ความเป็นครู

Page 1

ความเป็ นครู บทบาท หน้าที่ ภาระงานของครู


บทบาทและหน้ าทีข่ องครู ในสภาพปัจจุบนั ครู นบั ว่าเป็ นผูท้ ี่มีบทบาทสำาคัญในการพัฒนาสังคมและ ประเทศชาติเพราะครู มีหน้าที่ตอ้ งพัฒนาคน พัฒนาความคิด พัฒนาความรู้ และ พัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรมให้แก่เยาวชนของชาติ เพื่อที่พวกเขา จะได้เป็ นคนที่มี คุณภาพของสังคมต่อไป ดังนั้นจึงได้กาำ หนดบทบาทหน้าที่ของครู ไว้ดงั นี้ 1. ครู จะต้องเป็ นนักวิจยั เก็บข้อมูลให้ละเอียดว่าปัญหาสังคมในปัจจุบนั มี อะไรที่ครู จะต้องร่ วมมือแก้ไข 2. ครู ตอ้ งเป็ นนักวิเคราะห์ เมื่อหาข้อมูลมาพร้อมก็นาำ ปัญหาเหล่านั้นมา วิเคราะห์ตน้ ตอของปัญหาให้ละเอียด 3. ครู ตอ้ งเป็ นนักวิจารณ์ท้ งั ปัญหาของตนเอง ของนักเรี ยนและสังคมด้วย วิธีจิตวิทยาเพื่อความกระจ่างของปัญหา ครู จะต้องเป็ นคนกล้าที่จะแสดงว่า ครู เข้าใจ ปัญหาและพร้อมที่จะแก้ปัญหา 4. ครู จะต้องมีความสามารถนำาคุณค่าของบทเรี ยนมาเป็ นตัวเชื่อมโยงผสม ผสานให้เกิดการแก้ไขปัญหาในสังคมอย่างมีประสิ ทธิภาพ สรุปได้ ว่า ครู จะต้องทำาทุกวิถีทาง เพื่อที่จะทำาให้นกั เรี ยนเกิดการพัฒนาทุก ด้าน มีความก้าวหน้า ทั้งทางด้านความรู้ สติปัญญา และคุณธรรม ประพฤติตนเป็ น คนดีของสังคม แต่สิ่งที่หวังจะเป็ นจริ งได้ ครู จะต้องพัฒนาตนเอง ให้เป็ นผูม้ ีความรู้ ความสามารถด้านการสอน เป็ นผูม้ ีคุณธรรม จริ ยธรรม ประพฤติตนดี เป็ นที่น่า เคารพนับถือ รวมทั้งเป็ นแบบอย่างที่ดี แก่เยาวชนและสังคมเสี ยก่อน จึงจะได้ชื่อว่า เป็ นครู ได้เหมาะสมกับบทบาทและหน้าที่


ภาระงานของครู /อาจารย์ หมายถึง งานในหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่มีปริ มาณ ำ ่สถาบันยอมรับ เพื่อแสดงความผูกพันใน และคุณภาพอย่างน้อยเท่ากับเกณฑ์ข้นั ต่าที หน้าที่และความรับผิดชอบที่สามารถตรวจสอบได้ ซึ่งจะอำานวยให้ผสู้ อนสามารถ จัดสรรโอกาส เพื่อพัฒนาตนเอง และ พัฒนางานในหน้าที่ให้เกิดผลดี กรอบภาระงาน ของครู /อาจารย์ แบ่งออกเป็ น 7 ประเภท คือ 1. งานการผลิตบัณฑิต / ผูเ้ รี ยน 2. งานวิจยั และสร้างสรรค์วิชาการ 3. งานบริ การทางวิชาการ 4. งานทำานุบาำ รุ งศิลปวัฒนธรรม 5. งานกิจการของผูเ้ รี ยน 6. งานบริ หารและบริ การ 7. งานเฉพาะกิจ (งานที่สถาบันมอบหมายให้ปฏิบตั ิ )

