ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มช. เดือนสิงหาคม 54

Page 1

ข่าวสาร​คณะ​แพทยศาสตร์​​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม่ ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554

สายใย รักผูกพัน

6-7

Re-survey

การตรวจประเมินคุณภาพ การดำ�เนินงาน ครั้งที่ 2

12

ประเพณี

รับน้องขึ้นดอย 54

17-18 ปวดศีรษะ

ขณะออกกำ�ลังกาย ใครว่าไม่สำ�คัญ

2 ธารนํ้าใจมอบให้สวนดอก 3 อาเศียรวาท 12 สิงหา มหาราชินี 4-5 ข่าวน่ารู้จากที่ประชุมคณะ 8 HACC: CMU จัดประชุมวิชาการระดับภูมิภาค 9 เติมหัวใจ ให้การบริการผู้ป่วยระยะสุดท้าย 10-11 ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา 13-14 แอ่วเมืองหละปูน 15 ผลการประกวดภาพถ่าย แม่ลูก…ผูกพัน 16 แกงเลียงกุ้งสด 19-20 กิจกรรมคณะฯ 21-22 เครื่องมือยึดจับกระดูกจากภายนอกชนิดยืดหยุ่น 23 นักศึกษาแพทย์กับการซักประวัติคนไข้


2

ธ า ร น้ ำ� ใ จ ม อ บ ใ ห้ ส ว น ด อ ก 01–บริษัท

เดอะ รอยัล เชียงใหม่ กอล์ฟคลับ จำ�กัด โดยคุณวารินทร์ พูนศิริวงศ์ ประธานกรรมการ มอบ เงิน บริจาคจำ�นวน 340,500 บาท สมทบทุ น “กองทุ น หมอเจ้ า ฟ้ า ” คณะแพทยศาสตร์ มช. โดยมี รศ.นพ.นิเวศน์ นันทจิต คณบดีคณะ แพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2554 ณ ห้องรับรอง สำ�นักงานคณบดีชั้น 8 อาคารราช นครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.

01

02

02–คุณอินทร-คุณบุญทอง

ขันแก้วผาบ พร้อมครอบครัว มอบเงินจำ�นวน 100,000 บาท สมทบทุนมูลนิธโิ รงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. เพื่อศูนย์ความเป็นเลิศ 80 พรรษามหาราชา โดยมี รศ.นพ.นิเวศน์ นันทจิต คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2554 ณ ห้อง รับรองสำ�นักงานคณบดีชั้น 8 อาคารราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.

04–สโมสรนั ก ศึ ก ษา

6 คณะสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ ไ ด้ ร่ ว มกั น จั ด นิ ท รรศการวั น มหิ ด ล ประจำ � ปี 2553 นำ�รายได้บริจาค จำ�นวน 208,242.80 บาท ให้แก่ทุนราชสมาทร ของคณะ แพทยศาสตร์จำ�นวน 188,242.80 บาท, กองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ของคณะทันตแพทยศาสตร์ จำ�นวน 10,000 บาท และกองทุนสงเคราะห์สตั ว์ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริน ทร์ ของคณะสัตว แพทยศาสตร์ จำ�นวน 10,000 บาท โดยมี รศ.นพ.นิเวศน์ นัน ทจิต คณบดีคณะแพทยศาสตร์ และผู้แทนจากคณะทันตแพทยศาสตร์ คณะสัตว แพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2554 ณ ห้องรับรอง สำ�นักงานคณบดีชั้น 8 อาคารราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.

ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

03

03–อาจารย์วารินทร์

บัววิรัตน์เลิศ มอบเงินบริจาคจำ�นวน 100,000 บาท สมทบทุนมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. เพื่อนิธิสงฆ์ อาพาธ โดยมี รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญ ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ รับมอบ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2554 ณ หมู่บ้านสุขิโต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 04


3

อาเศียรวาท ๑๒ สิงหา มหาราชินี ใต้ฟากฟ้า รุ่งเรืองนาม แผ่นดินทอง ไทยสุขศานติ์

ธานินทร์ นานเนาว์ แผ่นดินธรรม ทุกหมู่เหล่า

ถิ่นสยาม เล่าลือขาน สืบตำ�นาน ทุกเช้าเย็น

จอมพลหญิง เหน็ดเหนื่อยกับ ให้อาชีพ ราษฎร์เดือดร้อน

ลือนาม คนไทย การศึกษา เร่งรัด

สามเหล่าทัพ ไม่หยุดหย่อน เอื้ออาทร พัฒนา

เพราะองค์พระ ทุกเขตคาม ทุกเขตแคว้น พระบำ�เพ็ญ

ราชินี มีสุข ใกล้ไกล ประโยชน์เอื้อ

ศรีสยาม พ้นทุกข์เข็ญ คลายลำ�เค็ญ เพื่อคนไทย

เพื่อไทยมี เพื่อให้ชาติ พระองค์จึง เป็นมหา-

เอกลักษณ์ ไทยเรา ทรงทุ่มเท ราชินี

เอกราช นั้นก้าวหน้า ทุกเวลา บุรีรมย์

ภูมิพลัง ชนซาบซึ้ง ชนอบอุ่น มิเลือกวัย

เพราะไทยนี้ เพราะพระองค์ เพราะพระองค์ ชนชั้น

มีที่พึ่ง ทรงฝักใฝ่ ทรงห่วงใย ฐานันดร

เมื่อสิบสอง ขอนอบนบ ขอองค์พระ คู่พระบรม-

สิงหา เบื้องพระบาท เจริญยิ่ง ราชเจ้า

มาบรรจบ องอาจสม มิ่งอุดม นานเท่านาน

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า เหล่าข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะ​ผู้​จัด​ทำ�​​ข่าวสาร​คณะ​แพทยศาสตร์​​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม่​

ท​ ี่​ปรึกษา​:​​คณบดี​คณะ​แพทยศาสตร์​• ผ​ ู้​บริหาร​คณะ​แพทยศาสตร์​​สาย​วิชาการ​และ​ปฏิบัติ​งาน​ บรรณาธิการ​บริหาร​:​รศ​.น​ พ​.ช​ ยั ​รตั น์​​คณ ุ ​วกิ ​ต​กิ ลุ ​​​บรรณาธิการ​:​​รศ​.​ดร​.น​ มิ ติ ร​​มรกต​ กอง​บรรณาธิการ​:​ร​ ศ​.​พญ​.​ยพุ า​​ส​มุ ติ ​สวรรค์​ •​​รศ​.​นพ​.​คม​สุค​ นธ​สรรพ์​​•​​อ.​​นพ​.​ศิวั​ฒม์​​​ภู่​ริ​ยะ​พันธ์​​•​​อ​.​พญ​.​วร​ลักษณ์​​​สัป​จาตุ​ระ​​•​​อ​.​นพ​.ส​ ม​ศักษิ์​​​วงษ์​ไวย​เวช •​​ประธาน​องค์กร​แพทย์​•​​หัวหน้า​ฝ่าย​การ​พยาบาล​​•​​หัวหน้า​ฝ่าย​เภสัชกรรม​​•​​เลขานุการ​สำ�นักงานคณะ​แพทยศาสตร์​ ​•​​หัวหน้า​งาน​บริหาร​ทั่วไป​​•​​หัวหน้า​งาน​บริการ​การ​ศึกษา​​•​​หัวหน้า​งาน​นโยบาย​และ​แผน •​​หัวหน้า​งาน​ประกัน​คุณภาพ​การ​ศึกษา​​•​​หัวหน้า​งาน​บริหาร​งาน​วิจัย​​•​​หัวหน้า​งาน​โภชนาการ ​•​​หัวหน้า​งานเลขานุการ​โรง​พยาบาล​​•​​หัวหน้า​งาน​ประกัน​สังคม​​​ฝ่าย​จัดการ​:​​หัวหน้า​งาน​ประชาสัมพันธ์แ​ ละ​คณะ​ ส่ง​ข้อคิดเ​ห็น​และ​ข้อ​เสนอ​แนะ​ได้ที่​:​​www​.​med​.​cmu​.​ac​.​th​/​pr​/​news หรือ​​E​-​mail​:​​prmedcm​@​hotmail​.co​.t​h

วิสัย​ทัศน์​

ค​ ณะ​แพทยศาสตร์​​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม่​ ​เป็น​สถาบัน​ทางการ​แพทย์ช​ ั้น​นำ�​ระดับ​มาตรฐาน​สากล​

​ พ​ ันธ​กิจ​

​ผลิต​บัณฑิตท​ ี่​มี​คุณภาพ​​คุณธรรม​เป็น​สากล​​ สร้างสรรค์​งาน​วิจัย​​เพื่อ​ชี้นำ�​ด้าน​สุขภาพ​ ​ให้บ​ ริการ​ที่​ได้ม​ าตรฐาน​​ทำ�นุ​บำ�รุงศิลป​​วัฒนธรรม ​และ​​สิ่ง​แวดล้อม ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


4

ส า ร จ า ก ค ณ บ ดี

ลังเข้าพรรษาแล้ว ฝนก็ตกเอาจริง เอาจัง เชียงใหม่เขียวขจีไปทั่ว สร้าง บรรยากาศได้ ดี ที เ ดี ย ว แม้ ฟ้ า ฝน จะเป็นไปอย่างไร งานคณะแพทยศาสตร์ก็ ก้าวเดินไม่หยุด อาคารหลังใหม่เห็นเป็นรูป ร่างชัดขึน้ สร้างความสบายใจว่านักศึกษาจะมี ทีเ่ รียนเหมาะสมกับปัจจุบนั กิจกรรมนักศึกษา ก็เดินไปได้เป็นอย่างดี เดือนที่ผ่านมามีงาน รับน้องขันโตก มีการแสดงของนักศึกษาที่ ประทับใจมาก เรียกว่าผู้ไปร่วมงานทุกคน ชื่นชมกัน ฉบับหน้าคงได้เห็นภาพสวยๆ กัน เดือนสิงหาคมมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องคือ “สัปดาห์วันแม่แห่งชาติ” ถัดไปจะมีประชุม คณะแพทยศาสตร์ส่วนภูมิภาคเกี่ยวกับ Best Practice ที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ถัดจากนั้นก็จะมีงานเฉลิมฉลอง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง Nippon Medical School, Tokyo และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครบ 45 ปี ซึง่ นับว่า NMS เป็นแห่งแรกจากญีป่ นุ่ ทีม่ าสร้างความสัมพันธ์ กับเรา ด้านวิชาการ วิจัย และแลกเปลี่ยน นักศึกษา จนผู้นำ�ทีมอาวุโส คือ Professor Munakata ปัจจุบันก็อายุ 90 ปี แล้ว ก็ยังคง นำ�ทีมมาทุกปี ด้านคุณ ภาพการศึกษาซึ่งเป็นแก่นของ เราก็ดำ�เนินการพัฒนาไปแม้จะเหน็ดเหนื่อย เพียงใดก็ตาม เพิ่งผ่านการประเมินคุณภาพ ภายในไปเดือนที่แล้ว ก็มีประเมินจาก สมศ. ในเดือนนี้ และจาก สกอ. จะกำ�หนดต่อไป ในขณะเดียวกันก็ดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพ ตาม EdPEX ตามแผน ทั้งนี้เพื่อให้ทั้งพวกเรา ชาวสวนดอกและประชาชนมั่นใจในคุณภาพ การศึกษาของคณะแพทยศาสตร์ ช่วงหน้าฝนก็ขอให้ทุกท่านรักษาสุขภาพ…

รศ​.​นพ​.​นิเวศน์​​นันท​จิต​ ค​ ณบดี ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ข่ า ว น่ า รู้ จ า ก ที่ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ฯ

สาระจากการประชุม คณะกรรมการบริหาร ประจำ�คณะ แพทยศาสตร์ ครั้งที่ 8/2554 วันอังคารที่ 16 มิถุนายน 2554 เ รื่ อ ง แ จ้ ง ก า ร ป ร ะ ชุ ม กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2554 • คณะกรรมการตรวจสอบ และประเมิ น ความเสี่ ย งของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รายงาน ผลการตรวจสอบ ประจำ � ปี 2553 มหาวิ ท ยาลั ย และคณะ ต่ า งๆ ควรมี แ ผนการบริ ห าร ความเสี่ ย งอย่ า งน้ อ ย 3 ด้ า น คือ ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ ด้ า นการปฏิ บั ติ ง าน และด้ า น การเงิน • สมศ. พัฒนาตัวบ่ง ชี้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวบ่งชี้ พื้นฐาน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และกลุ่ ม ตั ว บ่ ง ชี้ ม าตรการ ส่ ง เสริ ม ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่คัดเลือกการส่งเสริม และสื บ สานโครงการอั น เนื่ อ ง มาจากพระราชดำ�ริกับพลังงาน และสิ่ ง แวดล้ อ ม • เห็ น ชอบ ระเบียบฯ ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้มี อุปการคุณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และการ สมนาคุณ 2554 • นักศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ไ ด้ รั บ รางวัลทูตความดี จากโครงการ ทู ต ความดี แ ห่ ง ประเทศไทย (D Ambassador) เรื่ อ งแจ้ ง ที่ ป ระชุ ม สภา วิชาการ ครั้งที่ 6/2554 เมื่อ วันที่ 6 มิถุนายน 2554 ผลการ จัดอันดับโดย QS Asian University Ranking 2011 ซึ่งจัดอันดับ มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในภูมิภาค

เอเชีย 100 อันดับแรก สำ�หรับ ประเทศไทย มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นอันดับที่ 34, จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย อั น ดั บ ที่ 47, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อันดับ ที่ 67 (ขึ้นจากเดิม อันดับที่ 79 เมือ่ พ.ศ. 2553 และ อันดับที่ 81 เมื่อ พ.ศ.2552) การมอบทุนการศึกษา ประจำ� ปีการศึกษา 2554 คณะฯ ได้จัด พิ ธี ม อบทุ น การศึ ก ษาประจำ � ปี การศึกษา 2554 แก่บุตรของ พนักงานชัว่ คราวจำ�นวน 511 ราย รวม 659 ทุนๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน 2,306,500 บาท เมื่อวัน พุธที่ 8 มิถุนายน 2554 อาจารย์แพทย์ทเี่ ป็นแบบอย่าง และนักศึกษาแพทย์ที่ประพฤติ ต น ดี เ ด่ น ใ น เ ชิ ง คุ ณ ธ ร ร ม จริยธรรม ศาสตราจารย์ไพฑูรย์ ณรงค์ชัย ได้รับการคัดเลือกเป็น อาจารย์แพทย์ที่เป็นแบบอย่าง และ นางสาวฐิติยา ร่วมพรภาณุ ได้รับการคัดเลือกเป็นนักศึกษา แพทย์ที่ประพฤติตนดีเด่นในเชิง คุณธรรม จริยธรรม โดยได้เข้า รับโล่ของแพทยสภา ประจำ�ปี การศึกษา 2554 ในพิธี ไหว้ครู วั น ที่ 16 มิ ถุ น ายน 2554 เรียบร้อยแล้ว

system disorders ครั้ ง ที่ 1 เดือนสิงหาคม – ตุลาคม 2554 และครั้งที่ 2 เดือนมกราคม – มีนาคม 2555 ณ ศูนย์โรคสมอง ภาคเหนือ ชัน้ 9 อาคารศรีพฒ ั น์, หน่วย Stroke Unit, ศิวาพรศูนย์ สุขภาพ และสถานดูแลผู้สูงอายุ โรคระบบประสาทเสื่อม กลุ่ม เป้ า หมาย ได้ แ ก่ นั ก เรี ย น นักศึกษา ผู้สนใจ ซึ่งสามารถ เข้าร่วมการอบรมโดยไม่เสียค่า ลงทะเบียน นับเป็นครั้งแรกของ ประเทศไทยที่มีการอบรมโดย หลักสูตรที่ได้รบั การรับรอง และ จัดโดยคณะแพทยศาสตร์ ภาพรวมการประเมิ น การ จั ด การเรี ย นการสอนของ นักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 6 และ วันสอบลงกอง • นศพ. ปี 6 ปี การศึกษา 2553 ได้ให้ความเห็น เกี่ยวกับการปฏิบัติงานและการ เรียนการสอนของภาควิชาต่างๆ ในวันปัจฉิมนิเทศ เมื่อวันที่ 2021 กุมภาพันธ์ 2554 เช่น Log book ซึ่งน่าจะดูว่ามีประโยชน์ หรื อได้ นำ � มาใช้ ป ระโยชน์ จ ริ ง หรือไม่, เรื่องการส่งใบปรึกษา ข้ามภาควิชาเป็นภาระที่ ใช้เวลา โดยไม่ได้รับความรู้ และแต่ละ ภาควิชาแตกต่างกัน ทั้งวิธีการ และสถานที่ • ในวันสอบลงกอง วั น ที่ 19 กุ ม ภาพั น ธ์ 2554 นักศึกษาแพทย์ได้ให้ความเห็น ในส่วนของโรงพยาบาลสมทบ ได้ แ ก่ โรงพยาบาลลำ � ปาง โรงพยาบาลน่าน โรงพยาบาล แม่สอด โรงพยาบาลนครพิงค์ และโรงพยาบาลลำ�พูน ส่วนใหญ่ อยู่ในเกณฑ์ดี แต่กม็ บี างประเด็น ทีน่ กั ศึกษาได้ให้ความเห็น เพือ่ ให้ พิจารณาปรับปรุง

โครงการอบรมผู้ ดู แ ลผู้ สู ง อายุ ที่ บ้ า น (Care Giver’s) เนื่ อ งในวโรกาสเฉลิ ม ฉลอง ในปีมหามงคล ครบรอบ 120 ปี สมเด็ จ พระมหิ ต ลาธิ เ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระชนมายุครบ 84 พรรษา ศูนย์โรคสมองภาคเหนือ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จั ด การอบรม The สรุ ป แบบสอบถามการจั ด care giver training program ปั จ ฉิ ม นิ เ ทศนั ก ศึ ก ษาแพทย์ for the elderly with chronic ชั้ น ปี ที่ 6 ปี ก ารศึ ก ษา 2553 degenerative nervous จัด ณ กัซซันมารีนา่ จังหวัดลำ�พูน


5 ​ ​ข่ า ว น่ า รู้ จ า ก ที่ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ฯ

ระหว่างวันที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2554 มีการบรรยายในเรื่องสำ�คัญต่ างๆ โดยแพทยสมาคม เช่น เรื่อง “ก้าวสู่ วิชาชีพแพทย์” โดย ศ.พญ.สมศรี เผ่า สวัสดิ์ และ รศ.นพ.ประเสริฐ ศัลย วิวรรธน์ “เป็นแพทย์ ไม่รู้กฎหมาย จะเสี ย หายโดยไม่ รู้ ตั ว ” โดย น พ . เ อื้ อ ช า ติ ก า ญ จ น พิ ทั ก ษ์ การประเมิ น ความพึ ง พอใจอยู่ ใ น ระดับมาก ส่วนพิธีขอกราบลาสุมา อาจ๋าน จัดที่คณะแพทยศาสตร์ การ ประเมินความพึงพอใจอยู่ ในระดับ มากที่สุด

แรกก่อนที่จะดำ�เนินการตามขั้นตอน ด้วยการสอบ และวินัยของนักศึกษา ต่อไป ตามเสนอ โดยให้รวมถึงการสอบ ทุกครั้งที่มีการเก็บคะแนน ซึ่งมีผล th การประชุม 11 Annual SEAAIR ต่ อ การเรี ย นของนั ก ศึ ก ษา แต่ ข อ conference มช. จะเป็นเจ้าภาพ ปรับข้อความใบปะหน้าปกข้อสอบ จัดการประชุม South East Asian ในข้อตกลงข้อที่ 10 “ไม่อนุญาตให้ Association for Institutional นักศึกษาออกจากห้องสอบระหว่าง Research (SEAAIR) ครั้ ง ที่ 11 การสอบทุกกรณี” โดยขอตัดคำ�ว่า ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส ระหว่างวัน “ทุกกรณี” ออก เนื่องจากในทาง ที่ 2-4 พฤศจิกายน 2554 ซึ่งจะ ปฏิบัติจะมีนักศึกษาขออนุญาตออก เป็ น การประชุ ม เกี่ ย วกั บ ความรั บ จากห้องสอบเนื่องจากมีเหตุจำ�เป็น ผิดชอบต่อสังคมของมหาวิทยาลัย รวมถึงกรณีนักศึกษาเข้าห้องสอบ เชียงใหม่ เป็นลักษณะของโครงการ สายเกิน 15 นาที ให้นักศึกษากรอก ต่ า งๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ทำ � เพื่ อ แบบฟอร์มใบยินยอมรับสภาพก่อน สถานภาพหลั ก สู ต รตามกรอบ สังคม ผู้สนใจสามารถส่งบทคัดย่อ เข้าห้องสอบ เพื่อแจ้งเหตุผลในการ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดั บ อุ ด มศึก ษา ไปที่ https://www.easychair.org/ เข้าห้องสอบสาย และรับทราบผลที่ แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ conferences/?conf=seaair2011 จะเกิดขึ้น แจ้งว่าจากการติดตามความก้าวหน้า ในการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร ณ วั น ที่ สรุปจำ�นวนนักศึกษา และการเรียน การกำ�หนดอัตราค่าธรรมเนียมการ 26 พฤษภาคม 2554 ปรากฏว่ามี การสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร ขอใบรับรองแพทย์ยอ้ นหลัง ทีป่ ระชุม หลั ก สู ต รของคณะแพทยศาสตร์ บั ณ ฑิ ต ชั้ น สู ง ปี ก ารศึ ก ษา 2554 มี ม ติ เ ห็ น ชอบการกำ � หนดอั ต ราค่ า จำ�นวน 17 หลักสูตร ทีย่ งั ไม่ได้ด�ำ เนิน จำ � นวนนั ก ศึ ก ษาตั้ ง แต่ ปี 1-3 มี ธรรมเนียมการขอใบรับรองแพทย์ การปรับปรุงให้สอดคล้องกับกรอบ จำ � นวนรวมทั้ ง สิ้ น 177 คน ทั้ ง นี้ ย้อนหลัง เพื่อประกอบการเรียกร้อง TQF เนื่ อ งจากอยู่ ใ นระหว่ า งการ หลักสูตรปรับปรุง ประกาศนียบัตร ค่าสินไหมทดแทน ผู้ป่วยนอกรายละ ดำ�เนินการแก้ไขในรายละเอียดต่างๆ บัณฑิตชัน้ สูง จะเปิดใช้ในปีการศึกษา 200 บาท ผู้ป่วยในรายละ 300 บาท ระหว่างคณะฯ กับบัณฑิตวิทยาลัย 2555 เป็นต้นไป การที่แพทย์ ไปเป็นผู้โฆษณาให้ การหารื อ เรื่ อ งวุ ฒิ บั ต รจาก การปรั บ เงิ น เดื อ นข้ า ราชการ โรงพยาบาลเอกชน ประธาน ขอให้ แพทยสภา สำ�นักงานมหาวิทยาลัย สกอ. แจ้งเรื่องการปรับขึ้นเงินเดือน หั ว หน้ า ภาควิ ช าแจ้ ง และกำ � ชั บ ได้ ต อบว่ า วุ ฒิ บั ต รแสดงความรู้ ข้าราชการเข้าสู่บัญชีเงินเดือนขึ้นตํ่า ให้ แ พทย์ ใ นสั ง กั ด ที่ ล งโฆษณาให้ ความชำ�นาญในการประกอบวิชาชีพ ขั้นสูงกฎ ก.พ.อ. วันที่ 1 เมษายน โรงพยาบาลเอกชน รวมถึงการนำ�ชือ่ เวชกรรม จากแพทยสภา เทียบเท่า 2554 ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขึ้นเป็นแพทย์ประจำ�ในโรงพยาบาล ปริญญาเอก ตามวุฒิที่ ก.พ. และ จะเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ณ 1 เอกชน เป็นสิ่งที่มิควรปฏิบัติ และ ก.ม. รับรองไว้แล้ว ตามประกาศ เมษายน 2554 ก่อน เมื่อเรียบร้อย ให้รีบแก้ไข คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา แล้ ว จะดำ � เนิ น การปรั บ เงิ น เดื อ น เรื่องแนวทางการปฏิบัติตามกรอบ ข้าราชการร้อยละ 5 ต่อไป ส่วน พนักงานมหาวิทยาลัยลาศึกษาต่อ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดั บ อุ ด มศึก ษา พนักงานมหาวิทยาลัยกำ�ลังทำ�เรื่อง ดู ง าน และขยายเวลาฝึ ก อบรม แห่งชาติ พ.ศ. 2554 อัตราเงินเดือน เสนอไปยังสำ�นักงานคณะกรรมการ ณ ต่างประเทศ • อ.พญ.ทวิติยา ลำ�ดับที่ 25, 27 การอุดมศึกษา ซึ่งยังไม่ทราบผลการ สุจริตรักษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ พิจารณา ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาโท-เอก แนวทางปฏิบตั ิ กรณีชาวต่างประเทศ สาขาวิ ช าระบาดวิ ท ยา ณ Johns ขอเข้าฝึกอบรม ดูงาน ฝึกปฏิบัติงาน แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล Hopkins Bloomberg School of ณ คณะแพทยศาสตร์ ขอให้ภาควิชา นักศึกษาแพทย์ และแนวปฏิบัติว่า Public Health ประเทศสหรัฐอเมริกา แจ้งให้ผู้ที่ประสงค์ขอเข้าฝึกอบรม ด้วยการสอบและวินัยของนักศึกษา ด้วยทุนอานันทมหิดล มีกำ�หนด 5 ปี ดูงาน หรือฝึกปฏิบัติงานที่คณะฯ ทำ� ที่ ป ระชุ ม มี ม ติ เ ห็ น ชอบ (ร่ า ง) ตั้ ง แต่ วั น ที่ 25 สิ ง หาคม 2554 หนังสือถึงคณบดีคณะแพทยศาสตร์ แนวปฏิ บั ติ ก ารวั ด และประเมิ น ผล • อ.อรวรรณ คันธมาทน์ ภาควิชา และแจ้งรายละเอียดต่างๆ เป็นลำ�ดับ นักศึกษาแพทย์ และแนวปฏิบัติว่า ชีวเคมี ศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

สาขาวิชา Chemical Biology ณ University of Houston ประเทศ สหรัฐอเมริกา ด้วยทุนส่วนตัว และทุน สนับสนุนค่าธรรมเนียมบางส่วนจาก University of Houston มีก�ำ หนด 5 ปี 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2554 • อ.พญ.วรางค์ ทิ พ ย์ คู วุ ฒ ยากร ภาควิ ช ากุ ม ารเวชศาสตร์ ขยาย ระยะเวลาการฝึ ก อบรมหลั ก สู ต ร The Neonatal Intensive Care ณ The Hospital for Sick Children, University of Toronto ประเทศ แคนาดา ด้วยทุนส่วนตัว มีกำ�หนด 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2554 • อ.นพ.ขจรศักดิ์ นพคุณ ภาควิชาอายุรศาสตร์ ขยายระยะ เวลาฝึกอบรมเพื่อไปศึกษาและทำ� วิจยั ทางด้านการปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation) ณ Mayo Clinic, Minnesota ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 14 เมษายน 2554 ถึง 31 พฤษภาคม 2554 • ผศ.นพ.สุรพงษ์ หล่ อ สมฤดี ภาควิ ช าวิ สั ญ ญี วิ ท ยา ศึกษาต่างประเทศ ระดับปริญญาเอก ณ Keio University ประเทศญี่ปุ่น สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ ด้วยทุน JSPS ตามโครงการ Ronpaku (Dissertation Ph.D.) Program มีกำ � หนด 30 วัน ตั้ ง แต่ วั น ที่ 16 ตุ ล าคม 2554 • อ.นพ.ศราวุ ธ คงการค้ า ภาควิ ช าพยาธิ วิ ท ยา ดู ง าน ณ Dep a rt ment of Pathology, Tama-Nagayama Hospital Nippon Medical School ประเทศญี่ ปุ่ น ด้ ว ยทุ น Nippon Medical School มีกำ�หนด 2 เดือน 29 วัน ตั้งแต่วันที่ 5 กันยายน 2554 ความคืบหน้าของหลักสูตร M.D./ Ph.D. การจั ด ทำ � หลั ก สู ต รน่ า จะ สามารถเปิดรับนักศึกษาได้ในภาค การศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2555

ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


6

วิ ช า ก า ร วิ จั ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ์

การตรวจประเมินคุณภาพการดำ�เนินงาน ของคณะกรรมการจริยธรรมวิจยั ในมนุษย์ ครัง้ ที่ 2

