วารสารนโยบายพลังงาน ฉบับที่ 120 มิถุนายน-กรกฎาคม 2560

Page 1






SCOOP

นางเอมอร ชีพสุมล

รองผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

ผูเ ขาใจและเขาถึงศาสตรและศิลป แหงการบร�หารงานและบร�หารคน ตำแหน งป จจ�บัน

รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการทั�วไป) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประวัติการทำงาน

ป พ.ศ. 2551-2554 รับราชการในตำแหน�ง ผูอำนวยการกองนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2554 ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน การวางแผนยุทธศาสตรพลังงาน (นักวิเคราะหนโยบายและแผนเชีย่ วชาญ) สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2554-2556 ผูอำนวยการศูนยพยากรณ และสารสนเทศพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2556-2558 ผูอำนวยการสำนักบริหารกลาง สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 10 กันยายน 2558 - 30 กันยายน 2560 ดำรงตำแหน�งรองผูอำนวยการ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

6

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


เสียงหัวเราะ และรอยยิ�ม ที่ไดสัมผัสทุกครั้งในการกลาวทักทายจากพ�่คิ�ม เปนเสียงที่คน สนพ. คุนเคย และเปนเสมือน แรงบันดาลใจใหกับพ�่นองชาวสนพ. กาวสูองคกรรูปแบบสุขภาวะ ความสุขที่เกิดข�้นระหวางงานเกิดข�้นไดทุกเมื่อ อยูที่มุมมอง และการเลือกเก็บเกี่ยว เธอคนนี้สรางประสบการณ ใหมในการทำงานในรูปแบบของน้ำคำและน้ำใจ สามารถสรางสรรคทกุ สิง� ทีด่ งี ามข�น้ ไดเสมอ ประตูหอ งทำงานของพ�ค่ ม�ิ ไมเคยปด เปดตอนรับใหทกุ ความทุกขและความสุข ไดมาแลกเปลี่ยนกันทุกเมื่อ กวา 38 ป ของเธอคนนี้บนเสนทางของความภูมิใจที่ไดเปนสวนหนึ่งของคนพลังงานที่ใช วาใครจะเปนไดทุกคน

ก าวแรกสู คนพลังงาน ส งผ าน DNA ที่ทุ มเทและตั้งใจ เริม� ไดเขามาเปนสวนหนึง� ของกระทรวงพลังงาน ในสวนของสำนักงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2536 จนกระทั�งไดมีการจัดตั้งกระทรวงพลังงานในป 2545 เปลี่ยนชื่อ หน�วยงานเปนสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานในขณะไดรับ ทำหนาที่ในสวนการบริหารงานบุคคล รวมถึงงานในสำนักงาน เลขานุการกรม และไดหมุนเวียนทำงานในกองตางๆ เรื่อยมา มีการเรียนรู สั�งสมประสบการณมาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลง ไมใชปญหา งานทุกอยางมีความยากงาย มีความเรงดวนของ

ปญหาตางกัน แตหากเราทำงานดวยความตั้งใจ พรอมจะเรียนรู ทั้งภาพลึก และภาพกวาง ทำงานดวยความรวมมือรวมใจ งานยาก งานหนักก็จะผานมันไปได ลักษณะการทำงานของคนที่น�จากรุน สูรุน เรียกวา DNA ของคนองคกรน�้คือ ทำงานอยางตั้งใจ ทุมเท เต็มที่มาโดยตลอด ไมเคยเปลี่ยนอยูแลว วัฒนธรรมเราเปนแบบนั้น เบอร 1 ของที่น�ในตอนนั้น ทานเลขาธิการ ทำงานแบบเต็มรอย ทุกคำถามมีคำตอบ เราเชื่อมั�นในผูนำ จึงสงผานวัฒนธรรมน�้ รุนตอรุนนับแตนั้นมา

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

7


“ทุกคนตางมีวถ� ขี องตัวเอง มีรปู แบบการจัดการในแบบ ของตน เพ�ยงแคขอใหมงุ มัน่ ตัง้ ใจ สุจร�ต ถามตัวเองวา สิง� ทีท่ ำนัน้ ถูกตองหร�อยัง หากคิดดี ทำดีแลว ก็ทำตอไป บนพ�น้ ฐานของความสุจร�ต ขางหนาไมรวู า เปนอยางไร ขอแคทำวันนี้ใหดที ส่ี ดุ ”

น้ำเง�นไม สำคัญเท า น้ำใจ น้ำคำ การทำงานทุกอยางอยูบนพื้นฐานกับการสื่อสารกับคน ดวยเปน คนที่ชอบพบปะผูคน ไดพูดคุย จึงชวยใหมีสวนที่ทำใหงานราบรื่น คิดวางานทุกอยางถาเราไดคุย ก็จะไมมีปญหา ถาสงสัยของใจ หากไดสอบถามพูดคุย ก็จะเขาใจกันมากขึ้น งานทุกอยางเกิด ปญหาขึ้นไดเสมอ แตหากเพียงเราคุยกันได ปญหาก็จะจบได โดยงาย เราทุกคนแตกตางกันได แตตองเปดโอกาสรับฟงความ คิดเห็นซึ�งกันและกัน บนหลักการและเหตุผลโดยเฉพาะงาน HR หากทุกคนสามารถสรางสัมพันธภาพทีด่ ตี อ กันใหเกิดขึน้ ได บรรยากาศ ในการทำงานมันก็จะงายขึ้น น้ำคำ และน้ำใจ ที่หยิบยื่นใหผูอื่นนั้น เปนเรื่องสำคัญ เจอกันทุกวันพูดแตสิ�งดีๆ มีน้ำใจใหกัน ยิ้มใหกัน คือเราสรางมิตร 1 คน ดีกวาสรางศัตรู ดังนั้นน้ำเงินยังไมสำคัญ เทาน้ำใจและน้ำคำ แมแคเพียงคำทักทาย ก็สรางความรูสึกดีๆ ใหเกิดขึ้นแลว งาน ตาง ๆ ก็จะชวยลดปญหาและอุปสรรคลงได ไมวาคนรุนใหมหรือรุนเกา ก็ตามเชื่อวา ถาเราสงสัญญาณบวก ใหเขา เขาจะรับไดทันที ชองวางระหวาง Gen ไมเคยเกิดขึ้น งานทุกอยางก็จะประสานงานไดงาย

8

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

สุขในงาน สู องค กรสุขภาวะ เรามีแนวคิดในการทำงานทีม่ งุ เนน การสรางความสุขในการทำงาน อะไรทีเ่ ปนสาเหตุของความคับของใจ อันจะกอใหเกิดปญหาความเครียด เกิดความขัดแยง เราจึงควรวางแนวทางแบบแผนรองรับอยางเปน รูปแบบ มีการบริหารงานที่มุงเนนในเรื่องความสุขของคนในองคกร เน��องจากเราใชเวลาในที่ทำงานไมนอยกวาสาม ในสี่ของแตละวัน หากเราตองการมีคณุ ภาพชีวติ ในการทำงานทีเ่ ปนสุข ก็ตอ งทำองคกร เปนองคกร สุขภาวะ : Healthy Organization ซึ�งประกอบดวย

• การเปนผูบริหารตนแบบที่ดีผูบริหารจะตองกลาคิดกลาตัดสินใจ กลารับผิดชอบ แสวงหาความรูเพิ�มเติมอยางสม่ำเสมอ รูจักใชคน ใหเหมาะสมกับงานโดยไมลำเอียง จะตองประพฤติปฏิบัติตนเปน แบบอยางที่ดี

• การแบงหนาที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน คนในองคกรทุกคน รูวาตัวเองรับผิดชอบเรื่องอะไร ควรปรับโครงสรางองคกรและ กระบวนการปฏิบัติงานใหมีความสับสนนอยที่สุด


• การประเมินผลงานตองเชือ่ มโยงกับผลตอบแทน ตองมีการกำหนด

ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีแผนทางกาวหนา และแผนการ สืบทอดตำแหน�ง มีการประเมินผลอยางโปรงใส และเปนธรรม

• การคิดตางอยางสรางสรรค เปดโอกาสใหทุกคนในองคกรได

คิดริเริ�ม นำเสนอ เปดรับฟงแนวคิดใหมๆ เปดใจเรียนรูจากผูอื่น มีความยืดหยุน เห็นตางไดบนหลักการและเหตุผล

• การสรางความสำนึกเปนองคกรของคนดี องคกรตองพัฒนา

ใหขาราชการเปนคนดี มีความซื่อสัตยสุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ตองสรางกิจกรรมเพื่อปลูกฝง อุดมการณ และปรัชญา การเปนขาราชการที่มีเกียรติและศักดิ์ศรี ทั้งน�้ การสรางองคกรสุขภาวะดังกลาวขางตน มุงเนนในเรื่องของ การสรางสำนึกที่ดีในการอยูรวมกันภายในองคกร และการสราง ความสุขในการทำงานเปนสำคัญ เมื่อคนในองคกรมีความสุขใน การทำงาน เห็นคุณคาและประโยชนที่เกิดจากการทำงาน ก็จะ สรางสรรคงานที่มีคุณประโยชนแกตนเอง สังคม และประเทศชาติ

ความภูมิใจในฐานะคนพลังงาน งานที่เราทำมันเปลี่ยนแปลงโลกได จับตองได แตละโครงการถึงมือ ประชาชนจริง อาทิ โครงการที่เพิ�งไปสัมผัสมาอยางโครงการ กองทุนดานการสูบน้ำชวยภัยแลงดวยพลังงานแสงอาทิตย หรือ solar cell จากที่สูบได10 คิว เปน 30 คิว เราเห็นเราภูมิใจมาก ประชาชนไดประโยชนจริงๆ ภาคพลังงานน��สำคัญมีผลกระทบตอ หลายภาคสวน คนทำงานดานน�ต้ อ งรอบคอบ คิดรอบดานใหมากทีส่ ดุ ทุกอยางละเอียดออน จึงตองทำดวยความตั้งใจ เพราะไมใชใคร จะมาอยูตรงจุดน�้ไดงาย ภูมิใจที่ไดเปนหนึ�งจุดเล็กๆ ที่สรางสิ�งดีๆ เพื่อสังคม เพื่อประเทศชาติจากการไดพูดคุยกับผูหญิงคิดบวก ของสนพ. “พีค่ ม้ิ ” ของเราเชือ่ วาหลายคนคงมองเห็นปญหาเล็กลง ไดอยางที่พี่คิ้มกลาวไว เพียงแคไดพูดคุย เปดรับฟงความเห็น ซึ�งกันและกัน มอบน้ำคำ และน้ำใจที่ดีตอกัน ความสุขเกิดขึ้นได เสมอ ทุกปญหาก็จบลงได แมเวลาของบทบาทหนาที่ของพี่คิ้ม กำลังจะจบลง แตรองรอย แหงสิ�งดีงามที่พี่ฝากไวใหกับ สนพ. คงย้ำเตือนใหนองๆ ไดตระหนักถึงความสุขที่ไมอาจซื้อไดดวยเงิน ปญหาไมใชสิ�งที่หนักเกินไป แคเปดใจเขาหากันทุกความทรงจำดีๆ จะคงอยูในใจของ พวกเราเสมอ…

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

9


นางสาวจิ ร ะภาพร ไหลมา ผูอำนวยการศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

ผูฝ ากแรงบันดาลใจในการสรางงาน สูความสำเร็จอยางไมยอทอ ตำแหน งป จจ�บัน ผูอำนวยการศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ประวัติการศึกษา ปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาสถิติ ปริญญาโทจาก Florida Institute of Technology สหรัฐอเมริกา สาขา Operation Research ประวัติการทำงาน ป พ.ศ. 2524 เริม� รับราชการทีส่ ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ตำแหน�งเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 3 ป พ.ศ. 2538 ยายมารับราชการทีส่ ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแหงชาติ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ตำแหน�ง เจาหนาทีว่ เิ คราะหนโยบายและแผน 5 ฝายวิเคราะหและ ประมาณการพลังงาน ป พ.ศ. 2544 ดำรงตำแหน�งหัวหนาฝายนโยบายและ แผนพลังงาน ป พ.ศ. 2546 เมือ่ ปรับโครงสรางกระทรวงพลังงาน ดำรง ตำแหน�งหัวหนาสวนยุทธศาสตรนโยบายและแผนสำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2551 ดำรงตำแหน�งผูอำนวยการกลุมบริหาร ยุทธศาสตรพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2554 ดำรงตำแหน�งผูอ ำนวยการกองนโยบายและ แผนพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2557 จนเกษียนอายุราชการ ดำรงตำแหน�ง ผูอ ำนวยการศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน สำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน ประสบการณ การทำงาน เปนหัวหนากลุม ผูป ระสานงานหลักในสวนฝายเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ และคณะกรรมการ บริหารนโยบายพลังงาน กำกับดูแลและวิเคราะหโครงการในสวนกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ชวงป 2551-2557 กำกับดูแลนโยบายพลังงานกับสิง� แวดลอมโดยเปนกรรมการ ในคณะกรรมการผูชำนาญการดานโครงการพลังงาน (EIA) ของสำนักงานนโยบายและแผนสิ�งแวดลอม

10

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


กำกับดูแลนโยบายพลังงานเกีย่ วของกับขอตกลงระหวางประเทศ ดานสิง� แวดลอม อาทิ แผนปฏิบตั กิ าร 21 และ โครงการ CDM เปนผูประสานงานหลักของกระทรวงพลังงานในการดำเนินงาน ดานพลังงานภายใตกรอบความรวมมือ BIMSTEC ชวงป 2546-2553 เปนผูป ระสานงานหลักของกระทรวงพลังงานในดำเนินงานพลังงาน กับภาวะโลกรอน ภายใตอนุสัญญาวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของโลก (UNFCC) เปนผูแ ทนของประเทศไทยในคณะกรรมการพยากรณดา นพลังงาน ของโลก ภายใตควารวมมือองคการพลังงานโลก (World Energy Council) เปนเลขานุการคณะกรรมการจัดเตรียมความพรอมการจัดตั้ง โรงไฟฟานิวเคลียรของประเทศไทย เปนคณะกรรมการกำกับดานวิชาการโครงการพัฒนาระบบจัดเก็บ และรวบรวมขอมูลกาซเรือนกระจกของประเทศไทย ระยะที่ 2 เปนคณะกรรมการในคณะกรรมการประสานนโยบายและการ ดำเนินงานดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการขนสง ที่ยั�งยืน เปนคณะกรรมการในคณะกรรมการดานการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ภาคการบินเปนคณะกรรมการในคณะกรรมการ โครงการ ความรวมมือไทย-เยอรมันการปรับปรุงประสิทธิภาพ การใชพลังงานและการบรรเทาผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศในภาคขนสงทางบกของภูมภิ าคอาเซียน ระยะที่ 2 เปนคณะอนุกรรมการพยากรณและจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิต ไฟฟาของประเทศ เปนคณะกรรมการในคณะอนุกรรมการการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศดานการประสานทาทีเจรจาและความรวมมือระหวาง ประเทศ เปนคณะกรรมการในคณะอนุกรรมการจัดทำรายงานสถานการณ คุณภาพสิ�งแวดลอมของประเทศไทย เปนทำงานจัดทำคาพยากรณความตองการไฟฟา

