ระเบียบการสมัคร dou

Page 1


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

ระเบียบการสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เนีย

ระดับ สัมฤทธิบัตร ระดับ PRE-DEGREE ระดับ ปริญญาตรี

1


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

รู้จัก DOU Dhammakaya Open University (DOU) หรือ มหาวิทยาลัยธรรมกาย ก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2546 ตามดาริของพระราชภาวนาวิสุ ทธิ์ ซึ่งได้เ ล็ งเห็นความส าคั ญ ของพระพุทธศาสนาว่ามีคุ ณค่ าต่อ มวล มนุษยชาติ อันจะทาให้มนุษย์ได้ค้นพบความสุขที่แท้จริง DOU เป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาในระบบการศึกษาทางไกล จัดตั้งขึ้นเป็นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนโดยอาศัยอานาจตามความในอนุบัญญัติ 10 บรรพ 59 ของรัฐบัญญัติว่าด้วยการศึกษาแห่งมลรัฐ แคลิฟอร์เนีย และมาตรา 94739 (b) (6) ของรัฐบัญญัติการอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาเอกชนมลรัฐ แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา มีสานักงานใหญ่ตั้งอยู่ณเลขที่ 865 E. Monrovia Pl., Azusa, California 91702, USA และมีสานักงาน กว่า 40 แห่งทั่วโลก สาหรับประเทศไทย มหาวิทยาลัยได้มอบหมายให้ ชมรมประสานงานดีโอยู เป็น ตัวแทนจัดการด้านระบบการศึกษาในประเทศไทย

ปรัชญา มหาวิทยาลัยยึดปรัชญาการศึกษาตลอดชีวิตแบบไร้พรมแดน เป็นการศึกษาควบคู่กับการดารงชีวิต มุ่งให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกฝนศาสตร์แห่งความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ คือ มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรม ทั้งภาคปริยั ติแ ละภาคปฏิ บัติ ใ นพระพุ ท ธศาสนา ได้ฝึ กประสบการณ์การปฏิบั ติธ รรมอย่ างต่ อ เนื่อ ง มีความเข้าใจเรื่องโลกและชีวิ ตตามความเป็นจริง มีอุดมการณ์เป้าหมายชีวิตในการเกิดมาเป็นมนุษย์ สามารถฝึกฝนอบรมตนเองตามพุทธวิธี เป็นผู้มีลักษณะนิสัยที่งดงาม มีวิถีชีวิตที่ถูกต้อง นาความสุขสงบ มาสู่ชีวิตตน และสามารถเป็นกัลยาณมิตรให้กับผู้อื่นให้มีวิถีชีวิตที่ถูกต้องเช่นตนได้ อีกทั้งยังเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้แก่ บุคคลทั่วไป ในสาขาพุทธศาสตร์ เพื่อ ใช้เป็นอุปกรณ์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกด้าน โดยไม่จากัดเพศวัยเชื้อชาติศาสนาและเผ่าพันธุ์

2


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

ปณิธาน 1. มุ่งพั ฒนาความเป็นเลิ ศ ด้านการศึกษาศาสตร์แห่งความเป็นมนุษย์ที่ส มบูรณ์ผ่ านระบบการศึกษา ทางไกล 2. มุ่งจัดการศึกษาโดยให้ทั้งความรู้ด้านวิชาการและการฝึกฝนในภาคปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ซึมซับเอาความรู้ที่ไ ด้ศึก ษามาปฏิบัติจนเกิดความคุ้ นเคย สามารถใช้งานได้จริง นาไปสู่วิถี ชีวิต ที่ ถูกต้องและมีความสุข

จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อ ให้ นัก ศึกษามีความรู้ในพระธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งด้านปริยัติ ปฏิบัติ และ ปฏิเวธ 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการทาหน้าที่กัลยาณมิตรให้แก่ตนเองและ บุคคลในครอบครัว ชุมชนและสังคมโลก 3. เพื่อสร้างนักศึกษาให้เป็นผู้นาและต้นแบบทางศีลธรรมแก่สังคม เพื่อประโยชน์สุขของมวลมนุษยชาติ

การจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกล เพื่อถ่ายทอดความรู้และสร้างประสบการณ์ ชีวิตแก่นักศึกษา จึงจัดสาระสาคัญของหลักสูตรเป็นชุดวิชาที่บูรณาการเนื้อหาสาระและประสบการณ์ ต่างๆ ของวิชาที่มีค วามสั ม พั น ธ์ กั น เข้า ไว้ ด้ว ยกัน อย่า งมีร ะบบ ในรูป แบบของชุ ดการสอน เรีย กว่ า ชุดวิชา แต่ละชุดวิชามีค่า 5 หน่วยกิต มหาวิทยาลัยจัดระบบการศึกษาเป็นแบบทวิภาค คือ มี 2 ภาคการศึกษาปกติ และ 1 ภาคการศึกษา พิเศษ ในภาคการศึกษาปกติ จะต้องมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 13 สัปดาห์ และภาคการศึกษา พิเศษ ต้องมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ดังนี้ ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคฤดูร้อน ภาคการศึกษาที่ 2

ตั้งแต่เดือน มกราคม – พฤษภาคม ตั้งแต่เดือน มิถุนายน – สิงหาคม ตั้งแต่เดือน กันยายน - ธันวาคม

นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนไม่น้อยกว่า 1 ชุดวิชา แต่ไม่เกิน 4 ชุดวิชา จนกว่าจะครบจานวนชุดวิชา ตามหลัก สู ต ร ซึ่งนัก ศึก ษาจะต้อ งศึกษาภาคทฤษฎีผ่ านตาราควบคู่ ไปกับ ภาคปฏิบัติ โดยจะต้อ งทา กิจกรรมที่แต่ละชุดวิชาได้กาหนดไว้ผ่านแบบฝึกปฏิบัติประกอบวิชา 3


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

สื่อการศึกษา สื่อการศึกษาของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย 1. ตาราเรียนทางไกล 2. สื่อโสตทัศน์ประเภทภาพ/เสียงได้แก่ VCD, DVD 3. ตาราเรียนทางอินเตอร์เน็ต 4. สัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม (DMC Channel) 5. ศึกษาค้นกว่าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากสื่อการศึกษาอื่นๆ เช่น ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของ มหาวิทยาลัยฯ เป็นต้น

หลักสูตรการศึกษา มหาวิทยาลัยจัดระบบการศึกษาในแนวกว้างแบ่งเป็น 3 หลักสูตร คือ 1. สัมฤทธิบัตร สามารถเลือกศึกษาได้ตามความสนใจและรับสัมฤทธิบัตรเป็นชุดวิชา 2. PRE-DEGREE ต้องศึกษาหมวดวิชาบังคับ 8 ชุดวิชาควบคู่ไปกับการศึกษาชุดวิชาในหลักสูตรปริญญาตรี อีก 28 ชุดวิชา หมายเหตุ หลัก สู ตรนี้ได้ประกาศใช้ส าหรับนักศึกษาที่ส มัครเข้าศึกษาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2554 เป็ น ต้ น ไป เพื่ อ เป็ น การขยายโอกาสทางการศึ ก ษาแก่ ผู้ ที่ ไ ม่ มี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลาย แต่ต้องการศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาตรี 3. ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต ต้องศึกษาหมวดวิชาบังคับ 26 ชุดวิชา หมวดวิชาเลือก 2 ชุดวิชา รวม 28 ชุดวิชา

4


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

การสอบ วัน-เวลาสอบ

มหาวิทยาลัย กาหนดระยะเวลาสอบหนึ่งสัปดาห์ เรียกว่า สัปดาห์การสอบ และ ดาเนินการสอบแต่ละครั้งให้เสร็จสิ้นภายในหนึ่งสัปดาห์