(Re-survey) โดย SIDCER/FERCAP/WHO-TDR ปุยนุ่น

ารวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับมนุษ ย์ มีความ สำ�คัญ และมีความ จำ � เป็ น อย่ า งยิ่ ง เพื่ อ พั ฒ นา คุ ณ ภาพชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ทั้ ง ด้ า นการแพทย์ เศรษฐกิ จ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ต้ อ งมั่ น ใจว่ า การทำ � วิ จั ย เป็ น ไปตามหลั ก จริ ย ธรรม สากล รวมทั้งสอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ของประเทศ ซึ่ ง นอกจาก จะเป็ น การคุ้ ม ครองอาสา สมั ค รในโครงการวิ จั ย แล้ ว ยังเป็น ส่วนที่ทำ�ให้การวิจัย เป็น ที่น่าเชื่อถือ การตรวจ ประเมิน คุ ณ ภาพจึง มี ความ สำ � คั ญ ในการสร้ า งความ มั่ น ใจให้ กั บ สาธารณชนว่ า คณะกรรมการจริ ย ธรรม การวิจัยคณะแพทยศาสตร์ มี ร ะ บ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า โครงการวิจัยด้านจริยธรรม ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานสากล เพื่อธำ�รง ไว้ซึ่งปณิธานในการปกป้อง ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ด้านจริยธรรมให้กับสถาบัน และองค์กรในภูมิภาค AsiaPacific การตรวจประเมิน คราวนั้ น มี ขึ้ น ระหว่ า งวั น ที่ 24-26 กรกฎาคม 2551 ซึ่งการตรวจประเมินตลอด 3 วัน เป็นไปอย่างเข้มข้น ทีมผูป้ ระเมินได้แจ้งให้คณะฯ ทราบถึ ง จุ ด แข็ ง พร้ อ มทั้ ง สิทธิ สวัสดิภาพ และความ เป็ น อยู่ ที่ ดี ข องอาสาสมั ค ร ในโครงการวิจัย ย้ อ นไปในอดี ต คณะ กรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ได้พัฒนา ระบบการดำ�เนินงาน และ การพิ จ ารณาโครงการวิ จั ย เรื่อยมา มีการจัดทำ� SOP (Standard of Operating Procedure) และ Guideline ต่างๆ เพื่อเป็นแม่แบบ มาตรฐานในการพิ จ ารณา โครงการวิจัยตามมาตรฐาน สากล เมื่ อ ปี 2551 คณะ กรรมการจริ ย ธรรมฯ มี

ความพร้ อ มที่ จ ะรั บ การ ตรวจประเมินจากหน่วยงาน ประกั น คุ ณ ภาพ ซึ่ ง หน่ ว ย งานที่ เ ลื อ กเพื่ อ ขอรั บ การ ตรวจประเมิน คือ SIDCER/ FERCAP (The Strategic Initiative for Developing Capacity of Ethical Review/Forum for Ethical Review Committee in the Asian and Western Pacific Region) ซึ่งเป็นชมรม จริ ย ธรรมการวิ จั ย ที่ ก่ อ ตั้ ง ขึ้นโดยอิสระ และเป็นหน่วย งานที่ ให้การรับรองคุณภาพ การพิ จ ารณาโครงการวิ จั ย

มี ข้ อ เสนอแนะเล็ ก น้ อ ยใน ประเด็ น ย่ อ ยๆ เพื่ อ นำ � ให้ คณะฯ นำ�ไปพัฒนา ซึ่งคณะ กรรมการจริ ย ธรรมฯ ได้ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอ แนะ จนผ่ า นการตรวจ ประเมินคุณ ภาพและได้รับ Certificate of Recognition ในที่สุด

ปัจจุบนั มีสถาบันในประเทศรวม 10 สถาบันทีผ่ า่ นการตรวจ ประเมินด้วยเช่นกัน ได้แก่ 1. วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า 2. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข 4. สำ�นักงานคณะกรรมการร่วมพิจารณาจริยธรรมการวิจยั ในคนในประเทศไทย 5. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล 6. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 8. คณะกรรมการจริยธรรมวิจัย กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9. คณะกรรมการจริยธรรมวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 10. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล


7 ​ ​วิ ช า ก า ร วิ จั ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ์

อย่ า งไรก็ ต าม การ รั บ รองคุ ณ ภาพนี้ จ ะมี ก าร ประเมิ น ซํ้ า (Re-survey) ทุกๆ 3 ปี เพื่อให้มั่นใจว่า สถาบั น ที่ ไ ด้ ผ่ า นการตรวจ ประเมิ น แล้ ว ยั ง คงรั ก ษา มาตรฐานในการพิ จ ารณา โครงการไว้ได้ และในปี 2554 นี้ ก็ ค รบวาระที่ ก รรมการ จริยธรรมการวิจัยในมนุษ ย์ ของคณะฯ ต้องขอรับการ ตรวจประเมินซาํ้ ซึง่ ได้ด�ำ เนิน การไปแล้วเมื่อวันที่ 27-29 มิถุนายน 2554 หัวหน้าทีม คือ Roli Mathur มาจาก ประเทศอินเดีย ส่วนผู้ตรวจ เยี่ ย มภายในประเทศได้ แ ก่ ศ.พญ.ธาดา สื บ หลิ น วงศ์ ( ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ) และ รศ.พญ.ยุพาพร วัฒนกูล (คณะเวชศาสตร์ เ ขตร้ อ น มหาวิทยาลัยมหิดล) พร้อม

กั บ ผู้ ฝึ ก อบรมอี ก หลายคน การตรวจประเมิ น ครั้ ง นี้ ใช้ เ วลาทั้ ง สิ้ น 3 วั น โดย ที ม ผู้ ต รวจประเ มิ น ได้ พิ จ ารณาทบทวน SOP, ตรวจสอบเอกสารต่างๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งเข้ า สั ง เกตการณ์ ประชุ ม พิ จ ารณาโครงการ วิจัย รวมถึงการสัมภาษณ์ คณะกรรมการจริ ย ธรรม การวิ จั ย และเจ้ า หน้ า ที่ สำ � นั ก งานจริ ย ธรรมวิ จั ย

เพื่ อ ประเมิ น คุ ณ ภาพการ ดำ � เนิ น งาน และความ สอดคล้ อ งกั น ระหว่ า งการ ปฏิ บั ติ ง านจริ ง กั บ แม่ แ บบ มาตรฐานการดำ � เนิ น งาน (SOP) โดยการตรวจประเมิน ครั้งนี้ สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความร่วมมือร่วมใจของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในส่วน ของข้อเสนอแนะต่างๆของ ที ม ผู้ ต รวจประเมิ น คณะ กรรมการจริยธรรมการวิจัย

จะได้ ดำ � เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ไข เพื่อให้ดำ�รงไว้ซึ่งการ ปกป้องคุ้มครองอาสาสมัคร รวมทัง้ กระบวนการพิจารณา ให้มีประสิทธิภาพ อันนำ�ไป สู่การเป็นสถาบันการแพทย์ ชั้ น นำ � ระดั บ มาตรฐาน สากล ตามวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ไ ด้ ตั้ งไว้ คณะกรรมการจริ ย ธรรมฯ ขอให้อาจารย์และ นั ก วิ จั ย ทุ ก ท่ า นมั่ น ใจได้ ว่ า เราจะรักษาคุณภาพดังกล่าว

ไว้ตลอดไป เพื่อช่วยให้การ วิ จั ย มี ม าตรฐาน เป็ น การ ปกป้ อ งอาสาสมั ค ร และ เป็ น เสมื อ นกระจกเงาคอย ส่องให้อาจารย์และนักวิจัย ทราบถึงจุดที่อาจเกิดปัญหา หรือปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ทั้งนี้ คณะกรรมการจริ ย ธรรมฯ จะเคียงคู่ไปกับนักวิจัย มิใช่ เป็ น ผู้ ขั ด ขวางการวิ จั ย แต่ อย่างใด

ห นั ง สื อ ใ ห ม่ ห้ อ ง ส มุ ด

01 บ้านและสวนฉบับพิเศษประจำ�ปี 2553 : Contemporary homes เลขหมู่ NK2110 บ225 2553 02 ไต่แอนดีส พิชิตปิรันยา โรม ทีปะปาล เลขหมู่ F2315 ร286ต 2553 01

02

03

03 โน้ตคีย์บอร์ด คอร์ดกีตาร์ เลขหมู่ MT588 น284 2553 04 7 อุปนิสัย สำ�หรับวัยรุ่นผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง The 7 hebits of highly effective teens Sean Covey เลขหมู่ BJ1661 ค287จ 2553 05 ตัน กับวิธีคิดที่ไม่เคยตัน ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์ เลขหมู่ HD38.25 ต115ถ 2553

04

05

ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


8

ข่ า ว พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ โ ร ง พ ย า บ า ล

จัดประชุมวิชาการระดับภูมิภาค จจุบัน กระบวนการดำ�เนิน งานการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ด้ า นบริ ก ารสุ ข ภาพของ โรงพยาบาลทั่วประเทศไทยได้มี การพัฒนามาเป็นลำ�ดับ ก่อเกิด เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ โรงพยาบาลต่างๆ มีการบูรณาการ แนวคิ ด การพั ฒ นา และมี ก าร วางระบบคุ ณ ภาพที่ เ ข้ ม แข็ ง มากขึ้ น ศู น ย์ ค วามร่ ว มมื อ เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพโรงพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ (HACC : CMU) ร่วมกับ สถาบั น รั บ รองคุ ณ ภาพสถาน พยาบาล(องค์การมหาชน) สรพ. จัดประชุมระดับภูมิภาค The 12th Regional Forum on Quality Improvement and Hospital Accreditation ในหัวข้อ “ความงาม ในความหลากหลาย” (Beauty in ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Diversity) ระหว่างวันที่ 13-14 การเสวนาและการบรรยายใน โรงพยาบาลต่างๆ ในรูปแบบของ มิถนุ ายน 2554 ทีผ่ า่ นมา ณ โรงแรม ประเด็ น ที่ น่ า สนใจคื อ รวมทั้ ง Oral และ Poster Presentation ดิเอมเพรส จังหวัดเชียงใหม่ ให้ การเสนอผลงานทีมีคุณภาพของ อีกด้วย แก่บุคลากรทางการพยาบาลทั่ว ภาคเหนื อ และผู้ ส นใจ จำ � นวน 1,000 คน เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ บุคลากร ทุกสาขาวิชาชีพ จาก โรงพยาบาลต่างๆ ได้แลกเปลี่ยน ความรู้ ประสบการณ์ และวิธปี ฏิบตั ิ ที่จะนำ�ไปสู่การสร้างความสมดุล ระหว่างการมีระบบงานที่เข้มแข็ง กับความสุขของคนทำ�งาน ให้ผเู้ ข้า ร่ ว มประชุ ม ได้ รั บ ทราบทิ ศ ทาง การดำ � เนิ น งานพั ฒ นาคุ ณ ภาพ โรงพยาบาลของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเวที ในการเผยแพร่ ผลงานที่ภาคภูมิใจของบุคลากร หน่วยงาน และโรงพยาบาล โดยจัด ใ ห้ มี ก า ร แ ส ด ง นิ ท ร ร ศ ก า ร นวั ต กรรมทางการพยาบาล


9

ศู น ย์ ศ รี พั ฒ น์

เติมหัวใจ ให้การบริการ ผู้ป่วย ระยะสุดท้าย ศู น ย์ ศ รี พั ฒ น์ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ จัดการประชุม อบรมบุ ค ลากรทางการ พ ย า บ า ล เ พื่ อ พั ฒ น า คุ ณ ภาพบริ ก าร ภายใต้ โครงการ “เติมหัวใจให้กับ การให้บริการผู้ป่วยระยะ สุดท้าย” เรื่องการบรรเทา ความเจ็ บ ปวดและความ ทุกข์ทรมานของผูป้ ว่ ยระยะ สุดท้าย ในวันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม 2554 ตั้ ง แต่ เวลา 08.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมดอกสัก การดู แ ลผู้ ป่ ว ยระยะ สุดท้าย เพื่อให้บรรเทาจาก ความทุกข์ทรมานและความ เจ็บปวด เป็นทัง้ ศาสตร์และ ศิ ล ป์ ข องที ม สุ ข ภาพที่ จ ะ ร่ ว มกั น นำ � กระบวนการที่ เหมาะสมมาใช้ในการดูแล คุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู้ ป่ ว ย ให้ ไ ด้ รั บ การบำ � บั ด รั ก ษา

ที่ ดี ที่ สุ ด และตอบสนอง ความต้ อ งการของผู้ ป่ ว ย และญาติ อ ย่ า งเหมาะสม ครอบคลุมทั้งด้านกาย จิต สั ง คม และจิ ต วิ ญ ญาณ กิ จ กรรมช่ ว งเช้ า เป็ น การ บรรยาย เรื่ อ ง “Pain Management in Palliative Care Practice” โดย อ.นพ.ภาสกร สวัสดิรักษ์ จากภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มช. ซึ่งได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมาย การบำ � บั ด อาการปวดใน ผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายเพือ่ ทีจ่ ะ ทำ�ให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติ กิจกรรมได้ตามสมควรโดย ปราศจากความปวดหรือมี ความปวดน้อยที่สุด และ บรรเทาความปวดในเวลา พั ก ผ่ อ นของผู้ ป่ ว ย ช่ ว ย ทำ�ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิต ที่ ดี ที่ ย อมรั บ ได้ ใ นระดั บ หนึ่ ง และมี ค วามสงบ เพื่ อ สามารถเผชิ ญ วาระ สุดท้ายของชีวิตได้อย่างไม่ ทรมาน ต่อจากนั้นเป็นการ บรรยายเรื่องการประเมิน ระดั บ ของผู้ ป่ ว ยที่ ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลแบบประคั บ

ประคอง ฉบั บ สวนดอก (Palliative Performance Scale for Adult Suandok: PPS Adult Suandok) โดย ผศ.พญ.บุ ษ ยมาศ ชี ว สกุ ล ยง ซึ่ ง เครื่ อ งมื อ ดังกล่าวมีประโยชน์ในการ สื่อสารข้อมูลระหว่างทีมผู้ ให้การดูแลเกี่ยวกับสภาวะ ของผูป้ ว่ ย และการวางแผน การดูแลให้กับผู้ป่วยแต่ละ รายอย่างเหมาะสม ในช่ ว งบ่ า ยมี กิ จ กรรม การสนทนากลุ่ ม โดย รศ.พญ.รัตนา พันธ์พานิช รองผู้ อำ � นวยการศู น ย์

