To See The World As Others See It

Page 1


Copyright Š 2014 by the Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)

All rights reserved. Published in Thailand by Parbpim Printing Ltd., Bangkok, Thailand ISBN First Edition October 2014 800 Copies


“To see the world as others see it and to allow for the possibility that others may see something that we have failed to see, or may see it more accurately. ”

Senator J. William Fulbright, 1989

“เพื่อจะไดมองโลกอยางที่คนอื่นมอง และเพื่อเปดใจรับวาอาจเปนไปไดที่คนอื่นจะเห็นใน สิ่งที่เราไมเห็น หรือเห็นไดชัดเจนกวาเรา” วุฒิสมาชิก เจ วิลเลียม ฟุลไบรท 1989


Editors’ Note Pornthip Kanyaniyot: An Exemplary Cultural Ambassador These 25 essays, by Thai and American Fulbrighters, are dedicated to Khun Pornthip Kanyaniyot in deep appreciation for her inspiring service as Executive Director of the Thailand-U.S. Educational Foundation (TUEF/Fulbright) and life-long commitment to promoting cross-cultural understanding. After Khun Pornthip announced her decision to step down from her TUSEF leadership position, many of her admirers wondered what we could do to acknowledge her contributions to deepening Thai-U.S. understanding while expressing our profound gratitude for them. Knowing that Khun Pornthip is more interested in promoting the work of cross-cultural understanding than in the more conventional fancy plaque, gold watch or well-orchestrated farewell party, we decided that dedicating a book of essays directly related to her life’s work was the far more appropriate thing to do. Since Khun Pornthip was an undergraduate at Chulalongkorn University and a Thai Government Scholarship Recipient at Teachers College, Columbia University, she has been keenly interested in the challenges and

rewards

of

foreign

language

learning

and

cross-cultural

understanding. This interest led her to work in the ASEAN University Network

Secretariat,

the

International

Institute

for

Trade

and

Development, the Ministry of University Affairs and before coming to


TUSEF as Director, Bureau of International Cooperation Strategy, Commission of Higher Education within the Ministry of Education. This collection of essays reveals the triumphs and pitfalls of learning about other cultures. The essays poignantly convey the challenges of daily tasks undertaken in a foreign culture to the joys of horizons opened, relationships built and understandings forged. dramatically

raise

questions

about

identify

and

They

representation,

suggesting what is important varies markedly by culture.

In these

essays, eating a mango is a metaphor for ways of understanding, and regular library visits provide revelatory insights about another culture. These essays also provide practical and insightful advice for Thais and Americans on how best to navigate the potentially turbulent seas of cultural differences. cultural

Collectively, they suggest that genuine cross-

understanding

begins

by

making

a

sincere

effort

to

communicate on somebody else’s terms. That process builds empathy critical to understanding and opens remarkable doors to worlds previously unknown and relationships not possible otherwise. None of these essays would have happened without Khun Pornthip’s remarkable leadership at TUSEF these past eleven years.

Khun

Pornthip’s contributions to TUSEF/Fulbright will endure since so many of us Fulbrighters have been touched by her inspiring example of bridging cultural differences, as well as her tireless dedication to promoting greater cross-cultural understanding.

Khun Pornthip is a

wonderful example of how a single individual can make a significant difference in the lives of so many people by the simple act of genuine


caring and understanding. She has made us all feel the sense of community that evolves from being a part of the Fulbright program. As we continue in our own unique ways to promote better cross-cultural understanding, we each acknowledge our debt to Khun Pornthip and express our gratitude for her life-long work.

Kevin F. F. Quigley, Ph.D.

Bruce B. Svare, Ph.D.

Country Director

State University of New York

Peace Corps Thailand

at Albany

2007 Fulbright U.S. Specialist

2006 and 2014 Fulbright U.S.

Program

Scholar Program


จากใจบรรณาธิการ คุณพรทิพย กาญจนนิยต: แบบอยางทูตวัฒนธรรม เราขออุทิศหนังสือรวมเรือ ่ งเลา 25 เรื่องโดยชาวฟุลไบรทไทยและอเมริกน ั เลมนี้ ใหแกคุณพรทิพย กาญจนนิยต ดวยความชื่นชมที่มีตอ  ความทุม  เทเพือ ่ สงเสริม ความเขาใจขามวัฒนธรรมมาโดยตลอด ทั้งในฐานะที่เปนผูอํานวยการบริหาร มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) และเปนผูสรางแรงบันดาลใจใหกับเรา ทุกคน หลังจากทีค ่ ุณพรทิพยตัดสินใจวางมือจากตําแหนงผูบริหารของฟุลไบรท บรรดา แฟนคลับตางก็ชวยกันคิดวาจะทําอะไรเพื่อเปนทีร่ ะลึกและแสดงความขอบคุณที่ คุณพรทิพยไดทุมเทใหกบ ั การสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางไทยกับสหรัฐ เรารู ดีวาคุณพรทิพยใหความสําคัญกับเนือ ้ หาของความเขาใจขามวัฒนธรรมมากกวา โลรางวัลหรูหรา นาฬิกาทองคํา หรืองานเลี้ยงอําลาอันวิจิตรพิสดาร เราจึง ตัดสินใจมอบหนังสือรวมเรือ ่ งราวที่เกี่ยวของกับงานซึง่ คุณพรทิพยไดทุมเทมา โดยตลอดแทน ตั้งแตยังศึกษาระดับปริญญาตรีทจ ี่ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

จนไดรบ ั ทุนรัฐบาล

ไทยไปศึกษาตอระดับปริญญาโทที่ Teacher’s College มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย คุณพรทิพยก็ไดใหความสนใจเรื่องการเรียนภาษาตางประเทศและความเขาใจ ขามวัฒนธรรมทั้งในดานบวกและดานลบมาโดยตลอด ความสนใจนี้ยังคงติดตัว คุณพรทิพยไปเมื่อทํางานที่สํานักงานเลขานุการเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network Secretariat) สถาบันระหวางประเทศเพือ ่ การคา และพัฒนา ทบวงมหาวิทยาลัย และสํานักยุทธศาสตรในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กอนจะมาถึงทีฟ ่ ุลไบรท หนังสือรวมเรือ ่ งเลาเลมนี้ บันทึกความสําเร็จและความทาทายในการเรียนรู เกี่ยวกับวัฒนธรรมอื่น มีเรื่องราวหลากสีสน ั ทัง้ ทีส ่ ะทอนความทาทายใน ชีวิตประจําวันเมื่ออยูตางวัฒนธรรม และที่เปนความสุขใจเมื่อไดเปดโลกทัศน สรางมิตรภาพและความเขาใจระหวางกัน เรื่องเลาเหลานีท ้ ําใหเกิดคําถาม เกี่ยวกับอัตลักษณและการแสดงออกอันเปนผลจากคานิยมที่ตางกันไปตาม วัฒนธรรม อดีตผูรบ ั ทุนฟุลไบรทคนหนึง่ ใชการกินมะมวงมาเปรียบเทียบใหเห็น


ถึงวิธีการสรางความเขาใจตอกัน ขณะที่อก ี คนหนึง่ แนะวาแคการเขาหองสมุดก็ สามารถชวยใหเราเรียนรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมของที่นน ั้ ๆ ไดแลว เรื่องราวเหลานีย ้ ังมีคาํ แนะนําที่รูลึกรูจริงสําหรับคนไทยและคนอเมริกัน วาเราจะ สามารถนําพาตัวเองฝาคลื่นลมอันไมแนนอนของความแตกตางทางวัฒนธรรมไป ไดอยางไร โดยรวมแลวหนังสือเลมนีบ ้ อกกับเราวา การทําความเขาใจวัฒนธรรม ที่แตกตางนั้น ที่แทตอ  งเริม ่ จากความพยายามอยางจริงใจที่จะสือ ่ สารดวยภาษา ของผูอ  ื่น ซึ่งจะทําใหเราสามารถเขาถึงใจคนเหลานั้น อันเปนสิง่ สําคัญยิ่งในการ สรางความเขาใจและเปดประตูสูโลกใหมและมิตรภาพที่เราไมเคยสัมผัสมากอน ถาฟุลไบรทไมมีผูนําที่โดดเดนอยางคุณพรทิพยในชวง 11 ปที่ผา นมา เรือ ่ งราว เหลานี้ก็คงจะไมเกิดขึ้น ทั้งนี้ ผลจากความทุมเทของคุณพรทิพยที่มีตอ  ฟุลไบรท จะยังคงอยูตอ  ไป เพราะเราชาวฟุลไบรทจํานวนมากตางก็ไดรับแรงบันดาลใจ จากคุณพรทิพยในการอุทิศตนอยางไมรูจักเหน็ดเหนือ ่ ย เพื่อสงเสริมความเขาใจ ตางทางวัฒนธรรม คุณพรทิพยเปนแบบอยางที่วิเศษสุดทีแ ่ สดงใหเห็นวาคนคน หนึ่งสามารถสรางความแตกตางที่ยงิ่ ใหญตอ  ชีวิตของคนอีกหลายคนได เพียงแค มีความอาทรอยางจริงใจและความเขาอกเขาใจผูอน ื่ คุณพรทิพยทาํ ใหพวกเรา รูสึกถึงความเปนครอบครัวนับแตกาวเขามาเปนสวนหนึ่งของฟุลไบรท ในขณะที่ เราชวยกันสานตอความพยายามของคุณพรทิพยที่จะสงเสริมความเขาใจขาม วัฒนธรรมในแบบฉบับเฉพาะของแตละคนนัน ้ เราทุกคนลวนตระหนักถึงสิ่งทีค ่ ุณ พรทิพยไดฝากใหไวกับเราดวยความขอบคุณ

เควิน เอฟ เอฟ ควิกลีย

บรูซ บี สแวเรอร

Country Director

State University of New York

Peace Corps Thailand

at Albany

2007 Fulbright U.S. Specialist

2006 and 2014 Fulbright U.S.

Program

Scholar Program


Table of Content สารบัญ Page/หนา Cross-Cultural Key Words and Strategies

11

กาวผานความตางทางวัฒนธรรม By Porntip Kanjananiyot เรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Being More Thai or American

23

ผมไมแนใจวาผมเปนไทยหรืออเมริกันมากกวากัน By Apivat Hanvongse แปลและเรียบเรียงโดย ภูริพันธุ รุจิขจร

Being an Asian in Thailand

29

คนเอเชียในไทย และคนเอเชีย-อเมริกันในอเมริกา By Hong Chhuor แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Thai-American: How Much They Culturally Understand

35

Each Other ไทย-อเมริกน ั : เขาใจกันแคไหน เพียงใด โดย ผ.ศ. พิมพาภรณ สุวัตถิกุล Translated by Talisa Likanonsakul

Phra Pathom Chedi, Me, and Oedipus

44

เปดโลกอารยธรรมตะวันตกดวยตํานานพระปฐมเจดีย By Assoc. Prof. Chalermsri Chantasingh, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Social Norms and Family Culture: A Cross-Cultural Analysis มองสังคมและครอบครัวจากมุมตางวัฒนธรรม

51


By Jessica M. Sadler แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Fulbright-Hays Seminar Abroad Program: Reflections

56

on Thailand and Vietnam Summer 2007 ภาพสะทอนจากประเทศไทยกับประเทศเวียดนามจากโครงการ ฟุลไบรท-เฮส 2550 By Jeanette Barbari แปลและเรียบเรียงโดย จักรี เตจะวารี

Fun-to-Learn Fair

63

นิทรรศการการเรียนรูสไตลฟุลไบรท By Piya Kerdlap แปลและเรียบเรียงโดย ธาริต นิมมานวุฒิพงษ

Caring Hearts for Our Soldiers

67

ถุงน้ําใจใหทหาร By Korin Tangtrakul แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

“From Apprehension to Appreciation”

72

แบงปนประสบการณเรือ ่ ง “จากความกังวล” By Ronda Kjelgren แปลและเรียบเรียงโดย ปาริชาติ มั่นสกุล

Food for Brain and Big Tummy!

81

อาหารสมอง...และทอง By Assist. Prof. Sumalee Wongwitit แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

How to Eat a Mango มะมวงและบทเรียนชีวิตอื่น ๆ ที่ฉันไดรบ ั จากประสบการณการ เปนฟุลไบรท ETA ในประเทศไทย By Elizabeth Pratt แปลและเรียบเรียงโดย บัญชา รัตนมธุวงศ

85


From ‘The Red Pony’ to ‘The Grapes of Wrath’: The

92

National Steinbeck Center…more than a museum จาก ‘The Red Pony’ สู ‘The Grapes of Wrath’: The National Steinbeck Center … ยิ่งกวาพิพธ ิ ภัณฑ By Sasima Charubusp แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Best of Both World

99

สองสุดยอดสถาบัน By Assist Prof. Proadpran Punyabukkana, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Learning the ‘Wai’ Way of Thailand

111

เรียนรูจากการไหว By Xie Alicia Rayes, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Oh! My Beloved Thais!

116

ขําขามวัฒนธรรม

โดย พรทิพย กาญจนนิยต Translated by Chotima Chaitiamwong

My Cultural Ambassador Role as Seen through the

123

U.S. Presidential Election ทูตวัฒนธรรมจําเปนระหวางการเลือกตัง้ สหรัฐ By Chike Aguh แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

A Fulbright Couple Experiences Thai Hospitals สามีภรรยาฟุลไบรทในโรงพยาบาลไทย By Cleste M. Brody, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย สกล ซื่อธนาพรกุล92

129


English Camp: Not All About English Learning

143

คายภาษาอังกฤษ: ไมใชแคเรียนภาษาอังกฤษ โดย วนิดา ไชยสาร Translated by Talisa Likanonsakul

Thais’ Generosity Does Not Always Please Farangs

155

โอบออมอารีแบบไทย ๆ ใชวาจะถูกใจฝรั่งไปทุกอยาง

โดย ธิติวรรณ เลิศปยะ Translated by Talisa Likanonsakul

How to Enjoy Your Fulbright Experience and Thai

162

Culture เราควรจะเก็บเกี่ยวประสบการณและวัฒนธรรมไทยจาก Fulbright อยางไร By Mark G. Robson, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย วีรินทร ชัยอริยะกุล

Q & A with an English Teaching Assistant

174

เปดใจครู ETA By Katie Oreskovich แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Being Productive and Enjoying Your Fulbright

191

Experience in Thailand ใชชีวิตใหเต็มที่และสนุกกับประสบการณฟุลไบรทในประเทศ ไทย By Raymond Greenlaw, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย ดิญะพร วิสะมิตนันท

Cultural Shock in One’s Own Home Cultural Shock เมื่อกลับบาน By Morgan Springle แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

218


Fulbright Changes Me…For a Better ‘Me!’

224

ฟุลไบรทเปลี่ยนฉันใหดีขึ้น By Gracie Raver แปลและเรียบเรียงโดย นภัทรพร ทองใบ

Acknowledgement

231


Cross-Culture: Key Words and Strategies From talks, presentations, and papers by Porntip Kanjananiyot, Executive Director, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Compiled by Chotima Chaitiamwong, Outreach Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)

Throughout Fulbright Thailand’s history, we have been promoting crosscultural understanding, not only between Thais and Americans, but also among individuals because of the fact that we are all different. Interestingly, after decades of cross-cultural campaigns, we found that there are only a few key words to promote mutual understanding. The world is smaller but more complicated! Before moving to the key words, we need to understand this simple truth. On the surface, the world is linked together with advanced technology, international business networks, mobility of people, global media, and etc. Underneath, within and across nations, there are increasing societal gaps in terms of generations, genders, beliefs, professionals, and many more. In a family, we may have up to four generations living together, namely, Traditionalists-- 65 up (before 1945), Baby Boomers-- 46-64 (1945-1964), X’ers 30-45 (1965-1978), and Y’ers/Millennials-- 29 and younger(1979-2000)1. In a class, there could be representatives from

Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender,

1

Samuelson, Robert J, “The Millennial Generation is Getting Clobbered” at

http://www.newsweek.com/millennial-generation-getting-clobbered-69309 [filed March 4, 2010. Updated March 13, 2010]


and Queer (LGBTQ) groups. In an organization, staffs may practice various faiths and favor different political doctrines. Cross-cultural issues are, therefore, complicated…and often times sensitive. Cultural differences then seem to be widened and deepened by times and the issue of cross-cultural understanding has become a top agenda of

governments,

businesses,

and

education

institutions.

This

emphasizes Fulbright vision and mission in fostering friendship across cultures. We do believe everything starts with mindset. It is important and much easier to work first from our end. In order to ‘reset’ our mind for more tolerance, understanding, and, if possible, appreciation of different cultures, we suggest four useful key words as a thinking baseline. Key Words # 1: Pride and Prejudice! It is human nature that we have pride in ourselves/group and prejudice against others. It is a challenge to lessen or even eliminate our inherited bias. Being aware of the fact, however, could make us less prejudicial and more open – the very first and crucial step towards cross-cultural understanding. Key Words # 2:

Mirror Mirror!

Knowing ourselves is the best way to understand others because we can see with critical eyes the reasons for differences. The self-reflection necessarily includes views from other perspectives. How are ‘seniority’, ‘face-saving’, and ‘krengjai’ seen and practiced by Thais and by Americans? Likewise, how are ‘democracy’, ‘human rights’, and


assertiveness’ seen and practiced in Thai and American contexts? What are factors behind-the-scenes? How could we best adjust as Thais…and as Americans? The knowing-me-knowing-you approach helps us become more practical and more creative when dealing crossculturally. Key Words # 3

Salad Bowl

In cross-cultural situations, we, of course, have to adjust ourselves. Adjust – not change. We are living in a multicultural world or a salad bowl. We should not and must not change ourselves into someone else. In a salad bowl, tomato, tofu, onion, lettuce, and etc. coexist as their own selves, making the salad rich with a variety of ingredients, offering different flavors yet a blended and delicious taste. Life is a salad bowl. We have to learn how to live together harmoniously and benefit from diversity to be happy. Key Words # 4

Sabai Box (Comfort Zone)

Naturally, we feel uncomfortable and less confident when being in unfamiliar places or situations because our sabai box is too small or too big. What happens next is we do not know whether we behave properly or not. Fortunately, the sabai box is something adjustable. In different social situations, we may have to shrink it and forget some old habits at home. Better still, our sabai box may be adjusted into some new size and form, enabling us to have increased flexibility wherever we are. Common Standards and Lintegration Skills Across cultures, we believe there are some common standards – the practices and thinking that could be adopted internationally, what we


wish to call “international culture”. The international culture could include issues on punctuality, “cell phone etiquette”, sexual harassment, responsibility vs entitlement, and even such small matters as email writing and Facebook. Adjusting ourselves toward international culture is, in fact, to adjust our sabai boxes. The task is challenging and not easy. We need adequate information on cultural differences, and we to be observant, and think critically in order to strike a balance. We are then able to link different ideas, to develop creativity, and to integrate it into our practices, be they professional or personal. These are supporting skills beyond cross-cultural management. Indeed, they are useful skills for work and life that Fulbright Thailand has encouraged during the recent years. We call them lintegration skills. The 10 Strategies2 No idea how to get started? We have 10 strategies that have proved to be useful for both Thais and Americans (and should be so for other nationalities). 1. Acquire as much information as possible on cultural context(s) of the country you’re going to. 2. Observe both verbal and nonverbal languages 3. Ask when you are not certain while trying to avoid imposition on others 4. Explore “Me” in different cultural contexts 5. Give yourself time to adjust 6. Accept and be open to the fact that people can think differently 7. Have a sense of humor

2

ดัดแปลงจาก Kate Berardo, Ten Strategies for Success Abroad. Curiosity.com


8. Be patient when there is uncertainty and unpredictable events 9. Be positive and consider every situation is a life lesson. 10. Constantly develop your cross-cultural skills Cross-cultural skills are difficult to train because cultures gradually change and the skills depend largely upon an individual’s mindset. A thousand training programs won’t help us to get better if we cannot tackle the very basic human nature of pride and prejudice. Fulbright Thailand,

therefore,

encourages

open-mindedness,

self-

awareness/assessment, critical thinking, curiosity for knowledge, and the thirst for challenges. Check these out! For more than a decade, we have gathered some thoughts on various aspects of cross cultures and found that, unbelievably, cross-cultural issues are subsets of almost everything! The following links are samples of our findings. 1. Networking: Starting with Learning about Context and Culture

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=776&type=arti cles 2. Cool Curriculum for Classy, Connected and Cultured Citizens: Rethinking Curriculum for Global Citizens

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=571&type=arti cles 3. Gen Gappers in Communication: Getting Wider and Wilder

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=572&type=arti cles 4. Managing M Exchange


http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=775&type=arti cles 5. Education Exchange Excellence with “Lintegration”

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=773&type=arti cles The key words, the strategies, and the stories suggested here are about the “Knowledge Management” we have learned from our years of intercultural exposure. We will certainly keep learning and exploring the issues. Practice can be done through direct and indirect experiences (reading, watching, listening, etc.). The latter might yield less involvement but are easier to access and offer vast variety of samples. Directly or indirectly, however, remember that practice makes perfect!


กาวผานความตางทางวัฒนธรรมอยางสบายใจ

รวบรวมและสรุปการบรรยายและงานเขียนของ พรทิพย กาญจนนิยต ผูอํานวยการบริหาร มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) เรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุล ไบรท)

นับตัง้ แตกอตัง้ โครงการฟุลไบรทในประเทศไทยเปนตนมา เราพยายามรณรงค สงเสริมความเขาใจระหวางวัฒนธรรมไมแตเฉพาะไทยกับอเมริกันเทานั้น แตยัง ลงไปถึงระดับปจเจกบุคคล เพราะเราเชือ ่ วา ทุกคนลวนแตกตาง และมีแงมม ุ แง คิด ที่นาสนใจ ผานไปหลายทศวรรษ เราพบความจริงที่นาสนใจวา แทที่จริงแลว การทําความเขาใจขามวัฒนธรรม มีคําหลัก ๆ ที่สําคัญเพียงไมกี่คําเทานัน ้ เอง โลกเล็กลงแตซบ ั ซอนขึน ้ กอนจะไปถึงคําสําคัญ เราจะตองเขาใจความจริงบางอยางเสียกอน ดูเหมือนวา ปจจุบันนี้ โลกของเราถูกเชื่อมกันดวยความกาวหนาเทคโนโลยี เครือขายธุรกิจ ระหวางประเทศ การเคลื่อนยายของผูคน สือ ่ ทีค ่ รอบคลุมทัว ่ โลก และปจจัยอื่น ๆ อีกมากมาย แตถามองลึกลงไปในแตละประเทศและในโลกแลว ชองวางทางสังคม ที่เกิดจากความแตกตางระหวางชวงอายุ เพศ ความเชือ ่ อาชีพ และอืน ่ ๆ กลับ กวางยิง่ ขึ้น ในครอบครัวหนึง่ อาจมีสมาชิกจาก 4 ชวงอายุอาศัยอยูดว  ยกัน คือ กลุมที่เรียกกวา Traditionalist ซึ่งอายุ 65 ปขน ึ้ ไป (เกิดกอนป 2488) กลุม Baby Boomers ซึ่งอายุ 46-64 ป (เกิดชวง 2488 – 2507) กลุม X’ers ซึ่งอายุ 30-45 ป (เกิดชวง 2508 – 2521) และกลุม Y’ers/Millennials ซึ่งอายุตา่ํ กวา 29 ปลงมา (เกิดชวง 2522 –2543)3 สวนในหองเรียนก็อาจจะมีนักเรียนทีอ ่ ยูในทุกกลุมของ LGBTQ (Lesbian/เลสเบี้ยน Gay/เกย Bisexual/รักสองเพศ Transgender/ แปลงเพศ และ Queer/เพศอืน ่ ๆ) ในองคกรหนึ่ง ๆ ก็อาจจะมีพนักงานทีน ่ ับถือ

3

Samuelson, Robert J, “The Millennial Generation is Getting Clobbered” at

http://www.newsweek.com/millennial-generation-getting-clobbered-69309 [filed March 4, 2010. Updated March 13, 2010]


ศาสนา มีความเชื่อ และมีอด ุ มการณทางการเมืองที่ตางกัน ดังนั้นประเด็นขาม วัฒนธรรมจึงมีความซับซอน...และมักจะออนไหว (เกินคาด) เมื่อเวลาผานไป ความแตกตางทางวัฒนธรรมดูจะมากขึน ้ และลึกซึ้งขึ้น จน ประเด็นเรือ ่ งความเขาใจตางวัฒนธรรมไดกลายเปนวาระหลักของรัฐบาล หนวยงานธุรกิจ และสถาบันการศึกษา ซึง่ เทากับเปนการตอกย้ําถึงปณิธานและ ภารกิจของฟุลไบรทที่จะชวยกระชับความสัมพันธขามวัฒนธรรม พวกเราเชือ ่ วา ทุกอยางเริ่มตนที่ทศ ั นคติ ที่จริงเปนเรือ ่ งสําคัญและงายมากที่จะเริ่มตนที่ตัวเรา โดยเริ่ม “รีเซ็ท--ตั้ง โปรแกรมใหม” ใหกับความคิดเพื่อใหมค ี วามอดทนมากขึ้น มีความเขาอกเขาใจ มากขึ้น และจะยิ่งดีขึ้น หากเราใหคุณคากับวัฒนธรรมที่แตกตาง ฟุลไบรทจงึ รูสึก ภูมิใจที่จะนําเสนอคําสําคัญที่จะเปนแนวทางในการปรับความคิดสูค  วามเขาใจ ขามวัฒนธรรม คําสําคัญ 1: ทิฐแ ิ ละอคติ เปนธรรมชาติของมนุษยที่จะรูส  ึกเขาขางตัวเอง/กลุมของตัวเอง และมีอคติกับคน อื่น จึงเปนความทาทายที่จะลด ละ หรือเลิกความลําเอียงทีต ่ ิดตัวมานี้ แตแครูจัก ธรรมชาติของทิฐิและอคตินี้ เราก็สามารถลดการดวนตัดสินคนอื่นและเปดใจให กวางขึ้น อันเปนขั้นแรกและขัน ้ สําคัญที่จะนําไปสูค  วามเขาใจขามวัฒนธรรม คําสําคัญ 2: รูเ ราแลวคอยรูเ ขา การรูจักตัวเองเปนทางดีที่สุดทีจ ่ ะเขาใจคนอืน ่ เพราะเราจะสามารถวิเคราะหได วาความแตกตางนั้นมีสาเหตุมาจากอะไร แตการมองตัวเองจําเปนตองมองจากมุม ของคนอื่นดวย คนอเมริกันมองหลายเรือ ่ งทีค ่ นไทยประพฤติปฏิบัติ เปนสวนหนึ่ง ของชีวิต (โดยรูตัวหรือไมรูตว ั ก็ตาม) อยางไร เชน “ระบบอาวุโส” “การรักษา หนา” และ “ความเกรงใจ” ในทํานองเดียวกัน เรือ ่ ง “ประชาธิปไตย” “สิทธิ มนุษยชน” และ “ความกลาในการแสดงความคิดเห็น” ทีค ่ นอเมริกันให ความสําคัญอยางมากนัน ้ คนไทยเองเห็นวาเหมือนหรือตางกันอยางไร ในบริบทไทยและอเมริกน ั ยังคงมีปจจัยหลายอยางที่เรามองไมเห็นหรือไมทันคิด ไมทันมอง เราจะปรับตัวใหดท ี ี่สุดไดอยางไรในฐานะที่เปนคนไทย...และคน อเมริกัน การรูเขารูเรานั้นจะชวยใหเราปฏิบัตต ิ ัวไดเหมาะสมกับความเปนจริงมาก ขึ้น เพื่อใหสามารถรับมือกับความตางทางวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ ใน


ขณะเดียวกัน การรูเขารูเราเพิ่มความคิดสรางสรรค การคิดทีร่ อบดานขึ้น และใน หลายครั้ง มีความสนุกปนอยูอยางมาก คําสําคัญ 3: โลกคือชามสลัด ในสถานการณตางวัฒนธรรม แนนอนวาเราตองปรับตัว แตตองระลึกวา แคการ ปรับตัว ไมใชเปลี่ยนตัวตนของเราไปเลย การมีชีวิตอยูในโลกพหุวัฒนธรรม เหมือนอยูในชามสลัด เราไมควรและตองไมเปลี่ยนตัวตนของเราโดยสิ้นเชิง ใน ชามสลัดนั้น อาจจะมีผักนานาชนิด ทั้งมะเขือเทศ เตาหู หอมใหญ ผักกาด และ ผักอื่น ๆ อยูรว  มกันอยางที่เราเห็นแลวก็รูไดทน ั ทีวา แตละอยางคือผักผลไมชนิด ใด เมื่อรวมทุกอยางเขาดวยกันก็จะทําใหสลัดชามนั้นอุดมไปดวยสวนผสมที่ หลากหลาย ใหรสชาติที่แตกตางแตเขากันไดอยางดี ชีวต ิ ก็เปรียบเหมือนสลัด ชามใหญที่เราตองเรียนรูท  ี่จะอยูรว  มกันอยางสันติและใชประโยชนจากความ แตกตางเพื่อใหมีความสุข คําสําคัญ 4: สบายบ็อกซ (พืน ้ ทีป ่ ลอดภัย) เปนเรือ ่ งธรรมชาติที่เราจะรูสก ึ ไมสบายใจและไมมน ั่ ใจเมือ ่ ตองอยูในสถานที่ ใหมๆ หรือสถานการณซึ่งไมคุนเคย เนื่องจากสบายบอกซของเราใหญหรือเล็ก เกินไปจนไมรว ู า เราควรจะทําตัวอยางไรดี โชคดีที่เราสามารถปรับขนาดสบายบ็ อกซได ในสถานการณที่ตา งกัน เราอาจจะตองหดมันลงและลืมนิสัยเกา ๆ ที่ติด ตัวมาจากบาน หรือบางครั้ง เราจําเปนตองปรับขนาดสบายบ็อกซใหใหญขึ้น เพื่อใหเรามีความยืดหยุน สอดรับกับสภาพแวดลอมอยางเหมาะสม มาตรฐานสากลและทักษะการ Lintegration ไมวาจะอยูในวัฒนธรรมใดก็จะมีแนวความคิดและวิถีปฏิบต ั ซ ิ ึ่งสามารถนํามาปรับ ใชเปนสากล เราเชือ ่ วาทุกคนจําเปนตองฝกแนวปฏิบัตท ิ ี่เปนมาตรฐานสากล ซึ่ง เราขอเรียกวา “วัฒนธรรมสากล” วัฒนธรรมสากลนีอ ้ าจรวมถึงเรื่องตาง ๆ เชน การตรงตอเวลา มารยาทการใชโทรศัพทมอ ื ถือ การคุกคามทางเพศ การมีความ รับผิดชอบ และสิทธิพึงมีพึงได แมกระทั่งเรือ ่ งเล็ก ๆ เชนการเขียนอีเมลและเฟ ซบุก ที่จริงการปรับตัวเองใหเขากับวัฒนธรรมสากลก็คือการปรับสบายบอกซของเรา นั่นเอง งานนี้ทาทายและไมใชเรือ ่ งงายเลย เราจําเปนตองมีขอ  มูลเพียงพอ เกี่ยวกับความแตกตางทางวัฒนธรรม การสังเกต การคิดวิเคราะห เพือ ่ ที่จะหาจุด สมดุล เราตองสามารถเชื่อมโยงความคิดตาง ๆ พัฒนาความคิดสรางสรรค และ


นํามาประยุกตใชทั้งเพือ ่ หนาทีก ่ ารงานและสวนตัว ทักษะเหลานี้เปนทักษะที่ จําเปนนอกเหนือจากการจัดการขามวัฒนธรรม เปนทักษะที่มป ี ระโยชนสาํ หรับ การทํางานและการใชชว ี ิตซึ่งเปนทักษะที่ฟุลไบรทพยายามสงเสริมในชวงหลาย ปที่ผา นมา เราเรียกทักษะเหลานี้รวม ๆ วา ทักษะการ Lintegration ซึ่งหมายถึง การพยายามเชือ ่ มโยงความคิด ความรูและประสบการณแลวนําไปบูรณาการปรับ ใชกับชีวิตของเราตอ ๆ ไปโดยใหมีชองวางนอยที่สุดเทาทีจ ่ ะเปนไปได 10 กลยุทธแนะนํา4 หากยังไมรจ ู ะเริ่มตรงไหน เราขอเสนอกลยุทธ 10 ประการที่ไดพิสูจนแลววา มี ประโยชนทั้งกับคนไทยและคนอเมริกน ั (รวมทั้งคนชาติอื่น ๆ ดวย) 1. หาขอมูลเกี่ยวกับบริบททางวัฒนธรรมของประเทศทีจ ่ ะไปใหมากที่สุด เทาทีจ ่ ะทําได 2. คอยสังเกตทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา (ภาษาพูด ภาษากายหรือทาทาง) ของคนในประเทศนัน ้

และการสื่อดวย

3. ถามเมื่อไมแนใจ แตอยายัดเยียดความคิดของตัวเอง 4. สํารวจตัวเองวา ตนมีพฤติกรรมอยางไร เมือ ่ อยูในบริบททางวัฒนธรรม อื่น 5. ใหเวลาตัวเองในการปรับตัว 6. ยอมรับและเปดใจวาคนเราคิดตางได 7. มีอารมณขัน หัวเราะกับเรือ ่ งทีเ่ ราทําไปโดยไมรูเทาทันได 8. ปรับตัวใหรบ ั ตอความไมแนนอน/สิง่ ที่ไมคาดฝน 9. มองโลกในแงดี ทุกอยางที่เกิดขึ้นลวนเปนบทเรียนชีวต ิ

10. พัฒนาทักษะการจัดการขามวัฒนธรรมอยางตอเนือ ่ งอยางมี Lintegration การอบรมทักษะที่เกี่ยวกับความตางทางวัฒนธรรมนัน ้ ตองใชเวลาและการสังเกต เพราะวัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา อีกทั้งทักษะเหลานีจ ้ ะขึน ้ อยูกับ ทัศนคติของบุคคลเปนสวนใหญ การอบรมไปเปนพันครัง้ ก็อาจจะไมไดผลเต็มที่ หากเราไมสามารถแกใหตรงจุดที่พน ื้ ฐานของมนุษยเรือ ่ งทิฐิและอคติ ดังนั้น ฟุล

4

Improved from Kate Berardo, Ten Strategies for Success Abroad.

Curiosity.com


ไบรทจงึ ไดพยายามสงเสริมการเปดใจกวาง การรูจักและประเมินตนเอง ความคิด วิเคราะห ความกระตือรือรนในการเรียนรู และความกระหายตอความทาทาย มุมมองจากฟุลไบรท เปนเวลากวาทศวรรษที่เราไดรวบรวมความคิดและแงมุมเกี่ยวกับความแตกตาง ทางวัฒนธรรม ซึ่งเราพบวาทีแ ่ ทแลวประเด็นนี้แฝงอยูใ  นเกือบทุกเรือ ่ งอยางไมนา เชื่อ และนีค ่ อ ื ผลงานบางสวนที่เราไดรวบรวมไว 1. Networking: Starting with Learning about Context and Culture

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=776&type=arti cles 2. Cool Curriculum for Classy, Connected and Cultured Citizens: Rethinking Curriculum for Global Citizens

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=571&type=arti cles 3.

Gen Gappers in Communication: Getting Wider and Wilder

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=572&type=arti cles 4. Managing M Exchange

http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=775&type=arti cles 5. Education Exchange Excellence with “Lintegration” http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=773&type=arti cles คําสําคัญ กลยุทธ และเรือ ่ งเลาทัง้ หมดนี้เปนการรวบรวมองคความรูเกี่ยวกับการ จัดการขามวัฒนธรรมที่เราไดสะสมมาเปนเวลาหลายป เรายังตองเรียนรูและ ศึกษาเรือ ่ งนีต ้ อไป ยังตองฝกฝนผานประสบการณทงั้ ทางตรงและทางออม (จาก การอาน การหาประสบการณตรง ฯลฯ) ซึ่งอยางหลังแมวาอาจจะใหความรูสึก รวมนอยกวา แตก็หาไดงา ยกวาและมีตว ั อยางที่หลากหลายกวา


ทั้งนี้ทงั้ นั้น ไมวาจะทางตรงหรือทางออม อยาลืมวา ผูที่หมัน ่ ฝกฝนยอมเกิดความ เชี่ยวชาญ!


Being More Thai or American?5 Apivat Hanvongse 2005 Open Competition Scholarship Program @ Industrial Psychology, University of Tulsa, Oklahoma

The original mission of the Fulbright Program has been to ‘promote mutual understanding between the people of the United States of America and Thailand through a wider exchange of knowledge and professional talents through educational contacts’. Having received the opportunity to further my education in the U.S., I felt it my duty to reap the benefits of the experience to the fullest possible extent. I was determined to further my educational horizons, but also immerse myself in American culture, specifically, in the South and Midwestern region. Psychologists define culture as a multidimensional construct. This means there are many perspectives in which to look at culture. It defies simplistic characterizations and warrants detailed explanations of its many faces. My personal background, in addition to the specific context of my graduate education here in Tulsa, Oklahoma, affords me a unique look into American culture. I am a native Thai who had spent a number of his younger years (age 4-9) living in the United States. By the time I was 10 years old, my family and I had migrated back to Thailand were I would spend the next 14 years of my life.

5

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 17, December 2006


Although my English is fluent, I found myself undergoing major adjustments upon arriving in Tulsa. Of the two cultures, I had always been identified more so with western culture, a product of my upbringing, even while I was living in Thailand. Ironically, it is only when I came here to Tulsa, being the only Thai student at the University of Tulsa, did I realize how “Thai” I really am. Two weeks after I had arrived in Tulsa, I received an e-mail inviting to an informal orientation at a professor’s house. It was designed to allow the new master’s students, myself included, to get to know the 2nd year master’s and doctoral students as well as faculty members in the department. Already, I was experiencing something new for in all my years as an undergraduate at Thammasat University, I had never been invited to a professor’s house for an informal get together. At the time, I thought that perhaps it was a normal practice for graduate students. Nevertheless, I continued to be amazed at the manner in which professor and students interacted. In a previous cross-cultural class, I had learned that western and eastern cultures, especially Thailand and the United States, differed on a cultural dimension known as ‘power distance’. In our psychology department, I certainly experienced a very different degree of power distance interacting with my professor. First of all, I had to adjust to calling my professor by their first names. I had referred to them as “Dr. so and so” or “Professor so and so” before being told to just refer to them by their first names. This was strange indeed. Suddenly I was supposed to refer to my professors in the same manner I call my college buddies.


I quickly learned, through classes and research meetings, that professors in the United States, do not really see themselves as elders to be ‘looked up to and respected’ by their students. Although they do want respect, they viewed their students more as colleagues with meaningful views and ideas to contribute. They did not see students as an entity waiting to receive knowledge but as someone who could readily contribute. I’ve learned that it is not uncommon for faculty and student to go to lunch or even a local bar to have a beer. This level of informality provided the opportunity for me to see my professors as regular people, something that would be challenging to do back home in Thailand At times however, the informality caused some minor discomfort. I remember a particular incident with one of my professors. I was sitting in his office talking about possible research ideas, when he suddenly took out his sandwich and proceeded to eat while I was still explaining my research proposal. Furthermore, he placed both of his feet on his own work table. Under normal circumstances, I would not be bothered by this, however, in this particular instant, his foot was pointed in my direction. I was a little annoyed and slightly offended, which left me to realize how ‘Thai’ I was. If thereis something that both Thai and U.S. cultures have in common, it is the fact that, whether among faculty or students, gossip is a normal occurrence. At times, when I hear my peers talk about some professors, I am surprised at the seemingly lack of respect for seniority. Again I am surprised at how the Thai side of me generally feels that despite


whatever minor flaws they may have, professors, as elders, deserve respect. Aside from the issue of power distance, I had always been aware that the U.S. was a more individualistic culture. Although this knowledge can be gleaned from any cross-cultural studies textbook, it was interesting to witness this phenomena first hand. Cultural introductions to the United States will tell you that the idea of the ‘rugged individual’ is an integral part of the culture here. This has resulted in many of my peers having the mindset of ‘what is in this for me?’ and how am I being compensated for my time?’ At times this position is taken to extreme and group work becomes challenging because everyone has an individualistic approach. At these times, I miss my Thai peers and hope, at the best of times, that we are more easily able to set aside our individual goals for the sake of the group. One thing I’ve learned is that culture is relativistic. In Thailand I felt more western relative to my Thai peers, while in Tulsa, I see myself as being more eastern. I now find myself occupying a precarious position between two cultures. Regardless, the context makes a huge different on how we see ourselves.


ผมไมแนใจวาผมเปนไทยหรืออเมริกันมากกวากัน6 อภิวัฒน หาญวงศ

2005 Open Competition Scholarship Program, University of Tulsa, Oklahoma แปลและเรียบเรียงโดย ภูริพันธุ รุจข ิ จร 2010 International Fulbright Science and Technology Award Program State University of New York, Stony Brook

เป า หมายดั้ ง เดิ ม ของโครงการฟุ ล ไบรท คื อ “การสนั บ สนุ น ความเข า ใจร ว มกั น ระหว า งประชาชนชาวเมริ กั น และชาวไทยโดยการแลกเปลี่ ย นความรู แ ละ ความสามารถผานทางการศึกษา” ผมไดรับโอกาสไปศึกษาตอที่สหรัฐอเมริกา จึง รูสึกถึงหนา ที่ในการเก็บเกี่ย วประสบการณในครั้ง นี้ใหไดประโยชนคุมคา มาก ที่สุด ผมมุงมั่นที่จะขยายวิสัยทัศนทั้งทางดานการศึกษา และใหโอกาสตนเองได เปดรับวัฒนธรรมอเมริกันไปในเวลาเดียวกัน โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางตอนใต และทางฝงภูมิภาคตะวันตกตอนกลางของประเทศ นั ก จิ ต วิ ท ยาได นิ ย ามวั ฒ นธรรมว า มี ห ลายมิ ติ กล า วคื อ เราสามารถพิ จ ารณา วัฒนธรรมไดหลายมุมมอง วัฒนธรรมจึงไมเอื้อตอคําอธิบายที่เรียบงายเกินไป แต เหมาะกับคําอธิบายอยางละเอียดในหลายดานมากกวา นอกจากการไปศึกษาตอที่มหาวิทยาลัย Tulsa รัฐโอกลาโฮมา สิ่งที่หลอหลอมให ผมมีมุมมองตอวัฒนธรรมอเมริกันในมิติที่ไมเหมือนใคร คือ ผมเปนคนไทยที่เคย ใช ชี วิ ต อยู ใ นสหรั ฐ อเมริ ก าสมั ย วั ย เยาว (อายุ 4-9 ขวบ) เมื่ อ อายุ 10 ขวบ ครอบครัวของผมก็ยายกลับมาตั้งรกรากที่เมืองไทย ประเทศที่ผมใชชีวิตตอมา เปนเวลา 14 ป แมวาผมจะสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางคลองแคลว ก็ยังรูสึกวาผมเองตอง ปรับตัวอยางมากเมื่อมาถึง Tulsa เมื่อลองเทียบระหวางสองวัฒนธรรมที่ผมเติบโต มา ผมมั ก รู สึ ก ว า ตั ว เองเต็ ม ปริ่ ม ไปด ว ยความเป น วั ฒ นธรรมตะวั น ตกมากกว า

6

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 17, ธันวาคม 2549


ถึงแมในขณะที่ผมอยูเมืองไทยก็ตาม ซึ่งก็มาจากการเลี้ยงดูของครอบครัว แตที่ น า ขั น คื อ เมื่ อ ผมได เ ข า ไปเป น นั ก เรี ย นไทยคนเดี ย วในมหาวิ ท ยาลั ย ในเมื อ ง Tulsa ผมถึงรูตัววาผมมีความเปน "ไทย" มากขนาดไหน หลังจากที่ผมมาถึง Tulsa ไดสองอาทิตย ผมไดรับอีเมลเชิญไปงานปฐมนิเทศ อย า งไม เ ป น ทางการที่ บ า นของอาจารย ท า นหนึ่ ง งานนี้ ตั้ ง ใจจะให นั ก ศึ ก ษา ปริญญาโทนองใหม (รวมทั้งผมดวย) ไปรูจักกับนักศึกษาปริญญาโทปสองและ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาเอก ตลอดจนคณาจารย ที่ ค ณะ กิ จ กรรมนี้ เ ป น สิ่ ง แปลกใหม สําหรับผม เพราะตลอดเวลาที่เรียนปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ผมไม เคยไดรับเชิญใหไปพบปะสังสรรคที่บานอาจารยทานใดเลย ในตอนนั้น ผมนึกวา นี่ ค งเป น เรื่ อ งปกติ สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโทและเอก แต ก ระนั้ น ผมก็ ต อ ง ประหลาดใจกับกิริยาทาทางที่อาจารยและนักศึกษาปฏิสัมพันธตอกัน ผมเคยเรียนวิชาตางๆ ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและไดเรียนรูถึงความแตกตางระหวาง วัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออก โดยเฉพาะระหวางเมืองไทยและอเมริกานั้น มี ความแตกตางกันในมิติหนึ่งที่เรียกวา "ความเหลื่อมล้ําทางอํานาจ" ที่ภาควิชา จิตวิทยาที่สหรัฐอเมริกา ผมประสบกับระดับของความเหลื่อมล้ําทางอํานาจ เมื่อ ต อ งปฏิ สั ม พั น ธ กั บ อาจารย ห ลาย ๆ ท า น ในลั ก ษณะที่ ไ ม เ หมื อ นกั บ ที่ ผ มเคย ประสบพบเจอในเมืองไทย เริ่มแรก ผมตองปรับตัวในการเรียกชื่ออาจารย ผมเคย ใชคํานําหนาวา "ด็อกเตอร" หรือ "อาจารย" กอนที่จะมีคนบอกวาใหเรียกดวยชื่อ ก็พอ ผมรูสึกแปลก ๆ ที่อยู ๆ ก็ตองเรียกอาจารยเหมือนกับที่เรียกเพื่อนรวมชั้น เรียน ผมเรียนรูอยางรวดเร็วจากการเขาเรียนและการประชุมวิจัยตาง ๆ วาอาจารยใน อเมริกาไม คิด วา ตัวเองเปน ผูอ าวุ โ สที่ "สูง ส ง และควรไดรับ ความเคารพนับ ถือ " จากนักศึกษา แมวาพวกเขาจะตองการความเคารพนับถือ แตก็มองวานักศึกษา เปนเพื่อนรวมงานที่มีความคิดเห็นที่นาสนใจเชนกัน อาจารยไมไดคิดวานักศึกษา เปนเพียงผูที่รอรับความรูเทานั้น แตในขณะเดียวกันก็เปนผูที่พรอมจะใหดวย ผม เรียนรูวา มัน ไมใชเ รื่อ งแปลกเลยที่อ าจารยและนักศึกษาจะออกไปทานอาหาร กลางวั น หรื อ แม ก ระทั่ ง ไปดื่ ม เบี ย ร ที่ บ าร ด ว ยกั น ความเป น กั น เองระดั บ นี้ เ ป ด โอกาสใหผมมองวาอาจารยก็เปนคนธรรมดาสามัญ ซึ่งถือเปนสิ่งที่ทําไดยากใน เมืองไทย อยา งไรก็ต าม ความเปน กัน เองเชน นี้ บางครั้ง ก็ทํา ใหผ มกระอักกระอว นใจอยู เหมือ นกัน มีเหตุการณหนึ่ง ที่ผมจํา ไดดี ครั้ง นั้น ผมคุย อยูกับ อาจารยทานหนึ่ง เกี่ ย วกั บ แนวคิ ด งานวิ จั ย ต า ง ๆ ในห อ งทํ า งานของเขา อยู ๆ อาจารย ก็ ห ยิ บ


แซนดวิชขึ้นมากินขณะที่ผมกําลังอธิบายแผนงานวิจัยคางอยู และยังยกเทาทั้ง สองขางขึ้นมาวางบนโตะทํางานอีกดวย ซึ่งปกติแลวผมก็คงจะไมไดรูสึกอะไรนัก แตครั้ง นั้น เทา ของอาจารยชี้มาทางผมพอดี ทํา ใหผมรูสึกเหมือ นถูกดูหมิ่นและ ออกจะเคือง ๆ กับกิริยาแบบนั้น ซึ่งทําใหผมตระหนักขึ้นมาทันที่วาผมมีความเปน "ไทย" มากขนาดไหน จะวาไป ก็มีสิ่งที่วัฒนธรรมไทยและอเมริกันมีเหมือนกันก็คือเรื่องซุบซิบนินทาใน กลุมอาจารยหรือนักศึกษา บางครั้ง ผมไดยิน เพื่อน ๆ พูดถึงอาจารยบ างคน ผม รู สึ ก แปลกใจที่ เ พื่ อ น ๆ ไม มี สั ม มาคารวะกั บ อาจารย เ สี ย เลย ซึ่ ง ทํ า ให ผ ม ประหลาดใจกับความรูสึกอีกดานที่มาจากความเปนไทยในตัวผม เพราะผมสํานึก วาอาจารยในฐานะผูอาวุโสสมควรไดรับความเคารพแมวาเขาจะมีขอเสียบางเล็ก ๆ นอย ๆ ก็ตาม นอกจากประเด็ น เรื่ อ งความเหลื่ อ มล้ํ า ทางอํ า นาจแล ว นั้ น ผมรู สึ ก อยู เ สมอว า อเมริกามีวัฒนธรรมที่เปนปจเจกมากกวา แมวาความจริงขอนี้จะหาอานไดจาก หนังสือเรียนทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาทางวัฒนธรรม การไดมีประสบการณรวมใน เรื่อ งนี้โดยตรงถือเปน สิ่ง ที่นาสนใจ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวัฒนธรรมอเมริกัน อธิบายวา แนวคิดเรื่อง "ปจเจกนิยมตกขอบ" หรือ "ปจเจกนิยมแบบไมพึ่งพาใคร" เปนสวนสําคัญของวัฒนธรรมที่นี่ ซึ่งทําใหเพื่อน ๆ อเมริกันมีทัศนคติที่วา "จะได อะไรจากเรื่องนี้" และ "จะคุมเวลาที่เสียไปหรือไม" บางครั้งความคิดสุดโตงเชนนี้ ทําใหทํางานกลุมไดยากเพราะทุกคนมีวิธีคิดเปนของตนเอง เหตุการณหลายครั้ง ทําใหผมหวนนึกถึงเพื่อนคนไทยที่อยางนอยเราก็สามารถพักเปาหมายสวนตัวไว กอนเพื่อประโยชนของกลุมไดอยางเต็มใจ สิ่งหนึ่งที่ผมไดเรียนรูคือ วัฒนธรรมเปนสิ่ง ที่ผันแปรไปตามบริบท ในเมืองไทย ผมรูสึกวา ตัว ผมมีค วามเปน ตะวันตกมากกวา เมื่อ เทีย บกับ เพื่อนคนไทย ขณะที่ เรียนอยูที่ Tulsa นั้น กลับเปนชวงเวลาที่ทําใหผมสัมผัสถึงความเปนตะวันออกใน ตัวผมมากกวา ณ ขณะนี้ ผมอยูกึ่งกลางระหวางสองวัฒนธรรม ซึ่งจะโนมเอียงไป ทางฝงไหนมากกวากัน ขึ้นอยูกับบริบทแวดลอมรอบตัวผมที่แตกตางไปเปนตัว แปร


Being an Asian in Thailand and Asian-American in America?7 Hong Chhuor 2006 Fulbright U.S. Student Program @ Faculty of Economics, Chulalongkorn University

What inspired me to come to Thailand? How does it feel to look Thai but be American? What do I hope to achieve in my time here? These are the questions I was asked to reflect on during a recent trip to Ubon Ratchathani University. So what inspired me to come to Thailand? The simple answer is that I wanted to reconnect with my roots. I feel a certain draw toward Southeast Asia because of where I was born: Cambodia. Also, my topic is business and economics and Thailand, which provides a very interesting case study as an economy that has experienced rapid and successful industrialization. Also, Thailand’s culture and society shares many common threads with Cambodia and the majority of the large Chinese population in Thailand is Tae-Chiew, the same ethnic group as my family.

7

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 18, April 2007


Many people tell me I look Thai, but I often think and operate as an American. It has its ups and downs. For example, I don’t get honked at by the tuk-tuk drivers trying to pick me up. The street vendors aren’t always aggressively trying to sell me their wares and trinkets. I don’t get the same types of solicitations from the Thai women who work in the various bars whenever I walk down Sukhumvit Road. On the flip side, everyone speaks Thai to me. Sometimes I understand, sometimes I don’t. Lucky for me, my parents did a good job of instilling some important Asian values in me. Respect for elders and for religion, proper social conduct and the ability to be aware of and show sensitivity to different cultural practices. Actually, I feel very much at home in Thailand now. The values, customs and cultural sensitivities seem like they have always been with me. I should mention that there are things that Americans and Thais may learn from each other. Perhaps Americans should be more jai yen. Maybe Thais can learn to check their email more frequently and reply in a timely manner. This is what I want to achieve while I am here: I want to learn as much as I can and let things run their course. I am doing all I can to be open to new experiences. I’m eating as much food as I can and going on as many weekend excursions as I can. I’m also telling ‘my story’ as to why I’m in Thailand to as many people as will listen. From this, I have been able to meet and get introductions (or at least contact information) to many people who will perhaps play a role in helping me to learn and accomplish more of what I came here to do. I am doing my best to learn the language here because I don’t think you can fully grasp a culture and people if you cannot speak their language. Fortunately for me, I have found Thai to be more than manageable as it shares many words


in common with Khmer and grammar is very similar for the two languages, although they come from different families. In closing, I just have to say that in my short four months here, I had learned much more than I was able to appreciate as I went. It is only in reflecting back and the ‘looking into the mirror effect’ that comes from being in a culture and society that is different from my own that I have come to appreciate our differences and mentally document my learning and growth. Thanks to Fulbright and the wonderful staff at TUSEF for giving me these life-changing experiences!


