ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มช. ปีที่ 28 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนพฤษภาคม 2556

Page 1

ข่าวสาร​คณะ​แพทยศาสตร์​​มหาวิทยาลัยเ​ชียงใหม่ ปีที่ 28 ฉบับที่ 5 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2556

รับน้อง รถไฟ’56 7

12-13

16

อิ่มใจผู้บรรเลง สุขใจผู้ฟัง

เสน่ห์เมืองแพร่ ดินแดนแห่ง ประวัติศาสตร์

โรควิตกกังวล ในผู้สูงอายุ

2-3 ธารนํ้าใจมอบให้สวนดอก / 4-5 สาระจากการประชุม / 6 นักวิทยาศาสตร์และบรรณาธิการวารสารรวมกันต้านการใช้ Journal Impact Factors / 8-9 งานวิจัยเกี่ยวกับการดื้อยาในเซลล์มะเร็ง / 10-11 รับน้องรถไฟ’56 / 14-15 เรื่องของ “ข้าวต้มมัด” / 17-19 กิจกรรมคณะ / 20 ห้องรับแขก / 21 งานสังสรรค์ แพทย์เชียงใหม่ รุ่นที่ 23 / 22-23 พิธีดำ�หัว ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี


2

พฤษภาคม 2556

ธารนำ�ใจสู่สวนดอก

03/05/56 02/05/56

คุณวารินทร์-คุณผาณิต พูนศิริวงศ์ และเพื่อนๆ ในนามสนามกอล์ฟ เดอะ รอยัลเชียงใหม่กอล์ฟคลับ

มอบเงินบริจาคการจัดการแข่งขันกอล์ฟการกุศล ประจำ�ปี 2556 จำ�นวน 1 ล้านบาท สมทบทุน “กองทุน หมอเจ้าฟ้า” คณะแพทยศาสตร์ มช. โดยมี รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องรับรองสำ�นักงานคณบดี ชั้น 8 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.

02/05/56

คุณซิว้ ฮัว้ แซ่ฮอื -รศ.ดร.นพ.พงษ์รกั ษ์ ศรีบณ ั ฑิตมงคล มอบเงินบริจาคจำ�นวน 50,000 บาท สมทบ

ทุนมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. โดยมี ผศ.ลัดดา เฉลยกิตติ รองคณบดีคณะ แพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2556 ณ หอผู้ป่วยพิเศษ 9 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช.

07/05/56

บริษัท อัลไบร์ท โฮลดิ้งส์ จำ�กัด โดยคุณสมชัย อำ�นวยพรสกุล บริจาคเครือ่ งตรวจอวัยวะภายในและหัวใจ คุ ณ กรพรรณ สาณะเสน ผู้ แ ทนคุ ณ กั น ธนา ด้วยคลื่นความถี่สูง จำ�นวน 1 เครื่อง มูลค่า 950,000 บาท เพื่อใช้ในการวินิจฉัยผู้ป่วยภาวะวิกฤต จินตนาวัฒน์ มอบเงินบริจาค 100,000 บาท สมทบ

ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โดยมี รศ.นพ.สมศักดิ์ เชาว์วิศิษฐ์เสรี ทุนมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ รับมอบ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมบุญสม มช. เพือ่ พระภิกษุสงฆ์อาพาธ โดยมี รศ.นพ.สมศักดิ์ มาร์ติน คณะแพทยศาสตร์ มช. เชาว์วิศิษฐ์เสรี ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ รับมอบ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมบุญสม มาร์ติน คณะแพทยศาสตร์ 09/05/56 มช. กลุ่มปิดทองหลังพระ มอบเงินบริจาค 15,000 บาท ให้ แ ก่ ห อผู้ ป่ ว ยกุ ม ารเวชกรรม 5 เพื่ อ ผู้ ป่ ว ยเด็ ก โรคมะเร็ ง และผู้ ป่ ว ยเด็ ก พั ฒ นาการช้ า โดยมี ศ.นพ.คม สุคนธสรรพ์ รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มอบทุนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาแพทย์: มช. รับมอบ เมือ่ วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 ณ หอผูป้ ว่ ย 1) Prof.Masaru Miki จำ�นวน 200,000 เยน กุมารเวชกรรม 5 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 2) คุณสมภาค-คุณนาฎยา ริเริ่มสุนทร จำ�นวน 40,000 บาท


3

ธารนำ�ใจสู่สวนดอก

20/05/56

พระครูมนูญ ธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดมหาวัน

อ.เมือง จ.เชียงใหม่ มอบเงินบริจาค 10,000 บาท สมทบทุนมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. เพือ่ พระภิกษุสงฆ์อาพาธ โดยมี ศ.นพ.คม สุคนธสรรพ์ รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมือ่ วันที่ 20 พฤษภาคม 2556 ณ หอผูป้ ว่ ยสงฆ์อาพาธ อาคารสุจิตโต คณะแพทยศาสตร์ มช.

15/05/56

มูลนิธโิ รงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. โดย ศ.นพ.คม สุคนธสรรพ์ เลขานุการมูลนิธฯิ บริจาค

เครื่องช่วยหายใจชนิดเคลื่อนที่ จำ�นวน 1 เครื่อง มูลค่า 490,000 บาท ให้แก่หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตศัลยกรรม หัวใจทรวงอกและหลอดเลือด เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2556 ณ หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตศัลยกรรมหัวใจทรวงอก และหลอดเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

10/05/56

บริษัท เอ็ม.วาย.อาร์.คอสเมติคส์ โซลูชั่น จำ�กัด

บริจาคเครื่องตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า จำ�นวน 1 เครื่อง มูลค่า 95,000 บาท ให้แก่หอผู้ป่วยสงฆ์อาพาธ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โดยมี ผศ.นพ.เจษฎา สิงห์เวชสกุล ผู้ช่วยคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2556 ณ หน่วย พิธีการสงฆ์ อาคารสุจิตโต คณะแพทยศาสตร์ มช.

16/05/56

สโมสรโรตารี่ ภาค 3360 โดยผู้ว่าการภาค 3360 และสมาชิก บริจาคเครื่องวัดความโค้งกระจกตา

แบบมือถือ (Retinomax 3) จำ�นวน 2 เครื่อง และอุปกรณ์สำ�หรับใช้ในการตรวจทางจักษุวิทยา ให้แก่มูลนิธิ โรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. โดยมี รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ และประธานมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. 23/05/56 22/05/56

คณะสำ�นักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม่ บริ จ าค

พัดลมตั้งพื้นจำ�นวน 15 เครื่อง มูลค่า 13,000 บาท ให้ แ ก่ ง านการพยาบาลผู้ ป่ ว ยกุ ม ารเวชศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โดยมี ผศ.นพ.เจษฎา สิงห์เวชสกุล ผู้ช่วยคณบดี คณะแพทยศาสตร์ มช. รั บ มอบ เมื่ อ วั น ที่ 22 พฤษภาคม 2556 ณ หอผู้ ป่ ว ยกุ ม ารเวชกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

คุณวิวฒ ั น์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์ มอบเงินบริจาค100,000 บาท

สมทบทุนมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. เพือ่ พระภิกษุสงฆ์อาพาธ โดยมี ผศ.ลัดดา เฉลยกิตติ รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. รับมอบ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุม ชัน้ 8 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.


4

พฤษภาคม 2556

สาระจากการประชุม การประชุม

คณะกรรมการบริหาร ประจำ�คณะแพทยศาสตร์ ครัง้ ที่ 4/2556 วันที่ 15 มีนาคม 2556

รางวัล รังสีแพทย์เกียรติคุณ ประจำ�ปี พ.ศ. 2555

ศ.พญ.มาลั ย มุ ต ตารั ก ษ์ ได้ รั บ

คัดเลือกเป็น “รังสีแพทย์เกียรติคณุ ” คนแรกของประเทศ ซึง่ ราชวิทยาลัย รังสีแพทย์แห่งประเทศไทยได้จดั ขึน้ เพือ่ เชิดชูเกียรติแก่รงั สีแพทย์ทมี่ ผี ลงานทางวิชาการและประวัตกิ ารทำ�งาน ดีเด่น ทั้งนี้ ได้เข้ารับการพระราชทานรางวัลจากพระเจ้าวรวงค์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ในการประชุมวิชาการ นานาชาติ The 16th Congress of ASEAN Association of Radiology ด อ ก ไ ม้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง (AAR 2013) ในวันที่ 21 มีนาคม 2556 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ มหาวิ ทยาลั ย เชี ย งใหม่ ประชุ ม และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ แอทเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ กรรมการบริหาร มช. เห็นชอบให้ ทองกวาวเป็นต้นไม้และดอกไม้ที่จะ ข้ อ บั ง คั บ มช. ว่ า ด้ ว ยเงิ น แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้ไม่เกิน 8 เท่าของ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ช่วยเหลือพนักงานมหาวิทยาลัย อัตราเงินเดือนเดือนสุดท้าย • 10 ปี ป ร ะ จำ � ก ร ณี อ อ ก จ า ก ง า น ขึ้นไป ได้ไม่เกิน 10 เท่าของอัตรา เชียงใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ไ ด้ อ อกข้ อ เงินเดือนเดือนสุดท้าย บั ง คั บ ฯ ณ วั น ที่ 2 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2556 ว่าด้วย เงินช่วยเหลือ ค ว า ม คื บ ห น้ า ก า ร จั ด ทำ � พนักงานมหาวิทยาลัยประจำ�กรณี หลักสูตร วท.ม. และ Ph.D. สาขา ออกจากงาน พ.ศ. 2556 มีสาระ วิชาวิทยาศาสตร์คลินิก คณะฯ มี สำ�คัญว่าสามารถรับเงินช่วยเหลือ ความต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพ กรณีออกจากงาน โดยเบิกจ่ายจาก ของแพทย์ ด้ า นการทำ � วิ จั ย และ เงินของกองทุน ในกรณี ถูกเลิกจ้าง เพิ่มคุณวุฒิของแพทย์ให้เป็นระดับ ค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับ ตาย เกษียณอายุ แต่ไม่มีสิทธิได้รับ ปริญญาเอก ดังนั้น จึงได้มีการเสนอ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย เงินช่วยเหลือในกรณีกระทำ�ความผิด หลักสูตรดังกล่าว ซึ่งขณะนี้ อยู่ใน ดำ � เนิ น การประชุ ม ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง วินัยอย่างร้ายแรง โดยมีการกำ�หนด ระหว่างร่างหลักสูตร โดยทัง้ ปริญญา กำ � หนดค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา อัตราจ่ายตามอายุงาน ดังนี้ • 120 วัน โทและเอกเป็นแบบทำ�วิทยานิพนธ์ แบบเหมาจ่ายเป็นช่วงราคาเสนอให้ แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ไม่เกิน 1 เท่าของ อย่างเดียว ไม่มี course work มหาวิทยาลัยพิจารณา กลุ่มสาขา อัตราเงินเดือนเดือนสุดท้าย • 1 ปี วิทยาศาสตร์สุขภาพ หลักสูตรปกติ แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ไม่เกิน 3 เท่าของ แนวปฏิบัติ ในการขออนุญาต ป.โท 80,000-120,000 บาท ป.เอก อัตราเงินเดือนเดือนสุดท้าย • 3 ปี ลาไปปฏิบัติเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ภาคปกติ 140,000-360,000 บาท แต่ไม่ครบ 6 ปี ได้ไม่เกิน 6 เท่าของ ทางวิชาการ กรณีที่อาจารย์ได้รับ ส่วนหลักสูตรนานาชาติ ภาคปกติ อัตราเงินเดือนเดือนสุดท้าย • 6 ปี อนุมัติให้ลาไปเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ป.โท 270,000-400,000 บาท ป.เอก 400,000-800,000 บาท ผลการคัดเลือกอาจารย์แพทย์เพือ่ มอบโล่ประกาศเกียรติคณ ุ แพทยสภาและรับรางวัลอาจารย์ดีเด่นของคณะฯ เกียรติบัตรการประเมินระดับ คณะกรรมการพิจารณาอาจารย์ดีเด่นด้านการ 5 (ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม) ในสาขาวิ ช า เป็ น แบบอย่ า ง ดำ � เนิ น การพิ จ ารณาแล้ ว สู ติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ น รี เ ว ช วิ ท ย า ผลปรากฏว่ามีผู้ที่สมควรได้รับรางวัลต่างๆ ดังนี้ ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา • รางวัลโล่เกียรติคุณแพทยสภา อาจารย์แพทย์ ได้รับเกียรติบัตรการประเมินระดับ ดี เ ด่ น คื อ รศ.พญ.ประภั ส สร ผาติ กุ ล ศิ ล า 5 (ระดั บ ดี เ ยี่ ย ม) ในสาขาวิ ช า ภาควิ ช าจั ก ษุ วิ ท ยา • รางวั ล อาจารย์ ดี เ ด่ น สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา จากการ คณะแพทยศาสตร์ที่เป็นแบบอย่างชั้นคลินิก คือ ประเมิ น คุ ณ ภาพผลงานวิ จั ย เชิ ง ศ.นพ.วรวิทย์ เลาห์เรณู ภาควิชาอายุรศาสตร์ วิ ช าการด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ • รางวัลอาจารย์ดีเด่นคณะแพทยศาสตร์ที่เป็นแบบอย่างชั้นปรีคลินิก คือ เทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษา ศ.พญ.ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ • รางวัลโล่ ในประเทศไทย ปี 2554 จัดโดย เกียรติคุณแพทยสภา นักศึกษาแพทย์ที่ประพฤติตนดีเด่นในเชิงคุณธรรม สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จริยธรรม คือ นายณัฐพล อึ่งตระกูล นศพ. ปี 6 (สกว.)