ระบบการจัดสอบ ในแต่ละภาคการศึกษา มีการสอบปลายภาค 1 ครั้ง โดยนักศึกษาจะต้องมารับ ข้อสอบด้วยตนเอง หรือรับทางไปรษณีย์ ซึ่งนักศึกษาจะต้องระบุการรับข้อสอบไว้ ตั้งแต่การลงทะเบียน นักศึกษาจะต้องทาข้อสอบด้วยตนเอง และสามารถเปิดตารา ประกอบการทาข้อสอบได้ การแจ้งผลสอบ

มหาวิทยาลัยจะแจ้งผลการสอบแต่ละครั้งให้นักศึกษาทราบผ่าน www.dou.us และ เสา G6, M9 สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย

การวัดและประเมินผลการศึกษา การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยจัดแบ่งลักษณะเนื้อหาชุดวิชาเป็นชุดวิชาเชิงทฤษฎีและชุดวิชาเชิงปฏิบัติ สาขาวิชาเป็นผู้ กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนสาหรับการฝึกปฏิบัติและการสอบปลายภาค ตามลักษณะของแต่ละชุดวิชา ที่สาขาวิชารับผิดชอบ มหาวิทยาลัยใช้เวลาดาเนินการวัดผลในแต่ละภาคการศึกษา 4 สัปดาห์ โดยจะวัดผลผ่านแบบฝึกปฏิบัติ ประกอบวิชา สมุดบันทึกธรรม ข้อสอบปรนัยและข้อสอบอัตนัย

การประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยให้ลาดับขั้นการแสดงความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละชุดวิชา ดังนี้ ระดับ H (Honor) S (Satisfactory) U (Unsatisfactory)

ความหมาย ยอดเยี่ยม ผ่าน ไม่ผ่าน

5

ค่าคะแนน 4.00 2.30 0.00


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา นักศึกษาจะต้องชาระค่าธรรมเนียม ดังต่อไปนี้ ค่าธรรมเนียมแรกเข้า คนละ ค่าธรรมเนียมชุดวิชา ชุดวิชาละ

800 1,100

บาท บาท

ค่าจัดส่งสื่อการศึกษาสาหรับนักศึกษาที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ ใช้อัตราดังต่อไปนี้ โซนทวีปเอเชีย ชุดวิชาละ 500 บาท โซนทวีปโอเชียเนีย ชุดวิชาละ 700 บาท โซนทวีปยุโรป ชุดวิชาละ 700 บาท โซนทวีปอเมริกา ชุดวิชาละ 900 บาท *มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ปรับอัตราค่าธรรมเนียมตามความเหมาะสม

หมายเหตุ นักศึกษาจะต้องระบุวิธีการจัดส่งตารา และข้อสอบตั้งแต่ตอนลงทะเบียนเรียน และ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ก่อนการสอบปลายภาคอย่างน้อย 2 สัปดาห์

ปริญญาบัตร ผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจะได้รับปริญญาบัตร ชื่อว่า Bachelor of Buddhism (Buddhist Studies) ชื่อย่อ B.B. (Buddhist Studies) หรือ พุทธศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์) ชื่อย่อพธ.บ (พุทธศาสตร์) โดยจะมีพิธีประสาทปริญญาบัตรปีละ 1 ครั้ง ในช่วงปลายปีการศึกษา

6


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

การสมัครเป็นนักศึกษา ข้อกาหนดการสมัครเป็นนักศึกษา 1. ผู้สมัครต้องยื่นเอกสาร และชาระเงินค่าธรรมเนียมตามวันและเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด มิฉะนั้น จะถือว่าสละสิทธิ์ 2. ผู้ส มัครจะต้อ งยินยอมปฏิบัติต ามระเบียบ ค าสั่งและประกาศต่างๆ ของมหาวิทยาลั ยทุกประการ ทางมหาวิทยาลัยจึงจะรับเข้าศึกษา 3. เอกสารการสมัคร นักศึกษาต้องนามายื่นในวันรับสมัครเรียน ลงลายมือชื่อให้เรียบร้อยก่อนนามายื่น และถ้าปรากฏในภายหลังว่าเป็นลายมือชื่อปลอม มหาวิทยาลัยจะสั่งให้นักศึกษาผู้นั้นพ้นสภาพการ เป็นนักศึกษา