คนเอเชียในไทย และคนเอเชีย-อเมริกันในอเมริกา8

ฮอง ชัว

2006 Fulbright U.S. Student Program @ คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

อะไรทําใหผมอยากมาประเทศไทย รูส  ึกอยางไรที่หนาตาเหมือนคนไทยแตที่จริง เปนคนอเมริกัน แลวผมหวังอะไรจากการมาครั้งนี้ นี่คอ ื คําถามที่ผมตองตอบระหวางการเดินทางไปมหาวิทยาลัยราชภัฎ อุบลราชธานี อะไรทําใหผมอยากมาประเทศไทยนะหรือ คําตอบงาย ๆ เลยก็คือ ผมอยากจะหา อะไรที่ยึดโยงกับรากของตัวเอง ที่ผมรูสึกถึงแรงดึงดูดบางอยางระหวางผมกับ เอเชียตะวันออกเฉียงใตก็เพราะผมเกิดที่นี่ – ที่ประเทศกัมพูชา อีกอยางหนึ่งคือ หัวของานวิจัยของผมเปนเรือ ่ งเกี่ยวกับธุรกิจและเศรษฐศาสตร ซึง่ ประเทศไทยถือ เปนกรณีศึกษาที่นาสนใจมาก ๆ เนื่องจากมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรมอยาง รวดเร็วและประสบความสําเร็จ นอกจากนี้ สังคมวัฒนธรรมของไทยและกัมพูชาก็ มีความคลายคลึงกันหลายอยาง เชน คนจีนกลุมใหญที่สด ุ ในประเทศไทยก็เปน คนแตจว ิ๋ เหมือนครอบครัวผม หลายคนบอกวาผมหนาตาเหมือนคนไทย แตผมมักจะคิดและทําอะไรเหมือนคน อเมริกัน มันก็มท ี ั้งดีและไมดี อยางเชน ผมไมถูกคนขับตุกตุกบีบแตรตือ ้ ใหขน ึ้ รถ ไมถูกคนขายของขางถนนยื้อยุดใหซอ ื้ ของ ไมเปนเปาหมายของผูหญิงตามบาร ตาง ๆ บนถนนสุขุมวิท แตในมุมกลับ ทุกคนคอยแตจะพูดภาษาไทยกับผม บางครั้งผมก็เขาใจ บางครั้งก็ไมเขาใจ โชคดีที่พอ  แมคอยพร่ําสอนผมเกี่ยวกับ คานิยมความคิดแบบเอเชีย อยางการเคารพผูอาวุโส ความเชือ ่ ทางศาสนา มารยาทสังคม และความละเอียดออนเกี่ยวกับความแตกตางทางวัฒนธรรม ที่จริง ผมรูสึกเหมือนอยูบา นเวลาอยูท  ี่เมืองไทย คงเพราะผมมีพน ื้ ฐานดานคานิยม ธรรม

8

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 18, เมษายน 2550


เนียมประเพณี และไวตอความแตกตางทางวัฒนธรรม ผมคิดวามีหลายเรือ ่ งทีค ่ น อเมริกันและคนไทยนาจะเรียนรูจากกันและกันได บางทีคนอเมริกน ั ควรเรียนรูท  ี่ จะใจเย็นขึ้น สวนคนไทยก็ควรจะเช็คอีเมลใหบอยขึน ้ จะไดตอบไดทันเวลา สวนความคาดหวังของผมระหวางทีอ ่ ยูทน ี่ ี่คอ ื เรียนรูใหมากที่สุดเทาที่จะมากได ผมจึงขวนขวายหาประสบการณใหม ๆ กินทุกอยาง และพยายามไปไหนมาไหน แทบทุกวันหยุด ผมยังชอบเลา “นิทานของผม” ใหคนรอบ ๆ ตัวฟงวาผมมาทํา อะไรที่เมืองไทยนี่ ซึ่งทําใหผมไดพบและรูจ  ักกับคนมากมาย (อยางนอยก็รูชื่อ และเบอรตด ิ ตอ) นั่นอาจจะชวยใหผมไดเรียนรูอ  ะไรมากขึน ้ จากการมาเมืองไทย ครัง้ นี้ ผมยังตั้งใจเรียนภาษาไทยใหไดดีเพราะถาไมเขาใจภาษา เราก็จะไม เขาถึงวัฒนธรรมและผูค  นไดอยางถองแท โชคดีที่ภาษาไทยไมยากจนเกินไป เพราะมีไวยากรณและคําศัพทหลายคําใกลเคียงกับภาษาเขมรถึงแมวา จะมาจาก คนละตระกูลกันก็ตาม ผมขอสารภาพวาในชวงเวลาสั้น ๆ สี่เดือนทีอ ่ ยูทน ี่ ี่ ผมเรียนรูอ  ะไรมากเกินกวาที่ ผมจะทันซาบซึง้ ในตอนนั้น พอมามองยอนไป และ “สองตัวเองในกระจก” การมา อยูในสังคมวัฒนธรรมที่แตกตางจากของผม ทําใหผมเห็นคุณคาความตางนัน ้ เห็นวาตัวเองไดเรียนรูอ  ะไรบางและมีการเติบโตทางความคิดอยางไร ผมตอง ขอขอบคุณฟุลไบรทและพี่ ๆ ทุกคนทีท ่ ําใหผมไดประสบการณทเี่ รียกไดวา เปลี่ยนชีวิตครัง้ นี้


Thai-American:

How

Much

They

Culturally

Understand Each Other?9 Assist. Prof. Pimpaporn Suwatthigul President of the Language Institution Project, Prince of Songkla University, Phuket Translated by Talisa Likanonsakul Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)

If asking how well Thais and Americans understand each other, many would say “not so much.” And if asking why that is so, they would agree on the language difference. It is believed that few Thais are able to understand English very well and apply those skills up to the level of “those who study abroad.” Is it actually the language that causes misunderstanding? It might not be the case. It might be helpful to look back and see if we have misunderstood others even though we communicated in the same language—Thai? I believe that we have. An example of this is when former Prime Minister Thaksin Shinawatra used the word “gulee” (laborers) in the opening of an aviation technique-related event at Suvarnabhumi Airport on September 29, 2005. This caused some people to misunderstand that the ex-premier was disrespectful to Thai laborers as “gulee” in standard

9

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 2, November 2005


Thai is an offensive and insulting term. However, it is said that the people in Northern Thailand commonly use “gulee� to refer to laborers and the word signifies neutral, not negative, connotations. A lesson learned from this example is that even people of the same country but different regions and cultures are prone to misunderstand one another. Our differences in cultural background possibly lead to discrepancies in how we view some subjects. I would like to share some other stories that tell more about how Americans think or feel. When we are aware of different cultural perspectives, we will be likely to understand them better. Before starting the story, I would like to note that the following is shared through my own experience and perspective. I have my own ways of perceiving things while other Thais might share different viewpoints or even feel indifferent towards some particular subjects. This is due to the fact that we can experience different levels of Thai culture, within the society as a whole and individually. Let’s begin with the idea of flexibility and thoughtfulness in Thai culture. I learned from cross-culture studies that Americans usually plan their tasks very well and proceed accordingly. I have been affected by this and now I prefer planning ahead. That also depends on the context as I am Thai after all. However, my experience in July when organizing an academic exchange program for a group of American university faculty made me realize that general rules have exceptions just as every culture has exceptions at the individual and group level. I had carefully planned this program to make sure that the trip for American visitors to


Thailand would be worthwhile. I forwarded the program plan to coordinators and received their approvals to proceed as proposed. But two weeks prior to the day that faculty were scheduled to arrive in Phuket, the program coordinators proposed to making a number of changes in the plan. This was difficult for us to accept on such short notice. Nonetheless, Thais usually compromise so my team made changes as requested and charged the visitors extra only for the cost because the travel agency owner was my student. Everything, however, seemed to run smoothly. The visitors were apparently appreciative. What I have learnt from this experience is how thoughtful we are as Thais; my students were glad to be of service to me. In Thai culture, the student usually gives the best deal to the teacher as well as his or her guests. However, our visitors were unlikely to understand the cultural difference, viewing our program as a type of business. They also probably heard of the high expenses in Phuket; thus, they directly contacted the tour agent owner (who was my student) to negotiate the deal as not every one of them could participate in every session of the entire program. A lesson drawn here is that every group of people might share similar general characteristics just like what cross-culture theories indicate, but we cannot generalize to whether or not people of different cultures might share the same perspective on the subject mentioned above. From this story, it is seemingly obvious that Americans are not as flexible as Thais, especially when changes on a short notice are expected. I learned that we need to take better care of the planning process and we need to make a written agreement that any changes after confirmation require a compensation fee. In this case, there should be confirmation of the program fee such that it must not vary under any circumstances (e.g. people withdrawing from the program).


One more lesson to share here is the overall level of Thais’ thoughtfulness. It is, however, often viewed differently by American people possibly because they are direct and proceed as planned; i.e., no business among close or beloved friends—no ties between the teacher and the student that will lead to benefits for the teacher without charges. I feel that Americans do not combine their relationships or thoughtfulness with business. Compared with Thais, Americans do not seem to have as deep or close bonds with people at work or school as Thais. As a result, American visitors frequently ask if “special treatment” is associated with special charges. For example, my student arranged to get a very big car for an American faculty member because he thought it was appropriate as “his teacher’s guests.” He wanted to make certain that they would be seated comfortably and would not cost extra. However,

from

a

business-focused

perspective,

they

were

unnecessarily worried about how much extra they would have to pay. The experience I have shared above is not intended to point out that Thais are more thoughtful than Americans. Rather, the story signifies different cultural perspectives. Globalization has brought people from many countries and cultures closer together. Consequently, we have to be culturally aware and patient with unfamiliar behaviors that people of different cultures might exhibit. If possible, we should try to share our understanding or explanation to avoid cultural misunderstanding. The lesson above explains that thoughtfulness may be a virtue but needs to be used depending on the occasion. It is also essential for completing the tasks that the two parties are clear, within the context and meaning, of their communication with each other.


Understanding culture over the full range of human behavior patterns including speaking, thinking, and acting towards others, is a complex job. I think that we should not combine all of our cultural diversity into one particular pattern of conduct. Instead, we should understand one another to achieve our goals and happiness without any of us feeling uncomfortable or taken advantage of in terms of feelings or benefits.


ไทย-อเมริกน ั : เขาใจกันแคไหน เพียงใด10 ผ.ศ. พิมพาภรณ สุวัตถิกุล ประธานโครงการสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต

ถาถามวาคนไทยกับคนอเมริกันเขาใจกันไดลึกซึ้งแคไหนเพียงใด หลายคนอาจ พูดตรงกันวานาจะไมมาก และถาถามตอวาเพราะเหตุใด หลายคนอาจจะพูด ตรงกันอีกวาก็ภาษาไง จะมีใครสักกี่คนที่ใชภาษาไดลึกซึง้ เชน “นักเรียนนอก” โดยเฉพาะ “นอกจาก ยู เอส เอ” แทจริงแลว เปนเพราะภาษาจริง ๆ ละหรือทีท ่ ํา ใหคนเขาใจหรือไมเขาใจกัน นาจะไมใช ลองหวนกลับไปคิดดูวา เราเคยเขาใจ ผิดเพราะการสือ ่ สารกับคนไทยดวยกันหรือไม เชื่อวาไมมีใครปฏิเสธวา “ไมเคย” จริงไหมคะ ตัวอยางระดับชาติลาสุดหมาด ๆ ตอนที่ ฯพณฯ ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของเราใชคําวา “กุลี” ในงานเปดตัวดานเทคนิคการบินของ สนามบินสุวรรณภูมิเมือ ่ วันที่ 29 กันยายน 2548 ที่ผานมาจนแทบจะมีการ ประทวงวาทานนายกฯ ของเราไมใหเกียรติผใ ู ชแรงงาน ตอเมื่อมีคนออกมาบอก วาทางเหนือเขาใชคาํ วา “กุลี” กับผูใชแรงงานในความหมายปกติที่ไมไดมีนัย ของการดูหมิน ่ เหมือนกับทีค ่ นไทยทัว ่ ไปใหนัยผูกติดกับคํา ๆ นี้ เรื่องราวจึงเงียบ ไป ไทยดวยกันแท ๆ แตตางภาคตางวัฒนธรรมก็มป ี ญหาตอกันบอย ๆ นับประสา อะไรกับคนอีกซีกโลกหนึ่งซึ่งพระอาทิตยก็ไมไดตกเวลาเดียวกัน ความรอนความ หนาวก็ตา งกัน และที่สําคัญทีส ่ ุด คือ การบมเพาะทางภูมิหลังที่แตกตางกันทําให การตกผลึกทางความคิดและวิถีของวัฒนธรรมตางก็แปลกแยกแตกตางกันใน หลาย ๆ เรื่องราว ดังนั้นผูเขียนจึงขอถือโอกาสใชสนามนี้เลาประสบการณที่นึก ไมถึงหลายครัง้ หลายคราสูกน ั ฟงเพื่อที่จะไดเขาใจเพื่อนรวมโลกชาวอเมริกันของ เราไดดีขน ึ้ แตกอนที่จะเลาตอง “หมายเหตุ” ไวตรงนีใ ้ หชัด ๆ เสียกอนวาทัง้ หมดนี้เปน ประสบการณและมุมมองของผูเ ขียนเทานัน ้ อาจจะเปนเพราะผูเขียนเองมี วัฒนธรรมเฉพาะตัวตนของผูเขียนเองจึงทําใหเกิดอาการ “ช็อค” ในบางครั้ง ในขณะทีค ่ นไทยอืน ่ อาจมองตางมุมออกไป หรืออาจรูสึกเฉย ๆ ก็ได ทั้งนีเ้ พราะ วัฒนธรรมมีหลายระดับ มีทั้งวัฒนธรรมของสังคมในวงกวางและวัฒนธรรมระดับ “ปจเจก”คือเปนวัฒนธรรมเฉพาะบุคคล

10

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 2, พฤศจิกายน 2548


เขาเรื่องแลวคะ เรื่องทีอ ่ ยากจะเลาสูกันฟง คือ ความยืดหยุนและความมีน้ําใจแบบ ไทย ๆ จากการศึกษาเรื่องวัฒนธรรมและการสือ ่ สารระหวางวัฒนธรรมไดเรียนรู วาคนอเมริกันจะวางแผนการทํางานทุกอยางไวลวงหนาและจะเปนไปตามนัน ้ ผูเขียนก็ชักจะไดรบ ั อิทธิพบอเมริกันเหมือนกัน คือ ชอบวางแผนลวงหนา แตดวย ความเปนไทยก็สามารถเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ในระยะเวลาที่เหมาะสม แตประสบการณในเดือนกรกฎาคมที่ผานมา เมื่อตองทําโครงการการแลกเปลี่ยน ทางวิชาการและการทองเที่ยวเชิงวิชาการใหกับคณาจารยจากมหาวิทยาลัย อเมริกันกลุมหนึ่งไดพบวา กฎทุกกฎมีขอยกเวนเชนเดียวกับวัฒนธรรมทุก วัฒนธรรมก็มีขอ  ยกเวนในระดับของกลุม หรือของบุคคล ในการจัดทําโครงการ ครัง้ นี้ ผูเขียนไดวางแผนและดําเนินการติดตอลวงหนาไวทุกอยางครบถวน กระบวนความเพื่อใหผูมาเยือนไดรบ ั ประโยชนคม ุ คากับการเดินทางมาไกลจาก อีกซึกโลกหนึง่ ไดจัดสงโปรแกรมดังกลาวกลับไปใหผูประสานงานดูและไดรบ ั “ไฟเขียว” วาขอใหเปนไปตามเสนอ แตสักประมาณสองสัปดาหกอนถึงวันทีค ่ ณะ จะเดินทางไปถึงภูเก็ต ผูประสานงานของคณาจารยกลุมนีข ้ อเปลี่ยนแผน คอนขางมาก ซึ่งเปนเรือ ่ งยากที่จะเนินการตามที่ขอในระยะเวลากระชั้นชิด แต คนไทยจะยอมเสมอ คณะทํางานไดปรับเปลี่ยนใหทุกอยางและดวยน้าํ ใจไทยมี การคิดราคาทุนใหดวยเพราะบริษท ั ทองเที่ยวที่ตด ิ ตอเปนลูกศิษยลูกหากัน คน ที่มาก็ไดรบ ั การแนะนํามาจาก “คนรักใครชอบพอกัน” (สํานวนที่พวกเราคนไทย ชอบใช) ทุกอยางก็ดูเหมือนผานไปดวยดี ผูม  าเยือนก็ดป ู ระหนึ่งจะขอบคุณและ ซาบซึ้งในสิง่ ทีผ ่ ูเขียนและคณะทําใหโดยที่เราไมไดคิด “คาเสียหาย” ในการ เสียเวลาและการประสานงานใหมทั้งหมด แตสิ่งหนึง่ ที่ไดพบ คือ ความแตกตาง ของวิธีคิดซึ่งยากที่จะขามเขตวัฒนธรรมกันได สิ่งนั้นคือน้าํ ใจทีค ่ นไทยมีตอกัน ผูเขียนไดใชบริการของลูกศิษย ซึ่งในสังคมไทยและดวยวัฒนธรรมไทย ลูกศิษย จะใหราคาที่พิเศษสุดกับครูบาอาจารยและแขกของอาจารย ปรากฏวา “แขกของ เรา” ไมสามารถมองขามขอบฟาของวัฒนธรรมได เขาอาจจะใช “แวนวัฒนธรรม” ที่ตางกันจึงมองเปนวา ธุรกิจ คือ ธุรกิจ และอาจจะไดยน ิ มาดวยกระมังวาภูเก็ต แพงนักจึงไปติดตอขอปรับลดราคาใหตรงกับเจาของ tour agent (ซึ่งเปนลูกศิษย ของผูเขียน) ทั้งนี้เพราะมีบางคนในคณะที่มาเยือนไทยไมสามารถเขารวมไดทุก โปรแกรม สิ่งที่ผูเขียนไดเรียนรูจ  ากการทํางานครั้งนี้คอ ื คนทุกกลุมวัฒนธรรมจะมีลก ั ษณะ รวมเหมือน ๆ กัน เหมือนกับทีท ่ ฤษฏีการสือ ่ สารระหวางวัฒนธรรมกลาวไว แต อยาเหมารวมเปนอันขาดวาคนทุกคนจะเหมือนกัน ในกรณีนี้เปนเรือ ่ งทีป ่ ระจักษ ชัดวาคนทีอ ่ ยูในวัฒนธรรมอเมริกันซึง่ โดยทัว ่ ไปจะมีความยืดหยุนตอการ เปลี่ยนแปลงนอย โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลากระชัน ้ ชิด ก็ไมไดทํา ตามแผนเสมอไป อยางไรก็ตาม สิ่งที่ผูเขียนไดเรียนรูและไดบทเรียนวา เรานาจะ


ระมัดระวังในการทํางานครัง้ ตอไป คือ ควรใชความเปนสากลในการจัดการ ปญหา เราจําเปนที่จะตองมีการตกลงกันเปนลายลักษณอักษรใหชัดเจนวา การ เปลี่ยนแปลงใด ๆ หลังจากคํายืนยันจะตองมี “คาธรรมเนียมการเสียเวลา” หรือถา ไมถึงกับเครงครัดอยางนั้น อยางนอยก็ตองมีการยืนยันราคาโดยไมผกผันกับ จํานวนคนที่จะขาดหายไป หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทีฝายผูขอรับบริการเปน ฝายขอเปลี่ยน ฯลฯ เปนตน อีกประการหนึง่ ที่ไดเรียนรูและคิดวานาจะเปนประโยชนที่จะนํามาแลกเปลี่ยนกัน การรับรูค  วามมีน้ําใจของคนไทย บอยครั้งที่น้ําใจของคนไทยอาจถูกตีความ แปลกแยกออกไปโดยคนอเมริกัน ทั้งนีอ ้ าจเปนเพราะคนอเมริกันจะทําอะไรไป ตามกรอบที่ชด ั เจน เชน ธุรกิจ คือ ธุรกิจ สัญญา คือ สัญญา ไมมีธรุ กิจของคน ชอบพอกัน ความผูกพันของครูและศิษยที่จะทําอะไรพิเศษใหกันในปริบทของ งาน หรือธุรกิจ น้ําใจ กับ ราคาของธุรกิจมิใชประเด็นทีค ่ วรจะนํามาเชือ ่ มโยงกัน จากประสบการณ ผูเขียนมองวาคนอเมริกน ั แยกกันเปนคนละสวน หองของ “สายใยแหงความผูกพันตอกัน” ในเรื่องการงานอาจจะมีบา งสําหรับคนอเมริกัน แตนาจะมิใชความรูส  ึกลึกซึง้ เหมือนทีค ่ นไทยมีตอกัน และทําอะไรใหกน ั ก็ได ดังนัน ้ ความเขาใจที่เห็นการมอบ “สิ่งพิเศษ” ใหกันจึงมักจะเกิดชองวางทาง วัฒนธรรมและถูกแทนทีด ่ วยคําถามจากผูร วมงานชาวอเมริกน ั วาจะคิดราคาเพิ่ม หรือไม เชน การที่ลูกศิษยจัดรถคันใหญกวาที่ตกลงกันไปใหคณะอาจารยชาว อเมริกันที่มาเยือนเพราะเห็นวา “เปนแขกของอาจารย” จึงอยากใหมีความ สะดวกสบายทีส ่ ุดโดยไมไดเพิม ่ ราคาแมแตนอ  ย กอใหเกิดความกังวลกับผูมา เยือนวาเขาจะตองเสียเงินเพิ่มเทาไร ทําใหเกิดความระแวงแคลงใจโดยที่ไมควร จะเปน ประสบการณทน ี่ ํามาเลาสูกันฟงขางตนมิไดตั้งใจที่จะบอกวาคนไทยดีเลิศ ประเสริฐ และคนอเมริกันไมมน ี ้ําใจ แตเปนเรื่องที่ “ตางคนตางมอง ตางฝายตาง คิด” สิง่ ทีต ่ องการจะบอกกลาวกันคือวาในโลกทุกวันนี้ ...วันที่เทคโนโลยีอัน หลากหลายไดเชื่อมเสนขอบฟาของหลากหลายประเทศ หลากหลายสังคม และ หลากหลายวัฒนธรรมเขาดวยกัน พวกเราอาจจะตองตัง้ หลักใหมั่นทีจ ่ ะสงบ ไม หงุดหงิดและไมพอใจกับความคิดและพฤติกรรมที่เราไมเคยคุน และถามีโอกาสก็ ควรจะพูดทําความเขาใจตอกัน เรียนรูซ  ึ่งกันและกัน รับสิ่งที่ดีของกันและกัน เหมือนเชนตัวอยางขางตนที่ผูเขียนพบ สิง่ ที่ดค ี อ ื ความชัดเจนของการทํางาน น้ําใจแมจะเปนเรื่องดีแตก็ตองเลือกที่จะหยิบยืน ่ ในวาระและโอกาสอันควร และ สรางปริบทใหชัดเจนเปนที่เขาใจของทุกฝายที่เกี่ยวของ เปนตน


เรื่องของวัฒนธรรมเปนเรือ ่ งทีล ่ ึกซึ้งและตกผลึกชัดเจนในการพูด การคิด และ การกระทํา เราไมควรอยางยิ่งที่จะนําความหลากหลายมาหลอมรวมเขาดวยกัน แตเราจําเปนทีจ ่ ะตองทําความเขาใจซึ่งกันและกัน เพือ ่ ทีจ ่ ะทํางาน หรือคบคากัน ดวยความสุขที่เทาเทียมกัน ไมมีใครทีจ ่ ะตองรูสึกวาถูกเอาเปรียบไมวาจะเปนใน แงของความรูสก ึ หรือในแงของวัตถุเงินทองใด ๆ


Phra Pathom Chedi, Me, and Oedipus11 Assoc. Prof. Chalermsri Chantasingh, Ph.D. 1992 Open Competition Scholarship Program @ University of Kansas 2009 Thai Visiting Scholar Program From Faculty of Arts, Silpakorn Univeristy @ Department of History, Harvard University

I am not quite sure whether this will count as a “cross-cultural anecdote” in the sense that the Fulbright wants to collect. But it is a good story that I want to share. After having finished an MA program, I was encouraged to continue with the PhD. So, I needed to find a job which paid enough to keep my body and soul together.  The best job on campus at the time was to be Graduate Instructor for the Western Civilization Program. Once accepted you were (almost) guaranteed four years of a teaching job with tuition waiver and minimal fees. Not very confident of my knowledge of Western Civilization, I did some brief research on the program and finally applied for the position. Before the job interview, I changed my mind back and forth several times. But the Goddess Fortuna finally brought me to face my fate in the interview room. The screening committee was composed of six or seven professors and senior Graduate Instructors from the program. Among tens of applicants, I was the only one from Thailand with only two years of

11

Originally published in” Knitting the Fulbright Family” Year 8, March 2012


experience in the USA. Even I doubted if I could perform the task of teaching two courses of Western Civilization, from the Sumerians to the Twentieth Century, to American undergrads. So I did not blame the committee if they had the same doubt – which I think they did. The interview went something like this.

Interviewers: Why do you think you – as an Asian can teach Western Civilization? Me: Err…I checked the texts for these courses and I think I can do it. I was brought up in a Presbyterian school so I know something about the Bible. Most of the other books I have read in my literature classes and European history classes in college. Interviewers: Still, what makes you think you can teach Western Civilization? Me: (thinking hard now about how to tackle this question) well, after all Western Civilization began in the East. Interviewers: Why did you say that? Me: You see, in the town where I came from there’s a pagoda, supposed to be the biggest in the world. The original pagoda was built by a ruling prince to repent the sin of patricide. He unknowingly killed his father and almost – almost- took his mother as a wife. Does that ring a bell?


(Now all interviewers looked more interested in my story and looked at each other! I bet it was the very first time in their life that they heard this story.) Interviewers: Well, that sounds very much like the story of Oedipus. Me. Exactly. The only difference is in the Thai version he didn’t take his mother as is wife. On his way up the stairs to her room, he stepped over a mother cat and her kitty. The kitty said to its mother – you see in those days animals could talk so humans could understand (here all the professors laughed and I felt a little better!) – the kitty said “Look at this man. He’s very rude. He stepped over us and didn’t apologize.” And the mother cat said, “What can we expect from such a person? He’s even thinking of taking his mother as his wife.” The cat’s talk made the prince wonder and began an investigation. He eventually found out the truth of his birth. That he was actually born in that city and sent into exile because of the prophecy. He was so furious at the old lady who brought him up for not having told him the truth that he was not her natural child, causing him to kill his birth father. In his rage, he went home and killed the old lady. Anyway after a while he was sorry for his deeds. He built a pagoda as high as a dove could fly to repent his sin of patricide, and another pagoda for having killed the old lady who had raised him. So you can see we have two pagodas to prove our story; the Greeks do not have anything. That’s why I said Western Civilization must have come from the East…Oh. And after having read this story I always apologize to any animal I have to step over (more laughs here!)


Then all the professors began talking among themselves and we discussed how the Thai story could cross over to Greece. I made the point that Alexander the Great of Macedonia had come to Punjab in the West of India which must have served as a transit hub of western and eastern cultures in those days. The interview ended on a better note than when it started (at least for me!) and I felt good for myself. The committee might still have some doubts about me and they must have checked with my academic advisor. A few days after that my advisor called me in and informed me that I got the job! For me, teaching Western Civilization classes was a blessing, and an eye-opener in every senses of the world. It accentuated my sensitivity to cultural differences between the East and the West. And since then I realized that the two can blend and co-exist in harmony within me.


เปดโลกอารยธรรมตะวันตกดวยตํานานพระปฐมเจดีย1 2 รศ. ดร. เฉลิมศรี จันทสิงห 1992 Fulbright Open Competition Program @ University of Kansas 2009 Thai Visiting Scholar คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลับศิลปากร @ Department of History, Harvard University แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

ฉันไมคอยจะแนใจวานี่เปนเรือ ่ งเลา ‘ขามวัฒนธรรม’ แบบทีฟ ่ ุลไบรทอยากไดหรือ เปลา แตเปนเรือ ่ งดี ๆ ทีฉ ่ ันอยากจะแบงปนกับคนอืน ่ หลังจากเรียนจบปริญญาโท ฉันก็ไดแรงยุใหเรียนตอปริญญาเอก จึงจําเปนตอง หางานที่มรี ายไดพอใหอยูร อดไดโดยไมทุกขกายทุกขใจนัก  ในตอนนั้น งาน ดีที่สด ุ ในมหาวิทยาลัยคือการเปนอาจารยสอนวิชาอารยธรรมตะวันตกแก นักศึกษาปริญญาโท ซึง่ ถาไดรบ ั เลือกคุณก็ (เกือบ) มั่นใจไดวา จะมีงานสอนสี่ป พรอมไดรับการยกเวนคาหนวยกิตและเหลือเงินที่ตองจายเพื่อการศึกษาเพียง เล็กนอยเทานั้น เนื่องจากไมคอยจะมั่นใจกับความรูเรือ ่ งอารยธรรมตะวันตกของ ตัวเอง ฉันจึงศึกษารายละเอียดของหลักสูตรสักเล็กนอยกอนจะตัดสินใจสมัครใน ที่สุด กอนการสัมภาษณ ฉันก็เปลี่ยนใจไปมาหลายครั้ง แตเทพีแหงโชคไดนําฉัน ไปเผชิญกับโชคชะตาในหองสัมภาษณจนได คณะกรรมการคัดเลือกประกอบดวยศาสตราจารยและผูชวยสอนระดับอาวุโสของ หลักสูตรหกถึงเจ็ดคน ในจํานวนผูสมัครสิบกวาคน ฉันเปนเพียงคนเดียวทีม ่ าจาก ประเทศไทย แถมยังมีประสบการณในอเมริกาเพียงแค 2 ปเทานัน ้ แมกระทั่ง ตัวเองยังสงสัยวาจะทําหนาทีส ่ อนวิชาอารยธรรมตะวันตกตั้งแตสมัยยุคสุเมเรียน จนถึงศตวรรษที่ยี่สบ ิ สองใหนก ั เรียนปริญญาตรีอเมริกันไดอยางไร ดังนั้นฉันจึง

12

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 8, มีนาคม 2555


ไมโทษคณะกรรมการหรอกหากพวกเขาจะสงสัยแบบเดียวกัน – ซึงฉันคิดวาเขา สงสัยแน บรรยากาศในหองสัมภาษณเปนไปในลักษณะนี้

กรรมการสัมภาษณ: ทําไมคุณถึงคิดวาคุณ – ในฐานะที่เปนคนเอเชีย – จะ สามารถสอนวิชาอารยธรรมตะวันตกได ฉัน: เออ...ฉันเช็คขอมูลรายละเอียดของวิชาพวกนี้แลวและคิดวาทําไดคะ คือวา ฉันโตมาในโรงเรียนเพรสไบทีเรียน ก็เลยรูเรือ ่ งไบเบิลมาบาง สวนหนังสืออื่น ๆ ฉันก็อา นมาแลวในวิชาวรรณคดีกับประวัติศาสตรยโุ รปสมัยปริญญาตรี กรรมการสัมภาษณ: ยังงั้นก็เถอะ อะไรทําใหคุณคิดวาคุณจะสอนวิชาอารยธรรม ตะวันตกได ฉัน: (ตอนนี้ชักคิดหนักแลววาจะตอบยังไง) คือ อันทีจ ่ ริงแลวอารยธรรมตะวันตก ทั้งหลายแหลลว นเริ่มตนในตะวันออก กรรมการสัมภาษณ: ทําไมคิดอยางนัน ้ ฉัน: คุณคิดดูนะ จังหวัดที่ฉน ั อยูมีเจดียอ  งคหนึ่ง เขาใจวาจะเปนเจดียท  ี่ใหญที่สด ุ ในโลก เจดียอ  งคดงั้ เดิมสรางขึ้นโดยเจาชายผูปกครองเมือง เพื่อเปนการไถบาปที่ ทรงทําปตุฆาต พระองคสงั หารพระบิดาโดยไมรูและเกือบ – เกือบจะรับพระมารดา เปนมเหสี รูสึกคุน ๆ บางไหม (ตอนนี้กรรมการสัมภาษณทุกคนดูสนใจขึน ้ และยังสบตากันดวย! พนันไดเลยวา เกิดมาพวกเขาเพิ่งจะเคยไดยินเรื่องแบบนี้เปนครัง้ แรก) กรรมการสัมภาษณ: อืม ฟงคลาย ๆ กับเรื่องอีดิปสอยูนะ ฉัน: แนนอน ในฉบับของไทยจะไมเหมือนกันอยูอ  ยางเดียวคือ เจาชายไมไดรบ ั พระมารดาเปนมเหสี ระหวางทางทีพ ่ ระองคเดินขึน ้ บันใดไปยังหองของพระ มารดา ทรงเผอิญเหยียบถูกแมแมวกับลูกแมวเขา ลูกแมวพูดกับแมของมันวา –


ออ สมัยโนนพวกสัตวสามารถพูดใหคนเขาใจได (ตอนนี้บรรดาอาจารยตางก็ หัวเราะออกมา ทําใหฉันรูสึกดีขึ้นเล็กนอย!) – ลูกแมวพูดวา “ดูชายคนนีส ้ ิ ชาง หยาบคายจริง ๆ เหยียบพวกเราแลวยังไมขอโทษอีก” แมแมวตอบวา “เราจะไป คาดหวังอะไรกับคนแบบนีล ้ ะ ขนาดแมแท ๆ เขายังจะเอามาเปนเมียไดเลย” คําพูดของแมวทําใหเจาชายรูส  ึกสงสัยและเริม ่ สอบสวนหาความจริง ในที่สด ุ พระองคกค ็ นพบชาติกําเนิดของตัวเองวาพระองคประสูติในเมืองแหงนี้และถูก เนรเทศออกไปเพราะคําพยากรณ ทรงโกรธหญิงชราที่เลี้ยงพระองคมาโดยที่ไม ยอมบอกความจริงทําใหเจาชายสังหารพระบิดาของพระองคเอง เจาชายทรง โกรธจนผลุนผลันกลับบานและพลัง้ มือฆาหญิงชรา แตหลังจากนั้นก็ทรงสํานึกได จึงไดสรางเจดียสูงเทากับนกพิราบบินเพื่อไถบาปทีท ่ รงทําปตุฆาต และสรางเจดีย อีกองคหนึ่งเพือ ่ ไถบาปที่สงั หารหญิงชราซึง่ เลี้ยงดูพระองคมา พวกคุณเห็นแลวใชไหม เรามีเจดียถึงสององคเปนหลักฐาน แตพวกกรีกไมมอ ี ะไร เลย ฉันถึงวาอารยธรรมตะวันตกตองมีรากมาจากตะวันออกแน ๆ ...โอ และพอ อานเรื่องนี้แลว เวลาเผลอเหยียบสัตวอะไรไปฉันก็ตอ  งขอโทษพวกมันทุกครั้ง (กรรมการหัวเราะหนักกวาเดิม!) หลังจากนัน ้ บรรดาอาจารยก็หน ั มาคุยกันเอง แลวเราก็ถกกันวาเรือ ่ งที่เกิดในไทย จะขามไปกรีกไดอยางไร ฉันใหความเห็นวาอเล็กซานเดอรมหาราชแหง มาซิโดเนียไดเคยเดินทางมาถึงแควนปญจาบในอินเดียตะวันตก และนัน ่ นาจะ เปนแหลงเปลี่ยนผานอารยธรรมระหวางตะวันตกและตะวันออก การสัมภาษณสน ิ้ สุดลงดวยบรรยากาศที่ดีกวาตอนแรก (อยางนอยก็สําหรับฉัน!) และฉันก็รูสึกดีกับตัวเอง คณะกรรมการอาจจะยังคงมีขอสังสัยเกี่ยวกับตัวฉัน ซึ่ง พวกเขาก็คงตองตรวจสอบกับอาจารยทป ี่ รึกษาของฉัน ไมกี่วันตอมาที่อาจารยที่ ปรึกษาก็เรียกฉันไปพบและแจงวาฉันไดงานแลว! สําหรับฉัน การสอนวิชาอารยธรรมตะวันตกเปนเรือ ่ งฟาประทานมาก ๆ เปนการ เปดหูเปดตาในทุก ๆ เรื่อง ทําใหฉันยิ่งไวตอความแตกตางทางวัฒนธรรมระหวาง ตะวันออกและตะวันตก และนับแตนั้นมาฉันก็ตระหนักวาวัฒนธรรมทั้งสอง สามารถผสมผสานและอยูร วมกันไดอยางกลมกลืนภายในตัวฉันนี่เอง


Social Norms and Family Culture: A Cross-Cultural Analysis13 Jessica M. Sadler 2010 English Teaching Assistantship Program @Yangtaladwittayakarn, Kalasin

I recently met an Australian woman who works in India creating business contacts between the two countries. I’ve never been to India so I asked about the culture. Here are her paraphrased comments: It is very conservative; the women dress conservatively; and the people stick to their traditions. It’s the same in Thailand, but you wouldn’t know it by just visiting Bangkok. The traditions and social/cultural norms are bent quite a bit in Bangkok, as opposed to the more rural settings. For example, you may see a young couple smooching while waiting for the BTS sky train or women in min-skirts with bare shoulders and backs at Siam Paragon, but don’t expect to see this in the provinces in Isaan and Northern Thailand. Dress is conservative. The people do stick to their traditions. During the practice of rice harvesting, for instance, Thais utilize the same traditional tools even though global technological advances have made these tools obsolete. Supposedly, traditional rice harvesting produces better flavored rice.

13

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 31, August 2011


Besides these external displays of culture, the most prominent social/cultural norms are those living in the minds and hearts of Thais in the rural regions. Family is most important. After work, most Thais spend their time eating and talking with family. Life is quite simple. Thais prefer to stay at home rather than travel to neighboring countries or events in neighboring provinces. They find that the foreigner’s love for travel is both fascinating and confusing. In the U.S., I had the status of an adult. I bought a second car, started teaching high school, and finally moved out of a shared house into an apartment. But in rural Thailand, if you are young and unmarried, you are a dek dek, or child. Being a dek dek can be frustrating and confusing for a Westerner familiar with independence at a young age, but it can also bring love and caring. (Currently, I have two Thai moms and two Thai dads.) It took three months to learn all of the intricate meanings and responsibilities of being a ‘Thai mom.’ Thai moms worry a great deal, and they tend to worry about everything. When you are sad, they are sad; when you are happy, they are happy. They learn what you like. For example, I love cappuccino (some say that I am “khon waan” , an addict). On many mornings, I would wake up to find coffee and cappuccino flavored pastries on my kitchen counter. “You can eat and use everything in here,” my Thai father said, when he first gave me a tour of the house.


My Thai mother and father paid for my groceries and bought me my dinner. No matter how much I protested, they would give money back to me immediately. They also would tell me how many showers to take, where to go, how to eat, how to sit, and who to date. After three months of trying to convince them that I can only take one shower per day, I would still hear them say “gee aop naam”, or how many showers? This was very frustrating, indeed. However, when they visited me after school hours to inquire as to whether or not I had food, I realized that I would never go hungry. In this regard, their supervision of me was all worth it. There is always a yin-and yang, give-and-take, two-sides-tothe-scale. I always feel like I am on the winning side when it comes to my Thai parents.


มองสังคมและครอบครัวจากมุมตางวัฒนธรรม

14

เจสสิกา เอ็ม แซดเลอร

2010 English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนบานจานทองกวาววิทยา ศรีสะเกษ และโรงเรียนยางตลาดวิทยาคม กาฬสินธุ แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

เมื่อไมนานมานีฉ ้ ันมีโอกาสรูจก ั ผูหญิงชาวออสเตรเลียคนหนึง่ ซึ่งอยูในอินเดีย และทํางานเกี่ยวกับการสงเสริมความรวมมือทางธุรกิจระหวางสองประเทศ ฉันไม เคยไปอินเดียมากอนจึงถามเธอถึงวัฒนธรรมของที่นน ั่ และคําตอบที่ไดคอ ื โบราณ พวกผูห  ญิงยังแตงตัวแบบดั้งเดิม และผูคนก็ยังยึดมัน ่ ในประเพณีเกาแกที่ สืบทอดกันมา ที่เมืองไทยก็เชนกัน แตคุณจะไมรูหรอกถาอยูแคกรุงเทพฯ เพราะที่นี่ คานิยม ดั้งเดิมและบรรทัดฐานทางสังคมวัฒนธรรมไดถูกปรุงแตงจนผิดแผกไปจากชนบท ที่อยูหา งไกลออกไป ยกตัวอยางเชน คุณอาจจะเห็นคูร ักหนุมสาวนัวเนียกัน ระหวางรอรถไฟฟา หรือผูหญิงนุง กระโปรงสั้นใสเสือ ้ เปดไหลแถว ๆ สยามพารา กอน แตอยาคิดวาจะไดเห็นอะไรแบบนี้ในจังหวัดอืน ่ ๆ ทางภาคอีสานและ ภาคเหนือของประเทศไทย คนที่นน ั่ ยังสวมเสื้อผาแนวอนุรก ั ษนิยม ความคิดความ เชื่อก็ยังเปนแบบดั้งเดิม เมื่อถึงฤดูเกี่ยวขาว พวกเขาก็ยังใชอป ุ กรณแบบเกาที่ดู ลาสมัยเมือ ่ เทียบกับความล้ําหนาทางเทคโนโลยีของโลกยุคใหม แตบางทีการ เกี่ยวขาวแบบดัง้ เดิมอาจจะทําใหรสชาติของขาวอรอยกวาแบบอื่นก็เปนได นอกจากสิ่งที่ตามองเห็นแลว คานิยมและวัฒนธรรมทีโ่ ดดเดนที่สด ุ ก็คอ ื สิง่ ที่ยงั คง ฝงอยูในความคิดจิตใจของคนตางจังหวัด พวกเขาถือวาครอบครัวสําคัญที่สด ุ หลังเลิกงาน คนสวนใหญจะใชเวลาอยูกับครอบครัว กินขาวและพูดคุยกัน เปน ชีวิตที่เรียบงาย หลายคนชอบอยูบ  านมากกวาจะเดินทางทองเที่ยวไปประเทศ ใกลเคียงหรือแมกระทั่งจังหวัดใกลเคียง พวกเขาจึงมองความกระหายในการ เดินทางของคนตางชาติดว  ยความรูส  ึกทึง่ กึ่งสับสน

14

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 31, สิงหาคม 2554


ที่อเมริกา ฉันจัดวาโตเปนผูใ  หญแลว ฉันซื้อรถคันที่สอง สอนหนังสือในโรงเรียน มัธยม และยายออกมาอยูใ  นอพารตเมนตคนเดียว แตทช ี่ นบทของเมืองไทย ถา คุณยังเปนหนุม  สาวและไมไดแตงงาน คุณจะเปน “เด็ก ๆ” หรือ “เด็กนอย” ซึง่ การ ถูกเหมาวาเปนเด็ก ๆ นี้อาจทําใหคนตะวันตกที่เคยชินกับการพึ่งพาตัวเองตั้งแต อายุนอ  ยรูสึกหงุดหงิดและสับสนได แตมันก็ทําใหไดรบ ั ความรักและการดูแลเอา ใจใสดว  ยเชนกัน (ตอนนี้ ฉันมีแมกับพอคนไทยสองคู) ฉันใชเวลาถึงสามเดือนกวาจะเขาใจวา “แม” ในความหมายของคนไทยมีความ ซับซอนและความรับผิดชอบขนาดไหน แมแบบไทย ๆ จะมีความเปนหวงเปนใย ตลอดเวลา...อยางมาก และกับทุกเรือ ่ ง เมื่อคุณเศรา แมก็เศรา เมื่อคุณมีความสุข แมก็มีความสุข แมจะจําไดวาคุณชอบอะไรบาง อยางเชน ฉันติดกาแฟคาปูชิโน ใสนมขนหวานมาก เชาวันหนึ่งเมื่อตื่นขึ้นมา ฉันก็ไดเห็นกาแฟกับขนมรสคาปูชิ โนที่แมวางทิง้ ไวใหบนโตะในครัว “หนูจะกินอะไรใชอะไรในนี้ไดทุกอยางตามสบายเลยนะ” พอคนไทยของฉันบอก ตั้งแตวน ั แรกทีพ ่ าฉันเดินสํารวจบาน แมกับพอคนไทยจะออกคาจายตลาดและอาหารเย็นใหฉน ั ไมวาฉันจะพยายาม หามปราม หรือชิงควักเงินจากกระเปาตัดหนาพวกเขาก็ตาม พวกเขายังคอยเตือน ฉันใหอาบน้ํา บอกวาควรไปไหนบาง กินอะไรถึงจะดี จะนัง่ ยังไง และแมกระทั่ง จะเดทกับใคร ฉันพยายามอยูถึงสามเดือนที่จะโนมนาวพวกเขาวาฉันอาบน้ําแค วันละครั้งเทานัน ้ แตฉันก็ยังคงไดยินประโยค อาบน้ํากีค ่ รัง้ อยูนั่นเอง นี่เปนเรื่อง ที่ชวนหงุดหงิดจริง ๆ แตพอพวกเขาแวะมาหาหลังโรงเรียนเลิกเพื่อเช็คดูวาฉันมี อาหารกินหรือเปลา หิวหรือเปลา เรื่องอื่น ๆ ก็เลยไมเปนไร โลกนี้มักจะมีทงั้ หยิน และหยาง ใหและรับ เหรียญมีสองดาน เพียงแตพอแมคนไทยของฉันมักจะทําให ฉันรูส  ึกเปนผูร บ ั เสมอ


Fulbright-Hays Seminar Abroad Program Reflections on Thailand and Vietnam Summer 200715 Jeanette Barbari 2007 Fulbright-Hays Seminar Abroad Program From Montgomery Country Public Schools, Silver Spring, MD

Being selected to participate in the Fulbright-Hays Thailand and Vietnam Seminar Abroad Program was a true blessing and an unforgettable worldly experience for me. The program was well organized with a variety of outings, seminars and hands on-activities, allowing for a rich and enlightening experience that will last a lifetime. The knowledge I gained from this experience has impacted my personal and professional growth, allowing me to make many cross-cultural connections within may own life. Thailand and Vietnam both revealed cross-cultural connections throughout the trip and they will remain in my memory as part of a new personal perspective I’ve gained. Being an Arab-American of Palestinian decent, my upbringing included an integration of both American and Arabic culture. While in Thailand, on many occasions, my new found Thai friends and acquaintances realized similarities within our different cultures. One interesting aspect in both cultures refers to

15

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 20, December 2007


dating and marriage. In the Arabic culture, traditionally a male and female do not go on typical one-on-one dates. Instead, the couple will get to know each other by a group outing. This is very similar to the Thai style of dating, yet different from traditional American dating, where it is typically a one-on-one date. Family bonds are very strong in both cultures as well. With this type of bond in the Thai and Arabic cultures, it is common for children, both male and female, to live with their parents until they are married. In an American family, it is typical for a young adult to move out, heading out to college first, and then living independently. These are just a few examples of the cross-cultural connections. Superstitions are universal, and the examples in the different cultures are unlimited. Amulets, charms and icons are used in the various cultures as part of daily beliefs and lifestyle. Amulets are prominent in Thailand and many amulets are sanctified in ceremonies to empower the amulet with supernatural powers. One new trend in Thailand is the Jatukarm charm used for good luck and fortune. In many Middle Eastern cultures, an evil eye, in the form of a blue eye amulet, is used to ward off evil spirits, jealousy and envy, and other negative energy. In the United States, many Americans believe in good luck charms such as a rabbit foot or a horseshoe. Other American superstitions include not walking under a ladder or you will have bad luck, or not letting a black cat pass you, or you will have bad luck. Americans have lucky numbers as well, such as lucky seven, or bad luck from the number thirteen. In Thai and Middle Eastern culture, palm reading and fortune telling is a common practice. Now, palm reading has become a trendy new business in American society. In Thailand, it is poor etiquette and


bad luck to have the sole of your shoe facing upward. It is offensive to God and is depicted as walking on heaven. In Thai culture, spirit houses are created outside of any new dwelling, home, or business for the spirit guarding the land. It is customary to leave offerings of food, flowers, incense sticks and candles to show respect and give tribute to the spirit. The list of various superstitions and practices are endless and are apparent in all cultures. Another commonality was discovered while learning about the Hill Tribes of Thailand and Vietnam. Each Hill Tribe group is distinguished by their unique dress and jewelry. This is similar to what is seen in various towns in Palestine. Each town has a special dress with specific patterns and colors that represent that town. Both Hill Tribes and Palestinians utilize embroidery in their clothing and other textiles. Other similarities between Vietnam, Thailand and Palestine, are the buying and selling of products. You can bargain, haggle, and compliment to purchase an item at any flea market in Asia and the Middle East. It is a skill that takes much practice and patience to master! While walking in the flea markets, in all three countries, your appetite can be tempted by fresh food markets, and fresh meat markets along the streets. Although all three countries have distinctive and authentic cultures, there are many similarities between them. My Fulbright experience encompassed a stimulating education and thrilling adventure that will last a lifetime. My experiences will remain in my heart and continue to influence my personal growth. Hearing monks chanting in monasteries, exploring ancient Thai parks and historical temples, leisurely floating down the Perfume River in Vietnam, listening


to classic Vietnamese music, and learning traditional Thai dance steps and hand movements are just a few irreplaceable experiences. More importantly, and more valuable are the lasting friendship formed while traveling for five weeks throughout Asia. This included my friendships with other Fulbright teachers who were rewarded with a scholarship and the various members of the organizations that worked to prepare each seminar, outing and hands-on activity. Together, we learned about each other, shared laughter, smiles and knowledge, and engaged in active learning with openness and willingness. The seminar was well organized, very detailed, and with exceptional collaboration, allowed the opportunity for a deep, meaningful experience that will stay within my heart for many years to come.


ภาพสะทอนจากประเทศไทยกับประเทศเวียดนาม จากโครงการฟุลไบรท-เฮส 255016 เจเน็ท บารบารี 2007 Fulbright-Hays Seminars Abroad Program From Montgomery County Public Schools, Silver Spring M.D. แปลและเรียบเรียงโดย จักรี เตจะวารี ผูจัดการสวน สํานักกลยุทธ บริษัทเอส แอนด พี ซินดิเคท จํากัด มหาชน, 2011 Open Competition Scholarship Program @ Fordham University

การไดรับคัดเลือกใหเขารวมโครงการฟูลไบรท-เฮสทป ี่ ระเทศไทยและประเทศ เวียดนามนับเปนเรื่องโชคดียงิ่ และเปนประสบการณระดับโลกที่ลืมไมลงสําหรับ ฉัน โครงการนี้ไดรบ ั การจัดขึ้นอยางดี โดยมีทั้งกิจกรรมการเดินทางที่ หลากหลาย การสัมมนา และกิจกรรมที่ไดลงมือปฏิบัติดว  ยตนเอง ทําใหฉันไดรบ ั ประสบการณทเี่ ขมขนและรูจ  ริงซึ่งจะอยูตด ิ ตัวไปตลอดชีวิต ความรูท  ฉ ี่ น ั ไดรบ ั จากประสบการณครัง้ นี้มีผลอยางสําคัญกับการเติบโตทางความคิดและงานของ ฉัน ทําใหฉันสามารถเชือ ่ มโยงการเรียนรูขา มวัฒนธรรมที่หลากหลายเขากับชีวิต ของฉันเองได ทั้งในประเทศไทยและประเทศเวียดนามลวนปรากฏการเชือ ่ มโยงขามวัฒนธรรม ใหเห็นตลอดชวงการเดินทาง ทําใหฉันไดเกิดมุมมองใหมที่จะคงอยูในความทรง จํา...การที่ฉน ั เปนคนอเมริกันอาหรับที่มีเชือ ้ สายปาเลสติเนียน ทําใหฉน ั ไดรบ ั การ เลี้ยงดูมาแบบผสมผสานทัง้ วัฒนธรรมอเมริกน ั และวัฒนธรรมอาหรับ หลาย ๆ ครั้ง ในชวงทีอ ่ ยูในประเทศไทย ฉันพบวาเพือ ่ นหรือคนไทยที่ไดรูจักมีอะไรคลายกัน หลายอยางแมจะตางวัฒนธรรมกัน มุมมองหนึ่งที่นาสนใจของทั้งสองวัฒนธรรมก็ คือเรื่องเกี่ยวกับการหาคูค  รองและการแตงงาน ในวัฒนธรรมอาหรับ ตามธรรม เนียมแลวผูชายและผูหญิงจะไมนัดพบกันแบบสองตอสอง แตจะเรียนรูจักกันโดย การไปพบเจอกันแบบเปนกลุม  เรื่องนี้นบ ั วาคลายคลึงกับการนัดพบกันของไทย ซึ่งแตกตางจากการนัดพบกันของหนุมสาวอเมริกันทั่วไปซึง่ มัก จะนัดเจอกันแบบ

16

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 20, ธันวาคม 2550


สองตอสอง เชนเดียวกันกับสายใยความสัมพันธในครองครัวที่มค ี วามเหนียวแนน ในวัฒนธรรมไทยและอาหรับ ทําใหเปนเรือ ่ งปกติที่ลูก ๆ ไมวาจะเปนผูหญิงหรือ ผูชายจะอยูร วมชายคากับพอแมจนกระทัง่ พวกเขาแตงงานออกไป ในขณะที่ ครอบครัวอเมริกันนั้นจะถือเปนเรื่องปกติที่เด็กที่โตแลวจะยายออกบานไป โดยไป เขามหาวิทยาลัยกอน จากนัน ้ ก็แยกไปอยูเองอยางอิสระ นี่เปนเพียงบางตัวอยาง ของความเชือ ่ มโยงขามวัฒนธรรม ความเชื่อในทางไสยศาสตรก็ถือเปนเรื่องสากล และมีตว ั อยางทีไ ่ มจํากัดในหลาย วัฒนธรรม ไมวาจะเปนเครือ ่ งราง เวทยมนต และรูปเคารพบูชา ก็ไดถูกนํามาใช ในหลายวัฒนธรรม โดยเปนสวนหนึ่งของความเชือ ่ ในชีวิตประจําวันและรูปแบบ การใชชว ี ิต เครื่องรางมีความโดดเดนมากในประเทศไทย และเครื่องรางจํานวน มากไดรบ ั การปลุกเสกในพิธีเพื่อเสริมกําลังใหเครือ ่ งรางนั้นดวยอํานาจเหนือ ธรรมชาติ กระแสใหมในไทยอันหนึง่ ก็คอ ื จาตุคามรามเทพซึ่งไดรบ ั การบูชาเพื่อ ความโชคดีและมีลาภ ในหลายวัฒนธรรมแถบตะวันออกกลาง ดวงตาปศาจซึง่ เปนเครื่องรางรูปดวงตาสีฟาก็ไดรบ ั การนํามาใชเพื่อปดรังควาญจากวิญญาณ ปศาจ ความอิจฉาริษยา และพลังงานดานลบอืน ่ ๆ ขณะที่ในสหรัฐอเมริกา คน อเมริกันหลายคนเชื่อวาเครื่องรางบางชนิดจะทําใหโชคดี เชน ขากระตาย เกือก มา เปนตน ความเชื่อทางไสยศาสตรแบบอื่น ๆ ของอเมริกน ั ก็เชน การหามเดิน ลอดใตบน ั ไดเพราะจะทําใหโชคราย หรืออยาปลอยใหแมวดําวิ่งตัดหนาเพราะจะ ทําใหโชคราย เปนตน นอกจากนี้คนอเมริกันก็ยังมีความเชื่อในเรื่องของตัวเลข นําโชค เชน เลขเจ็ดนําโชคดี หรือเลขสิบสามนําโชคราย ในวัฒนธรรมไทยและ วัฒนธรรมตะวันออกกลาง การอานลายมือและทํานายโชคชะตาถือเปนเรือ ่ ง สามัญทีท ่ ํากันทั่วไป ขณะที่ในตอนนี้การอานลายมือกําลังเปนกระแสธุรกิจใหม ในสังคมอเมริกน ั ในประเทศไทยการใชเทาชี้ไปที่พระพุทธรูปหรือใครก็ตาม โดยเฉพาะในวัดถือเปนเรื่องทีไ ่ รมารยาทและอัปมงคล ในหลายวัฒนธรรมของ ทางตะวันออกกลางก็ถือเปนเรื่องอัปมงคลทีจ ่ ะหงายฝาเทาขึ้น โดยถือเปนการลบ หลูพระเจาและถูกมองวาเปนเหมือนการเหยียบพื้นสวรรค ในวัฒนธรรมไทย ศาล พระภูมิไดรบ ั การสรางไวนอกชายคาอาคารไมวาจะเปนบานพักอาศัยหรือ สํานักงานทางธุรกิจเพื่อใหวิญญาณเจาที่ไดชว  ยมาปกปกรักษา และก็ถือเปน ธรรมเนียมปฏิบต ั ิที่จะถวายอาหาร ดอกไม ธูปและเทียนเพื่อแสดงความเคารพ บูชาแกดวงวิญญาณ จํานวนของความเชือ ่ และแนวทางปฏิบัติดานไสยศาสตรจงึ มีอยูอ  ยางนับไมถวนและปรากฏใหเห็นไดทว ั่ ไปในทุกวัฒนธรรม จุดรวมทีค ่ ลายคลึงกันอีกอยางหนึ่งที่ไดคน  พบในชวงทีฉ ่ ันเรียนรูเกี่ยวกับชาวเขา ในไทยและเวียดนามก็คือ ชาวเขาแตละเผาจะจําแนกความแตกตางกันไดจากชุด และเครื่องประดับที่เปนเอกลักษณเฉพาะตัว ซึ่งลักษณะดังกลาวนีก ้ ็มีความ


คลายคลึงกับเมืองตาง ๆ ในปาเลสไตน โดยในแตละเมืองจะมีชุดพิเศษซึง่ มีลาย และสีจาํ เพาะที่เปนสัญลักษณของเมืองนั้น ๆ ทั้งชาวเขาและชาวปาเลสไตนยัง อาศัยการเย็บปกถักรอยเพื่อทําเสื้อผาเครือ ่ งนุงหมของพวกเขาอีกดวย ความ คลายคลึงอืน ่ ๆ ในเวียดนาม ไทย และปาเลสไตนกค ็ ือเรื่องรูปแบบของการซือ ้ การขาย คุณสามารถเจรจาตอรองราคา และพูดจาเกลี้ยกลอม หวานลอมในการ ซื้อสินคาในทุกตลาดทั้งในเอเชียและตะวันออกกลาง โดยถือเปนทักษะทีต ่ องใช การฝกฝนและความอดทนมากทีเดียวกวาจะชํานาญ ในขณะที่เราเดินผานตลาด ในประเทศทั้งสาม เราจะรูส  ึกหิวขึ้นมาทันทีเพราะเมือ ่ ไดกลิ่นและเห็นอาหารที่ เรียงรายอยูส  องขางทาง แมวาทั้งสามประเทศจะมีวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณ เฉพาะตัว แตก็ความความคลายคลึงกันดังปรากฏใหเห็นตามที่ไดกลาวมาแลว ประสบการณทไ ี่ ดรบ ั จากฟุลไบรทไมวาจะเปนเรื่องกระตุนการเรียนรูไปจนถึงการ ผจญภัยทีน ่ าตืน ่ เตนจะอยูกบ ั ฉันไปชั่วชีวิต ประสบการณนี้จะคงอยูในใจฉันและ ชวยทําใหความคิดอานของฉันไดเติบโตตอไป การไดยินเสียงพระสวดมนตในวัด วาอาราม การไดสํารวจเมืองโบราณและวัดเกาแกทั้งหลาย การลองเรือไปเรือ ่ ยๆ ตามลําน้ําหอมในเวียดนาม การไดสดับเสียงดนตรีคลาสสิคของเวียดนาม และ การไดเรียนกระบวนทาและลีลาของมือในการรําไทย ลวนเปนเพียงตัวอยาง ประสบการณเพียงเล็กนอยทีไ ่ มอาจหาสิง่ ไหนมาทดแทนได และทีส ่ ําคัญและมีคา ยิ่งไปกวานัน ้ ก็คือมิตรภาพซึ่งเกิดขึ้นจากการเดินทางในชวงหาสัปดาหทั่วทัง้ เอเชียที่จะคงอยูตลอดไป เชนเดียวกับครูในโครงการฟุลไบรทคนอื่น ๆ ทีไ ่ ดรบ ั ทุนนี้และบรรดาเหลาผูจัดงานจากหนวยงานตาง ๆ การเดินทางทองเที่ยว รวมทั้ง กิจกรรมที่ไดลงมือปฏิบัติ เราไดรูจักกัน แลกเปลี่ยนเสียงหัวเราะ รอยยิ้ม และ ความรูอ  ยางกระตือรือรนดวยใจที่เปดกวางและอยางตัง้ ใจ การสัมมนาไดรบ ั การ จัดขึ้นอยางดี มีการเก็บรายละเอียด และมีการรวมมือกันเปนอยางดียงิ่ อันนําไปสู ประสบการณทม ี่ ีความหมายและลึกซึง้ ซึง่ จะอยูในใจฉันไปอีกนานหลายป


Fun-to-learn Fair17 Piya Kerdlap 2013 Fulbright U.S. Student Program @King Mongkut’s University of Technology Thonburi

On November 28, 2013, the Fulbright Thailand organization hosted a Fun-to-Learn Fair at Chulalongkorn University as part of the 180th anniversary celebration of Thai-U.S. relations. This event brought together all the 2013-2014 Fulbright grantees comprising of English teachers, researchers, and scholars from different career and academic background with a common mission of raising awareness about major issues in the U.S. Participants in the Fun-to-Learn fair included high school students and teachers from the Bangkok Metropolitan Area and students at Chulalongkorn University. They engaged with Fulbright grantees at different activity stations to learn about US issues such as democracy, human rights, peace diversity, harassment, plagiarism, and LGBTQ (“L”esbian, “G”ay, “B”isexual, “T”ransgender, “Q”ueer or “Q”uestioning). One activity station at the Fun-to-learn Fair focused on the issue of harassment in the U.S. This group focused specifically on bullying as a form of harassment since the participants of the Fun-to-learn Fair could

17

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 38, December 2013


better relate to bullying than other forms of harassment. At this activity station the Thai students learned about the different forms of bullying such as physical, social, and mental and the effects on the victims of each type of bullying. The Thai participants then had a chance to write an example of bullying in Thailand on a post-it note and put it up on one side of a large board while the Fulbright grantees posted examples of bullying that exist in the U.S. on the other side of the board. Through this engaging activity, the students were able to compare bullying in both Thailand and the U.S. Before leaving the booth, the Thai students had a chance to write down how they would stop bullying on a sign and have their picture taken. Different ideas on how students would stop bullying included “telling a teacher” and “acting kindly towards others”. This last part of the activity was a fun and simple way for the participants to think about what they learned about bullying at the harassment activity booth and how they could apply this knowledge to help prevent bullying in their daily lives. A great deal of knowledge on the issue of bullying was exchanged between the Thai student participants and the Fulbright grantees. The Thai students learned about how bullying is an issue that is taken very seriously in the U.S. whereas in Thailand bullying is not taken very seriously. Both the Thai students and Fulbright grantees came to a mutual understanding that there is more bullying in the U.S. due to the greater ethnic diversity that exists. They also concluded that the issue is taken more seriously in the U.S. simply because the amount of people in this country who have suffered from the effects of bullying such as depression, self-mutilation, suicides, and deaths are much greater. Therefore it makes sense that bullying in the U.S. is taken very


seriously. At the same time, these negative effects of bullying could very well exist in Thai society but may not be well documented. Through engagement with some of the college students at Chulalongkorn who visited the harassment learning station, the Fulbright grantees learned that some forms of bullying (e.g., racial comments) exist between Thai people and people from bordering countries such as Cambodia, Laos, and Myanmar. This event was a great opportunity for both Thai students and Fulbright grantees to exchange knowledge on a variety of topics. While the Thai students learned about the different issues in the U.S., the Fulbright grantees were able to learn about how these issues exist in current Thai society from the perspective of young students. By the end of the day all participants walked out with a greater understanding of not only the differences between the US and Thailand but also their similarities.