ทางวิ ช าการ ต้ อ งรายงานความ ก้าวหน้าทุก 3 เดือน หากไม่ปฏิบัติ ตามเงื่ อ นไขจะเสนออธิ ก ารบดี ภายใน 10 วั น ทำ � การ หากผู้ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ มี ข้ อ ขั ด ข้ อ งไม่ ส ามารถ ดำ � เนิ น การตามโครงการ ให้ รี บ รายงานต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อขอ กลับมาปฏิบัติงานทันที หรือ หากผู้ ได้รบั อนุมตั ไิ ม่ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ ที่กำ�หนด ให้คณะกรรมการบริหาร ประจำ�คณะฯ พิจารณาสั่งให้กลับ เข้าปฏิบตั งิ านตามปกติ หรือตัดสิทธิ ไม่ ใ ห้ ล าเพิ่ ม พู น ความรู้ หรื อ ไม่ พิ จ ารณาเลื่ อ นขั้ น เงิ น เดื อ น หรื อ ลงโทษทางวินัย การประเมิ น ผลการศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษ า แ พ ท ย์ ชั้ น ปี ที่ 2 ปีการศึกษา 2555 • นักศึกษา

แพทย์ ทั้ ง หมด จำ � นวน 253 คน • ถอนกระบวนวิชา จำ�นวน 1 คน • เข้ารับการประเมินผล จำ�นวน 252 คน • GPA < 2.00 จำ�นวน 4 คน • นักศึกษาที่สอบได้ลำ�ดับ ขั้ น สะสมเฉลี่ ย ตลอดปี ก ารศึ ก ษา ตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป สมควรได้รับการ เสนอชื่อเพื่อขอรับเกียรติบัตรรางวัล เรียนดีประจำ�ปี จำ�นวน 66 คน การประเมิ น ผลการศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษ า แ พ ท ย์ ชั้ น ปี ที่ 6 ปีการศึกษา 2555 • นักศึกษา

เข้ารับการประเมินทั้งหมด จำ�นวน 222 คน • นั ก ศึ ก ษาที่ ผ่ า นการ ประเมินทุกระบวนวิชา จำ�นวน 219 คน • นั ก ศึ ก ษาที่ จ บการศึ ก ษา หลังกำ�หนด จำ�นวน 3 คน • ลาพัก การศึกษา จำ�นวน 1 คน • นักศึกษา ทีส่ มควรได้รบั รางวัลเรียนดีประจำ�ปี จำ�นวน 48 คน • นักศึกษาที่สมควร ได้รับการเสนอชื่อเพื่อขอรับปริญญา แพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต เกี ย รติ นิ ย ม คือ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จำ�นวน 34 คน เกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ สอง จำ�นวน 48 คน การเพิ่ ม ประเภททุ น ใหม่ ใ น กองทุนพัฒนาคณะฯ เพื่อเร่งรัด พั ฒ นาคณะฯ มุ่ ง สู่ ก ารเป็ น International Medical School

คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนา


5

สาระจากการประชุม คณะฯ เห็ น ชอบการจั ด ตั้ ง ทุ น Visiting Scholarship/Fellowship/ Professor เพื่ อ เชิ ญ ผู้ เ ชี่ ย วชาญ ชาวต่ า งประเทศ มาทำ � งาน ครอบคลุมทัง้ งานสอน วิจยั บรรยาย และสร้างเสริมความรู้ประสบการณ์ ในการทำ�งานที่คณะฯ ในระยะสั้น และให้ทุนสนับสนุนสำ�หรับอาจารย์ ของคณะฯ ไปเป็ น อาจารย์ ส อน วิจัย ในลักษณะเดียวกันในสถาบัน ต่างประเทศ ซึ่งจะได้ร่างหลักเกณฑ์ และดำ�เนินการต่อไป ทุ น สมทบสำ � หรั บ อาจารย์ แพทย์ทสี่ มัครขอรับทุนคณะฯ และ สอบผ่าน USMLE คณะกรรมการ

บริหารกองทุนพัฒนาคณะฯ เห็นชอบ การจัดสรรทุนกองทุนพัฒนาคณะฯ ให้เป็นทุนสมทบ สำ�หรับอาจารย์ แพทย์ที่สมัครขอรับทุนคณะฯ และ สอบผ่าน USMLE จนได้รับ ECFMG Certificate ซึง่ ใช้วงเงินทุนละไม่เกิน 200,000 บาท ผลการพิจารณาจัดสรรทุน

• กองทุนพัฒนาคณะฯ 1) โครงการ

แลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาแพทย์ กั บ สถาบันต่างชาติ 2) ทุนต่างประเทศ ได้แก่ อ.นพ.ธิติพงศ์ เทพสุวรรณ ภาควิชาศัลยศาสตร์, อ.นพ.รุ่งโรจณ์ เนตรศิ ริ นิ ล กุ ล ภาควิ ช ากุ ม าร เวชศาสตร์ , นส.กั ล ยา ชื่ น ใจ ฝ่ า ยการพยาบาล รั บ ทุ น สมทบ 3) ทุนในประเทศ ได้แก่ นส.เกศนภา ชาตินํ้าเพ็ชร ภาควิชารังสีวิทยา, นางพันธนา ไชยนวล งานธนาคาร เลื อ ด, นายณั ฐ พงศ์ ไชยลั ง การ์ ฝ่ายเภสัชกรรม 4) ผู้รับทุนตำ�แหน่ง พยาบาล สังกัดฝ่ายการพยาบาล จำ�นวน 10 ทุน ได้แก่ นางสินีนาถ วิสุทธิสังวร, นางสุวิไล แสงวัณณ์, นส.สุดธิดา ยอดเมือง, นายบัญชา มณีคำ�, นส.วาสนา วงศ์ประเสริฐ, นส.ลัดดาวัลย์ ภีระคำ�, นส.พิมพ์พชิ ชา ราษฎร์นยิ ม, นางฟองจันทร์ วงค์คม, นางสาริศา อิสสระ และ นส.จุฑารัตน์ วงศ์ คำ� • ทุ น พั ฒ นาบุ ค ลากร อ.พญ.วราลี ตียาสุนทรานนท์ และ อ.นพ.ธนพ ศรีสุวรรณ ภาควิ ชา รังสีวิทยา • ทุนศิษ ย์เก่าแพทย์ เชียงใหม่ อ.นพ.กสิสิน กลั่นกลิ่น ภาควิชาออร์โทปิดิกส์

หนังสือ “คำ � เมื อ งในเวชปฏิบัติ” คณะอนุกรรมการส่งเสริม

การพูดและความเข้าใจคำ�เมืองล้านนา ได้จัดทำ�หนังสือ “คำ�เมืองในเวชปฏิ บั ติ ” ซึ่ ง ได้ คั ด เอาคำ � เมื อ งที่ เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย อาการ เจ็บป่วย และโรคต่างๆ จากหนังสือ ภาษาคำ�เมือง รวมถึงคำ�ที่ใช้บ่อย ทางคลิ นิ ก นำ � มาจั ด เป็ น คำ � ศั พ ท์ พร้อมความหมาย ซึ่งได้มอบให้แก่ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ชั้ น ปี ที่ 4 ในวั น ปฐมนิเทศด้วย คณะผู้จัดทำ�ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ปรึกษา: คณบดีคณะแพทยศาสตร์ • ผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์สายวิชาการและปฏิบัติงาน บรรณาธิการบริหาร: ผศ.ลัดดา เฉลยกิตติ ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร: ผศ.นพ.ธนินนิตย์ ลีรพันธ์ บรรณาธิการ: รศ.ดร.นิมิตร มรกต กองบรรณาธิการ: รศ.พญ.ยุพา สุมิตสวรรค์

สาร จากคณบดี ดือนพฤษภาคม 2556 พวกเรากลับมาทำ�งานหนักอีกครั้งหนึ่ง หลังจากเดือนเมษายน ซึง่ เป็นเดือนแห่งการพักผ่อน พาครอบครัว ไปเทีย่ วชายทะเลช่วงสงกรานต์ และประชุมราชวิทยาลัยประจำ�ปี ตามสถานที่ท่องเที่ยวชายทะเล เปิดเทอมปีการศึกษาใหม่ อาจารย์ ทุกท่านกำ�ลังยุ่งกับการเรียนการสอน ทั้งบรรยายและการสอน ข้างเตียงผู้ป่วย ​ คณะแพทยศาสตร์ของเรากำ�ลังเดินหน้าเชือ่ มความสัมพันธ์กบั ประเทศต่างๆ ในอาเซียนตอนบน เราไม่รอถึงปี 2558 เราเริ่มเชื่อม ความสัมพันธ์ในตอนนี้เลย ปีหน้าที่จะถึงนี้เราจะเห็นชาวต่างชาติ เดินในสวนดอกมากกว่าเดิม เราจะใช้ภาษาอังกฤษในการสือ่ สารมากขึน้ ขอให้พวกเราเปิดใจรองรับชาวต่างชาติ อาจจะทำ�ให้การทำ�งานของเรา เปลี่ยนไป เราต้องพูดภาษาอังกฤษกันมากขึ้น ​ อีกประการหนึ่งคือคณะกำ�ลังเร่งวางระบบ IT ของคณะและ โรงพยาบาลให้ลดการใช้แรงงานของพวกเรา ทำ�ให้พวกเราสบายขึ้น และในการเปลี่ยนแปลงอะไรใหม่ๆ อาจจะเกิดความไม่คุ้นเคยก็ขอ ให้พวกเราอดทน เมื่อเวลาผ่านไปเราใช้ได้คล่องขึ้น ก็จะไม่รู้สึกเป็น ปัญหาอีกต่อไป

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วฒ ั นา นาวาเจริญ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วิสัยทัศน์: ค​ ณะ​แพทยศาสตร์​​มหาวิทยาลัยเ​ชียงใหม่​

เป็น​สถาบันท​ างการ​แพทย์​ชั้นน​ ำ�​ระดับ​มาตรฐาน​สากล​

• ศ.นพ.คม สุคนธสรรพ์ • รศ.พญ.จันทิมา เอื้อตรงจิตต์ • อ.พญ.วรลักษณ์ สัปจาตุระ • อ.นพ.สมศักดิ์ วงษ์ไวยเวช • ประธานองค์กรแพทย์ • หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล พ​ ันธกิจ​: • หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม • เลขานุการคณะแพทยศาสตร์ • หัวหน้างานบริหารทั่วไป • หัวหน้างานบริการการศึกษา • หัวหน้างานนโยบายและแผน • หัวหน้างานประกันคุณภาพ ​ผลิต​บัณฑิต​ที่​มี​คุณภาพ​​คุณธรรม ​เป็นส​ ากล​ การศึกษา • หัวหน้างานบริหารงานวิจยั • หัวหน้างานโภชนาการ • หัวหน้างานเลขานุการโรงพยาบาล สร้างสรรค์​งาน​วจิ ยั ​​เพือ่ ช​ น้ี ำ�​ดา้ น​สขุ ภาพ​ให้บ​ ริการ​ท่​ไี ด้ม​ าตรฐาน​​ • หัวหน้างานประกันสังคม ฝ่ายจัดการ: หัวหน้างานประชาสัมพันธ์และคณะ ส่งข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ/ติดตามอ่านได้ที่ www.med.cmu.ac.th/pr/news

ทำ�นุ​บำ�รุงศิลป​​วัฒนธรรม​และ​​สิ่ง​แวดล้อม


6

พฤษภาคม 2556

วิชาการน่ารู้

นักวิทยาศาสตร์ และบรรณาธิการ วารสารรวมกันต้าน การใช้ Journal Impact Factors

ออกจาก review article ค่า JIF เบ้จากการ อ้างเอกสารที่มีจำ�นวนอ้างอิงสูงไม่กี่เรื่อง และ ทำ � ให้ วารสารไม่ ตีพิ มพ์เ รื่องในสาขาที่ผู้ ค น ไม่สนใจ เช่น นิเวศวิทยา

ทความของ Jocelyn Kaiser ใน Science ฉบับ 16 พฤษภาคม 2556 เล่าให้ฟังว่า นักวิทยาศาสตร์กว่า 150 คน 75 กลุม่ ทัว่ โลก รวมกันต่อต้านการวัด ค่าของผลงานโดยใช้ Journal Impact Factors (JIF) ซึ่งพวกเขาเห็นว่านักวิจัยควรได้รับการ ประเมินจากเนื้อหางานวิจัยที่ตีพิมพ์มากกว่า ดูว่าตีพิมพ์ที่วารสารใด JIF เริ่มโดยบริษัท Thomson Reuters ตัง้ แต่ พ.ศ. 2493 เพือ่ ให้หอ้ งสมุดได้ใช้ประกอบ การตัดสินใจในการสั่งซื้อวารสาร แต่ปัจจุบัน มี ส ถาบั น ต่ า งๆ นำ � มาใช้ ป ระเมิ น คุ ณ ภาพ ผลงานนักวิจยั ปัญหาคือ JIF ไม่แยกงานวิจยั แท้