ศ รี พั ฒ น์ ทำ � ห น้ า ที่ กระบวนกร และวิทยากร จากภายนอก คุ ณ ดารณี ทิ พ ยดาราพาณิ ช ย์ อดี ต พยาบาลซึ่ ง ป่ ว ยด้ ว ยโรค มะเร็งเต้านม ในขณะเดียว กับที่ต้องดูแลลูกชายวัยรุ่น ที่ ป่ ว ยเป็ น มะเร็ ง ในช่ อ ง ทรวงอกระยะสุดท้าย เรือ่ ง เล่าชีวิตจริงของเธอสร้าง ความประทั บ ใจและเกิ ด การแลกเปลี่ ย นแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ ก ารดู แ ล ผู้ ป่ ว ยระหว่ า งผู้ เ ข้ า ร่ ว ม อบรม ทำ�ให้ทราบถึงความ รู้ สึ ก ของทั้ ง ผู้ ป่ ว ยและ

ผู้ ดูแ ลผู้ ป่ วยระยะสุ ด ท้ า ย และการเยียวยาตนเองทั้ง ด้านจิตใจและจิตวิญญาณ ความกล้ า หาญในการ เผชิญกับความตาย ซึ่งทีม ผู้ให้บริการมีบทบาทหน้าที่ ที่ ต้ อ ง ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ ส่งเสริมนอกเหนือจากการ รักษาโรคทางด้านร่างกาย จึ ง จะทำ � ให้ ผู้ ป่ ว ยพบกั บ ความสุ ข สงบที่ แ ท้ จ ริ ง ใน วาระสุดท้ายของชีวิต

ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


10

ส โ ม ส ร นั ก ศึ ก ษ า

ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ประจำ�ปี 2554 กันยารัตน์ กลํ่าอาจ

ณะแพทยศาสตร์ จั ด ป ฐ ม นิ เ ท ศ นั ก ศึ ก ษ า ใ ห ม่ ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา เมื่ อ วั น ที่ 2 มิ ถุ นายน 2554 เพื่ อ เป็ น การเตรี ย มความ พร้ อ มในด้ า นการเรี ย น แนะนำ�สถานทีเ่ รียน การทำ� ความเข้ า ใจในวิ ธี ก าร ศึ ก ษ าในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึกษา กฏระเบียบข้อบังคับ ต่ า งๆ การเตรี ย มความ พร้ อ มในการทำ � วิ จั ย เพื่ อ วิทยานิพนธ์ การประกัน คุณภาพการศึกษา เข้าใจ เกี่ ย วกั บ การทำ � วิ จั ย เพื่ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ การขอทุ น การขอจริยธรรมการวิจัย การขอใช้ เ ครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ในศูนย์เครื่องมือวิจัยทาง วิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ การขอใช้บริการของห้อง สมุดคณะฯ รวมทัง้ เป็นการ พบปะระหว่ า งอาจารย์ ที่ ปรึกษากับนักศึกษา เพื่อ ช่ ว ย ชี้ แ น ะ ใ น ก า ร ล ง ทะเบียนและการเรียนการ สอนในระดับบัณฑิตศึกษา และเพื่ อให้ นั ก ศึ ก ษาใหม่ ได้รับการพัฒนาสติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย และคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สอดคล้องกับคุณลักษณะ ของบั ณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค์ 5 ประการ ได้ แ ก่ (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู้ (3) ทั ก ษะทาง ปัญญา (4) ทักษะความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คล และความรับผิดชอบ และ และการใช้ เ ทคโนโลยี ทีพ่ งึ ประสงค์ทสี่ ภา/องค์กร (5) ทั ก ษะการวิ เ คราะห์ สารสนเทศ และสอดคล้อง วิชาชีพได้กำ�หนดเพิ่มเติม เชิ ง ตั ว เลข การสื่ อ สาร กับคุณลักษณะของบัณฑิต ตลอดจนคล้ อ งกั บ ความ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ข้อมูล นักศึกษาใหม่ ปี 2554 ร ศ . พ ญ . สุ ป รี ย า ระดับปริญญาเอก แบบ/แผน จำ�นวน วงษ์ตระหง่าน รองคณบดี กายวิภาคศาสตร์ แบบ 1 0 เป็ น ผู้ เ ปิ ด งาน วิ ท ยากร จุลชีววิทยา แบบ 1/2 0 ได้ แ ก่ รศ.ดร.ปรั ช ญา ชีวเคมี(นานาชาติ) แบบ 1 2 คงทวี เ ลิ ศ , รศ.นพ.คม ชีวเคมี แบบ 2 3 สุคนธสรรพ์ และหัวหน้า ปรสิตวิทยา แบบ 1/2 6 เภสัชวิทยา แบบ 2 0 งานห้ อ งสมุ ด สำ � หรั บ ระบาดวิทยาคลินิก แบบ 1 14 นักศึกษาปีนี้ ประกอบด้วย สรีรวิทยา แบบ 1/2 1 นักศึกษาปริญญาโท 59 คน ปริญญาเอก 26 คน รวม 26 ระดับปริญญาโท กายวิภาคศาสตร์ จุลชีววิทยา ชีวเคมี ปรสิตวิทยา พิษวิทยา ฟิสิกส์การแพทย์ เภสัชวิทยา สรีรวิทยา รวม

แบบ/แผน จำ�นวน แผน ก แบบ ก 2 11 9 12 5 5 5 5 7 59

เราได้สัมภาษณ์ นักศึกษามาเล่าสู่กันฟัง นายวิชระเศกข์ พีระปัญญสุทธ์ ปริญญาโท สรีรวิทยา จ า ก อำ � เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ สำ � เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี จ าก

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เหตุผลที่เลือกเรียน : เพราะใกล้บ้าน และเปิด สอนสาขาทีอ่ ยากเรียน และ ที่เลือกสาขาวิชาสรีรวิทยา เพราะเป็น พื้นฐานในการ เรียนต่อปริญญาเอก ป ร ะ ทั บ ใจ อ ะ ไรใ น สถาบั น แห่ ง นี้ : มี ค วาม ป ร ะ ทั บ ใจ ค ณ ะ แ พ ท ย์ ในเรื่ อ ง สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา มีคุณภาพ อยากให้คณะเพิ่มเติม ช่วยเหลือในเรื่อง อาคารที่ จอดรถยนต์ ทีจ่ อดรถไม่พอ และสวัสดิการของนักศึกษา บัณฑิตศึกษา เช่น หอพัก ทุน สุขภาพ เป็นต้น นส.วัลลภา ก๊กมาศ ปริญญาโท สรีรวิทยา จากอำ�เภอเมือง จังหวัด พิ จิ ต ร สำ � เร็ จ การศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี จ าก


11 ​ ​ส โ ม ส ร นั ก ศึ ก ษ า

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เหตุผลที่เลือกเรียน : เพราะ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และ ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าที่จะไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยอื่น และทีเ่ ลือกสาขาวิชาสรีรวิทยา เพราะเพิ่มวุฒิการศึกษา เพิ่มพูน ความรูเ้ ฉพาะด้าน และเป็นพืน้ ฐาน ในการเรียนต่อปริญญาเอก นางสาวสุธีรา นรากรศักดิ์ ปริญญาโท กายวิภาคศาสตร์ จากอำ � เภอแม่ ส าย จั ง หวั ด เชียงราย สำ�เร็จการศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี จ ากมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ เหตุผลที่เลือกเรียน : เพราะ จบ ป.ตรี จากสถาบัน นี้ และที่ เลือกสาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ เพราะเป็นพื้นฐานในการเรียนต่อ ปริญญาเอก นายภูริวัฒน์ ฟักฟูม ปริญญาโท ชีวเคมี จากอำ � เภอหล่ ม สั ก จั ง หวั ด เพชรบูรณ์ สำ�เร็จการศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี จ ากจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เหตุผลที่เลือกเรียน : เพราะ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และ เปิดสอนสาขาวิชาที่อยากเรียน

การศึ ก ษ าระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้รับข่าว การรับสมัคร ใน Web Site ของ บัณฑิตวิทยาลัย เหตุผลทีเ่ ลือกเรียน : เนือ่ งจาก มีความสนใจทีจ่ ะศึกษาในสาขาวิชา ทีเ่ ปิดสอนอยู่ในคณะแพทยศาสตร์ อี ก ทั้ ง ประกอบกั บ คุ ณ ภาพด้ า น วิ ช าการ และบุ ค ลากรเป็ น ที่ น่ า เชื่อถือ ประทับใจอะไรในสถาบันแห่งนี้ : เป็นสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพ เปี่ยมไปด้วยคณาจารย์ที่มีความรู้ ความสามารถ และเป็นสถาบันการ ศึกษาที่ดีที่สุดในภาคเหนือ ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น หรื อไม่ : ปัจจุบันไม่ได้รับทุนสนับสนุนการ ศึกษาแต่ก็อยากได้ จบแล้ ว จะทำ � อะไรต่ อ ไป : คาดว่าจะจบใน 2 ปี และจบแล้ว อยากจะทำ � งานเป็ น อาจารย์ ใ น มหาวิทยาลัยตามสาขาที่เรียนจบ

นส.อรรณลักษณ์ มี ปริญญาโท ปรสิตวิทยา อำ�เภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้รบั ข่าวการ รับสมัคร ใน Web Site ของบัณฑิต วิทยาลัย เหตุผลทีเ่ ลือกเรียน : เนือ่ งจาก เป็ น คณะที่ มี ชื่ อ เสี ย ง และเป็ น มหาวิทยาลัยทีด่ ี คณาจารย์มคี วาม นส.จุฑารัตน์ เสมอใจ รู้ ความสามารถ ปริญญาโท ปรสิตวิทยา จากจั ง หวั ด พะเยา สำ � เร็ จ ประทับใจอะไรในสถาบันแห่งนี้ :

เป็นสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพ มีชื่อเสียง สภาพแวดล้อมดี ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น หรื อไม่ : ปัจจุบันไม่ได้รับทุนสนับสนุนการ ศึกษาแต่อยากได้ทุนสนับสนุนการ ศึกษา จบแล้ ว จะทำ � อะไรต่ อ ไป : คาดว่าจะจบใน 2 ปี และจบแล้ว อยากจะทำ�งานเป็นอาจารย์ และ นักวิจัย นส.ชญานิศ เหมพลชม ปริญญาโท ปรสิตวิทยา จากอำ�เภอเวียงเชียงรุง้ จังหวัด เชียงราย สำ�เร็จการศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี จากมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ ได้รับข่าวการรับสมัคร จาก Road Show ของคณะแพทย์ และแผ่นพับ เหตุผลทีเ่ ลือกเรียน : เนือ่ งจาก เป็นคณะทีม่ ชี อื่ เสียง สามารถผลิต บัณฑิตทีพ่ งึ ประสงค์สสู่ งั คมได้มาก อี ก ทั้ ง มี ค ณาจารย์ ผู้ ซึ่ ง มี ค วามรู้ ความสามารถที่จะสอน ถ่ายทอด ความรู้ ต่ า งๆ ให้ กั บ ศิ ษ ย์ ไ ด้ เ ป็ น อย่างดี และมีคุณภาพ ประทับใจอะไรในสถาบันแห่งนี้ : เป็นสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพ มี ชื่ อ เ สี ย ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม บรรยากาศดี ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น หรื อไม่ : ปัจจุบนั ไม่ได้รับทุนสนับสนุนการ ศึกษาแต่อยากได้ทุนสนับสนุนการ ศึกษา จบแล้วจะทำ�อะไรต่อไป : คาดว่า

จะจบใน 2 ปี และจบแล้วอยากจะ ทำ�งานเป็นอาจารย์และนักวิจัย นส.ขวัญกมล ลิ้มโสภาธรรม ปริญญาเอก ปรสิตวิทยา จากอำ � เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เชียงใหม่ สำ�เร็จการศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี จ ากมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ ได้รับข่าวการรับสมัคร Road Show ของคณะแพทย์ เหตุผลทีเ่ ลือกเรียน : เพราะเล็ง เ ห็ น ว่ า ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีคณาจารย์ ที่มีความรู้ ความสามารถ ซึ่งน่าจะ ถ่ายทอดความรู้ให้ได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ทางคณะฯ ยังมีอุปกรณ์ เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ในการ ทำ�งานวิจัย ประทับใจอะไรในสถาบันแห่งนี้ : อาคารเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติ การ และสื่อการสอน ที่ช่วยให้การ เรียนสะดวกสบาย ทั้งนี้ยังมีห้อง สมุดคณะ ที่สามารถค้นหาหนังสือ ต่ า งๆ Website ของห้ อ งสมุ ด ที่ ส ามารถหา Paper รวมถึ ง Download Text Book ได้มากมาย ซึง่ ช่วยให้เราเปิดโลกทางปัญญาได้ อย่างไม่มีขีดจำ�กัด ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น หรื อไม่ : กำ � ลั ง อยู่ ใ นระหว่ า งดำ � เนิ น การ ขอทุ น คปก. แต่ อ ยากได้ ทุ น สนั บ สนุ น การศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ใน ระหว่างที่รอทุน คปก. จบแล้วจะทำ�อะไรต่อไป : คาดว่า จะใช้ระยะเวลาในการศึกษาตามที่ หลักสูตรกำ�หนด คือ ป.เอก ฐาน ตรี 5 ปี เมือ่ จบแล้วอยากจะทำ�งาน เป็นอาจารย์ เพราะอยากนำ�ความ รู้ที่ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาถ่ายทอด ให้นกั ศึกษา การสอนหนังสือถือว่า เป็นงานที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดย ส่วนตัวแล้วมีความเห็นว่าไม่ยาก แต่สิ่งที่ยากคือ จะสอนอย่างไรให้ ผู้ ฟั ง เข้ าใจในเนื้ อ หา และนำ �ไป ใช้ได้อย่างถูกต้อง ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


12

ส โ ม ส ร นั ก ศึ ก ษ า

ประเพณี รับน้องขึ้นดอย54 ประเพณีรับน้องขึ้นดอย เป็นกิจกรรม รั บ น้ อ งใหม่ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ รุ่ น พี่ แ ละรุ่ น น้ อ งใน มหาวิทยาลัยเดินทางร่วมกัน จากศาลาธรรม บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขึ้นไป ถึงวัดพระธาตุดอยสุเทพ เป็นระยะทาง ประมาณ 14 กิโลเมตร เพื่อไปนมัสการ พระบรมธาตุ ด อยสุ เ ทพ อั น เป็ น สิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวเชียงใหม่ ให้ความเคารพ และเพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคล พร้ อ มทั้ ง รับ โอวาทจากพระเถระผู้ใหญ่ รวมถึง ปฏิญาณตนเป็นนักศึกษาและเป็นพลเมือง ที่ดี

ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ในทุกๆ ปี นักศึกษาแต่ละคณะจะ แต่งชุดประจำ�คณะแตกต่างกันไป อาจเป็น ชุดพื้นเมืองภาคเหนือ หรือเป็นชุดประจำ� คณะก็ได้ โดยของที่จะนำ�ขึ้นไปนมัสการ พระธาตุก็จะนำ�มาประกอบในขบวน ซึ่ ง ใ น ปี นี้ ท า ง ส โ ม ส ร นั ก ศึ ก ษ า มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ไ ด้ จั ด กิ จ กรรม ประเพณีรับน้องขึ้น ‘54 ขึ้น เมื่อวันเสาร์ ที่ 9 กรกฎาคม 2554 ที่ผ่านมา


13

ส ว น ด อ ก พ า เ ที่ ย ว

ลำ�พูน จังหวัดเล็กๆ ใน ภาคเหนื อ ที่ เ รื่ อ งราวของ ประวั ติ ศ าสตร์ ไ ม่ ไ ด้ เ ล็ ก ตามพื้นที่ แต่กลับยิ่งใหญ่ และเก่าแก่ที่สุดในดินแดน ล้านนา เดิมลำ�พูนมีชื่อว่า “นครหริ ภุ ญ ไชย” สร้ า ง ขึ้ น ราว พ.ศ.1200 โดย ฤาษีวาสุเทพได้เกณฑ์พวก เมงคบุตร หรือละว้า ล่องเรือ ลงมาจากต้ น แม่ นํ้ า ปิ ง เพื่อสร้างเมืองใหม่ ครั้น เมื่อสร้างเสร็จได้อัญเชิญ พระนางจามเทวี พระธิดา แห่งเมืองละโว้มาปกครอง เมื อ งเป็ น พระองค์ แ รก จากนั้นนครหริภุญไชยก็มี กษัตริยค์ รองเมืองสืบต่อมา อีกหลายพระองค์ยาวนาน กว่ า 600 ปี ก่ อ นจะตก เป็นเมืองขึน้ ของอาณาจักร ล้านนา และต่อมาตกเป็น เมื อ งขึ้ น ของพม่ า อี ก กว่ า 200 ปี จ น ม า ถึ ง ส มั ย ก รุ ง ธ น บุ รี เ จ้ า ก า วิ ล ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ขั บ ไล่ พ ม่ า สำ � เร็ จ จนได้ ครองเมืองเชียงใหม่ แล้วให้ เจ้าคำ�ฟั่น น้องชายครอง

เมืองลำ�พูน ต่อมาในสมัย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ เมื อ ง ลำ�พูนมีฐานะเป็นเมืองขึ้น มี เ จ้ า ผู้ ค รองนครสื บ ต่ อ กั น ม า จ น เ มื่ อ มี ก า ร เปลี่ยนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475 จึงได้มกี าร ยกเลิกตำ�แหน่งเจ้าผู้ครอง นคร และยกฐานะเป็ น จังหวัดลำ�พูนจนถึงปัจจุบัน

ลำ � พู น ในปั จ จุ บั น มี ศั ก ยภาพด้ า นการ ท่ อ งเที่ ย วในเชิ ง ศิ ล ป วั ฒ นธรรมเป็ น อย่ า ง มาก มีแหล่งท่องเที่ยว ทั้งวัดวาอาราม เจดีย์ เก่าแก่ ศิลปะล้านนา แท้ทมี่ ลี วดลายอันวิจติ ร งดงาม

อีกทั้งงานหัตถกรรมที่ สั่งสมกันมาอย่างยาวนาน จนเป็นสินค้าขึ้นชื่อ อย่าง ผ้าไหมยกดอก นอกจากนี้ ยั ง เป็ น แหล่ ง ปลู ก ลำ � ไย กระเที ย ม แหล่ ง ใหญ่ ของภาคเหนื อ ส่ ว นด้ า น อุ ต สาหกรรม ลำ � พู น นั บ เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ศั ก ยภาพ เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือ ต อ น บ น แ ล ะ มี นิ ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ น พื้ น ที่

สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจร่วมกับ จังหวัดเชียงใหม่ ทั น ที ที่ เ ท้ า แตะพื้ น ก็ รู้ สึ ก ถึ ง ความเงี ย บสงบ ของเมืองลำ�พูน แม้จะเป็น วั น หยุ ด แต่ ผู้ ค นน้ อ ยมาก บ้ า นเรื อ นสองข้ า งทางมี ทั้งดีไซน์แบบสมัยใหม่และ บ้านไม้แบบเก่าปะปนกันไป

โครงกระดู ก และของ ทั้งหมดถูกเอาออกมาเก็บ ไว้ในพิพิธภัณฑ์ ส่วนหลุม นั้นถูกกลบปิดเรียบร้อย นอกจากนี้ในพิพธิ ภัณฑ์ ยังมีของเก่าที่นำ�มาจากวัด หริภุญไชย วัดพระนางจาม เทวี หากใครแวะเวียนผ่าน ไป ลองแวะไปชมกันได้ แต่ ไม่ มี รู ป ภายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เพราะเจ้าหน้าทีห่ า้ มถ่ายรูป จากพิพธิ ภัณฑ์ เดินข้าม ถนนไปฝั่งตรงข้ามจะเป็น วัดพระธาตุหริภญ ุ ไชย วันนี้ เป็นวันพระมีคนมาทำ�บุญ บ้างประปราย ได้กลิ่นธูป เที ย นและควั น ไฟตลอด เวลา ภายในวิ ห ารมี ค น จุดมุ่งหมายแรกในวันนี้คือ เฒ่ า คนแก่ ส วมชุ ด ขาวมา พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ ทำ�บุญ และมีนักท่องเที่ยว หริภญ ุ ไชย ภายในจัดแสดง ประวัติความเป็นมา ศิลป วัฒนธรรมของคนพื้นเมือง ซึ่ ง สมั ย ก่ อ นมี ศู น ย์ ก ลาง ความเจริ ญ ที่ บ้ า นวั ง ไฮ บ้ า นวั ง ไฮอยู่ ห่ า งจาก ตัวเมืองเพียง 3 กิโลเมตร ชาวบ้านขุดพบโครงกระดูก และหม้อ ไห เครือ่ งประดับ โบราณ จึงแจ้งให้ทางกรม ศิลปากรมาขุดค้น ปัจจุบัน

มาไหว้ อ งค์ พ ระประธาน ขนาดใหญ่ วัดพระธาตุหริภุญไชย วรมหาวิหาร สร้างขึ้นใน พุ ท ธศตวรรษที่ 17 ใน รัชสมัยของพญาอาทิตยราช กษั ต ริ ย์ แ ห่ ง ราชวงศ์ จ าม เทวีวงศ์ โดยที่แห่งนี้ เคย เ ป็ น พ ระ ร า ช ฐ า น ข อ ง พระองค์ ซึ่ ง พระราชทาน อุ ทิ ศ ถ ว า ย ใ ห้ เ ป็ น วั ด พระธาตุ ฯ เพื่ อ เป็ น พุ ท ธ บู ช าหลั ง จากที่ พ ระบรม สารีริกธาตุได้ปรากฏ ให้ พระองค์ได้ทอดพระเนตร ในบริเวณดังกล่าว มวลสาร ผงจากองค์ พ ระบรมธาตุ หริภญ ุ ไชยใช้ท�ำ พระสมเด็จ จิตรลดา

ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


14 ​ ​ส ว น ด อ ก พ า เ ที่ ย ว

หลังจากนั้นก็เดินเลียบ คูเมืองไปเรื่อยๆ จนถึงวัด แห่งหนึ่งชื่อวัดมหาวัน วัดนี้ กลายเป็นวัดดังเพราะมีคน ขุ ด เจอพระรอดองค์ ล ะ สิ บ ล้ า นเมื่ อ นานมาแล้ ว โดยส่ ว นตั ว ผู้ เ ขี ย นไม่ มี ความรู้เรื่องพระเลย คิด เพียงแค่ว่าวัดนี้สวยดี วัดนี้ สร้ า งมาแต่ ค รั้ ง พระนาง จามเทวี ขึ้ น ครองนคร

มิกราช กษัตริย์หริภุญไชย เป็ น ผู้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 1606-1611 พระเจดี ย์ วั ด พระยื น เป็ น พระเจดี ย์ ทรงมณฑป มี พ ระพุ ท ธ รูปยืน ทั้งสี่ทิศ เครื่องบน ประกอบด้วยเจดีย์ห้ายอด โดยมีเจดีย์ทรงระฆังและ เจดี ย์ ท รงกลมขนาดเล็ ก เป็นประธาน คล้ายคลึงกับ หริภุญไชย สิ่งที่น่าชมคือ อานันทเจดีย์ที่เ มืองพุกาม พระพุ ท ธสิ ก ขิ หรื อ พระ และพระเจดี ย์ วั ด ป่ า สั ก ศิลาดำ� ซึ่งพระนางจามเทวี จังหวัดเชียงราย อัญเชิญมาจากเมืองละโว้ ชาวเมืองเรียกพระพุทธรูป การเดินทางคราวนี้ องค์ นี้ ว่ า พระรอดหลวง ต้ อ งยอมรั บ ว่ าไปแบบ ไม่มีจุดหมายปลายทาง หรือพระรอดลำ�พูน ออกจากวั ด มหาวั น แต่ สำ � หรั บในความคิ ด ก็ ถ ามคนแถวนั้ น ว่ า วั ด ของผู้เขียน ลำ�พูนยัง พระยื น ไปทางไหน ก็ ไ ด้ เป็ น เมื อ งที่ ไ ม่ วุ่ น วาย รั บ คำ � ตอบว่ า ต้ อ งข้ า ม มากเหมื อ นเชี ย งใหม่ แม่ นํ้ า ปิ ง และมุ่ ง หน้ าไป แ ม้ จ ะ มี โ ร ง ง า น ทางทิศตะวันตก ไกลพอ อุตสาหกรรมมาก แต่ก็ สมควรเหมือนกัน ก็มาถึง อยู่นอกเมืองเกือบหมด วั ด พระยื น จนได้ สิ่ ง แรก ผู้เขียนคิดว่าลำ�พูน น่า ที่ ส ะดุ ด ใจคื อ ช่ า งเป็ น วั ด จะคล้ า ยๆ กั บ เชี ย งใหม่ ที่ ต้ น ไม้ เ ยอะมาก โดย เมื่ อ สั ก สามสิ บ ปี ที่ แ ล้ ว เ ฉ พ า ะ ต้ น ลำ � ไ ย มี อ ยู่ (เท็จจริงประการใดเขียน มากมายเต็มวัด วัดพระยืน มาบอกผู้ เ ขี ย นบ้ า งก็ จ ะดี มีชื่อเดิมว่า วัดพฤทธมหา- เพราะจะว่ า ไปผู้ เ ขี ย นยั ง สถาน ซึ่ ง พระเจ้ า ธรรม อายุไม่ถึงสามสิบเลยไม่รู้

ว่ า เหมื อ นหรื อไม่ เ หมื อ น แค่ไหน) หากใครสนใจก็ ห า เวลาไปเที่ ย วชมกั น ได้ แม้ จั ง หวั ด ลำ � พู น จะไม่ มี อะไรน่ า ตื่ น ตาตื่ น ใจมาก

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขอเชิญร่วมบริจาค สมทบทุน “มูลนิธิ โรงพยาบาลสวนดอก”

ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เพือ่ จัดซือ้ ครุภณ ั ฑ์ ทางการแพทย์

สำ�หรับหอผูป้ ว่ ยหนัก (ห้อง ไอ ซี ยู) อาคารเฉลิมพระบารมี

สอบถามรายละเอียดได้ที่หมายเลข

0 5394 7400, 0 5394 5672 หรือ โทรสาร 0 5394 7888

ไม่มสี วนดอกไม้สวยๆ ไม่มี ดอยไม่มีเขาให้ปีน แต่การ ได้เดินทางมาเที่ยวชมก็ถือ เป็นประสบการณ์เป็นกำ�ไร ชีวิตอีกอย่างหนึ่ง


15

สวนดอกโฟโต

รางวัลที่ 1 สังวาลย์ ฟองมูล

ภู

รางวัลที่ 2 สายชล พรึงลำ�

รางวัลที่ 3 กันตณา แก้วละ

ร วรรณา

พ รางวัลที่ 4 สม

รางวัลที่ 5 จิรภา ทวีลาภ

ผลการประกวด

ภาพถ่าย

แม่ลกู …ผูกพัน ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


16

อ า ห า ร ก า ร กิ น

แกงเลียง กุ้งสด แกงเลียงอาหารที่มีรสชาติ เฉพาะตั ว อร่ อ ยเผ็ ด ร้ อ น พริกไทย หอมกลิน่ สมุนไพร จากพืชผักหลากหลายชนิด มี ป ระโยชน์ ใ นการขั บ พิ ษ ไข้ เ ป็ น อย่ า งดี โบราณ เชื่ อ ว่ า เป็ น อาหารที่ ช่ ว ย ประสะนํ้านมสำ�หรับสตรี หลั ง คลอด ทำ � ให้ นํ้ า นม บริบูรณ์ เครื่องปรุง • ฟั ก ทองเนื้ อ ดี หั่ น ชิ้ น พอคำ� จำ�นวน 10-12 ชิ้น

• บวบเหลีย่ ม (หักชิมดูเสีย ก่อนว่าไม่ขม) ประมาณ1 ลูก ขนาดพอดี อย่าปอกเปลือก ออกจนเกลีย้ งเกลา ให้เหลือ เปลือกไว้บา้ ง เพือ่ รักษาคุณค่า ทางอาหาร หั่ น เป็ น ชิ้ น ขนาด 12-15 ชิ้น • ข้ า วโพดอ่ อ นหั่ น แฉลบ 4 ฝัก ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วิธีทำ� 1. นำ�เครื่องปรุงพริก แกงโขลกให้ละเอียด ถ้า ชอบให้ นํ้ า แกงข้ น อี ก นิ ด ก็ใช้เนื้อปลา จะย่างหรือ ต้มสุกก็ได้แล้วนำ�มาโขลก รวมกับพริกแกง 2. นำ � นํ้ า ซุ ป ตั้ งไฟพอ เดือด ใส่เครื่องแกงลงไป ปรุงรสด้วยนํ้าปลา ชิมให้ ได้ ร สเค็ ม และเผ็ ด นิ ด ๆ พอนํ้าแกงเดือดอีกที ใส่ผัก ชนิดที่สุกยากลงก่อน เช่น ฟักทอง ข้าวโพดอ่อน ตาม ด้วยกุง้ สดรอจนแน่ใจว่าผัก สุกดีแล้วจึงใส่ใบตำ�ลึง • นาํ้ ซุป(จากการต้มซีโ่ ครง 3. ใส่ ใ บแมงลั ก เป็ น หมูหรือโครงไก่) 4 ถ้วยตวง รายการสุดท้ายแล้วคนให้ • นํ้าปลาดี 2 ช้อนโต๊ะ เข้ากัน ตักเสิร์ฟขณะร้อน • ถ้าชอบเผ็ดเพิม่ พริกขีห้ นู ได้รสชาติดี สดอีก 5-6 เม็ด บุบพอแตก