จ�ดเร��มต นแห งการเร�ยนรู หากมองยอนกลับไปในวันแรกเขารับราชการที่สภาพัฒนฯ จาก ขาราชการที่ทำงานดานการคาดการณดานประชากรศาสตร สูการ เปลีย่ นแปลงของบทบาทหนาทีค่ รัง้ สำคัญในชีวติ โดยมีทา นปยะสวัสดิ์ เปนผูชักชวนใหมาทำงานที่น� แตเดิมใชชื่อสำนักงานคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) ถือเปนการเปลี่ยนแปลงอยางมาก จากที่เคยทำงานเชิงสังคมตองผันสูการทำงานในเชิงเศรษฐกิจทำให ตองเริม� ตัง้ ตนวาจะตองศึกษาหาขอมูลใหมทง้ั หมด จะทำอยางไรรูส กึ ยาก ทุกทีที่มีการเปลี่ยนแปลงแน�นอนวาเราตองเริ�มหาขอมูลใหมทักษะ การทำงานดานสถิติยังคงไดนำมาใช แตที่สำคัญบทบาทภาระหนาที่ ในบริบทที่เปลี่ยนไปทำใหเราตองเผชิญกับการรับมือเพื่อใหงานที่ ไดรับความไววางใจออกมาไดดีที่สุด จึงเริ�มเก็บขอมูลทุกอยางทั้งที่ อยูต รงหนาเราและขอมูลรอบดาน โดยการทำงานไมเพียงแคมองดาน หนาเราดานเดียวตองมองใหรอบ รูใหรอบ อาทิ อนุรักษพลังงาน ปโตรเลียม ไฟฟา จึงตองเรียนรูงานในสวนของหนาที่อื่นๆ วาทำ อะไรกันบาง ทั้งในและตางประเทศ พลังงานในยุคนั้นองคความรู สวนใหญมาจากตางประเทศ ความยากเริ�มเขามาทาทายเราอีก งานที่เคยทำมานั้นไมเคยมีสวนเกี่ยวกับภาษาเลย พอทำที่น�ตอง ดูเรื่องความรวมมืออาเซียน เอเปค มาทำงานดานความรวมมือ ตางประเทศ ภาษาอังกฤษสำคัญมากทั้งการพูด การฟง การอาน ทำให รูวาภาษานั้นจำเปนอยางมากจนในที่สุดดานอุปสรรคทั้งหลาย ก็ผานไปได อุปสรรคแรกอาศัยการเรียนรูจากคนรอบขาง เมื่อกอน สนพ. อยูก นั เหมือนพีเ่ หมือนนอง ลำบากมาดวยกัน มีกนั ไมกค่ี น เกิดการเรียนรูจากการไดชวยงานกันจุดนั้นเองที่เราไดรับองคความรู ทุกอยางเขามาโดยไมรตู วั จากความสัมพันธทเ่ี กือ้ กูลกันนัน� เอง อุปสรรค ตอมาดานภาษา การขวนขวายหาความรูเพิ�มเติมในสิ�งที่เราไมถนัด เทานั้นที่ทำใหเราผานไปได จึงตัดสินใจไปศึกษาตอปริญญาโทที่ สหรัฐอเมริกา และเราก็ผานบททดสอบเหลาน�้ไปไดดวยดี

เสนทางที่ยาวนานของผูหญิงตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ผูซึ่ง ไมมีคำวา “ทำไม ได” ทุกบทบาท ทุกหนาที่ เธอคนนี้ ใชพลังใจและพลังสติปญญา และความมานะเพ�่อให ไดมาซึ่งความสำเร็จแบบ 100% และวันนี้เธอภูมิใจที่ ฝากแรงบันดาลใจในการทำงาน และผลงานทีข่ บั เคลือ่ น พันธกิจขององคกรสนพ. ใหเปนเสมือนหัวรถจักรทาง พลังงาน นำพาคุณภาพชีว�ตประชาชนคนไทยใหกาว ไปในอนาคตที่สดใสตอไป มุมมอง แงคิด ที่ ไดพ�ดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณดวยกัน ในวารสารฉบับนี้ เชื่อวาอีกหลายทานคงจะไดเร�ยนรู ยิ�มใหกับบทเร�ยนดีๆ “พ�่แหมม” ฝากไว ไปพรอมกัน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

11


สุดทาย ในพ�น้ ทีบ่ า น สนพ. แหงนี้ มีความประทับใจ และเร�อ่ งราวมากมาย ที่ ไมมวี นั ลืมเลือน ความเปนพ�เ่ ปนนอง ไมวา ผานมากีย่ คุ กีส่ มัยก็ยงั คงอยู และจะอยูในใจตลอดไป….

ทำหน าที่ของตนเองให ดีที่สุดไม ว าอะไรจะเกิดข�้น เมื่อกลับมาทำงานในป 2540 เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงขององคกร องคกรขยายขึ้นมีคนรุนใหมเขามาทำงานมากขึ้น มีการกอตั้งองคกร กำกับกิจการพลังงาน คนรุนเกาๆ ก็ไดยายไปดูแลในสวนน�้เกือบหมด เหลือแตคนใหม เห็นในความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมองคกร คนมากขึ้น ความแตกตางมากขึ้น แขงขันกันมากขึ้น แน�นอนวา ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เราตองปรับตัว ไมสนใจสิ�งรอบขางที่จะ มากระทบเรา สนใจในหนาที่ของตน ทำหนาที่ของตนเองใหดีที่สุด ความสุขเกิดขึ้นเมื่องานสำเร็จ 100% งานทุกงานต องอาศัยหลักการเกื้อกูลกัน พันธมิตรคือสิ�งสำคัญ หลักในการทำงานงายๆ คือ ตองมีเปาหมายชัดเจน โดยทั้งน�้ตอง ไมเดือดรอนคนอื่น แตการสรางพันธมิตรตางหากเปนสิ�งสำคัญ การทำงานที่เกื้อกูลกัน เราหยิบยื่นความชวยเหลือใหผูอื่นเสมอ ถึงไมไดในขณะน�แ้ ตไมนง�ิ นอนใจทีจ่ ะชวยเหลือคนอืน่ สุดความสามารถ เมื่อเขาเห็นความจริงใจของเราที่คิดจะชวยเหลือ เมื่อใดที่เราตองการ ความชวยเหลือ คนอื่นมักจะไมเคยปฏิเสธ เราไดสรางมิตรภาพที่ ดีงามอยางตอเน��อง ไมตองเสแสรงมันออกมาจากความตั้งใจ สิ�งที่ได คือ งานในภาพรวมออกมาสำเร็จ ทุกคนมีความสุข ทำงานด านพลังงาน ต องมองให ไกลกว าประชาชน หนาที่ที่เราอยูตรงน�้ คือ คิดนโยบาย วางแผน ผลลัพธสุดทายคือ

12

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ประชาชน ดังนัน้ เราจึงตองรอบรู มีการศึกษาคนควา และวางแผน ใหถวนถี่ ใครถามอะไรมาเราตองตอบได ตองมองใหไกลกวา ประชาชน ไมอยางนั้นกำหนดแผนและนโยบายไมได ประชาชนตอง ไดประโยชน สูงสุด การทำงานพลังงานเปนเรื่องละเอียดออน ตอง รอบคอบทุกคำ ทุกตัวเลข ทุกตัวอักษร ตองแมนยำ ถึงจะสราง ความชัดเจนใหประชาชนไดเชื่อมันในความมั�นคงทางพลังงงาน ของประเทศตอไป Big Data คือ ก าวที่ต องให ความสำคัญในขณะนี้ ปจจุบันการทำงานตองเชื่อมโยงขอมูลถึงกันหมด ระบบขอมูลจะ เปนระบบสำคัญของประเทศ ตองเอาระบบดิจิตอลเขามาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุดในทุกสวน เชื่อมโยง อุปกรณ องคความรู บุคลากร ใหมีประสิทธิภาพ ตองสรางเปน Big data เก็บไวไมใชแคขอมูล ของหน�วยงานแตเพียงสวนเดียว แตเปนขอมูลภาพรวมทั้งหมด ตรงน�้สำคัญมาก จึงอยากฝากรุนตอไปใหคำนึงถึงสวนน�้ดวย ชีวต� ราชการ ชีวต� ทีม่ เี กียรติ จ�งต องซือ่ สัตย เพ�อ่ รับใช แผ นดิน พลังที่เราทุมเททั้งหมด งานที่ดำเนินไประหวางทาง อาจตองเจอ อุปสรรคบาง แตเราจะผานพนไปดวยดี ดวยความตั้งใจ เคารพและ ใหเกียรติทุกคนที่ทำงานรวมกัน เปดใจเรียนรูสิ�งใหมๆ เพื่อพัฒนา งานที่ไดรับมอบหมายใหเกิดประโยชนที่สุด บนพื้นฐานของความ ซื่อสัตย ใหสมกับเกียรติของคนรับราชการ ผูรับใชแผนดินฝากให นองๆ รุนหลัง ขอใหมีหัวใจบริการ ขาราชการไมใชคนสั�ง แตเปน คนบริการประชาชน ตองมี service mind


มุทิตาจ�ต แด "พ�่ค้ิม" คุณเอมอร ชีพสุมล ในชีวิตการทำงานของขาราชการ สำหรับ คุณเอมอร ชีพสุมล ที่ผมมักจะเรียกติดปากวา พีค่ ม้ิ ของพีๆ่ นองๆ ชาว สนพ. ตลอดระยะเวลาในการทีร่ บั ราชการและชีวติ ในการทำงาน ของพีค่ ม้ิ นัน้ พีค่ ม้ิ ไดรว มคิด รวมทำ รวมสราง อุทศิ เวลา ทุม เทในการทำงานของ ทางราชการใหกบั สนพ. มาอยางยาวนาน ซึง� ผมคิดวา พีค่ ม้ิ เปนผูม คี วามรู ยุตธิ รรม อุทศิ ตน ดวยความวิรยิ ะอุตสาหะ มีความรับผิดชอบ เปนเจานายทีล่ กู นองควร เอาเปนแบบอยาง ซึง� การเกษียณ อายุราชการเปนการพนจากการทำหนาที่ และความรับผิดชอบในราชการเทานัน้ แตภาระหนาที่ ทีพ่ ค่ี ม้ิ ไดสง�ั สมมา อยางยาวนัน้ ผมมัน� ใจวาพีค่ ม้ิ สามารถนำประสบการณ มาทำคุณประโยชน ใหกบั ประเทศชาติไดอีก โอกาสน�ผ้ มจึงขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัยและสิง� ศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั หลาย ในสากลโลก ตลอดจนผลแหงคุณงามความดีทท่ี า นไดสง�ั สมมาตลอดชีวติ ราชการ จงดลบันดาลให พีค่ ม้ิ ดำรงชีวติ หลังเกษียณอยางมีความสุข รมเย็นมีสขุ ภาพพลานามัยทีส่ มบูรณแข็งแรง เปนรมโพธิร์ ม ไทร ใหสังคม และประเทศชาติตอไป

มุทติ าจ�ต แด "พ�แ่ หม ม" คุณจ�ระภาพร ไหลมา การเปนขาราชการ โดยเฉพาะขาราชการที่มีภารกิจสำคัญในการดูแล ประเทศชาติถอื วาเปนผูท ม่ี ภี ารกิจทีส่ ำคัญและยิง� ใหญ คุณจิระภาพร หรือ พีแ่ หมม ก็ผานชวงเวลานั้นมาตลอดอายุการรับราชการ เพราะตองอุทิศเวลา ทุมเท ในการทำงาน ถึงแมพแ่ี หมม จะมีรปู รางเล็ก แตภารกิจงานของพีแ่ หมมนัน้ เรียกไดวา ใหญระดับชาติเสมอ เพราะพีแ่ หมมเปนผูด แู ลขอมูลดานพลังงาน และรวมถึงขอมูลที่ตอโยงไปถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือภาวะโลกรอน ดวยภารกิจดังกลาวจะตองมีการทำงานที่หลากหลาย ประสานงานแนวนโยบายรอบดานโดยสวนตัวผมมั�นใจวาพี่แหมม ได ปฏิบตั งิ านงานระหวางการรับราชการที่ สนพ. ไดอยางสมบูรณแบบทีส่ ดุ บัดน�้ พี่แหมมก็จะไดเวลาที่จะเปน "บทใหมของชีวิต" ที่จะไดพักใจ พักกาย ผมขอชื่นชมและภาคภูมิใจในพี่แหมม ที่ไดมีโอกาสทำงานรวมกัน และ ขออำนาจแหงพระศรีรัตนตรัย ตลอดจนสิ�งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ไดโปรด ดลบันดาลใหพี่แหมมไดพบแตสิ�งดีงาม มีสุขภาพกายที่แข็งแรง มีความสุข สมความปรารถนาในสิ�งที่หวังทุกประการนะครับ

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผู อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

13


เน��องในวาระเกษียณอายุ ราชการของพี่สาวทั้งสองทาน การไดทำงานจนครบเกษียณ อายุราชการนั้น นับเปนเกียรติ ประวัติของ บุคคลที่รับราชการ เมือ่ สิน้ สุดระยะเวลาปฏิบตั ริ าชการ ถือวาทาน ไดบรรลุภารกิจการ ปฏิบตั ริ าชการของทานแลว ตลอด ระยะเวลาทีผ่ า นมาทานรอง เอมอร ชีพสุมล และผูอ ำนวยการศูนย จิระภาพร ไหลมา ไดปฏิบตั หิ นาที่ และสรางผลงานที่มีประโยชนแก สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปนอยางมาก

มุทิตาจ�ต… แด ผู เกษียณอายุราชการ รองผู อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (คุณเอมอร ชีพสุมล)