Fun-to-Learn Fair18 ปยะ เกิดลาภ 2013 Fulbright U.S. Student Program @ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี แปลโดย ธาริต นิมมานวุฒิพงษ, 2008 Open Competition Scholarship Program @ University of California, Davis

เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 ฟุลไบรทประเทศไทยเปนเจาภาพจัดงาน “สนุกที่ จะเรียนรู (Fun-To-Learn)" ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยงานนี้เปนสวนหนึ่ง ของการเฉลิมฉลอง ความสัมพันธระหวางไทย – สหรัฐฯ ครบรอบ 180 ป เมื่อปที่ แลว ซึ่งมีผูรวมงานคับคั่ง ในสวนผูจัดจะนําโดยผูรับทุนฟุลไบรทในปการศึกษา 2556-57 จากหลากทุน อาทิ ครูสอนภาษาอังกฤษ นักวิจัย และนักวิชาการสาขา ตาง ๆ โดยมีภารกิจรวมกันที่จะกระตุนใหผูเขารวมงานตระหนักถึงประเด็นตาง ๆ ที่ สํ า คั ญ ในสหรั ฐ ฯ ผู เ ข า ร ว มงานครั้ ง นี้ ป ระกอบด ว ยนั ก เรี ย นและครู จ ากเขต กรุ ง เทพมหานคร รวมทั้ ง นั ก ศึ ก ษาจากจุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ได ร ว มกั น ทํ า กิจ กรรมกั บ พี่ ๆ ผู รั บ ทุ น ฟุ ล ไบรท ที่ ฐ านกิจ กรรมต า ง ๆ โดยมี วัต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ นํ า เสนอเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ประชาธิ ป ไตย สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน สั น ติ ภ าพ ความ หลากหลาย การคุกคาม การละเมิดทรัพยสินทางปญญา และกลุมเพศทางเลือก จากมุมมองของคนอเมริกัน ฐานเรียนรูฐานหนึ่งในงาน “สนุกที่จะเรียนรู” เนนปญหาการคุกคามในสหรัฐฯ โดยเฉพาะเรื่ อ งการล อ เลี ย น เนื่ อ งจากผู ร ว มกิ จ กรรมอาจเข า ใจการล อ เลี ย น มากกวาการคุกคามในรูปแบบอื่นๆ ที่ฐานนี้เองนักเรียนไทยไดเรียนรูเกี่ยวกับการ ล อ เลี ย นในรู ป แบบต า ง ๆ ทั้ ง ทางกายภาพ ทางสั ง คมและทางจิ ต ใจ รวมถึ ง ผลกระทบจากการตกเปนเหยื่อของการลอเลียนในรูปแบบตาง ๆ ทุกคนรวมกันทํา กิจกรรมเปรียบเทียบการลอเลียนที่มีในประเทศไทยกับในสหรัฐฯ เพื่อทําความ เขา ใจถึงความแตกตาง และกอ นที่จะออกจากฐานนี้ ยังเปด โอกาสใหนักเรียน ไทยไดเขียนแนะนําวิธีหยุดการกลั่นแกลงบนปายและถายภาพเปนที่ระลึกอีกดวย

18พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท

ฉบับที่ 38, ธันวาคม 2556


คํ า แนะนํ า นั้ น ต า งกั น ออกไป เช น “ไม นิ่ ง เฉย บอกคุ ณ ครู " และ “ประพฤติ ดี ต อ ผูอื่น” กิจกรรมสุดทายนี้ถือเปนวิธีที่สนุกสนานและเรียบงาย แตทําใหทุกคนได ใคร ค รวญถึ ง สิ่ ง ที่ พ วกเขาได เ รี ย นรู เ กี่ ย วกั บ การล อ เลี ย นที่ ฐ านกิ จ กรรม และ สามารถใชความรูนี้เพื่อชวยปองกันไมใหเกิดการลอเลียนในชีวิตประจําวันของ พวกเขาเองได ในงานนี้มีการแลกเปลี่ยนความรูเกี่ยวกับการลอเลียนระหวางผูเขารวมกิจกรรม ทั้ ง นั ก เรี ย นและผู รั บ ทุ น ฟุ ล ไบรท อ ย า งเป ด กว า ง โดยนั ก เรี ย นได เ รี ย นรู ว า การ ลอเลียนเปนปญหาที่มีการดําเนินการปองกันและแกไขอยางจริงจังมากในสหรัฐฯ ในขณะที่ประเทศไทยไมไดดําเนินการอยางจริงจังเทาใดนัก นอกจากนี้ ทุกคน ไดเรียนรูและเขาใจรว มกัน วา การที่ส หรัฐฯ มีอัตราการลอเลียนอยูในระดับสูง เนื่องจากความหลากหลายทางชาติพันธุ และการดําเนินการอยางจริงจังมากขึ้น นั้น ก็เปนเพราะผูที่ไดรับความเดือดรอนจากการถูกลอเลียนมีการแสดงออกดวย อาการตางๆ เชน ซึมเศรา ทํารายตัวเอง ฆาตัวตาย และ เสียชีวิต มีจํานวนมาก ขึ้นนั่นเอง เรื่องราวการลอเลียนตาง ๆ เหลานี้ แมจะไมไดมีการติดตามหรือบันทึก ขอมูลในสังคมไทย แตก็ปฏิเสธไมไดวาอาจเกิดขึ้นในวงกวางเชนกัน ตัวอยางหนึ่งที่ผูรับทุนฟุลไบรทไดเรียนรูจากนักเรียนนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม คือ การลอเลียนและการกลั่นแกลงระหวางคนไทยดวยกันเองและคนจากประเทศ เพื่ อ นบ า น เช น กั ม พู ช า ลาว และพม า ในรู ป แบบของการเหยี ย ดเชื้ อ ชาติ กิจกรรมนี้ถือเปนโอกาสที่ดีสําหรับทั้งนักเรียนไทยและผูรับทุนฟุลไบรทในการ แลกเปลี่ยนความรูในหลากหลายหัวขอ ในขณะที่นักเรียนไทยไดเรียนรูเกี่ยวกับ ปญหาที่แตกตางกันในสหรัฐฯ ผูรับทุนฟุลไบรทก็ไดเรียนรูเกี่ยวกับปญหาเหลานี้ ที่แฝงตัวอยูในสังคมไทยในปจจุบันจากมุมมองของเด็กรุนใหม ทายนี้ ผูเขารวม กิจ กรรมทุก คนต า งได รั บ ความรู แ ละความเข า ใจติ ด ตัว กลับ บ า นไปมากขึ้น ไม เพี ย งเฉพาะความแตกต า งระหว า งสหรัฐ ฯ และไทยเท า นั้ น แต ยั ง รวมถึ ง ความ คลายคลึงกันของทั้งสองประเทศอีกดวย


Caring Hearts for Our Soldiers19 Korin Tangtrakul 2011 English Teaching Assistantship Program @Sawan Anan Wittaya School, Sukhothai

On November 16th and 17th; Sawananan Wittaya School held a fundraiser for the soldiers in Bangkok that have been working so hard during the flood, but don’t get much attention for their diligence and bravery. Many resources and fundraisers went toward victims. Soldiers delivered goods, built sandbag walls, and carried people through the flood waters. However, the soldiers themselves rarely received any aid. With the generous help of my host teachers, P’Sonya, we decided to have a benefit concert as a fundraiser, and open it up to the community. By the following week, I was following P’Sonya around as she met the band director, the mayor and the sheriff. Before we knew it, we had three bands, a banner, and donation boxes. The entire foreign language department set up at the night market in Sawankhalok for two nights of a benefit concert. I arrived at Soi 8, our night market, as the sun was setting. The band was already set up, the banner that read ‘Bags of caring Hearts’ was already hung, and P’Sonya was waiting for the American voice to make the announcement at the fundraiser. After my introduction, the band commenced our fundraiser. I couldn’t believe the amount of people that

19

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 32, December 2011


donated money. Even laborers and market vendors dropped in 20 baht as they passed by. 20 baht may not be much, but 20 baht at our market can easily buy you a whole dinner. Can you imagine spending an entire dinner’s worth of money on the American’s cause, who just stepped foot in your hometown for the first time three weeks ago? Charities are an amazing thing in Thailand because people are so generous, even if they have very little to offer. It was incredibly inspiring to see a mother on her motorbike, handing money to her daughter on her lap, so her daughter could put the money into the donation and receive the good karma associated with giving. Out of everyone, I think the band had the most fun. With every song, the size of the band increased, and eventually the band had fifteen kids behind the set, most of them still outfitted in their school uniforms, waiting for a chance to play. They played longer than we could stay on our feet, and when some of my students had a break, they took the leadership role from me and walked around the market asking for donations. Though still too shy to speak English to my teacher, I think the event brought me immeasurably closer to those students who became involved. On Thursday night after the second night of fundraising, we counted how much money we had made. In two nights, we raised 24,000 baht, about $775! On Friday morning during the morning announcements at school, I gave a huge thanks to the school and P’Sonya for putting together the exciting fundraiser. To go along with the 24,000 baht, I also had my students craft their own letters to the soldiers, and sent it all to ‘Bags of Caring Hearts’ in care of the Fulbright office in Bangkok.


ถุงน้าํ ใจใหทหาร20 โคริน ตั้งตระกูล

2011 Fulbright English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนสวรรคอนันตวิทยา จังหวัดสุโขทัย แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

เมื่อวันที่ 16-17 พฤศจิกายน 2554 โรงเรียนสวรรคอนันตวิทยาจัดกิจกรรมระดม ทุนเพื่อทหารผูเหนื่อยยากจากภารกิจชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวมในกรุงเทพฯ แตดูเหมือนความทุมเทและความยากลําบากของเหลาทหารจะไมคอยไดรับความ สนใจสักเทาใดนัก ทรัพยากรและเงินชวยเหลือหลั่งไหลไปยังผูประสบภัยเสียเปน สวนใหญ โดยทหารผูนําสงสิ่งของ สรางกําแพงกั้นน้ําจากถุงทราย และชวยเหลือ ผูคนในการสัญจรไปมาในเขตพื้นที่น้ําทวม กลับเปนกลุมสุดทายที่จะไดรับความ ชวยเหลือ หลังจากปรึกษากับพี่ซอนญา ครูพี่เลี้ยงของฉัน เราก็ตกลงวาจะจัดงานแสดง ดนตรี ก ารกุ ศ ลเพื่ อ ระดมทุ น ในชุ ม ชนของเรา อาทิ ต ย ถั ด มา ฉั น ตระเวนตามพี่ ซอนญาไปพบผูอํานวยการวงดนตรี นายกเทศมนตรี และนายอําเภอ แลวเราก็ได วงดนตรีมาถึงสามวง พรอมปายชื่องาน และกลองรับบริจาค ผานไปแคพริบตา กลุมสาระตางประเทศก็สามารถจัดงานแสดงดนตรีการกุศลในตลาดกลางคืนเมือง สวรรคโลกไปแลวถึงสองคืนติดกัน เมื่อฉันมาถึงตลาดกลางคืนที่ซอย 8 หลังพระอาทิตยตก วงดนตรีก็พรอมอยูแลว และมีปายเขียนขอความวา “ถุงน้ําใจใหทหาร” หอยอยูเรียบรอย พี่ซอนญาเพียง แครอคนอเมริกันอยางฉันมาประกาศประชาสัมพันธงานเทานั้น ไมนาเชื่อเลยวา จะมีค นมาบริจ าคเงิน กัน เยอะขนาดนี้ แมกระทั่ ง คนงานกรรมกร พอ คาแมคา ที่ ผานไปมาก็ยังอุตสาหชวยสมทบทุนกันคนละ 20 บาท แมวาเงิน 20 บาทอาจจะ ไมมากนัก แต 20 บาทที่ตลาดของเราสามารถซื้ออาหารไดทั้งมื้อเลย เหลือเชื่อ จริง ๆ วาจะมีคนบริจาคเงินที่จะเปนคาอาหารเย็นใหกับโครงการของคนอเมริกัน ที่เพิ่งโผลเขามาในชุมชนเมื่อสามอาทิตยกอนหนานี่เอง การทําบุญเปนเรื่องนาทึ่ง

20

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 32, ธันวาคม 2554


ในเมือ งไทย เพราะผูคนที่นี่ใจกวางอยางมาก แมพวกเขาแทบจะไมมีเงินเลยก็ ตาม ฉันซึ้งใจอยางมากที่เห็นคุณแมซึ่งขี่มอเตอรไซคผานมายื่นเงินใหลูกสาวที่ อยูบนตักเพื่อเอามาหยอดใสตูบริจาคเพราะอยากใหลูกสาวไดทําบุญดวย ทั้งหมดทั้งมวลแลว ฉันคิดวานักดนตรีดูจะสนุกที่สุด สมาชิกในวงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามจํานวนเพลง จนทายที่สุดก็มีคนรอตอคิวเลนกันถึง 15 คนและสวนใหญยัง สวมชุด นักเรี ย นอยู เลย พวกเขาเลน เพลงนานขึ้ นเรื่อ ย ๆ ทํ า ใหเ มื่อ ยจนยืน กั น แทบไมไหว บางคนพอไดพักก็ควากลองจากมือฉันไปเดินขอรับบริจาคเสียเอง ถึง พวกเขายั ง อาย ๆ ที่ จ ะพู ด ภาษาอั ง กฤษด ว ย แต ฉั น รู สึ ก ว า งานนี้ ทํ า ให เ ราได ใกลชิดกันมากขึ้น คืน วั น พฤหั ส หลั ง จบงานระดมทุ น คืน ที่ ส องเราก็ ม านั บ เงิ น กัน ปรากฏว า ได เ งิ น บริจาคถึง 24,000 บาท หรือ 775 เหรียญในเวลาเพียงแคสองคืน! ตอนเชาวัน ศุกรตอนเขาแถวเคารพธงชาติ ฉันจึงถือโอกาสขอบคุณทุกคนรวมทั้งพี่ซอนญาที่ ช ว ยกั น จั ด งานอั น น า ประทั บ ใจครั้ ง นี้ นอกจากเงิ น บริ จ าคแล ว ฉั น ยั ง ขอให นักเรียนรวมกันเขียนจดหมายถึงทหารสงไปใหพี่ ๆ ที่ฟุลไบรท ใหชวยใสไวใน “ถุงน้ําใจใหทหาร” ดวย


‘From Apprehension to Appreciation’21 Ronda Kjelgren Spouse of Prof. Roger Kjelgren, Ph.D. 2005 Fulbright U.S. Scholar Program From Utah State University @Faculty of Forestry, Kasetsart University

If you are a spouse considering coming to Thailand with your family under the Fulbright Program, I would happily advise, “Please do!” We were a bit apprehensive at first, but we feel that coming here and living as a family unit among the Thai perhaps made us more understandable to them, and opened the way for us to become a part of their lives. It is an experience we will not soon forget. It is important to understand that the Thai people see themselves as one big family, and children are treated as this family’s treasures. This feeling of being treasured as a child may be one reason why they smile so readily as adults. They are loved and nurtured by everyone around them. Each person here is a relative to them, and this national connection continues throughout their lives. Friends are introduced as “younger sister”, “older brother”, “aunt”, etc. In fact, there is no distinction in the Thai language between a blood relative and a friend! My daughter Kajsa, 17, felt immediately welcomed and cared for by them. She seemed to become part of their family, and by association, my husband Roger and I were also welcomed. One young woman even

21

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 15, April 2006


told us that since Kajsa was now her friend, Roger was now her daddy! Though odd from an American viewpoint, this is quite logical to a people who see themselves as one very large family who just happen to inhabit an entire country. As you are deciding what to pack, there are some important Thai customs to consider. What you wear is particularly important in imageconscious Thailand. “Farangs� (westerners) are stared at in all but heavy tourist areas, but dressing according to local customs does reduce the intensity. All office people wear dressy casual, though women professionals may wear suits. All students, from first grade through undergraduate, wear uniforms. Jeans or long pants are common casual wear, with skirts or Capri pants added for women. Button-down shirts, golf shirts, and stylized tees are common. Sleeveless shirts and shorts are rare except among trendy young Thai women, or Farangs in tourist areas. Thais wear long shorts (to the knees) and tees to swim instead of swimsuits (or perhaps over them?). Workout clothing is quite modest for women but less so for men. Long pants and oversized tees are the norm for women. Be aware that more rural areas require more modest attire to be respectful. Clothing is cheap to purchase here in smaller sizes, though quality varies greatly. Anything sized 14 or over for women or X-Large for men is difficult to find and more expensive. Generally, Thais are smaller in stature than most Americans, so there are very few larger sizes available. 100% cotton is expensive and rare. Sandals are great for shoes, though professionals do not wear them. Flip-flops are quite common for casual wear. Slip-ons are really nice to


have because shoes are taken off to go inside homes, or in some businesses. Female shoes are readily available for size 8 and below. We haven’t looked at sizes in different makes, but we’ve heard that sizes above 10 are hard to find. So, try to bring most of the clothes and shoes that you’ll need for your stay in Thailand. We did have our family send us one care package from home of things we did not originally think to bring (above the knee denim skirts, extra jeans, and our preferred herbal remedies for colds). This was quite expensive because of shipping and customs taxes, but worth every cent to us in comfort. As Americans, there are several aspects to living in Thailand that take some getting used to. What we call a restroom or bathroom in English is called “toilet” or “hogn naam” by the Thais. The traditional Thai toilet is a low squatter type where you actually stand on the sides of the ”bowl” and take aim. They use water for cleansing, and flush by pouring water into the toilet, both activities accomplished with a nearby container of water and bowl. Sometimes there is a separate hose for personal cleansing. If one does use paper, it is thrown into a waste basket beside the toilet. Western toilets are becoming more common, though finding tissue in public is unusual. If you are in a place with multiple stalls and are faced with using a Thai toilet, do check further down the row, there just may be a western surprise waiting for you! Bring some pocket-sized tissue packs with you from the U.S. until you can buy more, which you can easily get at any city supermarket. They are not available in rural areas. Keep some handy at all times (guys too)! Although most hong naams have a place to rinse your hands, soap is a luxury. Bring hand sanitizer to last until you can find some more here.


Where you do find bathroom tissue is everywhere else but the hong naam. Thais do appreciate its marvelous qualities, as it is found on surfaces everywhere in prettily crafted holders to be used as tissues or napkins for quick clean-ups. Thais prefer using a paper product only once when dabbing at mouths or spills, so tissue-weight products in small sheets are just right for them. Interestingly you can even find roll tissue in some public restrooms near the sinks for drying your hands. Personally, we think the Thais are a very neat society, and we Americans tend to feel large and messy when we eat in their company! Our stack of use tissues can get quite high by the end of a meal. Eating is another aspect that requires some adaptations. Thais eat with a large spoon in the right hand and a fork (used as a pusher) in the left. We try to use the spoon and fork as the locals do, though they have been very accepting when we revert to our normal use of a fork. Knives are not used while eating because they are a sign of violence. Fortunately most food is served in bite-sized pieces. Thai food is not what we have seen in American Thai restaurants. Here it is closer to the original, fresh every day, often unique, sometimes quite hot, and frequently delicious. Find someone immediately to teach you how to pronounce, “Mai ped kha/khrup” which means, “not hot please!” Polite toothpick use is always done behind the cover of one’s other hand. Drinking from a bottle without a straw is quite impolite, so use a straw. City supermarkets carry many essentials for homesick American tummies: PB & J (import), bread (White), milk, cereal, juice, ice cream, ketchup (it tastes a bit different), pasta and sauce, spices, etc., along with fresh fruit, veggies, eggs (never refrigerated), meats (pork is the


main staple), and seafood. Cheese and Parmesan are available, but expensive. Newer gourmet supermarkets in downtown Bangkok also carry many imports, but they can be costly, such as Cheerios selling for $8.00 per small box. Also speaking of American tastes, there are an amazing number of American fast food franchises in cities. However, they are geared to Thai tastes, so alongside some of the old American favorites you will find such foods as shrimp pizza, pork burgers, fish nuggets and corn flavored ice-cream! Is it hard living in Thailand? Yes, at times it is, but it is amazingly wonder filled also. Please come as a family. Give your children the experience of being loved by all the adults around them who become family. Let them see that there are more ways of looking at the world than as an American. Come and see what these wonderful people think of the world. And know that for those times when you need to feel like an American, there are options in place for you! Most importantly, remember that coming to Thailand as a family is an opportunity to step outside of all your family’s knowledge about how the world operates, and experience life from a new perspective; within the eyes of the great Thai family.


แบงปนประสบการณ เรื่อง “จากความกังวล”22 รอนดา เจลเกรน ภรรยาของศ. ดร. โรเจอร เจลเกรน

2005 Fulbright U.S. Scholar Program @ คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แปลและเรียบเรียงโดย ปาริชาต มั่นสกุล, ผูพิพากษาประจําสํานักงานศาลยุติธรรม, 2007 Open Competition Program @ University of California, Berkeley

ถาคุณเปนคนหนึ่งที่กําลังตัดสินใจวาจะติดตามคูสมรสของคุณที่ไดรับทุนฟุล ไบรทมาเมืองไทยดีหรือไม ฉันขอบอกเลยวา “มาเถอะ” ตอนแรกพวกเราก็กังวล นิดหนอย แตพวกเราคิดวาการเดินทางมาที่นแ ี่ ละใชชีวิตแบบครอบครัวทามกลาง คนไทยนาเปนโอกาสอันดีทท ี่ าํ ใหเราเขาใจพวกเขาและมีโอกาสเปนสวนหนึ่ง ของชีวิตพวกเขา มันชางเปนประสบการณที่เราไมมีทางลืมมันไดงาย ๆ เลย ทีเดียว กอนอื่นตองเขาใจกอนวาคนไทยอยูกน ั เปนครอบครัวใหญและใหความสําคัญกับ ลูกหลานมาก และการไดรบ ั ความใสใจจากคนรอบขางตัง้ แตเด็ก ๆ นี่เองอาจเปน เหตุผลทีท ่ ําใหพวกเขาโตขึ้นมาเปนผูใหญทม ี่ ีความสุข พวกเด็ก ๆ ไดรับความรัก และการทนุถนอมจากทุกคนรอบขาง เขานับทุกคนเปนญาติหมดและ ความสัมพันธอน ั ยิ่งใหญนี้ดาํ เนินตอไปตลอดชีวิต เขานับเพือ ่ นเปนนองสาว พี่ชาย หรือปา ที่จริงแลว ภาษาไทยใชคําเดียวกันเรียกญาติทางสายเลือดและ เพื่อนเสียดวยซ้าํ คนไทยใหการตอนรับและดูแล Kajsa ลูกสาวอายุ 17 ป ของ เราอยางดีเสมือนวาเธอเปนสวนหนึ่งของครอบครัวเขา เลยทําใหฉันและ Roger สามีของฉันไดรับการตอนรับอยางดีไปดวย เพื่อนของ Kajsa คนนึงถึงกับบอกวา ในเมื่อ Kajsa เปนเพือ ่ นเธอ Roger ก็เปรียบเสมือนคุณพอของเธอดวย แมมันจะดู แปลกในสายตาของคนอเมริกันแตนี่เปนเรื่องธรรมดามากของประเทศไทยทีจ ่ ะ นับวาตนเองเปนสวนหนึ่งของครอบครัวใหญยักษ สําหรับการจัดของเตรียมตัวไปเมืองไทย เรื่องสําคัญที่จะตองคํานึงถึงคือ การ แตงตัวสงผลกับภาพลักษณของคุณมาก ฝรัง่ จะถูกมองในทุก ๆ ที่เวนแตสถานทีท ่ ี่

22

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 15, เมษายน 2549


มีนักทองเที่ยวเยอะ ๆ การแตงตัวใหเขากับทองถิ่นจะชวยลดความตึงเครียดลงได บาง คนทํางานที่นี่มักแตงตัวสบายๆ แตนักธุรกิจหญิงมักใสสท ู นักเรียนตั้งแตชั้น ประถมศึกษาจนถึงมหาวิทยาลัยลวนใสเครื่องแบบ ผูคนสวนใหญใสกางเกงยีนส หรือกางเกงขายาว บางครั้งผูหญิงอาจจะใสกระโปรงหรือกางเกงครึ่งนอง สวน เสื้อเชิ้ต เสื้อยืดคอปก หรือเสื้อยืดก็พบเห็นไดทั่วไป เสื้อแขนกุดและขาสัน ้ ไมเปน ที่นิยมเวนแตวย ั รุนผูหญิงหรือฝรั่งตามแหลงทองเที่ยว คนไทยมักใสเสื้อยืด กางเกงขาสัน ้ เลนน้ํามากกวาใสชุดวายน้าํ หรือบางทีอาจจะใสคลุมชุดวายน้ําไวก็ ได ชุดออกกําลังกายของผูหญิงคอนขางสุภาพกวาของผูช  าย ผูหญิงมักสวมเสื้อ ยืดใหญเกินตัวกับกางเกงขายาว อยาลืมวาการแตงตัวสุภาพของคนตางจังหวัด นั้นเรียบรอยกวาการแตงตัวสุภาพของคนในเมืองใหญ เสื้อผาขนาดเล็กราคา คอนขางถูกแตคุณภาพก็หลากหลายมาก

เสื้อผาผูหญิงขนาด

14

ขึ้นไปหรือ

เสื้อผาผูชายขนาด XL หาซื้อยากและราคาแพง โดยทั่วไป คนไทยตัวเล็กกวาคน อเมริกันสวนใหญ ราคาแพง

ดังนั้นเสือ ้ ผาขนาดใหญจงึ มีนอ  ย

เสื้อผาฝายแทหายากและ

คนไทยนิยมใสรองเทาเปดสน แตนักธุรกิจชายไมนิยมใส หากแตงตัวตามสบายก็ มักใสรองเทาแตะ ควรจะมีรองเทาสวมเดินในบานดวยเพราะตองถอดรองเทาเดิน ในบานหรือสํานักงานบางแหง รองเทาผูหญิงเบอร 8 ลงมาหาไดงาย เรายังไม เคยมองหารองเทาผูชายแตทราบมาวาหารองเทาเบอร 10 ขึ้นไปยาก ดังนั้นจึง ควรเตรียมเสือ ้ ผาและรองเทาไปใหพรอม เราขอใหครอบครัวสงของที่เราลืม เตรียมตามไปทีหลัง เชน กระโปรงยีนสเหนือเขา กางเกงยีนส สมุนไพรรักษา ไขหวัด เปนตน ซึ่งคาขนสงและภาษีคอ  นขางแพง แตก็คุมเพราะเราไดใชมน ั มีหลายเรือ ่ งที่คนอเมริกน ั ตองใชเวลาปรับตัวสักพักเพื่ออยูในเมืองไทย หองน้าํ ที่นี่ เรียกวา “toilet” ไมใช “restroom or bathroom” อยางที่เคยใช ถาเปนภาษาไทย เรียกวา “หองน้าํ ” หองน้ําแบบดั้งเดิมเปนแบบหองน้ําแบบหลุม ตองนัง่ ยองๆ ตอน ขับถาย เวลาทําความสะอาดก็ราดน้าํ ลงไป โดยจะมีถังน้ําและขันเตรียมไวให บางครั้งจะมีสายชําระไวใหลางกนดวย ถาใชกระดาษทิชชู ก็ใหทิ้งลงถังขยะที่ เตรียมไว สุขภัณฑแบบตะวันตกเริ่มใชกันแพรหลายแตมักจะไมมบ ี ริการกระดาษ ทิชชู หากไปเขาหองน้ําที่มีหลาย ๆ หอง แลวเจอหองน้ําแบบหลุม ใหลองเดินไปดู หองทีอ ่ ยูดานใน บางครัง้ อาจจะเจอหองน้ําแบบสุขภัณฑตะวันตกรอคุณอยูก็ได นําทิชชูขนาดพกพาติดมาจากอเมริกาดวยจนกวาคุณจะหาซื้อเพิ่มได ซึง่ หาได งายตามซุปเปอรมารเก็ต ไมมข ี ายตามตางจังหวัด ควรพกติดตัวไวตลอดเวลานะ ผูชายก็ดวย หองน้ําสวนใหญจะมีอางลางมือให บางทีอ ่ าจจะมีสบูลา งมือใหดวย ควรนําเจลลางมือติดตัวมาดวยจนกวาจะหาซื้อเพิ่มที่นี่ได


ทิชชูมีใหบริการแทบทุกที่ ยกเวนในหองน้ํา คนไทยชอบใชกระดาษทิชชูมาก มี กระดาษทิชชูวางอยูท  ุกที่ ใสไวในกลองสวยงามสําหรับใชในหองน้ําหรือเช็ดปาก คนไทยมักใชกระดาษทิชชูครัง้ ตอครั้งในการเช็ดปากหรือเช็ดเวลามีอะไรหก เพราะฉะนั้นทิชชูแผนเล็กจึงเหมาะมาก บางครัง้ จะเห็นกระดาษทิชชูวางอยูที่อา ง ลางหนาเปนมวนสําหรับเช็ดมือ โดยสวนตัวแลว เราคิดวาคนไทยเรียบรอยและ คนอเมริกันจะรูส  ึกวาเราตัวใหญและเลอะเทอะเวลากินขาวกันพวกเขา กวาจะกิน ขาวเสร็จกองกระดาษทิชชูก็สงู เชียว การกินขาวก็เปนอีกอยางหนึ่งที่ตอ  งปรับตัว คนไทยทานขาวโดยใชมอ ื ขวาจับ ชอนและมือซายจับสอมเพือ ่ ดันอาหารเขาชอน พวกเราพยายามใชชอ  นสอม เหมือนพวกเขาแตพวกเขาก็รบ ั ไดหากเราเปลีย ่ นมาใชสอมแบบทีค ่ ุนเคย เขาไม ใชมีดบนโตะอาหารเพราะเปนสัญลักษณของความรุนแรง โชคดีที่อาหารสวน ใหญอาหารมีขนาดพอดีคํา อาหารไทยทีน ่ ี่แตกตางจากอาหารไทยที่อเมริกา อาหารที่นี่เปนแบบดั้งเดิม สดใหมทุกวัน มีเอกลักษณ บางครั้งคอนขางเผ็ด สวน ใหญอาหารอรอย หาคนทีส ่ อนคุณพูดคําวา “ไมเผ็ดคะ/ครับ” ดวนเลย การใชไม จิ้มฟนแบบสุภาพคือใชอีกมือหนึ่งปดปากไว คอนขางไมสภ ุ าพ ดังนัน ้ ควรใชหลอด

การดื่มน้ําจากขวดโดยไมใชหลอด

ซุปเปอรมาเก็ตในเมืองมีขายอาหารทีค ่ นอเมริกันชอบหลายอยาง เชน เนยถัว ่ และ แยมนําเขา ขนมปงขาว นม ซีเรียล น้ําผลไม ไอศกรีม ซอสมะเขือเทศ (รสชาติ ประหลาดนิดหนอย) เสนพาสตาพรอมน้าํ ปรุงรส เครื่องเทศ เปนตน นอกจากนั้น ยังมีผลไมสด ผัก ไข (ไมแชตูเย็น) เนื้อสัตว (เนื้อหมูเปนหลัก) และอาหารทะเล ชีสก็มีขายแตราคาแพง ซุปเปอรมาเก็ตระดับสูงทีค ่ อ  นขางใหมมีของนําเขา มากมายแตราคาสูง เชน Cheerios กลองเล็กราคาประมาณ 8 ดอลลาร เมื่อพูด ถึงรสชาติอเมริกันก็นึกไดวาทีน ่ ี่มีอาหารจานดวนของอเมริกน ั ขายเยอะมาก แตมี การปรับใหเขากับรสชาติแบบไทย ๆ ดังนั้น นอกจากจะมีรายการอาหารอเมริกัน แท ๆ แลว คุณยังจะไดเห็นพิซซากุง แฮมเบอรเกอรหมู ปลากอนทอด และ ไอศกรีมรสขาวโพดดวย ถาถามวาเมืองไทยอยูยากไหม ตอนแรกก็ยากอยู แตมันก็เปนเรือ ่ งที่นาอัศจรรย ขอแนะนําใหมาเปนครอบครัว ใหโอกาสลูก ๆ ของคุณสัมผัสความรักจากผูใหญ รอบขางที่กลายเปนครอบครัวใหญ ใหลูก ๆ ไดเห็นวามีการมองโลกในแบบอืน ่ ๆ นอกจากแบบทีค ่ นอเมริกันมอง มาใหเห็นวาผูคนเหลานี้เขาคิดอยางไร และใหรู วานอกจากจะรูส  ึกแบบคนอเมริกันแลว ยังมีทางเลือกอื่นอีกนะ ที่สําคัญที่สด ุ โปรด จําไววาการมาเมืองไทยเปนครอบครัวเปนโอกาสทีท ่ ําใหคุณไดกาวออกมานอก


กรอบความรูของครอบครัวคุณเองเพือ ่ เห็นวาโลกนี้เปนอยางไร และไดใชชีวิตใน มุมมองที่แตกตาง ในสายตาของครอบครัวคนไทยที่ยิ่งใหญ


Food for Brain and Big Tummy!23 Assist. Prof. Sumalee Wongwitit, Ph.D. 2008 Thai Visiting Scholar Program From Faculty of Law, Ramkhamhaeng University @ Indiana University

What do we all know and think about libraries? I believe you know that each library serves as the research arm of people. They contain millions of books, recording, photographs, maps and manuscripts in their collections. Yet, this is a story that you may not know. I had an interesting experience while I visited Indiana University, Bloomington, as a visiting scholar. There are several libraries in the university such as Herman B. Well Library, Music Library, Neal-Marshall Black Culture Library, Law Library and so on. The Herman B. Well library or the so-called main library is located on 10th Street and Jordan Avenue. The library is separated into two buildings, east and west. I like the west side since there are about a hundred modern computers and it is open 24 hours. I enjoyed visiting the underground floor at the media room where I could borrow various video, CDs or DVDs and also XBOX, PS2 and PS3 games. To me, this library is really modern, yet, within my expectations!

23

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 25, August 2009


What was more fascinating and completely different was the Law Library. It is in the Mechael Maurer School of Law. I know you too will love it like I do. This library seems to be similar to others as it has a reading area, where you have to keep quiet. Otherwise someone will come to warn you politely. Well! The special area is when you first enter the library, you will see a big lobby where students group together and discuss issues loudly (yes, LOUDLY!). At the left side of the lobby, there is a counter for checking in and checking out books. Besides this area, most of the time you will see some food and drink, like salads, pizza or pasta, that you just pick up and eat without any charge. Sometimes you can even get coffee and tea, including snacks. People feel free to speak out loud too. It is the wonderful eating and discussion zone for all! As people can read and eat at the same time, sometimes when I was reading or writing, I became hungry from smelling delicious food in the area! The remarkable thing that also impressed me was that all law students here are very responsible when they are in the library. They never make the library messy or noisy. I like to stay that I love this library best because the books satisfy our curiosity, and the food satisfies our “tummy” Swasdee ka for now!


อาหารสมอง...และทอง24 ดร. สุมาลี วงศวท ิ ิต

2008 Thai Visiting Scholar Program คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง @ Indiana University แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ

Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทย-

อเมริกัน (ฟุลไบรท)

พูดถึงหองสมุดเราจะนึกถึงอะไร รูกันอยูแลววาหองสมุดแตละแหงนั้นเปนแหลง สืบคนขอมูลที่เก็บรวบรวมหนังสือ บันทึก รูปภาพ แผนที่ ตนฉบับ ฯลฯ เปนลาน ๆ แตก็อาจมีบางเรื่องเกี่ยวกับหองสมุดทีค ่ ุณอาจจะยังไมรูก็ได ขอเลาจากประสบการณทไ ี่ ดไปเยือนมหาวิทยาลัยอินเดียนา-บลูมมิงตันในฐานะ นักวิชาการรับเชิญ ที่มหาวิทยาลัยแหงนี้มีหอ  งสมุดหลายแหง เรียกชื่อตาง ๆ กัน เชน Herman B. Well, Neal-Marshall Black Culture, หองสมุดกฎหมาย ฯลฯ หองสมุด Herman B. Well หรือที่รูจักกันวาหองสมุดกลางนัน ้ ตั้งอยูบ  นถนน เลขที่ 10 และ Jordan Ave. มีดวยกันสองตึก ฝงตะวันออกและตะวันตก ฉันชอบ ตึกฝงตะวันตกเพราะมีคอมพิวเตอรทันสมัยเปนรอยเครือ ่ งใหเลือกใช แถมยังเปด ตลอด 24 ชั่วโมงดวย ที่โปรดของฉันคือหองโสตชั้นใตดินซึ่งฉันสามารถขอยืม วีดีโอ ซีดี หรือดีวด ี ี รวมทัง้ เกม XBOX, PS2 และ PS3 ได นี่เปนหองสมุดนี้ ทันสมัยสุด ๆ และมีทุกอยาง! ที่มหัศจรรยกวานั้นคือหองสมุดกฎหมายที่ Michael Maurer School of Law ซึ่ง ทุกคนนาจะชอบเหมือนฉัน หองสมุดแหงนี้ดูเผิน ๆ ก็คลายกับทีอ ่ ื่น ๆ คือมีโซน อานหนังสือที่ตอ  งการความเงียบ ใครเสียงดังเปนตองโดนกระซิบเตือน

24

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 25, สิงหาคม 2552


แต เมื่อยางเทาเขาไปที่นค ี่ รัง้ แรก คุณจะพบกับหองโถงขนาดใหญ เปนบริเวณที่มี นักศึกษานัง่ กันเปนกลุมพูดคุยกันเสียงดัง (ย้ําวาดังมากก) ดานซายของโถงจะ เปนเคานเตอรสําหรับขอยืมและคืนหนังสือ ถัดจากนั้นจะมีมุมบริการของวาง จําพวก สลัด พิซซา หรือพาสตา พรอมน้าํ ดืม ่ ไวบริการตลอดเวลาโดยไมตอ  งเสีย เงิน บางครัง้ อาจจะมีกาแฟ ชา และขนมขบเคีย ้ วดวย ใครจะสงเสียงดังยังไงก็ได ชางเปนโซนแสนวิเศษสําหรับการกินไปคุยไปจริง ๆ เนื่องจากสามารถอานและกินไปพรอมกันไดดวย บางครั้งทํางานไปสักพักฉันจะ รูสึกหิวเพราะไดกลิ่นอาหารทีล ่ อยฟุง อยูร อบ ๆ บริเวณ ฉันยังประทับใจนักศึกษากฎหมายทีน ่ ี่มาก พวกเขามีความรับผิดชอบสูงเมือ ่ อยูใ  น หองสมุด ไมเคยทําอะไรสกปรกและสงเสียงดังเลย ฉันชอบหองสมุดที่นท ี่ ี่สด ุ เพราะนอกจากจะมีหนังสือใหอานเยอะแยะหลากหลาย แลว ยังมีอาหารทีช ่ วยเติมเต็มกระเพาะของเราดวย สวัสดีแคนี้กอ  นนะคะ!


How to Eat Mango25 Elizabeth Pratt 2006 English Teaching Assistantship Program @Phathumratpittayakom School, Roi-Et

..and Other Life Lessons I Learned as a Fulbright ETA in Thailand Last night I was cutting up mangos to serve to my friends and my family along with the stories I was sharing about just what I’d been doing off in Thailand for the last 6 months. Having just returned from Thailand, I am a jumble of thoughts and emotions – excitement at being home and nostalgia for the new home I’ve just left. The challenge of distilling six months into the most significant experiences to share is only matched by the desire to capture and retain every detail before time and distance take their toll on the vividness of my memories. My cousin asked me the perfectly specific yet open-ended question to capitalize on my *** “What did you learn in Thailand?” I excitedly rambled about cultural differences, the universality of kids in any country, personal strength and my own cultural identity. Then I added, “And I learned how to cut a mango, and how to eat a mango, and that you can eat them when they’re green!” Reflection on this, I realized a lot of things I learned living in Thailand could be related to mangos:

25

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 21, April 2008


1. Prepare them for your seniors. As the youngest teacher in the English department, I learned to show respect for my Piis (seniors) by peeling and preparing mangos and any other fruit or snacks brought into the English department. Likewise, Pi’s Pink (the second youngest teacher) and I would arrive early to open the windows, start the hot water for coffee and sweep out the office. 2. Cut them carefully. I’d always learned to cut away from myself, but Ajarn Rainbow taught me instead to focus first on cutting away from other people – which I think symbolizes an underlying difference between our two cultures. 3. Eat them with thanks and then return the gift. Often when teachers, neighbors, or even students would go out of town, they would bring back a small gift for the English department, friends, or family. It didn’t matter what the gift was, just that they brought one. My favorites were fresh fruit or the sticky, sweet, dried mango slices. I learned to graciously accept such tokens of thoughtfulness and to return the favor when I left town. 4. Buy them from the market, and talk to the vendor. I had some of my best conversations and learned the most Thai from buying things in the market. My fruit lady would watch out for me and tell me not to go jogging alone at night 5. Buy them from a vendor on the street in order to meet potential husbands. I once brought sliced mangos near the park, and the vendor told me her son was on the other side of the park, that he was young and handsome, and she’d call him if I’d like to meet him. I laughed but had to say no thanks.


6. Eat them in class. My first week in school I thought it would be fun for the M2 students studying the senses to do an experiment tasting different fruits. I was quickly reminded this wasn’t a typical American school as students brought out their own sharp knives to cut the fruit saying “teacher, don’t worry, we have band aids in case we get cut.” 7. Eat them at the bus station green and tart and with bag of sugar and hot pepper. This helps to pass the time while waiting for the bus or the song-tao to take you to Bangkok, Chiang Mai, or Roiet. I spent a lot of time on buses and at bus stations and tasty snacks always helped the time go by faster. 8. Eat them fresh off the tree. One of my students invited me to her birthday party. She had a yard full of mango trees and we spent the afternoon picking, peeling, and cutting mangos into a tart and spicy mango salad. 9. Eat them with coconut milk and sticky rice. This is only good when they are ripe and juicy orange, but good things come to those who wait for the season. 10. Eat the last piece and get a handsome boyfriend! (as the Thai saying goes). From eating mangos in Thailand, I learned lessons I should have already known about thinking about others before myself, showing respect for seniors, demonstrating friendship through small acts, and that great food always tastes better when shared with friends, “family”, and even strangers.


I also learned that Thailand is like the mangos I miss so much. There is much more to the fruit than what Americans know of the often flavorless fruit that comes from a box shipped half-way across the world. Likewise, Thailand and its people are more than the postcard beaches that come to most people’s mind. The true richness and depth of the many flavors – sweet and delicious, but also tangy, tart, salty, and hot – can only be appreciated first hand. Mangos and Thailand will always be associated in my mind, and I’ll continue to treat myself to an overpriced and under-flavored mango if just to let the sticky juice conjure up fresh memories of markets, and streets, friends, and food.


มะมวงและบทเรียนชีวต ิ อืน ่ ๆ ทีฉ ่ น ั ไดรบ ั จากประสบการณ การเปนฟุลไบรท ETA ในประเทศไทย26 อลิซาเบธ แพลทท 2006 English Teaching Assistantship Program @ Phathumratpittayakom School, Roi-Et แปลและเรียบเรียงโดย บัญชา รัตนมธุวงศ, 2013 Open Competition Scholarship Program @ University of Oregon

เมื่อคืนวานนี้ขณะทีป ่ อกมะมวงใหเพื่อน ๆ และครอบครัวกินฉันก็ไดเลา ประสบการณชว  งหกเดือนในประเทศไทยใหพวกเขาฟง เพราะฉันเพิง่ เดินทาง กลับมาจากประเทศไทย ในหัวจึงเต็มไปดวยความคิดความรูส  ึกที่หลายหลาก ทั้ง ตื่นเตนทีไ ่ ดกลับบาน แตก็อดคิดถึงบานอีกหลังที่เพิง่ จากมาไมได ไมงายเลยที่จะ กลั่นกรองประสบการณอันแสนล้ําคาตลอดระยะเวลาหกเดือนออกมาเพื่อสรุปเปน คําพูดใหทุกคนฟงทัง้ ๆ ที่อีกใจหนึ่งก็อยากจะเลาและจดจําทุกรายละเอียดกอนที่ ความทรงจําของฉันจะลางเลือนไปตามระยะทางและการเวลา ญาติของฉันถามฉันวา“ไดเรียนรูอ  ะไรมาบางชวงทีอ ่ ยูทป ี่ ระเทศไทย”

คําถามนี้

ชางเจาะจงแตก็เปดกวางไมนอ  ย ฉันเลาใหพวกเขาฟงอยางตื่นเตนเกี่ยวกับความแตกตางทางวัฒนธรรม ความ เหมือนกันของเด็ก ๆ ในทุกประเทศ ความเขมแข็งและอัตลักษณทางวัฒนธรรม ของตัวฉันเอง จากนั้นจึงพูดเสริมวา “นอกจากนั้น ฉันยังไดฝกปอกและกินมะมวง ดวยนะ แถมยังรูดวยวามะมวงเนี่ย ไมสุกก็กินได!” พอมาคิด ๆ ดูแลว รูสึกวาบทเรียนหลายอยางที่ฉันเรียนรูจ  ากประเทศไทยตางก็ เชื่อมโยงกับมะมวงทั้งนั้น ไมวา จะเปน 1. ผูนอยตองเตรียมมะมวงใหผอ ู าวุโส... เพราะความที่ฉน ั เปนครูทอ ี่ ายุนอยที่สุดในกลุม  สาระภาษาอังกฤษ ฉันได เรียนรูว  ิธีการแสดงความนอบนอมตอพี่ ๆ ที่อาวุโสกวาในกลุมสาระดวย

26

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 21, เมษายน 2551


การปอกและเตรียมมะมวงหรือผลไมอน ื่ ๆ รวมถึงขนมที่คนนํามาฝากให พี่ ๆ ในกลุมสาระภาษาอังกฤษ นอกจากเรือ ่ งของกินแลว ฉันและพี่พงิ ค (ครูทอ ี่ ายุนอยที่สุดรองจากฉัน)

มักจะมาถึงโรงเรียนแตเชาเพื่อเปด

หนาตาง ตมน้ํารอนสําหรับชงกาแฟ และกวาดหองทํางานดวย 2. ตองระวังเวลาตัด... ปกติฉันมักจะตัดมะมวงใหออกจากตัว แตอาจารยเรนโบวสอนฉันวา สิ่ง แรกที่เราตองระวังเวลาตัดมะมวง คือ การตัดไมใหมีดไปโดนคนอืน ่ ฉัน คิดวาวิธีการตัดมะมวงนี้เองสะทอนความแตกตางทางวัฒนธรรมระหวาง สองประเทศไดเปนอยางดี 3. ขอบคุณผูให และแสดงน้ําใจดวยการมอบสิ่งตอบแทน... บอยครั้งเวลาครู เพื่อนบาน หรือนักเรียนออกไปนอกเมือง พวกเขามักจะ ซื้อของฝากเล็ก ๆ นอย ๆ มาใหกลุมสาระภาษาอังกฤษ เพื่อน ๆ หรือ ครอบครัว ของฝากจะเปนอะไรไมสําคัญเทาน้ําใจที่มีใหตอ  กัน ของฝาก ที่ฉันชอบคือผลไมสด หรือไมก็มะมวงกวนเหนียวแหงรสหวาน สิง่ นีท ้ ํา ใหฉันรูจ  ักการรับของฝากแสดงน้ําใจ และตอบแทนความเอื้อเฟอ  ของ พวกเขาเมื่อฉันออกนอกเมืองบาง 4. ซื้อมะมวงจากตลาด...อยาลืมคุยกับคนขายดวย การไดพด ู คุยกับพอคาแมคา เปนหนึ่งในประสบการณที่ดท ี ี่สด ุ ของฉัน และสวนมากฉันก็ไดเรียนภาษาไทยจากพอคาแมคานี่เอง คนขายผลไม คอยเปนหวงเปนใยฉันตลอด คอยเตือนฉันวาอยามาวิง่ ออกกําลังกาย คนเดียวตอนดึก ๆ 5. ซื้อมะมวงจากคนขายริมถนน...เผื่อจะไดเจอสามีในอนาคต ฉันเคยซื้อมะมวงจากคนขายผลไมใกล ๆ สวนสาธารณะ ปาคนขายบอก ฉันวาลูกชายของปาอยูอ  ีกฝงหนึ่งของสวน ทั้งหนุม  และหลอมากดวย เธอจะโทรเรียกใหเขามาถาฉันอยากเจอ ฉันหัวเราะ แตก็ตองตอบ ปฏิเสธพรอมขอบคุณคุณปาทานนี้ไป 6. กินในหองเรียน... สัปดาหแรกที่ฉน ั ไดไปสอนในโรงเรียน ฉันคิดวาคงนาสนุกไมนอย ถา ใหเด็กชั้นม.2 ซึ่งกําลังเรียนเกี่ยวกับประสาทสัมผัส ไดลองลิ้มรสผลไม ชนิดตาง ๆ กิจกรรมนีท ้ ําใหฉน ั รูตว ั วาที่นไ ี่ มเหมือนโรงเรียนทั่วไป ๆ ใน อเมริกา เพราะเด็ก ๆ นํามีดปอกผลไมมาโรงเรียนได พรอมยังบอกฉัน อีกวา “คุณครู ไมตองหวงครับ พวกเรามีพลาสเตอร เผื่อเพื่อนโดนมีด บาด” 7. กินมะมวงที่ทา รถประจําทาง...


กินมะมวงตอนที่ยังดิบและเปรีย ้ วจิ้มน้าํ ตาลกับพริกปนระหวางรอรถ ประจําทางหรือรถสองแถวเขากรุงเทพฯ เชียงใหม หรือ รอยเอ็ด เวลาที่ ตองรอรถนาน ๆ ของกินเลนรสเลิศมักจะชวยใหเวลาผานไปเร็วขึ้นได 8. กินมะมวงตอนเพิ่งเก็บ... นักเรียนคนหนึง่ เชิญฉันไปงานเลี้ยงวันเกิด ที่บา นเธอมีสวนมะมวงขนาด ใหญ เราใชเวลาชวงบายเก็บ ปอก และหั่นมะมวงเพื่อทําขนมและยํากิน กัน 9. กินกับกะทิและขาวเหนียว… เมนูนี้ตองกินกับมะมวงสุกหวานฉ่ําสีเหลืองอรามถึงจะอรอย ชา ๆ ได พราเลมงาม 10. กินชิ้นสุดทาย....จะไดแฟนหลอ

(ตามคําพูดติดปากทีค ่ นไทยชอบพูด

กัน) จากประสบการณการกินมะมวงชวงทีอ ่ ยูป  ระเทศไทย ฉันไดเรียนรูสงิ่ ที่ฉันควรได รูมาตัง้ นานแลว นั่นคือ การคิดถึงผูอน ื่ กอนตนเอง การแสดงความเคารพตอ ผูใหญ การสรางมิตรภาพจากการแสดงน้ําใจเล็ก ๆ นอย ๆ ที่สําคัญ ฉันยังเรียนรู อีกวา อาหารทีอ ่ รอยจะอรอยยิง่ ขึ้นถาไดแบงปนกับเพื่อน "ครอบครัว" และแมแต คนแปลกหนา ฉันยังไดเรียนรูอ  ีกวาประเทศไทยก็เหมือนกับมะมวงที่ฉันคิดถึงมาก ๆ มันมีอะไร มากกวาที่ชาวอเมริกันรู มันไมไดเปนเพียงผลไมรสชืดที่บรรจุใสกลองขามน้ํา ขามทะเลมา ประเทศไทยและคนไทยเปนอะไรมากกวาโปสการดรูปชายหาดทีค ่ น ทั่วไปมักนึกถึง รสชาติหลายหลากอันรุมรวยและลุมลึก หวานอรอย แตก็เผ็ด เค็ม และจัดจาน ทั้งหมดนี้ตอ  งลิม ้ รสดวยตนเองจึงจะเขาใจ มะมวงจะเปนสิง่ ที่ยา้ํ เตือนใหฉันนึกถึงประเทศไทยเสมอ และฉันจะยังคงซือ ้ มะมวงรสฝาดราคาแพงที่ขายอยูทน ี่ ี่ เผื่อวามันจะชวยใหฉันหายคิดถึงตลาด ถนน ผูคน และของกินในประเทศไทยไดบาง


From ‘The Red Pony’ to ‘The Grapes of Wrath’ The National Steinbeck Center….More Than a Museum27 Sasima Charubusp 2009 Junior Research Scholarship Program From School of Liberal Arts, Mae Fah Luang University @Monterey Institute of International Studies For those who study English literature, there must be a moment when they are touched by the work of the famous American writer, John Steinbeck. On Friday, November 20, 2009, I had a great opportunity to visit the National Steinbeck Center in Salinas, California. The visit was hosted by Khun Sirie Thongchua, the Director of Development and Deborah Silguero, the curator of exhibitions and collections of the Center. Apart from the well known writer’s exhibits, this Center presents some socio-cultural aspect of Salinas, a small and agricultural city in California, which were told through some of Steinbeck’s novels. The main purpose of the National Steinbeck Center is to tell the stories of John Steinbeck’s life journey as a writer. Through his travel to different places in Monterey Peninsula and around the United States, Steinbeck documented his experiences and impressions towards peoples’ lives in each of his novels. His masterpiece is about the

27

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 27, April 2010


hardship of Oklahoma laborers who struggled to get a job on farms in California and fought for their fair wages. This story has been portrayed in one of his famous works, ‘The Grapes of Wrath’. With regard to the exhibition, the Steinbeck Center offers interactive exhibits that make it remarkably different from other museums. Children who visit the museum can have hands-on experiences with the literature that they study in classrooms. Apart from videos, film clips and hearing Steinbeck’s voice while he accepted the Nobel Prize for Literature, they can touch the displayed objects, climb on the ‘Red Pony’ house exhibit in the Exhibition Hall and smell the odor of food on the dinner table at the Agriculture Museum which is a section of Steinbeck Center. This is just to create a new face of a ‘touchable’ museum which is hoped to attract children and visitors and help them to become more interested in museums. I have learned with concern that because it is a non-profit institution, apart from the admission fee, this museum has to struggle to find funds to support itself. What impressed me most was the Center’s effort to serve the local community and to tell the world about the pain of discrimination that Salinas’ population has experienced. Residents of Salinas are of diverse cultures. Most of the population is Mexican and they are considered to be in a low socioeconomic class in the United Sates. Compared to other cities in the Monterey Peninsula, Salinas is a quiet city, with no attractions. However, it is a great place for agricultural products that feed Monterey Peninsula. In contrast to nearby cities like Monterey, Carmel, Big Sur and others which have their natural attractions, people do not want to visit Salinas and it is considered an


unsafe place because according to statistics, it has a high record of homicide and violence. Sadly enough, the high crime was perceived as associated with high population of Mexican immigrants. I was told by my two hosts that there is a mental barrier between the city of Salinas and Monterey known among people of these two cities as ‘lettuce curtain’. This invisible boundary splits both neighboring cities. The cities have organized a lot of mutual projects to bring down this ‘curtain’ and unite the people of the two cities. Also, the Center has worked its best to promote the development of positive attitude toward the people of Salinas. On the day of my visit, there was an art exhibition under the theme, ’Day of the Dead’ featuring Mexican children’s paintings that reflected a traditional day of remembrance for their departed ones. In addition, the Center also has some education programs, providing activities that promote English literacy to locals. My visit to the National Steinbeck Center gave me more than knowledge about John Steinbeck’s life and works. The Center is not only an introduction to his life but it is also a portrait of his country and the cities where he was born, lived and travelled. It left me wondering about socio-cultural issues in this particular area of the United States. It was definitely a valuable visit. I wish to thank Khun Nalinee Cain, the Program officer of East Asia Pacific Fulbright Program , Department of State; Khun Sirie Thongchua, the Director of Development and Deborah Silguero, the curator of exhibitions and collections, National Steinbeck Center for offering me this special opportunity. Also, thanks to ThailandUnited States Educational Foundation (Fulbright Thailand) for the research grant that has brought me to Monterey County, California


which is an abundant source of knowledge and experiences to learn from.