• กระชาย 2 หัว ทุบเบาๆ แ ล้ ว หั่ น เ ป็ น ท่ อ น ย า ว ประมาณ 1 นิ้ว • ตำ�ลึงยอดงามๆ สัก 10 ยอดเด็ดเอาแต่ใบอ่อนๆ • ใบแมงลัก 3-4 กิ่ง เด็ด เอาแต่ ใ บหรื อ ยอดดอก อ่อนๆ • กุ้ ง แม่ นํ้ า หรื อ กุ้ ง ชี แ ฮ้ 6-7 ตัว ปอกเปลือกเอา เส้นดำ�ออก

เครื่องปรุงพริกแกง • พริกชีฟ้ า้ แดงผ่าเอาเมล็ด ออก 2 เม็ด • กระชาย 4 หัว • หอมแดงหัวขนาดกลาง 5 หัว • พริกไทยขาว 12 เม็ด • กะปิเผาไฟพอสุก 2 ขีดครึง่ • กุ้งแห้ง 2 ขีดครึ่ง

สรรพคุณทางยา • พริ ก ไทย รสเผ็ ด ร้ อ น ขับลม ขับเหงื่อ ช่วยเจริญ อาหาร

• หอมแดง รสเผ็ ด ร้ อ น แก้ไข้เพื่อเสมหะ บำ�รุงธาตุ แก้ไข้หวัด • ผักต่างๆ เช่น ฟักทอง รสมันหวาน บำ�รุงร่างกาย บำ�รุงสายตา • บวบ รสเย็นจืดออกหวาน มี แ คลเซี ย ม เหล็ ก และ ฟอสฟอรัสมาก

• นํ้าเต้า ผลอ่อน : ใช้ปรุง อาหาร เมล็ด : ประเทศจีน นำ � มาต้ ม กั บ เกลื อ กิ น เพื่ อ เจริญอาหาร เถา, ใบอ่อน, เนื้ อ หุ้ ม รอบๆ เมล็ ด : ประเทศอิ น เดี ยใช้ เ ป็ น ยา ทำ�ให้อาเจียนและยาระบาย เป็ น ยาถ่ า ยพยาธิ แ ละแก้ อาการบวมนํ้า • ตำ � ลึ ง รสเย็ น ใบสด ตำ�คั้น นํ้าแก้พิษแมลงสัตว์ กัดต่อย ปวดแสบปวดร้อน และคั้ น รั บ ประทานเป็ น ยาดับพิษ ร้อน แก้เจ็บตา ตาแดง ตาแฉะ • ข้ า วโพด รสมั น หวาน เมล็ ด : เป็ น ยาบำ � รุ ง กระเพาะอาหาร ฝาด สมานบำ � รุ ง หั ว ใจ ปอด เจริญอาหาร ขับปัสสาวะ • ใบแมงลัก ใบสด รสหอม ร้ อ น เป็ นยาแก้ ห วั ด แก้ หลอดลมอักเสบ แก้โรค ท้องร่วง ขับลม หมายเหตุ แกงเลียงที่อร่อยมักจะ ต้องสด ใหม่ จึงจะทำ�ให้ นํ้าแกงหวานโดยธรรมชาติ และหอมนํ้าพริกแกง ควร รั บ ประทานขณะร้ อ นๆ แกงเลียงมักจะรับประทาน กับนํ้าพริกกะปิ


17

ฟิ ต แ อ น ด์ เ ฟิ ร์ ม

ปวดศีรษะ ขณะออกกำ�ลังกาย ใครว่าไม่ส�ำ คัญ ผศ.นพ.จักรกริช กล้าผจญ

หรื อ ส่ ว นหน้ า ของศี ร ษะ มั ก ปวด เท่าๆกัน ทั้ง 2 ข้าง อาการปวดจะ คงอยู่หลายนาที บางครั้งแม้จะหยุด ออกกำ�ลังกาย ก็ยังปวดอยู่ ยังไม่ ทราบกลไกชัดเจนของอาการปวด ชนิ ด นี้ ตรวจร่ า งกายไม่ พ บความ ผิดปกติของระบบประสาท การรับ ประทานยาแก้ปวดมักทำ�ให้อาการ ดีขึ้น

าการปวดศี ร ษะขณะออก กำ � ลั ง กาย อาจเป็ น เพี ย ง อาการปวดศี ร ษะธรรมดา หรืออาจเป็นอาการแสดงจากความ ผิดปกติในกระโหลกศีรษะที่รุนแรง หรือถึงชีวิต อาการปวดศีรษะขณะ ออกกำ�ลังกายอาจแบ่งเป็นชนิดต่างๆ ได้ดังนี้ 1 . อ า ก า ร ป ว ด ศี ร ษ ะ จ า ก ความเครี ย ด (Tension headache) พบได้บ่อยที่สุดในนักกีฬา เช่น เดียวกับในประชากรทั่วไป เชื่อว่า อาการปวดศีรษะนั้นเกิดจากกล้าม เนื้ อ ที่ อ ยู่ ร อบกะโหลกศี ร ษะตึ ง ตั ว มากขึ้น และอาจร่วมกับภาวะทาง จิ ตใจบางอย่ า งได้ แ ก่ ความกั ง วล

ความกดดั น ทางอารมณ์ ภาวะ ซึมเศร้า ความอ่อนล้า เป็นต้น มักมี ลักษณะปวดตื้อๆ คงที่ หรือเหมือนมี แถบมารัดรอบศีรษะ โดยอาการปวด มักเริ่มจากบริเวณท้ายทอยและร้าว ไปยังบริเวณขมับ 2 ข้าง 2. อ า ก า ร ป ว ด ศี ร ษ ะ ข ณ ะ ออกกำ � ลั ง กายชนิ ด ไม่ ร้ า ยแรง (Benign exertional headache) พบในเพศชายบ่อยกว่าเพศหญิง และมักพบบ่อยขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น อาการปวดศีรษะมักจะเกิดขึ้นทันที และรุนแรงตัง้ แต่แรก ลักษณะอาการ ปวดเหมือนมีอะไรมาแทงในศีรษะ หรือปวดตุ๊บๆ มักจะปวดทั่วๆไปทั้ง ศีรษะหรืออาจเป็นเฉพาะที่ท้ายทอย

3. อาการปวดศีรษะขณะออก กำ � ลั ง แบบไมเกรน (Effort migraine) อาการปวดศีรษะชนิดนี้มักเป็น บริเวณหลังลูกตาข้างใดข้างหนึง่ โดย มีลกั ษณะปวดตุบ๊ ๆ รุนแรง อาจตรวจ พบลานสายตาผิดปกติทันทีหลังออก กำ�ลังร่วมด้วย พบบ่อยในนักกีฬาที่ ไม่ค่อยฟิต เมื่อแข่งขันในที่สูงจาก ระดับนํ้าทะเลมากๆ ได้รับสารนํ้า ไม่เพียงพอ หรือออกกำ�ลังกายในที่ ที่ร้อนเกินไป จากการตรวจร่างกาย มักไม่พบความผิดปกติของระบบประ สาทอื่นๆ นอกจากความผิดปกติของ ลานสายตาดังกล่าวแล้ว โดยทั่วไป อาการปวดศีรษะชนิดนีจ้ ะไม่รา้ ยแรง และมักจะไม่เกิดขึน้ ซํา้ อีก ถ้านักกีฬา คนนั้นมีความฟิตมากขึ้น และออก กำ�ลังกายอย่างเหมาะสม

(Aggravation of an established headache by exercise) หมายถึ ง บุ ค คลนั้ น มี อ าการ ปวดศี ร ษะเดิ ม อยู่ ก่ อ นแล้ ว ไม่ ว่ า จะด้ ว ยสาเหตุ ใ ดก็ ต าม และเมื่ อ ออกกำ � ลั ง กายก็ จ ะทำ � ให้ อ าการ ปวดศี ร ษะเดิ ม นั้ น เป็ น มากขึ้ น ซึ่ ง เป็ น หน้ า ที่ ข องแพทย์ จ ะต้ อ งซั ก ประวั ติ เ พื่ อ แยกออกจากอาการ ปวดศีรษะในข้อ 2 และ 3 ให้ได้ อาการปวดศีรษะเดิมนั้น อาจเป็น อาการปวดศีรษะก่อนมีประจำ�เดือน หรืออาการปวดศีรษะแบบไมเกรน ชนิดอื่นๆ แต่ ในบางคน การออก กำ � ลั ง กายกลั บ ช่ ว ยลดอาการปวด ศีรษะแบบไมเกรนบางอย่างได้ด้วย จึงอาจนำ�ไปใช้รักษาได้

5. อาการปวดท้ายทอยจากการ ออกกำ�ลังกาย ในผู้ที่ไม่ค่อยได้ ออกกำ�ลังกาย อาการปวดจะเหมือนกับอาการ ปวดศีรษะชนิดไม่ร้ายแรง (ในข้อ 2) แต่มักจะปวดบริเวณท้ายทอย และ บางครั้ ง มี อ าการคลื่ น ไส้ ร่ ว มด้ ว ย ยิ่งออกแรงมาก หรือเคลื่อนไหวคอ มากขึ้น ก็ยิ่งปวดมากขึ้น อาการปวด อาจคงอยู่หลายชั่วโมงหลังจากหยุด ออกกำ�ลังกายแล้ว การตรวจร่างกาย 4. อาการปวดศีรษะที่ถูกทำ�ให้ จะไม่ พ บความผิ ด ปกติ ข องระบบ รุนแรงขึน้ ด้วยการออกกำ�ลังกาย ประสาท การป้องกันทำ�ได้โดยการ ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


18 ​ ​ฟิ ต แ อ น ด์ เ ฟิ ร์ ม

ประคองบริเวณกล้ามเนื้อคอ และ รับประทานยาแก้ปวด 6. อาการปวดศีรษะเนื่องจาก อุปกรณ์กดรัด (Pressure headache) เช่ น ในนั ก กี ฬ าว่ า ยนํ้ า ที่ ต้ อ ง สวมแว่นตาว่ายนํ้า หรือในนักกีฬา ยกนํ้าหนัก ซึ่งอาจมีการกดของราก ประสาทไขสันหลังบริเวณคอเกิดขึ้น (Weight Lifter’s Headache) จาก กระดูกคอเสื่อม เคลื่อน หรือหมอน ขึ้ น ไม่ จำ � เป็ น ต้ อ งเป็ น นั ก ฟุ ต บอล รองกระดูกคอปลิ้น การป้องกันและ เท่านั้นที่เกิดอาการนี้ได้ นักมวยปลํ้า รั ก ษาก็ ทำ � ได้ โ ดยการปรั บ เปลี่ ย น รักบี้ หรือนักมวย ก็เป็นได้ อุปกรณ์ที่ ใช้ รวมทั้งเทคนิคการฝึก 8. อาการปวดศีรษะขณะออก 7. อาการปวดศี ร ษะจากการ กำ � ลั ง จากพยาธิ ส ภาพภายใน โหม่งลูกบอล (Footballer’s กะโหลกศีรษะ migraine) พบได้น้อยมาก เกิดจากสาเหตุ ได้มีการอธิบายภาวะนี้ครั้งแรก ภายในกะโหลกศี ร ษะว่ า อาจเป็ น ในนั ก ฟุ ต บอลประเทศอั ง กฤษ โรคที่ เ กิ ด จากความผิ ด ปกติ ข อง ที่ มี อ าการปวดศี ร ษะแบบไมเกรน ระบบโครงสร้างระบบประสาทแต่ ร่ ว มกั บ ภาวะลานสายตาผิ ด ปกติ กำ�เนิด จากการกดสมองบริเวณฐาน คลื่นไส้และอาเจียน เชื่อกันว่าเกิด กะโหลกศีรษะ หรืออาจเป็น ภาวะ จากการโหม่ ง ลู ก บอลที่ ผิ ด จั ง หวะ เลื อ ดออกใต้ เ ยื่ อ หุ้ ม สมองชั้ น นอก หรือโหม่งด้วยบริเวณขมับหรือด้าน หรืออาจเป็นเนื้องอกของโครงสร้าง ข้างของศีรษะ (Parietal Region) ต่ า งๆ ในกะโหลกศี ร ษะ อาการ แทนที่ จ ะโหม่ ง ด้ ว ยบริ เ วณโหนก ปวดศีรษะในกลุ่มนี้โดยทั่วๆไป มัก ศี ร ษะ (Frontal Region) ทำ �ให้ รุ น แรงมากขึ้ น ในขณะออกกำ � ลั ง มี อ าการหดตั ว ของกล้ า มเนื้ อ คอ กายหนักขึ้น อาการปวดศีรษะอาจ ด้านข้าง จึงเกิดการบิดและหดตัวของ ถู ก กระตุ้ น ให้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ทั น ที ห รื อ เส้นเลือดบริเวณฐานกะโหลกศีรษะ ถู ก ทำ � ให้ ล ดลงได้ ทั น ที ด้ ว ยการ