ผมรูสึกโชคดีที่ไดมีโอกาสรวมงานกับทานรองฯ เอมอร มาก ตลอดเวลาที่ผมเขามาทำงานที่ สนพ. ไดรับความโอบออมอารีย ความชวยเหลือ เกื้อกูล ตลอดจนคำแนะนำที่เปนประโยชน นอกจาก ตัวผมแลว ผมเชื่อวา ทานรองฯ เอมอร (หรือพี่คิ้ม) เปนแบบอยาง ทีด่ ขี องขาราชการและเจาหนาที่ี สนพ. ในการทำงานทีอ่ ทุ ศิ ตนคงใน หลักการ มุงเนน ประโยชนสวนรวมและประเทศชาติเปนสำคัญ อีกทั้ง ทานยังเปนผูมี จริยธรรม คุณธรรม อันสูงสงเปนที่ประจักษ ซึ�งเรา จะเห็นไดจาก การบริหาร การปกครอง การตัดสินใจที่ตรงไปตรงมา ยึดมั�นตาม ระเบียบแบบแผน ที่ดีงามตลอดมา ขอใชโอกาสน�้ขอบคุณพี่คิ้ม ที่เสมือนเสาหลักของ สนพ. มา ตลอด 25 ป และขอใหพค่ี ม้ิ สุขภาพแข็งแรง สดใส มีความสุขตลอดไป ผู อำนวยการศูนย พยากรณ และสารสนเทศพลังงาน (คุณจ�ระภาพร ไหลมา)

ผมไดรูจักและรวมงานกับพี่แหมม จิระภาพร มานานตั้งแต สมัยที่ผมทำงานที่กองแผนงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน ซึ�งขณะนั้นพี่แหมมเปนผูอำนวยการกองนโยบาย และแผนพลังงาน พี่แหมมเปนคนที่มีมาตรฐานการทำงานสูง เปนคน ที่มีระเบียบมีหลักการ มีความมุงมั�นตั้งใจในการทำงานในหนาที่ นอกจากน�้พี่แหมมยังบริหารงานและบริหารคนที่เปนระบบ แตเต็ม ไปดวยความเปนกันเอง ทานสอนงาน และเปดโอกาส และสนับสนุน ผูใตบังคับบัญชาอยางเต็มที่ ในวาระที่พี่แหมมถึงวัยเกษียณอายุราชการน�้ ผมขอขอบคุณ พี่แหมมที่อุทิศตนทำงานอยางสุดความสามารถ เปนที่พึ�งและเปน แบบอยางใหแกนอง ๆ ที่ สนพ. มาโดยตลอด ขอบคุณครับ นายประเสริฐ สินสุขประเสริฐ รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

14

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ในโอกาสน�้ ขออำนาจสิ�งศักดิ์สิทธิ์ที่ทานเคารพนับถือดลบันดาล ใหพี่ทั้งสองทาน มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ มีความสุข สำเร็จในสิ�งที่มุงหวัง และกลับมาเยี่ยมนองๆ ชาว สนพ. บางนะคะ นางสาวสมศรี แกวนุกูลกิจ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการวางแผนยุทธศาสตรพลังงาน

ผมและพี่คิ้ม (คุณเอมอร) พี่แหมม (คุณจิระภาพร) ถือวาเปนลูกหมอ รุนแรกๆ ของสำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) เลยก็วาได ตั้งแตหน�วยงานกอตั้งขึ้นมาในป 2535 จากเดิมคือ สำนักงานคณะ กรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี จนถึงป 2545 เมื่อรัฐบาลไดรวม หน�วยงานดานพลังงานมาอยูดวยกัน เปนกระทรวงพลังงาน สพช. จึงได ปรับเปลี่ยนองคกรเปน สนพ. ภายใตกระทรวงพลังงานจนถึงปจจุบัน ผมและพี่ๆ ทั้งสองไดทำงานรวมกันมา ผานรอนผานหนาวมาดวยกัน จนถึงปจจุบันเกือบ 25 ปเทากับอายุราชการของผม พี่คิ้มเปนคน น�ารัก คุยสนุก เสียงดัง พูดเร็ว ซึ�งจัดวาเปนเอกลักษณอันโดดเดน ทีย่ ากจะหาคน สนพ. เลียนแบบได สวนพีแ่ หมมจัดวาเปนนักวิชาการจา จบปริญญาโทจากตางประเทศ ตัวเล็ก ใจนักเลง หนาตาอาจจะดูดุ นิดนึง แตใจดี ผมวา สนพ. โชคดีมากๆ ที่มีขาราชการที่ดีที่ทำ ประโยชนใหแกประเทศชาติอยางพี่ๆ ทั้งสอง สมควรที่ขาราชการ รุน หลังๆ จะไดนำไปเปนแบบอยางในการทำงาน และการดำรงชีวติ ในสังคมยุคน�้ ในวาระที่พี่ทั้งสองตองเกษียณอายุราชการไปตามวัย ของตัวเอง ผมคอนขางรูสึกใจหาย แตก็รูสึกดีใจที่พี่ๆ จะไดพักผอน เสียที หลังจากที่ตรากตรำทำงานหนักมาตลอดจนอายุครบ 60 ป ในปน�้แลว ผมขอใหคุณพระศรีรัตนตรัย คุณความดี บุญกุศลทั้งหลาย ที่พี่ไดทำมาและสะสมมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันไดโปรดดลบันดาล ประทานพรใหพี่ทั้งสองประสบแตความสุขความเจริญ มีสุขภาพกาย สุขภาพใจสมบูรณแข็งแรงตลอดไปครับ นายทิพากร พูลสวัสดิ์ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานนโยบายและแผนอนุรักษพลังงาน และพลังงานทดแทน


ยามพ�่ไป เราเพ�่อนนอง ตางรองหา ยามพ�่กลาวลา น้ำตาไหล ยังเคารพ อยากพบหาเมื่อหางไกล นานแสนนานยังอาลัยไมขอลืม พ�่จะอยูในความทรงจำของชาว ตส. สนพ. ไมเคยลืม กลุ มตรวจสอบภายใน

เน��องในโอกาสวาระการเกษียณอายุราชการของ “คุณเอมอร ชีพสุมล” รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน หรือ “พีค่ ม้ิ ” และ “คุณจิระภาพร ไหลมา” ผูอ ำนวยการศูนยพยากรณ และสารสนเทศพลังงาน หรือ “พี่แหมม” สำนักนโยบายไฟฟา ขอขอบคุณและซาบซึ้งใจอยางยิ�ง ที่ทานไดปฏิบัติภารกิจรวมกัน อันเปนกำลังสำคัญของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานตลอดมา จนครบวาระเกษียณอายุราชการในปน�้ คุณประโยชนตางๆ ที่ทาน ไดมอบกับสำนักงาน จะคงอยูในความทรงจำของคนรุน หลังตอไป ขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย สิง� ศักดสทิ ธิท์ ง้ั หลาย จงบันดาล ใหทา นและครอบครัว ประสบแตความสุข ความเจริญ มีพลานามัย แข็งแรง ตลอดไป สำนักนโยบายไฟฟ า

จากใจน องถึงพ�่

เดือนกันยายนของทุกป เปนวาระการเกษียณอายุราชการของ ผูบริหาร และเจาหนาที่หน�วยงานราชการทั้งหลาย เชนเดียวกับที่น� ทีม่ ผี เู กษียณอายุราชการ 2 ทาน คือ รองเอมอร ทีน่ อ งๆ เรียกวา พีค่ ม้ิ และพี่จิระภาพร ที่นองๆ เรียก พี่แหมม หากนับเวลาตั้งแตเริ�มรับ

ราชการจนเขาสูวัยเกษียณ คงจะเปนระยะเวลาอันยาวนานที่พี่ทั้ง 2

ไดปฏิบตั ภิ ารกิจตามตำแหน�งหนาทีด่ ว ยความขยัน อดทน และเสียสละ และไดทำคุณประโยชนตา งๆ ใหกบั ราชการโดยสรางผลงานไวมากมาย นอกจากน�ย้ งั เปนกำลังสำคัญของ สนพ. ในการรวมคิด รวมทำ รวมสราง งานใหเกิดผลสำเร็จ และไดมีคำแนะนำใหแกนองๆ สำหรับนำไปใช ปรับปรุง แกไข และพัฒนาการทำงานใหดีขึ้นเสมอ นองๆ สนอ. ขอแสดงมุทิตาจิตแดพี่คิ้ม และพี่แหมม และขอ อาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย สิง� ศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั หลาย จงดลบันดาลใหพค่ี ม้ิ และพี่แหมม ประสบแตความสุข ความเจริญ มีสุขภาพแข็งแรงตลอดไป สำนักนโยบายอนุรักษ พลังงานและพลังงานทดแทน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

15


ทุกนาทีที่เราเคยไดรวมผูกพันบนเสนทางพลังงานมาดวยกัน จากเรือลำเล็ก ๆ อบอุนใกลชิด เหมือนพี่เหมือนนอง สูเรือลำใหญ ลองนาวาเพือ่ ประชาชนในยุคทีท่ กุ คนตางตองทุม เทกำลังกาย กำลังใจ กำลังสติปญ ญา เพือ่ ใหไดมาซึง� ความมัน� คงทางพลังงาน และความอยูด กี นิ ดี ทางเศรษฐกิจและสังคม พี่ทั้งสอง คือกำลังสำคัญ คือแบบอยาง ใหกบั นอง ๆ ในหลายแงมมุ งานของเราไมไดอยูเ สนทางทีร่ าบเรียบนัก แตพี่ ๆ ก็แสดงใหเห็นวา ไมมีอะไรทำไมได ขอแคทำใหดีที่สุด พีค่ ม้ิ ผูม องโลกในแงดี ยิม้ หวาน ๆ และคำพูดทีเ่ ต็มไปดวยความอบอุน ทุกครัง้ ทีท่ กุ คนไดอยูใกล พีเ่ ปนผูห ญิงเกงทีเ่ ต็มไปดวยความสามารถ พี่ทั้งสองไดฝากรองรอยแหงความทรงจำที่ดีทั้งในดานการงานและ ในดานการดำเนินชีวติ ไวใหพวกเราไดดำเนินรอยตาม… เกษียณอายุราชการ เปนเพียงวาระทีท่ ำใหเราหางกันไปไกล แตพ่ี ๆ ยังอยูใ นใจพวกเราเสมอ จากใจ…สำนักบร�หารกลาง

EGY Info Sep 2017

อาทิตยเคลื่อน เลื่อนลอย คอยใหค่ำ สุดทายคำวา “เกษียณ” เว�ยนมาถึง แตผลงาน ยังฝากไว ใหคำนึง ความลึกซึ้ง จึงอาวรณ กอนอำลา

สุวฤกษคราเกษียณเว�ยนมาถึง วาระซึ่งครบหารอบกอบเกียรติศร� เอมอรยิ�งมิ�งหลาเอกนาร� ผองนองพ�่อาลัยลนทนดวงใจ จิระภาพรผุดผาดพ�ลาศลักษณ สองเอกอัครมิ�งมิตรพ�สมัย นอมอำนาจแหงองครัตนตรัย อำนวยชัยทานทั้งสองปองสุขเทอญ จากใจ .. ศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน

16

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ดวยรักและผูกพัน.. กองนโยบายและแผนพลังงาน


ทรัพยากรบุคคล มีความสำคัญทีส่ ดุ ในการทีจ่ ะบริหารองคกร ใหบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล สูงสุด ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 น�้ สนพ. ของเรามีบุคลากรที่ มีคุณคายิ�งตองเกษียณอายุราชการจำนวน 2 ทาน คือ 1. นางเอมอร ชีพสุมล รองผู อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 2.นางสาวจ�ระภาพร ไหลมา ผู อำนวยการศูนย พยากรณ และสารสนเทศพลังงาน การปฏิบัติงานในชีวิตราชการของทั้ง 2 ทาน มาอยาง ยาวนานจนเกษียณอายุนบั วาไดสรางคุณประโยชนใหกบั สนพ. สังคม และประเทศชาติ อยางหาทีเ่ ปรียบไมได การเกษียณอายุ ราชการนับเปนวาระที่น�าใจหายในชวงหนึ�งของชีวิตแต ความรัก ความเคารพ ความคิดถึงและความผูกพันยังคงอยูกับพวกเรา

ตลอดไป พวกเราขออวยพรใหผลบุญของความดีทท่ี า นไดสง�ั สมมา จงดลบันดาลใหทานทั้ง 2 จงประสบกับความสุข ความเจริญ มีสขุ ภาพทีแ่ ข็งแรงไดเปนทีพ่ ง�ึ ของคนรุน นองๆ เมือ่ ทานมีโอกาส กลุ มพัฒนาระบบบร�หาร

เมื่อถึงวันเวลาฟาก็เปลี่ยน ตองอำลาจากกันแสนอาลัย คุณความดีประจักษเปนหลักฐาน พัฒนาชาติไทย (สนพ.) ใหยืนยง ระยะทางจักเปนเคร�่องพ�สูจนมา ผานรอนเย็นอุปสรรคมามากมาย ขออัญเชิญพระไตรรัตนมาปกปอง เกียรติภูมิจะปรากฏเปนหลักเร�อน

กาลเกษียณเว�ยนมานาใจหาย แตสายใยความผูกพันยังมั่นคง ตรากตรำงานอยางซือ่ สัตยมไิ หลหลง เกียรติดำรงกองปรากฏมิวางวาย วันเวลาบอกคุณคาของคนได ความดีงามที่สรางไวมิมีเลือน จงคุมครองใหมีสุขหาใครเหมือน คอยย้ำเตือนตราตร�งตราบนิรันดร

ตั้งแตเร�่มเดิมที ที่เราเห็น ไมเคยเปน อยางเชนทุกวันนี้ มีเพ�ยงหองเล็กๆ คนนอยๆอยางที่มี มาวันนี้เปลี่ยนไป เหมือนพร�บตา คนๆ หนึ่งยอมทำ ไมทอถอย ไมยอมเหนื่อยแมแตนอย แมออนลา คนๆ นี้ ยอมแมที่ สละเวลา เพ�่อความกาวหนา ขององคกร อยางมั่นคง จนวันนี้ องคกรมีหนาตา ใครๆ ตางไดรูวา ไดบรรลุวัตถุประสงค มีทุกสิ�ง ทุกอยางตามเจตจำนงค และเสร�มสงใหเจร�ญ ยิ�งข�้นไป และวันนี้ พวกเราจะสานตอ เจตนา จะไมทอ ตอสิ�งใหน ไมวาวันขางหนาจะเปนอยางไร จะกาวไป ตามความคิดทาน อยาง มั่นคง จากใจถึงใจ สำนักนโยบายป โตรเลียมและป โตรเคมี