จาก “The Red Pony”28 สู “The Grapes of Wrath”29 The National Steinbeck Center....ยิง่ กวาพิพธ ิ ภัณฑ30 ศศิมา จารุบุษป 2009 Junior Research Scholarship Program @ School of Languages and Educational Linguistics Monterey Institute of International Studies แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

สําหรับคนที่เรียนวรรณคดีอังกฤษแลว จะตองมีสักชวงเวลาหนึ่งที่เราซาบซึ้งไป กับจอหน สไตนเบ็ค นักเขียนเลื่องชื่อชาวอเมริกัน และแลวในวันศุกรที่ 20 พฤศจิกายน 2552 ฉันก็มีโอกาสไปเยี่ยมชม National Steinbeck Center ที่ซาลิ นาส รัฐแคลิฟอรเนีย โดยมีคณ ุ สิรี ทองเชือ ้ ผูอํานวยการฝายพัฒนา และคุณเด บเบอราห ซิลเกโร ภัณฑารักษผูดูแลนิทรรศการและของสะสมในศูนย นอกจาก จะมีการจัดแสดงเกี่ยวกับนักเขียนชื่อดังแลว ทางศูนยยงั เสนอแงมุมดานสังคม วัฒนธรรมของซาลินาส ซึง่ ปนเมืองเกษตรกรรมเล็ก ๆ ในแคลิฟอรเนีย อันมี ปรากฏอยูในนิยายของสไตนเบ็คบางเรือ ่ งดวย วัตถุประสงคหลักของ National Steinbeck Center คือเลาเรือ ่ งเสนทางชีวิต นักเขียนของจอหน สไตนเบ็ค ซึง่ เขาไดบน ั ทึกประสบการณและความประทับใจ เกี่ยวกับชีวต ิ ของผูค  นที่พบเห็นจากการเดินทางในแถบมอนเทอรเรยและทั่วสหรัฐ

28

แปลเปนไทยในชื่อ “ลูกมาสีทองแดง” โดย อ.สนิทวงศ (2507), “ลูกมาสีแดง” โดย รัชนี

รัชชระเสวี (2524), “โจดี้” โดย วัลยา (2025) และ “มานอยสีแดง” โดย ณรงค จันทรเพ็ญ (2536) 29

แปลเปนไทยในชื่อ “ผลพวงแหงความคับแคน” โดย ณรงค จันทรเพ็ญ (2536)

30

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 27, เมษายน 2553


ลงในผลงานชิน ้ โบวแดงของเขาคือ “The Grapes of Wrath” ที่สะทอนเรือ ่ งราว ความยากลําบากของกรรมกรในโอกลาโฮมา ซึ่งตองดิ้นรนเพื่อใหไดงานทําใน ฟารมที่แคลิเฟอรเนียและตอสูเ พื่อใหไดคาแรงที่ยุติธรรม Steinbeck

Center

จัดนิทรรศการแบบใหผูชมมีปฏิสม ั พันธ

ซึ่งตางจาก

พิพิธภัณฑอื่นอยางมาก ทีน ่ ี่เด็ก ๆ จะไดรับประสบการณแบบเดียวกับที่เคยอาน จากหนังสือในชั้นเรียน นอกจากจะไดดูวด ี ีโอ คลิปสั้น และฟงเสียงของสไตนเบ็ค ที่กลาวตอนรับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมแลว เด็ก ๆ ยังจะไดสนุกกับของที่ จัดแสดงไวดวย พวกเขาสามารถปนขึ้นไปนั่งบนหลัง “ลูกมาสีแดง” ที่โถง นิทรรศการ หรือจะลองดมกลิ่นอาหารบนโตะกินขาวทีพ ่ ิพธ ิ ภัณฑการเกษตรอัน เปนสวนหนึง่ ของ Steinbeck Center นี่คอ ื โฉมหนาใหมของพิพิธภัณฑที่ “จับ ตองได” ซึง่ ตองการดึงดูดเด็ก ๆ และผูเยี่ยมชม ทําใหพวกเขาสนใจพิพิธภัณฑ ยิ่งขึ้น แตฉน ั ออกจะเปนหวงอยูบางเมือ ่ รูวาสถาบันที่ไมหวังผลกําไรนี้ ตองดิ้นรน หาทุนมาเลี้ยงตัวเองนอกเหนือจากเงินคาเขาชมเพื่อใหสามารถอยูร อดได สิ่งทีฉ ่ ันประทับใจมากทีส ่ ุดคือความพยายามของศูนยในการบริการชุมชน และ สื่อสารใหโลกรับรูถึงความเจ็บปวดจากการถูกเหยียดผิวดังเชนทีค ่ นในซาลินาส เคยประสบมา ประชากรของซาลินาสมีความหลากหลาย สวนใหญจะเปนชาว เม็กซิกันที่ถูกเหมาวาเปนชนชั้นลางทางเศรษฐกิจสังคมของสหรัฐ เมือ ่ เทียบกับ เมืองอื่น ๆ ในแถบมอนเทอเรย ซาลินาสจัดวาเปนเมืองเงียบ ๆ ไมมีสถานที่ ทองเที่ยว แตเปนแหลงผลิตทางเกษตรชัน ้ เลิศที่เลี้ยงคนทัง้ มอนเทอเรย ตางจาก เมืองใกล ๆ อยางคารเมล บิ๊กซูร ซึง่ มีแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติ ใคร ๆ ก็ไม อยากมาซาลินาสเพราะรูสึกวาไมปลอดภัย เนื่องจากมีสถิติความรุนแรงและ ฆาตกรรมสูง ที่นาเศราคือสถิตินี้ถูกมองวาเกีย ่ วของกับผูอ  พยพชาวเม็กซิกัน คุณสิรีและคุณเด บเบอราหเลาวามีกําแพงจิตวิทยากั้นขวางระหวางเมืองซาลินาสและมอนเทอเรย ซึ่งเปนทีร่ ูกันดีระหวางคนสองเมืองวา “มานผักกาดหอม” เสนแบงทีม ่ องไมเห็นนี้ ไดแยกเพื่อนบานสองเมืองออกจากกัน ที่จริงทัง้ สองเมืองมีการทําโครงการ รวมกันมากมายเพื่อทีจ ่ ะปลด “มาน” นี้ลงและสรางความสามัคคีในหมูป  ระชากรทัง้ สองเมือง ศูนยแหงนี้ก็เชนเดียวกัน มีความพยายามอยางเต็มที่ในการสงเสริม ทัศนคติทีดีตอ  ซาลินาส ในวันที่ฉน ั ไปเยี่ยมชมนั้น ทางศูนยกําลังจัดนิทรรศการ ศิลปะภายใตแนวคิด “วันของผูวายชนม” โดยแสดงภาพเขียนของเด็ก ๆ เกี่ยวกับ วันระลึกถึงผูท  ล ี่ วงลับไปแลว นอกจากนี้ ทางศูนยยงั มีโครงการการศึกษาที่มี กิจกรรมสงเสริมความรูภ  าษาอังกฤษใหกับคนในทองถิน ่ อีกดวย


การไปเยี่ยมชม National Steinbeck Center ทําใหฉน ั รูจักชีวิตและผลงาน ของสไตนเบ็คมากขึ้น ศูนยแหงนี้ไมเพียงแตจะแนะนําเรื่องราวชีวิตของเขา แต ยังใหภาพประเทศและเมืองที่เขาเกิด ทีท ่ ี่เขาใชชีวิต และทีท ่ ี่เขาเดินทางไปเยือน เรื่องราวเหลานีท ้ ําใหฉันไดแงคิดเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมในแถบนี้ของอเมริกา การมาครัง้ นี้จงึ มีคาอยางมาก ตองขอบคุณคุณนลินี เคน เจาหนาที่บริหาร โครงการผูดูแลฟุลไบรทภูมภ ิ าคเอเชียแปซิฟก  กระทรวงตางประเทศสหรัฐ คุณสิรี ทองเชือ ้ ผูอํานวยการฝายพัฒนา และคุณเดบเบอราห ซิลเกโร ภัณฑารักษผด ู ูแล นิทรรศการและของสะสม National Steinbeck Center ที่ทาํ ใหฉน ั มีโอกาสดี เชนนี้ ขอบคุณมูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกน ั (ฟุลไบรท) สําหรับทุนวิจัยที่ทาํ ให ฉันไดมามอนเทอเรย แคลิฟอรเนีย แหลงความรูและประสบการณทม ี่ ีคา แหงนี้


Best of Both Worlds Assist Prof. Proadpran Punyabukkana, Ph.D. 1996 University Staff Development Program From Faculty of Engineering, Chulalongkorn Univerity @ Claremont Graduate School 2013 Fulbright Visiting Scholar Program @ Massachusetts Institute of Technology (MIT) and Stanford University

I owe it to Fulbright for a wonderful educational journey during my career. The experiences that I gained from MIT and Stanford are rare and priceless. My first four months at MIT showed me what I considered to be the pinnacle of academia. Young and competent students together with intelligent professors full of passion are not the only ingredients for achieving success. It is the combination of fine management, environment, equipment, activities, and a unique culture that brings out the best. The admission is undoubtedly one of the toughest, if not the toughest in the world. Among all programs, Electrical Engineering and Computer Science (EECS) or “Course 6� is the most competitive, said Chancellor Cynthia Barnhart, my host. The international student body is kept at 7% for undergraduate studies. However, in graduate school, that number grows to 50 and 70% for Masters and Doctoral programs. Perhaps, there are only 100 successful applicants out of 3,000 for graduate school each year. Clearly, MIT has a superb pool of students to choose from.


I was fortunate to witness how talented they are when I participated in 6.811 Principles and Practice of Assistive Technologies, led by Professor Seth Teller.

The course is one of a kind, designed to

invigorate science and engineering students to save the world by applying their knowledge and creativity to design and implement solutions to the problems presented by persons with disabilities. Though there are more male students at MIT, this class attracts slightly more female--14 females to 13 males. Seth said that it may be the only class of this nature. He believes that female students may be attracted to the opportunities to help other human beings, particularly people with disabilities. Each week classes would consist of two 1-hour lectures and two 2-hour labs. As its name implies, lectures are given on the principles of Assistive Technologies. In addition, the practicum part of the class is shared by many experts in the area, a few are people with disabilities. During the first lab session, students were asked to use wheelchairs and engage in some activities around the campus, like drinking water from the fountain, using restrooms, crossing the street, etc. After the two hours, at 6PM, students requested more time. I was later told by the TA that some came back at midnight. After they learned some principles, students were grouped according to their interest and background to match with their clients. There were eight groups of 3 to 4. The problems were highly challenging, and the solutions were brilliant. One that I particularly liked was a bird watching apparatus to allow a lady who loves to bird watch before she became a wheelchair user, to bird-watch again.

I have observed how

compassionate students were to try to understand the problems, how thorough they did the survey of existing solutions, how careful they


were with several iterations of design, how regularly they touched base with the clients, and how systematic they measured the results. These characteristics clearly showed me how world-class engineers should execute their work. One other thing that makes this class so successful may stem from the fact that it was so well prepared. Seth has excellent connection with the community and had involved several clients and speakers. To me, one can never learn these lessons from textbooks. Though the class is intense, people are friendly.

In fact, students

regard their advisors as P.I. (Principle Investigator), and they are on first-name basis. I truly appreciated my time at MIT. Seth invited me to departmental meetings, where I learned that announcing ground-breaking discoveries can be fun and exciting in an intellectual community. I also attended several talks and workshops presented by MIT and speakers from different continents. Through Seth, I also met with more organizations within MIT to learn about how they offer services to students with disabilities. I found MIT to be professional and efficient in every aspect. Another major event that I attended was the “Abilities Expo� that was conveniently timed during my stay. I met several exhibitors, but the most important one is the Perkins School for the Blind, with which I shared my experiences, while I learned a great deal from them. At MIT, I was very lucky to occupy an office space in Building 1, with a view of the Charles River. I came to know many scholars, researchers, and post-docs from other institutions or other countries, aside from Thai students at MIT.

I often strolled along the Charles during the fall

season, but never in the winter. Nothing tops beautiful foliage and


Maine lobster in Boston and its vicinities. However, this winter was utterly brutal. Some said it was the worst in 30 years. As a matter of fact, the only Fulbright social trip that I could join was cancelled due to that first snow storm. My original plan was to write a book and work on research during the winter after the semester ended in December. Encouraged by the OLF that Fulbright offers, I wrote to Stanford in the hope to visit and learn about their class in Assistive Technology led by David Jaffe, the class after which I modeled mine. Amazingly, David invited me to stay for the whole winter quarter. CIES kindly worked with me on this addendum and added Stanford as an additional site of activity while MIT remained the main site. Escaping snow storms, I transferred to Stanford the first week of January to enjoy the California sun, in spite of the unfortunate drought. I found Stanford an exciting place, full of energy. Dave is one of the best engineers I have ever met. He has devoted himself to the field of Assistive Technologies and started his class seven years ago. His focus is on hands-on projects, experiences from speakers, and visits. The class size was double that of MIT at 48 undergraduate and graduate students from various majors – science and otherwise.

Students

enjoyed the flexibility that Dave has to offer by taking the class for 1 to 3 credits and selecting a project, solo or group, to match their hours and background. Dave also welcomed people from the community, some of whom have attended the class for 7 times. We became friends. The class visited a VA Hospital, as well as Gait Analysis Lab to experience assistive devices first-hand. The highlight, in my opinion, was the


technology fair, where many startups, inventors and companies showcased their products on campus. Stanford’s strength seems to be the connections with these companies. Being in the Silicon Valley, it is a luxury that only Stanford has to offer. Most term-projects are offered by the companies as well as the communities. I had a chance to give a presentation during the first month. It was a fun experience in a more relaxed environment. Stanford owns huge beautiful grounds. I cannot imagine how they can maintain it that well. It offers various activities including a golf course. Most students bike and they do it so fast that they name one of the intersections the “intersection of death,” said Dave, who showed me around campus. We also spent time at the Gates Building which houses a portion of the Computer Museum. Dave walked me down the famous Palm Drive (although Palm is not native to this area) to Palo Alto’s University Drive during the first week. I found myself going here frequently in the future. Palo Alto is a nice, vibrant, yet expensive town. It must be due to the fact that most hi-tech companies are situated in this area. This includes Facebook, Google, Apple, and the like. Because a number of my students are working in this area, I paid visits to Facebook, Apple, and Twitter, learned the different atmospheres, while having free meals. During the last session at Stanford, Dave gave me a card and students signed them. He also presented me with a Stanford cap. It was so touching and memorable.


I returned to MIT and more snow to complete my Fulbright post by giving a talk which I considered the highlight of my time in the US, if not one of the highlights of my career. Though the content is based on my experiences in the area of Speech and Assistive Technologies, I was extremely nervous. After all, it is MIT. In my opinion, I think it turned out well. At least I didn’t have a heart attack or faint. The talk was open to the public and the audience was comprised of approximately 30-40 professors, students, and more. From the talk, I found this community to be friendly, respectful, and open-minded. My host was Professor Jim Glass,

who

originated

the

segment-based

speech

recognition

technique, the algorithm on which we at Chulalongkorn University base our Thai speech recognition. I went to see Seth before I left. He said that we should engage more students and engineers in the field to help people with disabilities. “They are engineers. They just need the inspiration.” By the end of our conversation, Seth told me to “think like MIT,” which leaves me much to contemplate. I treasured my academic sojourn at MIT and Stanford and would encourage every faculty to do the same. Taking six months off from my obligations at Chulalongkorn University paid off very well. I am more ready to share new ideas with ever more energy and more collaboration. At the same time, I hope I have promoted my beloved Thailand to a wider circle, as the cultural ambassador that Fulbright intended.


My special thanks go to my host, Professor Cynthia Barnhart, MIT Chancellor; Professor Seth Teller of MIT’s CSAIL; and Dave Jaffe of Stanford’s Mechanical Engineering Department. All of these individuals gave me an unparalleled opportunity I could never imagine. It is an honor that I will forever cherish.


สองสุดยอดสถาบัน

ผ.ศ. ดร. โปรดปราน บุญยพุกกณะ 1996 University Staff Development Program From Faculty of Engineering, Chulalongkorn University @ Claremont Graduate School 2013 Fulbright Visiting Scholars @ Massachusetts Institute of Technology (MIT) and Stanford University แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

นับวาฉันเปนหนี้ฟุลไบรทสําหรับการเดินทางอันแสนพิเศษในชวงชีวต ิ การทํางาน นี้ เพราะประสบการณทไ ี่ ดจากเอ็มไอทีและสแตนฟอรดนั้นมีคา และหาไดยากยิ่ง ชวงเวลาสี่เดือนที่เอ็มไอทีถอ ื เปนจุดสูงสุดทางดานวิชาการของฉัน ความสําเร็จ ของเอ็มไอทีนน ั้ ไมไดเกิดจากการมีนักศึกษาที่เกงกาจและคณาจารยทรงภูมิผูเต็ม ไปดวยความกระหายใครรูเทานั้น แตเปนการผสมผสานระหวางการบริหาร จัดการ สิ่งแวดลอม อุปกรณเครือ ่ งมือเครือ ่ งใช กิจกรรมตาง ๆ และวัฒนธรรม เฉพาะตัวอันนําไปสูค  วามเปนสุดยอดแบบเอ็มไอที แนนอนวาการรับนักศึกษาที่นี่ ขึ้นชื่อวาหินสุด ๆ หรืออาจจะหินที่สุดในโลกก็ได ซึ่งฉันไดรูจากอธิการซินเธีย บารนฮารท ผูเปนเจาภาพการแลกเปลี่ยนครัง้ นี้วา หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟาและ คอมพิวเตอร (Electrical Engineering and Computer Science – EECS) หรือ “คอรส 6” เปนสาขาที่มีการแขงขันกันมากที่สุดในบรรดาหลักสูตรทั้งหมด โดย จํากัดสัดสวนนักศึกษาตางชาติไวแค 7% ในระดับปริญญาตรี และจะสูงขึน ้ เปน 50% ในระดับปริญญาโท และ 70% ในระดับปริญญาเอก บางปก็รบ ั แค 100 คน เทานั้นจากผูสมัครทัง้ หมด 3,000 คน เห็นชัดวาเอ็มไอทีมก ี ลุมผูสมัครเกรดเออยู ในมือ ฉันโชคดีที่มโี อกาสสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาผูมีพรสวรรคเหลานั้นดวยตัวเอง โดยไดเขาหองเรียนวิชา 6.811 เรื่องทฤษฎีและปฏิบัติการดานเทคโนโลยีเพื่อ ชวยเหลือ (Principles and Practice of Assistive Technologies) ของ ศาสตราจารยเซ็ท เทลเลอร ซึ่งวิชานี้มีความพิเศษไมเหมือนใครเพราะตองการ


สงเสริมใหนักศึกษาที่เรียนดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรใชความรูแ  ละ ความคิดสรางสรรคใหเปนประโยชนตอ  ผูอ  ื่น ดวยการคิดหาทางแกปญหาใหกับผู พิการดานตาง ๆ นอกจากนี้ ปกติแลวเอ็มไอทีมีจํานวนนักศึกษาชายมากกวา นักศึกษาหญิง แตเซ็ทบอกวาอาจจะมีวิชานี้วช ิ าเดียวที่มจ ี ํานวนนักศึกษาหญิง มากกวานักศึกษาชาย คือมีถึง 14 คน ในขณะที่มน ี ักศึกษาชาย 13 คน เขาเชื่อวา นักศึกษาหญิงนาจะอยากมีโอกาสชวยเหลือคนอื่น โดยเฉพาะคนพิการ วิชานี้มีการบรรยายอาทิตยละสองครั้ง ครัง้ ละหนึง่ ชั่วโมง ซึง่ ชื่อก็บอกวาเปนการ บรรยายเกี่ยวกับหลักการดานเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือ และมีการทํางานใน หองปฏิบัติการสองครั้ง ครัง้ ละสอง ชัว ่ โมง โดยมีทั้งผูเชี่ยวชาญและผูพ  ิการ มารวมแบงปนประสบการณ ในชวงการทดลอง นักศึกษาจะตองลองนั่งเกาอี้เข็น ทํากิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งในบริเวณมหาวิทยาลัย เชน ดืม ่ น้ําจากที่กดน้าํ เขา หองน้ํา ขามถนน ฯลฯ หลังจากผานไปสองชั่วโมง ประมาณหกโมงเย็น นักศึกษา ก็รองขอตอเวลา ซึ่งฉันมารูจากผูชวยสอนทีหลังวาบางคนก็อยูจนถึงเที่ยงคืน เมี่อเรียนรูทฤษฏีไปบางแลว นักศึกษาก็จะแบงเปนแปดกลุม  กลุมละสามถึงสี่คน ตามความสนใจและพืน ้ ฐานความรูเพือ ่ จับคูกบ ั คนพิการที่เปนโจทย ซึ่งจะทาทาย มาก แตพวกเขาก็มีวิธีการจัดการอยางฉลาด กลุมที่ฉน ั ชอบมากเปนพิเศษคือกลุม ที่สรางอุปกรณดูนกเพื่อชวยใหผูหญิงคนหนึง่ สามารถกลับไปดูนกอยางทีช ่ อบได อีกครั้งหลังจากที่เลิกไปเพราะตองนั่งรถเข็น ฉันรูสึกไดวานักศึกษาเอาใจใสและ พยายามทําความเขาใจกับโจทย พวกเขาศึกษาวิธีแกปญ  หาอยางถี่ถว  น ออกแบบ เครือ ่ งมืออยางระมัดระวัง แกแลวแกอีกอยูห  ลายครั้ง ขณะเดียวกันก็หารือกับ โจทยของตัวเองอยางสม่าํ เสมอและมีการวัดผลอยางเปนระบบ นี่เปนการทํางาน แบบวิศวกรระดับโลก สิ่งที่ทาํ ใหวิชานี้ประสบความสําเร็จอีกอยางหนึ่งก็นาจะเปน การเตรียมการที่ดีเยี่ยม เพราะเซ็ทมีสายสัมพันธที่เหนียวแนนกับชุมชน และยังดึง เอาวิทยากรพิเศษกับคนพิการที่เปนโจทยมามีสวนรวมดวย ซึ่งฉันคิดวาเราไมมี ทางเรียนรูเรื่องแบบนี้ไดจากในหนังสือ วิชานี้หนักมากแตทก ุ คนก็เปนกันเองดี ที่ จริงแลวพวกนักศึกษาถือวาอาจารยทป ี่ รึกษาเปนนักวิจัยหลัก หรือพีไอ (Principle Investigator) และเรียกกันดวยชือ ่ ตัว ฉันชอบชวงเวลาที่เอ็มไอทีมาก เซ็ทเชิญใหฉันเขารวมการประชุมของภาควิชา ดวย และฉันก็ไดรูวา เวลามีใครคนพบอะไรใหม ๆ นั้น คนในวงการรูส  ึกสนุกและ ตื่นเตนแคไหน ฉันยังไดฟงการบรรยายและอบรมโดยวิทยากรทั้งของเอ็มไอทีเอง และจากประเทศตาง ๆ นอกจากนี้ เซ็ทยังจัดการใหฉน ั ไดพด ู คุยกับหนวยงานตาง ๆ ของเอ็มไอทีเพื่อดูวา เขาใหบริการนักศึกษาที่พิการอยางไร ซึ่งเอ็มไอทีมค ี วาม


เปนมืออาชีพอยางยิ่งและทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพในทุกดาน

ฉันยังได

รวมงาน“Abilities Expo” ซึ่งจัดขึ้นในระหวางนัน ้ พอดี ไดพบกับผูอ  อกงานหลาย ราย แตทส ี่ ําคัญที่สด ุ คือโรงเรียนเพอรกน ิ สําหรับคนตาบอด (Perkins School for the Blind) ซึ่งฉันก็ไดแลกเปลี่ยนประสบการณและเรียนรูอ  ยางมากจากโรงเรียน นี้ ที่เอ็มไอที ฉันโชคดีมากที่ไดหองทํางานอยูในอาคารหนึง่ มองออกไปก็เห็นวิว แมน้ําชารลส และนอกจากนักศึกษาไทยที่อยูใ  นเอ็มไอทีแลว ฉันยังไดรจ ู ัก นักวิชาการ นักวิจัย และนักศึกษาวิจัยหลังปริญญาเอกจากสถาบันอื่นและประเทศ อื่นอีกหลายคน ฉันมักจะเดินเลียบแมนา้ํ ชารลสในชวงฤดูใบไมรวง แตไมเคยทํา แบบนั้นในฤดูหนาว ในแถบบอสตันและบริเวณรอบ ๆ ไมมีอะไรจะดีไปกวาตนไม ใบหญาและเมน ลอบสเตอรอีกแลว แตฤดูหนาวปนี้ถอ ื วาแยมาก บางคนบอกวา เลวรายที่สด ุ ในรอบ 30 ป ทําใหกิจกรรมทัศนศึกษาอยางเดียวที่ฟล ุ ไบรทจัดไวให ตองถูกยกเลิกไปตั้งแตเจอพายุหิมะลูกแรก เดิมฉันตัง้ ใจวาจะเขียนหนังสือทําวิจัยระหวางชวงฤดูหนาวหลังปดภาคเรียนใน เดือนธันวาคม แตทุนวิจัย Occasional Lecturing Fund ของฟุลไบรทออกจะลอ ใจ

เลยติดตอไปทีส ่ แตนฟอรดเพื่อขอเยี่ยมชมและเรียนรูเ กี่ยวกับการสอนวิชา

เทคโนโลยีเพือ ่ ชวยเหลือ (Assistive Technology) ของเดวิด จาฟฟ ซึ่งฉันใช เปนแนวทางในการสอนวิชาตัวเอง

แตฉน ั ไมไดคาดเลยวาเดฟจะเชิญใหฉันอยู

ตอในชวงฤดูหนาวที่เหลือ ซึง่ ทาง Council for International Exchange of Scholars

(CIES)

ซึ่งเปนผูดูแลโครงการแลกเปลี่ยนนักวิชาการรวมกับมูลนิธิ

การศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) ก็ชว  ยจัดการเพิ่มชือ ่ สแตนฟอรดใหเปน หนวยงานแลกเปลี่ยนอีกแหงหนึ่งของฉัน นอกเหนือจากเอ็มไอทีที่เปนหนวยงาน แลกเปลี่ยนหลัก ในอาทิตยแรกของเดือนมกราคม ฉันหนีพายุหิมะไปสแตนฟอรด และมีความสุข กับแสงแดดของแคลิฟอรเนีย แมวาอากาศจะแหงไปหนอยก็ตาม สแตนฟอรดเปน สถานทีท ่ น ี่ าตื่นตาตื่นใจและเต็มไปดวยพลังอยางมาก และเดฟก็เปนวิศวกรที่ดี ที่สุดเทาที่ฉันเคยเจอมา เขาทุมเทอยางมากใหกับวิชาเทคโนโลยีเพือ ่ ชวยเหลือ ซึ่งเปดสอนในครัง้ แรกเมื่อเจ็ดปกอน วิชานี้จะเนนที่การลงมือทําโครงงาน การ แลกเปลี่ยนประสบการณกับวิทยากร และทัศนศึกษา ขนาดของหองที่นใ ี่ หญกวา ที่เอ็มไอทีเทาหนึ่ง มีนักศึกษาปริญญาตรีและปริญญาบัณฑิต 48 คนจาก


หลากหลายสาขาวิชาเอก ทั้งที่เปนสายวิทยาศาสตรและสายอืน ่ การเรียนการ สอนคอนขางจะยืดหยุน โดยนักศึกษาสามารถเลือกเรียนไดหนึ่งถึงสามหนวยกิต และเลือกโครงงานหนึ่งอยาง จะเดี่ยวหรือกลุมก็ได แตตองใหเหมาะกับเวลาและ พื้นฐานความรูข  องตัวเอง นอกจากนี้ เดฟยังเปดหองใหบค ุ คลทั่วไปเขามาฟงได บางคนมาฟงแลวถึงเจ็ดครัง้ คุนจนเปนเพือ ่ นกันไปแลว ยิ่งไปกวานั้น เรายังไดไป เยี่ยมชมโรงพยาบาล VA และหองทดลอง Gat Analysis เพื่อศึกษาการใช เทคโนโลยีเพือ ่ ชวยเหลือดวยตาของตัวเอง แตประสบการณที่สุดยอดที่สด ุ ของฉัน คืองานนิทรรศการเทคโนโลยีที่มีกลุมธุรกิจเปดใหม นักลงทุน และบริษท ั ตาง ๆ นําสินคาของตัวเองมาออกแสดงทีม ่ หาวิทยาลัย ความสัมพันธที่แนบแนนกับธุรกิจ เหลานี้ถือเปนจุดแข็งของสแตนฟอรด และการที่ตั้งอยูในซิลิคอน วัลเลย หรือ ศูนยกลางของนวัตกรรมและเทคโนโลยีนั้นเปนความพิเศษซึ่งสแตนฟอรดเทานั้น ที่มี โครงงานของนักศึกษาสวนใหญก็ไดรบ ั การสนับสนุนจากบริษัทหรือชุมชน และในเดือนแรกที่ไปถึงฉันก็ไดมีโอกาสกลาวบรรยาย ซึ่งถือเปนประสบการณที่ สนุกทามกลางบรรยากาศอันผอนคลาย สแตนฟอรดมีอาณาเขตทีส ่ วยงามและกวางขวางมาก จนฉันนึกภาพไมออกเลยวา จะดูแลบํารุงรักษากันไดอยางไร ในมหาวิทยาลัยมีกิจกรรมหลากหลายอยาง ทั้ง ยังมีสนามกอลฟเปนของตัวเองดวย ขณะที่พาฉันเดินสํารวจบริเวณรอบ ๆ เดฟก็ เลาวา นักศึกษาสวนใหญมักจะขี่มอเตอรไซค แถมขี่เร็วมากขนาดวามีแยกหนึ่งที่ เรียกกันวา “สี่แยกมรณะ” เราไปเยี่ยมชมตึกเกตส (Gates Building) ซึ่งเปนที่ตงั้ ของพิพิธภัณฑคอมพิวเตอรดวย อาทิตยแรกที่ไปถึง เดฟพาฉันเดินไปตามปาลม ไดรฟอันมีชื่อเสียงเรือ ่ ยไปจนถึงยูนิเวอรซิตี้ ไดรฟ ทีป ่ าโล อัลโต ซึ่งหลังจากนั้น ฉันก็ไปเดินทีน ่ น ั่ บอย ๆ ปาโล อัลโตเปนเมืองนาอยู คึกคักมีชีวิตชีวา แตคา ครอง ชีพสูง นาจะเพราะบริษัทไฮเทคสวนใหญตั้งอยูในแถบนัน ้ มีทั้งเฟซบุก กูเกิ้ล แอป เปล และบริษท ั ทํานองนีอ ้ ีกหลายแหง เนื่องจากลูกศิษยหลายคนของฉันทํางานใน ยานนี้ ฉันเลยไดไปเยี่ยมชมเฟซบุค  แอปเปล  และทวิตเตอร ไดเห็นบรรยากาศ การทํางานทีต ่ างกันและไดกินอาหารฟรีดวย ในชั่วโมงสุดทายที่สแตนฟอรด เดฟ มอบการดพรอมลายเซ็นนักเรียนทัง้ หองเปนที่ระลึก แถมยังใหหมวกสแตนฟอรด มาดวยอีกใบหนึ่ง ซึ่งฉันรูสึกซาบซึ้งอยางยิ่ง ฉันกลับไปที่เอ็มไอทีและพายุหิมะที่รออยูเพือ ่ จบภารกิจของฟุลไบรทดวยการ บรรยายทางวิชาการ ซึง่ ถือเปนประสบการณที่สําคัญที่สด ุ ของฉันที่อเมริกา หรือ อาจจะทั้งชีวิตการทํางานเลยก็วาได แมวาเนือ ้ หาที่บรรยายจะเปนเรือ ่ ง ประสบการณของฉันเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือดานการพูด (Speech and Assistive Technologies) แตฉันก็ยังอดตืน ่ เตนไมได ยังไงก็ตาม นีค ่ อ ื เอ็มไอที


แตฉันก็คด ิ วาตัวเองทําไดดี อยางนอยก็ไมไดหัวใจวายหรือเปนลมไปกอน การ บรรยายนี้เปดใหคนทั่วไปเขามาฟงได ซึง่ คนที่มาฟงก็เปนอาจารย นักศึกษา และ คนที่สนใจอื่น ๆ รวมกันประมาณ 30-40 คน การบรรยายครัง้ นีท ้ ําใหฉันพบวา สังคมเอ็มไอทีเต็มไปดวยมิตรภาพ ความเคารพซึ่งกันและกัน และใจที่เปดกวาง คนที่เปนโตโผหลักในครั้งนี้คอ ื ศาสตราจารยจิม กลาส ซึ่งเปนผูร ิเริ่มเทคนิค segment-based

speech

recognition

อันเปนวิธอ ี ัลกอริทึ่มซึง่ พวกเราที่

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยใชเปนพื้นฐานในการจดจําเสียงภาษาไทย ฉันแวะไปหาเซ็ทกอนทีจ ่ ะกลับ เซ็ทบอกวาเราควรจะกระตุนใหมีนักศึกษาและ วิศวกรมาทํางานชวยเหลือคนพิการใหมากกวานี้ “พวกเขาเปนวิศวกร แค ตองการแรงบันดาลใจเทานัน ้ เอง” กอนจากกัน คําพูดที่เซ็ทใหฉัน “คิดแบบเอ็มไอ ที” นัน ้ ทําใหฉน ั ตองเก็บเอามาคิดตอ การทีฉ ่ ันไดไปศึกษาดูงานไปที่เอ็มไอทีและสแตนฟอรดนัน ้ มีคามาก จึงอยากเชิญ ชวนใหอาจารยทุกคนไดทําเชนเดียวกันหกอาทิตยที่เวนวรรคไปจากจุฬาฯ นั้น ใหผลตอบแทนคุมคาอยางยิง่ ฉันรูส  ึกวามีพลังเพิ่มขึ้น ไดสรางความรวมมือมาก ขึ้น และแทบรอไมไหวทีจ ่ ะแบงปนความคิดใหม ๆ ขณะเดียวกัน ฉันก็หวังวาฉัน ไดมีสวนชวยเผยแพรความรูเกี่ยวกับประเทศไทยที่รักของฉัน ไดทําหนาที่เปนทูต วัฒนธรรมอยางที่ฟล ุ ไบรทตั้งใจ ขอขอบคุณเจาภาพของฉัน ศาสตราจารยซน ิ เธีย บารนฮารด อธิการบดีเอ็มไอที ศาสตราจารยเซ็ท เทลเลอร แหงหองปฏิบัตก ิ าร CSAIL (Computer Science and Artificial Intelligence Laboratory) ของเอ็มไอที และเดฟ จาฟฟ จาก ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องยนต มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ทุกทานเหลานี้ลว  นหยิบ ยื่นโอกาสอันหาที่เปรียบไมไดและเกินกวาที่ฉน ั จะคาดคิด ซึ่งจะเปนเรื่องทีฉ ่ ัน จดจําไมมีวน ั ลืม


Learning the ‘Wai’ Way of Thailand31 Xie Alicia Reyes, Ph.D. 2009 Fulbright U.S. Specialist Program From University of Connecticut @ Burapha University International College

“Just as students abroad benefit most from a total integration into cultural differences and the unpredictable, so too do faculty members stand to gain more from teaching in a different institution with different students, in circumstances outside their academic comfort zone. The proverbial yellowed lecture notes, stained and crossed from years of use rarely work with students whose assumptions and frames of reference are very different from those of American undergraduates.” Hall (2007) As I ponder all the ways in which my experiences in Thailand will enhance my teaching and my work upon my return to the U.S., I can’t help but focus first on the manner in which these experiences change and renew our worldviews and our lives in deeper ways. In my case, I felt surrounded by an aura of gentleness and kindness. Perhaps the novelty of having a “stranger” in their midst and the concern communicated and modeled by the chief administrator, had fueled the attentiveness. But I felt totally convinced that it is the “wai” way of Thailand and its people, to be concerned for your well-being. Everyone from the administrators, to the office staff, to the students wanted to

31

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 25, August 2009


know if I had plans for dinners, weekends, and any times that they perceived that I might need company. Their graciousness and care was unparalleled and so were their surprised reactions when they found that I had gone out on my own. I made new friends at a church that one of my son’s found for me on the internet, I shopped, and I even went bowling. Nonetheless, I took them up on the numerous invitations to share an outing and learn more about surrounding towns and cemented friendships in the process. When I return to my classrooms in the fall I will remember to add some of the elements I experienced in Thailand for the first time. Although I have lived in places where teachers are revered, no activity I recall can parallel the significance and ceremony of the Wai Kru I attended while at Burapha University. The students playing traditional instruments and singing en masse, the chanting of the Monks, the University President leading the processional of faculty, and the fragrance of flowers of massive arrangements and garlands offered by the students to teachers, were impressive and unforgettable. The students’ polite greetings – everywhere on campus, regardless of whether or not they were your students – were absolutely amazing. The experience has also helped me confirm once more, how the context influences the behaviors of our student. In the U.S., my students are eager to engage in debates and discussions in class while students in Thailand (both Thai and Chinese) are more passive and need to be prodded to speak up in class. Once in a while a student would email me to state that they wanted me to clarify something in class even though I had asked numerous times if they had questions


and understood the material. In examining the issue of saving face for oneself and/or for one’s group, I saw that it had implications for our own class’ behavior patterns.

I was happy to use these examples and

students began to understand how this might affect them if they were to study abroad. In the same manner, my U.S. students might be seen as overpowering if they were to interact among Asian students as they do in the U.S. Because many of my students will probably be teachers of diverse students, it is important for them to have knowledge of the cultural patterns associated with our students’ backgrounds. Although this is something I have always emphasized in my teaching, Thailand has strengthened my resolve to encourage them to live these experiences through working abroad. No amount of research can fully inform the understanding of other cultures as lived experiences do. The opportunity offered by these short-term Senior Specialist projects is invaluable, and the long lasting transformations they can spawn may impact the lives of many more through our teaching. Getting to know colleagues and students outside of the classroom is a practice I will continue to encourage because these dialogues can result in shared research and in facilitating opportunities for each others’ professional growth. Conversations with the Assistant Dean of Student Affairs, Ajarn Aom, reaffirmed my belief that these cultural events contribute to a well-rounded educational experience and long lasting networks. Finally, in Thailand I felt right at home sharing smiles and sharing the joy of our encounters with each other during this fabulous journey.


เรียนรูจ  ากการ ‘ไหว’32 ดร. เซีย อลิเซีย เรเยส 2009 Fulbright U.S. Specialist Program University of Connecticut, Storrs @ มหาวิทยาลัยบูรพา แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

“ในขณะทีน ่ ักเรียนตางชาติเรียนรูจากการซึมซับวัฒนธรรมที่แตกตางและ

สถานการณทค ี่ าดเดาไมได ครูอาจารยเองก็ไดเรียนรูจ  ากการไปสอนในสถาบัน หลายแหง ไดเจอนักเรียนที่หลากหลาย และไดกาวออกมาจาก comfort zone หรือพืน ้ ทีส ่ ุขสบายทางวิชาการอันคุนชิน โนตคําบรรยายเกากรอบจนเหลืองผาน การใชงานมานับปนั้น แทบจะใชไมไดกับนักศึกษาที่มค ี วามคิดความเขาใจ แตกตางอยางมากจากนักศึกษาปริญญาตรีชาวอเมริกัน” ฮอล 2007 เมื่อมานึกดูวาประสบการณในประเทศไทยจะเปนประโยชนอยางไรตอการสอน และงานของฉันเมื่อกลับไปถึงสหรัฐแลว สิ่งแรกที่นึกไดคอ ื ประสบการณเชนนี้จะ ผลิกเปลี่ยนทัศนะและชีวิตของเราอยางลึกซึง้ ในกรณีของฉัน ฉันสัมผัสไดถึง ความสุภาพออนโยนและความมีน้ําใจทีอ ่ บอวลอยูร อบตัว บางทีเหลาผูบริหาร อาจจะมีสวนแพรความรูสึกตืน ่ เตนที่มี “คนแปลกหนา” หลุดเขามาในกลุม  รวมทั้ง ความเปนหวงเปนใยเชนนี้ก็ได ฉันเองนั้นเชื่ออยางสนิทใจวาวัฒนธรรมการ “ไหว” ของไทยนั้นเกี่ยวของกับความเอาใจใสตอผูอ  ื่น ทุกคนที่นี่ตงั้ แตผบ ู ริหาร เจาหนาที่ ไปจนถึงนักเรียนตางก็อยากรูวาฉันจะกินขาวเย็นทีไ ่ หน วันหยุดจะทํา อะไร และเมื่อไหรทต ี่ องการเพื่อน ความเอาใจใสเชนนี้ไมมีอะไรเทียบได พวก เขาจึงออกจะประหลาดใจทีร่ ูวา ฉันไปไหนมาคนเดียว ไดไปรูจักเพือ ่ นใหมที่ โบสถซึ่งลูกชายเจอจากอินเตอรเน็ท ไปซือ ้ ของและแมแตไปเลนโบวลิ่งคนเดียว อยางไรก็ตาม ฉันออกไปเที่ยวกับพวกเขาหลายครัง้ ไดเรียนรูเรื่องราวของ จังหวัดใกล ๆ และไดเพิ่มความสนิทสนมกันไปในตัว

32

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรทฉบับที่ 25, ตุลาคม 2552


เมื่อกลับไปสอนอีกครั้งในฤดูใบไมรวง ฉันจะไมลืมแทรกเกร็ดเล็กเกร็ดนอย เกี่ยวกับประสบการณใหม ๆ ในประเทศไทยใหนักศึกษาฟง แมวาที่ ๆ ฉันอยูจะ ใหความเคารพนับถืออาชีพครู แตไมมีอะไรเทียบไดเลยกับประเพณีไหวครูซึ่งฉัน ไดมีสวนรวมทีม ่ หาวิทยาลัยบูรพา ไดเห็นนักศึกษาเลนดนตรีไทย รองเพลง สวด มนต เห็นอธิการบดีเดินนําขบวนอาจารยเขามา เห็นนักศึกษามอบพานดอกไมที่ ตกแตงสวยงามหอมฟุง ใหกับอาจารย ชางเปนภาพทีน ่ าประทับใจไมมว ี ันลืม ที่นี่ ไมวาจะไปมุมไหนของมหาวิทยาลัย นักศึกษาจะทักทายอาจารยอยางสุภาพแมวา จะไมไดสอนพวกเขาก็ตาม เหลือเชือ ่ ทีส ่ ุด ประสบการณไหวครูย้ําใหเห็นถึงความสําคัญของบริบทตอพฤติกรรมของ นักศึกษาในไทยและสหรัฐ ทีส ่ หรัฐ นักศึกษาของฉันจะกระตือรือรนในการแสดง ความคิดเห็นและถกเถียงกันในชั้นเรียน แตในไทย นักศึกษา (ทั้งไทยและจีน) ออกจะเงียบกวาและตองถูกกระตุนจึงจะพูด บางครั้งบางคราวก็มีนักศึกษาเขียน อีเมลมาขอใหฉน ั ชวยอธิบายบทเรียนเพิ่มเติม แมวาในหองเรียนฉันจะถามแลว ถามอีกวาใครมีคําถามอะไรหรือไม เขาใจหรือเปลา ถาจะวิเคราะหกค ็ ิดวาเปน เรื่องของการรักษาหนาไมวาจะของตัวเองหรือของกลุม  เรื่องนี้เปนอิทธิพลแบบ แผนพฤติกรรมของชัน ้ เรียน ซึ่งฉันก็ยกตัวอยางจนนักศึกษาเริ่มเขาใจแลววา พฤติกรรมนี้จะสงผลกระทบอยางไรถาพวกเขาไปเรียนทีต ่ างประเทศ และ เชนเดียวกัน นักศึกษาอเมริกันก็อาจจะถูกมองวากาวราวเมื่อเรียนรวมกับ นักศึกษาจากเอเชียดังเชนที่เปนอยูตอนนี้ เนือ ่ งจากนักศึกษาหลายคนของฉันจะ จบไปเปนอาจารยสอนนักเรียนที่มค ี วามหลากหลาย จึงจําเปนที่พวกเขาตองมี ความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมของนักเรียน แมฉันมักจะย้ําเรือ ่ งนีก ้ ับนักศึกษาเสมอ แต การมาเมืองไทยครัง้ นีท ้ ําใหฉน ั มุงมัน ่ ทีจ ่ ะผลักดันใหพวกเขาลองหาประสบการณ ทํางานในตางประเทศ เพราะงานวิจัยสักกี่ฉบับก็ไมสามารถชวยใหเราเขาใจ วัฒนธรรมอื่นไดเทากับการไปเรียนรูดว  ยตัวเอง ชวงเวลาสัน ้ ๆ ระหวางโครงการ Fulbright Specialist นั้นนับวามีคา อยางยิง่ และประโยชนที่ไดรบ ั ก็จะสงผลตอ คนอีกหลายคนที่ฉันสอน การทําความรูจก ั กับเพื่อนรวมงานและนักศึกษานอกหองเรียนนั้นเปนสิ่งที่ฉน ั จะ สงเสริมตอไป เพราะอาจจะทําใหไดคูรว  มวิจัย ทัง้ ยังชวยสรางโอกาสในการ เติบโตทางวิชาชีพดวย ยิง่ ไดคุยกับอาจารยออม ซึ่งเปนผูชวยอธิการบดีฝาย กิจการนักศึกษา ฉันยิ่งเชือ ่ วากิจกรรมทางวัฒนธรรมตาง ๆ จะสงผลให ประสบการณการเรียนรูของเราเปนไปอยางรอบดาน และยังชวยสรางเครือขายที่ ยั่งยืนไดดวย สุดทายนี้ ฉันอยูใ  นเมืองไทยดวยความรูส  ึกเหมือนอยูบา น ได แบงปนรอยยิ้มและความสุขกับคนทีร่ ูจักระหวางการเดินทางครั้งนี้


Oh My Beloved Thais!33 Porntip Kanjananiyot Executive Director Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Translated by Chotima Chaitiamwong, Outreach Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)

There are always funny stories among our Fulbright Family and life has never been quiet. Some stories are trivial but brought a good laugh every time we thought of them. Many make us smile and many make us go wild (and embarrassed at times!). Many encourage us to think further and improve…finally! How are you? It is commonly known that Thai students study English like parrots. It is particularly true with their greeting. Do not ask them “How are you?” Almost 100% of students will reply harmoniously “Fine, thank you. And you?”

33

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 9, April 2013


Our American Fulbrighters teaching in the provincial schools felt annoyed with the same answers and then encouraged students to use alternative phrases such as “Wonderful!” and “Great!”. During a sport day at one of the host schools while students were playing in the field, a student accidentally fell on the floor. The Fulbright teacher rushed to him and asked with concern “How are you?” He replied automatically “Fine, thank you!” The Fulbrighter dropped! Matchmaking Expert American Fulbrighters teaching English in Thai provincial schools are almost at the same age as their high school students. This helps them to connect easily with each other. At the same time, Thai teachers and their communities are very interested in the Fulbrighters and feel they have to take extra care of young foreigners. A young male teacher called TUSEF grumbling that he had been asked to be a matchmaker too many times and felt overwhelmed. Personally, he was not interested in matchmaking. Another male teacher recalled “There is a senior teacher at my school. She has two daughters and asked me to choose between them. I can marry the elder or the younger one.”


The situation was not different for female teachers. One said she was puzzled when a Thai teacher measured her height with the measuring tape. She was even stunned when the same teacher came to her the next day saying with satisfaction “Great! My son is a bit taller so you are matched!” We laughed though we were also quite embarrassed. When Farang Teacher Met a Ghost One day, teacher Matt told his students that he met a female ghost in his house (which was located in the school compound). The news shocked not only the students but also the teachers. They asked older school people if they remembered whether there was a women who may have died in Matt’s house. Matt himself invited students to look for the ghost at his house. They could not find her. Matt said it might be the daylight and the electricity that made it difficult to see her. The ghost story heightened the students’ interest in Matt. They did not miss any of Matt’s classes but it was not because they were ‘worried’ about him. In fact, they wished to hear more of Matt’s ‘ghost stories’. Even when they were told in English, the students followed every word with extreme interest. Behind the Story Matt was teaching English at one of the small schools in the north. Generally, he got along well with students. For one class, however, he tried everything but could not encourage the students to attend his class.


Matt observed his students’ behavior and found that the ghost story always captured the students’ interest. Matt then ‘made up’ a story to attract students to his English class. The result was more than expected. When asked how he could tell stories every class, Matt replied in Thai “Chin-ta-na-karn! (Imagine). He asked his student whether they saw the ghost. Some even said “yes!”. That response always made him laugh. Thais and ghost stories are inseparable over time. But integrating ghost stories in lessons based upon the imagination of an American teacher is not common, is it?


ขําขามวัฒนธรรม34

พรทิพย กาญจนนิยต ผูอํานวยการบริหาร มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท)

เรื่องขําๆ มีอยูในชีวิตเราชาวฟุลไบรทเสมอ ทําใหชีวต ิ ไมเคยเงียบเหงา บางเรื่อง เล็กมากแตพอนึกถึงทีไร ก็เพิ่มรอยยิ้มและเสียงหัวเราะเปนประจํา บางเรือ ่ งก็ทั้ง ขําทั้งเขินที่พบวา พีน ่ องชาวไทยของเราหนอ ‘เปนไปไดขนาดนี’้ หลายเรือ ่ งอาจ กลายเปนประเด็นชวนใหคิดและลงมือปรับปรุง........ซะที! How are you? เปนทีร่ ูกันทั่วไปวาเด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษแบบนกแกวนกขุนทอง โดยเฉพาะ การทักทาย อยาไดถามวา 'How are you?' เชียว รอยทัง้ รอยของนักเรียน จะประสานกันสง เสียงวา 'Fine, thank you. And you?' ผูรับทุนฟุลไบรทชาวอเมริกันที่ไปสอนภาษาอังกฤษในตางจังหวัดเกิดอาการ สะทานกับคําตอบอยางเดิม ๆ นี้มากเราก็เชียรใหหาคําอื่น ๆ ใหเด็ก ๆ ไดเรียนได ฝก เชน Wonderful! Great! เปนตน เมื่อโรงเรียนแหงหนึ่งทีค ่ รูฟล ุ ไบรทเราสอนอยูจัดกีฬาสี ขณะที่กาํ ลังเลนกันอยาง สนุกสนาน ปรากฏวามีเด็กคนหนึ่งเกิดบาดเจ็บ ครูฟุลไบรทคนนี้เลยรีบวิ่งเขาไป ดวยความเปนหวงแลว ถามวา 'How are you?' เด็กคนนัน ้ ตอบทันทีวา 'Fine, thank you.' ครูฟล ุ ไบรทของเราหมดแรงชวยเลยละคะ

!

34

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 9, เมษายน 2556


ไทยถนัดนักกับการจับคู ชาวอเมริกันที่มาเปนครูสอนภาษาอังกฤษของเรา เปนครูรุนหนุมสาวทีว ่ ัยจะ ใกลเคียงกับนักเรียนมัธยม ทีไ ่ มเพียงทําใหเด็ก ๆ รูสึกคุนเคยไดงายขึน ้ แมแตครู อาจารยและคนในชุมชนเพิ่มก็ความสนใจและใสใจกับครูฟุลไบรทในแทบทุก ดาน ครูหนุมของเราคนหนึง่ โทรศัพทมาคุยและคร่ําครวญวา ถูกจับคูบอ  ยมาก จนจะ ทนไมไหวแลว เพราะตัวเขาเองไมสนใจเลย หนุมอีกคนก็เลาวา ‘ที่โรงเรียน มีพี่ครูคนหนึง่ บอกวา เคามีลก ู สาวสองคน ใหผม เลือกไดเลยวา ตองการจะแตงกับคนพี่หรือคนนองก็ไดอีกตางหาก’ ขางสาว ๆ อเมริกันก็ไมแพกน ั ครูฟุลไบรทคนหนึง่ เลาวา ครูไทยที่โรงเรียนนํา สายวัดมาวัดสวนสูงของเขา ทําใหสาวนอยคนนี้งงมาก และสิ่งทีง่ ุนงงก็กลายเปน เรื่อง ‘จังงัง’ เพราะวันรุงขึน ้ ครูไทยคนเดิมเดินมาบอกวา ‘ใชได ลูกชายของพีส ่ ูง กวาหนูหนอยนึง เขาคูกันได’ พวกเราทั้งขําทัง้ อาย ก็ไดแตบอกวา ‘นอง ๆ เอย พวกเราคนไทย โตมาใน สิ่งแวดลอมและบริบทที่ตา งจากนอง ๆ นะจะ นี่เปนสวนหนึ่งของการเรียนรูขาม วัฒนธรรมในฐานะที่เปนคนฟุลไบรทนะจะ ขอใหพยายามทําใหเปนเรือ ่ งขํา ๆ ฮา ๆ เลน ๆ กับพี่ ๆ ที่โรงเรียนไปดวย แลวจะดีเอง (ที่จริง ก็คือ แลวจะชินไปเอง แหละจะนอง!)’ เมือ ่ ครูฝรัง่ เจอผี วันหนึง่ ครูแม็ทบอกเด็ก ๆ วา ครูแม็ทเจอผีผูหญิงในบานพักทีอ ่ ยูในบริเวณ โรงเรียน ขาวนี้ไมเพียงแตทําใหเด็ก ๆ ตกใจ แตครูในโรงเรียนก็ตกใจกันยก ใหญ พยายามหาคนเกาแกทอ ี่ ยูโรงเรียนมานาน เพื่อถามดูวา เคยมีผูหญิงตายใน บานของครูแม็ทหรือเปลา ครูแม็ทยังบอกเด็ก ๆ ใหไปทีบ ่ านดวยกันเพือ ่ ไปหา ผูหญิงคนนัน ้ ปรากฏวา เด็ก ๆ ไมพบผูหญิงคนนั้น ครูแม็ทก็บอกเด็ก ๆ วา อาจ เปนเพราะยังไมมืดและพอเปดไฟสวางอยู ก็เลยทําใหเห็นยากก็ได


เหตุการณฝรัง่ เจอผีครัง้ นั้น ทําใหเด็ก ๆ ติดครูแม็ทหนึบทันที ทุกคนเขาหองเรียน พรอมหนากัน ไมใชเพราะวา “หวงครูแม็ท” หรอกนะคะ แตเขาไปเพื่อฟงครูแม็ท เลาเรื่องผี ทั้ง ๆ ที่เปนภาษาอังกฤษ เด็ก ๆ ก็จะนั่งฟงอยางสนอกสนใจทุกชัว ่ โมง ภาพเบือ ้ งหลังเปนอยางนีค ้ ะ ครูแม็ทสอนภาษาอังกฤษอยูท  โี่ รงเรียนมัธยมเล็ก ๆ แหงหนึ่งทางภาคเหนือ ครู แม็ทสนิทกับเด็ก ๆ พอควร แตไมวาจะวิธีไหน เด็ก ๆ ที่ครูแม็ทสอนอยูหองหนึ่งไม ยอมเขาเรียนซะที ครูแม็ทเลาใหพวกเราฟงวา สังเกตพฤติกรรมของเด็ก ๆ ก็เห็นวา พอคุยกันเรื่องนี้ ทีไร เด็ก ๆ ดูสนใจที่จะนั่งฟงทุกครั้ง ครูแม็ทก็เลย “แตงเรื่อง”ขึ้นมาเพื่อหลอกลอ ใหเด็ก ๆ สนใจเพื่อจะเขาเรียนวิชาภาษาอังกฤษบาง ปรากฏวาไดผลมากกวาที่ คิดไวดวยซ้ํา พอถามตออีกวา เลาเรือ ่ งผีไดยังไงทุกชัว ่ โมง ครูแม็ทพูดเปน ภาษาไทยชัดเจนวา “จินตนาการ” แลวยังแถมอีกเรือ ่ งที่ครูแม็ทยังขําไมหายนั่นก็ คือ พอถามเด็ก ๆ วา เคยเจอผีผูหญิงคนนีบ ้ างมั้ย เด็ก ๆ บางคนตอบวา “เคย”! แยกกันไมออกระหวางคนไทยกับเรื่องผี ๆ ไมวาสมัยไหน แตการผูกเรื่องผีเขาไป ในการเรียนการสอน ที่มาจากจิตนาการของคนอเมริกันไมใชเรือ ่ งธรรมดาเลย จริงไหมคะ


My Cultural Ambassador Role as Seen through the U.S. Presidential Election35 Chike Aguh 2008 English Teaching Assistantship Program @ Warinchamrab School, Ubonratchathani

“Chike, who will you vote for?” Ajahn Benjamai asked me. I looked up from my desk in the foreign language office at Warin Chamrab School. I had been teaching English there for about one week and it was the day before the U.S. presidential election. All the foreign language teachers had a desk in that office along with Ajarn Benjamai. She was an older woman who taught social studies at the school and no one had ever explained to me why her desk was in the foreign language office but there she was asking me who I was going to vote for. I looked up from my computer to meet her eyes, which lay behind thick glasses. It gave her the look of an owl: old, wise and all seeing. When the department had taken me out for dinner the week before to welcome me, she told me to call her grandmother.

