ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์ 2555

Page 23

​ ​ส ม า ค ม ศิ ษ ย์ เ ก่ า แ พ ท ย์ เ ชี ย ง ใ ห ม่

นพ.สมจิต สุขุประการ (รุ่น 3)

กลิ่นเหม็น ของอะไรกันแน่

การทดสอบผลของสารสกั ด ลิ้ น จี่ ต่ อ ระบบภู มิ คุ้ ม กั น ได้ ศึ ก ษา ผลต่อทั้ง innate และ adaptive immunity ในหนูขาว แล้วพบว่า สารสกั ด จากลิ้ น จี่ ไ ม่ มี ค วามเป็ น พิษต่อเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันเมื่อ ได้รับติดต่อกันเป็นเวลานาน และ ยังมีผลต่อการสร้างไซโตคายน์ของ T lymphocyte ได้แก่ IFN-γ และ IL-4 ความปลอดภัยจากการบริโภค สารสกัดลิ้นจี่ พบว่า การป้อนสาร สกัดในขนาดสูง (500 มก/กก) แก่หนูขาวทุกวันติดต่อกันนาน 90 วัน ซึ่งเป็นระยะเวลาเดียวกันกับ เวลาที่ ใช้ทดสอบความเป็นพิษ กึ่ง เรื้ อ รั ง ไม่ ทำ �ให้ ห นู ข าวเสี ย ชี วิ ต และไม่มีผลเปลี่ยนแปลงนํ้าหนัก และพยาธิสภาพของเนือ้ เยือ่ สำ�คัญ ในร่างกาย จากผลการศึกษาทั้งหมด สรุป ได้ ว่ า สารสกั ด ลิ้ น จี่ กิ ม เจ็ ง และ จั ก รพรรดิ มี คุ ณ ค่ า ทางอาหาร และมี ส ารประกอบที่ มี ฤ ทธิ์ ต้ า น อนุ มู ล อิ ส ระ ที่ อุ ด มด้ ว ยวิ ต ามิ น เอ วิตามินซี สารประกอบฟีนอลิก และสารพฤกษาเคมีทมี่ บี ทบาทเป็น

สารแอนติออกซิแดนท์ แอนติอะ พอพโตสิส และชักนำ�การทำ�งาน ของ T lymphocyte บ่งชี้ถึงการ มีศักยภาพที่จะพัฒนาหรือใช้เป็น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อปกป้อง การทำ�ลายและการอักเสบของตับ จากสารพิษ ** ส่วนหนึ่งของงานวิจัยได้รับการตี พิมพ์ในวารสารนานาชาติ ** Bhoopat L, Srichairatanakool S, Kanjanapothi3 D, Taesotikul3 T, Thananchai H, Bhoopat T. Hepatoprotective effects of lychee (Litchi chinensis Sonn.): A combination of antioxidant and anti-apoptotic activities. J.Ethnopharmacology 2011;136: 55–66 ศ.พญ.เลิ ศ ลั ก ขณา ภู่ พั ฒ น์ หัวหน้าโครงการวิจัย ศิษย์เก่าแพทย์ เชียงใหม่รุ่น 14 และคณะผู้วิจัย (ดร. สมเดช ศรีชัยรัตนกูล / ดร.ดวงตา กาญจนโพธิ์ / ดร.ธวัช แต้โสตถิกุล / ดร.หทัยรัตน์ ธนัญชัย)