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

17


อนุรักษ พลังงาน

ยานยนต ไฟฟา (EV)

ในประเทศไอรแลนด

Electric car stock (thousands)

จากกระแสการอนุรักษสิ�งแวดลอมและความผันผวนของราคาน้ำมัน ทำใหปจจุบันเทคโนโลยียานยนต ไฟฟา (EV) ไดรับความนิยม เพิ�มมากขึ้น โดยในป 2559 ทั�วโลกมีปริมาณรถยนต ไฟฟาประเภท Battery Electric Vehicles (BEVs) and Plug-in Hybrid Electric Vehicles (PHEVs) สะสมรวมทัง้ สิน้ กวา 2 ลานคัน เพิม� ขึน้ รอยละ 60 โดยมียอดขายทัว� โลก 718,823 คัน เพิม� ขึน้ รอยละ 40 เมือ่ เทียบกับป 2558

1400 BEV PHEV 1200 1000 800 600 400 200 0 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016

ที่มา: International Energy Agency (IEA)

18

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

Others Sweden Netherlands United Kingdom Germany France Japan Norway United States China


CHAdeMO

สำหรับประเทศไอรแลนดยังมีการใช รถยนตไฟฟาไมมากนัก โดยในป 2559 มี รถยนต ไฟฟาประเภท BEVsและ PHEVs สะสมรวมทั้งสิ้น 1,801 คัน แตรัฐบาลมี นโยบาย สงเสริมใหมกี ารใชยานยนตไฟฟา เพิม� ขึน้ โดยการสงเสริมใหมสี ถาน�ชารทไฟฟา ใหครอบคลุมทัว� ประเทศ ทัง้ น�้ หนวยงานที่ รับผิดชอบในดานสถาน�ชารทไฟฟา คือ Electricity Supply Board (ESB) ซึ�งเปน หนวยงานทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ภายใตพระราชบัญญัติ การจัดหาไฟฟา (The Electricity (Supply) Act 1927) โดยมีรัฐบาลถือหุนรอยละ 95 นอกจากน�้ รัฐบาลยังมีเงินสนับสนุนสำหรับ ผูซื้อรถยนต ไฟฟา โดยสนับสนุน ผาน หนวยงาน The Sustainable Energy Authority of Ireland (SEAI) ซึ�งเปนหนวยงานของ รัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นภายใตพระราชบัญญัติ ความยัง� ยืนดานพลังงาน (The Sustainable Energy Act 2002) โดย SEAI จะสนับสนุน เงินสำหรับผูซ อ้ื รถยนตไฟฟาประเภท BEV หรือ PHEV จำนวน 5,000 ยูโร นอกจากน�้ หากรถยนตไฟฟาดังกลาวมีการลงทะเบียน รับสิทธิประโยชนดา นภาษี (Vehicle Regis tration Tax: VRT) ซึง� จะตองผานการทดสอบ ตามมาตรฐานทีก่ ำหนด ผูซ อ้ื รถไฟฟาจะได รับเงินสนับสนุนเพิม� เติมอีก สำหรับรถยนต ไฟฟาประเภท BEV จำนวน 5,000 ยูโร และสำหรับรถยนต ไฟฟาประเภท PHEV จำนวน 2,500 ยูโร

Comdo (CCS)

Fast AC (43kW+)

Type-2 <23kW

Other

Icon information

1. A semi-solid vehicle indicates tnat some connectors of the seiected charging type are in use, but others are still availabie. 2. A soid vehicle indicates that all connectors of the seiected charging type are in use , no spaces are currently availdle. 3. All connectors of the selected charging type are of service. 4. The paier coniourd icons (blue ro green) indicate that the cherge point does not have not have the ability to communicate, or that it is

ภาพแสดงแผนที่สถาน�ชารทไฟฟาทั�วประเทศไอรแลนด

ภาพแสดงแทนชารทไฟฟาของ EBS ในประเทศไอรแลนด

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

19


Astana

EXPO 2017 ณ กรุงอัสตานา

สาธารณรัฐคาซัคสถาน

ปจจุบนั โลกไดมกี ารพัฒนาการใชพลังงานและพลังงานสีเขียว (Green Technology) งานนิทรรศการโลก Astana Expo 2017 จึงไดถกู จัดขึน้ ภายใตแนวคิดน�้ โดยจัดขึน้ ณ กรุงอัสตานา เมืองหลวง ของสารณรัฐคาซัคสถาน โดยมี 115 ประเทศ มารวมกันนำเสนอ ถึงเรือ่ งราวความสำเร็จในหัวขอพลังงานแหงอนาคต (Future Energy) องคกรระหวางประเทศทีเ่ กีย่ วของกวา 21 องคกร อาทิ สหประชาชาติ ยูเนสโก และธนาคารโลก ไดใหความสนใจตองานมหกรรมโลก ในครั้งน�้ดวยเชนกัน

In an instinct of self-preservation, the world is beginning to make a concerted effort to move forwards into the realm of smart power consumption and green technology. EXPO 2017, held in the capital of Kazakhstan, is dedicated to this theme. 115 countries will demonstrate their achievements in the field of future energy. 21 authoritative international organisations, including the United Nations, UNESCO, UNIDO and the World Bank have shown an interest in this event.

20

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


งานนิทรรศการโลก Astana Expo 2017 ไมเพียงนำเสนอความสำเร็จทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเกีย่ วกับพลังงาน แตรวมถึง วัฒนธรรมของแตละประเทศและกิจกรรมตาง ๆ The Open Stage เวทีในรมทีม่ พี น้ื เปดดานหนาสำหรับรองรับผูช มไดมากถึง 6,000 คน เวทีน�้ถือเปนเวทีที่ใหญที่สุดในงาน โดยจะมีการแสดงที่ทาทายและนาตื่นเตน และสอดแทรกความรูไปในตัว เชน การแสดงที่ชื่อวา The Symphony of the Great Steppe ที่มีนักแสดงกวา 600 ชีวิตมารวมในการสรางสรรคการแสดงครั้งน�้ มีการผสมผสานระหวาง การเคลื่อนไหวรางกาย กับดนตรีที่ใชในการแสดง นอกจากน�้ยังมีฉากการแสดงที่ดูนาตื่นตาตื่นใจพรอมกับเทคนิคพิเศษสุดอลังการ การแสดงน�้จะนำผูชมทุกทานยอนภาพประวัติศาสตรของชาวคาซัคสถาน ตั้งแตตำนานการกำเนิดจนถึงปจจุบัน EXPO 2017 is not only a platform on which to demonstrate the latest achievements in science and technology, but also an opportunity to explore our rich cultural heritage and enjoy the activities and entertainments on offer. You can spend a whole day here and have no regrets about how you have used your time. Let us start with the Open Stage, a covered stage with an open space in front of it for an audience of up to 6,000 people. This, the largest stage at the EXPO, will host one of the most ambitious, spectacular and informative shows of EXPO 2017, called The Symphony of the Great Steppe. Almost 600 actors will participate in this production and, combining the language of calisthenics and music with vivid background scenery and special effects, will take the audience on a visual journey through the history of the Kazakh people, from the mythological creation of the world to the present day. This will be staged during the first week of the EXPO.

The Open Stage เปนการแสดงดนตรี เพื่อเฉลิมฉลองดนตรีพื้นเมืองสมัยใหม กับการแสดงทีช่ อ่ื วา the Spirit of Tengri Festiva และการแสดงดนตรีทเ่ี ปนทีน่ ยิ ม ของคนทองถิ�น กับการแสดงที่ชื่อวา the Sound Gakku Festival

The Open Stage will host a celebration of modern ethnic music with performances from the Spirit of Tengri festival, and of local pop music from the Sound of Gakku festival.

MTV channel รวมกับศิลปนและนักดนตรี ระดับโลก อาทิ DJ Steve Aoki และ วง No Mad Karma ไดมาแสดงในงานมหกรรมครัง้ น�้ สาวกดนตรีคลาสสิกยังคงไดดื่มด่ำไปกับ “The Battle of the Orchestras”

It will also host the MTV channel with its world-famous stars and musicians such as DJ Steve Aoki and the band No Mad Karma. Fans of classical music will enjoy “The Battle of the Orchestras” นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

21


22

ภายในงานมีการอภิปรายเสวนาเกีย่ วกับวัฒนธรรมงานศิลปะรวมสมัย การประชุมและการบรรยายภาพยนตรสารคดี

Here you will find yourself engaged in cultural discussions, the contemporary arts, conferences and lectures, documentary films and excursions.

การเยีย่ มชมศูนยศลิ ปะรวมสมัยอัสตานา (the Asatana Contemporary Arts Centre) คุณจะไดสมั ผัสกับความคิดสรางสรรคงานศิลปะ งานวิจยั และการเรียนรู ตามลำดับ

Idea. Art. Research. Study. You can follow this sequence by visiting the Astana Contemporary Arts Centre.

อีกทัง้ ยังไดเห็นถึงความรวมมือของสถาบันวัฒนธรรมที่ใหญทส่ี ดุ ในรัสเซียและฝรัง� เศส คือ The Garage Museum of Contemporary Arts แหงกรุงมอสโค และ The Association of the National Museums of France and the Grand Palais แหงกรุงปารีส ในการ ทำงานรวมกันเพื่อความยิ�งใหญของการจัดงานนิทรรศการครั้งน�้ โดยใชเวลาการทำงานถึง 2 ป

For the last two year, two of the largest cultural institutes in Russia and France - the Garage Museums of Contemporary Arts in Moscow and the Association of the National Museums of France and the Grand Palais in Paris - have been collaborating to create a special programme for this Expo.

ชั้นแรกของศูนยศิลปะ เปนสถานที่จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshops) ภายใตหัวขอวา “การเรียนรูจากประสบการณจริง” (knowledge through practical experience) เพือ่ สงเสริมใหผเู ขา รวมงานไดเรียนรูแ ละคิดนอกกรอบ สำหรับ The Garage Museum การจัดกิจกรรมและการแสดง คำนึงถึงการอำนวยความสะดวก ใหแกผูพิการ มีการใชภาษามือในการพาเดินชมงาน อีกทั้งหุน จำลองของการแสดงงานยังเปดใหสัมผัสไดดวยมือ

The first floor of the Art Centre is occupied by workshops that are based on the principle of “knowledge through practical experience.” They will be open every day of the Expo, helping participants to learn and think “outside the box.” It’s worth mentioning that, courtesy of the Garage Museum, all the activities and displays in the pavilion have been adapted to accommodate visitors with every form of disability, and tours are translated into sign language and the models are on display can be explored by touch.

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


ชั้นที่ 2 เปนการแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับศิลปนกับหุนยนต (Artists & Robots) โดยมีศิลปนรวมสมัยกวา 17 ทาน จาก 13 ประเทศ การแสดงนิทรรศการน�จ้ ะจัดขึน้ ณ the Grand Palais กรุงปารีส ในป 2019 สวนการแสดงรอบปฐมทัศนจะถูกจัด ณ กรุงอัสตานา โดยมี Miguel Chevalier ผูบ กุ เบิกศิลปะดิจทิ ลั และ Jerome Netre ผูอ ำนวยการ development for the Association of the National Museums of France and Grand Palais รวมถึง Jean-Luc Sore จาก European Photography Museum On the second floor is a unique exhibition of Artists & Robots, in which 17 contemporary artists from 13 countries have participated. The exhibition will go to the Grand Palais in Paris in 2019, but the premiere will be held at EXPO 2017 in Astana. The curators of this project are Miguel Chevalier, one of the pioneers of digital art, Jerome Netre, the director of development for the Association of the National Museums of France and Grand Palais, and Jean-Luc Sore from the European Photography Museum.

นอกจากนัน้ ยังเปนพืน้ ทีแ่ สดงงานนิทรรศการเกีย่ วกับการวิจยั และ จุดเดนของศตวรรษที่ 21 (Research and Landmarks reached in the 21st Century) ศิลปนในแตละยุคลวนมีความตองการที่ อยากจะนำเอาเครือ่ งจักรกลมาใชเปนอุปกรณในการผลิตงานศิลปะ จนมาวันที่ความกาวล้ำทางเทคโนโลยีมาถึง ความฝนของเหลา ศิลปนจึงเปนจริง ซึง� ภายในพืน้ ที่ 733 ตารางเมตรจะเปนการจัด แสดงของสือ่ ศิลปะ (Media Art) การวาดภาพคนและการแกะสลัก จากหุน ยนตผลงานหลายชิน้ ถูกวาดขึน้ ภายในงานโดยใหผเู ขาชม งานมีปฏิสัมพันธและมีสวนรวมกับงาน

The second floor of the Art Centre is devoted to an exhibition on research and landmarks reached in the 21st century. Artists from different eras have dreamed about a machine that will create works of art, and finally technical progress has made this dream come true. The 733 square metres of the interactive exhibition will be filled with the best examples of media art, with life drawing and sculptures created by robots. Many works will be created in real time and involve spectators in a process of creative interaction.

ในชวงปที่ผานมา Anna Bronovitskaya และ Nikolay Malinin นักประพันธผมู ชี อ่ื เสียงทีท่ ำการประพันธหนังสือ Moscow: Architecture of Soviet Modernism 1955-1991 ไดทำงานรวมกับทีม สถาปนิกจากโครงการ Arcode Almaty ในการระบุชอ่ื และพรรณนา ตัวอยางงานสถาปตยกรรมหลังยุคสงครามทีป่ ระณ�ตทีส่ ดุ และยังจัด ใหมีการประชุมนานาชาติ ณ ศูนยศิลปะรวมสมัย ระหวางวันที่ 22 - 23 กรกฎาคม และคาดวาจะนำผลงานของ Yuri Palmin ชางภาพดานสถาปตยกรรม จัดแสดงในงานนิทรรศการเชนกัน

For the last year, the authors of the famous book Moscow: Architecture of Soviet Modernism 1955-1991, Anna Bronovitskaya and Nikolay Malinin, have been working in cooperation with architects from the project “Arcode Almaty”, to identify and describe the finest examples of post-war architecture in this city. Their work will culminate in an International Conference of Modernism in Kazakhstan, which will take place at the Art Centre between 22nd and 23rd July. The work of the architectural photographer, Yuri Palmin, will be on display for the duration of EXPO 2017. นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

23


ประชาชนชาวคาซัคสถานหนึง� ในหาไมสามารถ เขาถึงแหลงพลังงานได เพือ่ เปนการแกปญ หา เชลลผสู นับสนุนและพันธมิตรในการจัดงาน มหกรรมน�้ มีซมุ แสดงนิทรรศการทีส่ นับสนุน และสงเสริมความคิดเกีย่ วกับพลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือก (Alternative Energy)

One in five people has no access to energy. In consideration of this Shell, the sponsor and global partner of EXPO 2017, will build a pavilion to support creative ideas for alternative energy.