คุณสมบัติของผู้สมัคร แบ่งคุณสมบัติตามหลักสูตรที่ต้องการสมัคร ดังต่อไปนี้ 1. หลักสูตรสัมฤทธิบัตร ได้แก่ บุคคลทั่วไปไม่จากัดวุฒิการศึกษาแต่ต้องมีอายุครบ 16 ปีบริบูรณ์ใน วันเปิดภาคการศึกษา 2. หลักสูตร Pre-Degree ได้แก่ บุคคลทั่วไปที่ไม่มีวุฒิการศึกษา แต่ต้องการศึกษาระดับปริญญาตรี และต้องมีอายุครบ 16 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษา 3. หลักสูตรปริญญาตรี ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ที่ มีวุฒิการศึกษาขั้นต่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรื อ เทีย บเท่ า หรือ เปรี ยญธรรม 3 ประโยค และมี อ ายุค รบ 18 ปี บริ บูร ณ์ ใ นวั นเปิ ดภาค การศึกษา

7


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

วิธีการสมัคร สามารถกระทาได้ 2 วิธีคือ 1. สมัครทางไปรษณีย์ ดาวน์โหลดใบสมัครและใบลงทะเบียนได้จากเว็บไซท์ www.dou.us แล้วส่งเอกสารการสมัครที่ ครบถ้วน พร้อมค่าธรรมเนียมการสมัครและค่าลงทะเบียนไปที่ชมรมหรือศูนย์ประสานงาน DOU ใน ภูมิภาคที่นักศึกษาอยู่ ในประเทศไทยส่งเอกสารการสมัครได้ที่

ชมรมประสานงานดีโอยู ตู้ ป.ณ.69 ปณจ.คลองหลวง ปทุมธานี 12120

2. สมัครด้วยตนเอง ณ ศูนย์ประสานงาน DOU ในภูมิภาคที่ท่านอยู่ สาหรับประเทศไทย ยื่นใบสมัครได้ที่ วันจันทร์ – เสาร์ เวลา 9.00 – 11.00 น. และ 13.00-17.00 น. อาคารสานักการศึกษา วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทรศัพท์ 0-2901-1013, 0-2831-1000 ต่อ 2261 วันอาทิตย์ เวลา 8.30 – 16.00 น. (งดให้บริการช่วงปฏิบัติธรรม) เสา G6 หรือ เสา M9 สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย

8


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

เอกสารการสมัคร 1. ใบสมัครเป็นนักศึกษา (DOU101T) ที่กรอกข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์และติดรูปถ่ายแล้ว 2. ใบลงทะเบียนชุดวิชา (DOU102T) ที่กรอกข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ 3. สาเนาบัตรประชาชนที่รับรองสาเนาถูกต้อง จานวน 1 ฉบับ 4. สาหรับพระภิก ษุส ามเณร ใช้ สาเนาสุ ทธิส งฆ์ที่รับรองสาเนาถู กต้อ งโดยจะต้อ งมีหน้า แสดง สถานะปัจจุบัน หน้าบรรพชา และอุปสมบท จานวน 1 ฉบับ 5. สาเนาวุฒิการศึกษาสูงสุดที่ได้รับ (สาหรับผู้สมัครระดับปริญญาตรี) 6. รูปถ่ายสีขนาด 2 นิ้วจานวน 2 ใบหน้าตรง ไม่สวมหมวก หรือแว่นตาดา และถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน โดยเขียน ชื่อ นามสกุล ด้วยตัวบรรจงด้านหลังรูปทุกใบ 7. ค่าธรรมเนียมการสมัครและลงทะเบียน โดยมีอัตราดังนี้ (1) ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 800 บาท (2) ค่าธรรมเนียมชุดวิชาละ 1,100 บาท (ลงทะเบียนได้ไม่เกิน 4 ชุดวิชาในภาคการศึกษา ปกติ และไม่เกิน 2 ชุดวิชาในภาคฤดูร้อน) ในกรณีสมัครทางไปรษณีย์ สามารถชาระค่าธรรมเนียมได้ 2 ทาง คือ ก. ธนาณัติ สั่งจ่าย ชมรมประสานงานดีโอยู ข. โอนผ่านทางธนาคาร ธนาคารนครหลวงไทย สาขาคลองหลวง เลขที่บัญชี 029-2238-445 ชื่อบัญชี พระวุฒิชัย ปญฺญาวุฑฺโฒ หรือ นางสาวเขมิกา วรสันต์โต เมื่อชาระผ่านทางธนาคารแล้ว ให้นักศึกษาส่งสาเนาการชาระเงินพร้อมเอกสารการ สมัครทางไปรษณีย์ ตามที่อยู่ในหน้า 8

