยาน Curiosity ซึ่งเป็น ภาพที่ เชื่ อ ว่ า ครั้ ง หนึ่ ง บนดาว อังคารเคยมีธารน�ำ้ ไหล โดยภาพที่ ว่านี่เป็นภาพที่มีร่องรอยการไหล เซาะของน�้ำเมื่อหลายพันปีก่อน ยาน Curiosity ได้สง่ ภาพสีใบแรกจากดาวอังคารกลับมาให้คนบน โลกได้ยลโฉมกัน ภาพนี้ถ่ายตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม 2555 ซึ่งถูกก�ำหนด ให้เป็น Sol 1 หรือ วันที่ 1 ของภารกิจส�ำรวจดาวอังคารของ Curiosity ภาพดังกล่าวถูกถ่ายด้วย Mars Hand Lens Imager (MAHLI) ซึ่งติด อยู่ที่ตัว Curiosity และเพิ่งจะถูกเผยแพร่ในวันที่ 7 สิงหาคม 2555 เป็น ภาพของบริเวณ Gale Crater หรือบริเวณที่ Curiosity ลงจอด ปฏิบตั กิ ารของยาน Curiosity อาจน�ำไปสูค่ �ำตอบทีม่ นุษย์โลกอย่าง เราสงสัยกันมานานแล้วว่า นอกจากโลกแล้วอาจมีดาวเคราะห์ดวงอืน่ ทีม่ ี สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ด้วยเช่นกัน และการเดินทางในอวกาศอาจมิใช่มีแต่ใน ภาพยนตร์อีกต่อไป 7


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเปิดงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เปิดงานมหกรรมวิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรง ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจ�ำปี 2555 ณ

ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา เมือ่ เวลา 14.25 น.วันที่ 22 ส.ค.55 โดยในส่วนของ GISTDA มี นายชาญชัย เพียรวิจารณ์พงศ์ รองผู้ อ�ำนวยการ สทอภ. พร้อมคณะเฝ้าฯ รอรับเสด็จฯ มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ในปีนี้ GISTDA ได้รว่ ม จัดนิทรรศการ โดยแบ่งออกเป็น 5 ส่วนหลักๆ ดังนี้ 1. โรงภาพยนตร์ Video Animation เกีย่ วกับ “ภาพถ่ายดาวเทียม กับการบริหารจัดการอุทกภัย” 2. หนังสือ “โลกแห่งนำ�้ ” ผ่านจอระบบสัมผัส (Interactive Book) 3. การใช้ประโยชน์จากภาพถ่ายดาวเทียมในด้านต่างๆ อาทิ การเกษตร ป่าไม้ ผังเมือง การจัดการที่ดิน การบริหารจัดการน�้ำ การน�ำ เสนอข้อมูลเชิงกราฟิก ให้ผู้ชมสามารถเข้าใจง่าย 4. GISTDA Introduction “มุมมองใหม่” แนะน�ำภาพถ่าย ดาวเทียมไทยโชต 5. กิจกรรม เกมส์ และแจกของที่ระลึกบนเวทีเล็ก

8


GISTDA ร่วมนิทรรศการ มุ่งมั่นทำ�งาน บริหารจัดการน้ำ�เพื่อประชาชน

นิทรรศการ “มุ่งมั่นท�ำงาน บริหารจัดการน�้ำเพื่อประชาชน” ได้จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม – 3 กันยายน 2555 ณ ห้อง บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลลาดพร้าว โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานทุกภาคส่วนและประชาชนเข้าใจ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน�้ำของรัฐบาลได้อย่างถูกต้องและเมื่อ วันที่ 31 สิงหาคม 2555 ฯพณฯ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี เป็นประธานเปิดงานนิทรรศการอย่างเป็นทางการ ในงานนิทรรศการ ฯ ได้รับความสนใจจากคณะฑูต นักธุรกิจ สื่อมวลชน รวมถึงประชาชนและนักศึกษาร่วมชมนิทรรศการอย่าง คับคัง่ ซึง่ GISTDA ได้รว่ มจัดนิทรรศการในส่วนแสดงที่ 1 คือ Climate Change และ สาเหตุมหาอุทกภัยปี 2554 โดย ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อ�ำนวยการ สทอภ. และเจ้าหน้าที่ สทอภ. เป็นผู้อธิบาย และแนะน�ำเนือ้ หาของนิทรรศการตลอดการจัดงาน รวมถึงเมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2555 ผูอ้ �ำนวยการ สทอภ. และเจ้าหน้าที่ สทอภ. ได้อภิปราย ในหัวข้อ การเปลีย่ นแปลงโลกกับการจัดการนำ�้ ของประเทศไทยให้แก่ ผู้สนใจภายในงานนิทรรศการอีกด้วย