“Who will you vote for?” She asked again. Now like most kids in the United Sates, my parents told me to never discuss two things in public, particularly when you were around new people: religion and politics. Over my six weeks in Thailand thus far,

35

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 23, December 2008


that norm had gone out the window because this was at least the sixth time I had been asked. My sensibilities were just catching up. I told my colleague whom I had voted for and she smiled.

“So if he gets the most votes, he will be the president.” She said. Now the farang in me that was absolutely unconfident in their Thai wanted to let this oversimplification of the complicated U.S. electoral system pass. There’s no way I would be able to explain this. There are Americans who don’t understand the Electoral College and we speak the same language. This thought had come to my mind many times in many conversations with many Thais. The conversation would go to a question that I thought could not be answered with my limited Thai language. So, instead of attempting, I would answer with something much simpler that really didn’t answer the question. Anything to get my interlocutor and I steered away from that potential ditch of misunderstanding. However, this time the political science major in me overwhelmed the farang. “It’s not actually that simple…” I said. Ajarn Benjamai’s owl eyes looked at me quizzically. Ok, smart guy. Go ahead and explain the Electoral College to this person who does not speak much English when at the same time you do not speak much Thai. Suddenly a thought entered in my head. I motioned for Ajarn to follow me and we headed over to one of the computers. I brought up a


website that I knew and showed it to her. The website showed a map of the United States with each state colored red or blue for Democrat or Republican depending on who the polls said was going to win the state. The map also labeled each state with their number of electoral votes. And it was here I began. I explained that it was the person who won the most states who won the presidency. It was like a game, each state was worth a certain number of points. The bigger the state the more points you get. Winning California was better than winning Rhode Island. Whoever got to 270 ‘points’ first would become the president. I looked at Ajarn Benjamai to see if she understood. I sighed imperceptibly as I watched her nod. The ditch of misunderstanding had been averted but not by getting off the conversational road which is the easy way out which I had taken too many times in Thailand. I found out later in the week that she had used the website I had showed her and my explanation of the Electoral College as a game with her classes that week. Victories in understanding come in all sizes, great and small, and this one was mine. I look for more every day.


ทูตวัฒนธรรมจําเปนระหวางการเลือกตัง้ สหรัฐ36 ชิเก อากู 2008 English Teaching Assistant @ โรงเรียนวารินชําราบ อุบลราชธานี แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

“ชิเก เธอจะเลือกใครนะ” อาจารยเบญจมัยถาม ผมเงยหนาขึ้นจากโตะทํางานในหองกลุมสาระภาษาตางประเทศของโรงเรียนวา รินชําราบ ผมมาสอนภาษาอังกฤษที่นรี่ าวสัปดาหหนึ่งแลว และวันนี้เปนวันกอน การเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐ อาจารยกลุม  สาระภาษาตางประเทศทุกคนตางก็ มีโตะของตัวเองอยูท  ี่หอ  งพักครู อาจารยเบญจมัยก็เหมือนกัน เพียงแตเธอเปน อาจารยอาวุโสที่สอนวิชาสังคมศึกษาทีโ่ รงเรียน ไมเคยมีใครอธิบายใหผมฟงเลย วาทําไมเธอถึงมานั่งอยูในหองกลุมสาระภาษาตางประเทศได เมื่อเธอถามวาผมจะ เลือกใคร ผมก็เงยหนาขึ้นจากคอมพิวเตอรสบสายตาทีซ ่ อ  นอยูหลังแวนตาหนา เตอะซึ่งทําใหเธอดูเหมือนนกฮูก สูงวัย หลักแหลม และรอบรู เมือ ่ อาทิตยกอนที่ บรรดาอาจารยกลุมสาระพาผมไปเลี้ยงตอนรับ เธอบอกใหผมเรียกเธอวาคุณยา “เธอจะเลือกใคร” เธอถามซ้ํา ก็เหมือนกับเด็กสวนใหญในอเมริกา พอแมผมหามเด็ดขาดวาถาอยูในที่ สาธารณะ โดยเฉพาะในกลุมคนหนาใหม ๆ ละก็ หามคุยสองเรื่องนี้เด็ดขาด – ศาสนาและการเมือง แตหกอาทิตยท่ผ ี านมาในเมืองไทย ขอหามนั้นถูกลมพัดปลิว ไปนอกหนาตางเรียบ เพราะผมถูกถามคําถามนี้มาอยางนอยก็หกครั้งแลว เมื่อตั้ง หลักได ผมก็ตอบเธอไปวาผมเลือกใคร เธอยิม ้ “ถาเขาไดคะแนนเสียงมากที่สด ุ เขาก็จะไดเปนประธานาธิบดีใชมั๊ยละ”

36

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 23, ธันวาคม 2551


ตอนนี้ความเปนฝรั่งในตัวผม ซึ่งไมมค ี วามมัน ่ ใจในภาษาไทยของตัวเองเอา เสียเลย อยากจะหลับหูหลับตาปลอยใหเธอสรุประบบการเลือกตั้งสหรัฐอัน ซับซอนอยางงาย ๆ แบบนัน ้ ก็มันไมมท ี างที่ผมจะสามารถอธิบายเรือ ่ งนี้ได เพราะแมแตคนอเมริกันบางคนก็ยังไมคอ  ยจะเขาใจการเลือกคณะผูเลือกตัง้ (electoral college)37 เลย ทั้ง ๆ ที่พูดภาษาเดียวกันแท ๆ ความคิดนี้เกิดขึ้นหลาย ตอหลายครั้งทีผ ่ มคุยกับคนไทย เวลาที่มค ี ําถามซึ่งผมคิดวาไมสามารถจะตอบ ดวยภาษาไทยอันจํากัด แทนที่ผมจะพยายามผมกลับหาทางออกงาย ๆ ทีแ ่ ทบจะ ไมไดเปนการตอบคําถามอะไรเลย อะไรก็ไดที่จะชวยใหคส ู นทนากับผมหลีกเลี่ยง โอกาสที่จะเขาใจผิดกัน แต ณ ขณะนั้น วิญญาณนักศึกษาวิชาเอกรัฐศาสตร สามารถเอาชนะความเปนฝรั่งในตัวผมได “มันไมงายอยางงั้นนะครับ...” ผมบอก ตานกฮูกของอาจารยเบญจมัยจองผมอยางสงสัย โอเค คนเกง เอาเลย ใช ภาษาไทยงู ๆ ปลา ๆ อธิบายใหคนที่พูดภาษาอังกฤษไมคอ  ยไดเขาใจหนอยสิวา คณะผูเลือกตัง้ คืออะไร แลวผมก็ไดความคิด ผมขอใหอาจารยตามผมไปที่คอมพิวเตอรตว ั หนึง่ ผมเปด เว็บที่ผมรูจ  ักใหเธอดู มันแสดงภาพแผนที่ของสหรัฐอเมริกา แตละรัฐจะเปนสีแดง หรือฟาตามสีของเดโมแครตและรีพับลิกน ั ขึ้นอยูกับวาผลการเลือกตัง้ พรรคไหน ชนะในรัฐนั้น แผนที่ยังแสดงจํานวนคะแนนเสียงของคณะผูเ ลือกตั้ง จากตรงนัน ้ ผมก็อธิบายวาผูสมัครทีไ ่ ดเสียงสวนใหญของรัฐทั้งหมดจะไดเปนประธานาธิบดี เหมือนเลนเกม แตละรัฐก็จะมีจํานวนแตมตางกัน ยิ่งรัฐมีขนาดใหญก็จะยิง่ มีแตม มาก ไดคะแนนจากแคลิฟอรเนียก็ยอมจะมากกวาไดจากโรดไอแลนด และใครก็ ตามที่ได “270 แตม” กอนก็จะไดเปนประธานาธิบดี ผมมองอาจารยเบญจมัยเพื่อ ดูวาเธอตามทันรึเปลาและแอบถอนใจเมือ ่ เธอพยักหนา ความเขาใจผิดสามารถ แกไขได แตไมใชดว  ยการหลบเลี่ยงแมมน ั จะเปนวิธีทงี่ ายกวาอยางผมมักทําอยู บอย ๆ ในไทย ผมมารูหลังจากนั้นหลายสัปดาหวาเธอใชเว็บไซดนั้นและแนวคิด

37

การเลือกตั้งประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกานั้น แมวาประชาชนจะไปใชสิทธิออกเสียง

เลือกผูสมัครแขงขันชิงตําแหนงประธานาธิบดีแลวก็ตาม แตการที่ผูสมัครคนใดจะไดเปน ประธานาธิบดีไมไดอยูที่เสียงของประชาชนซึ่งลงคะแนนเลือก แตขึ้นอยูกับกลุมบุคคลกลุม หนึ่งซึ่งเรียกวาคณะผูเ ลือกตัง้ (Electoral College) ซึ่งจะเปนผูลงคะแนนเสียงเลือกวาใคร จะไดเปนประธานาธิบดี คะแนนนีเ้ รียกวา คะแนนเสียงของคณะผูเ ลือกตัง้ (electoral vote) – http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=2210


เรื่องเกมของผมไปอธิบายการลงคะแนนของคณะผูเลือกตัง้ ใหนักเรียนฟงใน อาทิตยนน ั้ เอง ชัยชนะในการสรางความเขาใจเกิดขึ้นไดเสมอไมวาจะเรือ ่ งเล็ก หรือเรือ ่ งใหญ ครัง้ นี้เปนชัยชนะของผมและผมจะพยายามใหมันเกิดขึ้นทุกวัน


A Fulbright Couple Experience Thai Hospitals38 Celeste M. Brody, Ph.D. 2006 Fulbright U.S. Scholar Program @ Burapha University John Holmberg Celeste M. Brody’s husband

This is a story of two hospital experiences in Thailand: the first by my husband, John, in a private hospital in Chantaburi; the second by me in a public hospital located on my campus, Burapha University in Bang Saen. John’s story began in Koh Chang, the southeastern island close to Cambodia and the first stop in our holiday exploration of Thailand. John and I were experienced with parasite illnesses. John had been hospitalized years before with a nasty water-born amoeba and we had both been victims of the more common, giardiasis. Consequently John was assiduous about where and what to eat. If a restaurant seemed too casual about cleanliness on first inspection, we didn’t enter. On Koh Chang we found the beach barbecues with fresh fish, prawns and chicken to be appealing; select what you want to eat from the display and it is cooked on the spot for you. John indulged vigorously. He loved Thai food. During our last night on Koh Chang John developed a fever and diarrhea. We thought it might be a virus. But by the next afternoon with

38

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 4, December 2007


no change in his condition we began the antibiotics that we had brought with us. By this time we were back in Chantaburi, preparing to travel the following morning on a plane to Chiang Mai with friends. I made a special trip to a Thai pharmacy in the city to secure another antibiotic since the ones we carried were having no effect. But by 3 a.m. it was obvious that John was not going to make a plane that day. I headed to the lobby of the hotel and through my Fulbright “talking cards” and the night managers’ spare English we agreed to hustle to the hospital. He assured me that we were going to the best hospital in Chantaburi, a private hospital. From that moment until John was taken to his hospital room, the hotel night manager never left our side. We arrived at Bangkok Hospital, Chantaburi branch. Chantaburi is not an English-speaking haven so a full cadre of nurses, orderlies and aides-perhaps 10-clustered around to assist, or at least, experience the curiosity of foreigners in the emergency room. I used my “talking cards” once again and interpreted the Thai-English for John. The hospital was nearly empty at 4 a.m. so our progress through admissions was swift. I think my Fulbright identification helped a bit, too. Immediately after the decision to admit John for diagnosis and treatment of dehydration, I was shown pictures of different grades of accommodations. I choose the most basic, of course, since we were not expecting a long stay but I was surprised at the array of available accommodations. It was obvious that families typically moved in with the patient. In rooms that help sick children, mattresses were placed on the floor and the family slept with the child. Some rooms were set up as suites with additional beds, couches and tables. But even in our basic


room hot tea water was waiting; dishes were available along with a microwave oven, fresh fruit and a cot for me to sleep. A steady stream of nurses and aides began with John’s arrival in the room. All were dressed in the traditional nursing uniform I last saw in the 1960s-white dress, nursing cap, stockings and white dress shoes. I applied my archaic knowledge of nursing hierarchy, scanning the caps for the telltale colored stripe indicating nurse status since I couldn’t make sense of the name tags on the uniforms. USA hospitals typically use a white board to write the name of the doctor on duty, the nurse, nurse’s aide or medical assistant because the generic surgical-type dress no longer convey status. I had to guess, based on the functions they conducted who was a nurse and who was an aide. There were so many beautiful and charming women coming through our room all of the time. Whether it was John’s feverish state or the recognition of my seniority and deference to that, the staff communicated with me and not John. It was clear that I was his primary helper and thus, part of the healthcare unit. They asked me what John would like to eat. I answered for John. Then the nurse handed me specimen jars and through a few gestures I gathered that I was to procure samples. OK, I smiled. I knew how to do that. I also knew to ask for latex gloves, since they were not available in the room. I was surprised at the number of invasive procedures that the staff did without them including the placement and removal of the IV drip. But in the end I couldn’t figure out how to gather John’s specimens so I pressed the call button and with more gesturing between us the


nurse realized John required a special pan. I would never have found it on my own! John’s doctor was very knowledgeable about his condition, called amoebic dysentery. He shook his head at the idea of eating at a Koh Chang beach barbecue (“Very dangerous!”). He took the precaution to have John checked for malaria (pronounced “mal a REEa”), since “Malarial mosquitoes do not know borders.” He talked of people, including a doctor, who returned from Koh Chang to Bangkok and died because of malaria contracted on the island and overlooked in an urban hospital. We were relieved when we learned John did not have malaria, but found it odd that I had to go in search of the test results when we had been told that they would be available within the hour. It did not seem to occur to the hospital staff that we might be waiting on pins and needles for the results. But perhaps like other encounters we had with staff at my university, the Thais did not think we needed to know. Or at least, not just then! And the drama continued…. When John and I left for the hospital in those early morning hours, we told our American friends that they should go on to Chiang Mai with the driver that would arrive to transport us to the airport in a few hours. I saw no need for them to hold up their travel plans; we did not know how long we would be detained. But most drivers do not speak English and when he arrived to procure four of us and there were only two, he immediately called the Chantaburi campus of Burapha University (he was a university driver) and alerted the administrators “responsible” for


us of our situation. It never occurred to me to call the administrative staff at such an early hour! But by 9.30 a.m. three campus representatives burst into our room-after a 40 minute drive from the campus to the hospital-just to check on John and support me. Of course, they had already called my own campus in Bang Saen and alerted the Vice President to our situation. I realized then that I had better call my staff personally. It would never occur to me to do this so quickly – I did not want to worry anyone. But there they were worrying. When she insisted that we return to Burapha University so we could be under her watchful eye, I assured my administrator that John would be fit to travel. After all, even the hotel night manager had deemed him “very strong.” Ah, yes. All but his stomach. My own hospital experience occurred near the end of my Fulbright assignment. John had already returned to the USA. I planned to meet as many requests for my workshops on faculty development as I could. I thought I had made the adjustment to the food and climate, and thought I had learned how to be careful in my food choices. But when I traveled I simply ate whatever my hosts provided. And, this usually included seafood. I had learned of my fate: infectious dysentery. (“Fish not very good right now. Many many Thai cases of dysentery.”) Ajarn Suchinda never left my side. She interpreted and assisted throughout the admissions process in the emergency clinic. I was already dehydrated and needed specific antibiotic treatment. The first question the aide asked was whether I would be willing to be admitted to the common room. I had already seen the hospital rooms in this public facility, both the private and common rooms. No question in my


mind: Given the nature of my illness, I wanted a private room. But this meant Suchinda would need to be available for me. A public hospital in Thailand is not the same as a private hospital. Many public hospitals act as clinics for the community, treating everything from back aches to colds. Already I knew several faculty and staff who spent days at a time in Burapha University’s hospital. It was a well loved and accepted part of their lives. Picture a US hospital room of 50 years ago: The old, but well maintained hospital bed adjusts manually through a crank at the foot. In front of the bed is a tired refrigerator with a heating thermos resting on it for boiling water. Unlike the private hospital there are no cups or utensils, towels or soap. Without towels the worn-down shower is particularly uninviting. Families are expected to move in to assist the patient, bring in food, dishes, soap and towels. Temperatures are taken with oral thermometers. Blood pressure monitors are wheeled in on ancient tri-pods. The bedding is a beach sized towel. These are all useful basics, still functioning well, reminding me that one does not need high tech to provide basic hospital care for such things as dysentery and dehydration. Of course, in the US, I would not likely be admitted to a hospital for this condition, either. I was very disturbed at the lack of basic sanitation available to both the staff, patients and helpers in the public hospital. After all, I gathered my own specimens and worried about Suchinda’s exposure to this contagious disease. It was Sunday and I knew that Suchinda would prefer to alert my staff at the university that I was in the hospital. But I was persuasive in asking that she not contact them. They had been working six days straight, and


despite their fatigue I knew they would drop everything to come visit me. I had already witnessed how important it was for Thais to visit a newly admitted patient in the hospital even while she was in a feverish state. The Vice President for Academic Affairs was hospitalized the month prior and as soon as word reached the staff of the Teaching and Learning Center, we hurried to the hospital to pay our respects and bring a food basket. She still lay in her street clothes on the plastic cot, too warm to get in bed. My American sensibilities told me that she should have the first 24 hours to collect herself and gather her strength while waiting for a diagnosis. But not the Thais! Suchinda stayed with me through the night, attending to my every move and bringing me the comfort foods I craved: jello-like treats and mashed potatoes from KFC. When the fever broke in the night, and I had emptied two IV drips into my veins, I was ready to return to my condominium. But not before Suchinda alerted my staff when she had to go teach a class that I was not to be left alone! Once back in my condo I warded off the anticipated onslaught of Thai visitors by asserting that I needed to sleep. “No visitors,” I protested. These may have been the strongest request I made to my hosts since my arrival in Thailand. But mai pen rai. John and I now have powerful memories from two hospital experiences: one in a well-equipped private hospital and the other in a well-loved public one. In both settings we experienced how relationships and connectivity contribute to health care. We also felt the power of the whole “village” as the university staff, hotel management and even the drivers came to our assistance, embraced us and cared


for us. Whatever shortcomings in the system, we were both grateful for excellent hospital care, responsive physicians and nurses and above all, our Thai friends and guardians.


สามีภรรยาฟุลไบรทในโรงพยาบาลไทย39 เซเลส เอ็ม โบรดี้ และจอหน โฮลมเบิรก 2006 U.S. Scholar Program Central Oregon Community College @ มหาวิทยาลัยบูรพา แปลและเรียบเรียงโดย สกล ซื่อธนาพรกุล 2008 Open Competition Scholarship Program and Fulbright’s 175th Thailand-U.S. Friendship Award @ University of Hawaii, Manoa

เรื่องที่เราจะเลาตอไปนีค ้ อ ื ประสบการณการรักษาตัวในโรงพยาบาลในประเทศ ไทย เรือ ่ งแรกเปนประสบการณทโี่ รงพยาบาลเอกชนในจังหวัดชลบุรีของจอหน สามีของฉัน และเรือ ่ งที่สองเปน เหตุการณที่เกิดกับตัวฉันเองในโรงพยาบาลรัฐ ที่ตั้งอยูในมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตบางแสน เรื่องของจอหนเริ่มตนขึ้นที่เกาะชาง เกาะทางตะวันออกเฉียงใตใกลกับประเทศ กัมพูชาที่เปนเปาหมายแรกของพวกเราในการทองเที่ยวในประเทศไทย ฉันและ จอหนตางเคยปวยจากปรสิต หลายปกอ  นหนานี้จอหนตองเขาโรงพยาบาลรักษา ตัวเพราะติดเชือ ้ อะมีบา

ในขณะที่เราทั้งคูก  ็เคยปวยจากการติดเชือ ้

giardia

ประสบการณนท ี้ ําใหจอหนระมัดระวังทัง้ เรือ ่ งรานและอาหารการกินเปนอยางมาก เราจะไมรบ ั ประทานอาหารในรานที่ดูไมสะอาด แตที่เกาะชางเราพบรานบารบค ี ิว ริมชายหาดที่ขายปลาสด กุง และไก ทัง้ หมดดูนารับประทานเปนอยางมาก เรา สามารถเลือกอาหารที่เราตองการและคนขายจะปรุงใหเราเดี๋ยวนัน ้ วันนัน ้ จอหน กินเยอะมาก เขารักอาหารไทยจริง ๆ ในคืนวันสุดทายบนเกาะชาง จอหนมีไขสูงและทองรวง เราคิดวามันอาจจะเกิด จากไวรัส แตจนถึงบายวันตอมาอาการของจอหนก็ยังไมดีขน ึ้ เราจึงตัดสินใจใช ยาปฏิชว ี นะทีน ่ าํ ติดตัวมา เมื่อเรากลับมาถึงจันทบุรีเพือ ่ เตรียมตัวเดินทางไป เชียงใหมกับเพือ ่ น ๆ ของพวกเราในเชาวันตอไป ฉันตัดสินใจไปรานขายยาใน ตัวเมืองเพื่อซื้อยาปฏิชว ี นะเพราะยาที่เรามีนั้นใชไมไดผล แตพอถึงเวลาประมาณ

39

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 4, ธันวาคม 2550


ตีสามฉันก็รูแลววาจอหนไมสามารถเดินทางไปกับพวกเราไดแน ๆ ฉันจึง ตัดสินใจลงไปที่ลอ ็ บบี้ของโรงแรมและคุยกับผูจัดการกะกลางคืนดวยการดภาษา ของฟุลไบรทผสมกับภาษาอังกฤษกระทอนกระแทนของผูจ  ด ั การ เราตัดสินใจกัน วาจะรีบพาจอหนไปที่โรงพยาบาล ผูจัดการยืนยันกับฉันวาจะพาจอหนไปที่ โรงพยาบาลทีด ่ ีที่สด ุ ในจังหวัดที่เปนโรงพยาบาลเอกชน ผูจ  ัดการคอยชวยเหลือ ฉันและจอหนตลอดเวลาโดยไมทิ้งเราไปไหนเลยนับตัง้ แตวน ิ าทีนน ั้ จนกระทัง่ จอหนเขาโรงพยาบาล เมื่อเรามาถึงโรงพยาบาลกรุงเทพ สาขาจันทบุรี พยาบาลและผูชว  ยเกือบสิบคนก็ รีบรุดมาชวยเหลือ หรืออยางนอยก็มาสัมผัสฝรั่งในหองฉุกเฉิน ดวยความที่ จันทบุรีไมใชสถานทีท ่ ี่จะไดยน ิ ไดฟงภาษาอังกฤษบอยนัก ฉันก็ไดใชการดภาษา อีกครั้งเพือ ่ คอยชวยแปลไทยเปนอังกฤษใหจอหน ขั้นตอนทั้งหลายเปนไปอยาง รวดเร็วเพราะขณะนัน ้ เปนเวลา 4:00 น. โดยโรงพยาบาลก็แทบรางไรซึ่งผูค  น แต ฉันก็อดคิดไมไดวาสถานภาพของความเปนฟุลไบรทของฉันก็ชวยทําใหทก ุ อยาง เร็วขึ้นเชนกัน ทันทีทจ ี่ อหนถูกพาเขาตรวจและรักษาอาการขาดน้ํา เจาหนาที่กน ็ ํารูปหองพัก ประเภทตาง ๆ มาใหฉันเลือก แนนอนวาฉันเลือกหองพักแบบพื้นฐานเพราะไมได คาดหวังวาจอหนจะตองอยูใ  นโรงพยาบาลนานนัก แตฉันก็อดแปลกใจไมไดที่ โรงพยาบาลนีม ้ ห ี องพักหลายแบบมากใหเลือก ครอบครัวหลายครอบครัวมักมา อยูเฝาไขคนปวย สําหรับหองพักของเด็ก ๆ เรามักเห็นที่นอนวางอยูบ  นพื้นเพื่อให ครอบครัวไดนอนพักเวลามาเฝาไข บางหองถูกจัดเปนหองสวีท โดยมีเตียงเสริม โซฟาและโตะ ถึงแมวาหองเราจะเปนหองแบบมาตรฐานก็ยงั มีทั้งน้ํารอนใหเราชง ชา จานชามและเตาไมโครเวฟ ผลไมสด และที่นอนสําหรับฉัน นางพยาบาลและผูชว  ยทยอยเขามาดูแลนับตัง้ แตจอหนเขาพักในหอง ทุกคน แตงตัวดวยชุดนางพยาบาลแบบโบราณที่ฉน ั เห็นครัง้ สุดทายตั้งแตชว  งปค.ศ. 1960 ทั้งชุดสีขาว หมวกนางพยาบาล ถุงเทาและรองเทาขาว ฉันจึงตองใช ความรูท  ี่พอมีเกี่ยวกับตําแหนงนางพยาบาลโดยมองหาแถบสี ที่แสดงสถานะของ นางพยาบาลแตละคนเพราะฉันไมสามารถอานปายชื่อของพวกเขาออก โดยปรกติโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาจะมีกระดานที่เขียนชื่อแพทยทอ ี่ อกปฏิบัติ หนาที่ และพยาบาล ผูชวยพยาบาล หรือผูช  วยทางการแพทย เพราะวาชุดทีท ่ ุก คนใสนั้นไมไดระบุ ตําแหนงหรือสถานะ ฉันตองพยายามเดาจากหนาที่และการ ปฏิบัตงิ านวาใครเปนนางพยาบาล และใครเปนผูชวย


เจาหนาที่ของโรงพยาบาลลวนสื่อสารกับฉัน อาจจะเปนเพราะวาสภาพของจอหน ที่มีไขสงู หรืออาจจะเปนเพราะความอาวุโสของฉัน ตัวฉันจึงกลายเปนผูดูแลหลัก ของจอหน และเปนสวนหนึ่งของกระบวนการรักษา ฉันกลายเปนผูตด ั สินใจเลือก อาหารที่จอหนจะไดรบ ั ประทาน ยิ่งไปกวานั้นนางพยาบาลก็ยังยื่นกระปุกเก็บ ตัวอยางอุจจาระและแสดงทาทางบอกใหฉันรูว  าฉันตองเก็บตัวอยางอุจจาระของ จอหน ฉันยิ้มตอบ แนนอนวาฉันรูว  าตองทําอะไร ฉันจึงขอถุงมือจากนางพยาบาล เพราะไมมีถุงมืออยูใ  นหองเลย ฉันประหลาดใจมากที่เจาหนาที่ปฏิบัติงานหลาย ๆ อยาง รวมถึงการใสและถอดสายน้ําเกลือโดยไมใสถุงมือ หลังจากพยายามอยู พอสมควรฉันก็ตัดสินใจขอความชวยเหลือ เพราะฉันไมสามารถเก็บตัวอยางได ดวยตัวเอง เราสื่อสารผานทาทางกันอีกพอสมควรจนนางพยาบาลเขาใจวาจอหน ตองการถาดพิเศษ คุณหมอทีด ่ ูแลจอหนบอกวาจอหนเปนโรคบิดมีตัว คุณหมอถึงกับสายหัวเมื่อไดรู วาเราไปกินบารบค ี ิวบนเกาะชาง (“มันอันตรายมากนะ”) หมอยังไดตรวจหาเชื้อ มาลาเรียในจอหนเพราะ “ยุงที่เปนพาหะนําโรคกระจายอยูทก ุ พื้นที”่ คุณหมอเลา ใหฉันฟงเรื่องหมอคนหนึง่ ที่กลับมาจากเกาะชางและเสียชีวต ิ ดวยโรคมาลาเรีย เพราะไมไดรักษาใหทน ั ทวงที เรารูสึกโลงใจอยางมากที่รว ู าจอหนไมไดเปน มาลาเรีย แตกวาฉันจะไดรูผลตรวจก็ตอ  งไปตามเอง ทั้ง ๆ ที่โรงพยาบาลบอกวา เราจะทราบผลตรวจภายในหนึ่งชัว ่ โมง เจาหนาที่อาจไมไดคด ิ วาเรากระวน กระวายใจอยากรูผลตรวจแคไหน แตนี่ก็อาจจะเปนเหมือนเรื่องอีก ๆ ที่เราเคยพบ เจอในมหาวิทยาลัย คนไทยมักคิดวาเราไมจาํ เปนตองรู หรือถึงแมวา จะจําเปน ก็ คงไมใชเดี๋ยวนัน ้ ! เรือ ่ งยังไมจบแคนน ั้ เมื่อฉันพาจอหนมาเขาโรงพยาบาล เราไดบอกเพื่อน ๆ ชาวอเมริกันของเราวา พวกเขาควรขึน ้ รถตู ทีค ่ นขับจะขับมารับไปสนามบิน สําหรับการเดินทางไป เชียงใหม ฉันคิดวามันไมสมควรทีจ ่ ะใหเพื่อน ๆ ตองยกเลิกแผนการทองเที่ยว ของพวกเขา เพราะฉันไมรูวาจอหนตองอยูใ  นโรงพยาบาลอีกนานแคไหน คนขับรถสวนใหญไมสามารถพูดภาษาอังกฤษได พอคนขับรถที่เปนพนักงานขับ รถของมหาวิทยาลัยมาถึง และพบวามีแคเพือ ่ น ๆ ของเราสองคน เขาก็รีบโทรแจง เจาหนาที่ทงั้ สามคนที่ดูแลรับผิดชอบพวกเรา ถาเปนฉัน ฉันคงไมกลาจะโทรหา เจาหนาที่ตั้งแตเชาตรูขนาดนัน ้ ! แตพอ ถึงเวลา 9:30 ตัวแทนมหาวิทยาลัยสาม คนก็มาถึงโรงพยาบาลหลังจากนั่งรถมาเกือบ 40 นาทีจากมหาวิทยาลัยเพือ ่ จะมา ดูอาการจอหนและอยูใ  หกําลังใจฉัน แนนอนวาเขาไดบอกเรื่องของเรากับ มหาวิทยาลัย ที่วท ิ ยาเขตบางแสน และรองอธิการบดีแลว ฉันตระหนักวาฉันควร


จะตองบอกเรื่องนี้กับเจาหนาทีท ่ ี่ทาํ งานกับฉันเชนกัน กอนหนานี้ฉน ั คิดวาฉันไม ควรบอกพวกเขาเพราะไมตอ  งการทําใหพวกเขาตองกังวล แตแนนอนพวกเขา รูสึกกังวล เมื่อเจาหนาที่ยน ื กรานใหพวกเรากลับไปที่มหาวิทยาลัยเพื่อจะไดดูแล เราไดอยางทัว ่ ถึง ฉันยืนยันกับพวกเขาวาจอหนแข็งแรงดีพอจะไปเที่ยวได แมกระทั่งผูจด ั การกะกลางคืนก็ยังยืนยันวาจอหนแข็งแรง ใชเขาแข็งแรง ยกเวน กระเพาะของเขา ประสบการณการเขาโรงพยาบาลของฉันเกิดขึ้นในชวงทายของระยะเวลาทุนฟุล ไบรท ขณะนัน ้ จอหนไดเดินทางกลับอเมริกาไปเรียบรอยแลว ในชวงทายฉัน พยายามอยางเต็มกําลังที่จะจัด workshop อบรมใหกับอาจารยใหไดมากที่สุด เทาทีจ ่ ะทําได ฉันคิดวาฉันปรับตัวเขากับสภาพภูมอ ิ ากาศและอาหารไทยไดเปน อยางดี และฉันก็ระมัดระวังเวลาเลือกอาหารรับประทาน แตเมื่อตองเดินทางไป อบรมในที่ตา ง ๆ ฉันก็จําเปนตองรับประทานสิ่งที่เจาภาพไดเตรียมไวให รวมถึง อาหารทะเล อยางไรก็ดี ฉันพยายามเลี่ยงอาหารเผ็ด (เผ็ดไหม?) กระเพาะอาหาร ของผูสงู อายุปรับตัวกับการเปลีย ่ นแปลงอยางรวดเร็วไดไมคอ  ยดีนัก เหตุการณเกิดขึ้นในวันอาทิตยภายหลังจากฉันเพิ่งจัดอบรมหนึ่งวันเต็มใหกับ อาจารยที่มหาวิทยาลัยบูรพา ฉันเตรียมพรอมออกเดินทางไปนครวัด แหลง โบราณสถานมรดกโลกในเชาวันจันทร ฉันเริ่มรูสึกมีไขจึงขอใหอาจารยสุจินดา พาไปกินแกงจืดเปนอาหารเย็น ถึงแมฉันจะมีอาการทองเสีย ฉันก็บอกอาจารยสุ จินดาวาไทลินอลก็นาจะพอชวยได ฉันวางแผนจะออกจากที่พักตั้งแต 5:30 น. เพื่อไปสนามบิน แตแผนการทุกอยางก็ตอ  งพังลง ผูร วมทางหนึ่งคนที่เปนนาง พยาบาลรูส  ึกผิดที่จะทิ้งฉันไปเที่ยว ฉันจึง “สั่ง” ใหเธอไปเที่ยวโดยไมตอ  งมีฉัน อาจารยสจ ุ ินดานําสมุนไพรมาหลายอยางแตก็ไมไดชวยอะไร ฉันยังคงมีไขสูง เราจึงตัดสินใจรุดไปหองฉุกเฉินของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพาที่เปน โรงพยาบาลรัฐ ในเวลาไมนานนักฉันก็ไดเรียนรูวา ฉันติดเชื้อโรคบิด (“ปลามีเชื้อ โรคเยอะชวงนี้ คนไทยเจอโรคนี้หลายรายแลว”) อาจารยสจ ุ ินดาไมเคยทิง้ ฉันไปไหน เธอคอยชวยแปลและชวยเหลือฉันตลอดทุก ขั้นตอน ตอนนัน ้ ฉันมีอาการขาดน้ําและตองใชยาปฏิชว ี นะเพื่อรักษาโรค คําถาม แรกที่ผูชว  ยแพทยถามฉันคือ ฉันจะพักในหองรวมไดหรือไม ฉันเคยเห็นสภาพ หองพักทั้งหองสวนตัวและหองรวมของโรงพยาบาลมากอนหนาแลว ดวยสภาพ รางกายปจจุบน ั ของฉัน ฉันตอบไดอยางไมลงั เลเลยวาฉันตองการหองสวนตัว แต นั่นหมายความวาอาจารยสจ ุ ินดาจะตองคอยอยูชวยเหลือฉันตลอดเวลา


โรงพยาบาลของรัฐตางกับโรงพยาบาลเอกชนอยางสิน ้ เชิง โรงพยาบาลรัฐหลาย แหงเปรียบเสมือนคลินิกประจําชุมชนทีร่ ักษาตั้งแตอาการเจ็บหลังจนถึงไขหวัด ฉันคุน  เคยกับอาจารยและเจาหนาที่หลายคนที่ทาํ งานอยูทโี่ รงพยาบาลของ มหาวิทยาลัยบูรพา โรงพยาบาลแหงนี้เปนสวนหนึ่งของชีวิตและเปนที่รักของทุก ๆ คน เพื่อใหเห็นภาพ ลองนึกถึงหองพักในโรงพยาบาลทีป ่ ระเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ 50 ปที่แลว เตียงนอนเกาแตยังอยูในสภาพดี โดยมีทห ี่ มุนปรับเตียงดานทาย ของเตียง ทีป ่ ลายเตียงมีตูเย็นเกา ๆ พรอมเครือ ่ งทําความรอนสําหรับตมน้ํา แตไม มีชอนสอม แกวน้ํา ผาเช็ดตัว หรือ สบู เมือ ่ ไมมีผาเช็ดตัว หองอาบน้ําเกา ๆ ก็ดูไม นาเขาไปใช ครอบครัวมักมาเฝาไขคนปวย และนําอาหาร จานชาม สบู และ ผาเช็ดตัวติดตัวมาดวย คนไขยังตองอมปรอทเพื่อวัดไข เครื่องตรวจวัด ความดัน ตั้งอยูบ  นขาตั้งโทรม ๆ ผาปูทน ี่ อนมีขนาดแคเทากับผาเช็ดตัวชายหาด แตของใช พื้นฐานทั้งหลายยังสามารถใชงานไดดี สิ่งทัง้ หลายลวนเตือนฉันวาเราไมได ตองการของไฮเทคเพือ ่ รักษา โรคบิดหรืออาการขาดน้ํา แนนอนวาฉันคงไมตอง เขาโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาเพียงเพราะอาการขาดน้ํา อยางไรก็ดบ ี ุคลากร ทางการแพทย ผูปวย และเจาหนาทีไ ่ มรักษาสุขอนามัยพื้นฐาน และสิง่ นีท ้ ําใหฉัน รูสึกกังวลเปนอยางมาก ทายที่สุดฉันตองเก็บตัวอยางอุจจาระของฉันเองและกลัว วาอาจารยสจ ุ ินดาอาจจะติดเชือ ้ โรคเหลานี้ได ฉันรูด  ีวาถึงแมจะเปนวันอาทิตย อาจารยสุจินดาก็อยากจะแจงเรื่องทีฉ ่ ันเขา โรงพยาบาลกับเจาหนาที่ทท ี่ ํางานกับฉัน แตฉน ั ขอไมใหอาจารยแจง เพราะพวก เขาทํางานมาทัง้ หกวัน และ ฉันก็รูดีวา ตอใหพวกเขาเหนื่อยแคไหน ก็จะรีบรุดมา เยี่ยมฉัน ฉันไดพบเห็นดวยตาตนเอง วาคนไทยใหความสําคัญกับการเยี่ยมไข ผูปวยมากเพียงใด ถึงแมวาคนไขจะมีไขสงู ขนาดไหนก็ตาม รองอธิการบดีฝาย วิชาการเพิ่งเขาโรงพยาบาลหนึ่งเดือนกอนหนาฉัน พอเราไดยินขาวก็ตางรุดไป เยี่ยมไขเธอพรอมทั้งกระเชาเยี่ยมไข ทั้งๆทีท ่ านรองยังนอนปวยอยูในชุดอยูบา น จิตใตสํานึกความเปนคนอเมริกันของฉันบอกตัวเองวา ทานรองอธิการบดีควรได มีเวลากับตัวเองอยางนอย

24

ชั่วโมงแรกเพื่อพักฟน

และรวบรวมพละกําลัง

ระหวางรอผลตรวจ แตนค ี่ งไมใชวิถีทางของไทย! อาจารยสจ ุ ินดาอยูกับฉันตลอดทั้งคืน และคอยดูแลทุกความเคลื่อนไหวของฉัน นอกจากนั้นเธอยังคอยนําอาหารที่ฉันอยากกินมาให ทัง้ ขนมเยลลี่และมันฝรั่งบด จาก KFC หลังจากไดรบ ั น้าํ เกลือไปถึงสองถุง และอาการไขคอย ๆ ลดลง ฉันรูสึก วาฉันสามารถกลับบานไดแลว แตกอนทีฉ ่ ันจะไดกลับ อาจารยสุจน ิ ดาตองจัดการ ใหมีเจาหนาทีข ่ องฉันมาเฝาไขฉันระหวางที่เธอไปสอน เมื่อกลับมาที่ คอนโดมิเนียมเปนที่เรียบรอย ฉันตองตอสูก  ับเพื่อนคนไทยที่รุมกระหน่ํามาเยี่ยม


ไขฉันจนฉันตองประทวงวาฉันไมรบ ั เยี่ยมเพือ ่ ใหฉน ั ไดมีเวลาพักผอน เปนการขอรองที่ดุดน ั ทีส ่ ุดของฉันตั้งแตมาอยูเมืองไทย

นีอ ่ าจจะ

ไมเปนไร ฉันและจอหนตางมีความทรงจําอันล้าํ คากับประสบการณใน โรงพยาบาลของเราทั้งคู ทัง้ โรงพยาบาลเอกชนที่เพียบพรอม กับโรงพยาบาลรัฐ ที่เต็มไปดวยความรัก ทัง้ สองสถานการณ เราไดเรียนรูว  าความสัมพันธสง ผลตอ การรักษาสุขภาพไดอยางไร เรายังไดเรียนรูพลังของชุมชน จากเจาหนาที่ของ มหาวิทยาลัย ผูจัดการโรงแรม และแมกระทัง่ คนขับรถ ที่มาชวยเหลือเราและรับ เราเปนสวนหนึง่ ของครอบครัวพวกเขา ถึงแมระบบสุขภาพของประเทศไทยจะมี ขอจํากัด เรากลับรูส  ึกทราบซึง้ กับการดูแลอยางยอดเยี่ยมของแพทย และพยาบาล ที่คอยหวงใยดูแลเรา และเหนือสิง่ อื่นใด เราสํานึกในบุญคุณของเพือ ่ น ๆ ชาว ไทยของพวกเราทุกคน


English Camp: Not All About English Learning40 Wanida Chaiyasan Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Translated by Talisa Likanonsakul Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)

Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) introduced English camps into one of the foundation’s activities in 2004. The goal of the program is to encourage American students or researchers under Fulbright Scholarship Program to participate in the English camps organized by many English Institutions in Thailand. It aims not only to promote students to study with native English speakers, but also to create an opportunity for Thai students, Thai faculty, and American grantees to have first-hand experience in cultural exchange. The end result of this is to promote a better understanding of cultural differences between people. One of our Fulbright grantees was able to participate in an English camp held at a college in a rural community. It marked the fourth year of the program and 110 Thai students from many schools in the community took part. While only 50 students participated in the first year of the camp, a coordinating teacher told us that this activity has

40

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 2, November 2005


become more popular each year with a steady growth in the number of participants. In the first year, we could not accommodate all of the institutions with English native speakers so they sought assistance from other colleges to send their native speakers to participate in the program. Thus, the college decided to terminate the English Camp project. However, with requests from many parents together with the cooperation of the school director (who hoped that the students would improve perceptions about learning English), the program flourished and turned into an annual event. During the 3-day program, the college had the participants stay and do activities on its campus. On the second day, the participants went for a field trip and were able to converse in English with tourists at Sukhothai Historical Park in Sukhothai Province.

Thai teachers (they do not give up easily nor do they seek assistance solely from the government. They rely upon themselves) The college received cooperation from the nearby schools’ English teachers. The activities consisted of 5 learning stations, games, recreation at lunch, and camping at night. All of the English teachers were full-time primary school teachers with excellent command of English and skills in organizing Camp activities. The students seemed to gain knowledge while having fun. The program also gave a new generation of English teachers a chance to observe the activities so that they could practice and serve as guest speakers in the future. A senior teacher said that the teachers had not received any support on personnel improvement from the government. As a result, they cooperated in organizing the English camp and invited their English speaker friends residing in the neighborhood to participate in the program. The lack of support from the government made us realize the


importance of public sector provisions for sufficient funding to every rural community. However, this also gave an impression of how active the teachers were to improve their competence in the field without solely relying on the government’s support.

Thai students are afraid of speaking English—(Perceptions that need to be improved). The participants seemed very excited with the three guest speakers from North America. Two of them were Fulbrighters from the United States, named Crisan and Carrie, the other was a student from Canada, named Evan. The school director emphasized that the main purpose of the English Camp was to give an opportunity for the students to speak English with native speakers and have better perceptions about English learning. Thais should not find it to be too difficult to study or practice English skills, and they should not be afraid or shy when making grammatical or pronunciation mistakes. If students are confident to speak with native speakers only one sentence, then that would be considered to be a great start for success. Thus, the content taught in the English Camp was created to be fun and easy to understand so that the students enjoyed it and did not find it too difficult to learn. We recalled the first day of the English camp. During the lunch break, one of the students did not want to continue the program and asked for a refund. When being asked, the student said that three of her college friends had already left because they thought most of the secondary school students who participated were very smart (probably “smarter”


than college students like them). Her friends thought that their English was not good enough and felt that they might make mistakes when speaking in front of the others. However, they did not speak their mind or explain to the organizer what they felt because they thought they would not be allowed to leave. Thus, they just left without notifying anyone. The organizer was speechless that the college students did not even give themselves the opportunity to adjust their perception or attitudes towards English learning. Nevertheless, the organizer was glad that all of the younger students had stayed for the entire program, giving hope for continuing the English camp project for the benefits of the students in the community in the following years.

Different cultural perspectives When speaking about ‘farang,’ the picture of Caucasians or tall white people usually comes to our mind. It was not surprising when the participating teachers and students asked Crisan, who was from the U.S. but looked very much like Thai or Asian, why she did not speak Thai but spoke English really well. Crisan explained to them that she was born and raised in the U.S.; her parents were from Myanmar but immigrated to the U.S. However, the participants still felt that Crisan was from Myanmar based on her appearance. Crisan then was asked to demonstrate Myanmar dancing or a greeting. I was worried that Crisan would be uncomfortable as it is known that race/color discrimination is a very sensitive issue in American culture.


However, it was Carrie who turned out to be more uncomfortable when she witnessed what Crisan had gone through. She brought it up to the organizer and asked for advice on how the participants should treat Crisan as an American just like her. I requested that the teacher and speaker not accentuate Crisan’s ethnic background. As expected, the teacher totally forgot about how important that was. The teacher was slightly confused and laughed like it was simply a misunderstanding caused by cultural differences. I realized that we needed to inform all the participants of the different cultural perspectives between Thais and Americans. Thais are not as aware of cultural diversity issues as Americans. Therefore, greater importance should be placed on this subject among Thai people so that they learn to take this issue more seriously.

Farangs (white people) are not always straightforward During the campfire, the participants were broken into smaller groups to give a 10-minute performance in English. After the first group’s show had ended, both Thai and non-Thai participants became puzzled and confused. The organizer then announced new rules: the non-Thai participants were assigned to select the best performance and if they did not understand, the performance had to be re-run. The two American Fulbrighters felt uncomfortable when they realized that the results would be decided by them. After watching the first show, they wondered how they would be direct without upsetting the students and destroying their confidence. However, if they pretended that they understood, they would not be able to explain what it was all about. After discussing this with each other, they came up with an idea.


Instead of evaluating the English content, they decided to evaluate the dancing or singing, even though this was not in accordance with the teacher’s evaluation guidelines. When the campfire ended, the two Fulbrighters felt relieved. We learned that sometimes Thais are indirect while Caucasians are direct and occasionally it is the other way around. This is a cultural difference that we should acknowledge. Farangs believe that it is important to support the participants; therefore, compliments are usually given to students in American classrooms more often than Thai ones. When serving as guest speakers, the two American female teachers were careful not to be too straightforward in their evaluation. This is another lesson that could be further discussed in regards to other cultural differences.

Different viewpoint, different cultures—Choose what fits best in different contexts. Carrie and Crisan felt exhausted from lesson planning, travelling, teaching students of different English skill levels, and adjusting themselves to the work schedules of Thai people. Additionally, they were living in an unfamiliar climate with different types of food. However, they did their best in the English Camp. When the Thai participants saw them working really hard, they wanted to check in on the two American speakers. The two smiled and replied in Thai that they were “exhausted but had so much fun.” This kind of American attitude in exploring and learning reminded me of an American


researcher who concluded that all experiences we go through, both good and bad, can become lessons for us in our lives. In Thai culture, diversity is not clearly emphasized. This contrasts to the United States where people of different ethnicities have immigrated and awareness of cultural differences in language, traditions, lifestyles, and perspectives has become familiar and well established.

Therefore,

Americans tend to be open-minded and they are able to adjust to ethnic differences. They are likely to learn and understand new or different subjects faster than those in less culturally diverse societies. Fulbright Thailand was glad to be a part of promoting cultural exchanges with cooperation from the English camp project. This helped the participants to adjust and prepare for cultural diversity. This is crucial since immigration is occurring in many parts of the world today. Culture is not stable; it always changes. Cultural exchanges give us different perspectives on our own values, help us to appreciate the values of other societies, and allow us to share our own culture. It would not hurt if we were more open to embracing other cultures, while maintaining our own cultural identity.


คายภาษาอังกฤษ : ไมใชแคเรียนภาษาอังกฤษ41 วนิดา ไชยสาร เจาหนาที่บริหารทุน (ไทย, อเมริกัน) มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท)

ตั้งแตป 2547 เปนตนมา มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) ไดนํา โครงการคายภาษาอังกฤษเขาเปนกิจกรรมหนึ่งของมูลนิธิฯ โดยสนับสนุนให นักศึกษาหรือนักวิจัยชาวอเมริกันภายใตทน ุ ฟุลไบรท เขารวมกิจกรรมคาย ภาษาอังกฤษกับสถาบันการศึกษาตาง ๆ โดยมูลนิธิฯ เห็นวา โครงการนี้ไม เพียงแตจะเปนประโยชนดา นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในสภาบันการศึกษา ไทยที่ยังขาดแคลนบุคลากรทีเ่ ปนเจาของภาษาเทานั้น ยังเปดโอกาสใหนก ั เรียน นักศึกษา คณาจารยไทยและผูรบ ั ทุนชาวอเมริกันที่มีเวลาเวนวางจากการปฏิบัติ หนาที่หลัก ไดมีประสบการณตรงในการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เกิดการเรียนรู รวมกันในวัฒนธรรมที่แตกตางซึ่งจะนําไปสูความเขาใจอันดีตอ  กันอีกทางหนึง่ ดวย เรามีโอกาสสงผูรับทุนของเราไปรวมงานในคายภาษาอังกฤษที่วท ิ ยาลัยชุมชน แหงหนึ่งซึ่งในปนี้ จัดขึ้นเปนปทส ี่ ี่ มีนักเรียน นักศึกษาจากโรงเรียนตาง ๆ ใน ชุมชนนั้นเขารวมประมาณ 110 คน อาจารยผูประสานงานเลาใหฟงวา กิจกรรม นี้ไดรบ ั ความสนใจเกินคาดหมาย มีนักเรียน นักศึกษาเขารวมโครงการมากขึ้น ทุกป โดยเริ่มจากประมาณ 50 กวาคนในปแรกเทานั้น ดวยปญหาขาดแคลน บุคลากร ทางวิทยาลัยเคยคิดจะยกเลิกโครงการนีไ ้ ปเสียแลว แตเพราะเสียง เรียกรองจากบรรดาผูปกครองและความตั้งใจของผูบ  ริหารทีอ ่ ยากเห็นการพัฒนา ทัศนคติของนักเรียน นักศึกษาที่มีตอ  ภาษาอังกฤษ กิจกรรมนี้จึงดําเนินมาอยาง ตอเนือ ่ ง ในระยะเวลาสามวันของกิจกรรมนี้ ทางวิทยาลัย ฯ จัดรูปแบบงาย ๆ โดย ใหผูเขาคายทุกคนพักและทํากิจกรรมในบริเวณวิทยาลัยฯ เปนสวนใหญ นอกจากวันที่สองของคายที่จด ั ใหผูเขาคายไดไปทัศนศึกษาและฝกสนทนา ภาษาอังกฤษกับนักทองเที่ยวที่อท ุ ยานประวัติศาสตรสุโขทัย ครูไทย ใจไมทอ  ไมงอ  รัฐ พัฒนาแตเพียงฝายเดียว วิทยาลัยแหงนีไ ้ ดรบ ั ความรวมมือจากอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษจากโรงเรียน ใกลเคียงกลุมหนึ่ง ทําหนาที่เปนผูดาํ เนินการ กิจกรรมของคายมีทั้งการสอนตาม

41

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย: สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 2


ฐานที่แบงเปนหาฐานตามเนื้อหา มีการเลนเกม นันทนาการตอนกลางวันและ แคมปไฟตอนค่าํ อาจารยทุกทานในกลุมนีล ้ ว  นแตเปนอาจารยประจําในโรงเรียน ประถม แตมีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษไดเปนอยางดีและมีทักษะใน การจัดคายไดอยางสนุกสนานไมติดขัด เด็ก ๆ ไดรับความรูแ  ละความสนุกสนาน ไปพรอม ๆ กัน ขณะเดียวกัน ก็เปดโอกาสใหผูสอนภาษาอังกฤษรุน  ใหมที่สนใจ การจัดคาย เขารวมสังเกตการณเพื่อฝกทําหนาที่เปนวิทยากรตอไปดวย ในเรื่อง การพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษและการจัดคายของผูสอนนี้ อาจารยอาวุโส ทานหนึ่งบอกกับผูเขียนวาพวกเขาเปนบุคลากรที่ยังไมไดรับการสนับสนุนการ พัฒนาจากรัฐ จึงตองรวมตัวกันพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษของตน โดยการจัด คายภาษาอังกฤษในหมูอาจารยดวยกันเมื่อมีโอกาส ใครมีเพื่อนชาวตางประเทศ หรือรูจักชาวตางชาติทอ ี่ ยูละแวกนั้นก็ชวนกันมาเพื่อที่จะไดฝก  ภาษากับเจาของ ภาษาโดยตรง ฟงดูแลวชวนใหตระหนักถึงความจําเปนทีร่ ัฐตองดูแลใหทั่วถึง แต ก็รูสึกประทับใจในการขวนขวายเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองในวิชาชีพโดย ไมตองรอใหรัฐมาพัฒนา (ซึง่ ไมรูวาเมือ ่ ไร) เด็กไทยกลัวภาษา ตองพัฒนาทัศนคติ นักเรียน นักศึกษาทีม ่ าเขาคายดูจะตื่นเตนอยูท  ีเดียวทีม ่ ีชาวตางชาติรว  มเปน วิทยากร ปนี้มน ี ักศึกษาทุนฟุลไบรทชาวอเมริกันสองคนคือ คริแซนและเครี และ ยังมีหนุมฝรั่งเปนนักศึกษาจากประเทศแคนาดาอีกคนหนึง่ ชือ ่ เอเวนมารวมดวย วัตถุประสงคหลักของการจัดคายภาษาอังกฤษในครั้งนี้ ผูบริหารของวิทยาลัยฯ เนนวาอยากใหนักเรียน นักศึกษา ไดมีโอกาสพูดคุยกับชาวตางชาติโดยตรง และ ที่สําคัญคือมีทศ ั นคติทด ี่ ีตอภาษาอังกฤษ ไมมองวายากเกินเรียน เลิกอายหรือกลัว เมื่อพูดผิด ถานักเรียนกลาพูดกับชาวตางชาติสักหนึ่งประโยคก็ถือวาประสบ ความสําเร็จระดับหนึง่ แลว การจัดคาย สําหรับเด็กกลุมนี้ จึงพยายามใหเด็กเรียน ดวยความสนุกสนานเปนหลัก สอนเนือ ้ หาที่เด็กเขาใจไดงา ย ไมเครียด ผูเขียนนึกถึงวันแรกของคายในชวงพักครึ่งเชาหลังการเปดคาย มีนักศึกษาจาก วิทยาลัยแหงหนึ่งมาขอถอนตัวและขอคืนเงินคาสมัคร ถามกันไปมาก็เลาวาเพื่อน สามคนแอบหนีกลับบานไปกอนซะแลวเพราะเห็นเด็กนักเรียนตัวเล็กตัวนอย เด็ก มัธยมมากันเยอะ แตละคนดูจะเปนเด็กเรียนกันทั้งนั้น ภาษาอังกฤษของตัวเองก็ ไมดี กลววาถาตองพูดแลวพูดไมถูกตองก็จะอายเด็ก ๆ ครั้นจะมาขอยกเลิกกับ ทางผูจัดดวยตัวเองก็เกรงวาจะถูกดุและไมไดรับอนุญาต จึงแอบหนีกลับดื้อ ๆ ซะ อยางนั้น เจออยางนี้ บรรดาผูจ  ัดถึงกับอึง้ นักศึกษาโต ๆ ไมเปดโอกาสใหตัวเอง


ไดปรับทัศนคติเสียอีก!! ยังดีทรี่ ุนเด็กยังอยูกันครบและเยอะเกินเปาหมาย ทําใหมี ความหวังและกําลังใจลุยสรางทัศนคติใหไดตามวัตถุประสงคตอไป มุมมองทางวัฒนธรรมทีแ ่ ตกตาง เมื่อพูดถึง “ฝรั่ง” เรามักจะนึกถึงชาวตางชาติผว ิ ขาว ตัวสูงใหญ ดังนั้นจึงไมแปลก ที่จะไดยินอาจารย นักเรียน นักศึกษาที่มารวมคาย ถามคริแซนผูรบ ั ทุนฟุลไบรท ชาวอเมริกันซึ่งมีหนาตาละมายคลายคลึงกับคนไทยวา ทําไมจึงไมพูดภาษาไทย ทําไมพูดภาษาอังกฤษเกง หรือมาจากไหน ไดยินคริแซนอธิบายกับหลาย ๆ คน วา พอแมเปนพมาซึ่งไดยา ยถิ่นฐานไปอยูท  ี่อเมริกา ตัวเองจึงเกิดและโตทีน ่ ั่น แทนที่ชาวคายจะเขาใจ กลับกลายเปนวาคริแซนเปนตัวแทนของชาวพมาตาม ภาพลักษณที่มองเห็นเปนรูปธรรมไป คริแซนจึงไดรับการขอรองใหเตนรําแบบ พมาบาง ใหแสดงการทักทายแบบพมาบาง หรือใหรวมแสดงวัฒนธรรมแนวนี้ใน กิจกรรมอื่น ๆ อีก ประเด็นนี้ ขณะทีผ ่ ูเขียนมัวแตกลัววาคริแซนจะอึดอัดใจ เพราะ รู ๆ กันอยูวาเรือ ่ งของการแบงแยกสีผิวและเผาพันธุเปนเรื่องละเอียดออนนัก สําหรับคนอเมริกัน แตผูทอ ี่ ึดอัดใจกวากลับเปนแครี สาวอเมริกันอีกคนทีล ่ ุกมา สะกิดวา เราควรจะบอกอาจารยผูดําเนินกิจกรรมอยางไรดีเพื่อใหเขาปฏิบต ั ิตอค ริแซนในฐานะที่เปนชาวอเมริกันเชนเดียวกับตน เราจึงไดกระซิบขอใหอาจารย วิทยากรชวยลดดีกรีความเปนพมาของคิรแซนลงเสียหนอย และเปนไปตามคาด ...อาจารยผด ู ําเนินกิจกรรมของเราคงลืมนึกถึงประเด็นนี้ไป อาจารยดจ ู ะงุนงงสัก นิดกอนจะหัวเราะออกมาก

ทํานองวา

ออ!