การพัฒนาวิชาชีพของครู ความหมาย เนื่องจากครู ตอ้ งใช้ประสบการณ์และความรู้ทางวิชาชีพของตนในการสร้างสรรค์ และดำาเนินกิจกรรมการเรี ยนการสอน เพื่อนำาผูเ้ รี ยนบรรลุจุดประสงค์การเรี ยนรู้ตาม หลักสูตรที่กาำ หนดอย่างมีประสิ ทธิผล และเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงของบริ บท


ทางการศึกษาอย่างรวดเร็วเช่นนี้ ภาระงานของครู จึงมีความซับซ้อนยิง่ ขึ้น ครู จาำ เป็ น ต้องได้รับการพัฒนาให้สามารถปฏิบตั ิหน้าที่อย่างไม่บกพร่ อง ซึ่งประเด็นนี้เป็ นที่ ยอมรับของทั้งตัวครู เอง หน่วยงาน และผูเ้ กี่ยวข้องตลอดมา ปัญหามีเพียงว่าจะ พัฒนาอะไรของครู พัฒนาเมื่อใดและพัฒนา อย่างไร

แนวคิดในการพัฒนา สภาพการณ์ของการพัฒนาวิชาชีพครู น้ นั Lieberman & Miller (1992) สรุ ป ว่านับแต่ช่วงปี 1970 เป็ นต้นมา นักการศึกษาได้พบความเกี่ยวข้องระหว่างการพัฒนา ครู การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการทำางาน และการพัฒนาโรงเรี ยนจนเปรี ยบเทียบว่า การพัฒนาครู คือการสร้างวัฒนธรรมทางวิชาชีพ (Staff development as professional culture building) แนวคิดและรู ปแบบการพัฒนาวิชาชีพครู เริ่ มเปลี่ยนโดยผลของงาน วิจยั ต่างๆ จากช่วงปี 1970-1980 สรุ ปได้วา่ 1) โรงเรี ยนคือสถานที่ซ่ ึงครู คือนักวิชาชีพ ผูซ้ ่ ึงมีบทบาทสูงในฐานะผูน้ าำ ทางวิชาชีพ นักเรี ยนจะต้องได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถทันความเปลี่ยนแปลง 2) โรงเรี ยนคือผูน้ าำ ในการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ความเปลี่ยนแปลง ใด ๆ ทางการศึกษา เริ่ มเกิดขึ้นในโรงเรี ยน 3) การพัฒนาวิชาชีพ เป็ นกระบวนการที่ต่อเนื่องและเป็ นส่ วนหนึ่งของ งานสอน และการวิจยั ในชั้นเรี ยนของครู เป็ นแนวทางใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพไม่ใช่ จำากัดอยูเ่ พียงการไปร่ วมโครงการหรื อการศึกษาจากชุดฝึ ก (Package) 4) สถานที่ที่ครู จะพัฒนาวิชาชีพครู ได้ดีที่สุดคือโรงเรี ยน 5) การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิ ทธิผลคือ “การทำางานตามปกติ”


ผลกระทบของการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาใด ๆ ก็ตาม จะกระทบต่อครู เป็ นคนแรก เพราะครู จะถูกขอให้เปลี่ยนความคิด ความเชื่อ ความเคยชินของตนว่าสิ่ งที่ทาำ อยูไ่ ม่ถูกต้อง ไม่ เหมาะสม จะต้องคิดและทำาแบบใหม่ เพื่อให้ผลการคิดและทำาแบบใหม่ของครู สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของประเทศชาติและสังคม ซึ่งทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ การเมือง พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ ครู จะตก เป็ นจำาเลยของสังคมในฐานะที่ "ขาดความรู้ ขาดทักษะ ขาดสมรรถภาพและขาด คุณลักษณะที่ดี" ทุกครั้งไป (Sikes, 1993) ดังนั้นครู จึงมีสถานภาพที่เป็ นทั้งเป้ าหมาย ของการเปลี่ยนแปลง (subject) และเป็ นทั้งผูน้ าำ การเปลี่ยนแปลง (change agent) ใน คราวเดียวกัน ซึ่งผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการศึกษาต้องให้ความสำาคัญต่อผลที่จะเกิด ขึ้นเมื่อครู ตอ้ งพัฒนาตนเองด้วย การพัฒนาการศึกษาใด ๆ จะเกิดขึ้นใน 2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือ การ เปลี่ยนแปลงอันเกิดจากการกำาหนดมาจากภายนอก ลักษณะที่สองคือ การเปลี่ยนแปลง อันจะเกิดจากความตระหนักในการพัฒนาหรื อแก้ปัญหาของครู ดว้ ยตนเองภายใน โรงเรี ยน การพัฒนาทั้ง 2 ลักษณะจะมีผลต่อครู และต่อการดำาเนินงานของโรงเรี ยน แตกต่างกัน ในกรณี ของลักษณะแรก ความเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากการกำาหนดจาก ภายนอก เช่น การให้ครู ใช้นวัตกรรมใหม่น้ นั ส่ วนใหญ่ลม้ เหลวหรื อใช้เวลามากเกิน ความคาดหมาย เพราะส่ วนใหญ่จะใช้วิธีการเชิงเหตุผลระดับสูงยิง่ (Hyper-rational approach) ซึ่งไม่ให้ความสนใจคุณลักษณะพื้นฐานของครู วา่ ครู คือคน (people) และ โรงเรี ยนคือสถาบันสังคม (social constitution) (Wise อ้างถึงใน Sikes, 1993)


ในการพัฒนาการศึกษานั้นจะต้องควบคู่กบั การพัฒนาวิชาชีพของครู ดว้ ยเสมอ เพราะเป็ นการเปลี่ยนสภาพการทำางาน วิธีการทำางาน ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ ความเชื่อ ความเข้าใจและคุณภาพของการทำางานของครู ซึ่งจะกระทบไปถึงชีวิตส่ วน ตัว ครอบครัว สังคม ฯลฯ ของครู ดว้ ยเช่นกัน Fullan (อ้างถึงใน Sikes, 1993) กล่าวว่า ความล้มเหลวของการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาเนื่องจากลืมคิดว่า "การเปลี่ยนแปลง ครู คือ การเปลี่ยนแปลงชีวิตของคน" ดังนั้น Sikes จึงเสนอแนะว่า การพัฒนาครู ตอ้ ง มองให้เข้าใจสิ่ งต่อไปนี้ 1) ครู คือบุคคล (Teacher as person) ครู คือ คนที่มีอาชีพเป็ นครู แต่ละคนจะมีประสบการณ์ชีวิตที่แตกต่างกัน ประสบการณ์ชีวิตนี้ เองที่มีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ และคุณลักษณะอื่น ๆ ของ แต่ละคนซึ่งจะถูกนำาเข้ามาผสมผสานกับการอบรมในสถาบันฝึ กหัดครู ซึ่งจะมองเห็น ว่าการจัดการศึกษาให้แก่ครู แต่ละยุคสมัยก็จะแตกต่างกันอีกด้วย ดังนั้นความเป็ นครู จึง มี "ยุคสมัย" เข้ามาเกี่ยวข้อง Sikes (1993) กล่าวว่าผลการวิจยั สะท้อนว่าครู ที่มีอายุใกล้ เคียงกันจะมีประสบการณ์ การรับรู้ เจตคติ ความพึงพอใจ ความขับข้องใจ ความ ตระหนัก แรงจูงใจ ฯลฯ คล้ายคลึงกัน แม้วา่ จะมีความแตกต่างกันบ้างตามลักษณะของ โรงเรี ยน ที่ต้งั ของโรงเรี ยน วิชาที่สอน ระบบบริ หารโรงเรี ยนสิ่ งเหล่านี้จะมีผลกระ ทบต่อความเปลี่ยนแปลงที่มาจากภายนอกทั้งทางบวกและทางลบ ตัวอย่างเช่น ครู จะ ตัดสิ นใจไม่ยอมรับนวัตกรรมโดยไม่มีเหตุผลหรื อมีเหตุผลเพียงเพราะว่าเพื่อนคนอื่น ไม่ยอมรับ หรื อครู จะรู้สึกยอมแพ้ต่อนวัตกรรมและรู้สึกว่าตนเอง "ตกยุค" ถดถอยไป เลยก็เป็ นไปได้ท้ งั สิ้ น