9


GISTDA ร่วมกับ สำ�นักงานความร่วมมือพัฒนา เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) : NEDA และ สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและ การพัฒนา (องค์การมหาชน) : ITD ร่วมจัดงานเสวนา หัวข้อ “การใช้ประโยชน์ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อการ พัฒนาความเชื่อมโยงใน GMS” ณ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน ห้อง STAR 29 ชั้น 29 วัน ศุกร์ที่ 28 กันยายน 2555 เวลา 09.00-12.00 น. ซึ่ง การจัดงานดังกล่าวจะเป็นการต่อยอดการปฏิบัติงาน ในโครงการของทั้งสามองค์กร ตลอดจนเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพ และศักยภาพในการปฏิบัติงาน รวมถึง เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มของโครงการการให้ความช่วย เหลือประเทศเพื่อนบ้านอย่างเป็นรูปธรรม

NEDA และ GISTDA ได้รว่ มกันจัดทำ�แผนทีเ่ ส้นทางคมนาคม ขนส่ง และ โลจิสติกส์ของภูมิภาคที่มีความสมบูรณ์ และตรงตาม กลุม่ เป้าหมายของหน่วยงาน รวมถึงจะร่วมกันจัดให้มกี ารฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการ สำ�หรับการพัฒนาบุคลากรของประเทศเพื่อนบ้าน และบุคลากรขององค์กรทั้งสอง ความร่วมมือของทั้งสามหน่วย งานในวันนี้เป็นการแสดงให้เห็นถึง ความเข้มแข็งระหว่างองค์การ มหาชน ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐในรูปแบบใหม่ที่พร้อมให้การ พัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การพัฒนาในภูมภิ าคอาเซียน

10


การลงนามบันทึกข้อตกลง ว่าด้วยความร่วมมือด้านเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ระหว่าง กองทัพบกและ สทอภ.

เมื่อวันอังคาร ที่ 25 กันยายน 2555 กองทัพบก และ GISTDA ได้ ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลง ว่าด้วยความร่วมมือด้านเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 7 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถ. แจ้งวัฒนะ โดยได้รบั เกียรติจาก พล.อ. ศิริชัย ดิษฐกุล เสนาธิการทหารบก, พล.ต. สินธุ์ชัย สมานทรัพย์ เจ้ากรม ข่าวทหารบก และ พ.อ. ปณต แสงเทียน รองเจ้ากรมข่าวทหารบก มา ร่วมลงนามในฐานะผู้แทนของกองทัพบก และ ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำ�นวยการ สทอภ., นายชาญชัย เพียรวิจารณ์พงศ์ พร้อมด้วย นายสามารถ ดวงวิจิตรกุล รองผู้อำ�นวยการ สทอภ. ลงนามในฐานะผู้ แทนของ สทอภ. บันทึกข้อตกลงทีท่ �ำ ร่วมกันนีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ พัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพด้านการนำ�เทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ มา ใช้ในการสนับสนุนการปฏิบตั งิ านด้านการข่าว ภารกิจป้องกันประเทศ และการพัฒนาประเทศโดยรวม ในโอกาสนี้ ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ได้บรรยายสรุปภารกิจของ สทอภ. และนำ�เสนาธิการทหารบก พร้อมคณะ เยี่ยมชม Imagineering Center