อย่างหนัก อาจจะกระตุ้นการทำ�งาน ของระบบประสาทอั ตโนมั ติ อ ย่ า ง เฉียบพลัน ทำ�ให้เส้นเลือดบริเวณ ที่ถูกเลี้ยงด้วยเส้นประสาทอัตโนมัติ ที่ อ ยู่ ตํ่ า กว่ า ระดั บ ที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ หดตัวทำ�ให้ความดันโลหิตทัว่ ร่างกาย สู ง ขึ้ น รวมทั้ ง ความดั น โลหิ ต ใน กะโหลกศี ร ษะด้ ว ย จึ ง ทำ �ให้ ป วด ศีรษะอย่างมาก นอกจากนีก้ ม็ อี าการ หน้าแดง ตาพร่า ร่วมด้วย การรักษา ทำ�ได้โดยการหยุดออกกำ�ลังกายทันที เปลี่ยนตำ�แหน่งของศีรษะ อาจพบ ความดั น โลหิ ต ก็ มั ก จะกลั บ สู่ ป กติ ความผิดปกติของระบบประสาทได้ และถ้าเป็นไปได้ให้จัดให้ศีรษะอยู่ เช่น อาการอ่อนแรง อาการชา การ สูงที่สุด และพบแพทย์ ลดความรู้สึกตัว รูม่านตาและการ ตอบสนองต่อแสงผิดปกติ อาการชัก 10. อาการปวดศีรษะจากการ กระตุก การตอบสนองของรีเฟล็ก ถูกกระแทกซํ้าๆ (Secondผิดปกติ นอกจากนั้นนักกีฬาคนนั้น impact catastrophic อาจจะมีอาเจียนพุง่ มีเสียงดังหึง่ ๆ ใน headache) หู ตาเหลือกไปข้างใดข้างหนึ่ง ฯลฯ เกิดจากการถูกกระแทกที่ศีรษะ ควรพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุต่อไป ซํา้ ๆซากๆ ทำ�ให้สมองบวมไปทัว่ และ รบกวนการทำ�งานของระบบประสาท 9. อ า ก า ร ป ว ด ศึ ร ษ ะ จ า ก ส่วนกลาง ผู้ป่วยอาจมีอาการรุนแรง ความดันโลหิตสูงเฉียบพลันใน มากเช่น ความดันในกระโหลกศีรษะ นักกีฬาคนพิการ (Headache สูงขึ้น จนสมองส่วนกลางและส่วน d u e t o a u t o n o m i c ขมับถูกกด เส้นประสาทสมองเป็น อัมพาต ระดับความรู้สึกตัวลดลง hyperrefflfllexia) ในคน ที่ ได้ รั บ บาดเจ็ บ ของ หรืออาจมีอาการไม่รุนแรง เช่น ปวด ไขสันหลังตั้งแต่ระดับอกขึ้นไป (ซึ่ง ศีรษะตลอดเวลา ไม่มีสมาธิ และ ก็ มั ก จะมี อ าการอั ม พาตของลำ � ตั ว อารมณ์หงุดหงิดง่าย ซึง่ อาการเหล่านี้ รวมทั้งขา 2 ข้าง และชาตั้งแต่กลาง อาจคงเหลื อ อยู่ น านหลายเดื อ น ลำ � ตั ว ลงมา) เมื่ อ ออกกำ � ลั ง กาย หลังเกิดอุบัติเหตุ

เรียนเชิญศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่ทุกท่านร่วมงานถ่ายทอดสด ในวันที่ 13 กันยายน 2554 เวลา 19.00 น. ณ สถานี โทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี

สวนดอก…ร้อยดวงใจ

เพือ่ ชีวติ สดใส ห่างไกลธาลัสซีเมีย เริ่มร้องเพลงหมู่ เวลา 19.30 น. และเริ่มรับโรศัพท์เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป สามารถประสานผ่านผู้แทนรุ่น หรือติดต่อข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ นพ.พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล (พชม รุ่น 23) ได้ที่ โทรศัพท์ 089-6357207 และ Email: psriband@med.cmu.ac.th เพื่อการจัดเตรียม เสื้อสำ�หรับศิษย์เก่า ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


19

กิ จ ก ร ร ม ค ณ ะ ฯ

ร่วมพิธี ทำ�บุญครบรอบ 29 ปี แห่งการ ก่อตัง้ สำ�นัก บริการเทคโนโลยี สารสนเทศ

รศ.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี ทีป่ รึกษาผูท้ รงคุณวุฒิ คณะแพทยศาสตร์ มช. ร่วมพิธที �ำ บุญครบรอบ 29 ปี แห่งการก่อตั้งสำ�นักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2554 ณ สำ�นักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่

พิธีมอบประกาศนียบัตร ผู้ผ่านการฝึกอบรม เรื่อง “การฝังเข็มขัน้ สูงและสมุนไพร รักษาโรคหลอดเลือดสมอง” คุณ นฤมล ปาลวัฒน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานมอบประกาศนียบัตรผู้ผ่านการฝึกอบรม เรื่อง “การฝังเข็มขั้นสูงและสมุนไพรรักษาโรคหลอดเลือดสมอง” ให้แก่แพทย์ผู้เข้ารับการอบรมจากกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนบน เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องประชุมชั้น 5 อาคารสงฆ์สุจิตโต คณะแพทยศาสตร์ มช.

พิธมี อบประกาศนียบัตร ผูช้ ว่ ยทางการแพทย์ รุน่ ที่ 3 รศ.นพ.นิเวศน์ นัน ทจิต คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. เป็นประธานในพิธมี อบวุฒบิ ตั รแก่ผสู้ �ำ เร็จการศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรผู้ช่วยทางการแพทย์ รุ่น ที่ 3 ประจำ�ปี การศึกษา 2553 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องลีลาวดี โรงแรมฟูรามาเชียงใหม่

ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


20 ​ ​กิ จ ก ร ร ม ค ณ ะ ฯ

ต้อนรับ คณะกรรมการ ประเมินระบบ ประกันคุณภาพ การศึกษาจาก มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ รศ.นพ.นิ เ วศน์ นั น ทจิ ต คณบดี ค ณะแพทยศาสตร์ มช. พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร หั ว ห น้ า ภ า ค วิ ช า ค ณ ะ กรรมการ คณะทำ�งานด้าน ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา หัวหน้างานสังกัดสำ�นักงาน คณะฯ ให้การต้อนรับ ศ.นพ. บวรศิลป์ เชาวน์ชนื่ จากคณะ

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, รศ.ดร.ธีรา ศุข สวัสดิ์ ณ อยุธยา จากคณะ มนุษยศาสตร์, รศ.ดร.สุรพล นธการกิ จ กุ ล จากคณะ เภสัชศาสตร์ และ รศ.ประทีป จั น ทร์ ค ง จากคณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะกรรมการประเมินระบบ ประกั น คุ ณ การศึ ก ษาจาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใน โอกาสมาตรวจสอบและ ประเมิ น ระบบการประกั น คุณภาพการศึกษาของคณะ แพทยศาสตร์ มช. ระหว่าง วั น ที่ 7 - 8 ก ร ก ฎ า ค ม 2554 ณ ห้ อ งประชุ ม ชัน้ 15 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช.

นำ�เทียนพรรษาของ คณะแพทยศาสตร์ เข้าร่วมสมโภชในพิธี หล่อเทียนพรรษาของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

โครงการผ่าตัดหัวใจ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาราชา

ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็ น ประธานกล่ า วต้ อ นรั บ สื่ อ มวลชน ผู้ ร่ ว มรั บ ฟั ง การ แถลงข่าวและกล่าวเปิดการแถลงข่าวสื่อมวลชน โครงการ ผ่าตัดหัวใจเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาราชา ซึ่ง คณะแพทยศาสตร์ มช. ร่วมกับธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) ผ่าตัดหัวใจให้แก่ผู้ป่วยโรคหัวใจ จำ�นวน 84 ราย เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องประชุมชั้น 15 อาคาร เฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช. ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะแพทยศาสตร์ มช. นำ�โดย รศ.พญ.ยุพา สุมิตรสวรรค์ ทีป่ รึกษาผูท้ รงคุณวุฒคิ ณะแพทยศาสตร์ พร้อมด้วยข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ นำ�เทียนพรรษาของคณะแพทยศาสตร์ เข้าร่วม สมโภชในพิธีหล่อเทียนพรรษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2554 ณ ศาลาธรรม มหาวิทยาลัย เชียงใหม่


21

ส ม า ค ม ศิ ษ ย์ เ ก่ า แ พ ท ย์ เ ชี ย ง ใ ห ม่

FLEXIBLE EXTENAL FIXATOR

เครือ่ งมือยึดจับกระดูก จากภายนอกชนิดยืดหยุน่

LEXIBLE EXTENAL FIXATOR [FEF] (เครื่ อ งมื อ ยึ ด จั บ กระดูกจากภายนอกชนิด ยืดหยุ่น) เป็นเครื่องมือที่ ถู ก ออกแบบและผลิ ต ขึ้ น มาใช้รกั ษาผูป้ ว่ ยกระดูกหัก โดยเฉพาะกระดู ก หั ก บ ริ เ ว ณ ห น้ า แ ข้ ง ซึ่ ง นายแพทย์อนุชติ จางไววิทย์ โ ร ง พ ย า บ า ล ปั ต ต า นี เป็ น ผู้ อ อกแบบประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ขึ้ น มาใช้ โดยทาง คณะกรรมการจริ ย ธรรม

โรงพยาบาลปั ต ตานี ไ ด้ มี มติ เ มื่ อ วั น ที่ 26 เดื อ น พฤษภาคม พ.ศ. 2552 อนุ ญ าตให้ นำ � เครื่ อ งมื อ ดังกล่าวมาใช้รักษาผู้ป่วย ที่ มี ภ าวะกระดู ก หั ก ใน โรงพยาบาลปัตตานีได้ เครื่องมือยึดจับกระดูก จากภายนอกชนิดยืดหยุ่น นี้ ยังได้รับรางวัลชนะเลิศ อั น ดั บ หนึ่ ง สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ คิดค้นทางการแพทย์ จาก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าฯ เ มื่ อ วั น ที่ 2 5 เ ดื อ น

พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย FEF เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ถู ก ออกแบบโดยคนไทย มี จุ ด เด่ น มากมาย โดยมี ส่วนประกอบที่สำ�คัญดังนี้ 1. แกนหลั ก (Main Rod) ประกอบด้ ว ยท่ อ พี วี ซี ต่างขนาดเพื่อให้สามารถ สไลด์ เ ข้ า ออกและหมุ น รอบตัวเองได้ ท่อที่อยู่ตรง กลางซึ่งเป็นท่อใหญ่ถูกผ่า เป็นร่องตลอดแนวเพื่อให้ สามารถบีบรัดท่อปลายทั้ง สองที่มีขนาดเล็กกว่าและ การเซาะร่ อ งยั ง สามารถ ยึดสกรูผา่ นร่องเพือ่ ควบคุม ไม่ ให้เกิดการหมุนได้ด้วย ส่ ว นเหตุ ผ ลที่ ใ ช้ ท่ อ พี วี ซี ก็ เ พ ร า ะ เ ป็ น วั ส ดุ ที่ มี คุณสมบัติที่มีความยืดหยุ่น และโปร่งแสงเอกซเรย์ตาม ต้องการ อีกทัง้ ยังหาง่ายได้ ในท้องตลาดทั่วไป แถมยัง

นพ.อนุชิต จางไววิทย์ ศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่รุ่นที่ 21 ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลปัตตานี

มีราคาประหยัดด้วย และ ที่ ใช้เป็น ท่อสีขาวก็เพื่อให้ แลดู ส ะอาดและสวยงาม ทำ�ให้เกิดความรู้สึกที่ดีทั้ง แพทย์ ผู้ ใ ช้ แ ละตั ว ผู้ ป่ ว ย เอง รวมทั้งผู้พบเห็นทั่วไป อีกด้วย 2. วงแหวนรัดปรับได้ (Adjustable Ring) ใช้ เ ป็ น ตั ว รั ด เพื่ อ ให้ Sliding Rod ยึ ด กั น อยู่ อย่างมั่นคงหลังจากที่ปรับ ระยะได้ตามต้องการแล้ว 3. ข้อเชื่อม (Joint) ประกอบด้วยส่วนยึดจับ กับท่อและแกนบังคับแผ่น ประกบซึ่งยึดเชื่อมต่อเข้า กับแชงค์สกรู ส่วนยึดจับกับท่อนั้นถูก ออกแบบให้สามารถยึดจับ กั บ ท่ อ พี วีซี ไ ด้ อ ย่ า งมั่ นคง แต่ยังคงไว้ซึ่งความยืดหยุ่น ในตั ว นํ้ า หนั ก เบา และ โปร่งแสงเอกซเรย์ เพราะ

ทำ � จากไนล่ อ นพี อี ห รื อไม้ เนื้อแข็งกลาง ส่ ว นแกนบั ง คั บ แผ่ น ประกบนั้ น เป็ น ส่ ว นที่ ต้ อ งการความแข็ ง แรง มั่ น คงเพราะต้ อ งเป็ น ตั ว ยึ ด เชื่ อ มกั บ แชงค์ ส กรู ซึ่ ง ยึดกระดูกอยู่และต้องการ ให้ ก ารยึ ด จั บ คงรู ป ตลอด การรักษา จึงใช้วัสดุที่เป็น สเตนเลสสตีล ส่ ว นแกนบั ง คั บ แผ่ น ประกบนี้ ยังถูกออกแบบ ให้ ส ามารถปรั บ แก้ ไ ขมุ ม ได้ในแนวด้านข้างซ้ายขวา (Valgus-Varus) ด้านบน ล่ า ง (AP-Angulation) และในแนวแกนหมุ น บาง ส่วน (Some Rotation) บทสรุป

FEF เป็นเครื่องมือที่ ใช้ รักษาภาวะกระดูกหักชนิด หนึ่ ง โดยเฉพาะกระดู ก หั ก บริ เ วณหน้ า แข้ ง เป็ น นวตกรรม ที่ ไ ด้ รั บ การ ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


22 ​ ​ส ม า ค ม ศิ ษ ย์ เ ก่ า แ พ ท ย์ เ ชี ย ง ใ ห ม่

10. มี ค วามแข็ ง แรง เพี ย งพอในการ Hold and Stabilize Reduced Fracture ตลอดการรักษา, มี Rate ของ Pintract Infection น้อยมาก (จาก การติ ด ตามผลการรั ก ษา ผู้ป่วยกว่า 25 ราย)

ออกแบบและผลิตขึ้นมาใช้ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ 1. เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ในการรักษาภาวะกระดูก หัก (โดยเฉพาะกระดูกหัก บริเวณหน้าแข้ง) 2. เพื่อแก้ไขปัญหาใน ทางการแพทย์บางประการ ในการรักษาภาวะกระดูก หั ก ในอดี ต (โดยเฉพาะ กระดูกหักบริเวณหน้าแข้ง) และยิ่งไปกว่านั้น FEF ยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ต อบ สนองการรั ก ษากระดู ก หักดังกล่าวได้ในเกือบทุก มิติ ทั้งทางด้านการแพทย์, ด้านเศรษฐกิจ และสังคม รวมถึ ง ด้ า นจิ ต วิ ท ยาการ รักษาอีกด้วย กล่าวคือ 1. สามารถ Adjust ได้ นอกห้องผ่าตัดโดยไม่ต้อง ดมยาสลบ, Adjust ได้ใน หลายมิ ติ เช่ น AP-Angulation, Valgus-Varus, Rotation และยัง Adjust