2) จุดหมายและเป้ าหมายของครู (Teachers' aims and purposes) เป็ นความเข้าใจที่ชดั เจนมานานแล้วว่า จุดหมาย และเป้ าหมายของคนมีอิทธิพล ต่อการรับรู้และพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานของคน ครู คนที่ต้งั เป้ าหมายให้นกั เรี ยนผ่าน การสอบกับครู ที่มองว่าตนเองคือท่อความรู้ กับครู ที่มองว่าตนเองคือผูส้ อนให้นกั เรี ยน อยูใ่ นสังคมและครู ที่มองว่าการสอนเป็ นอาชีพหนึ่ง จะมีพฤติกรรมการทำางานที่แตก ต่างกันไปด้วย ซึ่งแม้วา่ จะหาจุดลงตัวได้ยากแต่ "ครู จะทำางานตามแบบที่ตนเองคิด เป็ นครู อย่างที่ตนเองต้องการเป็ น" (Sikes, 1993) โดยไม่สนใจว่าค่านิยมของตนจะถูก หรื อผิด เมื่อได้รับการพัฒนา หมายความว่า ครู จะไม่สามารถเป็ นอย่างที่เคยเป็ น ทำาอย่างที่ เคยทำาได้ สิ่ งที่เกิดขึ้นอาจเกิดทั้งด้านบวกหรื อลบเช่นกัน เช่นครู อาจจะรู้สึกว่าทักษะที่ มีอยูไ่ ม่เพียงพอที่จะไปถึงเป้ าหมายเสี ยแล้ว หรื ออาจจะรู้สึกว่าตนเองมีทกั ษะมากเกิน พอก็อาจจะปรับเปลี่ยนเป้ าหมายของตน 3) บริ บทของงานและเงื่อนไข (Work context and condition) ครู ส่วนใหญ่คิดว่าบริ บทของงานและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ตนเองกำาลังเผชิญหน้าอยู่ ไม่ดีพอ เกือบทุกคนจะกล่าวเหมือนกันว่าถ้าสิ่ งต่าง ๆ พร้อมมากกว่านี้ จะทำางานได้ดี กว่านี้ ซึ่ง OECD (อ้างถึงใน Sikes, 1993) ก็มีความเห็นคล้อยตามครู วา่ แม้วา่ ครู คือ ปัจจัยหลักของคุณภาพการศึกษา แต่สิ่งที่ครู ทาำ นั้นก็มีขอ้ จำากัดโดย หลักสูตร การจัด องค์กรและบริ บททางสังคมที่อยูแ่ วดล้อมครู ดังนั้นผูเ้ กี่ยวข้องต้องทำาความเข้าใจการ ทำางานของครู โดยไม่ลืมว่ามันขึ้นอยูก่ บั ความมัน่ คงยัง่ ยืนของขวัญกำาลังใจ แรงจูงใจ และโอกาสที่จะได้ทาำ สิ่ งที่ตอ้ งการของครู


ความพึงพอใจของครู ที่มีต่อบริ บทของงานและเงื่อนไขดังกล่าวมีผลทั้งทางบวก และลบ กล่าวคือ อาจช่วยให้ครู ทาำ งานได้มากขึ้น คุณภาพดีข้ ึน หรื ออาจทำาให้เฉยเมย ต่อการพัฒนาไปเลย 4) วัฒนธรรมการทำางาน (Work culture) ในสถานศึกษาแต่ละแห่ง มีการพัฒนาวัฒนธรรมของครู อนั เป็ นผลมาจาก ความ เชื่อ ค่านิยม คุณลักษณะของบุคลากร นักเรี ยนและชุมชน ซึ่งผสมผสานกับ กฎ ระเบียบและบรรทัดฐาน จนเกิดเป็ นที่มาของคำาว่า "ที่นี่เราทำาอย่างนี้ " ซึ่งแต่ละสถาน ศึกษาจะแตกต่างกันออกไป แต่ผเู้ กี่ยวข้องจะละเลยไม่ได้