11


ได้เวลาชม

เข้าหน้าหนาวแบบนีพ้ ลาดไม่ได้กบั กิจกรรมการเฝ้าชมสังเกตฝน ดาวตก ซึ่งฤดูหนาวเหมาะสมในการชมฝนดาวตกเนื่องจากท้องฟ้า ค่อนข้างที่จะใส ไม่มีเมฆ มากกว่าฤดูอื่นๆ จึงเป็นอีกกิจกรรมที่ อยากให้ผู้อ่านลองใช้เวลายามค�่ำคืนชมความงามของดาวตกจ�ำนวน มากมายบนท้องฟ้า ฝนดาวตก คือ ดาวตกหลายดวงที่ดูเหมือนพุ่งออกมาจาก บริเวณเดียวกันในท้องฟ้าในช่วงเวลาเดียวกันของปี ซึ่งเกิดจาก เศษชิ้นส่วนในอวกาศที่พุ่งเข้ามาในบรรยากาศโลกด้วยอัตราเร็ว สูง แต่ละคราวที่ดาวหางเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ จะมีเศษชิ้นส่วน ขนาดเล็กของดาวหางถูกสลัดทิ้งไว้ตามทางโคจร เรียกว่า “ธาร สะเก็ดดาว” หากวงโคจรของโลกและของดาวหางซ้อนทับกัน โลกจะเคลื่อนที่ผ่านธารสะเก็ดดาวในช่วงวันเดียวกันของแต่ละปี ท�ำให้เกิดฝนดาวตก

ฝนดาวตกแล้ว

ส�ำหรับฝนดาวตกคนคู่ 13 ธันวาคม 2555 จะเป็น ปรากฏการณ์สุดท้ายของปี ค.ศ. 2012 เป็นฝนดาวตกซึ่งขึ้นชื่อเรื่อง ของจ�ำนวนดาวตกมากกว่าฝนดาวตกชุดอื่นๆ ด้วยจ�ำนวนดาวตก เฉลี่ย 120-160 ดวงต่อชั่วโมง ขึ้นอยู่กับสภาพท้องฟ้า ฝนดาวตก นายพราน แสงจันทร์ (Orionids อักษร 2 ต.ค. - 7 พ.ย. 20/21/22 ต.ค. 22:30 น. 25 20 รบกวน เจมิดส์มีช่วงเวลาการตกสูงสุดยาวนานหลายชั่วโมงดังนั้นเมื่อกลุ่ม ย่อ ORI) ก่อนเที่ยงคืน ดาวคนคู่ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางของการกระจาย พ้นขอบฟ้าในเวลา สิงโต ประมาณ 20:00 น. ของวันที่ 13 จ�ำนวนของดาวตกจะเพิ่มขึ้นจน 16/17/18 (Leonids อักษร 6-30 พ.ย. 00:30 น. 10-20 10-15 พ.ย. กระทั่งช่วงเวลา 02:00-04:00 ของวันที่ 14 ธันวาคม 2555 ซึ่งเป็น ย่อ LEO) ช่วงที่มีดาวตกมากที่สุดคาดว่าอาจเกิน 100 ดวงต่อชั่วโมง ซึ่งใน คนคู่ (Geminids อักษรย่อ 7-17 ธ.ค. 13/14 ธ.ค. 20:00 น. 120 90-100 วันดังกล่าวเป็นช่วงเดือนมืดซึ่งแสงดวงจันทร์ไม่รบกวนการชมฝน GEM) ดาวตกเช่นกัน ก่อนออกไปชมฝนดาวตกแนะน�ำให้น�ำเก้าอี้พับหรือเสื่อ ส�ำหรับนอน ติดหมวกไหมพรมและผ้าพันคออุ่นๆกันน�้ำค้างด้วยก็ดีค่ะจะได้ไม่เป็นหวัด กัน ขอให้ชมฝนดาวตกอย่างมีความสุขนะค่ะ ฝนดาวตก

ช่วงที่ตก

คืนที่มีมาก ที่สุด

เวลา อัตราสูงสุด อัตราสูงสุด ที่เริ่ม ในภาวะ ใน เห็น อุดมคติ ประเทศไทย (ประมาณ) (ดวง/ชั่วโมง) (ดวง/ชั่วโมง)