หองปฏิบัติการดานพลังงานของเชลลจะ เปนแหลงเรียนรูใ นรูปแบบของความบันเทิง แบบ Interactive ที่ผานการเคลื่อนไหวใน รูปแบบการเลนเกมส

Shell's Energy Laboratory will be entertaining as well as educational, as visitors will be able to discover more about existing forms of energy through physical interaction in the form of a game. The pavilion will consist of several interactive exhibits, which will operate based on the principle of "understanding throughplay".

เชน ผูเขาชมงานจะไดเลนฟุตบอลไฟฟา ความพิเศษอยูท ก่ี ารแตะลูกฟุตบอลจะเปน การกระตุน เครือ่ งกำเนิดไฟฟาภายในลูกบอล ใหสรางพลังงานขึน้ มา โดยพลังงานน�ส้ ามารถ นำไปชารตโทรศัพทมือถือหรือใชเปนพลัง งานสรางแสงสวางภายในงาน

For instance, visitors will be able to play "Electrical Football", There will be a specially designed football, which when kicked will activate the energy generator placed inside the ball. The energy produced can be used to charge mobile phones or to illuminate the pavilion.

ยังมีเกมสทส่ี รางความประทับใจใหแกผเู ขา ชมงานคือ การแขงขันกังหันผลิตพลังงาน โดยจะเปนการเปลีย่ นพลังงานจลน พลังงาน ทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นไหวรางกายของผูเ ขา ชมงานไปเปนพลังงานไฟฟาโดยทีมทีส่ ะสม พลังงานมากทีส่ ดุ จะเปนผูช นะ

Another game, which will definitely impress visitors, is a race inside power-generating turbines. These covert kinetic energy, produced by visitors, into electricity. The team that produces the most energy will win.

ในฐานสุดทาย ผูเ ขาชมงานสามารถสรางดาวเคราะหเปนของตัวเองโดยดาวเคราะหนน้ั จะถูกออกแบบตามคำตอบทีผ่ เู ขาชมงานไดตอบไวใน แตละฐาน ขอมูลคำตอบเหลาน�้จะถูกเก็บไวในบัตรอิเล็กทรอนิกสของของแตละคน ที่ไดรับตอนเขางาน บัตรน�้จะถูกใชในการเลือกธาตุ ทีเ่ ปนเอกลักษณเฉพาะเจาะจงในการสรางดาวเคราะหแหงอนาคต โดยภาพของดาวเคราะหจะถูกขยายใหเห็นเปนภาพขนาดใหญในภายหลัง เมื่อเดินมาถึงชวงสุดทายภายในหองปฏิบัติการทางพลังงาน ผูเขาชมงานจะมีความเขาใจมากขึ้นถึงความจำเปนที่วามนุษยในยุคถัดไป จะตองใชความคิดเชิงนวัตกรรมในการออกแบบโลกแหงอนาคต At the final stage, visitors can create their own planet based on the answers they have provided during their interaction with the previous exhibits. This information is collected on the electronic card carried by each visitor, which is given out at the entrance to the pavilion. It will be used to select the unique elements that will make up their future planet, which will then be projected on a big screen. At the end of their journey through the Energy Laboratory, visitors will take with them the clear understanding that the next generation need to use innovative thinking to shape their future.

24

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS



เกาะ

Samsø

แบบอยาง

การพัฒนาพลังงานทดแทน

“เราจะเป น Fossil Free Island ในป 2030” คำกลาวของ นาย Jesper Roug Kristensen วิศวกรผูด แู ลโครงการของ Samsø Energy Academy หรือสถาบัน พลังงานเกาะแซมโซ และเปนชาวเกาะ Samsø โดยกำเนิด ที่แจงตอคณะผูบริหารของกระทรวงพลังงานนำโดย พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน และคณะสือ่ มวลชน ในการเดินทางศึกษาดูงาน ดานพลังงาน ณ ประเทศเดนมารก และ นอรเวย คำพูดของนาย Jesper ทำใหคณะผูดูงานสงสัยวาเกาะเล็กๆ ในคาบสมุทรจัตแลนด ทีม่ ขี นาด 114 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอยูเ พียงประมาณ 3,700 คน ทีป่ ระชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมง และการทองเทีย่ ว จะสามารถทำตามเปาหมายทีต่ ง้ั ไวหรือไมแตเมือ่ เทาความ ไปวาเกาะแหงน�้เปนตนแบบของ เกาะพะลวย Green Island ของเมืองไทยแลว ก็ยิ�งนาสนใจวาเปาหมายที่ตั้งไว อาจจะเปนไปไดจริง

Samsø Island - Renewable Energy Development Model “Our vision is to be Fossil Free Island by 2030.” The above was said by Mr. Jesper Roug Kristensen, Samsø Energy Academy’s engineer and manager who is a native Samsø islander, to the management from the Ministry of Energy, led by General Anantaporn Kanjanarat, Minister of Energy, together with accompanying mass media representatives, on a study visit to energy projects in Denmark and Norway. Mr. Jesper’s remark had raised doubt among the visiting delegation whether this tiny island off the Jutland Peninsula, covering an area of 114 square kilometers with a population of only about 3,700 of which the majority earn their living from agriculture, fishery and tourism, would be able to reach the said target. However, when reference was made to this island as the prototype of Paluay Green Island in Thailand, it became interesting to expect that the said target would be quite feasible

26

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


จ�ดเร�่มตน และการพัฒนาพลังงานทดแทน

Commencement and Development of Renewable Energy

เกาะ Samsø หรือที่คนไทยเรียก “แซมโซ” เดิมทีพลังงาน ที่ใชบนเกาะทัง้ หมดตองนำเขาจากแผนดินใหญทง้ั ไฟฟาและกาซ ตอมาหลังจากมีผบู ริหารในรัฐบาลของเดนมารกไดไปศึกษาดูงาน ดานพลังงานทดแทนทีป่ ระเทศญีป่ นุ จึงไดมคี วามคิดหาพืน้ ทีต่ วั อยาง ในการใชพลังงานทดแทนแบบ 100% หลังจากสำรวจความเหมาะสม แลวจึงเลือกเกาะ Samsø ซึ�งเปนเกาะที่มีรายไดต่ำเปนอันดับ 4 ของประเทศเดนมารกใหเปนตนแบบเมืองทีม่ กี ารใชพลังงานทดแทน ในป ค.ศ.1997

Formerly, all energy consumed on Samsø Island, both electricity and gas, had to be imported from the mainland. Later, after having taken a study visit on renewable energy in Japan, the Danish government’s management had an initiative to create a model location of a 100% transition to energy self-sufficiency through the use of renewable energy. After exploration of feasibility had been undertaken, Samsø Island, an island with the fourth lowest revenue of Denmark, was selected to be the prototype renewable energy-fueled island in 1997.

โดยเริ�มตนจากการประชุมประชาคมบนเกาะ Samsø ถึงเรื่อง การพัฒนาพลังงานทดแทน ชาวบานทีม่ ารวมประชุมมีทง้ั เห็นดวย และไมแนใจในศักยภาพของพลังงานทดแทนรวมถึงผลกระทบที่ อาจจะมีตอ ชีวติ ความเปนอยูแ ละเรือ่ งของมลภาวะทีจ่ ะเกิดขึน้ ดังนัน้ จึงมีการติดตัง้ กังหันลมผลิตไฟฟาในพืน้ ทีท่ ช่ี าวบานเห็นดวยกอน ซึง� การติดตัง้ นัน้ ดำเนินการโดยองคกรปกครองทองถิน� และสหกรณ ในทองถิน� ผลจากการติดตัง้ ในชวงแรกเปนทีน่ า พอใจสามารถจายไฟ ไดอยางตอเน��องดวยศักยภาพพื้นที่ของเกาะ Samsø มีลมพัด อยางสม่ำเสมอ อาคารที่รับไฟจากกังหันลมดังกลาวไดสามารถ ซือ้ ไฟฟาไดในราคาทีถ่ กู กวาปกติเน�อ� งจากรัฐบาลสนับสนุนดวยการ งดเวนภาษีฟอสซิลที่จัดเก็บอยูที่ 50% และภาษีมูลคาเพิ�ม 25% พรอมกับสรางรายไดใหกับสหกรณเจาของกังหันลมอีกดวย The project started with the organization of a public forum on Samsø Island to discuss renewable energy development. Some of the participating local citizens agreed with the concept while others still felt uncertain about the potential of renewable energy, including possible impact on their way of living as well as pollution that might occur. As a result, a wind turbine for power generation was installed by the municipality and the local cooperative firstly in the area where local residents had given their consent. The performance after the installation at the first stage proved to be satisfactory; electricity could be supplied uninterruptedly due to the constant wind potential on Samsø Island. Buildings supplied with electricity from that wind turbine could buy electricity at a price lower than the normal price owing to the government support by exempting 50% fossil tax and 25% value added tax.

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

27


เมือ่ ผลทีอ่ อกมาไมไดมผี ลกระทบตามทีก่ งั วล ประชาชนทัง้ เกาะจึง ยอมรับและสนับสนุนใหติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟาเพิ�มขึ้น จากนัน้ มีมกี ารวางแผนการพัฒนาระบบพลังงานทดแทนบนเกาะ และกำหนด KPI ดวยความรวมมือขององคกรปกครองทองถิ�น ชุมชน และสถาบันพลังงาน โดยองคกรปกครองทองถิ�นไดออก เทศบัญญัติมาประกอบการติดตั้งระบบพลังงานทดแทน เชน การกำหนดพื้นที่ติดตั้ง การกำหนดมาตรการบำรุงรักษา และ ระเบียบการใชงาน พรอมทั้งสงเสริมใหมีการลดการใชพลังงาน ดวย ปจจุบนั มีการติดตัง้ กังหันลมบนเกาะ 11 ตน กำลังการผลิต ตนละ 1 เมกะวัตต และกังหันลมในทะเล 10 ตน กำลังการผลิต ตนละ 2.3 เมกะวัตต รวมกำลังการผลิตสูงสุด 34 เมกะวัตต สามารถ รองรับความตองการใชพลังงานไฟฟาทั้งเกาะไดและเหลือพอสง ไปขายยังแผนดินใหญไดอีกกวา 60% ของกำลังการผลิตไฟฟา ทัง้ หมด แตในบางครัง้ อาจมีการนำเขาไฟฟาจากแผนดินใหญบา ง ในชวงที่ไมสามารถผลิตไฟฟาไดแตในภาพรวมแลวยังคงไดกำไร จากการขายไฟอยู นอกจากองคกรปกครองทองถิน� สหกรณ และ เอกชนเปนเจาของกังหันลมแลว ยังมีประชาชนบนเกาะอีกกวา 450 คน เปนผูถ อื หุน ในระบบผลิตพลังงานบนเกาะดวย สรางรายได้ ใหกบั ทองถิน� อยางมาก อนึง� มีการลงทุนทัง้ สิน้ 55 ลานยูโร โดยไดรบั การสนับสนุนเงินทุนจากสหภาพยุโรป และทองถิน� (เทศบาลและ ประชาชน) รวมลงทุน

28

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

In addition, income could be generated for the cooperative that owns the wind turbine. When the outcome had proven to create no impact, as initially concerned, all citizens on the island accepted and supported the installation of more wind turbines to generate electricity. Then, with the collaboration among the municipality, the community and the Energy Academy, a detailed plan was formulated for renewable energy system development on the island and KPIs were also specified. Municipal laws were issued by the municipality regarding renewable energy system installation, for example, the determination of locations for system installation, the establishment of maintenance measures and the regulation on system operation, together with promotion of energy consumption reduction. Presently, there are 11 onshore wind turbines, with a capacity of 1 MW each, and 10 offshore wind turbines, with a capacity of 2.3 MW each, thus making a total generating capacity of 34 MWp. This can serve the power demand of the entire island and the surplus of more than 60% of the total generating capacity can be sold to the mainland. Sometimes import of electricity from the mainland may be needed, particularly when electricity cannot be generated; however, on the whole profits can be gained from electricity selling. Apart from the municipality, cooperatives and individuals that are owners of wind turbines, over 450 islanders are shareholders of energy production systems on the island, which has created considerable revenue for the locality. In this regard, the total investment amounted to 55 million EURO, supported by funding from the European Union with joint ventures by the locality (the municipality and local citizens).


นอกจากน�ด้ ว ยประเทศเดนมารกเปนประเทศทีม่ สี ภาพอากาศทีห่ นาวเย็นจึงมีการนำชีวมวลอันไดแกเศษวัสดุทางการเกษตร เชน หญา, ฟาง ในพืน้ สงไปยังโรงผลิตพลังงานความรอนพลังงานชีวมวล และสงน้ำรอนไปยังอาคารทีพ่ กั อาศัยในบริเวณโดยรอบ ทัง้ น�้ โรงผลิตความรอนดังกลาวผูด ำเนินการคือสหกรณทางการเกษตรในพืน้ ที่ ซึง� จะเปนผูจ ดั หาชีวมวล จัดเก็บรายไดโดยจะมี เจาหนาทีจ่ าก Samsø Energy Academy เปนวิศวกรดูแลควบคุมโดยแรกเริม� ไดรบั การสนับสนุนเงินกูด อกเบีย้ ต่ำจากรัฐบาล แตใชระยะเวลาดำเนินงานไมนานก็สามารถชำระเงินกูไ ดหมด เมือ่ เปรียบเทียบความคุม คาแลวพบวาชีวมวลทีเ่ ปนกอนฟาง 1 กอน หนักประมาณ 600 กิโลกรัม ราคา 350 เดนมารกโครน เมือ่ นำมาเผาแลวสามารถผลิตความรอนไดเทากับน้ำมันจำนวน 200 ลิตร ซึง� ราคาน้ำมันจะแพงกวาถึง 6 เทา ทำใหชมุ ชนสามารถควบคุมราคาพลังงานความรอน และสรางงานใหกบั ประชาชนในทองถิน� อีกดวย ปจจุบนั มีโรงผลิตความรอนพลังงานชีวมวลบนเกาะทัง้ สิน้ 4 แหง มีพน้ื ทีบ่ ริการครอบคลุมเกือบทัง้ เกาะแตถา อาคารใด อยูนอกเขตพื้นที่บริการ ก็สามารถติดตั้งแผงทำความรอนพลังงานแสงอาทิตยเองได

In addition, given the cold weather in Denmark, biomass, such as agricultural waste and residue, like grass and straw, in each locality will be delivered to biomass-fueled heating plants to produce and supply hot water to residential buildings in the vicinities of the plants. The operators of these heating plants are local agricultural cooperatives who will be biomass suppliers and will collect the money earned; the staff from Samsø Energy Academy will act as supervising engineers. At the beginning, support was given by the government in the form of soft loans, but it took only a short time of operation to completely pay back the loans. Considering the cost-effectiveness of such plants, it is found that one straw bale of about 600 kilograms costs 350 Danish Krone; when incinerated, it can produce heat equal to the use of 200 liters of oil of which the price is six times more expensive. Therefore, the community can control the price of heat energy, and employment can be generated for local people as well. At present, there are altogether four biomass-fueled heating plants on the island, with service areas covering almost all over the island. If any buildings are located outside the service areas, they will be able to install solar thermal collectors of their own.