คุณลักษณะของครู ทดี่ ี 1. ความมีระเบียบวินยั ความประพฤติ ทั้งทางกายและวาจาและใจ 2. ความซื่อสัตย์สุจริ ต การประพฤติที่ไม่ทาำ ให้ผอู้ ื่นเดือดร้อน 3. ความขยัน ประหยัด และยึดมัน่ ในสัมมาอาชีพ ความประพฤติที่ไม่ทาำ ให้เสี ยเวลา ชีวิตและปฏิบตั ิกิจอันควรกระทำาให้เกิดประโยชน์แก่ตนและสังคม 4. ความสำานึกในหน้าที่และการงาน ความประพฤติที่ไม่เอาเปรี ยบสังคม 5. ความเป็ นผูม้ ีความคิดริ เริ่ ม วิจารณ์และตัดสิ นอย่างมีเหตุผล ความประพฤติใน ลักษณะสร้างสรรค์และปรับปรุ งมีเหตุมีผลในการทำาหน้าที่การงาน 6. ความกระตือรื อร้นในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีความรักและเทิดทูน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ ความประพฤติที่สนับสนุนและให้ความร่ วมมือไม่ไว้ วานหรื อขอความช่วยเหลือจากผูอ้ ื่นโดยไม่จาำ เป็ น


7. ความเป็ นผูม้ ีพลานามัยที่สมบูรณ์ ทั้งทางร่ างกายและจิตใจ ความมัน่ คงและจิตใจ ให้สมบูรณ์ มีอารมณ์แจ่มใสมีธรรมะอยูใ่ นจิตใจอย่างมัน่ คง 8. ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และมีอุดมคติเป็ นที่พ่ งึ ความประพฤติที่แสดงออก ถึงความแบ่งปัน เกื้อกูลผูอ้ ื่น 9. ความภาคภูมิและการรู้จกั ทำานุบาำ รุ ง ศิลปะ วัฒนธรรม และทรัพยากรของชาติ ความประพฤติที่แสดงออกซึ่งศิลปะและวัฒนธรรมแบบไทย ๆ มีความรักและ หวงแหนวัฒนธรรมของตนเองและทรัพยากรของชาติ 10. ความเสี ยสละ และเมตตาอารี กตัญญูกตเวที กล้าหาญ และความสามัคคี

การสร้ างทัศนคติทดี่ ตี ่ อวิชาชีพครู เจตคติต่อวิชาชีพ เจตคติเป็ นความรู้สึกหรื อศรัทธาต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งจนอาจส่ งผลให้เกิดการกระทำา และการแสดงออกเป็ นพฤติกรรมต่าง ๆ ความเข้าใจต่อเจตคติของบุคคลจึงอาจใช้เป็ น ข้อมูลในการทำานายพฤติกรรมที่บุคคลจะแสดงออกและช่วยให้สามารถหาแนวทาง ป้ องกันแก้ไขได้ดว้ ยเจตคติที่ดีต่อิชาชีพ เป็ นความรู้สึกเห็นด้วย ชอบ พอใจต่อการ ปฏิบตั ิหน้าที่ในวิชาชีพของตนเอง เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู อาจครอบคลุมถึงความรู้สึกหรื อมีศรัทธาต่องานการ สอนและ กิจกรรมที่ทาำ เช่นงานและโครงการที่ส่งเสริ มการจัดการเรี ยนการสอนให้ ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ การประเมินเจตคติทาำ ได้จากการผล การปฏิบตั ิจริ ง ผลงานและหลักฐานหรื อร่ องรอยที่รวบรวมไว้ รวมทั้งการประเมิน โดยใช้เครื่ องมือหรื อแบบประเมินวัดเจตคติ