การประชุมประจำ�ปีของ The American Society for Cell Biology (ASCB) ในเดือน ธันวาคมที่ผ่านมา จึงเกิด the San Francisco Declaration on Research Assessment (DORA) ซึ่งเสนอว่า เป็นเรื่องสำ�คัญที่ผลงาน ทางวิ ท ยาศาสตร์ ไ ด้ รั บ การประเมิ น อย่ า ง เที่ยงตรงและฉลาด จึงแนะนำ�ให้ประชาคม วิจัยเลิกใช้ JIF ในการสนับสนุนทุน จ้างงาน หรือเลื่อนตำ�แหน่ง งานนี้บรรณาธิการวารสาร กล่าวว่าไม่ได้ตำ�หนิ Thompson Reuter แต่ เห็นว่าประชาคมวิจัยใช้ JIF ในทางที่ผิดแค่นั้น ใน DORA แนะนำ�ให้หน่วยงานที่ให้ทุน วิจัยให้ความสำ�คัญแก่เนื้อหางานวิจัยมากกว่า

ดูว่าจะตีพิมพ์ในวารสารใด หรือค่า JIF และ ควรมองถึงตัววัดเชิงคุณภาพของผลกระทบที่ สำ�คัญของงานวิจัยด้วย เช่น ผลต่อนโยบาย และสังคม ตัวอย่างแนวทางใหม่ เช่น ผู้อำ�นวยการ National Cancer Institute วางแผนนำ�ร่อง ที่จะให้นักวิจัยเขียนประวัติตนเองในการขอ รับทุนโดยกล่าวถึงงานวิจัยของตนเองที่เห็นว่า เด่นที่สุดแทนที่จะเขียนแค่ชื่อผลงาน ในทาง เดียวกัน the National Science Foundation เพิ่งเปลี่ยน Biosketch Guidelines ให้เน้น “Products” เช่น Data Sets เพิ่มจากรายชื่อ Papers Thomson Reuters ให้ขอ้ คิดเห็นว่า “ไม่มี ตัววัดใดที่ครอบคลุมภาระงานของนักวิจัยได้ และควรคำ�นึงถึงตัววัดรูปแบบอื่นด้วย”

จาก http://news.sciencemag.org/scienceinsider/2013/05/call-to-abandon-journalimpact-f.html?ref=hp เข้าชม 19 พฤษภาคม 2556 Download Declaration ได้จาก http:// am.ascb.org/dora/

หนังสือใหม่ห้องสมุด 1 : ระบบประสาทและการทำ�งาน = Functional neuroanatomy

1

2

3

Author: สมนึก นิลบุหงา CALL#: QM 451 ส165ร 2555 2 : เพิ่มอัจฉริยะเป็น 2 เท่า เสริมความคิดให้รํ่ารวย Author: ภูวเดช สินพงศพร CALL#: BF 637.S8 ภ247พ 2553 3 : ปันนาล้านนา = A Journey through Lanna Author: ดุษฎีพันธุ์ พจี บรรณาธิการ CALL#: DS 558.N6 ป215 2555 4 : เวชศาสตร์นิวเคลียร์พื้นฐาน = Basic nuclear medicine Author: อลิสา คล้ายเพ็ชร, มลฤดี เอกมหาชัย, ศิรอิ นงค์ นามวงศ์พรหม บรรณาธิการ CALL#: WN 440 ว252 2554 5 : ชีวผลิตภัณฑ์ทางยา Author: มะลิ วิโรจน์แสงทอง และคณะ CALL#: QW 800 ช237 2552

ตรวจสอบรายชื่อหนังสือใหม่ ประจำ�เดือนทั้งหมดได้ที่ www.med.cmu.ac.th/ library/Newbook 4

5


7

ศูนย์ศรีพัฒน์

อิ่มใจ ผู้บรรเลง สุขใจผู้ฟงั นช่วงพักทานอาหารกลางวันของทุกวัน เมื่ อ เดิ น ผ่ า นชั้ น ใต้ ดิ น ศู น ย์ ศ รี พั ฒ น์ ฯ เรามักจะได้ยินเสียงบรรเลงดนตรีในท่วง ทำ�นองหวานซึ้ง จับใจ บางครั้งเป็นจังหวะ สนุกสนาน ชวนให้ครึกครืน้ จนบางคนนึกครึม้ ใจ สะบัดไม้สะบัดมือตามท่วงทำ�นอง จนวันหนึ่ง ความสงสัยใคร่รู้ก็ชักนำ�สองเท้าให้เดินไปตาม เสียงบรรเลงนั้น พบว่าเป็นกลุ่มคนที่มีใจรักใน ดนตรีพื้นเมือง รวมทั้งต้องการสืบสานศิลปวัฒนธรรมล้านนา ให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลาน สืบไป มารวมตัวกันเพื่อบรรเลงท่วงทำ�นอง อันไพเราะ โดยมี ว่าที่ ร.ต.สะหรียศ ณ ศะวิพรวุษหิม หรือครูต๋อม ซึ่งจบจากวิทยาลัย นาฏศิลป์เชียงใหม่ มาเป็นผู้สอน

ชมรมดนตรีพื้นเมืองศูนย์ศรีพัฒน์ฯ ก่อ กำ�เนิดจากแนวคิดของท่านรองผู้อำ�นวยการ รศ.พญ.รัตนา พันธ์พานิช ทีเ่ ล็งเห็นความสำ�คัญ ของดนตรี ที่สามารถช่วยปรับสภาพจิตใจ ให้อยู่ในสภาวะสมดุล มีมุมมองในเชิงบวก ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความวิตกกังวล กระตุน้ เสริมสร้าง และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ และความจำ� อีกทั้งดนตรีพื้นเมือง ถือเป็น

ศิลปวัฒนธรรมของคนท้องถิ่น (ล้านนา) ที่จะ ต้องสืบสานและอนุรักษ์ไว้ ระยะเวลา 2 ปีของการจัดตัง้ ชมรมดนตรี พื้ น เมื อ งศู น ย์ ศ รี พั ฒ น์ ฯ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า บุคลากรของเรามีใจรักในเสียงดนตรี และมี ความสามารถ จากคนทีไ่ ม่มพี นื้ ฐานในการเล่น ดนตรีเลย ก็ยังสามารถเรียนรู้และร่วมบรรเลง ได้อย่างไพเราะ โดยศูนย์ศรีพัฒน์ฯ ได้จัดซื้อ เครื่องดนตรีเพื่อให้สมาชิกชมรมได้ฝึกซ้อม ดังนี้ สล้อใหญ่ สล้อกลาง สล้อเล็ก ซึงใหญ่ ซึงกลาง ซึงเล็ก ขลุ่ยพลาสติก และขิมปีกผีเสื้อ ซึ่งจะมีช่วงเวลาฝึกซ้อม โดยครูต๋อม จะมาสอนทุกวันพุธและวันศุกร์ เวลา 11.0013.00 น. แต่สมาชิกชมรมดนตรีพื้นเมือง ก็มักจะนัดมาซ้อมกันเองในช่วงพักเที่ยงของ ทุกวัน นั่นเป็นเหตุผลว่าทำ�ไมทุกช่วงเวลา พั ก เที่ ย ง เราจึ ง ได้ ยิ น เสี ย งบรรเลงดนตรี ที่ ไพเราะ ขับกล่อมยามทานอาหาร กินไป ฟังไป เพลินหู แถมเจริญอาหารดีนักแล และแล้ววันแห่งการโชว์กม็ าถึง พิธดี �ำ หัว ผู้อาวุโสศูนย์ศรีพัฒน์ฯ (24 เมษายน 2556) ชมรมดนตรี พื้ น เมื อ งของเรา ก็ มี โ อกาส แสดงบนเวที สมาชิกแต่ละท่านต่างโชว์ลีลา เล่นดนตรีทพี่ ลิว้ ไหว ราวกับได้เรียนมาเป็นสิบปี พร้อมใบหน้าอิ่มเอิบกับการได้บรรเลงดนตรี อันเป็นที่รัก ความสุขของผู้บรรเลงแต่ละคน ได้สง่ ผ่านมายังผูฟ้ งั ทำ�ให้บรรยากาศในวันนัน้

เต็มไปด้วยความชื่นมื่นรื่นรมย์ ครั้นเสียงเพลง จบลง เสียงปรบมือกึกก้องก็ดังขึ้น ทั้งชื่นชม ประทับใจและไม่น่าเชื่อว่าบุคลากรของเรา จะสามารถบรรเลงได้ไพเราะเสนาะหู ดุจดัง มืออาชีพ ผู้บริหารทุกคนล้วนชมเชยในความ ตัง้ ใจและความพยายามของสมาชิกชมรมดนตรี พื้นเมืองศูนย์ศรีพัฒน์ฯ ที่ฝึกซ้อม ฝึกหัด และ ฝึกฝน จนเกิดวงดนตรีทสี่ อดประสาน ร้อยเรียง กันได้อย่างกลมกลืน โดยอาจเรียกปรากฏการณ์ นี้ว่า “อิ่มใจผู้บรรเลง…สุขใจผู้ฟัง”


8

พฤษภาคม 2556

คนเก่งสวนดอก

งานวิจยั เกีย่ วกับการ ดือ้ ยาในเซลล์มะเร็ง รศ.ดร.พรงาม เดชเกรียงไกรกุล

างกลุม่ วิจยั ของภาควิชา ชี ว เคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ได้วิจัยและพัฒนากลุ่ม ยาที่เรียกว่า Targeting Therapy คื อ การรั ก ษาไปยั ง ที่ โ มเลกุ ล เป้าหมายหรื อ การให้ ย ารัก ษาที่ เจาะจงเซลล์มะเร็ง

การดื้อยาเป็นกลไกอันหนึ่ง ของเซลล์มะเร็งที่พยายามต่อต้าน ยารักษามะเร็งเพื่อความอยู่รอด ของเซลล์ โดยสร้างโปรตีนขับไล่ ยาเพิ่ ม ขึ้ น บนผิ ว เยื่ อ หุ้ ม เซลล์ โปรตีนกลุ่มนี้เรียกว่ากลุ่มโปรตีน

ขนส่งชนิดเอบีซี มาจากคำ�ว่า ATP Binding Cassette Protein ทำ�หน้าที่ เหมือนปั้มนํ้าต้องอาศัยพลังงาน ATP ในการขั บ ไล่ ย าออกนอก เซลล์แบบ Active Transport ซึ่ง ประกอบด้ ว ยโปรตี น หลายชนิ ด ด้วยกัน และมีรายงานแสดงถึง โปรตีนกว่า 20 ชนิดในกลุม่ เอบีซนี ี้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ โรคต่ า งๆ รวมทั้ง โรคมะเร็ง โรคถุงลมปอด โป่งพอง โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคเกาท์ หรื อ โรคที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ การขนส่ ง คลอเรสเตอรอล ผิดปกติ

การศึ ก ษาเชิ ง ชี ว เคมี แ ละ อณู ชี ว วิ ท ยาของการทำ � งาน โปรตี น ขนส่ ง เอบี ซี ตั ว ที่ สำ � คั ญ และพบบ่อย คือ โปรตีน Pgp (ABCB1), MRP1 (ABCB2) และ MXR (ABCG2) ทำ�ให้เข้าใจการ ทำ�งานของมันมากขึ้น โดยวิจัย ตั ว ยั บ ยั้ ง การทำ � งานของโปรตี น กลุ่ ม นี้ ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ห ลั ก คื อ เป็ น เอนไซม์ สลาย ATP หรื อ เป็ น ATPase นั่ น เอง โดยบน โมเลกุ ล มี โ ดเมนที่ ใ ห้ สั บ สเตรท หรือยาสารเคมีต่างๆ จับ ซึ่งมัก อยู่ บ ริ เ วณ Transmembrane Domain คื อ ส่ ว นที่ ฝั ง ตั ว อยู่ ในชั้ น ไขมั น ของเยื่ อ หุ้ ม เซลล์ และมี โ ดเมนที่ ใ ห้ ATP มาจั บ ซึ่ ง มี ตำ � แหน่ ง อยู่ แ ถวเมมเบรน ชั้นในของเยื่อหุ้มเซลล์ การศึกษา ทางชี ว เคมี เ กี่ ย วกั บ เอนไซม์ นักชีวเคมีพยายามค้นหาตัวยับยั้ง หรือ Inhibitor และบริเวณที่มันจับ บนโมเลกุลของเอนไซม์

ดั ง นั้ น จึ ง มี ก ารพั ฒ นาสาร เคมี ทั้ ง จากการสั ง เคราะห์ แ ละ จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพือ่ ดูการ ทำ�งานของเอนไซม์กลุ่มนี้ และถ้า การยับยั้งเกิดขึ้น นั่นก็หมายถึง ยารักษามะเร็งจะถูกขับออกนอก เซลล์น้อยลง ทำ�ให้คงอยู่ภายใน เซลล์ได้นานขึ้น และการทำ�ลาย เซลล์มะเร็งจึงเพิ่มประสิทธิภาพ มากขึ้น ยกตัวอย่างกลุ่มยาเคมี บำ�บัด Imatinib หรือ ชือ่ ทางการค้า คือ Gleevec ในการรักษาโรคมะเร็ง เม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด CML นั้ น สามารถยับยั้งโปรตีนขนส่งเอบีซี ได้เช่นกัน ทั้งชนิด Pgp และชนิด ABCG2 โดยจับที่ Substrate Binding Site แต่ไม่จับที่ ATP Binding Site ซึ่งมีกลไกที่แตกต่างกับการ กระทำ�ต่อโปรตีนกลุ่ม Tyrosine Kinase ได้แก่ EGFR ซึ่งยา กลุ่ม Imatinib นี้ จะจับทีโ่ ดเมน Kinase บริเวณที่สามารถจับได้กับ ATP งานวิ จั ย นี้ ไ ด้ ศึ ก ษาผลิ ต ภั ณ ฑ์


9

คนเก่งสวนดอก

รศ.ดร.พรงาม เดชเกรียงไกรกุล ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มช.