หมายเหตุ

ที่มา : http://thaiastro.nectec.or.th/

คุณแดงก๋วยแขจวงชั๊บนะสญงครามวน

ที่อยู่ : 68-70 ถ.พระอาทิตย์ เขตพระนคร กรุงเทพ 10200 โทร : 085-246-0111

หากผ่านไปทีถ่ นนพระอาทิตย์ คงสังเกตเห็นร้านขนาดสองคูหาทีม่ ปี ระตูบานเฟีย้ ม สีขาวขอบเขียวอย่างชัดเจน เพราะร้านนีม้ ผี คู้ นเข้าออกไม่ขาดสายจนสะดุดตา และชวน ให้อยากพิสูจน์ด้วยตัวเองว่า ร้านก๋วยจั๊บญวนร้านนี้มีดีที่ตรงไหน ลูกค้าจึงได้เต็มร้าน ตลอดเวลา มีดีอย่างแรกเริ่มจากเครื่องเครามากมายจนเรียกได้ว่าเป็น ก๋วยจั๊บญวนทรง เครื่องเพราะมีทั้งหมูยอ หมูตุ๋น หมูเด้ง ไข่นกกระทา เห็ดหอม จะสั่งพิเศษใส่ไข่ไก่ลวก อีกก็ได้ โรยหน้าด้วยหอมเจียว ที่เจียวมาแห้ง หอม กรอบ ทั้งหมดโปะอยู่บนเส้นก๋วยจั๊บ ทีล่ วกจนเส้นใสได้ทเี่ ป็นของดีอย่างทีส่ อง มีดอี ย่างทีส่ าม คือนำ�้ ซุปรสดี มีดอี ย่างสุดท้าย คือการบริการที่รวดเร็ว เพียงแค่นี้ก็เข้าใจแล้วว่าใครๆก็อยากกินที่ร้าน ก๋วยจั๊บญวน บรรยากาศร้าน : ร้านคุณแดงก๋วยจับ๊ ญวน เคล็ ด ลั บ ของก๋ ว ยจั๊ บ ร้ า นคุ ณ แดงคื อ น�้ ำ ซุ ป ที่ เข้มข้นถูกปาก ถูกใจลูกค้าทั้งเส้นก๋วยจั๊บ ใช้ วัตถุดิบที่สดใหม่ เครื่องปรุงครบสูตร หมูยอก็ใช้ หมูยอเนื้อพริกไทยด�ำรสเด็ด ที่สั่งมาเป็นพิเศษ จากร้านแม่ฮาย จ.อุบลราชธานี

12


ดาวเทียม

ออกไปสู่อวกาศได้อย่างไร ???

การส่งดาวเทียมและยานอวกาศจากพื้นโลกขึ้นสู่อวกาศ ต้อง ต่อสู้กับแรงดึงดูดของโลก ดาวเทียมและยานอวกาศต้องเอาชนะ แรงดึงดูดของโลก โดยอาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง ความเร็วของจรวดต้องมากกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวินาที ยานอวกาศ จึงจะสามารถขึ้นไปสู่อวกาศและโคจรรอบโลกในระดับต�่ำที่สุด (0 กิโลเมตร) ได้ ถ้าความเร็วมากกว่านี้ยานจะขึ้นไป โคจรอยู่ในระดับที่ สูงกว่า เช่น ถ้าหากความเร็วจรวดเป็น 8.66 กิโลเมตรต่อวินาที ยาน จะขึ้นไปได้สูง 1,609 กิโลเมตร ถ้าหากจะให้ยานหนีออกไปโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ จรวดที่พายานออกไปต้องมีความเร็วที่ผิวโลกมากกว่า 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที ซึ่งเรียกว่า ความเร็วหลุดพ้น (Escape Velocity)หรือความเร็วผละหนีความเร็วหลุดพ้นจากโลกจะลดตำ�่ ลง เมื่อห่างจากโลกมากขึ้น

ขั้นตอนการบินของยานขนส่งอวกาศมีดังนี้ 1. 2. 3. 4.