ใบตอบรับ 1. การสมัครด้วยตนเอง นักศึกษาจะได้รับใบยืนยันการลงทะเบียน ไว้เป็นหลักฐาน และนักศึกษาจะ ได้รับบัตรประจาตัวนักศึกษาพร้อมข้อสอบปลายภาค 2. การสมัครทางไปรษณีย์ เมื่อมหาวิทยาลัยได้รับเอกสารการสมัครและลงทะเบียนของนักศึกษาแล้ว จะท าการตรวจสอบเอกสาร ถ้ า หากครบถ้ ว นและถู ก ต้ อ ง จะจั ด ส่ ง เอกสารตามข้ อ 1 พร้ อ ม สื่อการศึกษาไปตามที่อยู่ในใบสมัคร ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับเอกสารการสมัคร 9


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

กองทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนการศึกษา ดังนี้ 1. กองทุนเพื่อสนับสนุนการศึกษาสาหรับนักศึกษาสถานภาพพระภิกษุสามเณรและแม่ชีทั่วโลก ซึ่งจะ ได้รับการยกเว้นค่าใช้จ่ายในการศึกษาตลอดหลักสูตรดังต่อไปนี้ (1) ค่าธรรมเนียมแรกเข้า (2) ค่าธรรมเนียมชุดวิชาที่ลงทะเบียนเป็นครั้งแรก (3) ค่าธรรมเนียมการสอบวัดระดับความรู้องค์รวมครั้งแรก (4) การยกเว้นนี้ไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ (ก) การลงทะเบียนซ้า นัก ศึก ษาต้อ งชาระค่ าสื่ อ ชุดวิชาละ 200 บาท ถึงแม้จะระบุว่าไม่ ขอรับสื่อการศึกษา (ข) ค่าธรรมเนียมการสอบวัดระดับความรู้องค์รวม ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป ครั้งละ 300 บาท (ค) ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ๆ ได้ แ ก่ ค่ า ธรรมเนี ย มการลงทะเบี ย นล่ า ช้ า ค่ า ธรรมเนี ย มการ เทียบโอนชุดวิชา หรือค่าธรรมเนียมอื่นที่มหาวิทยาลัยเรียกเก็บ

2. มหาวิทยาลัยจัดกองทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษาที่เป็นบุคลากรของวัดพระธรรมกายทุกประเภท โดยมีหนังสือรับรองจากหัวหน้ากองและผู้อานวยการสานักที่นักศึกษาสังกัด ก่อนมีการลงทะเบียนและ เรียกกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการศึกษาดังนี้ (1) ได้รับการยกเว้น ค่าหน่วยกิตการศึกษา ในภาคการศึกษาที่มีการรับรอง (2) ชาระค่าสื่อการศึกษาในทุกชุดวิชา (3) ชาระค่าธรรมเนียมการสมัครสอบวัดระดับความรู้องค์รวมครั้งละ 300 บาท (4) ในกรณี ที่ ใ ห้ ม หาวิ ท ยาลั ย จั ด ส่ ง สื่ อ การศึ ก ษาไปให้ นั ก ศึ ก ษาต้ อ งช าระค่ า จั ด ส่ ง ในอั ต รา เดียวกับนักศึกษาทั่วไป (5) ค่าธรรมเนียมการขึ้นทะเบียนบัณฑิต 1,400 บาท (6) การยกเว้นนี้ไม่ครอบคลุมสาหรับค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ (ก) ค่าธรรมเนียมแรกเข้า (ก) การลงทะเบียนซ้าต้องมีค่าใช้จ่ายสาหรับค่าสื่อการศึกษาทุกชุดวิชา ถึงแม้จะระบุว่าไม่ ขอรับสื่อการศึกษา (ข) ค่าธรรมเนียมอื่นๆ ได้แก่ ค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนล่าช้า ค่าธรรมเนียมการเทียบ โอนชุดวิชา หรือค่าธรรมเนียมอื่นที่มหาวิทยาลัยเรียกเก็บ