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

29


30

Samsø Fossil Free Island 2030

Samsø Fossil Free Island 2030

หลังจากที่เกาะ Samsø สามารถใชพลังงานทดแทนผลิต ไดทั้งไฟฟาและความรอน จึงมีการกำหนดเปาหมายขั้นตอไป คือการเปนเกาะที่ปราศจากการใชพลังงานฟอสซิล หรือ Fossil Free Island ในป ค.ศ. 2030 โดยมีการกำหนดแนวทางการพัฒนา พลังงานเพือ่ ไปสูจ ดุ หมายดังกลาวไดแกการสงเสริมใหเกิดการใช ยานยนต ไฟฟาขึ้นบนเกาะ โดยมีการติดตั้งจุดประจุไฟฟา หรือ Changing Station ทัว� เกาะแบบใหบริการฟรี ซึง� ไฟฟาทีน่ ำมาใช บางสวนมาจากแผงผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ปจจุบนั มีปริมาณ รถยนตไฟฟาทัง้ สิน้ 50% ของทัง้ หมดและจะเพิม� ใหมากขึน้ โดยเฉพาะ รถประจำทางที่จะทยอยเปลี่ยนเปนรถประจำทางไฟฟา อาคาร สถานทีร่ าชการมีการติดตัง้ แผงผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยเพือ่ ผลิตไฟฟาใชเองภายในอาคาร นอกจากน�้เรือขนสงระหวางเกาะ และแผนดินใหญมีแผนจะเปลี่ยนจากเดิมที่ใชกาซ LNG มาใช กาซชีวภาพ หรือ CBG ที่สามารถผลิตไดเองบนเกาะ พรอมทั้ง สรางระบบ Smart Energy Systems เพือ่ สรางเครือขายพลังงาน จากทุกแหลงบนเกาะเพือ่ สงเสริมและสามารถทดแทนกันไดหาก แหลงพลังงานบางแหงไมสามารถผลิตไดตามปกติ สวนองคกร ปกครองทองถิน� ไดเตรียมออกเทศบัญญัตเิ กีย่ วกับวัฏจักรเศรษฐกิจ สีเขียวเพือ่ ใหเกิดการผลิตและการใชทย่ี ง�ั ยืนครบทัง้ วงจร ตัง้ แตการผลิต เชน การทำฟารมออรแกนิก จนถึงผูซ อ้ื สินคาไปแลวจะมีการกำจัด ของเสียหลังการบริโภคอยางไร เชน การกำจัดน้ำเสีย ระบบจัดการ ขยะ พรอมทั้งสนับสนุนใหมีการทำอินเทอรเน็ตบอรดแบรนด ทัว� ทัง้ เกาะโดยใหบริการฟรีในความเร็ว 20/20 Mbps เพือ่ สนับสนุน การทำงานที่บาน หรือที่ไหนก็ไดโดยไมจำเปนตองเดินทาง และ ดวยเศรษฐกิจที่สำคัญบนเกาะนอกจากดานเกษตรกรรมและการ ประมงแลว การทองเที่ยวก็เปนรายไดที่สำคัญของเกาะจึงมีการ พัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วสีเขียว ตัวอยางเชนสนามกอลฟซึง� สนามกอลฟที่สวยงาม ไมใชปุยเคมี แตใชปุยออรแกนิกทั้งหมด ในขณะที่เครื่องจักรและรถกอลฟก็ใชพลังงานไฟฟา

After both electricity and heat can be produced from renewable energy on Samsø Island, the next target has been set, that is, to become “Fossil Free Island by 2030.” In order to achieve this target, the approach for energy development has been determined; one is to promote the use of electric vehicles (EV) on the island. Charging stations have been installed in all areas of the island to provide free charging service. A portion of the electricity used for EV charging is generated from solar PV panels. Currently, EVs constitute 50% of the total vehicles used on the island, and the number of EVs will be increasing, especially when the existing buses are gradually replaced by electric ones. Buildings and government premises are encouraged to install solar PV panels to produce electricity for own consumption in the buildings. Moreover, a plan has been set to change the fuel for ferries between the island and the mainland, from LNG to biogas, or compressed biogas (CBG), which can be produced on the island. Also, smart energy systems will be created to build up energy networks of all resources on the island in order to support and to be able to substitute for one another in case certain energy resources cannot produce energy as usual. The municipality is going to issue a municipal law on green economic cycle to forge ahead with comprehensive and sustainable production and utilization - from the production, e.g. organic farming, to consumers who have bought products and who should know how to manage waste after their consumption, for instance, wastewater disposal and waste management system. In addition, support will be given to the installation of broadband internet across the island to provide free services at a speed of 20/20 Mbps so as to support working from home or anywhere, with no need to travel. With regard to major economic activities on the island, apart from agriculture and fishery, tourism has generated significant revenue for the island; therefore, efforts have been made on the transition of the island to be Green Tourist Destination, e.g. the golf course which is magnificent without the use of chemical fertilizer but organic one, and machines as well as golf carts run on electric energy.

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


จากความมุงมั�น ตั้งใจ ความรวมมือของประชาชน องคกร ปกครองทองถิน� และรัฐบาล สงผลใหเกาะ Samsø เปนเกาะทีม่ ี การผลิตและใชพลังงานทดแทนไดเกือบ 100% ดังนัน้ เปาหมายที่ จะเปนเกาะที่ปราศจากการใชพลังงานจากฟอสซิล หรือ Fossil Free Island ในอีก 13 ปขางหนาก็เปนเปาหมายที่ไมไกลเกิน ความเปนจริงและจะเปนตัวอยางแนวทางการพัฒนาและการดำเนินงาน บนเกาะพะลวย Green Island ของเมืองไทย ไดกา วตามและเปน แบบอยางใหพน้ื ทีอ่ น่ื ๆในการพัฒนาใชพลังงานอยางยัง� ยืนตอไป

With the determination, intention and cooperation of all citizens, the municipality and the government, Samsø Island can be almost 100% self-sufficiency through renewable energy generation and utilization. As a result, the target to be “Fossil Free Island” in the next 13 years will not be too far to reach, and Samsø Island will serve as a model of the approach for development and operation on Paluay Green Island in Thailand and as an example for other locations of how to develop and use energy in a sustainable manner.

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

31

















สถานการณ พลังงาน

สถานการณพลังงาน 6 เดือนแรกของป 2560 และแนวโนมป 2560 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได จัดทำสถานการณ พลังงาน 6 เดือนแรกของป 2560 โดยภาพรวมการใช พลังงานขัน้ ต นเพ�ม� ข�น้ ร อยละ 9.2 สอดคล องกับอัตราการเจร�ญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของไทย (GDP) ไตรมาสแรกขยายตัวร อยละ 3.3 ซึ่งมีป จจัยสนับสนุนจากการขยายตัวเร งข�้นของการ ใช จ ายภาคครัวเร�อน การส งออกสินค าและบร�การรวมถึงการขยายตัวต อเนื่องของการลงทุนรวม ทั้งนี้มีการใช พลังงานทดแทนเพ��มข�้นร อยละ 34.3 ตามนโยบายส งเสร�มการใช พลังงานทดแทนของภาครัฐ จากการประมาณการประสิทธิภาพการใช พลังงานรวมของประเทศ (Energy Intensity) ป 2560 มีคาเทากับ 8.59 ลดลงรอยละ 1.6 เทียบกับปกอน แสดงใหเห็นถึงแนวโนมการ ใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพ ทั้งน�้ ในชวงเดือนมิถุนายน 2560 ได เกิดเหตุขัดของในระบบสงจาย กาซธรรมชาติจากแหลงพัฒนา รวมไทย-มาเลเซีย หรือแหลง JDA-A18 สงผลใหโรงไฟฟาจะนะ ชุดที่ 2 ที่ใชกาซธรรมชาติเปน

เชื้อเพลิงตองหยุดการเดินเครื่อง กระทรวง พลังงานโดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ ไทย (กฟผ.) ไดปรับมาใชน้ำมันดีเซลและ น้ำมันเตาเดินเครื่องโรงไฟฟาจะนะชุดที่ 1 และโรงไฟฟากระบี่ และรับซื้อไฟฟาจาก ประเทศมาเลเซีย รวมทั้งมีการสงไฟฟาจาก ภาคกลางเขามาเสริมเพื่อรักษาความมั�นคง ของระบบไฟฟาภาคใต ใหอยูในระดับที่ สามารถ จายไฟฟาไดอยางเพียงพอ ซึ�ง ปจจัยเหลาน�ส้ ง ผลตอสถานการณพลังงานของ ประเทศในชวงครึ�งปแรกของป 2560 ดังน�้

การใช การผลิต และการนำเขาพลังงานขั้นตน การใชพลังงานขัน้ ตน เพิม� ขึน้ รอยละ 9.2 โดยเปนการเพิม� ขึน้ ของการใชพลังงาน เกือบทุกประเภทยกเวนการใชกา ซธรรมชาติทม่ี กี ารใชลดลงรอยละ 0.7 เน�อ� งจากมี ปรับโรงไฟฟาบางปะกงหนวยที่ 3 เปนโรงไฟฟาประเภทสำรองฉุกเฉิน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

47


การผลิตพลังงานขัน้ ตน อยูท ร่ี ะดับ 975 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน ลดลงรอยละ 5.2 โดยเปนลดลงของการผลิตน้ำมันดิบ คอนเดนเสท และกาซธรรมชาติ ตามการผลิตที่ลดลงของแหลงผลิตภายในประเทศ และการหยุดจายกาซของแหลง JDA-A18 ในชวง เดือนมิถุนายน 2560 จากเหตุขัดของในระบบสงจายกาซธรรมชาติ การนำเขาพลังงานขัน้ ตน (สุทธิ) อยูท ร่ี ะดับ 1,370 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 3.2 โดยเปนการเพิม� ขึน้ ของ การนำเขาพลังงานทุกประเภท การนำเขาพลังงานไฟฟาจากประเทศเพือ่ นบานเพิม� ขึน้ จากการจายไฟเขาระบบของโรงไฟฟาหงสาตัง้ แต เดือนมีนาคม 2559 และการนำเขากาซธรรมชาติ และ LNG เพิ�มขึ้น เน��องจากการผลิตกาซธรรมชาติในประเทศไทยไมเพียงพอ มูลคาการนำเขาพลังงาน อยูท ร่ี ะดับ 477 พันลานบาท เพิม� ขึน้ รอยละ 33.0 เปนการเพิม� ขึน้ ของพลังงานเกือบทุกประเภท โดยเฉพาะ มูลคาการนำเขาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ปรับตัวเพิม� ขึน้ รอยละ 42.5 และ 16.5 ตามลำดับ ซึง� เปนการปรับตัวเพิม� ขึน้ ตามราคาน้ำมัน ในตลาดโลก ในสวนของการนำเขาถานหิน การนำเขาไฟฟา และการนำเขากาซธรรมชาติเหลว (LNG) มีมลู คาการนำเขาเพิม� ขึน้ รอยละ 22.4 27.5 และ 80.0 ตามลำดับ ในขณะทีม่ ลู คาการนำเขากาซธรรมชาติลดลงรอยละ 10.2 ตามปริมาณการนำเขากาซธรรมชาติทล่ี ดลง

การใช พลังงานขั้นต น

หนวย:พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน

ป

2557

ปริมาณการใช 2,558 น้ำมัน 734 กาซธรรมชาติ 916 ถานหิน/ลิกไนต 359 พลังงานหมุนเวียน 518 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา 30 อัตราการเปลี่ยนแปลง (% yoy) 2.2 น้ำมัน 0.6 กาซธรรมชาติ 0.8 ถานหิน/ลิกไนต 10.1 พลังงานหมุนเวียน 2.1 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา -3.1

สถานการณพลังงานแตละชนิด น้ำมันสำเร็จรูป การใชน้ำมันสำเร็จรูปอยูที่ระดับ 141.4 ลานลิตร ตอวัน เพิ�มขึ้นรอยละ 1.9 จากชวงเดียวกันของปกอน โดยมี รายละเอียดดังน�้ น้ำมันดีเซล ปริมาณการใชเฉลี่ยอยูที่ 65.6 ลานลิตรตอวัน เพิ�มขึ้น รอยละ 2.4 จากชวงเดียวกันของปกอนเน��องจากมีความตองการ ใชในการขนสงสินคาเกษตรในชวงไตรมาสแรกของป 2560 เพิม� ขึน้ สงผลใหปริมาณการใชเฉลีย่ ในชวงไตรมาสแรก เพิม� ขึน้ ถึง 1.8 ลานลิตรตอวัน และทำใหภาพรวมการใชนำ้ มันดีเซลครึง� ปแรกเพิม� ขึน้

48

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

2558 2,632 767 919 352 563 31 2.9 4.5 0.3 -2.0 8.6 4.3

2559 2,695 798 901 358 599 40 2.4 4.0 -1.9 1.6 6.4 28.2

ม.ค.-มิ.ย. 2559 2,731 811 910 365 610 36 2.4 4.7 -1.8 2.0 5.3 20.5

2560 2,981 827 903 384 819 48 9.2 1.9 -0.7 5.2 34.3 35.2

น้ำมันเบนซินและแกสโซฮอล ปริมาณการใชเฉลีย่ อยูท ่ี 29.9 ลานลิตร ตอวัน เพิ�มขึ้นรอยละ 4.5 จากปกอน โดยเปนเพิ�มขึ้นของการ ใชน้ำมันกลุมแกสโซฮอล 95 ตามความตองการใชที่เพิ�มขึ้น โดยเฉพาะการใชในภาคขนสง เน��องจากปริมาณรถยนตที่เพิ�ม มากขึ้น ประกอบกับราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศที่ยังคงอยูใน ระดับที่ไมสูงมากนัก อีกทั้งผูใชรถยนต LPG และ NGV หันมา ใชน้ำมันทดแทนเน��องจากราคาถูก และมีความสะดวกดานสถาน� บริการที่ทั�วถึงมากกวา น้ำมันเครือ่ งบิน มีปริมาณการใชเฉลีย่ อยูท ่ี 18.6 ลานลิตรตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 4.6 จากชวงเดียวกันของปกอ น ตามการขยายตัว