ธรรมชาติหลายตัวด้วยกันที่เป็น ตัวยับยั้งโปรตีนขนส่งยาเอบีซีนี้ ตัวสำ�คัญได้แก่ Curcumin ซึ่งพบ ว่ายับยั้งทั้งชนิด Pgp (ABCB1), MRP1 (ABCB2), MXR (ABCG2) โดยแย่งจับกับยาเคมีบำ�บัดแบบ แข่งขันบริเวณ Substrate Binding Site และไม่มีผลต่อ ATP Binding Site มีลักษณะเช่นเดียวกันกับยา กลุ่ม Tyrosine Kinase Inhibitors ปัจจุบันมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด CML ที่ดื้อต่อยา Gleevec ก็จะ ได้รับยาใหม่ คือ Nilotinib เป็นที่ น่าสนใจเมือ่ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สหรั ฐ อเมริ ก า พบว่ า ยาใหม่ นี้ ก็ ส ามารถยั บ ยั้ ง การทำ � งานของ โปรตี น ขั บ ไล่ ย าเช่ น เดี ย วกั น กั บ ยับยัง้ โปรตีนกลุม่ Tyrosine Kinase พวก EGFR เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ แ พทย์ ที่ ส ถาบั น มะเร็ ง ทำ � งานร่ ว มกั บ สถาบั น NCGC (National Clinical Guideline Centre) และ NIH (National Institute of Health) ได้พัฒนา อนุพันธ์ของยากลุ่มนี้ถึง 26 ตัว เพื่อศึกษาการทำ�งานในการยับยั้ง โปรตีนทั้งสองกลุ่ม คือ กลุ่มเอบีซี โดยเน้นเฉพาะอย่างยิ่ง Pgp และ ABCG 2 และโปรตีนกลุ่ม EGFR Tyrosine Kinase ว่าอนุพนั ธ์ตวั ไหน Selective ที่ จ ะยั บ ยั้ ง กลุ่ ม ใด กลุ่มหนึ่งเพียงอย่างเดียวเพื่อชี้นำ�

ถึ ง โครงสร้ า งทางเคมี ที่ สำ � คั ญ ในการทำ�หน้าที่ดังกล่าว สำ�หรับ Curcumin พบว่ายับยั้งโปรตีน ขนส่ ง ยากลุ่ ม เอบี ซี ไ ด้ ดี ม ากใน ความเข้มข้นตํ่ามากในช่วงพิกัด นาโนโมล่ า ร์ ขณะนี้ ท างห้ อ ง ปฎิบัติการของเราได้ร่วมงานกับ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในการพัฒนาอนุพันธ์ของ Curcumin และวิ จั ย เปรี ย บเที ย บ คุณสมบัติดังกล่าวอยู่ การดื้อยา ใ น เ ซ ล ล์ ม ะ เ ร็ ง เ มื่ อ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ ยาเคมี บำ � บั ด ชนิ ด หนึ่ ง แล้ ว ก็จะตามด้วยการดื้อยาเคมีบำ�บัด หลายขนานตามมา จึงเรียกว่า MDR (Multidrug Resistance) ซึ่ ง ทางห้ อ งปฎิ บั ติ ก าร ได้ ค วามร่ ว มมื อ จากแพทย์ ผู้ เชี่ยวชาญด้านการดื้อยาในผู้ป่วย

โรคมะเร็ง Dr.Michael Gottesman, Dr.Susan Bates และ Dr.Suresh Ambudkar ที่สถาบัน มะเร็ ง แห่ ง ชาติ สหรั ฐ อเมริ ก า ในการวิ จั ย หาสารที่ เ ป็ น MDR Modulators หรือ สารยับยั้ง MDR รวมทั้งการวิจัยฤทธิ์ทางชีวภาพ อีกหลายด้านของ Curcumin โดย ร่วมวิจัยกับ Dr.Aggarwal ที่ MD Anderson Medical Center การศึกษาโดยสถาบันทั้งสองแห่ง และที่โรงเรียนแพทย์อื่นๆ ในการ นำ� Curcumin ไปใช้ในผูป้ ว่ ยมะเร็ง เป็นระยะ Phase I แล้ว พบว่าผูป้ ว่ ย ที่ได้รับ Curcumin ร่วมกับยาเคมี บำ�บัดการตอบสนองต่อการรักษา มี แ นวโน้ ม ดี ขึ้ น ในผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง ตับอ่อน มะเร็งลำ�ไส้ใหญ่ มะเร็งเต้านม และ ลิวคีเมีย อย่างไร

ก็ตามปัญหาสำ�คัญของการได้รับ Curcumin นั้น คือ ต้องได้รับ ปริ ม าณมาก 8-12 กรั ม ต่ อ วั น ถึงแม้ว่าการวิจัยชี้นำ�ว่าปลอดภัย ในระยะ 3-6 เดือน แต่ในการ ทานต่อเนื่องกัน มีผลข้างเคียง จากคลื่นไส้ อาเจียน และท้องเสีย การต้องรับเข้าไปมากเป็นเพราะ ดูดซึมได้นอ้ ย ส่วนใหญ่ถกู ขับออก มามากกว่า 80% ที่ทานเข้าไป จึ ง มี ก ารวิ จั ย แก้ ปั ญ หาด้ า นนี้ โดยการให้ร่วมกับสาร Piperine ที่ พ บในพริ ก ไทยดำ � ทางห้ อ ง ปฎิ บั ติ ก ารได้ อ อกแบบแก้ ไ ข โดยพยายามทำ � ในรู ป อนุ ภ าค นาโนที่ เ ก็ บ กั ก Curcumin ไว้ภายใน และค่อยๆ ปล่อยออก มาช้ า ๆ ในเลื อ ด เพื่ อ ให้ Curcumin อยู่ ใ นกระแสเลื อ ด ได้นานขึ้น นอกจาก Curcumin แล้ว ยังได้วิจัยสารอื่นๆ อีกหลายตัว ด้วยกัน เช่น Kuguacin J จาก มะระขี้นก โดยร่วมงานวิจัยกับ แพทย์ที่ Nagoya City University และ สาร Stemofoline จากหนอน ตายยาก โดยร่วมงานกับนักเคมี Dr.Stephen Pyne ที่ University of Wollongong, Australia เป็นต้น สารแต่ละตัวถูกนำ�มาศึกษาวิจัย ถึง Targeting Therapy ต่อโปรตีน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การส่ ง สั ญ ญาณ ระดับเซลล์ ทางภาควิชาชีวเคมี คณะ แพทยศาสตร์ มช. ขอขอบคุณ ทุ น วิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ จากสภาวิ จั ย แห่งชาติ สำ�นักงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคแห่งชาติ กองทุนพัฒนาคณะแพทยศาสตร์ และทุนกาญจนาภิเษก ที่ให้การ สนับสนุนงานวิจัยต่างๆ ในด้านนี้ จนมี ผ ลงานตี พิ ม พ์ ใ นวารสาร ระดับนานาชาติ ฐาน Pubmed ในช่วง 5 ปีหลังจำ�นวน 32 เรื่อง


10

พฤษภาคม 2556

สโมสรนักศึกษา

รับน้อง รถไฟ’56 วัสดีครับ เดือนพฤษภาคม นี้นับได้ว่าเป็นเดือนแห่ง การรั บ น้ อ งใหม่ ห รื อ ที่ เรี ย กกั น ติ ด ปากว่ า “ เฟรชชี่ ” รุ่ น พี่ ใ นแต่ ล ะชั้ น ปี ต่ า งก็ ตื่ น เต้ น ที่ จ ะได้ มี ส มาชิ ก ในครอบครั ว แพทยศาสตร์ เ พิ่ ม อี ก กว่ า 250 ชีวิต หนึ่งในงานรับน้องใหม่ของ คณะแพทยศาสตร์ แ ละของทุ ก คณะในมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ที่ขาดไม่ได้เลยนั่นก็คือ ประเพณี การรับน้องรถไฟ ซึ่งเป็นประเพณี ที่ อ ยู่ คู่ ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มานานเป็นเวลาหลายสิบปี มีการ กล่ า วถึ ง กิ จ กรรมนี้ ใ นมุ ม มองที่ แตกต่างกันออกไป แต่สิ่งที่ทุกคน เห็ น พ้ อ งต้ อ งกั น คื อ ความเป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ ถึ ง แม้ ใ นปั จ จุ บั น

นักศึกษาส่วนใหญ่จากต่างถิน่ ทีม่ า ศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จะไม่ได้ใช้รถไฟเป็นเส้นทางหลัก

ในการเดินทางแล้ว แต่กจิ กรรมดีๆ แบบนี้ก็ยังคงได้รับการสนับสนุน และสื บ ทอดต่ อ ไป ในโอกาสนี้ ผมขอนำ � ประสบการณ์ จ ากการ รับน้องรถไฟจากนักศึกษาแพทย์ คนหนึ่งมาเล่าสู่กันฟังครับ “และแล้ววันที่ฉันจะได้เป็น ส่ ว นหนึ่ ง ของประเพณี ดั ง กล่ า ว ก็ ม าถึ ง รุ่ น พี่ นั ด ให้ ม าเจอกั น ที่ สถานีรถไฟหัวลำ�โพง ตอนช่วง สายๆ วันนั้นหัวลำ�โพงคึกคักมาก มี แ ต่ เ สี ย งพู ด คุ ย เสี ย งกลอง และเสียงร้องเพลง ฉันจำ�ได้ว่า วั น นั้ น ต ร ง กั บ วั น ที่ เ พื่ อ น ที่ โรงเรียนของฉันไม่ว่างเลยสักคน เพราะเป็ น วั น ที่ มี ก ารนั ด ไปทำ � กิ จ กรรมของมหาวิ ท ยาลั ย ของ ตัวเอง ฉันจึงได้แต่นั่งมองกลุ่ม เพือ่ นของบรรดาเพือ่ นใหม่ทยี่ นื คุย ถ่ายรูป รํ่าลา หัวเราะและร้องไห้ ไปพร้อมๆ กัน”

“เมื่อเข้าช่วงบ่ายแก่ๆ ใกล้ ถึงเวลาที่ต้องขึ้นรถไฟ รุ่นพี่จึง ให้ น้ อ งๆ ทยอยเดิ น ไปที่ โ บกี้ ของคณะ ตอนนั้นเองที่เพื่อนๆ ที่ โ รงเรี ย นโทรมาบอกว่ า กำ � ลั ง จะมาหา ฉันดีใจมากแต่ก็กังวลไป ในเวลาเดียวกันว่าพวกเขาจะมา ทันเวลารถไฟออกไหม และแล้ว ฉันก็เห็นพวกเขาวิ่งมา เราคุยกัน กอดกั น ถ่ า ยรู ป หั ว เราะและ ร้องไห้ ราวกับว่าจะไม่ได้เจอกันอีก ในชาตินี้ (นึกย้อนกลับไปก็รู้สึก ตลกตั ว เองเหมื อ นกั น ) เมื่ อ ถึ ง เวลารถไฟออก ฉันและเพื่อนใหม่ ที่อยู่บนรถไฟก็โบกมือลาเพื่อนๆ เพือ่ ออกเดินทางไปพบกับสิง่ ใหม่ๆ ที่กำ�ลังรอพวกเราอยู่ข้างหน้า” “ในปีนนั้ คณะของฉันได้ทนี่ งั่ บนรถไฟแค่ครึ่งโบกี้ซึ่งไม่เพียงพอ ต่อจำ�นวนรุ่นพี่และรุ่นน้องรวมกัน รุน่ พีจ่ งึ เสียสละทีน่ งั่ ให้นอ้ งๆ ได้นงั่ จนครบก่ อ นแล้ ว จึ ง ค่ อ ยหาที่ นั่ ง ของตนเอง มีรุ่นพี่บางคนเดินไป เดินมา บางคนยืน บางคนต้องนั่ง ตรงที่พักแขน และบางคนถึงกับ ต้องนั่งที่พื้น เมื่อออกมาจากชานชาลาแล้ ว รุ่ น พี่ จึ ง นำ � ร้ อ งเพลง สั น ทนาการกั น อย่ า งสนุ ก สนาน ถึงแม้ทจี่ ะแคบ แต่ทกุ คนก็พยายาม เต้นตามอย่างไม่ค่อยคุ้นเท่าไหร่ บางครั้งก็จะมีรุ่นพี่จากคณะอื่นๆ มาชวนสั น ทนาการด้ ว ยเพลง ดั ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพลงแล้ ว