10


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

เงื่อนไขการขอรับทุน 1. เงื่อนไขขอรับทุนการศึกษาในข้อ 1 มีดังต่อไปนี้ (1) ต้องเป็นพระภิกษุหรือสามเณรที่มีบัตรสุทธิสงฆ์หรือ (2) ต้องเป็นแม่ชีที่มีบัตรประจาตัวแม่ชีซึ่งมีสถาบันรับรองชัดเจน

2. เงื่อนไขขอรับทุนการศึกษาในข้อ 2 มีดังต่อไปนี้ (1) ต้องเป็นบุคลากรที่ทางวัดพระธรรมกายรับรอง (2) บุ ค ลากรประเภทอุ บ าสก/อุ บ าสิ ก า บั ณ ฑิ ต แก้ ว ต้ อ งยื่ น หลั ก ฐานส าเนาบั ต รประจ าตั ว อุบาสก/อุบาสิกา บัณฑิตแก้ว ที่มีลายมือชื่อและรับรองสาเนาถูกต้องนามายื่นในวันสมัคร (3) บุคลากรวัดพระธรรมกายประเภทอื่นยกเว้นข้อ (2) จะต้องนาใบรับรองอาสาสมัครจากทาง มหาวิทยาลัยไปให้ผู้อานวยการสานักหรือตัวแทนผู้อานวยการสานักรับรองสถานภาพใน ครั้งแรกที่สมัครเรียน แต่ทางมหาวิทยาลัยจะตรวจสอบสถานภาพกับทางหน่วยงานของ ท่านในทุกภาคการศึกษา

11


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

โครงสร้างหลักสูตรปริญญาตรี ชุดวิชาบังคับ

ชุดวิชาเลือก

1. กลุ่มวิชาเป้าหมายชีวิต

1. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี

GL 101 GL 102 GL 203 GL 204 GL 305

จักรวาลวิทยา ปรโลกวิทยา กฎแห่งกรรม ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์

สมาธิ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ สมาธิ 2: หลักการเจริญสมาธิภาวนา สมาธิ 3: อุปสรรคและวิธีแก้ไขในการทาสมาธิ สมาธิ 4: เทคนิคการทาสมาธิเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย สมาธิ 5: หลักสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน สมาธิ 6: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (1) สมาธิ 7: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (2) สมาธิ 8: วิปัสสนากัมมัฏฐาน

3. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา GB 101 GB 102 GB 203 GB 304 GB 405 GB 406

ความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนา สูตรสาเร็จการพัฒนาตนเอง สูตรสาเร็จการพัฒนาสังคมโลก สูตรสาเร็จการพัฒนาองค์กรและเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฎก

4. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย SB 101 SB 202 SB 303 SB 304

วิถีชาวพุทธ วัฒนธรรมชาวพุทธ แม่บทการฝึกอบรมในพระพุทธศาสนา ชีวิตสมณะ

5. กลุ่มวิชาการทาหน้าที่กัลยาณมิตร DF 101 DF 202 DF 404

2. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย SB 405 ชาดกวิถีนักสร้างบารมี 3. กลุ่มวิชาการทาหน้าที่กัลยาณมิตร DF 303 เครื อ ข่ า ยองค์ ก รกั ล ยาณมิ ต ร