เรื่องเทานี้เอง!

แนนอน...ไมใช

ความผิดของใครหรอก เปนเรือ ่ งของความตางทางวัฒนธรรมเทานัน ้ ผูเขียนจึงไดเรียนรูเพิ่มเติมวา เราคงตองมีการ “บอกเลาเกาสิบ” ใหผูเกี่ยวของทั้ง ผูจัดคาย และผูรับทุนของเราทราบถึง “ความเขาใจไปคนละทาง” ของชาวไทย และชาวอเมริกน ั ทั้งสองขางควรจะไดเขาใจวา คนไทยยังไมคอ  ยไดนึกถึงความ หลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรมมากนัก และควรไดเนนใหคนไทยทุกวัย รูวเรือ ่ งทํานองนี้ สําหรับตางชาติ หลาย ๆ ชาติคงไมใช “เรื่องเทานี้เอง” ฝรัง่ ไมไดพด ู ตรงไปซะทุกเรือ ่ ง อีกเรื่องหนึง่ ในคืนที่จด ั แคมปไฟ ผูเขาคาย ถูกแบงเปนกลุม  ยอยเพื่อนําเสนอการ แสดงเปนภาษาอังกฤษ กลุมละประมาณสิบนาที การแสดงละครสัน ้ ของกลุมที่หนึง่ จบลงดวยความงงงวยของฝรั่งและความสับสนของคนไทย อาจารยผูดาํ เนินงาน จึงประกาศกติกาขึ้นมาใหมทน ั ใดวา จะใหฝรั่งเปนผูตัดสิน คือ ถาพูด ภาษาอังกฤษแลวฝรัง่ ไมรูเรื่องจะตองแสดงใหม สองสาวฝรัง่ ฟุลไบรทพอรูตว ั เขา วาจะตองเปนผูต  ัดสินก็รส ู ึกลําบากใจขึน ้ มาทันที การแสดงของกลุมแรกผานไป


แลว ไมรูเรือ ่ ง จะบอกตรง ๆ ไดยังไง เรือ ่ งแบบนี้ ฝรัง่ ก็ฝรัง่ เถอะจะบอกกันตรง ๆ ไดยังไง ดีไมดีเด็กก็อุตสาหแสดง การทําใหเด็กและเยาวชนสูญเสียความมั่นใจ ในตัวเองไมใชวิถีอเมริกน ั ชนเอาเสียเลย ครั้นจะบอกวาเขาใจก็อธิบายไมไดวา เขาใจยังไง ปรึกษากันอยูครูห  นึ่ง ยังไงก็ตอ  งตอบวาเขาใจละ โชคดีทส ี่ องสาวมี ไหวพริบดีจึงเอาตัวรอดไดดว  ยการอธิบายขาง ๆ คู ๆ วาเห็นนักเรียนทําอะไรบาง เชน เตน รองเพลง ซึง่ ไมคอ  ยจะตรงวัตถุประสงคของอาจารยที่ใหประเมิน ทางดานภาษาเทาไร แตก็ผานมาได แตละกลุมผานการประเมินจากสองสาวดวย ความอึดอัดใจ แอบถอนหายใจโดยที่ผูดําเนินงานไมรู และในที่สด ุ แคมปไฟก็จบ ลงดวยความโลงใจของสองสาว คิด ๆ ดูก็สับสนดีแท บางเรือ ่ งเราพูดออมฝรั่งพูด ตรง บางเรื่องเราพูดตรงฝรั่งพูดออม นี่ก็...ความตางทางวัฒนธรรมอีกเหมือนกัน ในความรูสึกของฝรั่ง การใหกําลังใจแกผูเรียนและผูรว  มกิจกรรมเปนเรือ ่ งใหญ เราจึงมักไดยินคําชมหรือการใหกําลังใจในการตอบ และการแสดงออกของฝรั่ง อยูบอ  ยกวาทีจ ่ ะไดยินหรือไดเห็นในหองเรียนของไทย ยิ่งไดรับเชิญเปนแขก ฝรั่งยิ่งจะรูสึกระวัง ไมอยากพูดหรือประเมินตรงเกินไป เรื่องนี้เปนเรื่องที่ “ตองคิดตอ” อีกหลายประเด็นทีเดียว ตางแนวคิด ตางวัฒนธรรม เลือกนํามาใชใหเหมาะสม ในดานภาระงาน สองสาวอเมริกัน แครีและคริแซน ถึงแมจะรูส  ึกเหน็ดเหนื่อย เริ่ม ตั้งแตการเตรียมการสอน การเดินทาง การสอนนักเรียนตางระดับจํานวนมาก รวมถึงการปรับตัวใหเขากับการทํางานแบบไทย ๆ สภาพอากาศที่ไมคน ุ เคย และ อาหารการกินที่ไมสามารถจะเลือกได ก็ยังทําหนาทีอ ่ ยางตั้งใจ คนไทยเราเห็น สาวตางแดนทํางานเหงือ ่ ไหลไคลยอยก็อดที่จะถามถึงทุกขสข ุ ดวยความหวงใย ไมได ซึ่งก็มักจะไดรับคําตอบเปนรอยยิ้มและภาษาไทยสั้น ๆ วา “เหนื่อยแตสนุก” ทัศนคติในการเรียนรูแ  บบนีข ้ องคนอเมริกน ั และความเปนนักแสวงหา ทําใหนึก ถึงนักวิจัยอเมริกันคนหนึ่งที่ใหแงคิดวา ประสบการณใด ๆ ในโลกกวางใบนีเ้ ปน บทเรียนไดทงั้ นัน ้ ไมวา จะนายินดีหรือไมพงึ ปรารถนาแคไหน ก็ถอ ื วาเปนการ เรียนรูท  ด ี่ ไ ี ดเหมือนกัน ในบานเราถึงจะมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แตก็ยังไมชัดเจนเหมือนกับ ประเทศอเมริกาที่มีผค ู นจากหลายเชื้อชาติ มีความตางทางภาษา ประเพณี วิถี ชีวิต และแนวคิด อาศัยปนเปกันในสังคมจนเปนเรือ ่ งปกติ จึงเปนเรื่องธรรมดาอยู ที่คนในสังคมทีม ่ ีความหลากหลายทางวัฒนธรรมจะสามารถปรับตัว เปดใจและ เปดความรูสึกในการเรียนรูสงิ่ ใหมไดเร็วกวาสังคมที่ยงั มีความหลากหลาย


คอนขางนอย ฟุลไบรทจงึ ยินดีทจ ี่ ะมีสวนรวมในการสงเสริมการแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรม โดยใหความรวมมือในโครงการคายภาษาอังกฤษซึ่งนาจะมีสว  นชวย ใหผูคนปรับตัว ปรับใจ เตรียมรับกระแสการเคลือ ่ นยายของพลโลกที่จะขยาย กวางขึ้นไมเฉพาะเพียงแตในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทีว ่ ฒ ั นธรรมไมใชสงิ่ ทีห ่ ยุดนิง่ ตายตัว มีการเปลีย ่ นแปลงอยูต  ลอด การ แลกเปลีย ่ นวัฒนธรรม ซึง่ เปนการเรียนรูแ  นวคิด คานิยมทางสังคมของผูค  นใน วัฒนธรรมอืน ่ พรอมกับเผยแพรวฒ ั นธรรมของเราเองดวยนัน ้ ไมใชเรือ ่ งเสียหาย ถาเราจะเปดรับวัฒนธรรมจากภายนอก โดยทีย ่ งั คงรักษา “อัตลักษณ” คือความ เปนตัวตนของเราเอาไวดว  ย


Thais’

Generosity

Does

Not

Always

Please

Farangs42 Thitiwan Lertpiya Former Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Translated by Talisa Likanonsakul Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)

It has become common for Thais to hear foreigners share their appreciation of Thai values of generosity and thoughtfulness. However, looking from a different angle, there are times when farangs are uncomfortable with some Thai behaviors. It might not be surprising that this could happen within our Fulbright family. “He is overly trying to take care of me, so much that I have no

personal space.” This was written by an American grantee who was assigned to work with Thai lecturers at an institute in a rural area. A month’s time sounds like only a short period; however, for the American grantee from the Western United States, it was long enough to write a number of pages portraying her pleasant experiences and frustration.

42

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 2, November 2005


The story of the difficulty she experienced in adjusting to Thai culture began with excessive attempts from host teachers to take care of her by not letting her make her own decision or have her own space. Language is probably one of the main obstacles that prevent the two parties from understanding each other. However, the extreme differences between Thai and American cultural perspectives were obvious and often in conflict. While the host teachers tried to make the American grantee feel at home by paying a lot of attention and taking good care of her, the grantee made it clear that she preferred having her own space and time. She was okay to travel or do anything on her own just like when she was in the U.S. Well, just to clarify “doing on one’s own,” that means spending time doing stuff or traveling alone without needing someone else’s company. So now you may have an idea how fun she would be for her one-month stay in Thailand. After the first week in the country, she filled an A4 sheet, writing to us that she had no problem with the program’s tight schedule because she was willing to learn from the Thai teachers. The only problem was that they desired to join her for every meal and she had company at her place until late at night. The reason provided was it was not safe enough for farangs to live on their own in Thailand, especially for ladies. However, this reason did not make sense to the American grantee. She tried to explain to the host teachers she was fine on her own and she really needed some time to herself. Still, the teachers, who are “super nice,” persisted in taking care of her and keeping her company almost all the time.


In the letter, the grantee also made a sincere apology to us as she felt that her attempts to be clear with the host teachers had turned too straightforward. Also, she was not sure speaking her mind would be appropriate in Thai culture. Considering the situation, as a coordinator and facilitator, I supported her in saying that she be direct and clear to the host teachers. I also offered to call and explain to them the cultural difference. I pointed out that American females are able to be on their own and suggested that the host teachers let her manage her travel by herself and not worry if she gets lonely or homesick. Another story I found funny and cute is that our host teachers do not speak much, but would like to please their foreign guests so much that it confused and worried the American lady. One morning one of the host teachers went to pick her up from her place. He just told her to get in the car but did not say where they were heading to. After being on the road for about an hour, the teacher did not seem to pull over anywhere. She, then, asked him again where he was taking her to. Still, he did not respond but only said that she would know soon. The American grantee, though usually being fine on her own, started to be afraid of his intention and was hesitant to ask him to pull over. Fortunately, he finally pulled over before she lost her patience. Actually the teacher’s intention was to drive her around town to enjoy the views in the city. This trip ended with nice dinner at a popular Thai place. The whole experience totally panicked the female grantee; thus, she did not enjoy the food as much despite the great taste.


On the other hand, we sometimes feel very uncomfortable with American perspectives, especially their individualism and enjoying freedom, which I find slightly over the top. When one of the host teachers offered to drive her to Chiang Mai after she told them she wanted to enjoy

Northern Thailand before leaving for the U.S.

Definitely, she wanted to travel on her own. I guessed that the two parties had to communicate about this subject more than once until the teachers agreed to let her make a trip to Chiang Mai by herself. However, the fact she turned off her cellphone for the entire trip so she could fully enjoy her spacewas beyond reasonable. That was because if something had happened to her during the trip, how would we, as coordinators in Thailand, help her in time? The stories that reflect cultural differences between the American grantee and the host teachers who do not speak their mind definitely gave us lessons to learn and improve our program. It took almost the entire program for both parties to better understand each other. However, we were glad to be part of facilitating communication between the two, resulting in a budding friendship. The good relationship of the grantee and the host teachers are the absolute goal Fulbright Thailand would like to achieve even though it means we have to go through cultural barriers that could cause misunderstanding and frustration much of the time.


โอบออมอารีแบบไทย ๆ ใชวา จะถูกใจฝรัง่ ไปทุกอยาง43

ฐิติวรรณ เลิศปยะ อดีตเจาหนาที่ฝายผูรับทุนชาวไทย มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท)

ดูเหมือนเปนเรือ ่ งที่แสนจะธรรมดาสําหรับเราชาวฟุลไบรทไปเสียแลวเวลาไดยิน ชาวตางชาติบอกเลาถึงความซาบซึ้งใจตอความโอบออมอารี หรือความมีน้ําใจ ของคนไทยและคุณคาของวัฒนธรรมไทย แต...หากมีใครบอกเราวาในอีกดาน หนึ่ง ยังมีอีกหลายเรื่องที่ฝรัง่ มองวา สิ่งทีค ่ นไทยแสดงออกนั้น บางครั้งอาจทําให เขารูสึกอึดอัดใจอยูไมนอย ไมตองแปลกใจหรอกคะ มันเปนไปไดและเกิดขึ้นอยูบ  อยครัง้ ทีเดียว ครอบครัวฟุลไบรทแหงนี้ก็ตาม

แมแตใน

“เขาพยายามทีจ ่ ะดูแลฉันมากเกินไป จนฉันแทบจะไมมีความเปนสวนตัวเลย” คํา บอกเลาผานตัวหนังสือของผูร บ ั ทุนชาวอเมริกน ั คนหนึ่งใหขอ  มูลกับเรา เธอคนนี้ ไดรบ ั มอบหมายใหทํางานรวมกับอาจารยชาวไทยในสถาบันการศึกษาแหงหนึ่ง ในตางจังหวัด เวลากวาหนึ่งเดือนที่ฟง ดูแลวอาจเปนเพียงระยะเวลาสัน ้ ๆ แตสําหรับเธอคนนีซ ้ ึ่ง เปนสาวมั่นชาวอเมริกันจากรัฐที่อยูท  างตะวันตกของสหรัฐอเมริกาแลว เชือ ่ เถอะ วาชวงเวลานีน ้ านพอทีจ ่ ะทําใหเธอเขียนเลาความรูสึกทั้งดีและที่หงุดหงิดใจมาให เราไดอานกันเปนหนา ๆ เลยทีเดียว เรื่องราวความลําบากในการปรับตัวใหเขากับวัฒนธรรมไทยของเธอ เริ่มตนจาก ความรูสึกที่วา อาจารยที่เธอรวมงานดวยพยายามทีจ ่ ะดูแลเธอมากเกินไป โดยไม ปลอยใหเธอทําอะไรดวยตัวเอง หรือมีเวลาเปนสวนตัวบาง แนนอนวา ภาษาอาจ เปนอุปสรรคทีส ่ ําคัญอยางหนึง่ ที่ขวางกัน ้ การทําความเขาใจของทั้งสองฝาย แตก็ คงปฏิเสธไมไดวา งานนี้เราเห็นกันชัด ๆ วา ทั้งความเปนไทยที่เขมขนและความ เปนอเมริกันสุดโตงจูงมือกันออกมาทําหนาที่ของมันอยางเต็มที่

43

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 2, พฤศจิกายน 2548


ในขณะทีอ ่ าจารยเจาบานใหการดูแลแขกชาวอเมริกันผูซงึ่ มาเยือนประเทศไทย เปนครั้งแรกใหรูสึกอบอุนเหมือนอยูบา น สาวมั่นแดนลุงแซมของเรากลับตองการ มีเวลาเปนตัวของตัวเองอยางชัดเจน เพราะเธอพรอมที่จะไปไหนมาไหนหรือทํา อะไรดวยตัวเองเหมือนทีท ่ ํามาโดยตลอดเมือ ่ อยูที่ประเทศของเธอ ขอขยายนิดนึง วาการทําอะไรดวยตัวเองคือ การทําอะไรคนเดียวโดยไมตองมีใครตามมาเปน เพื่อน หรือโทรตาม แคนค ี้ งทําใหคุณพอมองเห็นแลววาชีวิตกวาหนึ่งเดือนของ เธอจะสนุกสนานอลเวงแคไหน เพียงสัปดาหแรก เธอเขียนมาบนกับเราเต็มหนากระดาษ A4 วาโปรแกรมแนน เอี้ยดตั้งแตเชาจรดเย็นนั้นไมมีปญหา เพราะตั้งใจจะมารวมมือและเรียนรูจาก อาจารยชาวไทย แตที่มีปญ  หาก็คือ การทีจ ่ ะตองทานอาหารรวมกันทุกมื้อ ทัง้ ยังมี คนมาอยูเปนเพือ ่ นคุยทีบ ่ านจนมืดค่ําทุกวัน จนเธอ (จําตองยอม) ลืมเรื่องการไป ไหนมาไหนคนเดียวไดเลย เหตุผลที่ไดคอ ื มันอันตรายเกินไปสําหรับฝรัง่ ทีม ่ าอยู เมืองไทยเปนครั้งแรก โดยเฉพาะผูหญิงยิง่ ไมควรจะไปไหนมาไหนคนเดียว เรื่อง กลัวนี้ยิ่งเปนเรือ ่ งที่สาวฝรัง่ รับไมไดเขาไปใหญ ไมวาเธอจะพยายามอธิบายแค ไหนวา เธอสามารถอยูค  นเดียวได และขอเวลาเธออยูค  นเดียวบาง อาจารยชาว ไทยที่แสนดีของเราก็ยังคงทําหนาที่เจาบานที่แสนดีเหมือนเดิมไมเปลี่ยนแปลง โดยการตามดูแลเธอไปทุกที่ ทุกวัน และอาจจะเปนทุกชัว ่ โมงถาทําได ผูรับทุนสาวของเราตองออกตัวขอโทษขอโพยกับเราเปนการใหญ เพราะเริ่มจะ รูสึกวาความพยายามที่จะทําใหเกิดความชัดเจนกับอาจารยเจาภาพนัน ้ เริ่ม กลายเปนการพูดที่ตรงจนเกินไป ซึง่ เธอเองก็ไมแนใจวาในสังคมไทยนัน ้ เปน เรื่องที่ไมเหมาะสมหรือไม เมื่อดูจากสภาพการณแลว ในฐานะที่เราทําหนาที่ ประสานงานและเสริมความเขาใจอันดีระหวางผูเขาโครงการ เรายังยืนยันใหเธอ พูดกับอาจารยเจาภาพใหชด ั ตรงถึงความตองการของเธอ และเสนอวา เราเองจะ โทรศัพทไปอธิบายใหทานเขาใจถึงความแตกตางทางวัฒนธรรมเรือ ่ งนี้ เราจึงได คุยย้ําใหอาจารยเขาใจวาผูหญิงอเมริกันเกงจะตาย ไมตองเปนหวงเลยนะคะ เขา อยากไปไหนก็ใหเขาไปเถอะ เขาดูแลตัวเองได และไมตองกลัวเขาเหงาหรือ คิดถึงบานหรอก เขาอยูได อีกเรื่องหนึง่ ทีค ่ อ  นขางนาขําแกมนารักคือ ความที่อาจารยชาวไทยของเรานั้น เปนคนทีพ ่ ูดนอย แตก็อยากจะเอาใจแขกตางชาติของตัวเองเสียเหลือเกิน บางครั้งก็สรางความงุนงงใหสาวนอยของเราเพิ่มขึ้น เรือ ่ งมีอยูว  าเชาวันหนึ่ง อาจารยเจาประจําทานนี้ขบ ั รถมารับแขกตางเมืองทีบ ่ านพัก ทานเรียกใหแขก ของทานขึ้นรถโดยทีไ ่ มพูดพร่าํ ทําเพลงอะไรสักอยางวาจะไปทําอะไรหรือไปไหน


ถามอะไรก็ไมพด ู บอกแตใหขน ึ้ รถ ขางสาวนอยของเราก็ไมกลาปฏิเสธ เอา! ขึ้นก็ ขึ้น พอขับรถไปไดสักประมาณเกือบชัว ่ โมง ก็ยังไมมีวี่แวววาอาจารยจะจอด ถาม ก็ไมตอบวาจะไปไหน บอกแตวาเดี๋ยวก็รู สาวฝรั่งของเรา ถึงแมจะกลาหาญชาญ ชัยแคไหนก็ชักจะเริ่มกลัว ครัน ้ จะบอกใหจอดก็กระไรอยู โชคยังดีที่รถจอดกอนที่ เธอจะหมดความอดทน สรุปแลว อาจารยตองการพาเธอมานัง่ รถเลน ชม บรรยากาศรอบ ๆ เมืองที่เธอไปอยู แลวจบลงดวยอาหารไทยรานอรอยที่อยากจะ ใหเธอไดลองชิมดู เลนเอาแขกตางชาติของเราลุนจนตัวโกง อาหารรานอรอยก็ เลยกลายเปนกรอยไปโดยไมไดตั้งใจ มองอีกดาน ก็ยังมีอยูบ  างเรือ ่ งที่แมแตเราเอง ก็ยงั อดหนักใจกับความคิดแบบ อเมริกันไมได โดยเฉพาะในเรื่องความเปนตัวของตัวเองและรักอิสระทีอ ่ าจจะดู เกินไปบาง เรื่องเกิดขึ้นตอนอาจารยเจาภาพขออาสาทีจ ่ ะขับรถไปสงเธอถึง เชียงใหม หลังจากที่เธอบอกวาอยากเดินทางไปทองเที่ยวชมความงดงามของ ภาคเหนือของไทยกอนจะกลับบาน และแนนอนวาเธอตองการตามลําพัง เราเดา ไดเกือบจะทันทีวา ทัง้ สองคนคงตองใชเวลาคุยกันมากกวาหนึ่งครัง้ แนนอน กวา จะเปนอันตกลงวาสาวมั่นของเราสามารถไปเชียงใหมคนเดียวได สิง่ ที่เราคิดวา อาจจะดูเกินกวาเหตุก็คือ การที่เธอปดโทรศัพทมอ ื ถือของเธอตลอดการเดินทาง เพียงเพื่อตองการใชเวลาสวนตัวอยางเต็มที่ ลองคิดดูสว ิ า ถามีอะไรผิดปกติเกิด ขึ้นกับเธอระหวางเดินทาง เราในฐานะผูดูแลความเปนอยูของเธอในประเทศไทย จะชวยเหลือเธอไดอยางไร เรื่องราวระหวางผูรบ ั ทุนชาวอเมริกันจากแดนลุงแซมกับอาจารยพูดนอยนี้ เปน กรณีตัวอยางของความแตกตางทางวัฒนธรรมที่นา สนใจและนานํามาปรับใชเพื่อ การพัฒนาโครงการตอไป สําหรับทั้งสองคน กวาจะเขาใจกันได เวลาก็ผา นไป จนเกือบจะถึงเวลาที่อีกฝายตองกลับบาน อยางไรก็ตาม พวกเราก็ยังดีใจที่เราได มีสวนชวยเหลือใหเกิดมิตรภาพในทายทีส ่ ุด และแนนอนวามิตรภาพระหวางคน ทั้งสองประเทศคือเปาหมายสูงสุดทีฟ ่ ุลไบรทตอ  งการไปใหถึง แมวาจะตองเหงื่อ ตก หงุดหงิดจนน้ําตาซึมกันบาง


How to Enjoy Your Fulbright Experience and Thai Culture44 Mark G. Robson, Ph.D. 2004 Fulbright U.S. Specialist Program From New Jersey Agricultural Experiment Station, Rutgers University @ Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University

I have been fortunate in my twenty five-years as a health scientist to work in many international settings. When I first started I was fairly young and inexperienced. Over the years, I finally realized that in most cases the cultures and institutions I worked in had been in existence for hundreds of years longer than my own, and that the richness and diversity of the host institution is really what made the experience more fulfilling. I have been asked to share a few experiences in this brief article with you. Let me be very clear that while I am candid in my comments, in no way are they meant to be disrespectful or condescending. My experiences have been remarkable and wonderful; I continue to work in these countries and hope to for a very long time. I made the changes and I just want to tell you how and why. In 2005 I was fortunate enough to be a Fulbright Senior Specialist in Thailand at Prince of Songkla University (PSU) in Hat Yai, Songkhla Province. Originally the assignment was designed to work with PSU to set up a Center for Risk Assessment and Public Health, the Tsunami of December 2004

44

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 3, December 2006


changed the assignment to include some post-tsunami environmental assessment. TIME Americans as a rule are very impatient. In Asian countries being impatient simply will not work. The only notable exception is when I teach my graduate course at Chulalongkorn, there I do not accept “Thai Time� something the students and I have a little fun with. Classes are 9 AM to 12 Noon and I start promptly at9 AM, usually on day two of the course a brief but straightforward quiz on the previous day’s lecture will almost guarantee an on time start for the rest of the course. It is simply standard practice to arrive almost too late to the airport or other places where one would normally leave in plenty of time. I simply tell them my flight is earlier than it really is; no harm, no foul. Meals are very serious events, rushing meals, even if you are very late is not standard practice. EATING Asian cuisine is exciting, flavorful, and delicious. Other than an occasional chili pepper problem where things are spiced too hot, I have had no real problems. Common sense needs to be applied. I never eat off the street. I never use ice cubes. I request bottled water unless I am in a location, like a very expensive restaurant, where I know the water is purified. I usually let my Thai hosts order and I try to sample everything. Not eating a particular dish can cause hurt feelings or even insult so it is


best to try a little of everything. I have weight problems and I have been losing weight. My Thai hosts and students have noticed this and have tried to accommodate me. Typically I send the leftovers home with the students to enjoy at another time. THE THAI ROYAL FAMILY The Thai Royal Family is highly revered by the Thai people. His Royal Highness the King has been on the throne for over sixty years. He has been a constant source of inspiration and guidance for the Thai people. The Royal Family must always be regarded with respect. GESTURES Asian people are usually rather conservative. Now, after all these years some old friends who trained in Europe or the US will offer a small hug but in general the handshake is the best way to go. Thai people have a beautiful tradition of using the wai, a polite bow with hand clasped. Typically students will do this to faculty, younger to older, and so on. It is a beautiful custom, but should not be overdone. In governmental or business settings, especially with a foreigner, Thais like to shake hands. If the entire group is Thai then everyone wais as a greeting. I use this gesture when I know the individuals and they are in position that deserves respect. VISITING TEMPLES AND OTHER SACRED PLACES Most Thai people are Buddhist. The Buddhist tradition is a beautiful and rich religion. When traveling with my students we often “stop in at a temple�, I follow the required custom of removing my shoes, keeping


fairly quiet, and making certain not to point my feet towards the Buddha image. Pointing ones feet towards the image is very disrespectful and very offensive. I enjoy the beauty and surroundings but I would not offend as trying to “look or act” Buddhist. I am Catholic, and I appreciate my religion and appreciate others, but I try not to imitate my hosts, I will, however, put some coins in the donation box for the good work being carried out by the monks. Loud talking is considered very impolite and offensive. I have taken colleagues as visitors with me in recent years and even when they were enthusiastic about something I suggested to them that they should lower the volume a bit. Loud talking is the fastest way to offend and lose your colleague’s attention. HOW TO KNOW IF YOU MADE YOUR POINT Thai people will handle disagreement a couple of ways. None of them direct. One way is to simply not respond. When we have had ideas and plans to work on something, my Thai colleagues will not say they do not like the idea. Instead, they will simply never respond or provide the information you have requested. Another option is to supply you with what they want, which may be completely different from the requested information; this is the Thai way of telling you they disagree. I have left thinking I had everything in place, only to come back six months later and see nothing has progressed. The reason for this is that they never wanted to do this in the first place, but they did not want to offend me. Consequently, they said yes and then did nothing.


This is probably the toughest part to work around. Thinking you have a plan, thinking you have agreement, and never knowing what the result is. Thai people respect and respond to superiors. If you feel strongly about something, you need to buy in from the higher level faculty or agency people, and then you will get results and movement, assuming of course that it is what they want, too. HOLIDAYS Thai people take their holidays, and other people’s holidays seriously. An example is my Fulbright Senior Specialist assignment which I had planned for a year and had arranged my calendar at my home university and had everything place. Two weeks before it was time to come to Hat Yai, Thailand, I got an e-mail saying that the dates I had chosen conflicted with the Chinese New Year and perhaps we should reschedule the month long visit. I made it clear that this was not going to happen. I went, I worked with people who did not celebrate the Chinese New Year, and started the other projects when the other folks returned. More recently, I had moved a lot of things around to accommodate a Ph.D. exam for a Thai student. One week before I was to arrive in Bangkok the Thai faculty member from another university decided to travel and wanted to push the exam up to the week before I arrived. That was the only time in recent memory that I really reacted strongly and in an angry tone. The mood when I arrived was a bit somber, but we all got past that. Schedule changes are not a big issue in Thailand; they are in the rest of the world.


WHO PAYS THE BILL I prefer to pay for everything when I come to Thailand. At times I will accept a dinner from a high level university person, but I always cover the costs of the meals when I dine or travel with the students or junior faculty. Thai food is not only delicious; it is a great bargain and a good value. I always make it clear that I prefer to pay. Only in selected circumstances, say with a Dean or Department Chair, do I let someone else collect and pay the bill. There are also circumstances where someone may offer to pay for themselves and one other person but this can be awkward. It is good to either pay the entire bill, or establish that each person pay their own. This is particularly important when there is a mix of senior and junior faculty or staff present. There is a tendency for the junior folks to pick up the check and typically they are the least able to afford this. SCIENTIFIC ISSUES My experience is that the scientists are well trained and competent. There are occasions when, especially as an outsider, I do disagree with a research design, a thesis outcome, or the way an analysis is performed, etc. I have the advantage of being rather senior as a full professor and director at my home university. That status counts for a great deal in the eyes of my Thai colleagues. My main goal has always been to protect the interests of the student or junior faculty member. When Thai academics disagree, it is one of the rare occasions when a foreigner will see Thais openly disagree in public with an outsider around. In these instances, I find myself needing to step in and provide


my assessment. Otherwise the real casualty will be the student or the lecturer. WHEN IN ROME… After fighting the system, sending dozens of e-mails, worrying about all the little stuff, I have finally decided I needed to change. This is a wonderful country. The students are among the best I have worked with here and at home, and the kindness and generosity of the people are remarkable. Without question there are times, especially on long trips, when I want to scream; but then I see the research that my colleagues are doing, or the progress a student has made since the last visit, or an opportunity to start a new project, and I realize that this is a good place to work and to do research. Education and educators are highly respected, not necessarily over-paid, but education has a high value to all members of society. The uniqueness and beauty of the Thai culture, music, history, food, and religion make this a highly desirable assignment. Watch and learn from the Thai people; they have been doing this for the last 5,000 years and with a very high success rate. Avoid being “the ugly American”. Cheat a little, like I do, and go to Starbucks if you want a taste of home, but try and appreciate all that is available for your experience. Remember ….Mai pen rai…it doesn’t matter.


เราควรจะเก็บเกี่ยวประสบการณและวัฒนธรรมไทยจาก Fulbright อยางไร45 ดร. มารค จี ร็อบสัน 2004 Fulbright U.S. Specialist Program University of Medicine & Dentistry of New Jersey @ คณะการจัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร แปลและเรียบเรียงโดย วีรินทร ชัยอริยะกุล, อาจารยประจําคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2006 Foreign Language Teaching Assistantship Program @ University of Hawaii, Manoa

ผมรูสึ ก วา ตั ว ผมเองเป น ผูโ ชคดี ค นหนึ่ ง ในฐานะที่ ทํา งานเปน นั กวิ ท ยาศาสตร สุขภาพ เปนเวลานานถึงยี่สิบหาป และไดไปทํางานในหลายประเทศ เมื่อแรกเริ่ม งานผมคอนขางจะเปนหนุมและออนประสบการณ พอทํางานหลายปเขา ผมก็ได ประจักษวา ในหลาย ๆ แหงที่ผมไปทํางาน ทั้งสถาบัน และวัฒนธรรมเหลานั้นมี อายุนานเปนรอย ๆ ป มากกวาอายุผมเสียอีก ความรุงเรืองและความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมและสถาบันเหลานั้นไดมอบประสบการณใหผมอยางเต็มเปยม ผมไดรับการขอรองใหแบงปนประสบการณเหลานั้นสักเล็กนอยในบทความสั้น ๆ นี้ ขอใหผมอธิบายกอนวา ผมใหขอมูลอยางตรงไปตรงมา ไมไดตั้งใจจะลบหลู ใครหรือถอมตัว ประสบการณของผมเปนประสบการณที่สุดยอดและเยี่ยมจริง ๆ ผมไดทํางานในประเทศเหลานี้อยางตอเนื่อง ผมไดเปลี่ยนแปลงตัวเองมากมาย และผมก็อยากจะบอกกับคุณวาผมเปลี่ยนแปลงตัวเองอยางไร และทําไมจึงตอง เปลี่ยน ในป พ.ศ.2548 ผมเปน ผูโชคดีไดรับทุน ฟุลไบรทใหม าประเทศไทย ที่ มหาวิท ยาลัยสงขลานครินทร วิท ยาเขตหาดใหญ จังหวัดสงขลา ครั้งแรกงาน ของผมคือทํางานรวมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเพื่อตั้งศูนยประเมินความ เสียหาย และสาธารณสุข (Center for Risk Assessment and Public Health) แต เ หตุ ก ารณ สึ น ามิ เ มื่ อ ป 2547 ได ทํ า ให ท างศู น ย เ พิ่ ม งานด า นการประเมิ น สิ่งแวดลอมหลังสึนามิเขาไปดวย

45

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 3, ธันวาคม 2549


เวลา (Time) คนอเมริกันไมคอยจะอดทนตอกฎเกณฑตาง ๆ แตในหลายประเทศในเอเชียถา คุณเปนคนไมอดทนก็จะอยูลําบาก จากประสบการณที่เห็นไดชัดก็คือ เมื่อครั้งผม สอนนิสิตปริญญาโทที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผมรับไมไดกับการไมรักษาเวลา แบบไทย ๆ ซึ่งเปนเรื่องฮาเล็กนอยสําหรับผมและนิสิต เวลาเรียนเริ่มเกาโมงเชา ถึงเที่ยงวัน และผมก็จะเริ่มตรงเวลาทุกครั้ง และในวันที่สองของวิชาที่ผมสอน ผม จะใหนิสิตทําแบบทดสอบสั้น ๆ เกี่ยวกับบทเรียนที่ผานมา วิธีนี้จะทําใหนิสิตเขา เรียนตรงเวลาตลอดเทอม การรับประทาน (Eating) อาหารของคนเอเชี ย เป น อะไรที่ น า ตื่ น เตน มี ร สชาติ ดี และอร อ ย ผมไม ค อ ยมี ป ญ หาเรื่ อ งอาหาร นอกจากบางครั้ ง จะเจอพริ ก เผ็ ด ๆ ในอาหาร ผมจะใช วิจ ารณญาณในการหาที่รับ ประทาน คื อ ผมจะไมท านอาหารขางถนน ไมท าน น้ําแข็ง ดื่มแตน้ําขวด นอกจากผมจะอยูในรานอาหารแพง ๆ ที่แนใจวาเขาใชน้ํา สะอาดเสิรฟแขก ผมมักจะใหเพื่อนคนไทยเปนผูสั่งอาหาร และผมก็จะชิมทุกจาน การเลี่ยงไมทาน อาหารจานใดจานหนึ่ง อาจทํารายความรูสึกหรืออาจถือไดวาดูถูกเจาภาพ ผมจึง ใชวิธีชิมทุกอยา ง แตอยางละเล็กนอย ผมมีปญหาเรื่อ งน้ํา หนัก และน้ําหนักผม ลดลง ทําใหเพื่อนคนไทยและนิสิตของผมเปนหวงเมื่อเขาสังเกตเห็นน้ําหนักผม ลด พวกเขาก็เลยพยายามจะขุนผมใหอวน เวลาไปทานอาหาร ถาอาหารเหลือ ผมก็จะใหทางรานหอใหนิสิตเอากลับบาน ราชวงศไทย (The Thai Royal Family) ราชวงศไทย เปน ที่เคารพนับถือ ของคนไทยทั้ง หลายมาก พระบาทสมเด็จ พระ เจาอยูหัว ทรงครองราชยยาวนานมากกวาหกสิบป พระองคทรงเปนแรงบันดาล ใจและทรงเปนผูชี้แนะหลาย ๆ สิ่งใหแกปวงชนชาวไทย กริยามารยาท (Gesture) คนเอเชียสวนใหญจะเปนคนหัวเกา แตปจจุบันคนบางคนที่เคยไปเรียนที่ยุโรป หรืออเมริกาก็จะสวมกอดกัน หรือไมก็จับมือกัน แตคนไทยจะมีประเพณีที่สวยงาม นั่นคือ การไหว


การไหว นี้ เด็ ก นัก เรีย น นัก ศึ ก ษา จะไหวค รู บ าอาจารย ผู อ อ นอาวุโ สจะไหว ผู อาวุโสกวา แตในวงการราชการหรือธุรกิจ โดยเฉพาะกับชาวตางชาติ คนไทย เลือกที่จะจับมือมากกวา แตถาในกลุมคนไทยดวยกัน เขาก็จะใชวิธีไหวเพื่อแสดง การทักทาย ผมไหวคนที่รูจักเปนการสวนตัว และเขาอยูในฐานะที่สมควรแกการ ไหว สํา หรับการไปวัดและเยี่ยมชมสถานที่ศักดิ์สิท ธิ์ คนไทยสว นใหญนับถือศาสนา พุทธ ประเพณีชาวพุทธเปนประเพณีที่งดงาม และรุงเรืองมาก เมื่อผมเดินทางไปที่ ตาง ๆ กับพวกนักศึกษาเรามักจะแวะวัดตาง ๆ และผมก็จะทําตามประเพณีไทย คือ ถอดรองเทา ไมทําเสียงดังในวัด ไมหันเทาไปทางพระพุทธรูป เพราะการหัน เทาไปทางพระพุทธรูปเปนการแสดงความไมเคารพพระพุทธรูป จึงเปนกริยาที่ไม ควรทํา ผมชอบบรรยากาศและสิ่งแวดลอมของวัด ผมนักถือคาทอลิก ผมซาบซึ้ง ในศาสนาของผม และศาสนาอื่น ๆ ดวย เมื่อผมไปวัด ผมก็มักจะหยอดเหรียญลง ในตูรับบริจาค การพูดเสียงดังเปนกริยาที่ไมสุภาพจึงไมควรทํา เมื่อผมพาเพื่อน ๆ ไปไหน ๆ ถา เขาเห็นอะไรเปนที่หนาตื่นเตน ผมจะบอกใหพวกเขาหรี่เสียงลงบาง คุณจะรูไดอยางไรวา สิ่งที่คุณพูดออกไปคนอื่นเขาใจกระจางชัด คนไทยจะมีวิธีแสดงความไมเห็นดวยกับขอขัดแยงอยูสองทางคือ ทางหนึ่งคือ ไม แสดงกริ ยาโตต อบ ถ า เราตอ งทํา งานที่ ตอ งแสดงแผนงานหรื อ ความคิ ด เพื่ อ น รวมงานคนไทย ถาเขาไมชอบใจความคิดของเรา เขาจะไมพูดออกมาตรง ๆ แต เขาจะเงียบ และไมใหความคิดเห็นใด ๆ ทั้งสิ้น อีกวิธีหนึ่งที่จะบอกวาเขาไมเห็น ดวยกับคุณคือ เขาจะทําตามแบบของเขาซึ่งอาจจะแตกตางจากของคุณ ตัวอยาง อัน หนึ่ ง ก็ คื อ ผมคิ ด ว า ทุ กอย า งเราตกลงกั น ลงตั ว แล ว ผมก็ จ ากไปหกเดื อ น พอ กลับมาทุกอยางเหมือนเดิม ไมมีอะไรคืบหนา เหตุผลก็คือ เขาไมชอบตั้งแตแรก แตเขาไมกลาบอกผม กลัวผมจะคัดคาน เขาก็เลยไมทําตามที่ผมบอก สิ่ ง นี้ เ ป น สิ่ ง ที่ ย ากที่ สุ ด ในการทํ า งานของผม คิ ด ดู ซิ ว า เรามี แ ผนงาน เรามี ขอตกลง แตเราไมรูวาผลลัพธจะออกมาเปนอยางไร คนไทยนับถือผูอาวุโสมาก ถาคุณตองการอะไรจริง ๆ คุณตองบอกผูอาวุโสใหเขาสั่งการจึงจะไดผล วันหยุด คนไทยจะถือวาวันหยุดของไทย และของคนอื่นสําคัญมาก ยกตัวอยางเชน ผม ได รั บ มอบหมายงานจากผู เ ชี่ ย วชาญฟู ล ไบรท รุ น พี่ และผมก็ ไ ด ก ะแผนการ


ลวงหนาเปนป แตอีกสองอาทิตยจะถึงเวลาไปหาดใหญ ผมก็ไดรับอีเมลวาวันที่ ผมเลือกจะไปทํางานนั้นตรงกับวันตรุษจีนจึงขอเลื่อนไป แตผมบอกไปวาผมไม ยอม อยางไรก็ตามผมไมยอมลมเลิกแผนการ ผมไปทํางานตามเวลาที่ผมแพลนไวกับ คนที่ไมไปฉลองตรุษจีน อีกครั้งหนึ่งเมื่อไมนานมานี้ ผมไดจัดสอบใหกับนักศึกษา ปริ ญ ญาเอกคนไทย แต พ ออี ก หนึ่ ง สั ป ดาห ก อ นที่ ผ มจะมากรุ ง เทพฯ มี พ วก คณาจารยจากสถาบันอื่นจะเดินทางไปเที่ยวกัน จึงขอเลื่อนเวลาสอบเขามาอีก อาทิ ต ย ห นึ่ ง ผมจํ า ได ว า ผมมี ป ฏิ กิ ริ ย าโต ต อบแบบโกรธมาก จะเห็ น ได ว า การ เปลี่ยนแปลงเวลาไมใชเรื่องใหญสําหรับคนไทย ใครจะเปนผูจายเงินเวลาไปทานอาหาร ถึงผมยินดีรับผิดชอบคาใชจายในประเทศไทยของผมเอง แตถาผูบริหารจะเลี้ยง ผมก็ตองยอม ถาผมไปกับนักศึกษา หรือพวกอาจารยเด็ก ๆ ผมก็จะเปนฝายจาย อาหารไทยมิใชแตเพียงอรอยเทานั้น แตยังถูก และเต็มไปดวยคุณคาทางอาหาร อีกดวย บางครั้ ง ก็ จ ะมี ส ถานการณ ที่ ค นใดคนหนึ่ ง เสนอที่ จ ะจ า ยค า อาหารให แ ก ค น ทั้งหมด แตก็ดูแปลก ๆ ทางที่ดีคือจะจายทั้งหมดก็ได หรือตางคนตางจายก็ดี บาง ทีเวลาไปทานอาหารมีทั้งผูอาวุโส และผูออนอาวุโสไปดวยกัน แตผูออนอาวุโส มักจะไมสามารถจายทั้งหมดได เรื่องเกี่ยวกับทางวิทยาศาสตร จากประสบการณของผม นักวิทยาศาสตรไทยเกงมาก และไดรับการฝกฝนมา เปนอยางดี แตก็มีบางครั้งเหมือนกันที่คนนอกอยางผมไมคอยจะเห็นดวยกับการ ออกแบบการวิ จั ย และผลของวิ ท ยานิ พ นธ หรื อ การวิ เ คราะห ต า ง ๆ ผมมี ข อ ได เ ปรี ย บจากการที่ เ ป น ผู มี คุ ณ วุ ฒิ เ นื่ อ งจากผมเป น อาจารย ป ระจํ า และเป น ผูอํา นวยการที่ม หาวิท ยาลัยในประเทศของผม และสําหรับ คนไทยมันเปน สิ่ง ที่ นาเชื่อถือมาก เปาหมายหลักของผมคือการปกปองสิ่งที่นักศึกษาและผูรวมงานให ความสําคัญเสมอ เมื่อนักวิชาการไทยมีความคิดเห็นขัดแยงกัน ซึ่งเปนเพียงไมกี่ครั้งที่ชาวตางชาติ จะไดเห็นคนไทยแสดงความไมเห็นดวยอยางเปดเผยในที่สาธารณะที่มีคนนอก อยู ด ว ย บางครั้ ง ผมก็ ต อ งเข า ไปร ว มแสดงความคิ ด เห็ น ด ว ย มิ เ ช น นั้ น ความ เสียหายอาจเกิดขึ้นกับนักศึกษาและอาจารยทานอื่น ๆ


เมื่ออยูในโรมใหทําตามคนโรมัน (เขาเมืองตาหลิ่ว ใหหลิ่วตาตาม) หลังจากที่ตอสูกับระบบสงอีเมลเปนโหล ๆ เปนกังวลกับเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ในที่สุด ผมก็ตัดสินใจเปลี่ยนแปลงตัวเอง ประเทศไทยเปนประเทศที่ดีทีเดียว นักศึกษาที่ ผมสัมผัสไดเปนนักศึกษาที่ดีที่สุดเทาที่ผมเคยสอนมา คนไทยก็เปนผูที่มีความเอื้อ อารีมาก มีบางครั้งเหมือนกันโดยเฉพาะในระหวางเดินทางไกล ๆ ที่ผมอยากจะ รองออกมาดัง ๆ แตพอไดเห็นผลงานวิจัยของเพื่อนรวมงาน หรือความกาวหนา ของนักศึกษา หรือ โอกาสที่จะเริ่มทําโครงการใหม ๆ ผมก็ตระหนักวาไทยเปน ประเทศที่วิเศษที่สุดที่จะทํางาน หรือทําวิจัย คนที่นี่ใหความสําคัญกับการศึกษา และนั ก การศึ ก ษามาก ค า ใช จา ยสํ า หรั บ การศึ ก ษาก็ ไ ม ไ ด แพงอะไรเท า ไร แต การศึกษาถือเปนสิ่งที่มีคามากในสังคมไทย ความมีเอกลักษณ ความสวยงามของ ประเพณีไทย ดนตรี ประวัติศาสตร อาหาร และศาสนา ทําใหการมาครั้งนี้ของผม นาสนใจยิ่ง ผมขอแนะนําใหคุณลองสังเกตและเรียนรูจากคนไทยในสิ่งที่พวกเขา ทําตอ ๆ กันมากวา 50,000 ป หลีกเลี่ยงการทําตัวแบบอเมริกันที่นาเกลียด อาจจะ ใชเทคนิคเล็ก ๆ นอย ๆ บางอยางที่ผมเคยทํา เวลาคิดถึงบานก็เดินเขารานสตาร บัคส ทั้งนี้ทั้งนั้น ขอใหคุณพยายามซาบซึ้งในสิ่งดี ๆ จากประสบการณของคุณ จําไววา “ไมเปนไร”..ไมเปนไร


Q&A with an English Teaching Assistant46 Katie Oreskovich 2007 English Teaching Assistantship Program @ Warin Chamrab School, Ubon Ratchathani

Nong Katie is assigned to help teach conversational English in a school in Ubon Ratchathani, a northeastern province of Thailand. This is under a project entitled, ‘English Language Teaching Assistantship – ETA’. She shared with us her experiences through the Q&A below. You’ve been in Thailand for well – over a month. How would you describe your experience thus far? I have been in Thailand for exactly seven weeks today, more than doubling the amount of time I have spent abroad up to this point in my life. The only way to describe my experience thus far, very generally, is like a roller coaster. One can basically know what to expect on days in the U.S. There is never a major question about what is in store for the day. That is not the case here. The Fulbright people told us during the training, “Expect the unexpected.” I cannot stress how important this is and how I really have to carry this within me as an actual mindset. There are good days here where everything I touch turns to gold. I can bargain with the tuk tuk (three wheeled taxi) drivers, order my food in Thai, stay busy, and enjoy my surroundings. There are other days when it feels like I have forgotten all the Thai I know, everyone is staring at

46

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 4, December 2007


me, and I can’t get anything right. The little things I take for granted become monumental chores here. Finding food is usually a big struggle. Is it safe to eat? Is it spicy? Do I need a gallon of water to drink with it? Is it a fish with bones in it? Is it a pork ball, a fish ball, or some other substance? Do I eat it with chopsticks, a fork and spoon, or a combination of the two? In Bangkok sometimes I would just give up and eat instant noodles or find Western food in Siam Paragon, the huge department store. I cannot do that anymore here in Ubon; there is much less Western food here! The best I can do is to eat peanut butter and jelly from the grocery store, fruit, and instant noodles. Overall though, I think that The Thai people are really welcoming as a people. I would immediately get discounts when I would say I was an English teacher in Bangkok. I have heard on more than one occasion. “I’m glad that you’re here. Thais need to learn English.” There is not a pervasive hostility here toward foreigners like there is in some parts of the world. Tourism is a big industry for the Thais, and I think they like foreigners and the money they bring into the country. There are good days and bad days here, but definitely more good than bad. The only things that you can always count on are that usually you will be surprised and every day is a new adventure. Give us an example of your typical day. Daily life in Bangkok consisted of Thai language instruction in the morning at Chulalongkorn University (the oldest and one of the most prestigious universities in Thailand), some kind of lesson or teaching


practicum in the afternoons, lunch at the university cafeteria in between, and dinners were always an adventure. What kind of food do you want? How do we get there‌by taxi, tuk tuk, walking, or BTS (Bangkok Transportation System)? Then it was either hanging out with friends at the dorm, on the computer, or going to find something to do in Bangkok whether it was shopping, a movie, or whatever else we could think of. On the weekends, I tried to do the touristy things as much as my stomach would allow (Some Westerners really don’t know how to behave here and it makes me sick). I saw Wat Pra Kaew and the Grand Palace, Wat Pho, and Wat Arun. (Wat means temple in Thai). I also went to the Jim Thompson House, ate at cool places on Sukhumvit Road, and braved the incessant crowds at Jatujak Market (known locally as JJ market), which is thought to be one of the biggest, if not the biggest, outdoor markets in the world. On more mundane life, I would wash my laundry once a week and hang it outside on my balcony to dry. I thought it was an inconvenience just because we did not have a dryer. I could have a warm shower in my room whenever I needed one. Maids came into our dorm rooms, gave us fresh towels, made our beds, and cleaned every day. Things are completely different here in Ubon. I wake up much earlier, teach during the day, then Maricel (my Filipino roommate) and I scramble into Ubon on a song-taeo, which functions as a bus but is a pickup truck with benches and a metal frame around it. They stop running at 6 pm, so when we have to do a lot of shopping, we take at


least 35 minutes by song-taeo. I have not yet timed it. That is a minimum time depending on how long we have to wait for the right one! I have to wash my clothes by hand, hang them on the line to dry, and I have a squat toilet and a series of buckets and a faucet for a shower. I usually get soap in my eyes before it’s all over. I am just glad that I can heat a pitcher of water to mix in with the cold. Sometimes I eat lunch in the office with the teachers and was mortified the first time I ate sticky rice with them as they dished it out onto my plate with their bare hands then ate it the same way. More often, I eat lunch at my house which consists of peanut butter, jelly, instant tom yam gung, and fruit. Like I said before, everyday is an adventure. I teach 13 hours a week for nine different classes. There are between 25-37 students in all of my classes. I am finding it impossible to learn their names. These names are so foreign to my Western ears! I have just now mastered the names of the teachers in the English department: Ajarn Nongyao, Tirathaya, Lakkana, Nittayaporn, Jintana, Praneewan, Prapatsorn, Anchalee, Maneesaeng, and Tumkaew. How are you adjusting to living so far from home? How do you deal with missing your family and friends? A Fulbrighter spoke to us, myself and the nine other ETAs, in Bangkok about living and adjusting in Thailand. He rambled on about many things, but the theme of his talk was, “This is Thailand�. My friend and I have since shortened it to T.I.T! Gecko lizards, cockroaches, mosquitoes, and spiders? T.I.T! By reminding myself that, indeed, I am not in American and I should not have American expectations has been


the best way to adjust. It sounds silly, but it has really worked for me. If I have no expectations, I am usually pleasantly surprised. It also helps me to reserve judgment on a culture that is not my own. Sometimes I do not deal well with missing my family and friends. No matter how difficult my physical environment may be, the homesickness is always worse. Globalization and technology really have made the world smaller, and for my own convenience, I am grateful for this. I brought my laptop with me to Thailand and have used it more than anything else I think I have brought. I know some reactions from those who think I am chatting more with friends and family from home rather than going out and exploring. My response to that would be that I know myself. I know my own limitations. I know that I need to stay in contact with my loved ones for my emotional well-being so that I can be a better teacher here. I think that my world would be much more foreign and my days more gloomy without the aid of today’s technology. For that, I am very grateful. I would rather spend an hour in the evenings chatting online than crying by myself in my room! Describe your experience learning the Thai language as well as your interactions with native speakers who know no English….and….Do many people know English in Thailand? Learning Thai is like learning any other language. It is really fun some days, frustrating on others, but rewarding when applied successfully. Language learning does not follow a linear progression. This has been one of the most frustrating parts for me. Some days I know words that I


forget the next day. I have somewhat of a photographic memory, so I can see the beginning letters for some words on worksheets but forget the rest. Obviously, I have become fairly good at what I needed to apply immediately. I know how to hold a very general introductory conversation, introduce myself, ask for directions, use common verbs, order food, and I know my numbers for bargaining. The most exciting days are when I have a whole conversation (very short mind you) in Thai without a word in English. I should learn more Thai and I have several books and aids to learn from as I continue my endeavor. However, things are a little different here in Ubon. The language spoken here is Isaan, which is almost entirely different from central (Bangkok) Thai. To say “delicious” in central Thai is “Aroi kha.” To say “delicious” in Issan is “Saap ka.” Thai is also different from English in that adjectives follow nouns, like in Spanish. Verbs also do not get conjugations into different tenses; they just add words to indicate the tense. For example, the verb ‘to go’ is ‘bpai’. Question words also come at the ends of the sentences. I usually do not think about all of this grammar; I instead learn the meaning of the sentence as a whole and learn it as a phrase, not in its individual parts. In Bangkok, almost everyone knows at least some English. Asking for information, ordering, and getting help was not usually a problem there. Unfortunately, that is not the case here in the ‘upcountry.’ Thai people do not let their friends travel along generally, that is not part of the culture. If I need to go into town, I go with Maricel whose Thai is better


than my own because she has been here for two years. I usually only have longer conversations with the English department teachers in my school. I am insulated, not because I want to be, but because the culture has done that to me in a way. The assistant director of the school actually told me the day that I arrived not to speak Thai to anyone at the school, teachers and students included, because they all needed to work on their English. However, I found this to be next to impossible. There is only so far that gesturing and picture-drawing will take you sometimes. For my own sanity I am working on Thai language so that I do not feel completely left out from the conversations around me which are all in Thai. Finally, if I do not know the right Thai words and the person I’m speaking with doesn’t know the English, gesturing is the international language. Pointing, saying “a nee” (this one), and over-acting all go a long way in crossing a language barrier. Tell us about some of your favorite experiences thus far. I have had a few favorite experiences thus far. The first would definitely have to be my home stay during a weekend with a Thai family while I was in Bangkok. The mom was an English teacher, her husband owned a shop (they lived above it, very Thai) that sold motorcycle parts, and they had two daughters a little younger than me and one son who was the youngest. The youngest daughter spoke very good English and she had traveled to Australia as part of an English intensive program for a while I think.