เพลงเล่า พร้อมกับรถไฟที่วิ่งไป เรือ่ ยๆ ผ่านจังหวัดแล้วจังหวัดเล่า มี ก ารจอดที่ บ างสถานี เ พื่ อ รั บ เพื่ อ นใหม่ ขึ้ น มาเพิ่ ม และทุ ก สถานี ที่ จ อด ถ้ า มี รุ่ น พี่ ปี สู ง ๆ ในคณะมาต้ อ นรั บ รุ่ น พี่ ปี 2 ก็ต้องลงไปล้อมวงเพื่อทำ�การบูม ของคณะให้ดูด้วย จนกระทั่งถึง เวลาที่ พ ระอาทิ ต ย์ ลั บ ขอบฟ้ า พวกเราก็เริม่ หากิจกรรมอย่างอืน่ ทำ� นอกจากการร้องเพลงสันทนาการ เพราะทุ ก คนรู้ สึ ก เหนื่ อ ยและ เหนียวตัวจากฝุ่นควันและอากาศ ที่แสนร้อนอบอ้าวในตอนกลางวัน รุน่ พีจ่ งึ ใช้โอกาสนีเ้ ล่าประสบการณ์ และชีวิตในรั้ว มช. ที่พวกเขาได้ ประสบมาตลอดปี นั่นยิ่งทำ�ให้ ฉั น รู้ สึ ก ว่ า การที่ ฉั น ได้ ม าเข้ า มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นการเปิด โลกกว้างให้ฉันอย่างแท้จริง”


11

สโมสรนักศึกษา

“เมื่อกลางคืนมาถึง อากาศ รอบๆ ก็เย็นลงเล็กน้อย ทำ�ให้ทกุ คน สบายตัวกันมากขึ้น แต่มีอีกสิ่งที่ เข้ามารบกวนแทนความอบอ้าว คือ แมลง เมื่อไม่มีแสงจากพระอาทิ ต ย์ แ ล้ ว แสงจากหลอดไฟ ภายในโบกี้ก็เป็นแหล่งกำ�เนิดแสง เพียงอย่างเดียวท่ามกลางทุ่งหญ้า รกชัฏที่ทางรถไฟตัดผ่าน เหล่า แมลงเล็กแมลงน้อยจึงพากันบิน เข้ า มาเล่ น ไฟอย่ า งร่ า เริ ง วิ ธี แก้ ปั ญ หามี อ ยู่ แ ค่ ท างเดี ย วคื อ การปิ ด หน้ า ต่ า ง ซึ่ ง จะทำ � ให้ อากาศอบอ้าวอยู่ภายใน ทุกคน จึ ง พร้ อ มใจกั น ต่ า งคนต่ า งอยู่ กับพวกแมลงเหล่านั้น เสียงเพลง ยังคงดังขึ้นเป็นระยะๆ ตามแต่ อารมณ์จะเอื้ออำ�นวย จนกระทั่ง เลยเวลาเข้ า นอนของคนปกติ ไปมาก รุน่ พีแ่ ละเพือ่ นๆ หลายคน ก็ ไ ด้ ห ลั บ ไปอย่ า งเหนื่ อ ยอ่ อ น

บางคนต้องนอนเกยกัน เพราะมี พื้นที่ไม่พอ รุ่นพี่บางคนก็นั่งหลับ อยู่ ห น้ า ห้ อ งนํ้ า ซึ่ ง กลิ่ น รุ น แรง มาก ฉันและเพื่อนๆ อีกหลายคน ยั ง คงไม่ น อน เล่ น นู่ น เล่ น นี่ ไปเรื่ อ ยจนถึ ง รุ่ ง สาง ฉั น ที่ ไ ม่ เคยอดนอนเริ่ ม รู้ สึ ก ทนไม่ ไ หว จึงหลับไปอย่างไม่รู้ตัว ตื่นมาอีกที ท้องฟ้าก็สว่างแล้ว รุน่ พีแ่ ละเพือ่ นๆ ส่ ว น ใ ห ญ่ ก็ ตื่ น กั น ห ม ด แ ล้ ว เมื่อทุกคนรับประทานข้าวเช้าแล้ว ก็มพี ลังกลับมาอีกครัง้ รุน่ พีเ่ ริม่ นำ� สันทนาการเป็นระยะๆ จนได้รับ แจ้งว่าอีกไม่นานจะถึงจุดหมาย ปลายทางแล้ว รุ่นพี่ก็นัดแนะให้ สันทนาการกันแบบเต็มที่เมื่อจะ เข้าชานชาลา เสมือนเป็นการกล่าว ทักทายรุ่นพี่อีกกลุ่มที่มารอรับที่ สถานี” “เมื่ อ รถไฟเข้ า เที ย บชานชาลาที่สถานีเชียงใหม่เรียบร้อย

เพื่ อ ทำ � ร่ ว มพิ ธี รั บ ขวั ญ ลู ก ช้ า ง เชือกใหม่ตอ่ ไป ถึงจะเป็นช่วงเวลา สั้นๆ บนโบกี้รถไฟแคบๆ แต่กลับ อัดแน่นไปด้วยความรักความอบอุน่ ที่ตรึงใจฉันจนถึงทุกวันนี”้ นอกจากกิ จ กรรมรั บ น้ อ ง รถไฟแล้ ว ยั ง มี กิ จ กรรมสำ � หรั บ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 1 อีกมากมายครั บ เช่ น รั บ น้ อ งขั น โตก แล้ ว ทั้ ง รุ่ น พี่ รุ่ น น้ อ งก็ ช่ ว ยกั น คนละไม้คนละมือเพื่อขนกระเป๋า ทัง้ หมดลงจากรถไฟ จากนัน้ น้องๆ ก็จะไปยืนรวมตัวกันเพื่อให้รุ่นพี่ ยืนล้อมและทำ�การบูมของคณะ ให้ดูเหมือนเป็นการต้อนรับน้องๆ เข้าคณะไปในตัว เมื่อเสร็จการ บู ม และสั น ทนาการอย่ า งสั้ น ๆ แล้ว รุน่ พีก่ จ็ ะนำ�น้องๆ ไปขึน้ รถบัส เดิ น ทางไปยั ง มหาวิ ท ยาลั ย

รั บ น้ อ งขึ้ น ดอย รั บ น้ อ งโควตา รับน้องเชียงใหม่ ซึ่งจะมีการจัด

ในเดือนถัดไปเรื่อยๆ ตลอดภาคเรียนที่ 1 ครับ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้

ต่างจัดขึ้นเพื่อมีวัตถุประสงค์ ให้ นักศึกษาใหม่ที่มาจากต่างถิ่นได้ เรียนรู้ในการอยู่ร่วมกัน ได้รู้จัก มหาวิทยาลัยและจังหวัดเชียงใหม่ มากขึ้ น จึ ง ไม่ แ ปลกที่ กิ จ กรรม รับน้องที่สร้างสรรค์เหล่านี้ยังคง อยูค่ มู่ หาวิทยาลัยเชียงใหม่มาเป็น เวลาหลายสิบปีครับ


12

พฤษภาคม 2556

สวนดอกพาเที่ยว

เสน่หเ์ มืองแพร่ ดินแดนแห่ง ประวัตศิ าสตร์

1

2 3

4

1–4 :

ราวนี้ ไปแอ่ว “เมืองแป้” ไม่ใกล้ ไม่ไกลจาก “เจียงใหม่ ” แค่ ขั บ รถไปทาง ลำ�ปาง จะถึงทางแยกที่เสี้ยวขวา ไปตาก ตรงไปแพร่ เมือ่ ขับไปก็เห็น ว่าถนนหนทางดีขึ้นกว่าเก่ามาก พอถึงทางแยกเข้าอำ�เภอเมืองก็ เป็นถนนสี่เลนวิ่งสบายๆ

ก่อนเที่ยวก็หาประวัติอ่าน ได้ความว่าจังหวัดแพร่มีชื่อที่ใช้ เรียกกันมาหลายชือ่ เช่น “เมืองพล” เป็ น ชื่ อ ที่ เ ก่ า แก่ ดั้ ง เดิ ม ที่ สุ ด “เมืองโกศัย” เป็นชื่อที่ปรากฏใน พงศาวดารเชียงแสน “เมืองแพล” ตามที่ ป รากฏอยู่ ใ นศิ ล าจารึ ก

หลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำ�แหง มหาราช และ “เมืองแพร่” เป็นชือ่ ที่คนไทยในอาณาจักรสุโขทัยและ อยุธยาใช้เรียกเมืองแพล แต่ได้ เพี้ยนเสียงเป็น “แพร่” และใช้มา จนถึงปัจจุบนั ก็พอเข้าใจทีม่ าของ ชื่อจังหวัด ก่อนอื่น เราไปแวะนมัสการ พระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง ห่างจากตัวเมืองแพร่ ประมาณ 9 กิโลเมตร เป็นวัดเก่าแก่ คู่บ้าน คู่ เ มื อ งของจั ง หวั ด แพร่ แ ละเป็ น วัดพระธาตุประจำ�ปีเกิดของผู้ที่ เกิดปีขาล “หลวงพ่อช่อแฮ” เป็น พระประธานประดิษฐานในพระ-

อุโบสถ ศิลปะล้านนา เชียงแสน สุ โ ขทั ย “ พระเจ้ า ทั น ใจ ” หรื อ “หลวงพ่อทันใจ” เป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ที่มีผู้นิยมมากราบไหว้ บนบานศาลกล่าวอยู่เสมอ เชื่อว่า เป็นพระพุทธรูปทีใ่ ครมาขอพรแล้ว จะได้สิ่งนั้นสมดั่งตั้งใจปรารถนา ได้ท�ำ บุญไหว้พระแล้วจิตใจชุม่ เย็น ขึ้นเยอะ เมื่อเดินชมบริเวณรอบๆ วั ด เห็ น ต้ น ไม้ ใ หญ่ เ ขี ย วชะอุ่ ม ให้ร่มโพธิ์เย็นสบายทั้งกายและใจ ทั้ ง ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วค่ อ นข้ า งเยอะ เนือ่ งจากยังเป็นช่วงหลังสงกรานต์ แต่ ก ลั บ ไม่ วุ่ น วายผู้ ค นเข้ า แถว เรียงยาวอย่างเป็นระเบียบเพื่อเข้า

วัดพระธาตุช่อแฮ

ไปกราบไหว้ ขอพรพระเจ้าทันใจ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ต่างมากัน เป็นครอบครัว พ่อ แม่ ลูก เห็น เด็ ก เล็ ก ๆ บ้ า งก็ นั่ ง นิ่ ง ไหว้ พ ระ ในมือถือดอกไม้ บ้างก็ซกุ ซนไปมา ใกล้ๆ พ่อแม่ดแู ล้วช่างน่าประทับใจ วันนีม้ องไปทางไหนก็เห็นแต่ความ สดชื่น มาไหว้พระธาตุเหมือนได้ เติมพลังในชีวิตอิ่มทั้งใจและอิ่ม ทั้งบุญ จากพระธาตุชอ่ แฮ ขับรถอีก ราว 20 กิโลเมตร เพือ่ ไปเทีย่ วแพะเมื อ งผี สถานที่ นี้ ตั้ ง อยู่ ที่ ตำ � บล นํ้าชำ� เกิดจากสภาพภูมิประเทศ ซึง่ เป็นดิน และหินทรายถูกกัดเซาะ


13

สวนดอกพาเที่ยว 5

6

8

5-8 :

ที่สุดท้ายของวันนี้คือ วัดพระธาตุพระลออยู่ที่อำ�เภอสอง การเดินทางค่อนข้างไกลเราต้อง ออกนอกตัวเมืองจังหวัดแพร่ไป 7 ประมาณ 40 กิโลเมตร ก่อนถึง วัดพระธาตุพระลอจะเจออุทยาน ตามธรรมชาติเป็นรูปร่างลักษณะ ลิลิตพระลอก่อน ภายในอุทยาน ต่างๆ เช่น ดอกเห็ด หน้าผา ดูแล้ว ลิ ลิ ต พระลอ จะมี ลั ก ษณะเป็ น แปลกตา ชือ่ แพะเมืองผี น่าจะมา จากภาษาพืน้ เมือง “แพะ” แปลว่า ป่าละเมาะ ส่วนคำ�ว่า “เมืองผี” 9 แปลว่า เงียบเหงา วังเวงอาจเกิด จากสภาพภูมิประเทศที่ดูเร้นลับ น่ า กลั ว แต่ แ พะเมื อ งผี ต อนนี้ ไม่ เ งี ย บเหงาแล้ ว เพราะตั้ ง แต่ เรามาถึงก็เห็นนักท่องเที่ยวมากัน อย่างไม่ขาดสาย ต่างก็ตื่นเต้น กับกำ�แพงหินทรายที่เกิดจากการ กัดเซาะของนํ้า ที่มีรูปทรงต่างๆ ตามแต่จินตนาการกันไป สถานที่ แห่ ง นี้ ยั ง ขึ้ น ชื่ อ ว่ า สำ � หรั บ ใคร ที่ ห ลงใหลการถ่ า ยภาพต้ อ ง เดิ น ทางมา เพราะภาพกำ � แพง หิ น ทรายสี นํ้ า ตาลอ่ อ นตั ด กั บ ท้ อ งฟ้ า สี นํ้ า เงิ น เข้ ม กลายเป็ น ความสวยงามแปลกตาที่ แ สน ลงตัว 10