2. กลุ่มวิชาสมาธิ MD 101 MD 102 MD 203 MD 204 MD 305 MD 306 MD 407 MD 408

(เลือกอย่างน้อย 2 ชุดวิชา)

การทาหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น ทักษะการทาหน้าที่กัลยาณมิตร ศาสนศึกษา

12


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

โครงสร้างหลักสูตร PRE-DEGREE ชุดวิชาบังคับ PD 001 PD 002 PD 003 PD 004 PD 005 PD 006 PD 007 PD 008

หลักการสร้างความสุขในครอบครัว สูตรสาเร็จการสร้างบารมีเป็นทีม พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ คู่มือพุทธมามกะ พระไตรปิฎกเบื้องต้น ขุมทรัพย์แห่งปัญญาในพระไตรปิฎก พุทธธรรม 1 พุทธธรรม 2

และต้องศึกษาชุดวิชาในหลักสูตรปริญญาตรีควบคู่ไปด้วย

โครงสร้างหลักสูตรสัมฤทธิบัตร นั ก ศึ ก ษาสามารถสมั ค รและลงทะเบี ย นเรี ย นได้ ต ามความสนใจโดยไม่ จากั ด วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา แต่ ทั้ ง นี้ อ ายุ จ ะต้ อ งไม่ น้ อ ยกว่ า 16 ปี บ ริ บู ร ณ์ ขึ้ น ไปในวั น เปิ ด ภาคการศึ ก ษาและสามารถสะสม เพื่ อ ขอปรั บ เป็ น ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ไ ด้

13


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

คาอธิบายชุดวิชาต่างๆ 1. กลุ่มวิชาเป้าหมายชีวิต GL 101 จักรวาลวิทยา ศึกษาเรื่องราวของจักรวาลในพระพุทธศาสนา ธรรมชาติของโลกและชีวิต องค์ประกอบ ลักษณะ ระยะเวลาของโลก และ จักรวาล การเวียนว่ายตายเกิด กาเนิดมนุษย์และความเสื่อมของอายุ อันเนื่องมาจากศีลธรรมของมนุษย์ เพื่อให้เกิด สัมมาทิฏฐิ สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องตามพุทธวิธี มีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง GL 102 ปรโลกวิทยา ศึกษาสภาพการเกิด ลักษณะความเป็นอยู่ และวงจรของชีวิตในภพภูมิต่างๆ ทั้งการเสวยทิพยสมบัติในสุคติภพ การ เสวยทัณฑ์ทรมานในทุคติภพ ตลอดจนการศึกษาภพภูมิที่พ้นจากกิเลสไป จนถึงพระนิพพาน อันเป็นเป้าหมายสูงสุด ของชีวิตในสังสารวัฏ GL 203 กฎแห่งกรรม ศึกษาองค์ประกอบสาคัญของกฎแห่งกรรมอันมีความสัมพันธ์ต่อการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ เรียนรู้หลักกรรมใน คาสอนของพระพุทธศาสนา ประเภทของกรรมและการให้ผลของกรรม วิธีการทาลายบาป และศึกษากฎแห่งกรรมผ่าน เรือ่ งจริงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เพื่อก่อให้เกิดความเห็นถูกต้องแล้วใช้เป็นแม่บทในการดาเนินชีวิตอย่างมีคุณค่า GL 204 ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งแต่ความรู้ทั่วไปของการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คุณสมบัติ คุณธรรมของความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประเภทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เส้นทางการสั่งสมบารมีจนมาเป็นพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า และตัวอย่างการสร้างบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ตั้งแต่พระชาติแรกจนกระทั่งมาเป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน GL 305 ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์ ศึกษาชีวประวัติ ข้อวัตรปฏิบัติ ปฏิปทาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้าภาษีเจริญ ผู้ค้นพบวิชชา ธรรมกาย และคุณยายอาจารย์ มหารั ตนอุบ าสิก าจันทร์ ขนนกยู ง ที่ท่ านได้ ปฏิบั ติตามคาสอนขององค์ พระสั มมาสัมพุทธเจ้า นามาใช้ได้จริง เกิดผลจริง อันเป็นพยานแห่งการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นต้นแบบแห่ง การสร้างบารมีของชนรุ่นหลังสืบไป