They were really welcoming. They gave me a glimpse into Thai life, even though they were obviously very wealthy compared with most. They woke me up early on Saturday and we went to a beautiful market on the water where I ate many tasty treats, got a few favors, and had my fortune told by an old Thai gypsy. It was surprisingly accurate, but those things are just fun for me! After that we went to the Erawan museum which is housed in a giant elephant one of the Hindu gods rode on to heaven. In the basement was artwork imported from other artists and then moved to Thai and Asian art as you climbed higher. In the head, the most sacred part, were Buddhas in different poses and the cosmos were painted on the ceiling. The room was incredibly breathtaking. After the Erawan elephant museum, we went to the Ancient City which is basically Thailand laid out across many acres where you can drive your car through it. After that we went to the Crocodile Farm which I believe has the most crocodiles in one place in the world. The next day was an even earlier day. They had a merit making ceremony because they were opening their building next door. It is a building for further study and tutoring, similar to Kaplan. They had nine monks there (nine is the lucky Thai number). They did a whole ceremony in the morning where they blessed the building and everything. There were over a hundred people there including friends and family of the family. They fed the monks and then they fed all the guests. Watching the monks chant and seeing everyone at the party was one of my favorite experiences thus far.


One of my other favorite places in Bangkok was at Wat Arun, the Temple of Dawn. It overlooks. One can climb to the top of the temple and see the city from there. The artwork is incredible on the temple. There are bits of china that have all been put together. The detail in the work is really impressive. The climb to the top was really steep and scary, but the rewards from the top were awesome. I think my pictures from this trek speak better for the aesthetic beauty of it. My favorite experience as far as Thai culture is concerned would have to be the trip that I took with two of the teachers and Marcel to the Thailand-Laos border. We drove for over an hour to get there. The Mekong River draws the border between Thailand and Laos here. We were surrounded by a few hundred other Thai people. There is a Buddhist belief that the Naga snake protected the Buddha from the rains and it is the Buddha pose for Saturday. The Naga is a giant snake with seven heads and it lives in the Mekong River (Loch Ness Monster). The monks had been having some sort of ceremony for three days and at the end of the ceremony the Naga shoots fireballs out of the river to celebrate the Buddha. Mysteriously, a red ball of light came out of the river. I do not know how it happened. It did not have a tail like a regular firework. The teachers said they thought that it was man-made now, but it is one of those things that is more fun to believe in, like Christmas. Still, I have no idea how this red ball of light came right out of the river into the air. I am still mystified by it and I love it! Apparently, you can only see it if you are a good person and have a good heart. I saw four


balls, but the other three I was with saw only three balls. They were joking saying that I was a better person than them. I left that night with a new appreciation for Thai culture and Buddhism. It was beautiful. What have been some of the difficulties you’ve experienced? I feel like I have faced some difficulties throughout my stay and you picked up on them in the questions you gave me. The most difficult is being homesick. The two tied for second are not knowing the language well and adjusting to the different environment and culture. It is not an instinct for me to bow and say “Sawaddii ka” to everyone that I meet. Also, they do not want me to speak Thai. Am I supposed to say, “Sawaddii ka” or “Good morning”? I usually just say both. Along with being homesick, I also feel like I miss out on the things that are most American. The first hard day where this was concerned was during Halloween. I did not get to trick-or-treat for canned goods. I made a costume and taught all my students about Halloween. It is really challenging to teach an entire school about a holiday and then to be the only one celebrating it!


เปดโจครู ETA47 เคที โอเรสโกวิช 2007 English Teaching Assistantship Program @ Warin Chamrab School, Ubon Ratchathani แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

เคทีไดรบ ั ทุน English Teaching Assistantship หรือ ETA ใหไปสอนวิชา สนทนาภาษาอังกฤษที่โรงเรียนแหงหนึง่ ในจังหวัดอุบลราชธานี ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และไดเปดใจตอบคําถามตอไปนี้

ทาง

เคทีมาอยูเ มืองไทยไดเดือนหนึง่ แลว ชวยเลาประสบการณใหฟง หนอย เคทีมาที่เมืองไทยวันนี้ก็ครบเจ็ดอาทิตยพอดีเลย นานกวาที่เคยไปอยูท  อ ี่ ื่นเกิน เทานึงอีก ถาจะใหอธิบายถึงประสบการณจนถึงตอนนีอ ้ ยางคราว ๆ ก็นา จะบอก วาเหมือนรถไฟเหาะตีลงั กา ถาเปนที่อเมริกา สวนใหญเราจะบอกไดวา วันนี้จะ เปนยังไง ไมเคยตองถามวาวันนี้ในรานจะมีอะไรขาย แตไมใชทน ี่ ี่ ที่พี่ ๆ ฟุล ไบรทเคยเตือนไวตอนปฐมนิเทศวา “อยาคาดหวัง” นัน ้ สําคัญมากอยางไมนาเชือ ่ และเคทีก็ถือคําพูดนี้เปนคติประจําตัว คอยย้ําเตือนตัวเองตลอดเวลา ที่นบ ี่ างวันก็เปนวันที่ดี ทําอะไรก็สาํ เร็จ ตอราคารถตุก ๆ ได สั่งอาหารเปน ภาษาไทยได สนุกไปกับสิง่ รอบตัวไดทงั้ ๆ ที่งานยุง มาก และก็มีวันที่เคทีรูสึก เหมือนจําภาษาไทยไมไดเลย โดนทุกคนจอง แลวก็ทําอะไรไมถูกเลยสักอยาง สิ่ง เล็ก ๆ นอย ๆ ที่ไมเคยใสใจกลายเปนเรื่องใหญทน ี่ ี่ จะหาอะไรกินก็ตอ  งพยายาม อยางมาก กินแลวจะปลอดภัยมั๊ย เผ็ดรึเปลา ตองมีน้ําสักเหยือกเตรียมไวมั๊ย ปลามี กางรึเปลา อันนั้นมันลูกชิ้นหมู ปลา หรือวาเนื้ออะไร แลวตองกินดวยตะเกียบ สอม ชอน หรือวาใชทั้งสองอยางเลยดี

47

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 4, ธันวาคม 2550


ตอนอยูท  ี่กรุงเทพฯ บางครัง้ เคทีก็ยอมแพไปกินบะหมี่สําเร็จรูป หรือไมก็ไปสยาม พารากอนกินอาหารฝรั่ง แตตอนนี้อยูท  อ ี่ ุบลเลยทําอยางนั้นไมได ทีน ่ ี่หาอาหาร ฝรั่งยากมาก ๆ ! ทางดีทส ี่ ุดคือกินเนยถั่วกับเยลลีทซ ี่ ื้อไดในรานขายของชํา และก็ ซื้อผลไมและบะหมี่สําเร็จรูปมาเก็บไว แตโดยรวม ๆ แลว เคทีคิดวาคนไทยอบอุนมาก ๆ ที่กรุงเทพฯ เวลาไปซื้อของแลว บอกวาเปนครูสอนภาษาอังกฤษก็มักจะไดลดราคาเสมอ หลายครั้งที่มค ี นบอกวา “ดีใจทีค ่ ุณอยูท  น ี่ ี่นะ คนไทยจําเปนตองเรียนภาษาอังกฤษ” คนไทยไมเย็นชากับ คนตางชาติเหมือนบางที่ในโลก การทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญของ ประเทศ เคทีคิดวาคนไทยชอบชาวตางชาติและผลจากการทองเที่ยวทําให เงินตราไหลเขาประเทศดวย แมจะมีวันดีและวันราย แตสวนใหญแลวก็มักจะเปน วันดีมากกวา อยางหนึ่งที่มน ั่ ใจไดก็คอ ื จะมีเรื่องใหประหลาดใจเสมอ และทุกวัน คือการผจญภัย ลองเลาตัวอยางวันปกติของเคทีใหฟง หนอย วันปกติที่กรุงเทพฯ ก็ตองเรียนภาษาไทยตอนเชาทีจ ่ ุฬาฯ (เปนมหาวิทยาลัยที่เกา ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สด ุ แหงหนึง่ ของประเทศไทย) เรียนเรื่องอื่น ๆ แลวก็ฝกสอน ชวงบาย ตอนกลางวันกินขาวทีโ่ รงอาหารของมหาวิทยาลัย สวนอาหารเย็นก็ถือ เปนการผจญภัยในแตละวัน อยากกินอาหารประเภทไหน จะไปรานอาหารยังไง ...ตุกตุก เดิน หรือ BTS (รถไฟฟาบีทีเอส) หลังจากนัน ้ ก็แลวแตวา จะอยูกบ ั เพื่อน ที่หอพัก เลนคอมพิวเตอร หรือไปหาอะไรทําในเมือง ไมซอ ื้ ของ ดูหนัง หรืออะไร อื่น ๆ แลวแตจะคิดได ชวงวันหยุด เคทีพยายามจะทําตัวเปนนักทองเที่ยวใหมากที่สด ุ เทาที่จะทําได (แต นักทองเที่ยวตะวันตกบางคนก็ทําตัวไมดจ ี นเคทีรูสึกแยมาก) เคทีไปวัดพระแกว พระบรมมหาราชวัง วัดโพธิ์ แลวก็วัดอรุณ เคทีไดไปบานจิมทอปมสันดวย ไดกิน อาหารที่รานเก ๆ ยานสุขุมวิท แลวก็ไดเดินเบียดฝูงคนที่ตลาดจตุจักร (ทีน ่ ี่ เรียกวาตลาดเจเจ) ซึ่งเชือ ่ กันวาเปนตลาดกลางแจงที่ใหญที่สุดแหงหนึง่ ในโลก หรืออาจจะใหญที่สด ุ ในโลกก็ได ตามปกติเคทีจะซักผาอาทิตยละครั้งแลวก็ตากไวทรี่ ะเบียงใหแหง เคทีวามันไม คอยสะดวกเพราะเราไมมีเครือ ่ งอบผา แตแคทีก็มีน้ํารอนอาบตลอด มีแมบา นมา ทําความสะอาดหองให เอาผาเช็ดตัวมาเปลี่ยน แลวก็ทําเตียงใหทุกวัน


แตชีวิตเปลี่ยนไปเมื่ออยูอ  ุบล เคทีตอ  งตื่นเชาขึ้น มีสอนระหวางวัน แลวเย็นก็ชวน มาริเซล (เพือ ่ นฟลิปปนสทอ ี่ ยูหองเดียวกัน) อัดกันขึน ้ รถสองแถว ทีค ่ ลาย ๆ รถเมลแตหนาตาเหมือนรถปคอัพมีเกาอี้แลวก็ราวโลหะรอบ ๆ รถสองแถวจะหมด เวลาประมาณหกโมงเย็น เพราะฉะนัน ้ ถาเราตองซื้อของหลายอยาง เราก็จะขึ้น รถตุกตุกกลับบาน การนัง่ รถสองแถวเขาไปในตัวเมืองอุบลจะใชเวลาประมาณ 35 นาที แตเคทียงั ไมเคยลองจับเวลาดูเลย เวลาจริง ๆ ขึ้นอยูกบ ั เราตองรอรถ นานแคไหนดวย! เคทีตอ  งซักผาดวยมือแลวเอาไปตากบนราวเคที มีสวมหลุมพรอมขันหลายขนาด มีกอกอาบน้ํา เวลาอาบน้ําทีไรสบูตอ  งเขาตาทุกที อยางนอยก็ดีที่มีกาตมน้ําเอามา ผสมกับน้าํ เย็นอาบ บางครั้งเคทีก็กินอาหารกลางวันในทีท ่ าํ งานกับครูคนอื่น ๆ ครัง้ แรกเคทีตกใจแทบตายที่กน ิ ขาวเหนียวอยูดวยกันแลวครูใชมอ ื เปลาบิขา ว เหนียวให เขาก็กินกันแบบนัน ้ แตสวนใหญแลวเคทีกินอาหารกลางวันทีบ ่ าน ซึ่ง ก็มักจะเปนพวกเนยถั่ว เยลลี ตมยํากุงสําเร็จรูป กับผลไม อยางทีบ ่ อกนั่นแหละ ทุกวันเปนการผจญภัย เคทีสอนอาทิตยละ 13 ชั่วโมง มี นักเรียนเกาหอง หองละประมาณ 25-37 คน เปนไปไมไดเลยที่เคทีจะจําชือ ่ นักเรียนไดทุกคน แถมชือ ่ แตละคนยังฟงดูประหลาดสําหรับฝรัง่ อีกดวย เคทีเพิ่ง จําชือ ่ ครูในกลุม  สาระภาษาอังกฤษได อาจารยนงเยาว ธิรัถญา ลักขณา นิตยพร จินตนา ปราณีวัลย ประภัสสร อัญชลี มณีแสง และตุมแกว เคทีปรับตัวยังไงเวลาอยูห  า งจากบาน รับมือกับความคิดถึงครอบครัวคิดถึงเพือ ่ น ไดยงั ไง ที่กรุงเทพฯ มีนก ั เรียนทุนฟุลไบรทคนหนึง่ มาพูดใหเคทีกับเพื่อน ETA อีกเกาคน ฟงเรือ ่ งการใชชีวิตและการปรับตัวเมือ ่ อยูในประเทศไทย เขาพูดหลายอยาง แต ประเด็นหลัก ๆ ของเขาก็คอ ื “ทีน ่ ี่ประเทศไทย” ซึง่ เคทีกับเพื่อนจําเอามาเรียกวา T.L.T เคทีบอกไมหมดหรอกวาคํา ๆ นี้มันมีความหมายแคไหนสําหรับเคที สวม หลุมรึ T.L.T! ซักผาดวยมือรึ T.L.T! จิ้งจก กิง้ กา แมลงสาบ ยุง แมลงมุมรึ T.L.T! การเตือนตัวเองวาจริง ๆ แลวเราไมไดอยูในอเมริกา และไมควรมีความคาดหวัง แบบอเมริกัน นี่เปนวิธีที่ดท ี ี่สด ุ ในการปรับตัว ฟงดูโงนะ แตมันไดผลกับเคที ก็ ถาเคทีไมมีความคาดหวัง ก็จะมีอะไรดี ๆ ใหประหลาดใจ แลวก็ยังทําใหเคทีไม ดวนตัดสินวัฒนธรรมที่แตกตางดวย


แตบางครั้งเคทีก็ยังจัดการเรื่องความคิดถึงครอบครัวกับเพื่อนไมคอ  ยได ไมวา สภาพแวดลอมตอนนี้จะลําบากแคไหน เรือ ่ งคิดถึงบานนีม ่ ก ั จะแยกวาเสมอ ดีที่ โลกาภิวัฒนและเทคโนโลยีชว  ยยอโลกใหเล็กลงและงายขึน ้ ดวยสําหรับเคที ตอง ขอบคุณตรงนี้ เคทีเอาแลปท็อบมาประเทศไทยดวย และนาจะใชมน ั มากกวาอยาง อื่นที่เอาติดมา บางคนอาจจะคอนวาเคทีติดคุยกับเพือ ่ นและครอบครัวที่โนน มากกวาจะออกไปสํารวจโลก เคทีบอกไดแควา เคทีรูจักตัวเอง รูวา ขอจํากัดของ ตัวเองคืออะไร รูวาจําเปนตองติดตอกับคนที่เคทีรักเพื่อชวยดานอารมณและจิตใจ จะไดเปนครูที่ดท ี ี่นี่ ถาไมมีเทคโนโลยีแบบทุกวันนี้ เคทีคิดวาตัวเองคงรูสึกแปลกแยกและแยยิ่งกวานี้ มาก เคทีถงึ รูสก ึ ขอบคุณอยางมาก ใหใชเวลาเปนชัว ่ โมง ๆ ตอนเย็นคุยกับที่บา น ดีกวารองใหคนเดียวในหองเปนไหน ๆ ! เลาใหฟง หนอยวาการตองเรียนภาษาไทย และตองติดตอกับคนไทยทีพ ่ ด ู ภาษาอังกฤษไมไดเลยเปนยังไง...แลว...คนไทยพูดภาษาอังกฤษกันไดเยอะมัย ๊ เรียนภาษาไทยก็เหมือนเรียนภาษาอืน ่ ๆ นะ บางวันก็สนุกดี บางวันก็ปวดหัวมาก แตก็คุม ถาวันไหนเอาไปใชการได การเรียนภาษามันไมไดเปนการเรียงลําดับ นี่ เปนเรือ ่ งทีท ่ ําใหเคทีปวดหัวทีส ่ ุด บางวันเคทีรค ู ํานี้แลววันรุงขึน ้ ก็ลืม เคทีมี ความจําแบบถายภาพ คือเห็นตัวอักษรแรก ๆ ของคําบนกระดาษ แตจะไมเห็นคํา อื่น จริง ๆ แลวเคทีคอนขางเกงเวลาที่ตอ  งใชภาษาเฉพาะหนา เคทีรว ู าจะพูดเรื่อง ทั่ว ๆ ไปยังไง อยางแนะนําตัว ถามทาง ใชคาํ กริยางาย ๆ สั่งอาหาร และตอราคา วันที่ตื่นเตนที่สด ุ คือวันที่เคทีตอ  งพูดเปนภาษาไทยโดยไมมภ ี าษาอังกฤษปนเลย (แมจะสั้น ๆ ก็เถอะ) เคทีควรจะเรียนภาษาไทยใหมากกวานี้ ทั้งที่มีหนังสือหลาย เลมและอุปกรณชวยเรียนอีกหลายอยาง ยังไงก็ตาม สถานการณเปลี่ยนไปเมือ ่ มาถึงอุบล คนทีน ่ ี่พด ู ภาษาอีสาน ซึ่งแตกตางอยางสิ้นเชิงกับภาษากลาง (กรุงเทพฯ) จะพูดวา “delicious” ในภาษากลางคือ “อรอยคะ” แตพูดวา “delicious” ในภาษา อีสานคือ “แซบคะ” ภาษาไทยตางจากภาษาอังกฤษตรงที่ตัวขยายจะวางไวหลัง นามแบบเดียวกับภาษาสเปน แถมคํากริยาก็ยังไมมีการผันตามกาล แคเราเติมคํา ขยายเขาไปเพือ ่ บอกเวลาก็พอ อยางเชน คํากริยา “go” คือ “ไป” ถาจะบอกวา “will go” ก็เติม “จะ” เปน “จะไป” ซึ่งก็แปลวา “will go” คําแสดงการถามก็จะวาง


ไวหลังประโยค ปรกติแลวเคทีจะไมคอยนึกถึงไวยากรณเทาไร ความหมายของประโยคทัง้ หมดมากกวา เรียนเปนวลี ไมไดเปนคํา ๆ

แตเรียน

ที่กรุงเทพฯ ทุกคนรูภาษาอังกฤษอยางนอยคําสองคํา การถามขอมูล สั่งของ หรือ ขอความชวยเหลือไมเปนปญหาที่นี่ นาเสียดายที่ “บานนอก” ไมเปนแบบนัน ้ ตาม ปรกติคนไทยไมชอบใหเพือ ่ นเดินทางคนเดียว มันไมใชวฒ ั นธรรม ถาเคที ตองการเขาไปในตัวเมือง เคทีก็ไปกับมาริเซล ซึ่งพูดภาษาไทยไดดีกวาเพราะเขา อยูทน ี่ ี่มาสองปแลว เคทีมักจะคุยยาว ๆ ไดแคกับอาจารยทก ี่ ลุมสาระภาษาอังกฤษ ของโรงเรียน ที่ตอ  งเปนแบบนั้นไมไดเพราะเคทีชอบ แตเพราะถูกสถานการณ บังคับ รองผูอ  ํานวยการโรงเรียนบอกเคทีตั้งแตวันแรกวาหามพูดภาษาไทยกับคน ในโรงเรียน ครูหรือนักเรียนก็ไมได เพราะตองการใหทุกคนฝกพูดภาษาอังกฤษ แตเคทีพบวาเรือ ่ งนี้เปนไปแทบไมได บางครั้งจะใชแคภาษาทาทางหรือการวาด รูปสอนไมได และสําหรับสุขภาพจิตของตัวเอง เคทีตอ  งฝกภาษาไทยบางเพือ ่ ไมใหรูสึกเปนคนนอกเวลาคนอื่น ๆ พูดภาษาไทยกันหมด อีกอยาง ถาไมรค ู ํา ภาษาไทยที่ถูกตองแลวคนที่พด ู ดวยเกิดไมรูภาษาอังกฤษ ก็ตองใชภาษาทาทาง อันเปนภาษาสากล เชนชี้มอ ื ไปแลวบอกวา “อันนี้” พรอมทําทาทางเกินจริง มันคง จะตองอธิบายกันยาว ทีผ ่ า นมาชอบอะไรทีส ่ ด ุ มีหลายอยางนะ อยางแรกคือชวงที่อยูกรุงเทพฯ แลวไดไปอยูโฮมสเตยชวง วันหยุดเสารอาทิตยกับครอบครัวไทย คุณแมของครอบครัวนี้เปนอาจารย ภาษาอังกฤษ สามีเปนเจาของรานขายอะไหลรถมอรเตอรไซค (เขาอาศัยอยูชั้น บนของราน) มีลูกสาวสองคน เด็กกวาเคทีนิดหนอย แลวก็มีลูกชายคนสุดทอง หนึ่งคน ลูกสาวคนรองพูดภาษาอังกฤษดีมาก เขาเคยไปเรียนคอรสสั้น ๆ ที่ ออสเตรเลียนะถาจําไมผิด พวกเขาตอนรับเคทีดีมาก ๆ ทําใหเคทีไดรูจักชีวต ิ คนไทย ถึงแมวาพวกเขาจะ ร่ํารวยกวาบานอื่น ๆ หลายเทา เขาปลุกเคทีแตเชามืดวันเสารเพื่อพาไปตลาดน้ํา พาไปกินอาหารอรอย ๆ ซื้อของที่ระลึก แลวยังไดดด ู วงดวย แมนอยางไมนา เชื่อ แตเคทีก็ฟง เลนแคสนุก ๆ เทานั้น หลังจากนัน ้ เราก็ไปพิพิธภัณฑเอราวัณที่มีชางขนาดยักษทําเปนชางพาหนะของ เทพเจาฮินดูบนสวรรค ดานลางเปนงานศิลปะจากศิลปนตางประเทศ ไลขึ้นไปจะ เปนผลงานของศิลปนไทยและเอเชีย ดานบนหัวซึ่งเปนสวนที่ศักดิ์สท ิ ธิท ์ ี่สุด เปนที่


รวบรวมพระพุทธรูปปางตาง ๆ บนเพดานวาดเปนรูปจักรวาล สวยจนแทบลืม หายใจเลยทีเดียว จบจากพิพิธภัณฑเอราวัณเราก็ไปตอกันที่เมืองโบราณ เปน ประเทศไทยจําลองบนเนือ ้ ที่หลายเอเคอรซึ่งเราสามารถขับรถเขาไปได จากนั้น เราก็ไปที่ฟารมจระเข เคทีวา ทีน ่ ี่นาจะมีจระเขมากที่สด ุ ในโลกเลย วันตอมาเราตื่นเชากวาเดิมอีก

พวกเขามีทําบุญเปดตึกขาง

เปนตึกสําหรับ

โรงเรียนกวดวิชาคลาย ๆ กับ Kaplan เขานิมนตพระมาเการูป (เลขเกาเปนเลข นําโชคของไทย) พิธีทั้งหมดทําในชวงเชา มีการใหศีลใหพรเปนสิริมงคลกับตึก และอืน ่ ๆ มีคนมารวมงานกวารอยคน เปนเพือ ่ นและญาติ ๆ เลี้ยงพระแลวก็เลี้ยง แขกตอ การเห็นพระสวดมนตรและเห็นทุกคนที่นั่นเปนประสบการณที่เคทีชอบ มากที่สด ุ ในตอนนี้ สถานทีท ่ ี่ชอบอีกอยางในกรุงเทพฯ คือวัดอรุณ หรือ Temple of Dawn ทีอ ่ ยูอีก ฝากหนึ่งของแมน้ํา ถาปนขึน ้ ไปขางบนก็จะไดเห็นเมืองจากอีกฝง ศิลปะทีว ่ ัดก็ สวยงามมาก มีความเปนจีนผสมอยูดว  ย รายละเอียดแตละอยางลวนนาประทับใจ การจะปนขึ้นไปออกจะลําบากเพราะบันใดแคบและนากลัว แตพอขึ้นไปแลวจะ รูสึกดีสด ุ ๆ อันที่จริงภาพที่เคทีถายไวจะเห็นความสวยของวัดไดดว ี าเคทีเลามาก เรื่องที่เคทีชอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยคือการไปเที่ยวกับครูสองคนพรอมกับมาริ เซลตรงชายแดนไทย-ลาว เราขับรถไปเกือบชั่วโมงกวาจะถึงทีน ่ ั่น แมน้ําโขงเปน ตัวขีดเสนชายแดนระหวางไทยกับลาว นอกจากเราแลวยังมีคนไทยอีกหลายรอย คนตรงนั้น มีความเชือ ่ ทางศาสนาพุทธวานาคเปนผูชว  ยปองกันฝนใหพระพุทธเจา ถึงไดมี พระพุทธรูปปางนาคปรกซึง่ เปนพระประจําวันเสาร นาคเปนงูยักษ มีเจ็ดเศียร อาศัยอยูใตแมน้ําโขง (ประมาณล็อคเนส) พระสงฆทาํ พิธีอยูสามวันและในวัน สุดทายเชื่อวานาคจะปลอยลูกไฟขึ้นมาจากน้ําเปนพุทธบูชา นาประหลาดที่มี ลูกไฟสีแดงลอยขึ้นจากน้าํ จริง ๆ เคทีไมรูวา เปนไปไดยงั ไง มันไมมีหางเหมือนพลุ ทั่ว ๆ ไป ครูที่ไปดวยบอกวานาจะเปนฝมือคน แตบางทีการทําใหเปนเรื่อง มหัศจรรยจะสนุกกวา เหมือนคริสตมาสไง แตเคทีก็นึกไมออกอยูด  ีวาลูกบอลไฟสี แดงจะลอยขึ้นมาจากน้าํ ไดยงั ไง

ยังรูส  ึกมหัศจรรยอยูแตกช ็ อบมาก!

ที่จริงเขา

บอกวาคนดีมีจต ิ ใจดีเทานั้นถึงจะเห็นลูกไฟได เคทีเห็นตัง้ สี่ลก ู ครูคนอืน ่ ๆ เห็น แคสามลูก พวกเขาเลยลอวาเคทีตอ  งเปนคนดีกวาคืนอืน ่ ๆ แน คืนนัน ้ เคทีไดความ


ประทับใจใหม ๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยและพุทธศาสนา ชางเปนเรื่องที่สวยงาม จริง ๆ ! รูส  ก ึ ลําบากอะไรไหม เคทีคิดวาเลาไปบางแลว ที่ลําบากทีส ่ ุดคือเรื่องคิดถึงบาน อีกเรื่องคือเรือ ่ งการไมรู ภาษาดีพอ การปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมใหม เคทียงั ไมถึงขั้นกม ตัวไหวแลวพูดวา “สวัสดีคะ ” กับทุกคนที่เจอโดยอัตโนมัติ และเขาก็ไมคอยอยาก ใหเคทีพด ู ภาษาไทย แลวเคทีจะพูดวา “สวัสดีคะ ” หรือ “Good Morning” ดีละ ปกติเคทีพูดทั้งสองอยางเลย นอกจากเรือ ่ งคิดถึงบานแลว เคทียงั คิดถึงบางสิ่งบางอยางทีเ่ ปนอเมริกัน วันที่แย วันแรกคือวันฮัลโลวีน เคทีไมไดไปเลน trick-or-treat ขอขนม เคทีทําชุดฮัล โลวีนแลวสอนนักเรียนเรือ ่ งวันนี้ แตมันยากเหมือนกันนะที่สอนนักเรียนทัง้ โรงเรียนใหรูจก ั วันฮัลโลวีนแตมีเพียงเคทีคนเดียวที่เคยฉลองวันนี้


Being Productive and Enjoying Your Fulbright Experience in Thailand48 Raymond Greenlaw, Ph.D. 2005 Fulbright U.S. Scholar Program From Armstrong Atlantic State University @Faculty of Sciences, Chiang Mai University

1. Introduction The Executive Director of the Thailand Fulbright Foundation, Porntip Kanjananiyot, asked me to write an article where I share some of my experiences and viewpoints with the Fulbright family about how to make a Fulbright experience in Thailand as productive and enjoyable as possible. This article is my response to her request, and by the way, thanks for asking. I will begin with a snippet of my background. I have a Ph.D. in computer science from the University of Washington in Seattle. I worked as a professor at a research institution, the University of New Hampshire, for nine years. Currently, I am on leave from Armstrong Atlantic State University In Savannah, Georgia where I serve as the Dean for the College of Computing. Although I work as an administrator, I enjoy research, and I have published 13 books on computing, about 50 papers, and given over 135 invited lectures throughout the world. Previously, I won senior research Fulbrights to Spain and Iceland. My award to Thailand is a lecturing and research

48

Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 3, December 2006


award. I am an avid outdoorsman having climbed 5 of the 7 summits, run many marathons and ultramarathons, completed about 10 Ironman triathlons, and walked across the USA both on the Appalachian and the Pacific Crest Trails. Traveling is one of my main hobbies, and I have visited 49 of the United States, 64 countries, and many remote islands. I traveled to Thailand alone, so this article will not address issues relating to significant others and children. Armed with this context, now let me share some of my thoughts. I will break this article into three main sections: Philosophy, Professional, and Personal. 2. Philosophy Be Flexible Moving to another country for a prolonged period of time can be a challenging experience, but the rewards are well worth accepting the discomforts and risks. Be patient in everything you do and keep an open mind; embrace the people and culture; fit in with the lifestyle of the country that you are in and do not expect things to be the same as in your home country. In Thailand you will find most people friendly. The pace of life will be different than what you are accustomed to. You must be willing to adapt to the culture where you are living and go with the flow, as opposed to insisting that things be done in the way in which you are used to. People in Thailand are very open and accepting of many different view points. Finding a Bobby You should have at least one solid contact in Thailand. In my case I worked with Dr. Sanpawat “Bobby� Kantabutra. I met Bobby through


email when I was searching for a university to visit in Thailand. He received his Ph.D. at Tufts University, and since I grew up and worked in New England for many years, I knew that we would have some things in common. Bobby helped me to find an apartment, set up my banking account, learn the ropes at Chiang Mai University, figure out transportation, and make contacts with other universities in Thailand. He assisted me with many other tasks as well. Without his excellent help and support, without his friendship, without our gigantic lunches, the Fulbright visit would not have been anywhere near as rewarding. You must try to find your own “Bobby”. Thanks, Bobby. You are a remarkable man, and you represent your country beautifully. Be a Great Problem Solver All travelers should realize that there will be times when things do not go as expected. I try not to set a lot of expectations, and instead, I like to experience things as they are. Nearly all situations can have a positive outcome, if you are a good problem solver. When faced with a tough situation, think about the outcome that you would like to achieve, and then determine the best way to go about achieving that outcome. Do not vent or get angry. Work with those around you to find a satisfactory solution. As an example, the apartment that I rented came with “high-speed’ wireless Internet. The Domain Name Server (DNS) would often not be running properly. I spoke to my landlady, Jo, and let her know that this problem could usually be solved simply by toggling the power on the wireless-access point. Since I often work late at night, I asked Jo if I could reset the access-point myself when there was a problem. She obliged and was happy that I was able to be part of the


solution to this problem. Jo then taught others in the housing complex how to solve the problem for themselves as well. Stay Focused Set some goals for yourself and for your stay in Thailand. For example, I wanted to learn to speak Thai, make some lifetime friends, write and complete at least two papers, finish a book that I was working on, teach a class, visit at least five other Universities in Thailand, give at least ten research talks, visit at least twenty provinces in Thailand, and so on. Periodically, evaluate your progress. If you are not being as successful as you had hoped, you may need to readjust your goals. Within several iterations, you should have realistic expectations for what you can achieve. Remain disciplined and with periodic monitoring of your progress, you should be able to achieve most of what you set out to do. Remain Optimistic A visitor can get further with a smile and a positive attitude than one can by being a curmudgeon. Good things tend to happen to good people who are happy and optimistic. When I was traveling to Taiwan, the airport check-in clerk wanted to charge me about $100 for extra weight on some Fulbright business baggage. I politely asked her if there was anything she could do to help me out. After a pleasant conversation, where I explained what I was doing, she waved the baggage fee. Countless times while I was walking in Chiang Mai local people (not cab drivers) offered me rides. I won’t forget the pizza-delivery guy who gave me a ride right to my destination.


Home Base You will need an extremely reliable person taking care of financial matters, mail, and other important issues at home. This person can greatly enhance your overseas stay by being totally reliable and by being an excellent communicator. For example, when a bill for my auto insurance arrived unexpectedly, I was informed about it and then we were able to make a plan for payment. By minimizing or eliminating worries relating to home-base activities, you can better enjoy your trip abroad. Language Issues Learning the Thai language is not easy. As Fulbrighters, we work hard and most days use a lot of brain power on research and teaching activities. When we return home after a long day at the office, our minds are tired. Nevertheless, by exercising strong discipline, we can still learn Thai. In my case I did not have the time to learn to write and read Thai. My goal was to learn how to speak Thai. I focused on learning a subset of Thai that would be most useful for me. I hired a private tutor, and Toey met me ten hours per week for about two months. Toey and I worked together. I let her know what practical vocabulary I needed. After working on theoretical computer science all day, it often took a lot of concentration to learn new Thai vocabulary. However, Toey made it fun and with our schedule set up in advance and with her meeting me at my apartment, I could not skip any lessons. Like many things, if you “build in� the discipline, the task becomes easier to carry out.


Cellphone I do not like to use a cell phone in the US. However, in Thailand I found the cellphone very useful for business, for keeping in touch with new friends, and just for basic logistical reasons. For example, if due to language issues a meeting point was misinterpreted by one of the parties, the cellphone became extremely useful in bringing the scheduled rendezvous to fruition. Cellphone numbers in Thailand are currently 9 digits long and begin with a 0. If you can, get a GSM phone; it is simple to buy new SIM cards for each new country that you visit. In Thailand many convenience stores sell phone recharge cards, usually for a maximum of 500 Baht. My phone had a maximum capacity of 5,000 Baht. The cellphone network is oversubscribed and often times during peak hours calls would fail. I recommend storing telephone numbers to the phone. Backup your phone directory as well. For lowerrate from Thailand lots of people dial 009 when calling other countries. 3. Professional Primary Contact As I noted earlier, you must find your own Bobby. You must never take advantage of this person’s good will, and you should do your best to contribute to his/her work and reputation within the country and internationally. In my case Bobby and I co-authored an article together, visited a university in Thailand together, worked together on a joint conference, and talked about many professional activities such as journal submissions to editors, curriculum issues, and research topics.


Your University It is important to learn to speak some Thai shortly after your arrival so that you can fit in with your colleagues. If you cannot make small talk in the hallways, it is tough to make new contacts and friends. Try to learn about the campus and the activities on campus. Many of the campuses in Thailand are very beautiful and extremely large geographically. Sometimes I like to eat in the dining halls on campus, and these are a good place to meet new people. Thai food in these locales can be spicy, but a good meal can be had for 20 Baht. I attended a number of parties for students initially and that was a good place to meet people and learn some Thai culture. Early on I met with the Department Chair and then later with the Dean. Goals Thailand is such an interesting and diverse country, and there are many distractions. I mentioned earlier under the heading of �Stay Focused’ that I felt it is important to set some tangible goals. You can set a goal, for example, of writing two hours per day or of publishing two papers or of doing whatever else is appropriate for you and your discipline. Assess your own performance periodically and make sure that you are on track to meet your goals. Adjust your work habits and goals as necessary. It is most important to monitor yourself early on while you still have time to make adjustments. Having greater discipline initially will pay big dividends later. Do not get discouraged if you cannot achieve your goals, simply work harder.


Equipment Although your host may offer to provide you with a computer and printing facilities, I chose to bring my own laptop and printer. Since I work in front of a computer for long periods of time, I like to have a very large screen. I prefer to edit hard copies as well. In my case the extra weight of the computer and printer were well worth it. Fulbright can often assist with reasonable excess baggage charges. Prices for computers in Thailand for high-end systems seem to be a little more than in US. Supplies such as toner cartridges seem to be cheaper in Thailand. I used a thumb drive and email to the U.S. to backup my system. I found that bringing certain specialty items was worthwhile, as I did not want to spend time shopping for such items in Thailand. I also brought some small supplies with me; paper clips, post-its, folders, pens, and so on. These can easily be obtained in Thailand, but I felt that I had enough to do initially without worrying about these trivial items. So, again, I was glad that I had packed these. All household items that I needed were easy to obtain with Bobby’s help, and the prices were reasonable as was the quality. Visiting Other Schools I visited ten other Universities on my Fulbright, including institutions in Taiwan and Vietnam, as part of the Asian Fulbright Program. If you have the time and energy to go to other institutions, it can be a rewarding experience for all parties; you, your host, your U.S. institution, the Fulbright commissions, and, of course, your “home� institution in Thailand.

I am establishing exchange programs with

several schools and my U.S. institution. I also hope to help arrange an all expenses paid-for visit for Bobby to visit some universities in Taiwan.


Hiring a Graduate Student I asked Bobby to introduce me to his top graduate student. When I met Yui, she was shy to speak English and spoke little. Now I usually speak Thai to her and she speaks English to me. Her English has improved dramatically. I hired Yui early on to assist me with mailing and editing. An express letter to the U.S. runs about 600 Baht. Yui has done a tremendous job for me. I have helped her to learn the LaTeX document formatting system. Yui receives an hourly rate from me that is good for supplementing her income. We work well together, and we have become good friends. I will try to help her get accepted to a good PhD. Program in the U.S. Sharing Information and Time As a Dean and a Commissioner for the Accreditation Board for Engineering Technology (ABET) in the US, I know quite a bit about computing curricula and accreditation issues. I have reviewed curriculum for the Department of Computer Science at Chiang Mai University and also spoken to a number of colleagues here about accreditation. Whatever expertise you have, your colleagues in Thailand will greatly appreciate your sharing information and your time to work on ways to help improve their educational system. It is amazing how many good ideas can be generated when two different cultures and viewpoints are brought together to brainstorm. Helping Out Where Possible If you can, try to help out the faculty at your host institution with their research. This can mean reviewing their papers for technical accuracy


and for quality of writing. It could mean checking the grammar on a brochure or commenting on the English version of the departmental Web site. The same comments apply to any help you can give relating to teaching .Your help will be greatly appreciated. 4. Personal Know Yourself We all have different comfort zones and mood swings. Through my travels and solo hikes across the mountains through the U.S., I have learned a great deal about myself. I know what things I enjoy and how to keep myself productive and happy. For example, I like to walk. With this fact in mind, I rented an apartment that was about four kilometers from my office. Even though many Thai people think I am crazy, I walk to and from work everyday. My walk has me traversing several interesting streets where I go through markets, pass by a boxing camp, numerous stores, lots of barking dogs, and so on. I have met many people on my walks through these neighborhoods. Another benefit of walking is you notice more about the transformations that the neighborhoods are undergoing. Chiang Mai is a rapidly changing city, but if you do not look closely, you may miss some of the changes. I prefer to live in a good-size apartment that is quiet; I like good lighting. Also important to me is a place where I have good running nearby and a pool. Remember, the climate in Thailand can be hot and humid. Whatever you like, try to find a place that suits your needs and one where you can be happy. If necessary, spend more money to find the type of place where you can be productive. I also require a place with high-speed Internet. Choose your own apartment if possible according


to your likes and dislikes. Of course, anything is acceptable, but I find that I can be more productive if I have a place that suits my needs. Thailand has many interesting creatures that may visit your apartment. In my rustic setting in Chiang Mai I have encountered huge spiders, scorpions, and even a cobra. I like to play the guitar to relax, and I also like to lift weights. Bobby helped me to buy a guitar and some dumbbells. These conveniences were well worth purchasing. When I purchased the guitar, I was not allowed to play it until I bought it, so the purchase was sound unheard. You may have other hobbies or things that keep you on track. The guitar or weights are perfect for occupying a small chunk of my time here and there, and I can also entertain my friends with the guitar. Moving 12,000 miles from home can be a traumatic experience. At some point feeling slightly depressed is normal. For example, if you ate some food that you shouldn’t have and have been confined to a toilet for three days‌If you traveled to Thailand alone, at times, well, you will feel lonely. You may not be used to be eating alone so often. It is important to make yourself comfortable enough so that the new environment, the longing for family and friends, the missed comforts from home, the professional obligations, the difficulty with language, and so on, do not get you down. Monitor your feelings. If you are longing for Italian food, go eat Italian. If you feel tense, treat yourself to a massage. From time–to-time reflect on how lucky you are to be in Thailand. If necessary, take a break. Use your cellphone to call home and touch base with some good friends. Keep in touch with friends via email. I maintained a Web stie (www.cs.armstrong.edu/greeenlaw), so


that I could update my friends on my Thailand activities. New entries there generated welcome emails from my friends. The site also provides me with a log of my trip almost like a diary. People I feel the most important part of a Fulbright experience is the people that you meet and the friendship that you form. Thai people usually embrace friendly foreigners. Through friendships, knowledge about cultures can be exchanged. Be ready to make new friends at any time, as you never know when you are going to meet a special person. Try to make it a habit to go out on your own at least a couple of times per week. Thailand has many shops, local hangouts, and restaurants, as well as interesting markets. I make it a point to see some of the major sites when I travel, and when I go alone, I always make new friends. When I first came to Thailand, I printed up business cards with one side in Thai and the other in English. I printed up about 200 of these and now I am realizing that I should have printed even more. People like to exchange cards in Thailand and if you included your email address and cellphone number, the cards are a very good way for people to be able to contact you. Customs and Culture I try to respect all customs and cultures. About 95% of Thais practice Buddhism, and they are very peaceful and spiritual. When I travel, I usually do little to no additional background research on a country. I prefer to visit places without having any preconceived notions or expectations. Try not to judge things and try not to compare things. For example, I went to a bank with a check in US dollars to deposit into my


account, and there I was told that it would take two months for the check to clear. Once I have that information, there was no point in comparing that duration to the five days that it would take a check to clear in the US. I quickly realized that I simply needed to mail the check home and have my trusted home-base guy, put the check in my account for me. Be observant and mimic what others are doing if you are encountering a particular situation for the first time. Weather Thailand can be hot and humid. Bring lightweight clothes and protect yourself from the intense sun. I found it useful to keep a hat and umbrella handy. If you have a favorite brand of sunscreen, bring it with you, as well as your favorite sunglasses. I prefer to run in extreme heat, but you may decide to exercise early in the morning while it is still relatively cool. Language I tried to use my Thai as often as possible. You cannot rush things. Results do not come for free. Sometimes you will undoubtedly get frustrated and feel like you are moving backwards. My “kuun nii” sounded like “prung nii”, and I once waited half an hour for a friend who planned to arrive tomorrow. Like most things in this world, we rarely break new ground ourselves. Many have gone before us, and we just need to keep plugging ahead one word at a time. I tried not to get too hung up on absolutely perfect pronunciation. Gradually, you will speak more clearly. Just keep talking and try to learn a few new words each day. If people do not understand you, say things in a different way. Also it helps to have more than one person to speak to at the same time. If


multiple people are listening to you, I have found that combined they can often figure out what you are trying to say. Again, the cellphone comes in handy as a way to practice Thai by calling your Thai friends. Travel Although travel is relatively cheap, you will need to budget some money for your trips. Initially, I think it is a good idea to explore your local area. Once you have more language skills, it is easier to venture farther. I love to travel, so I made it a point to go somewhere new at least once a week. When I go, I like to bring some work with me. This makes me more productive and makes the waits for delayed flights and the flights themselves feel shorter. On the other hand, if I am seated next to an interesting person on the plane and he/she is in the mood to talk, I put my work aside and enjoy a good conversation. I ran three marathons while in Thailand and those races took me into areas that I otherwise would not have explored. Whatever your passion is, use it to your advantage to enhance your trip. I recommend traveling with earplugs, eye mask, eye drops, and passport photos, as well as a large number of small US bills, and adequate amount of US cash, credit cards, and debit cards. Leave copies of important documents with friends, bring copies of your passport with you and keep some passport photos with you at all times. It is a good idea to travel with toilet paper and any special items you need. Never check luggage items that are critical to your travels. Baht As of this writing, there are about 37 Baht in a dollar. Early on I recommend establishing a bank account. If possible, I would


recommend bringing about $5,000 with you to open your account. You can then use your Thai bank card at ATM machines. In using your US ATM card, you will normally pay about 10% on a 20,000 Baht withdraw. When you charge items with a Visa card, you often pay an additional 3% fee. Thus, by paying cash, you can save money. Taxi rides are often negotiable, and I have paid as little as 100 Baht for a 30-minute ride. Bank machines usually dispense 1,000 Baht notes, but I recommend you carry lots of small bills – 20s, 50s, and 100s. Miscellaneous Reflect on what you are doing and your level of satisfaction with the way things are going. If you are not happy, make some changes. Evaluate again, and then make more changes. Eventually, you will find a rhythm that suits you. Listen to advice and opinions from others, but then make your own informed decisions. Oftentimes, there is no right or wrong way, but there is a way that will make you happy and one that won’t. Check your energy level and if you feel that it is not as high as usual, monitor your diet. A new diet can alter your mood. Spicy food can alter your stomach. Pay attention to all you do and all you eat. Think on your feet. If you need to, ask for help. The Fulbright Commission in Thailand has many wonderful people working there, and they are more than happy to assist you. 5. Summary I hope that you were able to take away one or two useful items from this article that will help you on your trip to Thailand. Like life, your Fulbright experience depends on you. Take complete responsibility for all you do and make the best of every experience. I hope your visit to Thailand is


one of the best and most-productive times of your life! Mine was thanks to Bobby, Jo, Yui, the Department of Computer Science at Chiang Mai University, and the Fulbright Commission of Thailand.


ใชชีวต ิ ใหเต็มที่และสนุกกับประสบการณการฟุลไบรทใน ประเทศไทย49 ดร. เรมอนด กรีนลอว

2005 Fulbright U.S. Scholar Program From Armstrong Atlantic State University @ มหาวิทยาลัยเชียงใหม แปลและเรียบเรียงโดย ดิญะพร วิสะมิตนันท, ผูชวยคณบดีฝายพัฒนานิสิต คณะ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2011 Hubert H. Humphrey Fellowship Program @ Pennsylvania State University

1. บทนํา คุณพรทิพย กาญจนนิยต ผูอํานวยการบริหารมูลนิธก ิ ารศึกษาไทย-อเมริกัน ขอใหผมเขียนบทความเพือ ่ แบงปนประสบการณกับครอบครัวฟุลไบรท วาจะทํา อยางไรใหประสบการณฟุลไบรในประเทศไทยคุมคาและมีความสุขมากทีส ่ ด ุ เทาทีจ ่ ะเปนไปได แมวาผมจะเขียนบทความนีข ้ ึ้นตามคําขอของคุณพรทิพยแตผม ตองขอบคุณอยางมากที่ใหโอกาสผม โดยผมจะเริ่มจากประวัติยอของผม ผมจบปริญญาเอกสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร จากมหาวิทยาลัยวอชิงตันในเมือง ซีแอตเติ้ล ผมเคยทํางานเปนอาจารยที่สถาบันการวิจัยของมหาวิทยาลัย นิวแฮมปเชียรเปนเวลาเกาป ปจจุบันผมกําลังอยูในชวงลาราชการของ มหาวิทยาลัย Armstrong Atlantic State University ในเซวันนา รัฐจอเจียร ซึ่ง ผมดํารงตําแหนงคณบดีคณะคอมพิวเตอร ถึงแมผมจะเปนผูบ  ริหารแตผมก็ชอบ การทํางานวิจัย ผมไดตีพิมพหนังสือเกี่ยวกับคอมพิวเตอรประมาณ 50 เรื่อง จํานวน 13 เลม และไดรับเชิญใหไปบรรยายมากกวา 135 ครัง้ ทัว ่ โลก กอนหนา นี้ผมเคยไดทุนฟุลไบรทไปที่สเปนและไอซแลนด ครัง้ นี้ผมไดทุนฟุลไบรทมาสอน และทําวิจัยในประเทศไทย ผมสนใจกิจกรรมกลางแจง เคยเขาปนยอดเขา มาแลวหาจากเจ็ด แขงมาราธอนและอัลตรามาราธอน แขงไตรกีฬาไอรอนแมน มาประมาณสิบครัง้ และเดินขามสหรัฐอเมริกาโดยใชทั้งเสนทางแอพพาลาเชียน

49

พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ป 3, ธันวาคม 2549


และเสนทางเลียบ Pacific Crest Trails ทองเที่ยวคืองานอดิเรกอยางหนึง่ ของผม ผมเคยเที่ยวมาแลว 49 รัฐในอเมริกา 64 ประเทศและเกาะหางไกลอืน ่ ๆ อีก หลายแหง ผมเดินทางมาประเทศไทยคนเดียว ดังนัน ้ บทความนี้จะไมกลาวถึงครอบครัว นอกจากผม ผมจะนําเสนอแนวความคิดโดยแบงออกเปนสามสวน คือ หลักการ ความเปนมืออาชีพและเรือ ่ งสวนตัว 2. หลักการ มียด ื หยุน  การยายไปประเทศอืน ่ เปนเวลานานเปนประสบการณทท ี่ าทาย แตรางวัลของมันมี คามากพอที่จะยอมรับความลําบากและความเสี่ยง อดทนกับทุกอยางและเปดใจ กวาง อาแขนรับผูค  นและวัฒนธรรม ทําตัวใหเขากับวิถีชว ี ต ิ ของคนในประเทศที่ ตนเองอยูและอยาหวังใหทุกสิง่ เปนเหมือนในประเทศของตน คุณจะเห็นวาคน ไทยเปนมิตร ยอมรับการดําเนินชีวิตแตกตางจากทีค ่ ุณคุนเคย คุณตองเต็มใจที่จะ ปรับตัวเขากับวัฒนธรรมทีท ่ ค ี่ ณ ุ อยูและทําตามคนสวนใหญ อีกทัง้ เลิกยึดติดกับสิ่ง ที่คณ ุ คุน  เคยในอดีต คนไทยใจกวางและยอมรับความคิดที่แตกตาง หา “Bobby” ของคุณ คุณควรจะคบคนทีค ่ ุณสามารถพึ่งพาไดอยางนอยหนึง่ คนในประเทศไทย สําหรับผม ผมไดทาํ งานกับคุณสันพวัฒน “บอบบี”้ กันตะพุทธ ผมรูจักเขาผาน อีเมลตอนที่ผมหามหาวิทยาลัยกอนเดินทางมาประเทศไทย เขาสําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยทัฟส (University of Tufts) และผมก็เติบโต และทํางานอยูท  ี่นว ิ อิงแลนดเปนเวลาหลายป ผมรูสึกวาเราสองคนมีบางอยางที่ คลายกัน เขาชวยผมหาทีพ ่ ัก ชวยเปดบัญชีธนาคาร แนะนําการทํางานกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหมและการเดินทาง รวมถึงชวยติดตอกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในประเทศไทยอีกดวย อีกทั้งเขายังชวยผมในเรื่องอืน ่ ๆ เชนเดียวกัน ถาไมไดรบ ั ความชวยเหลือ การสนับสนุนอยางดียิ่ง ปราศจากมิตรภาพของเพือ ่ นและอาหาร เที่ยงมือ ้ ใหญของเรา การมาประเทศไทยในนามของฟุลไบรทของผมก็คงไม ประสบความสําเร็จได คุณตองหา “บอบบี้” สักคน ขอบคุณนะบอบบี้ คุณเปนคน ในความทรงจํา และเปนตัวแทนประเทศของคุณไดอยางสมบูรณแบบ


เปนนักแกปญ  หาตัวยง นักเดินทางทุกคนควรจะตระหนักวา มักจะมีเหตุการณที่ไมคาดคิดเกิดขึน ้ ผม พยายามที่จะไมตั้งความคาดหวังไวมาก ในทางตรงขามผมชอบที่จะเผชิญกับสิ่ง ที่มันเปนไปตามแบบของมัน เกือบทุกสถานการณจะผานไปถาคุณเปนนัก แกปญหาที่ดี เมื่อพบกับภาวะคับขัน ใหคิดถึงผลลัพธที่คณ ุ อยากได จากนั้น หาทางที่ดท ี ี่สุดที่จะไปถึงผลลัพธที่วา นั้น จงอยาโกรธ รวมมือกับคนรอบขางเพื่อ หาแนวทางแกปญหาทีน ่ าพอใจ ตัวอยางเชน ผมเชาหอพักทีม ่ ีอน ิ เตอรเน็ต ความเร็วสูงบริการ โดเมนอินเตอรเน็ตมักจะมีปญ  หาติดขัดอยูบอ  ย ๆ ผมพูดกับ เจาของหอพักที่ผมเชาอยูและบอกเธอวาปญหานี้สามารถแกไขไดอยางงายดาย โดยการสลับไฟในจุดเขาระบบของอินเตอรเน็ต เนื่องจากผมมักจะทํางานดึกใน ตอนกลางคืน ผมจึงขออนุญาตแกไขปญหาการเขาใชอินเตอรเน็ตดวยตัวผมเอง ที่ผมเขามาชวยแกปญหานี้ จากนั้นเธอสอนใหคนอืน ่ แกไขปญหานี้ดว  ยตัวพวก เขาเองอีกดวย มีความมุง มัน ่ ตั้งเปาหมายของตัวเองในการอยูประเทศไทย ตัวอยางเชน ผมตั้งใจวาจะเรียนพูด ภาษาไทย หาเพื่อนแท เขียนรายงานใหเสร็จอยางนอยสองเรื่อง เขียนหนังสือ เลมที่กําลังเขียนอยูในขณะนัน ้ ใหเสร็จ สอนหนังสือ เดินทางไปมหาวิทยาลัยที่ อื่นอยางนอยหาแหง สักระยะหนึ่งแลวคอยประเมินความกาวหนา ถายังไมประสบ ความสําเร็จตามที่ตั้งใจไว คุณอาจตองเปลีย ่ นแปลงเปาหมายของคุณเล็กนอย ขอ ย้ําอีกครั้งวาคุณควรคาดหวังสิ่งที่เปนไปไดและคุณสามารถทําได ตองหมัน ่ ประเมินความกาวหนาของตัวเองเปนระยะ ๆ แลวคุณจะสามารถไปถึงจุดหมายที่ คุณวางไวได มองโลกในแงดี จงเปนคนยิ้มแยมและคิดบวก สิ่งดี ๆ มักจะเกิดขึ้นกับคนที่มองโลกในแงดี เมื่อ ตอนที่ผมเดินทางไปไตหวัน เจาหนาที่เช็คอินที่สนามบินจะคิดเงิน 100 ดอลลาร จากกระเปาน้าํ หนักที่เกินของผม ผมขอรองเธออยางสุภาพ หลังจากคุยใหเธอฟง วาผมจะมาทําอะไร เธอก็ยอมยกเวนคาธรรมเนียมให นับครั้งไมถว  นที่ผมเดินบน ถนนในเชียงใหมแลวมีชาวบานขี่รถผานไปมา (ไมใชรถยนต) พวกเขามักใหผม ติดรถไปดวย ผมไมเคยลืมคนสงพิซซาที่ใหผมซอนทายติดรถไปดวยเลย มีทพ ั หลังทีบ ่ า น จําเปนอยางยิ่งที่คณ ุ ตองมีคนที่ไวใจไดสักคนไวชว  ยดูแลการเงิน ไปรษณียและ เรื่องสําคัญอื่น ๆ อยูทบ ี่ าน คนที่วา นี้จะทําใหการอยูตางประเทศของคุณราบรื่น มากขึ้น โดยควรเปนคนทีค ่ ุณเชือ ่ ใจไดและเปนคนสามารถติดตอสือ ่ สารกันได


สะดวก ตัวอยางเชน เมื่อใบแจงชําระคาประกันรถยนตสงมาที่บา นโดยไมคาดคิด ผมรับทราบแลวสามารถวางแผนการชําระเงินได เมื่อคุณสามารถลดความกังวล เรื่องตาง ๆ ทีบ ่ านได คุณก็จะสามารถสนุกกับการอยูตา งประเทศของคุณไดมาก ขึ้น ภาษา เรียนภาษาไทยไมใชเรือ ่ งงาย การเปนคนฟุลไบรททําใหเราตองทํางานหนักใช สมองตลอดวันในการทําวิจัยและสอน เมื่อกลับที่พักหลังจากใชเวลาทัง้ วันที่ ทํางานก็รส ู ึกเหนื่อย อยางไรก็ตาม หากมีวินัยเราก็สามารถเรียนภาษาไทยได กรณีของผม ผมไมมีเวลาที่จะเรียนเขียนและอานภาษาไทย เปาหมายของผมคือ เรียนพูดภาษาไทย ผมตั้งใจเรียนการสรางคําของภาษาไทยซึ่งผมเชือ ่ วามันจะมี ประโยชนแกผม ผมจางครูสอนสวนตัว เธอชือ ่ เตย เตยสอนผมสัปดาหละสิบ ชั่วโมงเปนเวลาสองเดือน ผมบอกเธอวาผมอยากเรียนคําศัพทที่นาํ ไปใชไดจริง หลังจากเจอทฤษฎีดานวิทยาศาสตรคอมพิวเตอรมาทัง้ วัน ผมจึงตองใชสมาธิ อยางมากในการเรียนรูคาํ ศัพทภาษาไทยใหม ๆ อยางไรก็ตามบรรยากาศการ เรียนสนุกสนาน การที่เรานัดเวลาสอนลวงหนาและเธอตองมาสอนผมทีท ่ ี่พักทํา ใหผมไมสามรถขาดเรียนได ก็ทํานองเดียวกับเรือ ่ งอื่น ๆ ถาคุณมีวน ิ ัย งานตาง ๆ ก็จะงายขึ้นและบรรลุผลสําเร็จได โทรศัพทมอ ื ถือ ตอนอยูอ  เมริกาผมไมชอบใชโทรศัพท แตทป ี่ ระเทศไทย โทรศัพทมป ี ระโยชน มากในการทําธุระ ติดตอเพือ ่ นใหม และจัดการเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ เชน เมื่อมีการ สื่อสารผิดพลาดเกี่ยวกับสถานที่นัดหมาย เราก็สามารถโทรตามกันได เบอร โทรศัพทในไทยปจจุบันมีเกาหลักและขึ้นตนดวยเลขศูนย ถาเปนไปไดคณ ุ ควรซือ ้ ระบบจีเอสเอ็ม อันทีจ ่ ริง ถาไปประเทศไหนคุณก็สามารถ ซื้อซิมการดของประเทศนัน ้ ได รานสะดวกซื้อในประเทศไทยมีบัตรเติมเงินขาย โดยทัว ่ ไปราคามากสุดที่หารอยบาท โทรศัพทของผมสามารถมียอดเงินไดสูงสุด ถึง 5,000 บาท แตเครือขายโทรศัพทมักจะลมระหวางเวลาที่มีการใชงานมาก ที่สุดของวัน ผมแนะนําใหบันทึกเบอรโทรศัพทไวในเครือ ่ งและควรมีสมุด โทรศัพทอีกดวย เพื่อเปนการประหยัดในการโทรไปตางประเทศคนไทยมักจะกด 009