แพะเมืองผี

สวนสาธารณะ ทีร่ ม่ รืน่ และสวยงาม เป็นอย่างมาก พร้อมทัง้ ยังเป็นแหล่ง ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับวรรณคดี ลิลิตพระลออีกด้วย จากนั้นเรา ก็เดินทางไปวัดพระธาตุพระลอ ซึ่งอยู่ห่างจากอุทยานไม่ไกลนัก ประมาณ 300 เมตรก็ จ ะถึ ง วั ด พระธาตุ พ ระลอ ภายใน

วัดพระธาตุพระลอแห่งนี้ มีรูปปั้น พระลอ พระเพื่อน พระแพงตั้งอยู่ ติดกับพระธาตุ เราจึงได้กราบไหว้ บูชาและสำ�รวจพื้นที่โดยรอบ และ ทราบประวัติของวัดนี้ว่า พระธาตุ 9-11 : วัดพระธาตุพระลอ พระลอมีอายุกว่า 256 ปี บริเวณ ที่ ตั้ ง ของวั ด เป็ น พื้ น ที่ ข องชุ ม ชน เมืองสรองโบราณ มีองค์พระธาตุ เก่าแก่อายุกว่า 400 ปี ต้นกำ�เนิด ของวรรณคดี เ รื่ อ งลิ ลิ ต พระลอ ใครยังจำ�ได้บา้ งหนอ สำ�หรับผูเ้ ขียน ยังพอนึกออกลางเลือน ว่ากันว่าแพร่เป็น “เมืองคนสวก” (ดุ) “อูบ้ ม่ ว่ น” (พูดไม่เพราะ) ด้ ว ยภาษาคำ � เมื อ งของคนแพร่ ที่ค่อนข้างจะห้วน สั้น และพูดเร็ว แต่จริงใจ เวลาสั้นๆ เพียงหนึ่งวัน ได้พบปะผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมือง แพร่ แ ล้ ว จึ ง รู้ ว่ า คนแพร่ ไ ม่ ใ ช่ “เมืองคนสวก” อย่างที่กิตติศัพท์ กล่าวไว้ จากเมืองแพร่มาแล้ว… แต่ก็ยังคิดถึง 11

(ขอบคุณข้อมูลประวัตสิ ถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว จากสำ�นักงานจังหวัดแพร่)


14

พฤษภาคม 2556

สวนดอกโภชนา บั บ นี้ ข อเล่ า เรื่ อ งของ ข้าว ซึ่งในวิถีวัฒนธรรม

ประเพณี ข องคนไทย ไม่ว่าจะเป็นวันพระ วันขึ้นปีใหม่ วันลอยกระทง ข้าวเป็นอาหารที่มี บทบาทสำ � คั ญ ในการทำ � บุ ญ และการจัดกิจกรรมของคนไทย โดยเป็ น ส่ ว นประกอบในอาหาร คาวหวานต่ า งๆ ในที่ นี้ ผู้ เ ขี ย น ขอยกตัวอย่างข้าวทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ วั ฒ นธรรมของคนท้ อ งถิ่ น ทาง ภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออก เฉียงเหนือคือ ข้าวเหนียว ซึ่งมีอยู่ ด้วยกันสองลักษณะ คือข้าวเหนียว สีขาวและข้าวเหนียวสีด�ำ ทีค่ นเมือง เรียก “ข้าวกาํ่ ” ข้าวกาํ่ มีคณุ ค่าทาง

เรื่องของ ข้าวต้มมัด กันต์นธีร์ ตาคำ� นักโภชนาการ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

โภชนาการมากกว่าข้าวขาว คือมี “โอพีซ”ี (OPC) ซึง่ มีสรรพคุณช่วย ชะลอการแก่ก่อนวัย และความ เสื่อมถอยของร่างกาย โดยสาร

โอพีซีที่พบในข้าวกํ่า เป็นสารชนิด เดียวกับสารสกัดที่ได้จากองุ่นดำ� องุ่นแดง และเปลือกสน ข้าวนอกจากจะเป็นอาหาร

หลักของคนไทยแล้ว ยังเป็นส่วน ประกอบในการทำ�ขนมหวานของ ทุกๆ ท้องถิน่ โดยเฉพาะภาคเหนือ เพื่ อ สุ ข ภาพไปสาธิ ต ในงาน กลับไปย้อนดูว่าอาหารและขนม ของเราเมืองล้านนา ข้าวเหนียว นิ ท รรศการวั น โรคหั ว ใจและ ไทยเรามีคุณค่าทางโภชนาการ นำ � มาทำ � เป็ น ขนมได้ ห ลายชนิ ด ผู้สูงอายุ ได้ทำ�ข้าวต้มมัดที่เพิ่ม ที่ เ หมาะกั บ คนไทยเรามากกว่ า อาจบดเป็นแป้งทำ�กาละแม ขนม คุณค่าทางโภชนาการให้มากขึ้น อาหารของชาติตะวันตกซึ่งบ้าน อิ กิ้ น คลุ ก กิ น กั บ มะพร้ า วขู ด โดยผสมเมล็ ด ธั ญ พื ช และถั่ ว เรามีลักษณะอากาศร้อน ซึ่งต่าง ซึ่งจะแตกต่างไปตามวัฒนธรรม เมล็ดแห้ง และในการสาธิ ต ได้ จากทางตะวันตกที่มีอากาศหนาว

การกิ น ของแต่ ล ะแห่ ง แต่ มี อ ยู่ ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ทุ ก ท้ อ งถิ่ น รู้ จั ก คื อ ข้าวต้มมัด ในพื้นบ้านภาคเหนือ เรามั ก นิ ย มนำ � เอาข้ า วต้ ม มั ด มาเป็ น ของทำ � บุ ญ ถวายพระ ในเทศกาลต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น ปีใหม่เมือง เข้าพรรษา ออกพรรษา วั น พระ ซึ่ ง ข้ า วต้ ม มั ด นี้ เ ป็ น ขนมไทยโบราณที่ ปั จ จุ บั น หา รับประทานยาก ยิ่งกว่านั้น หาคน ทีจ่ ะห่อข้าวต้มมัดเป็นนัน้ ยากมาก ซึ่ ง เมื่ อ วั น ก่ อ นผู้ เ ขี ย นได้ รั บ มอบหมายให้ จัด ทำ � อาหารไทย

พุดคุยตอบคำ�ถามไปด้วยพบว่า ผู้สูงอายุบางคนยังห่อข้าวต้มมัด ไม่ เ ป็ น แล้ ว คนรุ่ น ใหม่ จ ะรู้ จั ก ขนมไทยโบราณกั น หรื อ เปล่ า ต่ อ ไปคงจะหารั บ ประทานกั น ยากมากซึ่ ง แตกต่ า งจากขนม ฝรั่งที่ไม่ว่าใครก็จะรู้จักขนมเค้ก ขนมปั ง กั น หมด ไม่ เ หมื อ น กั บ ขนมไทยซึ่ ง เป็ น มรดกทาง วั ฒ นธรรมของบรรพบุ รุ ษ บ่ ง บอกถึงชาติพันธุ์ของเราซึ่งนับวัน จะหาคนที่ทำ�เป็นยากเข้าไปทุกที

เย็ น เลยต้ อ งการปริ ม าณไขมั น ในการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย มากกว่าคนไทยเรา แต่เมื่อเรา รับเอาวัฒนธรรมการกินของคน ต่างชาติมาก็รบั เอาพลังงานส่วนเกิน จากการกิ น เข้ า ไปด้ ว ยจนเกิ ด ปัญหาโรคอ้วน และโรคที่เกี่ยวกับ ระบบเมตาบอลิกไปด้วย เอาละพูดนำ�เรื่องมาก็ยาว เรามาพูดกันเรื่องของข้าวต้มมัด กันต่อนะครับ ข้าวต้มมัดมีหลาย รู ป แบบ ถ้ า เป็ น ทางภาคกลาง ผู้เขียนก็อยากจะฝากให้คนอ่าน จะนำ�กะทิใส่นํ้าตาลทรายไปผัด

กั บ ข้ า วเหนี ย ว ห่ อ ด้ ว ยใบตอง ใส่กล้วยนาํ้ ว้าสุกตรงกลาง มัดด้วย ตอกไม้ไผ่ จะเรียกข้าวต้มมัดหรือ ข้าวต้มผัด ถ้าเป็นทางภาคอีสาน และภาคเหนื อ จะนำ � ข้ า วสาร คลุกเกลือเล็กน้อยเติมถั่วลิสงหรือ ถั่วดำ� อาจจะใส่กล้วยนํ้าว้าสุก หรื อ ไม่ ใ ส่ ก็ ไ ด้ ห่ อ ด้ ว ยใบตอง มัดด้วยตอกไม้ไผ่ นำ�ไปต้มจนสุก รับประทานเปล่าๆ หรือนำ�มาตัด เป็นชิ้นคลุกกับมะพร้าวขูดผสม เกลื อ จะเรี ย ก ข้ า วต้ ม หั ว หงอก ข้ า วต้ ม มั ด ทางภาคใต้ ไ ม่ มี ไ ส้ เป็นข้าวเหนียวผัดกับกะทิ ใส่ถว่ั ขาว ไม่นยิ มใช้ถว่ั ดำ� ออกรสเค็มเป็นหลัก ถ้าต้องการให้มีรสหวานจะเอาไป จิ้มนํ้าตาล และมีขนมชนิดหนึ่ง เรียก ข้าวต้มญวน มีลกั ษณะคล้าย ข้าวต้มมัดแต่มีไส้เป็นถั่วเขียวบด และหมู ทำ�ให้สกุ ด้วยการต้ม เมือ่ จะ รับประทานจะหัน่ เป็นชิน้ ๆ คลุกกับ มะพร้าวขูด เกลือและนาํ้ ตาลทราย ส่วนข้าวต้มมัดของภาคเหนือเรา สามารถดั ด แปลงส่ ว นประกอบ ได้ ม ากมาย เช่ น การเติ ม ถั่ ว ชนิ ด ต่ า งๆ เพื่ อ เพิ่ ม คุ ณ ค่ า ทาง โภชนาการ ซึ่งถั่วให้สารอาหาร คือโปรตีน มีกรดอะมิโนที่จำ�เป็น สำ�หรับร่างกาย 8 ชนิด ในอัตราส่วนที่เหมาะสม ถัว่ ลิสง มีไขมัน วิตามิน บี 2

โคลีน (Choline) กรดไขมันที่ไม่ อิ่มตัว เมทไธโอนีน (Methionine) และวิตามิน เอ-บี-อี-เค แคลเซียม เหล็ก และธาตุอื่นๆ มีสารฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระ มีข้อมูลว่าการ บริโภคนํ้ามันถั่วลิสงเป็นประจำ� จะทำ � ให้ โ คเลสเตอรอลในตั บ สลายตัวเป็นกรดนํ้าดี (bile acid) ไม่ เ พี ย งแต่ ล ดโคเลสเตอรอล ลงเท่านัน้ ยังเป็นการป้องกันหลอด เลือดตีบ และโรคหัวใจของคน ในวั ย กลางคนและวั ย สู ง อายุ ไ ด้ ถั่วลิสงเป็นพืชที่ทุกคนกินดี เด็กๆ กินแล้วเสริมความจำ� ช่วยในการ


15

สวนดอกโภชนา เจริญเติบโต ส่วนคนแก่ช่วยบำ�รุง ร่างกาย นอกจากนี้ยังนำ�ถั่วลิสง มาปรุ ง เป็ น ตำ � รั บ ยารั ก ษาโรค ต่างๆ ได้มากมาย ถัว่ แดง ขับปัสสาวะ แก้อาการ บวมขา ฝีหนอง ท้องร่วง อุจจาระ มีเลือด ถัว่ ดำ� เป็นสมุนไพรมีรสหวาน บำ�รุงเลือด ขับของเหลวในร่างกาย ขับลม ขจัดพิษ บำ�รุงไต ขับเหงื่อ แก้ร้อนใน บำ�รุงสายตา เหมาะ สำ�หรับผูท้ มี่ อี าการบวมนํา้ เหน็บชา ดีซ่าน ไตเสื่อม ปวดเอว มีโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แคโรทีน ไนอะซิน วิตามินบี 1 และบี 2 และสารที่ช่วยบรรเทาอาการปวด ลำ�ไส้ แปะก๊ ว ย มี ก ารวิ จั ย ทาง คลิ นิ ก บางแห่ ง พบว่ า การสกั ด สารไบโลบาไลด์ (Bilobalides) บำ�บัดอาการสมองเสื่อม เพราะ ใบแปะก๊ ว ยนอกจากจะได้ ส าร และกิ ง โกไลด์ (Ginkgolides) สารทั้ ง สองตั ว นี้ จะไปเพิ่ ม การ ไบโอฟลาโวนอยด์แล้ว ยังจะได้ ซึง่ เชือ่ กันว่า มีผลต่อความจำ� และ หมุ น เวี ย นโลหิ ต ที่ ส มอง ทำ � ให้