Length ได้ดว้ ยโดยสามารถ ทำ � Compression หรื อ Distraction ได้ 2. สามารถลดภาวะ Delayed Union (กระดูก ติ ด ช้ า ), Non-Union (กระดูกไม่ติด), Infection (ภาวะติดเชื้อ), Failed Instrument (ภาวะเครื่องมือ ล้ ม เหลว), ซึ่ ง ภาวะที่ ไ ด้ กล่าวมาเบื้องต้นนั้น พบได้ บ่ อ ยมาก โดยเฉพาะใน โรงพยาบาลทั่วไปในต่าง จั ง หวั ด ที่ นิ ย มรั ก ษาภาวะ กระดูกหน้าแข้งหัก ด้วย การผ่าตัดใส่ Plate/Screw เป็นส่วนใหญ่ ซึ่ ง การที่ ส ามารถลด ภาวะแทรกซ้ อ นดั ง กล่ า ว ได้นั้น นับเป็นการประหยัด งบให้รัฐได้อย่างมาก และ ยังลดปัญหาอื่นๆ ได้มาก อีกด้วย 3. มี ร าคาประหยั ด สามารถลดต้ น ทุ น และ Course ของการรักษาของ

ทั้งภาครัฐ และของผู้ป่วย กับญาติได้อย่างมหาศาล 4. ลดภาวะ Prolong Hospitalization ไม่ มี ปั ญ ห า เ รื่ อ ง ค่ า มั ด จำ � เครื่องมือ (ราคาหลักร้อย) ในขณะที่ของต่างประเทศ ราคาหลักแสน 5. ลดภาวะเสี่ยงของ ทั้งแพทย์ และผู้ป่วยในการ ดมยา และผ่าตัด กล่าวคือ ไม่ต้องมาทำ�หลายครั้ง 6. ภาวะกระดู ก หั ก หายเร็วขึ้น อาจเนื่องจาก Flexiblility ของเครื่ อ ง มือสามารถกระตุ้นให้เกิด Callus ได้ดแี ละเทคนิคการ ผ่าตัดก็เป็นแบบ Minimal Invasive สามารถ Keep Soft Tissue ซึ่ ง มี ค วาม สำ�คัญต่อ Fracture Healing เป็นอย่างมาก 7. เบาและโปร่ง แสง X-Ray ทำ�ให้เคลื่อนไหวขา ได้ดี และไม่บดบัง Fracture Site เมื่อถ่ายภาพ X-Ray

เพื่อติดตามดูผลการรักษา ผู้ป่วย 8. เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี สีสันสวยงาม ผิดแปลกไป จากเครื่องมือเดิมๆ ที่ ใช้ อยู่ซึ่งดูน่ากลัวและเกะกะ เก้ ง ก้ า ง การที่ เ ครื่ อ งมื อ ชนิ ด นี้ ดู ดี จึ ง น่ า จะมี ผ ล ในทางจิตวิทยาการรักษา (ตั ว ท่ อ แกนกลางสี ข าว สะอาดตา ส่ ว นข้ อ ต่ อ สีชมพู-ฟ้า ทำ�ให้ดูมีชีวิต ชี ว าไม่ น้ อ ย) ซึ่ ง จากการ สอบถามผู้ป่วยกว่า 25 ราย และญาติ พบว่าเกินกว่า 80 เปอร์เซนต์บอกว่าดูดี ทำ�ให้ หายเครียด และรู้สึกชอบ อีกด้วย 9. ลดจำ�นวนครัง้ ในการ นอนโรงพยาบาล จึงเป็น การลดการสู ญ เสี ย งบ ประมาณรัฐโดยตรง และ ยังเป็นการลดค่าใช้จา่ ยของ ผู้ ป่ ว ยและญาติ ใ นขณะที่ ผู้ป่วยมานอนโรงพยาบาล อีกครั้งหนึ่ง

จึ ง อาจกล่ า วโดยสรุ ป ได้ว่า FEF เป็นนวัตกรรม ที่ ผ ลิ ต และออกแบบโดย คนไทย สามารถตอบสนอง ต่อการรักษาภาวะกระดูก หัก (โดยเฉพาะกระดูกหน้า แข้ง) ได้เกือบทุกมิติ โดยมี ผลการรักษาเป็นทีน่ า่ พอใจ และสามารถประหยั ด งบ ประมาณแผ่ น ดิ น และ ประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ยของ ภาค เอกชนเอง ได้มาก ส า ม าร ถ แ ก้ ปั ญ ห า ทางการแพทย์บางประการ อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุง ประสิทธิภาพของการรักษา ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น และ scope กว้ า งยิ่ ง ขึ้ น สามารถนำ � มาซึ่งการบรรเทาเบาบาง ของ ปัญหาทางเศรษฐกิจ, สั ง คม และทางจิ ต วิ ท ยา เป็นการช่วยเหลีอประเทศ ชาติ และประชาชนทั้งทาง ตรงและทางอ้ อ มได้ เ ป็ น อย่างมาก

แจ้ง​ข่าว​…​สมาคม​ศิษย์​เก่า​แพทย์​เชียงใหม่​ ​•​ ​ศิษย์​เก่า​ท่าน​ใด​ทปี่​ ระสบ​ความ​สำ�เร็จ​ใน​หน้าที่​การ​งาน​​งาน​อดิเรก​หรือก​ ิจกรรม​ที่​ชอบ​​ต้องการ​เผย​แพร่​ให้​ศิษย์​เก่า​ท่าน​อื่น​ได้​ทราบ​​เพื่อ​เป็น​ตัวอย่าง​อัน​ดี​​ ขอ​ติดต่อ​มา​ที่​สมา​คมฯ​ ​•​ ​ศิษย์​เก่า​ที่​เปลี่ยนแปลง​ที่​อยู่​​กรุณา​แจ้ง​ทอี่​ ยู่​ใหม่​มา​ให้​กับ​ทาง​สมา​คมฯ​​ด้วย​​เพื่อท​ ี่​จะ​ได้​ปรับปรุง​แก้ไข​ใน​ทำ�เนียบ​ศิษย์​เก่า​แพทย์​เชียงใหม่​ต่อ​ไป​ ​ติดต่อ​ได้ที่​:​ สมาคม​ศิษย์​เก่า​แพทย์เ​ชียงใหม่​​คณะ​แพทยศาสตร์​​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม่​​110​​ถนน​อิน​ทว​โร​รส​​ต.​​ศรี​ภูมิ​​อ​.เ​มือง​​จ​.​เชียงใหม่​​50200​ ​โทรศัพท์​​053​-​946291​,​​084​-​8095636​,​​089​-​4349383​​(​จันทร์​-​ศุกร์​​เวลา​​08.00​-​16.00​​น​.​)​​E​-m​ ail​:​​mdalumni​@​mail​.m​ ed​.c​ mu​.​ac​.​th​ ​บรรณาธิการ​: นพ​.ส​ ม​ศักษิ์​​วงษ์​ไวย​เวช​​2307081 ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


23

ส ม า ค ม ศิ ษ ย์ เ ก่ า แ พ ท ย์ เ ชี ย ง ใ ห ม่

นักศึกษาแพทย์ กับการซักประวัตคิ นไข้ ที่ โ รงเรี ย นแพทย์ เ รา สอนนักศึกษาแพทย์ว่าการ ซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้ อ ง ปฏิบัติการ คือ ตรวจเลือด ตรวจปั ส สาวะ และตรวจ อุ จ จาระ จะช่ ว ยให้ เ รา วิ นิ จ ฉั ย โรคได้ เ กื อ บ 80% ของคนไข้ หากถึงจุดนี้แล้ว ยังวินจิ ฉัยโรคไม่ได้ ให้ตรวจ พิเศษต่อไปตามความจำ�เป็น

การซักประวัติ คือ การถามอาการจากผู้ ป่ ว ยเป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ ส่ ว นการถามอย่ า งอื่ น เพิ่ ม เติ ม เป็ น เพี ย งส่ ว น ประกอบ

การถามอาการทีด่ ที �ำ ให้ การวินิจฉัยโรคแม่นยำ�จริง แต่การซักประวัติจะดีหรือ ไม่ขึ้นกับ 1. ผู้ถาม คือ นักศึกษา แพทย์และแพทย์ 2. ผู้ถูกถาม คือ คนไข้ 3. ภาษาพู ด เป็ น สื่ อ ที่ สำ�คัญมาก หากผู้ถามและ ผู้ถูกถามสื่อความหมายไม่ ตรงกัน การวินิจฉัยโรคมัก จะผิด ทีค่ ณะแพทยศาสตร์ โรง พยาบาลนครเชี ย งใหม่ ยุ ค แรก การซักประวัติมีปัญหา มากเพราะ 1. นักศึกษาแพทย์ส่วน ใหญ่ไม่ใช่ “คนเมือง” 2. คนไข้ส่วนใหญ่เป็น

“คนเมืองแท้” 3. ภาษาที่ ใ ช้ จึ ง เป็ น “ภาษากลาง” และ “คำ � เมือง” ทำ�ให้สื่อกันไม่ค่อย จะรู้เรื่อง นักศึกษาแพทย์ ได้รับความ “เอ็นดู” จาก พยาบาล PN นี่แหละช่วย เป็น “ล่าม” ให้ จึงซักประวัติ ได้สำ�เร็จ จึงขอขอบคุณเขา เหล่านั้นเป็นอย่างยิ่งไว้ ณ ที่นี้ด้วย ตำ�รา Symptomatology ของฝรั่งมีคำ�ว่า “Chief Complaint” คือ อาการที่ ทำ�ให้ผปู้ ว่ ยต้องมาพบแพทย์ คำ�นี้แปลว่า “อาการสำ�คัญ” และให้กันมาถึงวันนี้ นศพ.ถูกสอนให้ “ล้วง”

เอาอาการสำ�คัญให้ได้โดย ถามคนไข้เป็นประโยคแรก ว่า “(อ้าย, ปี้) เป็นจะใด จึงมาโฮงยา” ลองคิดดูเถิด หากเราป่ ว ยถู ก ถามเช่ น นี้ จะรู้สึกอย่างไรและจะตอบ ว่าอย่างไร ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม เป็ น นศพ. มาจนถึงวันนี้ ผมไม่เห็นด้วย และไม่ เ คยใช้ คำ � ถามแรก เช่นนั้นกับคนไข้เลย ผมจะ ถามอย่ า งอื่ น ก่ อ น เช่ น ไม่ ส บายเป็ น อย่ า งไรบ้ า ง หรื อไม่ ส บายมากี่ วั น แล้ ว ต่ อ ไปเราก็ จ ะได้ Chief Complaint ไม่ยากและเชื่อ ว่าคนไข้จะไม่ “เสียอารมณ์” อีกด้วย

นพ.สมจิต สุขุประการ รุ่น 3

การซั ก ประวั ติ ที่ ดี ไปเลยว่า “คนไข้ท้องเดิน นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ต้ อ งมี 3-4 ครั้ ง ” ซึ่ ง ผิ ด ความ ค ว า ม รู้ แ ล ะ เ ป็ น ค น จริง นศพ.และแพทย์ฝรั่ง “ขีส้ งสัย” จึงจะได้ประวัติ หรื อ แพทย์ ไ ทยก็ “พอๆ” ที่ ถู ก ต้ อ ง ทำ � ให้ ก าร กั น แหละ ยกเว้ น บางคน เท่ า นั้ น ทำ � ให้ ใ นตำ � รา วินิจฉัยโรคง่ายขึ้น ยกตั ว อย่ า งในคนไข้ ฝ รั่ ง มี อ า ก า ร ท้ อ ง เ ดิ น ไส้ ติ่ ง อั ก เสบเฉี ย บพลั น ในโรคไส้ติ่งอักเสบ ผมอ่านตำ�ราศัลยศาสตร์มา ลองดู อี ก สั ก เรื่ อ งก็ ไ ด้ ก็มากแล้ว มักจะบอกตรง เอาเรื่องประวัติการสูบบุหรี่ กันว่าราว 90% กว่าๆ ของ “อ้าย สูบขี้โยก่” นศพ. คนไข้ มี อ าการ “ท้ อ งผู ก ” ถาม ที่เหลือมีอาการ “ท้องเดิน” “อื๊อ บ่สูบ” แต่ ป ระสบการณ์ ข องผม แล้ ว นศพ.จึ ง บั น ทึ ก ไม่เป็นเช่นนั้น ไม่มีอาการ ประวัตวิ า่ “คนไข้ไม่สบู บุหรี”่ ท้ อ งเดิ น ในไส้ ติ่ ง อั ก เสบ แต่ถ้าเขาเป็นคนละเอียดจะ เฉี ย บพลั น ทำ � ไมจึ ง เป็ น พบความจริงที่เป็นไปได้คือ 1. คนไข้ไม่สูบบุหรี่เลย เช่นนั้น ศ.นพ.ระเบียบ ฤกษ์เกษม จริงๆ อ ดี ต ค ณ บ ดี ค ณ ะ 2. คนไข้ไม่สูบบุหรี่แล้ว แพทยศาสตร์ โรงพยาบาล ตอนนี้ แต่เคยสูบมา 20 ปี นครเชียงใหม่ สอนว่าคนไข้ 3. คนไข้ ไ ม่ สู บ บุ ห รี่ ไส้ ติ่ ง อั ก เสบเฉี ย บพลั น ขณะที่ อ ยู่ ใ นโรงพยาบาล บางคนมีอาการ “รู้สึกอยาก แต่เขาสูบบุหรี่มาตั้งแต่เป็น จะขี้ แต่ขี้ไม่ออก” อาการ เด็ก และเมื่ อ กลั บ บ้ า นได้ นี้ยังไม่เคยอ่านพบในตำ�รา จะสูบอีก ฝรั่งเล่มใดเช่นกัน แต่เป็น ลองไปศึ ก ษาประวั ติ ผู้ ป่ ว ยที่ แ ผนกสถิ ติ ดู เ ถิ ด ความจริง “ตัง้ แต่ปวดท้องมานี่ไปขี้ จะเอาโรคอะไรก็ได้จะรู้สึก “ปวดหัว” กี่เตื้อ” นศพ.ถาม “จั๊ดหลายเตื้อ” คนไข้ ใครรู้วิธีทำ�ให้นักศึกษา แพทย์ “ซั ก ประวั ติ ไ ด้ ดี ” ตอบ ช่วยบอกด้วย แล้วเขาจะได้ “ห้าเตื้อได้ก่อ” เป็ น แพทย์ ที่ ดี ใ นอนาคต “3-4 เตื้อนี่แหละ” นศพ.ไม่ถามต่อว่า “เขา และไม่เสียชือ่ ทีเ่ ป็นศิษย์เก่า ขี้ อ อกหรื อไม่ ” บั น ทึ ก ลง พชม.อีกด้วย ปีที่ 26 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือนสิงหาคม 2554


คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขอเชิญร่วมบริจาค

เพือ่ จัดซือ้ ครุภณ ั ฑ์การแพทย์ อาคารศูนย์ความเป็นเลิศ ทางการแพทย์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราชา ติดต่อบริจาคได้ท:่ี งานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทร. 0 5394 5672


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.