แนวทางปฏิบตั ิ มีความเข้าใจ มีความรู้สึกที่ดีและมีความภูมิใจในวิชาชีพครู วา่ เป็ นอาชีพที่มี เกียรติ และมีความสำาคัญต่อการดำารงอยู่ และความเจริ ญรุ่ งเรื องของประเทศชาติ

การเสริมสร้ างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็ นครู แนวทางปฏิบตั ิ 1. ปฏิบตั ิตนและพัฒนาตนเองให้เป็ นผูย้ ดึ มัน่ อยูใ่ นคุณงามความดี ความถูกต้อง และความชอบธรรม 2. พัฒนาตนให้เป็ นผูม้ ีความรู้ ความสามารถ และความชำานาญในการปฏิบตั ิ งาน มีความคิดที่ทนั สมัย และรู้จกั ปรับตัวให้ทนั กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้ นอยู่ เสมอ

การเป็ นบุคคลแห่ งการเรียนรู้และการเป็ นผู้นำาทางวิชาการ บุคคลแห่งการเรี ยนรู้ บุคคลแห่งการเรี ยนรู้ หมายถึง ผูท้ ี่มีคุณลักษณะนิสยั ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรี ยน มี พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความกระตือรื อร้น สนใจเสาะแสวงหาความรู้อยูเ่ สมอ มุ่ง มัน่ ที่จะเพิ่มประสิ ทธิภาพในการเรี ยนรู้และสามารถนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม การเรี ยนรู้อาจทำาได้หลายวิธี เช่น อ่านหนังสื อหรื อวารสารที่มีประโยชน์ ดูรายการโทรทัศน์หรื อฟังวิทยุที่มีสาระ ค้นคว้าหาความรู้โดยผ่านเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ซักถามข้อมูลจากผูร้ ู้ รวมทั้งสามารถจับใจความสำาคัญเพื่อแยกแยะและ


เลือกสาระข้อมูลที่ได้มาอย่างมีเหตุผล ทักษะพื้นฐานสำาคัญต่อการเป็ นบุคคลแห่งการ เรี ยนรู้ ได้แก่ ( 1 ) ทักษะการฟัง

ทำาให้รับรู้ขอ้ มูลข่าวสารซึ่งมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง

กับการคิดและการพูด ( 2 ) ทักษะการถาม

ทำาให้เกิดกระบวนการคิด การเรี ยนรู้ในเรื่ องนั้น ๆ

จากคำาถามที่ดีทาำ ให้เรี ยนรู้ได้แต่ระดับความจำาไปถึงระดับวิเคราะห์และประเมินค่า ( 3 ) ทักษะการอ่าน

ทำาให้รับรู้ขอ้ มูลข่าวสาร ซึ่งนอกจากจะเป็ นทักษะ

การอ่านข้อความ จะรวมถึงการอ่านสถิติ ข้อมูลเชิงคณิ ตศาสตร์ต่าง ๆ ด้วย ( 4 ) ทักษะการคิด

ทำาให้บุคคลมองการณ์ไกล สามารถควบคุมการกระ

ทำาของตนให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ การคิดอย่างมีเหตุผลและมีวิจารณญาณมีผลต่อ การเรี ยนรู้ การตัดสิ นใจ และการแสดงพฤติกรรม ( 5 ) ทักษะการเขียน

เป็ นความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด

ทัศนคติและความรู้สึกออกมาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรให้ผอู้ ื่นเข้าใจ ซึ่งเป็ นสิ่ งสำาคัญยิง่ ต่อวงการศึกษา เนื่องจากบันทึกเหตุการณ์ ข้อมูล ความจริ ง ใช้เป็ นหลักฐานที่มี ประโยชน์ต่อไป ( 6 ) ทักษะการปฏิบตั ิ

เป็ นการลงมือกระทำาจริ งอย่างมีระบบเพื่อค้นหา

ความจริ งและสามารถสรุ ปผลอย่างมีเหตุผลได้ดว้ ยตนเองเพื่อนำาไปใช้แก้ปัญหาผูน้ าำ ทางวิชาการ