ใช้จรวดขับดันเชือ้ เพลิงแข็ง 2 ล�ำเป็นพลังงานในการส่งยาน ขนส่งอวกาศขึ้นจากฐาน เมือ่ จรวดขับดันใช้เชือ้ เพลิงหมดแล้วจะแยกตัวออกและตกลง สูพ่ นื้ น�ำ้ และใช้รม่ ชูชพี เพือ่ น�ำจรวดขับดันนี้ น�ำกลับไปยังฐาน ส่งจรวด เพื่อซ่อมแซมแก้ไขใช้ในโอกาสต่อไป ยานขนส่งอวกาศคงเคลื่อนที่สูงขึ้นต่อไป โดยเชื้อเพลิงที่เป็น ของเหลวบรรจุในถังเชื้อเพลิงภายนอกให้กับเครื่องยนต์จรวด 3 เครื่อง ถังเชื้อเพลิงภายนอกจะหลุดออกก่อนที่ยานขนส่งอวกาศจะ ไปถึงวงโคจรรอบโลก และถูกเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ ไม่มี การน�ำกลับมาใช้งานอีกต่อไป

ระบบการขนส่งอวกาศ

การขนส่งดาวเทียมและยานอวกาศแต่ละครั้ง ทั้งดาวเทียมและ จรวดน�ำส่ง ไม่มสี ว่ นใดน�ำกลับมาใช้ได้อกี เป็นการสิน้ เปลืองค่าใช้จา่ ยใน การส�ำรวจอวกาศ ระบบการขนส่งอวกาศ ถูกพัฒนาและออกแบบให้ สามารถน�ำชิ้ น ส่ ว นกลั บ มาใช้ ใ หม่ ใ ห้ ม ากที่ สุ ด ในปี ค.ศ. 1972 ประธานาธิบดีนิกสัน ได้ตัดสินใจปิดโครงการอพอลโลก่อนก�ำหนด ใน ปีเดียวกันนั้นนิกสันอนุมัติโครงการพัฒนากระสวยอวกาศ มีนักบิน ควบคุมการบิน และสามารถน�ำกลับมาใช้บินขึ้นสู่อวกาศได้อีก เรื่อยไป ยานอวกาศแบบนี้เรียกว่า กระสวยอวกาศ มีจุดมุ่งหมายใช้เป็นระบบขนส่งอวกาศ ( Spare Transporation System เรียกย่อ ๆ ว่า STS) ระบบขนส่งอวกาศประกอบ ด้วยส่วนประกอบใหญ่ ๆ 3 ส่วน คือ 1. ยานขนส่งอวกาศ 2. ถังเชื้อเพลิงภายนอก 3. จรวดเชื้อเพลิง

ทีม่ า : http://www.thaigoodview.com/node/76341 13


คู่ซ่า...ท้าสำ�รวจ

14


คู่ซ่า...ท้าสำ�รวจ

15


Where is it? สนุกง่ายๆ ทายสิที่ไหนเอ่ย? กติกา...ท่านผู้อ่าน ดูภาพถ่ายจากดาวเทียม แล้วทายว่าเป็นภาพถ่ายจากสถานที่ใด จากนั้นส่งคำ�ตอบมาที่ E-mail : pr@gistda.or.th

รับไปเลย!

สำ�หรับ 5 ท่านแรก ที่ทายถูก หมอนสุดฮิป จาก GISTDA ไปนอนกอดแบบชิลล์ๆ ก่อนใคร หมดเขตภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ประกาศรายชื่อผู้โชคดี จากฉบับที่ 9 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2555 1. นส.อุมารัตน์ คงเกิด 2. นายอมร ชัยอารีกิจวัฒน์ 3. นายพสิษฐ์ สรรพเจริญกิจ 4. นายวีระพงษ์ พลเสนา 5. นายณัฐพงษ์ วงศ์เฟื่องฟูถาวร

ที่ไหนเอ่ย?


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.