3. ความเปนมืออาชีพ ผูป  ระสานงานหลัก อยางที่ผมกลาวไวแลววาคุณตองหาเพื่อนสนิท คุณตองไมหวังผลประโยชนจาก ความหวังดีของเขาและคุณก็ควรพยายามที่จะชวยสงเสริมงานและชือ ่ เสียงของ เขาทั้งในระดับประเทศและตางประเทศดวย ในกรณีของผม ผมและเพื่อนของผม เขียนบทความดวยกัน ไปเยีย ่ มมหาวิทยาลัยในไทยดวยกัน จัดการประชุม ดวยกัน และปรึกษาพูดคุยกันในหลายเรือ ่ ง ตัวอยางเชน การสงบทความไปเสนอ บรรณาธิการ เรื่องหลักสูตรและหัวขอการทําวิจัย มหาวิทยาลัยของคุณ จําเปนอยางยิ่งที่คณ ุ ตองเรียนพูดภาษาไทยหลังจากคุณถึงประเทศไทยเพื่อที่จะ เขากับเพื่อนรวมงานไดงา ยขึน ้ ถาคุณไมสามรถสรางบทสนทนาสั้น ๆ ไดระหวาง เดินขามตึก มันก็ยากทีจ ่ ะหาเพือ ่ นและเครือขายใหม พยายามคนหาขอมูล เกี่ยวกับมหาลัยและกิจกรรมทีจ ่ ะจัดขึน ้ มหาวิทยาลัยหลายแหงในประเทศไทย สวยงามและกวางขวางมาก บางครัง้ ผมชอบกินอาหารที่โรงอาหารของ มหาวิทยาลัยเพราะมันเปนทีท ่ ท ี่ ําใหผมพบเพือ ่ นใหม อาหารเหลานี้มักจะเผ็ด แต เพียงแคยี่สบ ิ บาทคุณก็ซื้ออาหารดี ๆ ไดมื้อหนึ่งเลย ผมเขารวมกิจกรรมของ นักศึกษาหลายชมรม ซึ่งทําใหผมไดพบเพื่อนใหมและเรียนรูวัฒนธรรมไทย แรก ๆ ผมรูจักกองเชียรของคณะ จากนั้นผมจึงไดรูจักคณบดี เปาหมาย ประเทศไทยเปนประเทศที่นาสนใจ

มีความหลากหลายและมีสงิ่ ทีท ่ ําใหวอกแวก

มากมาย ผมกลาวไวขา งตนภายใตหัวขอ “มุงมั่น” วาการตั้งเปาหมายที่เปนไปได คุณสามารถตัง้ เปาหมายไดสาํ คัญมาก ตัวอยางเชน เขียนหนังสือสองชั่วโมงตอ วัน หรือ เขียนผลงานเพื่อตีพิมพ หรือไมกท ็ ําอะไรที่เหมาะกับคุณและตองสราง วินัยกับตัวเอง ประเมินตัวเองเปนระยะ ๆ เพื่อใหแนใจวาคุณมาถูกทางเพื่อจะ บรรลุถึงเปาหมาย ถาจําเปนคุณก็ตอ  งสามารถปรับเปลี่ยนการทํางานและ เปาหมายของคุณได ที่สําคัญที่สุดคือตองประเมินตัวเองตั้งแตเนิ่น ๆ ในขณะที่ยงั มีเวลาแกไข การมีวน ิ ัยจะนําไปสูค  วามสําเร็จในอนาคต อยาหมดหวังถาคุณบรรลุ เปาหมายไมไดงาย ๆ แคพยายามใหมากยิ่งขึ้นก็พอ


อุปกรณ ถึงแมวามหาวิทยาลัยเจาภาพจะมีคอมพิวเตอรและเครื่องพริน ้ เตอร แตผมเลือกที่ เอาแล็ปท็อปและเครื่องพริน ้ เตอรมาเอง ผมชอบหนาจอคอมพิวเตอรขนาดใหญ เพราะตองจองหนาจอนานเวลาทํางาน ผมชอบที่จะแกไขขอความบนกระดาษ ดวย กรณีของผมนับวาคุมคาเพราะฟุลไบรทชว  ยจายคาธรรมเนียมของน้าํ หนัก กระเปาเกิน คอมพิวเตอรรน ุ ดี ๆ ในไทยคอนขางแพงกวาในอเมริกา อุปกรณเสริม อื่น ๆ เชน ตลับหมึกจะราคาถูกในประเทศไทย ผมใช thumb drive และอีเมล เพื่อสํารองขอมูล ผมพบวาการนําอุปกรณบางอยางที่พิเศษมาคุมคาเพราะผมไม ตองเสียเวลาไปหาซือ ้ ของเหลานี้ ทั้งนี้ผมยังนําอุปกรณเครือ ่ งเขียนเล็ก ๆ ติดตัว มาดวย เชน คลิปหนีบกะดาษ กระดาษโนต แฟม ปากกาและอื่น ๆ ผมรูว  า ของ เหลานี้สามารถหาซือ ้ ไดในไทย แตผมก็รูวาผมมีอยางอืน ่ ตองทํามากกวาจะมา คิดถึงของเหลานี้อยู ผมดีใจทีผ ่ มเตรียมของเหลานี้มาเรียบรอยแลว สวนของใช ในบานนัน ้ บอบบีช ้ วยผมเลือกซื้อมาในราคาที่สมเหตุสมผล เยีย ่ มมหาวิทยาลัยอืน ่ ๆ ระหวางการรับทุนฟุลไบรท ผมไดมีโอกาสไปเยี่ยมชมมหาวิทยาลัยกวาสิบแหง รวมถึงสถาบันการศึกษาในไตหวันและเวียดนาม ถาคุณมีเวลาและมีแรงพอที่จะ ไปมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ก็จะเปนประสบการณที่ดีสาํ หรับทุกคน ทั้งตอตัวคุณเอง มหาวิทยาลัยเจาภาพ มหาวิทยาลัยของคุณในอเมริกา และฟุลไบรท ตอนนี้ผม กําลังจะทําโครงการความรวมมือระหวางโรงเรียนหลาย ๆ แหงกับมหาวิทยาลัย ของผมในอเมริกา นอกจากนี้ ผมยังหวังวาจะสามารถชวยหาทุนใหบอ  บบี้ไปดู งานที่มหาวิทยาลัยในไตหวันดวย จางนิสต ิ ปริญญาโท ผมขอใหบอบบีแ ้ นะนํานิสิตปริญญาโทที่ใหผมสักคน เมือ ่ ผมไดพบยุย ดูเธอเปน คนขีอ ้ ายที่จะพูดภาษาอังกฤษและยังเปนคนพูดนอยอีกตางหาก ตอนนี้ผมพูด ภาษาไทยกับเธอขณะที่เธอก็จะพูดภาษาอังกฤษกับผม ภาษาอังกฤษของเธอ พัฒนาขึน ้ มาก ผมจางยุยใหชวยชวยผมสงไปรษณียและตรวจแกงาน จดหมาย ดวนที่สง ไปอเมริกาจะอยูท  ป ี่ ระมาณ 600 บาท ยุยชวยงานผมไดดีมาก และผมก็ ชวยสอนเธอจัดเอกสารดวย LaTex ผมใหคาตอบแทนยุย  เปนรายชั่วโมง ซึ่ง นับเปนการชวยเพิ่มรายไดใหเธอ เราทํางานดวยกันดวยดีและเปนเพื่อนทีด ่ ต ี อกัน ผมจะพยายามชวยเธอใหไดเขาเรียนปริญญาเอกทีอ ่ เมริกาดวย


แบงปนขอมูลและเวลา ในฐานะที่ผมเปนคณบดีและเปน Commissioner for the Accreditation Board for Engineering Technology (ABET) ในอเมริกา ผมพอจะรูเรื่องหลักสูตร คอมพิวเตอรและการใหการรับรอง (accreditation) ผมชวยตรวจหลักสูตรของ สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยเชียงใหมและบรรยายเรือ ่ ง accreditation ใหเพื่อนรวมงานฟง ไมวาคุณจะมีความเชี่ยวชาญดานไหน คน ไทยก็จะรูสึกชืน ่ ชมที่คุณยินดีแบงปนขอมูลและเวลาของคุณเพื่อชวยพัฒนาระบบ การศึกษาที่นี่ เมื่อคนจากสองวัฒนธรรมไดแลกเปลีย ่ นเรียนรูซ  ึ่งกันและกัน ความคิดดี ๆ ก็สามารถผุดขึ้นไดอยางเหลือเชื่อ ชวยเหลือหากมีโอกาส ถาหากทําได ลองชวยงานวิจัยของอาจารยที่สถาบันเจาภาพดู อาจจะเปนการ ชวยอานงานของพวกเขา ตรวจทานความถูกตองของศัพททางเทคนิคเพื่อเพิ่ม คุณภาพของงานเขียนชิ้นนั้น ๆ ตรวจไวยากรณบนแผนพับ หรือชวยให ความเห็นเกี่ยวกับเว็บไซตเปนภาษาอังกฤษของคณะ หรืออาจชวยดานการสอน 4. เรือ ่ งสวนตัว รูจ  ก ั ตนเอง เราทุกคนลวนมีที่ทต ี่ นเองคุน  เคยและในบางครัง้ มีอารมณขน ึ้ ๆ ลง ๆ ตลอดระยะ การเดินทางและการปนเขาทัว ่ ทั้งอเมริกา ผมไดเรียนรูเกี่ยวกับตัวเองมากขึ้น ผมรู วาอะไรทีผ ่ มชอบ อะไรทีท ่ ําใหผมมีความสุขและทํางานไดดี ผมเปนคนชอบเดิน ผมเลยเชาอพารทเมนต ทีอ ่ ยูไ  กลจากมหาวิทยาลัยออกไปสี่กิโลเมตร หลายคน อาจจะคิดวาผมเพี้ยนไปแลว แตผมก็มีความสุขกับการเดินไปกลับมหาวิทยาลัย ทุกวัน การเดินทําใหผมไดทอ  งเที่ยวไปยังสถานทีท ่ ี่นา สนใจมากมาย เชนตลาด คายมวย รานคาทั้งหลาย ไดเดินผานสุนัขทีเ่ หาผม เจอคนมากมายในละแวกนัน ้ ประโยชนอีกขอหนึง่ ของการเดินคือคุณจะไดสังเกตความเปลี่ยนแปลงของละแวก ที่คณ ุ อยู เชียงใหมเปนเมืองที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว แตหากไมไดสงั เกตอยาง ใกลชิด คุณก็พลาดโอกาสทีจ ่ ะเห็นการเปลีย ่ นแปลงนั้น ผมชอบที่จะอยูในอพาร ทเมนตที่เงียบสงบ มีแสงสวาง สามารถไปวิง่ ออกกําลังกายใกล ๆ ได และมีสระ วายน้าํ ประเทศไทยนีอ ้ ากาศรอนชืน ้


คุณควรพยายามหาสถานทีท ่ ี่ตอบสนองความตองการของคุณและที่ทค ี่ ุณจะอยู อยางมีความสุข ถาจําเปนคุณก็สามารถเพิ่มเงินอีกเล็กนอยใหไดทท ี่ ค ี่ ุณสามารถ จะทํางานไดอยางมีความสุข อยางผม ผมเลือกทีท ่ ี่มอ ี ินเตอรเน็ตความเร็วสูง พยายามเลือกอพารทเมนตใหตรงกับความชอบของคุณ แนนอน ทุกอยางก็โอเค เพียงแตผมจะทํางานไดมากขึน ้ ถาอยูในทีท ่ ี่เหมาะสม ประเทศไทยนี้มีสัตว นาสนใจหลายอยางทีอ ่ าจจะแวะมาเยี่ยมเยือนอพารทเมนตของคุณ ตอนผมไป พักบานโทรม ๆ ในเชียงใหม ผมเจอทั้งแมงมุมยักษ แมงปอง และงูเหา ผมชอบเลนกีตารเพื่อผอนคลาย และก็ชอบยกน้ําหนักดวย บอบบี้ชว  ยผมเลือกซือ ้ กีตารกับดัมเบล ซึ่งถือเปนการจายเงินเพือ ่ ความสบายอยางคุมคา ตอนไปซือ ้ กีตาร คนขายไมยอมใหลอง ผมก็เลยตองซือ ้ มาโดยไมไดรูเลยวาเสียงมันเปน ยังไง คุณอาจจะมีงานอดิเรกหรืออะไรที่ชว  ยใหคุณไมเหงา ทั้งกีตารและดัมเบล ชวยใหผมมีอะไรทําในเวลาวางเล็ก ๆ นอย ๆ และผมยังโชวฝมือเลนกีตารให เพื่อนฟงไดอีกดวย การจากบานมา 12,000 ไมล อาจเปนประสบการณที่เลวราย ถาจะรูสึกหดหูบ  าง บางเวลาก็เปนเรื่องธรรมดา เชน ถาคุณกินอาหารผิดสําแงจนตองหางหองน้ํา ไมไดไปสามวัน ถาคุณเดินทางมาประเทศไทยคนเดียว ก็ตอ  งมีบางทีจ ่ ะเหงา คุณ อาจไมชินกับการกินอาหารตามลําพังบอย ๆ จําเปนทีค ่ ุณจะตองทําตัวใหสบาย พอที่จะไมใหตว ั เองจิตตกกับการหางครอบครัว หางเพื่อนฝูง หางสิ่งที่เคยชิน ภาระหนาที่ อุปสรรคทางภาษา ฯลฯ หมั่นสํารวจตรวจตราความรูส  ึกของตัวเอง ถาอยากกินอาหารอิตาเลียนก็กินเลย ถาเครียดก็ไปนวด คอยบอกตัวเองวาโชคดี แคไหนที่ไดมาอยูในประเทศไทย หากจําเปนก็พักเสียบาง โทรศัพทกลับบาน คุย กับเพื่อน หรือจะอีเมลหากัน ผมสรางเว็บของตัวเอง (www.cs.armstrong.edu/greenlaw) เพื่อจะไดแชรใหเพือ ่ น ๆ รูความเปนมา เปนไปของผมในประเทศไทย เวลาโพสอะไรใหม ๆ ทีไรก็จะไดรบ ั อีเมลจากเพื่อน เสมอ เว็บนี้ชว  ยใหผมเลาเรือ ่ งราวการเดินทางไดเหมือนเขียนบันทึกประจําวันเลย ผูค  น ประสบการณฟล ุ ไบรทที่สาํ คัญที่สุดอยางหนึง่ คือ ผูค  นที่ไดพบและมิตรภาพทีค ่ ุณ สรางขึ้น โดยปกติคนไทยเปนมิตรกับชาวตางชาติ คุณจะไดแลกเปลี่ยนความรู เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ตางกัน ตองพรอมที่จะสรางเพื่อนใหมตลอดเวลา เพราะไมรู วาจะไปพบคนนาสนใจเขาเมือ ่ ไร พยายามออกไปขางนอกเองใหเปนนิสัย อยาง นอยสองสามครั้งตอสัปดาห ประเทศไทยมีรา นคามากมาย มีที่ทค ี่ นทองถิ่นชอบไป กัน มีรานอาหาร และตลาดที่นา สนใจหลายแหง


ผมพยายามจะไปสถานทีส ่ ําคัญ ๆ ในจังหวัดที่ผมอาศัย เมื่อเดินทางตามลําพังผม จะพยายามหาเพื่อนใหมอยูเสมอ ผมมีนามบัตรชึ่งดานหนึง่ เปนภาษาอังกฤษอีก ดานหนึง่ เปนภาษาไทยอยูป  ระมาณ 200 ใบ ตอนนี้ผมคิดวาผมตองทําเพิ่มแลว เพราะคนไทยชอบแลกเปลี่ยนนามบัตรกันมาก ถาคุณใสอีเมลและหมายเลข โทรศัพทไปดวยในนามบัตรก็จะทําใหคนอื่นสามารถติดตอคุณไดสะดวกขึน ้ วัฒนธรรม ประเพณี ผมพยายามที่จะเคารพทุกวัฒนธรรมประเพณีทุกอยาง คนไทยประมาณ 95% นับ ถือศาสนาพุทธ และพวกเขาอยูกันอยางสงบ เมื่อผมเดินทาง ผมมักจะคนควา เกี่ยวกับสถานที่นั้น ๆ ไวบาง ผมชอบที่จะไปไหน ๆ โดยมีภาพอะไรในใจและไมมี ความคาดหวังอะไรลวงหนา ผมพยายามที่จะไมตัดสินและเปรียบเทียบสิง่ ตาง ๆ ตัวอยางเชน ผมเคยไปธนาคารเพื่อฝากเช็คดอลลารเขาบัญชี เจาหนาทีบ ่ อกวา ตองใชเวลาถึงสองเดือนในการเคลียรเช็ค พอไดยน ิ ผมก็คด ิ วาไมมีประโยชนถา จะเทียบวาที่อเมริกาเราสามารถเคลียรเช็คไดภายในหาวัน ผมรูดว ี าผมแคตองสง เช็คกลับไปอเมริกาใหเพื่อนทีไ ่ วใจไดเอาเขาบัญชีใหผม คุณควรเปนคนชาง สังเกตและทําตามคนอืน ่ เมื่อตกอยูในสถานการณที่ไมเคยเจอมากอน อากาศ ประเทศไทยมีอากาศรอนชื้น คุณควรนําเสือ ้ ผาบาง ๆ ที่สามารถปองกันความรอน จากแสงแดด ควรจะมีรมและหมวกติดตัว ถาคุณมีโลชัน ่ กันแดดยี่หอ  ทีช ่ อบก็อาจ เอามาดวยพรอมทั้งแวนกันแดด สําหรับผม ผมชอบวิ่งเวลาอากาศรอน แตคุณ อาจจะชอบออกกําลังกายในตอนเชาขณะทีอ ่ ากาศกําลังเย็นสบายก็ได ภาษา ผมพยายามที่จะใชภาษาไทยใหบอ  ยทีส ่ ุดเทาที่จะเปนไปได แตคุณไมสามารถที่ จะรีบเรงทําสิง่ ใด ๆ ได บางครัง้ คุณอาจจะหงุดหงิดและรูสก ึ วาภาษาไทยคุณไม พัฒนา คําวา “คืนนี”้ ออกเสียงคลาย “พรุง นี”้ และคืนหนึง่ ผมตองรอเพื่อนกวาครึ่ง ชั่วโมงเพราะคิดวาเพือ ่ นจะมาทั้งที่เพื่อนวางแผนจะมาเยี่ยมวันพรุง นี้ ผมพยายาม ไมบังคับใหตว ั เองตองออกเสียงอยางถูกตองสมบูรณแบบ ตามธรรมดาแลว คุณจะ พูดไดดีขน ึ้ เองถาหัดพูดบอย ๆ และพยายามเรียนรูค  ําศัพทใหมทุกวัน ถาคนอื่นไม เขาใจคุณ ลองพูดอธิบายดวยวิธีอื่น และควรจะพูดกับคนมากกวาหนึ่งคนในเวลา เดียวกัน ถาฟงกันหลายคน พวกเขาคงพอจะนึกออกวาคุณตองการพูดอะไร การ โทรศัพทคุยกับเพื่อนก็เปนวิธีฝก  ฝนภาษาไทยที่ดอ ี ีกวิธีหนึง่


การเดินทาง การเดินทางทีน ่ ค ี่ อนขางถูก แตคุณก็ตอ  งเผือ ่ เงินไวเพือ ่ การทองเที่ยวดวย ผมคิด วาคุณควรจะเทีย ่ วที่ใกล ๆ กอน เมื่อภาษาของคุณดีขึ้นคอยเที่ยวไกลออกไป ผม ชอบเดินทาง ดังนัน ้ ผมจึงวางแผนวาจะตองไปเที่ยวที่ใหมสก ั แหงอยางนอยหนึ่ง ครัง้ ตอสัปดาห เมื่อเดินทาง ผมมักเอางานติดไปดวยเพือ ่ ทําใหผมไมเสียงานถา ตองรอเครือ ่ งนาน และยังชวยใหรูสึกวาการเดินทางสัน ้ ขึ้นดวย ในทางตรงกัน ขาม หากผมไดนั่งใกลคนที่นา สนใจบนเครือ ่ งบินหรือเห็นคนที่พรอมพูดคุย ผมก็ จะวางงานไวขา ง ๆ และเพลิดเพลินกับบทสนทนา ผมลงแขงวิ่งมาราธอนถึงสาม ครัง้ ขณะทีอ ่ ยูในประเทศไทย แตละครัง้ พาทําใหผมไดไปยังที่ที่ผมยังไมเคยไปมา กอน หากคุณชอบทําอะไรก็จงใชมน ั ใหเปนประโยชน เพื่อใหการเดินทางของ คุณคุมคา ผมขอแนะนําใหคณ ุ พกสิ่งเหลานีต ้ ิดตัว - ที่อุดหู ที่ปด  ตา ยาหยอดตา และรูปถายพาสปอรต รวมทัง้ แบงคยอยเยอะ ๆ เงินดอลลาร บัตรเครดิตและเดบิต เอาเอกสารสําคัญฝากไวกบ ั เพือ ่ น พกสําเนาพาสปอรตติดตัวแทนและเก็บรูปถาย พาสปอรตไวกับตัวตลอดเวลา นอกจากนี้ คุณควรจะมีกระดาษทิชชูสาํ หรับใชใน หองน้ําและสิ่งทีค ่ ิดวาจําเปนติดตัวไวเสมอ เงินบาท ณ ปจจุบน ั ขณะที่กําลังเขียนเรื่องนี้ คาเงินบาทอยูที่ 37 บาทตอดอลลาร เมื่อคุณ มาถึงประเทศไทยใหรบ ี เปดบัญชีธนาคาร ถาเปนไปไดผมแนะนําใหคุณพก เงินดอลลารมาประมาณ 5,000 ดอลลารเพื่อเปดบัญชีธนาคาร เพื่อคุณจะได สามารถใชบัตรเอทีเอ็มกับธนาคารในประเทศไทยได หากคุณใชบัตรเอทีเอ็มจาก อเมริกาคุณจะตองจายประมาณ 10 ดอลลารในการถอนเงินไทย 20,000 บาท หากคุณชําระคาสินคาผานบัตรเครดิตวีซา คุณจะตองจายคาธรรมเนียมประมาณ 3% ดังนั้นเมือ ่ คุณจายเงินสด คุณจะประหยัดเงินกวามาก คาแท็กซีใ ่ นประเทศ ไทยมักตอรองได ผมจายแคประมาณ 100 บาทตอการเดินทาง 30 นาที ตู เอทีเอ็มมักจายเงินเปนธนบัตร 1,000 บาท แตผมแนะนําใหคณ ุ เอาธนบัตรฉบับละ 20 บาท 50 บาท 100 บาท พกติดตัวเอาไวเยอะ ๆ เรือ ่ งอืน ่ ๆ ทบทวนสิง่ ทีค ่ ณ ุ กําลังทําและระดับความพึงพอใจตอสถานการณรอบตัว ถาคุณไม มีความสุข จงหาทางเปลี่ยนแปลงบางสิง่ บางอยาง ประเมินอีกและเปลี่ยนอีก ใน ไมชาคุณจะคนพบจังหวะที่เหมาะกับคุณ ขอใหฟงคําแนะนําและความคิดเห็นจาก ผูอื่น แตทา ยทีส ่ ุดคุณตองเปนคนตัดสินใจเรือ ่ งตาง ๆ เอง มันอาจจะไมมอ ี ะไรถูก อะไรผิด แตตองมีอะไรสักอยางหนึ่งทีท ่ ําใหคุณมีความสุขไดมากกวาอีกอยาง หนึ่ง เช็คระดับพลังงานของคุณ หากรูสึกวามันไมไดสูงอยางที่เคยเปน คุณควร ตรวจสอบอาหารของคุณ อาหารใหม ๆ อาจทําใหอารมณดีขน ึ้ แตอาหารรสเผ็ดก็


อาจมีผลตอกระเพาะได จงใสใจกับสิง่ ทีค ่ ุณทําและอาหารที่กิน ใชวิจารณญาณ แตหากจําเปนก็ตองขอความชวยเหลือ ฟุลไบรททป ี่ ระเทศไทยมีเจาหนาทีท ่ ี่ พรอมชวยเหลือคุณอยูเสมอ สรุป ผมหวังวาคุณจะสามารถนําขอแนะนําเหลานี้ไปใชไดบา งเพราะมันจะทําใหการ เดินทางและการใชชว ี ิตอยูในประเทศไทยของคุณราบรืน ่ ประสบการณฟุลไบรท ของคุณจะเปนอยางไรก็ขึ้นอยูกับตัวคุณเอง จงรับผิดชอบตอสิ่งทีค ่ ุณทําและใช เวลาใหคุมคาทีส ่ ุด ผมหวังวาคุณจะไดประสบการณที่เยี่ยมที่สุดในประเทศไทย ผมขอขอบคุณบอบบี้ โจ ยุย ภาควิทยาศาสตรคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) เปนอยางยิ่ง


Cultural Shock in one’s Own Home50 Morgan Springle 2006 English Teaching Assistantship Program @Kelangnakorn School, Lampang

When it came time to go home, I thought I was pretty mentally prepared. I’d been abroad and back before, though never for quite so long, and never quite as immersed as I was in Thailand. I knew that food portions would be huge, people would be a bit more ใจรอน (hasty) and I’d be driving a car to traverse the urban sprawl, not a “motorcycle”. I thought I was all prepared. But just as preparation eases, but doesn’t eliminate normal culture shock, nor can any amount of anticipation succeed in preventing landing shock. It started in Chicago’s O’Hare airport. I ordered a sandwich and only ate half of it before feeling like my stomach might burst. I accidently bumped a woman with my bag and before I could even utter a confused “ขอ, umm, sorry, so sorry” She glared at me as if had just purposely thrown a rock through her window or cursed her in the foulest words known to English-speaking man. I asked a woman who was standing in front of a United counter as to the whereabouts of my flight to Miami, and received as a response, “I have no idea. I would never fly to Miami. Go ask someone who works for United.” She then flashed her ID tag of another airline and turned to another customer.

50

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 21, April 2008


It wasn’t just negatives though. The informality, the abrupt friendliness of American culture also threw me off. A man asked to share an outlet I was using for my electronics, sat down next to me and commented on my in-progress journal-writing (“You don’t see many people doing that these days”). We discussed his job, my travels, and then suddenly, without warning, returned to our individual spheres, to not speak anymore for the remaining hours before we went to our respective flights. No ending of “good luck, have a great trip, I wish you great prosperity and fortune,” just a quick cut and run. It was as if I, though clearly an American, had forgotten how we do things over here. I was shocked by the distances we drive to get anywhere in suburban South Florida, confused by the abundance of plazas, and overwhelmed by the sensationalism of the news. I didn’t know what to call banana peppers and just, kind of pointed and said “those.” I didn’t wonder why everyone gets so stressed out by driving, work, money, etc., but I did wonder why they had to all go around expressing it to everyone within earshot or honking range. I was introduced to a group of unfamiliar adults at a dinner, and I had to restrain my instant-wai to instead shake hands. I ended my sentences with นะ (na) and mumble to myself in Thai in the midst of normal conversations. I pronounced the word “orchard” as “orkerd.” I asked my friends “how does one get the check in his country?” and เกรงใจed (feeling not to express one’s own need for fear of troubling others) at a birthday party of a friend of a friend (“Oh I’ll eat anything, don’t worry, order what you want,” “ Well, I guess I can go, if you have room, and it’s not an imposition, and if you’re sure that it’s okay…”, “No no, you have the last ___,I’m quite full”). There’s not even a word for how I was acting in my language.


For a brief moment (well, one week), I thought my ความเปน American (American-ness) was broken, that I’d need to go back to elementary school, pledge allegiance to the flag, eat cookies and milk, and read stories about anthropomorphic animals with morals like “The squeaky wheel gets the grease” or “if you give a mouse cookies…” until I learned how to live in the country again. But at the same time, I knew that soon all of these slightly bizarre phenomena would fade away, that I’d become a standardized American again, and that was actually of greater concern to me. Reverse culture shock isn’t a sign of some failure, nor the depressing end of an exciting adventure. Reverse culture shock means that one has acquired a whole new way of being, interacting, and maneuvering through society. Now I was in possession of not just one way of expressing myself, but more like 1.76 modes of expressing myself (I wouldn’t call my Thai set of manners complete quite yet). Just like many other multilingual or multicultural types, part of me is very clearly still an American, but with a whole new set of people skills, perspectives and ideas in my reserves. I at least felt confident after that realization, confident that my Thailand experiences would not fade away, but are rather a permanent part of a slightly more interesting and versatile me.


Cultural Shock เมือ ่ กลับบาน51 มอแกน สปริงเกิล 2006 English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนเขลางคนคร ลําปาง แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)

ผมเขาใจวาตัวเองมีสภาพจิตคอนขางพรอมเมือ ่ ถึงเวลาตองกลับบาน ทีจ ่ ริงผมก็ เคยกลับจากตางประเทศมากอน แตไมไดไปอยูน  านขนาดนี้ แลวก็ไมไดไปใช ชีวิตคลุกคลีอยูท  ี่ไหนเหมือนทีเ่ มืองไทย ผมรูว  าอาหารทีบ ่ านจานใหญ ผูคนก็ออก จะใจรอน และเวลาออกไปนอกเมืองก็ตอ  งขับรถไปไมสามารถขี่มอเตอรไซคได ผมคิดวาผมพรอมแลวเชียว แตการเตรียมพรอมก็ไมไดชวยลด cultural shock เลย และไมวาจะคาดการณไวลวงหนาอยางไรก็ไมชวยปองกันอาการช็อกเมื่อ เครือ ่ งลงจอดได เรื่องมันเริ่มที่สนามบินโอแฮรในชิคาโก ผมสั่งแซนวิชมาแตกินไมหมดเพราะรูสึก เหมือนกระเพาะจะระเบิด และเมื่อบังเอิญแกวงกระเปาไปโดนผูหญิงคนหนึ่งผมก็ เผลอพูดไปวา “ขอ..เออ sorry, so sorry” เธอจองเหมือนโดนผมขวางหินใส หนาตางและสบถใสเธอดวยภาษาอังกฤษหยาบ ๆ คาย ๆ เมื่อผมถามผูหญิงที่ยืน อยูหนาเคานเตอรสายการบินยูไนเต็ดแอรไลนวาเที่ยวบินทีจ ่ ะไปไมอามีขน ึ้ ที่ไหน ผมไดคาํ ตอบวา “ไมรส ู ิ ฉนไมเคยบินไปไมอามี ไปถามคนของสายการบิน ยูไนเต็ดสิ” จากนั้นก็ยื่นปายสายการบินอืน ่ ใหผมดูแลวก็หันไปหาลูกคาคนอืน ่ นี่ไมใชแคการมองโลกในแงลบเทานั้น ผมรูสึกรับไมไดกับความไมแยแสและ มิตรภาพแบบมาไวไปไวในวัฒนธรรมอเมริกัน มีผูชายคนหนึ่งมาขอแบงใช ปลั๊กไฟกับผม เขานั่งลงขาง ๆ แลววิจารณบทความที่ผมกําลังเขียนอยู (“ตอนนี้ คนไมคอ  ยทําแบบนี้กันแลว”) เราคุยกันถึงงานของเขา การเดินทางของผม และ ทันทีทน ั ใดโดยไมมีปมีขลุย เราก็กลับเขาสูโลกของตัวเอง และไมไดพูดอะไรกัน อีกเลยเปนเวลาหลายชั่วโมงกอนที่จะแยกยายกันไปขึ้นเครือ ่ ง ไมมีคาํ ลงทาย

51

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 21, เมษายน 2551


ประมาณวา “โชคดีนะ ขอใหสนุกกับการเดินทาง หรือโชคดีมีเงินใช” แคตัดบท แลวก็รบ ี รอนจากไป ทัง้ ที่เปนคนอเมริกันแท ๆ แตมันเหมือนกับผมลืมไปแลววา เราเคยอยูกันยังไง ผมรูสึกช็อกที่ตอ  งขับรถเปนเวลานานเพื่อไปที่ไหนสักแหงแถวชานเมืองในเซาท ฟลอริดา รูสึกสับสนกับสารพัดแยก เหลือทนกับการใสสีตไ ี ขของสื่อ ไมรจ ู ะเรียก พริก banana pepper วายังไงเลยไดแตชี้แลวบอกวา “นี”่ ผมไมประหลาดใจถา ใครจะเครียดจัดกับการขับรถ ทํางาน เงิน และอื่น ๆ แตผมออกจะแปลกใจวา ทําไมตองแสดงใหทุกคนทีอ ่ ยูใกล ๆ รูหมด ผมเผอิญไดรูจักกับคนแปลกหนากลุม หนึ่งในระหวางอาหารเย็น และผมก็ตอ  งคอยหามไมใหตว ั เองเผลอไหวแทนที่จะ จับมือ ผมลงทายประโยคดวยคําวา “นะ” พึมพํากับตัวเองเปนภาษาไทยระหวาง การพูดคุย ผมออกเสียงคําวา Orchard เปน Orkerd ถามเพื่อนวา “ประเทศนี้เขา ซื้อเช็คกันยังไง” และทําตัวเปนแขกขี้เกรงใจ (คือไมอยากจะแสดงใหใครรูว  าจริง ๆ แลวผมตองการอะไรเพราะกลัวจะทําใหคนอื่นตองลําบากโดยใชเหตุ) ในงาน วันเกิดเพื่อนของเพื่อน (“ออ ผมกินไดทุกอยาง ไมตองหวง สัง่ ตามสบายเลย” “เออ ผมคิดวาไปไดถาคุณมีที่เหลือ ไมไดจะอะไรนะ แตถาคุณแนใจวาโอเค..” “ไม ไม คุณจัดการชิน ้ สุดทายไดเลย...ผมอิ่มแลวละ”) ซึ่งสิ่งที่ผมทําลงไปนี้ไมมค ี ําอธิบาย ในภาษาอังกฤษ ชวงระยะเวลาสัน ้ ๆ (เออ ก็สักหนึ่งอาทิตย) ผมคิดวาความเปนอเมริกน ั ของผมคง จะบกพรองจนนาจะตองไปเริม ่ เรียนอนุบาลใหม สาบานตนกับธงชาติอีกครั้ง กลับไปกินคุกกีก ้ ับนม และอานนิทานที่ใชสัตวเปนสื่อสอนใจตาง ๆ อยาง “The squeaky wheel gets the grease (โวยดังกวายอมไดรับความสนใจกวา)” หรือ “If you give a mouse cookies…(ถาเธอใหคุกกี้กับเจาหนู มันก็จะอยากได... ดวย)” จนกวาจะเรียนรูการใชชีวิตในอเมริกาอีกครั้ง แตขณะเดียวกัน ผมก็รูวา ปรากฏการณอน ั แปลกประหลาดนี้จะคอย ๆ หายไปเอง และผมจะกลับมาเปน อเมริกันชนปกติทั่วไปในไมชา ซึ่งผมออกจะวิตกอยู ปรากฏการณชอ ็ กทางวัฒนธรรมแบบมุมกลับนี้ ไมใชสญ ั ญาณของความลมเหลว แตอยางใด ทั้งไมใชบทสรุปอันนาหดหูของการผจญภัยที่สด ุ แสนจะตื่นเตน การที่ จะเกิดอาการช็อกมุมกลับเชนนี้ไดหมายความวาคน ๆ นัน ้ ไดพัฒนาแนวทางใน การดําเนินชีวิต การมีปฏิสัมพันธ และการเอาตัวรอดในสังคมแบบใหมยกชุด ตอนนี้ผมไมไดมีแคแนวทางดําเนินชีวิตแบบเดียวเทานั้น แตนาจะเปน 1.76 แบบ


(เพราะความเปนไทย ๆ ของผมยังไมนา จะสมบูรณรอ  ยเปอรเซ็นต) ก็เหมือนกับ การพูดไดหลายภาษาหรือมีหลายวัฒนธรรมนั่นแหละ ในขณะทีส ่ วนหนึง่ ของผม ยังคงเปนอเมริกันแทแนนอน แตผมก็มีชุดทักษะชีวิตเกี่ยวกับผูคน และมุมมองชุด ใหมดวย เมื่อรูอ  ยางนี้แลว อยางนอยผมก็มั่นใจไดวาประสบการณเกี่ยวกับประเทศไทยของ ผมจะไมสูญหายไป แตจะฝงอยูในตัวผมอยางถาวรและทําใหผมเปนคนทีม ่ ีความ หลากหลายนาสนใจ


Fulbright Changes Me…For a Better “Me”!52 Gracie Raver 2011 English Teaching Assistantship Program @Yangtalad Wittayakarn School, Kalasin Province

In June, a solid nine months into my year as a Fulbright ETA, I was beyond excited to find out that one of my good friends from college, Valerie, was planning a trip to come visit me in Thailand. As soon as her flight was booked, I began to pour every free minute into planning her trip. I made time for the beach and a weekend in Bangkok, but most importantly, Valerie and I agreed that she would spend a week teaching with me at my school, Yangtalad Wittayakarn, in Kalaasin Province. Even though Valerie was one of my closest friends, I found I was nervous to see her. Yes, I was still primarily excited about her visiting, but as I waited for her at the airport I suddenly had a million questions that I hadn’t thought of before. Would Valerie feel comfortable at my school? Would she get bored? What if she couldn’t eat the food? Did I even ask her if she liked rice?! Worst of all, what if Val didn’t like Thailand? My anxiety mostly dissipated the moment I saw Valerie making her way out of the exit gate. While you could feel an abnormal hesitation in our initial conversations as we both readjusted to being around each other, I

52

Originally published in Fulbright Newsletter Issue 34, August 2012


was happy to find that it was still easy to spend time with her. While we both were undoubtedly different, our interactions were still very much the same. She was still Val, and I was still Gracie. We were just a little older. As I took Valerie around Thailand, I loved to watch her soak up her new surroundings. It reminded me of what it was like to experience everything for the first time, back when Thailand was still brand new and unknown to me. While we both had a fantastic time throughout our two weeks together, some of my anxiety did not disappear. There were still moments I felt hyperaware of Thailand’s quirks and nervously waited to see how Valerie would deal with them. I found myself feeling extremely proud when Val pointed out something she found beautiful or ate a food she thought was delicious (plumeria flowers and green curry!) and a touch insecure when she thought something was weird or uncomfortable, even though she insisted it didn’t bother her (the smell of Bangkok and the geckos living in my house). Ultimately, Valerie’s visit didn’t show me how much I have grown. I already knew, as cliché as it sounds, that I had changed. Change, after all, is a part of life: You get older. You experience things. You change. Besides, I didn’t need a friend from home visiting to show me these differences in myself. I feel them every day when I confidently teach an English class, share a funny moment with one of my Thai co-workers, or happily eat the fishiest, spiciest of somtam. I now can accomplish all of these things with what I hope is ease and grace. Would I have been able to say the same a year ago? Probably not.


Valerie’s visit instead showed me how beautiful, and yes, a little scary, it can be when personal changes happen when you’re geographically separate from those you love the most. As Fulbrighters, it’s a given that we all have a touch of wanderlust fueled by our pursuits of seeing new places and meeting new people. We love how the experiences give us new stories, and we take pride in integrating ourselves into new communities. We wouldn’t be so committed to the goals and mission of the Fulbright organization if we didn’t. However, at the end of the day, we too still have family and friends back at home. It ‘s a unique experience to be temporarily thousands of miles away and not have our loved ones be able to see the daily routines and experiences that so deeply shape us. Personally, one of the most challenging parts of this year for me has not only been being far from my family and friends but also imagining what it will be like to come back to them. I think of my life before I became a teacher in Thailand and I think of my life now. How could I ever explain to those I love back home how important Thailand is to me, how much I felt like Thailand is now a part of me. I wasn’t even sure how the two could fit together? At the end of her visit as we sat at a café in Bangkok hours before her return flight, I asked Valerie what her favorite part of the trip has been. A part of me expected her to pick one of the days we spent lounging on a beautiful beach in Phuket or the sticky afternoon spent exploring Bangkok’s most beautiful temples. Valerie thoughtfully tilted her head and looked at me over her drink. “You know, I think my favorite day was that one in Issan.”


I knew exactly which day she was talking about. After classes were finished, Valerie, my host teacher, P’Moo, and I hopped into his silver pick-up truck and set off to see Kalasin’s sights. Our afternoon adventure included stops at the Sirindhorn Dinosaur, beautiful local temple, and a trip to a local market to grasp some thoroughly Isaan food for dinner: grilled catfish, sticky rice, and an array of kanom. As we drove home I remember quietly sitting in the back of the truck soaking in the seemingly endless views of bright green rice paddles. I listened to P’Moo laugh as Valerie squealed with excitement over seeing another water buffalo. My two very different friends began to conspire over how she could try to fit one of the very large animals in her carry-on luggage. There it was – hope that my two worlds could indeed combine. And they were both awesomely compatible.


ฟุลไบรทเปลีย ่ นฉันใหดีขน ึ้ 53 เกรซี่ เรเวอร 2011 English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร จังหวัดกาฬสินธุ แปลและเรียบเรียงโดย นภัทรพร ทองใบ, ผูพิพากษาศาลชั้นตนประจําสํานักประธานศาลฏี กา, 2005 Open Competition Program @ University of Virginia

ในเดื อ นมิ ถุ น ายน ตอนที่ ฉั น มาเป น ครู ผู ช ว ยสอนภาษาอั ง กฤษในโครงการ Fulbright ETA ไดเกาเดือน ฉันก็ไดรับขาวนาตื่นเตนวาวาเลอรี เพื่อนสมัย มหาวิทยาลัยจะมาเยี่ยมฉันที่ประเทศไทย ทันทีที่วาเลอรีจองตั๋วเครื่องบิน ฉันก็ เริ่มใชเวลาวางวางแผนพาเธอเที่ยว ฉันกะวาในเวลาหนึ่งสัปดาหเราจะไปเที่ยว ทะเลและเที่ยวกรุง เทพฯ กัน แตที่สําคัญก็คือ วาเลอรีรับปากจะมาชว ยฉันสอน หนังสือที่ โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร จังหวัดกาฬสินธุ ถึงแมวาวาเลอรีจะเปน เพื่อนที่สนิททีส ่ ุดคนหนึง่ ของฉัน แตฉันก็อดรูสึกกังวลไมไดที่จะไดเจอเธอ ทั้ง ๆ ที่ ฉันก็ตื่นเตนที่เธอจะมาเยี่ยม ขณะรออยูที่สนามบิน ฉันเริ่มมีคําถามเกิดขึ้นในใจ อยางที่ไมเคยนึกมากอน วาเลอรีจะชอบโรงเรียนของฉันไหม เธอจะเบื่อไหม จะ ทํา อยา งไรถาเธอกิน อาหารที่นี่ไมได เอะ ฉัน ไดถามเธอหรือ ยังวา ชอบกิน ขา ว หรือเปลา และเรื่องที่นากังวลที่สุด คือ วาเลอรีจะชอบประเทศไทยไหม ความตื่ น เต น และความกั ง วลของฉั น หายไปเกื อ บหมดเมื่ อ ฉั น เห็ น วาเลอรี เ ดิ น ออกมาทางประตูผูโดยสารขาเขา แมชวงแรกเราจะตองใชเวลาทําความคุนเคย กันอีกครั้งเพราะไมไดเจอกันมานาน ฉันยังพบวา ฉันมีความสุขที่จะไดใชเวลา รว มกั บ วาเลอรี ถึ ง เราทั้ ง สองคนจะแตกต า งกั น แต ค วามสั ม พั น ธ ข องเรายั ง คง เหมือนเดิม เธอยังคงเปนวาล และฉันยังคงเปนเกรซีเหมือนสมัยกอน เพียงแตเรา ทั้งสองโตขึ้น ระหวางที่ฉันพาวาเลอรีตระเวนไปทั่วประเทศไทย ฉันชอบดูเวลา เธอซึมซับสิ่ง ใหม ๆ รอบตัว มัน ทําใหฉัน ยอนนึกถึง ตัวเองเมื่อ ครั้ง ไดพ บเจอสิ่ง ใหมรอบตัวเปนครั้งแรกตอนที่เพิ่งมาถึงเมืองไทย แม ว า เราทั้ ง สองจะมี ช ว งเวลาที่ ดี ม ากด ว ยกั น ก็ ไ ม อ าจกล า วได ว า ความกั ง วล ทั้งหมดของฉันจะหายไป มีบางครั้งที่ฉันรูสึกกังวลกับเรื่องแปลก ๆ ในเมืองไทย

53

พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 34, สิงหาคม 2555


และรอดูวาวาเลอรีจะรับมือกับเรือ ่ งเหลานั้นอยางไร ฉันรูสึกภูมิใจเวลาเห็นวาลชม อะไรวาสวย และกินอาหารไทยไดอยางเอร็ดอรอย (แกงเขียวหวานและดอกลีลา วดี) ฉันจะรูสึกไมสบายใจเวลาวาลบอกวา มีอะไรประหลาดหรือรูสึกอึดอัด แม วาลจะยืนยันวาเธอไมเปนไร (เชน กลิ่นเหม็นในกรุงเทพและจิ้งจกที่อยูในบาน ของฉัน) ทายที่สุด การที่วาเลอรีมาเยี่ยมไมไดทําใหฉันรูสึกวาฉันเติบโตขึ้น เพราะนั่นเปน เรื่องที่ฉันรูอยูแลว แตทําใหฉันรูวาฉันเปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงเปนสวนหนึ่ง ของชีวิต เราโตขึ้น เรามีประสบการณกับสิ่งตาง ๆ เราเปลี่ยนไป จะวาไปแลวฉัน ไมจํา เปน ตอ งมีเพื่อ นจากประเทศเดีย วกันมาบอกวา ฉัน เปลี่ยนแปลงไปมากแค ไหน ฉันรับรูความเปลี่ยนแปลงอยูทุกวัน เมื่อฉันสอนภาษาอังกฤษ เลาเรื่องขําขัน ใหครอบครัวไทยของฉันฟงหรือ นั่งกินสมตําปลารารสเผ็ดมาก ๆ ฉันคิดวาฉัน รับมือกับสิ่งเหลานี้ไดอยางราบรื่นและสงางาม ฉันจะพูดแบบนี้ไดมั้ยเมื่อหนึ่งปที่ แลว คําตอบคือ อาจจะไม การมาเยี่ยมของวาเลอรีทําใหฉันเห็นวา ความเปลี่ยนแปลงในตัวคนเราเกิดขึ้น เมื่อเราอยูหางไกลจากคนที่เรารักมากที่สุด ซึ่งเปนทั้งสิ่งสวยงามและนากลัว ใน ฐานะผูรับทุนฟุลไบรท เราทุกคนมีความตองการที่จะเดินทางเพื่อไปเห็นสถานที่ ใหมๆ และพบเจอผูคนใหม ๆ เรารักประสบการณที่มอบเรื่องราวใหมๆใหเรา และ เรารูสึกภาคภูมิใจเมื่อเรากลายเปนสวนหนึ่งของสังคมใหม หากเราไมรูสึกภูมิใจ เราก็คงไมไดผูกพันกับเปาหมายและภารกิจของฟุลไบรทมากเทาใดนัก อยางไรก็ ตาม เราทุกคนมีครอบครัวเพื่อนฝูงอยูที่บานเกิด เปนประสบการณแสนแปลกเมื่อ เราอยูหางจากบานเกิดหลายพันไมล และคนที่เรารักก็ไมไดเห็นชีวิตประจําวัน และประสบการณซึ่งเปลี่ยนแปลงตัวเรา โดยสวนตัวแลว สิ่งที่ทาทายฉันมากที่สุด ในป นี้ ไม ใ ช เ พี ย งแต ก ารอยู ห า งไกลจากครอบครั ว และเพื่ อ น แต เ ป น การ จินตนาการวา ชีวิตจะเปนอยางไรหลังกลับไปหาพวกเขา ฉันนึกถึงชีวิตตัวเอง กอนที่จะมาเปนครูในประเทศไทยกับชีวิตของฉันในตอนนี้ ฉันจะอธิบายใหคนที่ ฉันรักเขาใจไดอยางไรวา ประเทศไทยสําคัญกับฉันขนาดไหน ตอนนี้ฉันรูสึกวา ประเทศไทยเปนสวนหนึ่งของฉัน แมฉันจะยังไมรูโลกสองใบของฉันจะมารวมกัน ไดอยางไร ในชวงกอนที่วาเลอรีจะกลับบาน เราสองคนไปนั่งคุยกันในรานกาแฟที่กรุงเทพฯ อยูหลายชั่วโมง ฉันถามวาเลอรีวาเธอชอบวันไหนมากที่สุด ฉันแอบเดาวาเธอจะ เลือกวันใดวันหนึ่งที่พวกเรานอนเลนบนชายหาดที่ภูเก็ต หรือบายวันที่ไปเยี่ยม ชมวัดสวย ๆ ในกรุงเทพฯ วาเลอรีเอียงศีรษะอยางใชความคิดและมองมาที่ฉัน


แลวตอบวา “เธอรูไหม ฉันคิดวาวันที่ฉันชอบมากที่สุดตั้งแตมาที่นี่ คือวันที่เราอยู ในอีสาน” ฉันรูทันทีวาวาเลอรีหมายถึงวันไหน มีอยูวันหนึ่ง หลังจากที่เราสอนหนังสือเสร็จ วาเลรี พี่หมู ครูประจําชั้นของฉัน และฉันกระโดดขึ้นรถปกอัพสีเงินเพื่อไปเที่ยว สถานที่ ต า ง ๆ ในจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ การผจญภั ย ช ว งบ า ยของเรามี ทั้ ง การชม พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ไ ดโนเสาร สิ ริ น ธร วั ด ท อ งถิ่ น ที่ ส วยงาม และตลาดพื้ น เมื อ งเพื่ อ กิ น อาหารเย็ น แบบอี ส าน อั น ได แก ปลาดุ ก ยา ง ข า วเหนี ยว และขนมถาด เมื่ อ เรา เดินทางกลับบาน ฉันจําไดวา ฉันนั่งเงียบ ๆ ทายรถมองวิวขางทางที่เต็มไปดวย ทุงนา ฉันนั่งฟงพี่หมูหัวเราะที่วาเลอรีตื่นเตนกับควายในนา เพื่อนที่แตกตางของ ฉัน สองคนสมคบคิด กัน วา จะจับเจา สัตวตัวใหญนี้ซอนไวในกระเปาถือ แอบขึ้น เครื่องบินไดอยางไร ชวงเวลานั้นเอง โลกทั้งสองของฉันก็สามารถมาบรรจบกัน และเขากันไดอยางเยี่ยมยอด


Acknowledgement This book project would not be possible without the following contributors: Editors English Kevin F. F. Quigley, Ph.D., Country Director, Peace Corps Thailand (2007 Fulbright U.S. Specialist Program) Bruce B. Svare, Ph.D., State University of New York at Albany (2006 and 2014 Fulbright U.S. Scholar Program) Thai Benjawan Ubonsri, Executive Director, Fulbright Thailand (2003 Fulbright Administrator Exchange Program) Siriporn Tantsetthi, Senior Program Officer (American Program), Fulbright Thailand Cheewarat Kaewsaengkwan, Program Administrative Assistant, CEDAW Southeast Asia Programme, UN Women, former Junior Program Officer, Fulbright Thailand Translators Bancha Rattanamathuwong, Graduate Student, University of Oregon (2013 Open Competition Scholarship Program) Chotima Chaitiamwong, Outreach Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Diyaporn Wisamitanan, lecturer, Faculty of Humanities & Social Science, Thaksin University (2011 Hubert H. Humphrey Fellowship Program) Jakkree Tejawaree, Strategic Manager, S&P Syndicate PCL (2011 Open Competition Scholarship Program) Napatporn Tongbai, Judge of the Office of the President of the Supreme Court (2005 Open Competition Scholarship Program)


Parichart Munsgool, Judge of the Office of the Judiciary (2007 Open Competition Scholarship Program) Puripant Ruchikachorn, Ph.D. Candidate, State University of New York, Stony Brook (2010 International Fulbright Science and Technology Award Program) Sakol Suethanapornkul, Ph.D. Candidate, Georgetown University (2008 Open Competition Scholarship Program and 175th Thailand-U.S. Friendship Award) Talisa

Likanonsakul,

Junior

Program

Officer,

Thailand-United

States

Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Tarit Nimmanwudipong, Research Engineer/ New Business Unit Haldor Topsøe A/S, Denmark (2008 Open Competition Scholarship Program) Weerin Chaiariyakul, Lecturer, Faculty of Humanities, Chiang Mai University (2006 Foreign Language Teaching Assistantship Program) Cover Design Wanida Chaiyasan, Program Officer (Thai and American Programs), ThailandUnited States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Donors Andrea Henricks, Fulbright Teacher, Ban Phai Pittayakom School, Khon Kaen (2013 English Teaching Assistantship Program) Ann Kennedy, Reading Specialist, Arlington Mill High School (2011 FulbrightHays Seminars Abroad Program) Anwida Prompijit (2010 International Fulbright Science and Technology Award Program) Anongvan Prompijit, Krungthai Bank Goh Beng Kok, College of Human Sciences, Texas Tech University (2012 Fulbright U.S. Scholar Program) Bruce Svare, State University of New York at Albany (2006 and 2014 Fulbright U.S. Scholar Program) Cambria Hamburg (2003 Fulbright U.S. Student Program) Celeste Brody, Retired, Bend, Oregon (2006 Fulbright U.S. Scholar Program)


Diyaporn Wisamitanan, lecturer, Faculty of Humanities & Social Science, Thaksin University (2011 Hubert H. Humphrey Fellowship Program) Jan Ormasa, Independent School District , Hopkins, Minnesota (2007 Administrator Exchange Program) Jack Van de Water, Oregon State University (1993 Fulbright U.S. Scholar Program and 2004 Fulbright U.S. Specialist Program) Joseph Ball, Educator, Newark Academy, New Jersey (2004 Administrator Exchange Program) Judy Chin, Arvida Middle School, Florida (2006 Fulbright-Hays Seminars Abroad Program) Kathleen Naughton (2011 English Teaching Assistantship Program) Kevin Quigley, Country Director, Peace Corps Thailand (2007 Fulbright U.S. Specialist Program) Kuldeep Nagi, Assistant Professor, Graduate School of eLearning (GSeL), Assumption Leslie Woodhouse (2004 Fulbright U.S. Student Program) Luis M Calingo, School of Business and Leadership, Dominican University of California (2007 Fulbright U.S. Specialist Program) Michael Zager, Director of Commercial Music, Florida Atlantic University (2006 Fulbright U.S. Specialist Program) Morgan Springer, Co-Founder, Sprig Inc. (2006 Foreign Language Teaching Assistantship Program) Nancy Chism, Professor Emerita from Indiana University Purdue University Indianapolis (2007 Fulbright U.S. Scholar Program) Pissmai Khanobdee, President, Thai Fund Foundation, and Advisor, Thai Fulbright Alumni Association (1982 Hubert H. Humphrey Fellowship Program) Ruangkhao Chanchai, Programme Specialist, UN Women Regional Office for Asia and the Pacific (2003 Open Competition Scholarship Program) Seksan Laitrakun, Lecturer, School of Information Technology, Mae Fah Luang University (2007 University Staff Development Program)


Siriporn Lerdpaisalwong, Ph.D. Candidate, University of Wisconsin, Milwaukee (2008 Foreign Language Teaching Assistantship Program) Stan Jacobs, Retired from Midland College (2003 Administrator Exchange Program) Theodore Chin Foin, Professor Emeritus, Department of Plant Sciences, University of California Davis (2005 Fulbright U.S. Scholar Program) Tossatham Singalavahija, Graduate Student, Urban Planning, Tufts University (2013 Open Competition Scholarship Program)



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.