การสร้างวัฒนธรรมขององค์กร ด้วยการพูดนำา ปฏิบตั ินาำ และจัดระบบงาน ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมโดยการให้รางวัลแก่ผทู้ ี่ได้ทาำ งานได้สาำ เร็จแล้ว จนนำาไปสู่ การพัฒนาตนเอง คิดได้เอง ตัดสิ นใจได้เอง พัฒนาได้เองของผูร้ ่ วมงานทุกคน

เกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพครู เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ที่คุรุสภาร่ างไว้ 12 ข้อ คือ 1. ปฏิบตั ิกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู อยูเ่ สมอ 2. ตัดสิ นใจปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำานึงถึงผลที่จะเกิดกับผูเ้ รี ยน 3. มุ่งมัน่ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้เต็มตามศักยภาพ 4. พัฒนาแผนการสอนให้มีสามารถปฏิบตั ิได้เกิดผลจริ ง 5. พัฒนาสื่ อการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิภาพอยูเ่ สมอ 6. จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผเู้ รี ยน 7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนได้อย่างมีระบบ 8. ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผเู้ รี ยน 9. ร่ วมมือกับผูอ้ ื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 10. ร่ วมมือกับผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ในชุมชน 11. แสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา 12. สร้างโอกาสในการพัฒนาผูเ้ รี ยนได้ทุกสถานการณ์


จรรยาบรรณของวิชาชีพครู จรรยาบรรณต่อตนเอง 1. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินยั ในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสยั ทัศน์ ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ การเมืองอยูเ่ สมอ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 2. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริ ต รับผิดชอบต่อ วิชาชีพและเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ จรรยาบรรณต่อผูร้ ับบริ การ 3. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่ งเสริ ม ให้ กำาลังใจแก่ศิษย์ และผูร้ ับบริ การตามบทบาทหน้าที่ โดยเสมอหน้า 4. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่ งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู้ ทักษะ และนิสยั ที่ ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และผูร้ ับบริ การ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วย ความบริ สุทธิ์ใจ 5. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติ ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทาง กาย วาจา และจิตใจ 6. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทำาตนเป็ นปฏิปักษ์ ต่อความเจริ ญทาง กาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผูร้ ับบริ การ


7. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริ การด้วยความจริ งใจและเสมอภาค โดยไม่เรี ยกรับหรื อยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาำ แหน่งหน้าที่โดยมิชอบ จรรยาบรรณต่อผูร้ ่ วมประกอบวิชาชีพ 8. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่าง สร้างสรรค์ โดยยึดมัน่ ในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ จรรยาบรรณต่อสังคม 9. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบตั ิตอน เป็ นผูน้ าำ ในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่ งแวดล้อม รักษาผล ประโยชน์ของส่ วนรวม และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย

กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการศึกษา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พรบ.บริ หารราชการ ศธ. พรบ.ข้าราชครู และบุคลากรทางการศึกษา พรบ.เงินเดือน/วิทยะฐานะ/ประจำาตำาแหน่ง พรบ.สภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พรบ.การศึกษาภาคบังคับ พรฏ.ค่าเช่าบ้านข้าราชการ 47 พรฏ.สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร 48


กฏกระทรวงการประกันคุณภาพภายในฯ กฏกระทรวงการแบ่งส่ วนราชการ รร. ระเบียบ ศธ.การขอบคุณหรื ออนุโมทนา. ระเบียบ ศธ.ยกเลิก ร.เงินบำารุ งการศึกษา. ระเบียบ ศธ.การแก้วนั เดือนปี เกิด นร. ระเบียบ ศธ. ศึกษาต่อ/ฝึ กอบรม ฉ.2 ระเบียบ ศธ.ใบสุ ทธิ /หนังสื อรับรองความรู้ ระเบียบ ศธ.การตั้งชื่อสถานศึกษา ระเบียบ ศธ.การชักธงชาติในสถานศึกษา ระเบียบ ศธ.การลงโทษนักเรี ยน พ.ร.บ.เงินเดือนและเงินประจำาตำาแหน่ง(ฉบับที่ 4) 2547


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.