คู่มือเลือกชนิดพรรณไม้เพื่อปลูกป่าป้องกันอุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 103

พะบาง

Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. วงศ SAPINDACEAE

ชื่ออื่น แถบจังหวัดเลย เรียก สมสรอยใหญ ลักษณะวิสัย ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงไดถึง 25 ม. เปลือกเรียบ สีเทาถึงสีน้ําตาล ดอกแยกเพศรวมตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู มีใบยอย 1–3 คู รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5–40

ซม. ปลายใบกลมถึงเรียวแหลม โคนใบกลม แผนใบหนา ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาวไดถึง 40 ซม. ดอกสีขาวแกมเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 1–2 มม. โคนดานนอกมีขนละเอียด ไมมีกลีบดอก เกสรเพศผู 7–8 อัน กานชูอบั เรณูมขี นยาวประปราย ผลแบบผลผนังชัน้ ในแข็ง รูปรี 1–3 ซม. สุกสีแดง เมล็ดสีนาํ้ ตาล เปนมันวาว มีเยื่อหุมสีน้ําเงิน เขตการกระจายพันธุ อินเดีย จีนตอนใต พมา ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นตามปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาดิบชื้น ปาเสื่อมโทรม ชายปา หรือทุงหญา ระดับความสูงจนถึงเกือบ 2,000 เมตร เปนผลเดือนเมษายนถึงธันวาคม ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบ ทางตอนบน และพื้นที่ตนน้ําลุมน้ํามูล ทั้งในระดับต่ํา ๆ จนถึงความสูงประมาณ 1,200 เมตร ประโยชน เนื้อไมแข็ง ใชทําเฟอรนิเจอร ผลสุกรับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด แกะเอาเยือ่ หุม เมล็ดออกกอนนําไปเพาะ คัดเมล็ดเสียทิง้ โดยการนําไปลอยน้าํ ไมมขี อ มูลการปฏิบตั ิ ตอเมล็ดกอนนําไปเพาะ

ขอแนะนํา เปนไมโตคอนขางชา ในระยะกลาไมตอ งการแสงมาก เหมาะสําหรับปลูกในพืน้ ทีส่ งู และทีล่ าดชัน

ในพื้นที่ปาดิบแลงและปาดิบเขาที่เสื่อมโทรมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ขอมูลเพิ่มเติม Flora of Thailand 7(1) (1999); PROSEA 2 (1992)

96 SW 6455-p new-G8.indd p96

10/29/56 BE 4:33 PM


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.