ขอเชิญร่วมบริจาคสมทบทุน มูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก เพือ่ จัดซือ้ ครุภณ ั ฑ์ทางการแพทย์ อาคารศูนย์เวชศาสตร์ผสู้ งู อายุ ติดต่อบริจาคได้ท:ี่ โทร. 053-945672, 053-946150 email: sdhf@med.cmu.ac.th

เลือดไปเลีย้ งสมองมากขึน้ จึงช่วย เรื่องความจำ�ได้ดี โดยเฉพาะใน ผู้สูงอายุอาจจะสามารถป้องกัน โรคความจำ�เสือ่ ม สมองฝ่อ อาการ ขีห้ ลงขีล้ มื วิงเวียนหน้ามืด โรคซึม เศร้าได้ด้วย อันนีก้ ค็ อื คุณประโยชน์เล็กๆ น้อยๆ ที่ ได้จากการกินข้าวต้มมัด ขนมไทยโบราณของพื้น บ้านเรา

ซึ่งเมื่อเทียบกับขนมฝรั่งก็จะเจอ แต่ ค าร์ โ บไฮเดรตและไขมั น สู ง โปรตีนจากไข่บ้างเพียงเล็กน้อย กากใยอาหารไม่มเี ลย ดังนัน้ ผูเ้ ขียน

จึ ง อยากจะฝากผู้ อ่ า นในเรื่ อ ง ของการเลื อ กบริ โ ภคอาหารให้ เหมาะกับตัวเองว่าอย่างไหนที่ดี ต่อสุขภาพ อย่างไหนเป็นผลร้าย ต่อสุขภาพ อย่าตามกระแสนิยม มากจนเกิ น ไปจนทำ � ให้ เ ราเป็ น ทุกข์จากการเจ็บป่วยได้

“คราวันเกิดทำ�บุญหนุนชีวิต ให้โลหิตเป็นทานงานกุศล ผู้ป่วยรอดปลอดภัยในทุกข์ทน เป็นสุขล้นแท้หนอขอเชิญชวน”

โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

ขอเชิญบริจาคโลหิต เนื่องในวันเกิดของท่าน พร้อมรับของที่ระลึกและรับคำ�ขอบคุณจากผู้ป่วย

ณ ห้องรับบริจาคโลหิต งานธนาคารเลือด อาคารศรีพัฒน์ ชั้น 1 เวลา 8.30-16.00 น. ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ


16

พฤษภาคม 2556

คุยกับหมอสวนดอก

โรควิตก กังวล ในผู้สงู อายุ รศ.พญ.ณหทัย วงศ์ปการันย์ / อ.พญ.กนกขวัญ นามสีฐาน

ชื่อว่าลูกๆ หลานๆ หลายคน ทีต่ อ้ งดูแลผูส้ งู อายุทบี่ า้ น ไม่วา่ จะเป็นคุณปูค่ ณ ุ ย่า หรือคุณตา คุณยาย อาจจะเคยสงสัยว่าอาการ วิตกกังวลที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุที่ บ้านนั้น เช่น อาการคิดฟุ้งซ่าน วิ ต กกั ง วลไปหมด ยํ้ า คิ ด ยํ้ า ทำ � หลับยาก เป็นต้น ถือว่าเป็นโรค วิตกกังวลแล้วรึยงั และจำ�เป็นต้อง พามาพบแพทย์ไหม เรามารู้ จั ก กั บ ความวิ ต ก กังวล (anxiety) ก่อนแล้วกันค่ะ

ความวิ ต กกั ง วล เป็ น อาการที่ สามารถพบได้ในคนปกติทั่วๆ ไป ซึง่ เกิดขึน้ เมือ่ มีความเครียดเข้ามา กระทบ เกิดได้ตั้งแต่วัยเด็กจนถึง วัยผู้สูงอายุ โดยเหตุการณ์หรือ ความเครียดที่ทำ�ให้เกิดอาการจะ แตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย เช่นในวัยเด็ก อาจเป็นเรือ่ งตืน่ เต้น เวลาเปิดเทอมใหม่ หรือเครียด เวลาใกล้สอบ ในวัยผูใ้ หญ่ อาจเป็น เรื่องย้ายที่ทำ�งานใหม่ หรือพ่อแม่ ป่วยหนักไม่สบาย เป็นต้น โดยในผูส้ งู อายุ พบว่าเรือ่ งที่ ทำ�ให้เกิดอาการวิตกกังวล อาจเป็น เรื่องต้องที่เผชิญกับการเกษียณ อายุ ร าชการ ลู ก ย้ า ยออกไปมี ครอบครัวใหม่ หรือมีอาการเจ็บ ป่วยทางร่างกายเกิดขึ้น เป็นต้น

แต่ถา้ หากว่าความ วิตกกังวลทีเ่ กิดขึน้ นัน้ มากจนเกินไป ก็จะทำ�ให้เกิดโรควิตก กังวลขึน้ ได้ โดยความ วิตกกังวลจะมีลกั ษณะ ทีม่ ากและรุนแรง เกินกว่าจะอธิบายได้ ด้วยความเครียดทีม่ า กระตุน้ และมีผล กระทบต่อการทำ� กิจวัตรประจำ�วัน

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า อาการ วิตกกังวลนัน้ เป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ประจำ�วันของเราทุกคน และคง ไม่มใี ครปฏิเสธได้วา่ ไม่เคยมีความ วิตกกังวลเกิดขึน้ เลย แต่ถา้ หากว่า ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นนั้นมาก จนเกินไป ก็จะทำ�ให้เกิดโรควิตก กังวลขึน้ ได้ โดยความวิตกกังวลจะ มีลกั ษณะทีม่ ากและรุนแรงเกินกว่า จะอธิบายได้ดว้ ยความเครียดทีม่ า กระตุน้ และมีผลกระทบต่อการทำ� กิจวัตรประจำ�วัน หรือหน้าทีก่ ารงาน ต่างๆ ให้บกพร่องลง และอาการ เป็ น ต่ อ เนื่ อ งยาวนาน ถึ ง แม้ ว่ า ความเครียดที่มากระตุ้นจะหาย ไปแล้ว โดยอาการวิตกกังวลจะ แสดงออกเป็นอาการทางร่างกาย และอาการทางจิตใจ อาการของโรคในกลุม่ วิตกกังวล แบ่งเป็น 2 ทาง ดังนี้

อาการทางร่างกาย ได้แก่ หายใจไม่อมิ่ เหนือ่ ยง่าย อ่อนเพลีย แรงน้อย ไม่มีแรง หน้ามืด ใจสั่น ใจหวิวๆ ปวดหัว เวียนหัวตื้อๆ ปั ส สาวะบ่ อ ย ปวดแน่ น ท้ อ ง จุกเสียด ลมขึ้น ก้อนติดคอ อาการทางจิ ต ใจ ได้ แ ก่ เครี ย ด กลุ้ ม ใจ คิ ด ฟุ้ ง ซ่ า น

วิตกกังวลไปหมด หงุดหงิดง่าย หลับยาก หลับๆ ตื่นๆ สะดุ้ง ตกใจง่ า ย ใจลอย สมาธิ ไ ม่ ดี ขี้ลืม โรควิตกกังวล แบ่งออกเป็น หลายโรค ซึง่ แบบหนึง่ ทีพ่ บได้บอ่ ย ในผูส้ งู อายุคอื โรควิตกกังวลไปทัว่ (Generalized Anxiety Disorder)

ซึง่ มีลกั ษณะเด่นคือความวิตกกังวล จะมากเกิ น ไปจนรู้ สึ ก คุ ม ไม่ อ ยู่ กล้ า มเนื้ อ ตึ ง เครี ย ด ตื่ น ตั ว ตกใจง่ า ย และอาการเป็ น อยู่ อย่างน้อย 6 เดือน โดยในผู้สูงอายุ มักพบโรควิตกกังวลไปทั่วร่วมกับ โรคซึมเศร้า จะเห็นได้ว่า อาการจากโรค วิตกกังวลนี้ บางอาการจะคล้าย อาการของโรคทางกาย ดั ง นั้ น หากสงสัยว่าผู้สูงอายุที่บ้านอาจมี อาการของโรควิตกกังวล ควรนำ� ผู้ สู ง อายุ ม าปรึ ก ษาแพทย์ เ พื่ อ ทำ � การตรวจร่ า งกายและตรวจ สภาพจิตให้แน่ชัด เพื่อให้มั่นใจ ว่าได้รับการวินิจฉัยและการรักษา ที่ถูกต้องมากที่สุด


17

กิจกรรมคณะฯ 09/05/56

อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การร่างหนังสือ ราชการ และการเขียน รายงานการประชุม” รุ่นที่ 1 รศ.นพ.รณภพ เอื้ อ พั น ธเศรษฐ

ผู้ช่วยคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. เป็นประธานกล่าวเปิดการอบรมเชิง 01/05/56

วิทยากรโดย อ.นพ.กฤษณะ คงถาวรสกุล

ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง “การร่ า งหนั ง สื อ ราชการ และการเขียนรายงานการ ประชุ ม ” รุ่ น ที่ 1 ให้ แ ก่ เลขานุ ก าร ภาควิ ช า เจ้ า หน้ า ที่ ธุ ร การทางการ พยาบาล และเจ้ า หน้ า ที่ ธุ ร การ สำ�นักงาน โดยมีคุณ ประสิทธิ์ ธัญญพงศ์ ชั ย หั ว หน้ า งานประชุ ม และ 9 พฤษภาคม 2556 ณ ห้อ งเรีย น

จากหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ดำ � เนิ น รายการโดย คุณกฤษณะ ชาญเลาหศักดิพ์ งษ์ หัวหน้า หน่ ว ยประชาสั ม พั น ธ์ งานประชาคณะแพทยศาสตร์ มช. ร่วมกับ สถานี สัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มช. เมือ่ วัน วิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 พุธที่ 1 พฤษภาคม 2556 ณ สถานีวิทยุ พิธีการ ชำ�นาญการระดับ 8 กองกลาง ชั้น 2 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์ สำ � นั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มช. จัดรายการโทรทัศน์ “คุยกับหมอสวนดอก” โทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 เป็นวิทยากรในการอบรม เมื่อวันที่ ตอน “ไข้เลือดออก ภัยร้ายตลอดปี”

คุยกับหมอสวนดอก ตอน “ไข้เลือดออก ภัยร้ายตลอดปี”

10/05/56

การแข่งขันกีฬา สานสัมพันธ์ กลุ่มภาควิชาปรีคลินิก คณะแพทยศาสตร์ ปีการศึกษา 2556 รศ.ดร.พรงาม เดชเกรียงไกรกุล ผูช้ ว่ ย

คณบดี ค ณะแพทยศาสตร์ มช. เป็นประธานเปิดการแข่งขันกีฬาสาน

10/05/56

บัณฑิตศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร มช.

วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมบุญสม มาร์ติน คณะแพทยศาสตร์ มช.

ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อปรึกษาหารือ

สัมพันธ์กลุ่มภาควิชาปรีคลินิก คณะ เรื่องการปรับอัตราการบริการและการดูแลผู้ป่วย แพทยศาสตร์ ปีการศึกษา 2556 ให้แก่ ระดับวี ไอพี คณาจารย์ นักศึกษาระดับปริญญาโท รศ.นพ.ชัยวัฒน์ บำ�รุงกิจ รองผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ปริ ญ ญาเอก และเจ้ า หน้ า ที่ ป ระจำ � กลุ่มภาควิชาปรีคลินิก เพื่อสร้างความ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2556 ณ เป็นประธานประชุมหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ปรึกษาหารือเรือ่ งการปรับอัตราการ สั ม พั น ธ์ อั น ดี ต่ อ กั น ในหมู่ นั ก ศึ ก ษา อาคารสันทนาการ คณะแพทยศาสตร์ บริการและการดูแลผูป้ ว่ ยระดับวีไอพี ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เมือ่ 10/05/56

ผศ.นพ.นิสิต วรรธนัจฉริยา รองผู้-

การเตรียมความพร้อม อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราชนคร เชี ย งใหม่ ให้ สั ม ภาษณ์ สื่ อ มวลชน การรักษาพยาบาล ในการเตรี ยมความพร้อมการรักษา ผู้นำ�ประเทศที่เข้าร่วม พยาบาลผู้นำ�ประเทศที่เข้าร่วมประชุม ประชุมสูงสุดด้านนํ้า สู ง สุ ด ด้ า นนํ้ า แห่ ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย แห่งภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ แปซิฟกิ เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 ณ

ห้องประชุมบุญสม มาร์ตนิ คณะแพทยศาสตร์ มช.