ที่คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ยุคแรก เอาเป็นว่าตั้งแต่ พ.ศ.2505 เป็นต้นมา จะนับต่อมาอีกสักกีป่ กี ต็ ามใจเถิด เรามักมีคนไข้ชอ่ งท้อง อักเสบ (Generalized Peritonitis) มาหา เมื่อเป็นมาแล้ว 2-3 วัน หรือบางที มากกว่านัน้ เรียกได้วา่ “ใกล้ตาย” แล้วจึงมาหาเราและมักจะไม่ยอมให้ผา่ ตัดอีก ด้วย เพราะกลัวตาย หมอเองก็หนักใจมาก “กลัวเขาตาย” เหมือนกัน สาเหตุของโรคนี้ที่พบบ่อยคือ 1) ไส้ติ่งแตก (Perforated Acute Appendicitis) 2) แผลกระเพาะอาหารทะลุ (Perforated Peptic ulcer) และ แผล ไทฟอยด์ทะลุ (Typhoid Perforation of the terminal ileum.) เมื่อเอาคนไข้ไปผ่าตัดเปิดท้องออกมาจะมีกลิ่น “เหม็นมาก” ไปทั่วห้อง ผ่าตัด แพทย์เองยังต้องออกจากห้องผ่าตัด “ชั่วคราว” รอให้กลิ่นจางจน “พอ ทนได้” จึงเข้าไปผ่าตัดต่อ กลิ่นที่ว่านี้เราเรียกว่าเป็น “กลิ่นเฉพาะ” ของการที่ ลำ�ไส้ทะลุ (Gastrointestinal Perforation) เชื่อว่าอาจารย์แพทย์ทั้ง 3 สถาบันขณะนั้น คือ ศิริราช จุฬา และเชียงใหม่ ยอมรับเรื่องกลิ่นเฉพาะตัวนี้ และยังเอาไปประยุกต์ใช้ในการบาดเจ็บของ ช่องท้องชนิดไม่มีแผลเปิดภายนอก (Blunt Abdominal Trauma) ด้วย นักศึกษาแพทย์อาจถูกถามว่าในการผ่าตัดคนไข้ที่ได้รบั ภยันตรายทีช่ อ่ งท้อง (Abdominal Trauma) ถ้าเราพยายามหาจุดทีส่ �ำ ไส้ทะลุอย่างละเอียดแล้วยังไม่ เจอ อะไรทำ�ให้เรายังเลิกผ่าตัดไม่ได้? อย่าว่าแต่ นศพ. เลยที่ตอบไม่ได้ แพทย์ อีกเป็นจำ�นวนมากก็ตอบไม่ได้ถ้าถูกถามเป็นครั้งแรก คำ�ตอบคือ “กลิ่นเหม็นนี่ แหละ” การแพทย์ไทยในสมัยนั้น เราพูดกันในห้องผ่าตัดว่าได้กลิ่น “E. Coli” (E. Coli เป็นแบคทีเรียที่อยู่ ในลำ�ไส้ใหญ่) ศัลยแพทย์พูดอย่างนี้ แม้แต่ วิสัญญีแพทย์ซึ่งต้องมาพลอยดมกลิ่นเหม็นกับเขาด้วยก็พูดอย่างเดียวกัน ผมรูจ้ กั คำ�ว่า “กลิน่ E. Coli” มาตัง้ แต่เป็น นศพ. และเชือ่ เช่นนีม้ านาน แต่อา่ น ตำ�ราศัลยศาสตร์มาก็มากแล้ว ไม่มีเล่มไหนบอกไว้ว่ามันคืออะไรกันแน่ หรือว่าความจริงสมัยนั้นเขายังไม่รู้กันหรอกว่ามันคืออะไรแน่ การที่แพทย์ ไทยเราพูดกันว่ากลิ่น “E. Coli” นั้นเป็นการพูดโดยอนุโลมเอาตามที่คิดว่า “มันน่าจะเป็น” เท่านั้น มีเรื่องเล่าว่า ณ โรงพยาบาลแพทย์เก่าแก่และมีชื่อเสียงของประเทศไทย แห่ ง หนึ่ ง หั ว หน้ า ศั ล ยแพทย์ ทำ � ผ่ า ตั ด คนไข้ บ าดเจ็ บ ที่ ช่ อ งท้ อ ง (Blunt Abdominal Trauma) แล้วไม่พบสิ่งผิดปกติเกือบจะ “ปิดท้อง” อยู่แล้ว และได้ พูดขึ้นว่า “ผมได้กลิ่น E. Coli” จึงทำ�ผ่าตัดต่อไป นศพ. ที่ช่วยผ่าตัดรวบรวม ความกล้าแล้วบอกว่า “อาจารย์ครับ ผมตด” หลายปีตอ่ มาผมอ่านตำ�ราพบว่า ความจริงคือ 1) หนองจาก E. Coli ไม่มกี ลิน่ 2) “กลิ่นในห้องผ่าตัด” ที่เราพูดถึงอยู่นี้เกิดจากแบคทีเรียอีกชนิดหนึ่งชื่อว่า Bacteroides fragilis ทีเ่ ขียนเล่ามานีก้ ด็ ว้ ยหวังผล 2 ประการคือ 1) สำ�หรับแพทย์ “รุ่นโต” ถ้ายังไม่รู้หรือรู้ผิดๆ จะได้รู้ความจริงเสียที 2) สำ�หรับแพทย์ “รุ่นเล็ก” หากโชคดีไปสอบสัมภาษณ์ถูกถามเรื่องนี้จะได้ตอบได้อย่างถูกต้อง ไม่เสียชื่อ แพทย์เชียงใหม่ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเรื่องนี้จะมีประโยชน์อย่างมาก

ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ 2555

23


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.