ของภาคการทองเทีย่ วทีม่ จี ำนวนนักทองเทีย่ วตางชาติเดินทางเขา ประเทศเพิม� ขึน้ จากภาวะเศรษฐกิจโลกทีเ่ ริม� มีแนวโนมดีขน้ึ LPG โพรเพน และบิวเทน การใชอยูท ร่ี ะดับ 3,061 พันตัน เพิม� ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 1.6 โดยภาคครัวเรือน มีสดั สวน การใชสูงสุดคิดเปนรอยละ 34 ปริมาณการใชเพิ�มขึ้นรอยละ 1.9 รองลงมา คือ การใชเปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปโตรเคมี มีสดั สวน รอยละ 31 มีการใชเพิม� ขึน้ ถึงรอยละ 10.9 และ ภาคอุตสาหกรรม

มีการ ใชเพิม� ขึน้ รอยละ 4.5 ตามการสงออกสินคาอุตสาหกรรมที่ ขยายตัวดีขึ้น สวนการใชภาคขนสงคิดเปนรอยละ 22 การใชลดลง รอยละ 9.8 จากการปรับลดลงของราคาขายปลีกน้ำมันสงผลใหผใู ช รถยนต LPG บางสวนหันมาใชน้ำมันทดแทน ประกอบกับปริมาณ รถยนต LPG ที่มีแนวโนมลดลง กาซธรรมชาติ มีปริมาณการใชอยูท ร่ี ะดับ 4,692 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ลดลงรอยละ 1.4 โดยการใชเพื่อผลิตไฟฟาลดลงรอยละ 6.1

การใชนำ้ มันสำเร็จรูป

การใช LPG โพรเพนและบิวเทน หนวย:พันตัน

หนวย:ลานลิตรตอวัน

2558

2559

131.9 ปริมาณการใช 26.4 เบนซินและแกสโซฮอล 60.1 ดีเซล 16.6 เครื่องบิน* 5.6 น้ำมันเตา 23.2 LPG** อัตราการเปลีย่ นแปลง (% YoY) 4.3 13.2 เบนซินและแกสโซฮอล 4.1 ดีเซล 9.4 เครื่องบิน* -1.5 น้ำมันเตา -5.5 LPG**

136.7 29.0 61.9 17.7 6.2 21.9 3.7 9.8 3.0 6.9 10.2 -5.7

ป

ม.ค.-มิ.ย. 2559 2560 138.7 141.4 28.6 29.9 64.0 65.6 17.7 18.6 6.6 6.0 21.8 21.5 4.3 1.9 10.9 4.5 4.2 2.4 6.2 4.6 15.5 -9.4 -6.9 -1.6

ป

2557

2558

2559

การใช ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต อุตสาหกรรมปโตรเคมี ใชเอง อัตราการเปลีย่ นแปลง (% YoY) ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต อุตสาหกรรมปโตรเคมี ใชเอง

7,515 2,188 577 1,974 2,675 102 -0.1 -9.2 -4.2 11.2 1.3 3.4

6,695 2,094 594 1,731 2,124 153 -10.9 -4.3 3.0 -12.3 -20.6 50.6

6,134 2,110 610 1,466 1,810 137 -8.4 0.8 2.8 -15.3 -14.8 -10.5

ม.ค.-มิ.ย. 2559 2560 3,012 3,061 1,034 1,054 301 314 748 675 865 959 58 64 -12.1 1.6 -0.05 1.9 2.2 4.5 -16.0 -9.8 -23.7 10.9 -12.1 -8.8

หมายเหตุ * น้ำมันเครื่องบินและน้ำมันกาด ** ไมรวมการใช LPG ที่ใชเปน Feed stocks ในปโตรเคมี

การใชกา ซธรรมชาติรายสาขา ลานลูกบาศกฟุต/วัน 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 2553

2554

NGV อุตสาหกรรม โรงแยกกาซ ผลิตไฟฟา 2555

2556

2557

2558

2559

2560*

การใชป 2560* ผลิตไฟฟา โรงแยกกาซ อุตสาหกรรม NGV 248 ปริมาณการใช (ลานลูกบาศกฟุต/วัน) 2,724 1,008 712 -14.2 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) -6.1 13.5 4.1 5 สัดสวน (%) 58 22 15

รวม 4,692 -1.4 100

หมายเหตุ * ขอมูล ม.ค.-มิ.ย.60

การใชลกิ ไนต/ถานหิน

หนวย: พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ

2558

2559

ปริมาณ

ความตองการใช 17,573 17,909 9,505 3,883 4,319 2,161 การใชลิกไนต 3,588 4,064 2,037 ผลิตกระแสไฟฟา 256 123 อุตสาหกรรม 295 การใชถานหิน 13,690 13,590 7,344 ผลิตกระแสไฟฟา (IPP/SPP) 5,124 5,221 2,477 อุตสาหกรรม 8,566 8,369 4,868

หมายเหตุ * ขอมูล ม.ค.-มิ.ย.60 (เบื้องตน)

2560*

เปลี่ยนแปลง สัดสวน (%)

(%)

4.6 1.4 2.3 -10.7 5.6 -7.2 13.6

100 94 6 100 34 66

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

49


และการใชเพื่อเปนเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต (NGV) มีการใชลดลง ถึงรอยละ 14.2 ในขณะที่การใชกาซธรรมชาติในอุตสาหกรรม ปโตรเคมี และอืน่ ๆ เพิม� ขึน้ รอยละ 13.5 และการใชเปนเชือ้ เพลิง ในโรงงานอุตสาหกรรมเพิ�มขึ้นรอยละ 4.1 ตามการปรับตัวของ เศรษฐกิจที่มีแนวโนมดีขึ้น ลิกไนต/ถานหิน มีการใชอยูท ร่ี ะดับ 9,505 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ�มขึ้นจากปกอนรอยละ 4.6 ลิกไนต การใชอยูที่ 2,161 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ�มขึ้น รอยละ 1.4 โดยรอยละ 94 ของปริมาณการใชลิกไนตเปนการใช ในภาคการผลิตไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

(กฟผ.) เพิ�มขึ้นรอยละ 2.3 สวนที่เหลือรอยละ 6 นำไปใชในภาค อุตสาหกรรมอาทิ อุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต ในกระบวนการ ผลิตปูน และอุตสาหกรรมกระดาษ เปนตน การใชลิกไนต ใน อุตสาหกรรมลดลงรอยละ 10.7 ถานหินนำเขา การใชอยูท ่ี 7,344 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบเพิม� ขึน้ รอยละ 5.6 โดยใชในภาคอุตสาหกรรม เพิ�มขึ้นรอยละ 13.6 และ ใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของ SPP และ IPP ลดลงรอยละ 7.2 สวนหนึ�งมาจากโรงไฟฟาเก็คโค-วัน หยุดซอมบำรุงในชวง เดือนมกราคม 2560

ไฟฟา กำลังผลิตในระบบไฟฟ า (System Generating Capacity) ณ เดือนมิถนุ ายน 2560 อยูท ่ี 41,723.25 เมกะวัตต ลดลง 167 เมกะวัตต เมือ่ เทียบกับกำลังการผลิต ณ เดือนธันวาคม 2560 โดยการไฟฟ าฝ ายผลิตแห งประเทศไทย (กฟผ.) มีกำลัง ผลิตในระบบไฟฟ าสูงสุด คิดเป นสัดส วนร อยละ 38.5 รองลง มาคือผู ผลิตไฟฟ าเอกชนรายใหญ (IPP) ร อยละ 35.8 ผู ผลิต ไฟฟ าเอกชนรายเล็ก (SPP) ร อยละ 16.4 และซื้อ/แลกเปลี่ยน กับต างประเทศร อยละ 9.3 ความตองการพลังไฟฟาสูงสุดสุทธิ (Net Peak Generation Requirement) Peak ของป 2560 เกิดเมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 14.20 น. โดยในระบบของ 3 การไฟฟาอยูท ่ี 30,303.4 เมกะวัตต ลดลงรอยละ 2.2 (Peak ในระบบ กฟผ. อยูท ่ี 28,578.4 เมกะวัตต) การใชไฟฟา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2560 อยูท ่ี 91,983 ลานหนวย เพิม� ขึน้ รอยละ 0.5 จากชวงเดียวกันของปกอ น โดยเพิม� ขึน้ ในเกือบ ทุกสาขาเศรษฐกิจ ยกเวนบานอยูอาศัยและภาคธุรกิจที่มีการใช ไฟฟาลดลงเล็กนอยเน�อ� งจากอุณหภูมทิ ต่ี ำ่ กวาปกอ น ภาคเกษตร กรรมมีอัตราความตองการใชไฟฟาเพิ�มขึ้นสูงสุดเน��องจากราคา สินคาเกษตรปรับตัวดีขึ้น สวนภาคอุตสาหกรรมมีการใชไฟฟา เพิ�มขึ้นเล็กนอย การผลิตไฟฟา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2560 อยูที่ 100,450 ลานหนวย ใกลเคียงกันกับปกอ น โดยเชือ้ เพลิงทีใ่ ชในการผลิตไฟฟา สูงสุด ไดแก กาซธรรมชาติ คิดเปนสัดสวนรอยละ 60 ของการ ผลิตไฟฟาทัง้ หมด ในสวนของการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน (รวมพลังงานน้ำ) คิดเปนสัดสวนรอยละ 7.5 ซึ�งมีการใชเพิ�มขึ้น ตามนโยบายกระจายแหลงเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟาและการ สงเสริมการใชพลังงานทดแทนของกระทรวงพลังงาน

คาไฟฟาตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) หนวย: สตางคตอหนวย

เดือนเรียกเก็บ ม.ค.59-เม.ย.59 พ.ค.59-ส.ค.59 ก.ย.59-ธ.ค.59 ม.ค.60-เม.ย.60 พ.ค.60-ส.ค.60

Ft ขายปลีก -4.80 -33.29 -33.29 -37.29 -24.77

เปลี่ยนแปลง -1.57 -28.49 0.00 -4.00 12.52

คาเอฟที ในป 2560 มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ครั้งที่ 1 : ชวงเดือนมกราคม - เมษายน 2560 อยูที่อัตรา -37.29 สตางคตอหนวย ปรับลดลง 4.00 สตางคตอหนวย จากชวงเดือน กันยายน - ธันวาคม 2559 ซึ�งอยูที่อัตรา -33.29 ครั้งที่ 2 : ชวงเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2560 อยูที่อัตรา -24.77 สตางคตอหนวย ปรับเพิ�มขึ้น 12.52 สตางคตอหนวย

50

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


แนวโนมพลังงานป 2560 จากประมาณการเศรษฐกิจไทย โดย สศช. คาดว าเศรษฐกิจไทยในป 2560 จะขยายตัวร อยละ 3.3 - 3.8 โดยมีป จจัย สนับสนุนจากการฟ�น� ตัวของการส งออกตามการปรับตัวดีขน้� ของเศรษฐกิจประเทศคูค า ราคาสินค าในตลาดโลกและการลงทุน ภาครัฐตลอดจน การขยายตัวของภาคการท องเทีย่ ว การปรับตัวดีขน้� ของการผลิตสินค าเกษตรทีส่ ง ผลให รายได เกษตรกรตามราคา สินค าเกษตรทีย่ งั อยูใ นเกณฑ ดี อีกทัง้ การปรับตัวดีขน้� ของตลาดรถยนต ในประเทศตามความต องการซือ้ รถยนต ทค่ี าดว าจะเพ�ม� ข�น้ ขณะที่ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกขยับตัวสูงข�้นแต ยังคงอยู ในระดับต่ำ โดยคาดว าราคาน้ำมันดิบดูไบในป 2560 อยู ใน ช วง 47-57 ดอลลาร สรอ. ต อบาร เรล และอัตราแลกเปลีย่ นมีแนวโน มอ อนค าลงเฉลีย่ อยูใ นช วง 35.0–36.0 บาทต อดอลลาร สรอ. ทั้งนี้ สนพ. ประมาณการความต องการพลังงานของประเทศป 2560 ภายใต สมมติฐานดังกล าว สรุปได ดังนี้ ความตองการพลังงานขัน้ ตน ป 2560 คาดวาอยูท ร่ี ะดับ 2,924 พันบารเรลเทียบเทา น้ำมันดิบตอวัน เพิ�มขึ้นรอยละ 8.5 เมื่อ เทียบกับป 2559 ตามภาวะเศรษฐกิจที่ ขยายตัว โดยคาดการณวาการใชพลังงาน จะเพิ�มขึ้นทุกประเภท ทั้งน�้ การใชน้ำมัน เพิม� ขึน้ รอยละ 2.0 จากการใชนำ้ มันเบนซิน และแกสโซฮอล น้ำมันดีเซล และน้ำมัน เครือ่ งบิน การใชถา นหิน/ลิกไนตเพิม� ขึน้ รอยละ 5.3 การใชพลังงานทดแทนคาดวาจะเพิม� ขึน้ รอยละ 31.1 มากในชวงตนปและการใชไฟฟา พลังน้ำ/ไฟฟานำเขาคาดวาจะเพิ�มขึ้นรอยละ 16.0 น้ำมันสำเร็จรูป ป 2560 เพิม� ขึน้ รอยละ 2.0 เมื่อเทียบกับป 2559 โดย การใชน้ำมัน ดีเซล คาดวาจะเพิม� ขึน้ รอยละ 2.3 สวนการ ใชเบนซินและแกสโซฮอล เพิม� ขึน้ รอยละ 4.3 เปนผลมาจากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก ที่คาดวาจะยังคงอยูในระดับที่ไมสูงมาก ประกอบกับที่กระทรวงพลังงานมีนโยบาย ปรับโครงสรางราคา LP ใหสะทอนตนทุน ที่แทจริงและเปดเสรี LPG ที่จะเริ�มในเดือน สิงหาคม 2560 ซึ�งอาจทำใหราคา LPG ปรับตัวสูงขึ้น ประชาชนบางสวนจึงหัน กลับมาใชน้ำมันตามเดิม รวมทั้งประมาณ การภาวะเศรษฐกิจของ ศสช. ที่คาดวา ตลาดรถยนต ในประเทศจะปรับตัวดีขึ้น การใชน้ำมันเครื่องบิน คาดวาจะเพิ�มขึ้น รอยละ 4.6 ตามแนวโนมการขยายตัวของ ภาคการทองเที่ยว สวนการใชน้ำมันเตา คาดวาจะลงลงรอยละ 7.3 เมื่อเทียบกับ ฐานที่สูงในป 2559 ในขณะที่การใช LPG ในสวนที่ไมรวมการใชใน Feed stocks ของอุตสาหกรรมปโตรเคมี คาดวาจะลดลง รอยละ 1.6