18

พฤษภาคม 2556

กิจกรรมคณะฯ

16/05/56

ประชุมวิชาการ Suandok Palliative Care Day ครั้งที่ 4 ผศ.นพ.นิสิต วรรธนัจฉริยา รองผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมวิชาการ Suandok Palliative Care Day ครั้งที่ 4 ในหัวข้อ “ผลลัพธ์และนวัตกรรมในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง” ให้แก่แพทย์ พยาบาล และบุคลากรผู้เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556

ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเรียนรวม คณะแพทยศาสตร์ มช. 17/05/56

ประชุมคณะกรรมการบริหารการใช้เลือด ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ครั้งที่ 2/2556 ผศ.นพ.นเรนทร์ โชติรสนิรมิต รองผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เป็นประธานประชุมคณะกรรมการบริหารการใช้เลือดในโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ ครัง้ ที่ 2/2556 เพือ่ กำ�หนดนโยบายในการบริหารจัดการการใช้เลือด การเฝ้าระวังการเกิดปฏิกริ ยิ าแทรกซ้อนต่างๆ ทัง้ ผูป้ ว่ ยและผูบ้ ริจาคโลหิต และอืน่ ๆ 14/05/56

แสดงความยินดีและร่วมทำ�บุญ ในโอกาสที่ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ ครบรอบ 42 ปี วันก่อตั้ง

ผศ.ลัดดา เฉลยกิตติ รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. ร่วมแสดงความยินดี และร่วมทำ�บุญ ในโอกาสที่สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัด เชียงใหม่ ครบรอบ 42 ปี วันก่อตั้ง โดยมี คุณจิรพร ทองบ่อ ผู้อำ�นวยการสถานี

วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ ให้การต้อนรับ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ณ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

ผศ.นพ.นเรนทร์ โชติรสนิรมิต รองผู้-

อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เป็นประธานเปิดการอบรม

20/05/56

เชิงปฏิบตั กิ าร “Advance Cardiovascular Life Support” (ACLS) ให้แก่ แพทย์ประจำ�บ้านและแพทย์ประจำ�บ้าน ต่อยอด ที่จะเข้ารับการฝึกปฏิบัติงาน และฝึกอบรม ประจำ�ปีการศึกษา 2556 รุ่นที่ 46 เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2556

การอบรมเชิงปฏิบัติการ ณ ห้องฝึกทักษะทางคลินกิ งานแพทย“Advance Cardiovascular Life Support” ศาสตร์ศึกษา ชั้น 9 อาคารเรียนรวม ราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. (ACLS) รุ่นที่ 46

เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมบุญสม มาร์ติน คณะแพทยศาสตร์ มช.


19

กิจกรรมคณะฯ 20-24/05/56

รศ.พญ.ยุพา สุมิตสวรรค์ ที่ปรึกษา

พิธพ ี ทุ ธชยันตีเฉลิมฉลอง ผู้ทรงคุณวุฒิคณะแพทยศาสตร์ มช. ด งาน พิ ธี พุ ท ธชยั น ตี การตรัสรู้ของพระสัมมา- เป็เฉลินมประธานเปิ ฉลองการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 2,600 ปี สัมพุทธเจ้า 2,600 ปี การแสดงพระและนิทรรศการ “สัปดาห์ ธรรมเทศนา และนิทรรศการ “สัปดาห์ วันวิสาขบูชา” วันวิสาขบูชา” ซึง่ จัดโดยคณะกรรมการ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของคณะแพทยศาสตร์ ให้แก่บคุ ลากรคณะแพทยศาสตร์ และประชาชนทัว่ ไป ระหว่างวันที่ 20-24 พฤษภาคม 2556 ณ บริเวณโถงชั้น 1 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช. 21/05/56

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนา บุคลิกภาพสู่การบริการ ที่เป็นเลิศ” ดร.ลัดดาวัลย์ สิงห์ค�ำ ฟู หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล และรองผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ เป็นประธานกล่าวเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนาบุคลิกภาพสู่การบริการที่เป็นเลิศ” ให้แก่บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ เพื่อให้บุคลากรได้รับทราบถึงวิธีการเสริมสร้างพฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ และ วิธีการสื่อสารที่ถูกต้องมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเพื่อให้ทราบถึงวิธีการบริหาร ความเสี่ยง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเรียนรวม

คณะแพทยศาสตร์ มช. 22/05/56

การอบรมเชิงปฏิบัติการ “Advance Cardiovascular Life Support” (ACLS) รุ่นที่ 47 อ.นพ.คำ�ภีร์ สรวมศิริ อาจารย์ประจำ�ภาควิชาเวชศาสตร์ฉกุ เฉิน คณะแพทยศาสตร์ มช. เป็นประธานเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “Advance Cardiovascular Life Support” (ACLS) ให้แก่แพทย์ประจำ�บ้านและแพทย์ประจำ�บ้านต่อยอด ทีจ่ ะเข้า รับการฝึกปฏิบัติงานและฝึกอบรม ประจำ�ปีการศึกษา 2556 รุ่นที่ 47 เมื่อวันที่

22 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องฝึกทักษะทางคลินิก งานแพทยศาสตร์ศึกษา ชั้น 9 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. 28/05/56

ประชุมคณะกรรมการดำ�เนินงานรายการโทรทัศน์ “สวนดอกร้อยดวงใจ” เนือ่ งในวันมหิดล ประจำ�ปี 2556

รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. เป็นประธานประชุม คณะกรรมการดำ�เนินงานรายการโทรทัศน์ “สวนดอกร้อยดวงใจ” เนื่องในวัน มหิดล ประจำ�ปี 2556 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคาร

เรียนรวมราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.


20

พฤษภาคม 2556

ห้องรับแขก

08/05/56

ต้อนรับคณะผู้ศึกษาดูงานจาก The Second Hospital of Yunnan Province and Kunming Medical University

03/05/56

ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจาก โรงพยาบาลพญาไท 2

รศ.นพ.สมศักดิ์ เชาว์วศิ ษิ ฐ์เสรี ผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ พร้อมด้วย ศ.นพ.คม สุคนธสรรพ์ รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ และ ดร.ลัดดาวัลย์ สิงห์ค�ำ ฟู รองผูอ้ �ำ นวยการ/หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล พร้อมด้วย หัวหน้างานการพยาบาลจากฝ่ายการพยาบาลฯ ให้การต้อนรับคณะผูศ้ กึ ษาดูงานจาก The Second Hospital of Yunnan Province and Kunming Medical University, Kunming, Yunnan, China เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม

2556 ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.

ผศ.นพ.นิสิต วรรธนัจฉริยา รองผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ให้การต้อนรับคณะ ศึกษาดูงานจาก โรงพยาบาลพญาไท 2 ในโอกาส 16/05/56 ที่เดิน ทางมาศึกษาดูงานด้านเวชระเบียนและสถิติ ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากโรงพยาบาลแมคคอร์มิค งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของโรงพยาบาล คุณชฏานัน ท์ ประเสริฐปั้น หัวหน้างานเวชภัณฑ์ มหาราชนครเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2556

ปลอดเชือ้ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ให้การ

ณ ห้องประชุมบุญสม มาร์ตนิ คณะแพทยศาสตร์ มช.

ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากโรงพยาบาลแมคคอร์มคิ ในโอกาสที่ เ ดิ น ทางมาศึ ก ษาดู ง านด้ า นการทำ �ให้ ปราศจากเชือ้ การจัดแบ่งพืน้ ที่ และการระบายอากาศ ของงานเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 ณ ห้อง

07/05/56

ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน จากโรงพยาบาลลำ�ปาง

ประชุมงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาล ผศ.นพ.นิสิต วรรธนัจฉริยา รองผู้อำ�นวยการโรงมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มช. พยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ให้การต้อนรับคณะ ศึกษาดูงานจาก โรงพยาบาลลำ�ปาง ในโอกาสที่ เดินทางมาศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการระบบ การเรี ย กเก็ บ ชดเชยสิ ท ธิ์ ป ระกั น สุ ข ภาพรวมถึ ง 17/05/56 ประกันชีวติ -อุบตั เิ หตุ ของโรงพยาบาลมหาราชนคร- ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน เชียงใหม่ เมือ่ วันที่ 7 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุม จากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ศูนย์อุบัติเหตุ คณะแพทยศาสตร์ มช. ดร.ลัดดาวัลย์ สิงห์ค�ำ ฟู หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล และ รองผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจาก สถาบันมะเร็ง

แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ในโอกาส ทีเ่ ดินทางมาศึกษาดูงานด้านระบบบริหารจัดการและ การสร้างเครือข่ายในการดูแลผูป้ ว่ ยโรคมะเร็ง ของฝ่าย การพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุมประณีต สวัสดิรักษา ชั้น 8 ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มช.


21

ศิษย์เก่าพชม.

งานสังสรรค์ แพทย์ เ ชี ย งใหม่ รุ ่ น ที ่ 23 ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2556 เวลา 18.00-22.00 น. 1:

2

นพ.สุขมุ เจียมตน กำ�ลังแนะนำ�ตัว

ให้เพื่อนหลายคนทราบ หลังจากที่ เรียนจบ หายหน้าหายตาไปกันนาน 2 : พออายุเข้าเลข 5 กันแล้ว ก็ต้อง เข้าวัด ฟังพระเทศน์ทำ�วิปัสสนา ทานอาหารชีวจิต พญ.นิตยา ฉันทวานิช แสดงหนังสือทีไ่ ด้มาจากการเข้าร่วม กิจกรรมต่างๆ มาแสดงให้เพือ่ นดูกนั มีหลายเล่ม ใครอยากได้หรือสนใจ จะร่วมกิจกรรมติดต่อที่เบอร์ 081-2541351 3:

1

3

นพ.ประภาส ลี้สุทธิพรชัย

สนใจมาก ก็เลยเข้าร่วมกิจกรรม ตามที่ พญ.นิตยา ฉันทวานิช แนะนำ� ก็ได้หนังสือกลับมาอ่านเหมือนกัน 4-8 : เพื่อนที่มาร่วมงานสังสรรค์ อิม่ หนำ�สำ�ราญ มีความสุขกันทุกคน

4

5

6

7

8


22

พฤษภาคม 2556

ศิษย์เก่าพชม. 2

1:

นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์

ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและ นายกสมาคมศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่ ผูแ้ ทนศิษย์เก่าทีม่ าร่วมพิธี ขอพรจาก

ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย 2-3 : ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย ให้พร

1

พิ ธ ร ี ดนํ ้ า ดำ � หั ว ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ณ สวนโมกข์กรุงเทพ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2556 เวลา 11.00-15.00 น.

3

ศิษย์เก่า และแจ้งให้ศิษย์เก่าทุกคน ทราบว่า ขณะนี้กำ�ลังทำ�โรงเรียน ต้นแบบที่อำ�เภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร บ้านเกิดของอาจารย์ โดยมีแนวคิดที่สำ�คัญ คือ “สอนให้ นักเรียนเป็นคนดีก่อน แล้วค่อยสอน ให้นักเรียนเป็นคนเก่ง” ทั้งนี้ ศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่ที่ร่วมพิธี ได้รวบรวมเงิน 150,000 บาท บริจาค ให้แก่โรงเรียน 4-7 :

นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์

นายกสมาคมศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่ และศิษย์เก่าทยอยกันเข้ารดนํา้ ขอพร จากอาจารย์

4

5

6

7

แจ้ง​ข่าว​…​สมาคม​ศิษย์​เก่า​แพทย์​เชียงใหม่​ •​ ​​ศิษย์เ​ก่า​ท่าน​ใด​ทปี่​ ระสบ​ความ​สำ�เร็จ​ใน​หน้าทีก่​ าร​งาน​​งาน​อดิเรก​หรือ​กิจกรรม​ที่​ชอบ​​ต้องการ​เผย​แพร่​ให้​ศิษย์​เก่าท​ ่าน​อื่น​ได้​ทราบ​​เพื่อ​เป็นต​ ัวอย่าง​อัน​ดี​​ขอ​ติดต่อ​มา​ที่​สมา​คมฯ​ ​•​​ศิษย์เ​ก่า​ทเี่​ปลี่ยนแปลง​ทอี่​ ยู่​​กรุณา​แจ้ง​ที่​อยูใ่​หม่ม​ า​ให้​กับ​ทาง​สมา​คมฯ​​ด้วย​​เพื่อ​ที่​จะ​ได้​ปรับปรุงแ​ ก้ ไข​ใน​ทำ�เนียบ​ศิษย์​เก่า​แพทย์เ​ชียงใหม่ต​ ่อ​ไป​ ​ติดต่อ​ได้ที่​:​ สมาคม​ศิษย์​เก่า​แพทย์​เชียงใหม่​ค​ ณะ​แพทยศาสตร์​ม​ หาวิทยาลัย​เชียงใหม่​​110​​ถนน​อินท​ ว​โร​รส​​ต​.​ศรี​ภูมิ​​อ.​​เมือง​​จ.​​เชียงใหม่​​50200​ ​โทรศัพท์​​053​-​946291​,​​084​-​8095636​(​​จันทร์-​ ศ​ ุกร์​​เวลา​​08.00​-​16.00​​น​.​)​​E​-​mail​:​​mdalumni​@​med​.​cmu​.​ac​.​th​ ​บรรณาธิการ​: นพ​.​สม​ศักษิ์​​วงษ์ ​ไวย​เวช​​2307081


23

ศิษย์เก่าพชม.

ภาพ บรรยากาศ ภายในงาน…



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.