แนวโนมการใชพลังงานขัน้ ตน ป 2560 หนวย: พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน

2557

2558

2559

H1 2,981 827 903 384 819 48 9.2 1.9 -0.7 5.2 34.3 35.2

2560f H2 ทั้งป 2,866 2,923 801 814 900 902 370 377 751 785 46 45 8.5 7.7 2.0 2.1 0.8 0.04 5.3 5.5 27.7 31.1 1.0 16.0

2,558 2,632 2,695 การใชพลังงานรวม 798 767 734 น้ำมัน 901 919 916 กาซธรรมชาติ 358 352 359 ถานหิน/ลิกไนต 599 563 518 พลังงานทดแทน 40 31 30 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา 2.4 2.9 2.2 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 4.0 4.5 0.6 น้ำมัน -1.9 0.3 0.8 กาซธรรมชาติ 1.6 10.1 -2.0 ถานหิน/ลิกไนต 6.4 8.6 2.1 พลังงานทดแทน 28.2 4.3 -3.1 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา หมายเหตุ *H1 ขอมูล ม.ค.-มิ.ย. (ประมาณการขอมูลเดือนมิถุนายน (เบื้องตน)) H2 ขอมูล ก.ค.-ธ.ค. f ขอมูลประมาณการ

แนวโนมการใชนำ้ มันสำเร็จรูป ป 2560 หนวย: ลานลิตร/วัน

การใชน้ำมันสำเร็จรูป เบนซินและแกสโซฮอล ดีเซล เครื่องบิน* น้ำมันเตา LPG** อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) เบนซินและแกสโซฮอล ดีเซล เครื่องบิน* น้ำมันเตา LPG**

2557

2558

2559

26.5 23.3 57.8 15.1 5.7 24.6 0.6 3.8 0.8 -0.9 -3.8 -0.9

131.9 26.4 60.1 16.6 5.6 23.2 4.3 13.2 4.1 9.4 -1.5 -5.5

136.7 29.0 61.9 17.7 6.2 21.9 3.7 9.8 3.0 6.9 10.2 -5.7

H1 141.1 29.9 65.6 18.6 6.0 21.5 1.9 4.5 2.4 4.6 -9.4 -1.6

2560f H2 ทั้งปี 137.4 139.4 30.6 30.2 61.2 63.4 18.5 18.5 5.8 5.6 21.5 21.5 2.0 2.0 4.3 4.2 2.3 2.2 4.6 4.7 -5.0 -7.3 -1.7 -1.6

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

51


LPG โพรเพน และบิวเทน ป 2560 คาดวาจะมีการใชเพิ�มขึ้นรอยละ 2.1 โดยการใชในรถยนต คาดวาจะลดลงรอยละ 8.8 เน��องจากมีการปรับโครงสรางราคา LPG ใหสะทอนตนทุนที่แทจริง ทำให ราคา LPG ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่ราคาน้ำมันอยูในระดับไมสูงมาก ทำใหผูใช LPG บางสวนหันไปใช น้ำมันแทน สวนการใชในอุตสาหกรรมปโตรเคมี คาดวาจะมีการใชเพิม� ขึน้ รอยละ 11.6 เน�อ� งจากราคา น้ำมันยังอยูในระดับต่ำ ในขณะทีภ่ าคครัวเรือนคาดวาการใชเพิม� ขึน้ รอยละ 2.5 และภาคอุตสาหกรรม คาดวาจะมีการใชเพิ�มขึ้นรอยละ 3.7 ตามแนวโนมการขยายตัวของเศรษฐกิจ

แนวโนมการใช LPG โพรเพนและบิวเทน ป 2560

การใช LPG รวม ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต ปโตรเคมี ใชเอง อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต ปโตรเคมี ใชเอง หมายเหตุ

2557

2558

2559

7,515 2,188 577 1,974 2,675 102 -0.1 -9.2 -4.2 11.2 1.3 3.4

6,695 2,094 594 1,731 2,124 153 -10.9 -4.3 3.0 -12.3 -20.6 50.6

6,134 2,110 610 1,466 1,810 137 -8.4 0.8 2.8 -15.3 -14.8 -10.5

H1 ขอมูล ม.ค.-มิ.ย. H2 ขอมูล ก.ค.-ธ.ค.

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

2560f H2 3,202 1,109 319 662 1,061 51 2.6 3.0 3.0 -7.8 12.3 -30.3

ทั้งป 6,262 2,163 633 1,337 2,020 109 2.1 2.5 3.7 -8.8 11.6 -20.3

f ขอมูลประมาณการ

กาซธรรมชาติ ป 2560 คาดวาการใชจะลดลงจากป 2559 เล็กนอยรอยละ 0.6 จากการใชที่ลดลงในภาคขนสงเน��องจากผูใช NGV บางสวนเปลีย่ นกลับไปใชนำ้ มันเปนเชือ้ เพลิง ในขณะทีภ่ าค การผลิตไฟฟาลดลงเน��องจากไดมีการปรับโรงไฟฟาบางปะกง หนวยที่ 3 ของ กฟผ. ไปเปนโรงไฟฟาประเภทสำรองฉุกเฉิน ไฟฟา ป 2560 คาดวาจะมีการใชไฟฟาอยูที่ 186,187 ลานหนวย เพิ�มขึ้นรอยละ 1.8 เมื่อเทียบกับป 2559 ตามการ ขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจที่คาดวาจะปรับตัวดีขึ้น ความตองการ พลังไฟฟาสูงสุด (Peak) ในระบบของ 3 การไฟฟา ป 2560 เกิดขึน้ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2560 ซึ�งอยูที่ระดับ 30,303.4 เมกะวัตต ลดลงรอยละ 2.2 เมื่อเทียบกับป 2559 ซึ�งอยูที่ระดับ 30,972.7 หรือลดลง 669.3 เมกะวัตต (Peak ในระบบ กฟผ. ป 2560 อยูที่ 28,578.4 เมกะวัตต ลดลงรอยละ 3.5 เมื่อเทียบกับป 2559)

52

H1 3,061 1,054 314 675 959 58 1.6 1.9 4.5 -9.8 10.9 -8.8

หนวย : พันตัน

ป

กิกะวัตตชั�วโมง

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560f

148,855 161,779 164,341 168,685 174,833 182,847 186,187

หมายเหตุ

การเปลี่ยนแปลง กิกะวัตตชั�วโมง รอยละ (%) -0.3 -446 8.7 12,924 1.6 2,562 2.6 4,344 3.6 6,148 4.6 8,014 1.8 2,361

f ขอมูลประมาณการ


“คิดกอนใช” โทรทัศน ไมปดโทรทัศนดวยรีโมทคอนโทรล ปดที่ตัวเครื่องและถอดปลั๊กเมื่อเลิกใชงาน ตั้งโทรทัศนหางจากผนังอยางนอย 10 ซม. และอยูในที่ที่อากาศถายเทสะดวก

พัดลม หมั�นทำความสะอาดเปนประจำ เลือกใชขนาดที่เหมาะสม

กระติกน้ำรอน ใสนำ้ เฉพาะปริมาณทีต่ อ งการใช ถอดปลั๊กเมื่อน้ำเดือดแลวกรอกใสกระติก

ไฟฟาแสงสวาง เลือกใชหลอด LED หมั�นทำความสะอาดหลอดไฟและโคมไฟ

ประหยัดไฟไม ใช เร�่องยาก ตูเย็น

เคร�่องซักผา

ตั้งหางผนังอยางนอย 15 ซม. เลือกขนาดความจุท่ี เหมาะสมและแชเฉพาะ ของทีจ่ ำเปน

ซักครัง้ ละมากๆ ตาม ปริมาณทีเ่ ครือ่ งกำหนดสูงสุด แชผากอนเขาเครื่องชวยให กำจัดกลิ�นสกปรกไดดีขึ้น

คอมพ�วเตอร

เตาร�ด

ปดจอเมื่อไมใชงาน นานกวา 15 นาที เลือกซือ้ เครือ่ งที่มีระบบประหยัด ไฟฟาเทานั้น

เคร�่องปรับอากาศ ทำความสะอาดเครือ่ งปละ 2 ครัง้ ไมนำของรอนเขาหองแอร เปดที่ 25 องศา ปรับอุณหภูมิ ขึ้น 1 องศา ประหยัดไฟ 10%

รีดผาครั้งละมากๆ ไมพรมน้ำจนชุม ตากผาใหเรียบรอย ลดการยับประหยัดเวลา

หมอหุงขาวไฟฟา เลือกขนาดความจุที่ เหมาะสม ไมเปดฝาหมอหุงขาว ขณะที่ขาวยังไมสุก


แบบสอบถามความคิดเห็น “วารสารนโยบายพลังงาน”

ฉบับที่ 120 มิถุนายน - กรกฎาคม 2560 www.eppo.go.th คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน มีความประสงค จะสำรวจ ความคิดเห็นของท านผู อ าน เพ�่อนำข อมูลมาใช ประกอบการปรับปรุง วารสารนโยบายพลังงานให ดียิ�งข�้น ผู ร วมแสดงความคิดเห็น 10 ท านแรกจะได รับของที่ระลึกจากคณะทำงานฯ เพ�ยงแค ท านตอบ

แบบสอบถามและเข�ยนชื่อ-ที่อยู ตัวบรรจงให ชัดเจน ส งไปที่ คณะทำงาน วารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุร� แขวงทุ งพญาไท เขตราชเทว� กทม. 10400 หร�อโทรสาร 0 2612 1358

หากทานใดตองการสมัครสมาชิกวารสารฯ รูปแบบไฟล pdf สมัครไดที่ e-mail : eppojournal@gmail.com ชื่อ-นามสกุล…………………………………………………………….หนวยงาน……………………………………………………. อาชีพ/ตำแหนง……………………………………………………………………….. โทรศัพท……………………………………… ที่อยู…………………………………………………………………………………………………………อีเมล………………………

กรุณาทำเคร�่องหมาย ลงในช อง และเติมข อความ ที่สอดคล องกับความต องการของท านลงในช องว าง 1. ทานอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” จากที่ใด ที่ทำงาน/ หนวยงานที่สังกัด ที่บาน หนวยงานราชการ/สถานศึกษา หองสมุด www.eppo.go.th อื่นๆ 2. ทานอาน “วารสารนโยบาลพลังงาน” ในรูปแบบใด แบบรูปเลม ไฟล pdf ทางอีเมล E-Magazine 3. ทานอาน “ วารสารนโยบายพลังงาน” เพราะเหตุผลใด ขอมูลเปนประโยชนตอการทำงาน ขอมูลหาไดยากจากแหลงอื่น ขอมูลอยูในความสนใจ มีคนแนะนำใหอาน อื่นๆ……………………….. 4. ทานใชเวลาอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” กี่นาที 0-10 นาที 11-20 นาที 21-30 นาที 31-40 นาที 41-50 นาที 51-60 นาที มากกวา 60 นาที 5. ความพึงพอใจตอรูปแบบ “วารสารนโยบายพลังงาน” ปก

ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา เน�อ้ หา ความนาสนใจ ตรงความตองการ นำไปใชประโยชนได ความทันสมัย ภาพประกอบ ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา ทำใหเขาใจเน�อ้ เรือ่ งดีขน้ึ ขนาด สำนวนการเขียน ความเขาใจ ขนาดตัวอักษร เล็กไป รูปแบบตัวอักษร อานงาย การใชสี ขัดตา ขนาดรูปเลม เล็กไป

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก เล็กไป งาย พอดี อานยาก สบายตา พอดี

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง พอดี ยาก

นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย ใหญไป ไมเขาใจ ใหญไป ใหญไป

6. ความพึงพอใจภาพรวมของ “วารสารนโยบายพลังงาน” มาก ปานกลาง นอย 7. ระยะเวลาการเผยแพร “วารสารนโยบายพลังงาน” ที่ทานตองการ ราย 1 เดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน

8. ทานเคยอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” บนเว็บไซต ของสำนักงานหรือไม เคย ไมเคย 9. ทานสนใจรับ “วารสารนโยบายพลังงาน” รูปแบบใด แบบเลม (สงไปรษณ�ย) แบบไฟล pdf (สงอีเมล) แบบ E-Magazine (อานทางเว็บไซต) 10. ทานสนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม สนใจ (โปรดกรอกอีเมล………………………………..) ไมสนใจ 11. ทานมีเพื่อนที่สนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม มี (โปรดกรอกอีเมล……………………………………) ไมมี 12. คอลัมนภายใน “วารสารนโยบายพลังงาน” ทีท่ า นชืน่ ชอบ (โปรดทำเครือ่ งหมาย ) ประเด็น

กิจกรรมภาพเปนขาว ความสุขในการทำงานจากวันวานถึงวันน�้ ยานยนตไฟฟา (EV) Astana EXPO 2017 เกาะ Samso การเผยแพรความรูด า นการจัดทำแผน PDP การซื้อขายไฟฟาจากประเทศลาว เปดเสรีธรุ กิจ LPG เต็มรูปแบบ สถานการณพลังงานไทย

มาก ปานกลาง นอย

13. “วารสารนโยบายพลังงาน” มีประโยชนอยางไร ประเด็น

มาก ปานกลาง นอย

ทำใหรูและเขาใจเรื่องพลังงาน ทำใหรูสถานการณพลังงาน นำไปใชในชีวิตประจำวันได ไดความรูรอบตัว อื่นๆ …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………..

14. ทานตองการให “วารสารนโยบายพลังงาน” เพิม� คอลัมนเกีย่ วกับอะไรบาง

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

15. ขอเสนอแนะเพิม� เติม

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

ขอขอบคุณทุกท านที่ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.