14


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

2. กลุ่มวิชาสมาธิ MD 101 สมาธิ 1: ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับสมาธิ ศึกษาความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสาคัญ ประเภท และระดับของสมาธิ รูปแบบของการฝึกสมาธิ ลักษณะของ บุคคลที่ฝึกสมาธิได้ ประโยชน์ของสมาธิ บทฝึกสมาธิในชีวิตประจาวัน รวมทั้งหลักคาสอนที่เกี่ยวข้องกับความรู้เบื้องต้น ในการทาสมาธิเพื่อการเข้าถึงพระธรรมกาย MD 102 สมาธิ 2: หลักการเจริญสมาธิภาวนา ศึกษาหลักการปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย หลักปฏิบัติในการทาสมาธิในเรื่องการปรับกาย การปรับใจ นิมิต และ หลักการนึกนิมิต การรักษาสมาธิ การใช้คาภาวนา เทคนิคการวางใจ รวมทั้งหลักคาสอนที่เกี่ยวข้องกับหลักปฏิบัติใน การทาสมาธิเพื่อให้ผู้ศึกษานามาเป็นหลักปฏิบัติในเวลาฝึกสมาธิในชีวิตประจาวัน MD 203 สมาธิ 3: อุปสรรคและวิธีแก้ไขในการทาสมาธิ ศึกษาสาเหตุ ประเภท และวิธีการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติธรรม โดยเฉพาะการทาสมาธิ เช่น นิวรณ์ 5 ได้แก่ ความฟุ้ง ความเครียด การลุ้น เร่ง เพ่ง จ้อง เป็นต้น รวมทั้งศึกษาหลักคาสอนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้นักศึกษา สามารถนาความรู้มาใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างทาสมาธิได้ MD 204 สมาธิ 4: เทคนิคการทาสมาธิเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย ศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนในการทาสมาธิ เทคนิค วิธีการปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายได้แก่ อิทธิ บาท 4 สติ สบาย สม่าเสมอ สังเกตการทาใจในขณะฟังธรรม การเห็นกับความใจเย็น ประสบการณ์ภายในและ ประสบการณ์การเข้าถึงธรรม MD 305 สมาธิ 5: หลักสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ศึกษาความหมายของกัมมัฏฐาน วิธีปฏิบัติ และหลักสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน หลักเบื้องต้นก่อนเจริญกัมมัฏฐานใน พระไตรปิฎกและคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา และจากพระธรรมเทศนาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) MD 306 สมาธิ 6: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (1) ศึกษาหลักในการเจริญสมถกัมมัฏฐาน ได้แก่ กสิณ 10 และอนุสติ 10 รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับการ ปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย ตลอดจนฝึกปฏิบัติสมาธิในชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง MD 407 สมาธิ 7: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (2) ศึกษาหลักในการเจริญสมถกัมมัฏฐาน ได้แก่ อสุภะ 10 พรหมวิหาร 4 อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 จตุธาตุววัตถาน 1 และ อรูปฌาน 4 เพื่อเป็นแนวทางที่สอดคล้องกับการปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย MD 408 สมาธิ 8: วิปัสสนากัมมัฏฐาน ศึกษาหลักการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานในเรื่องกิเลส กรรม วิบาก จักรวาล ขันธ์ 5 อายตนะ 12 ธาตุ 18 อินทรีย์ 22 อริยสัจ 4 และปฏิจจสมุปบาท รวมทั้งหลักปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับวิชชาธรรมกาย

15


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

3. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา GB 101 ความรูพ้ ื้นฐานทางพระพุทธศาสนา ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หลักธรรมสาคัญที่นาไปสู่เป้าหมายสูงสุด โครงสร้างองค์รวมและ ลักษณะคาสอนในพระไตรปิฎก ศึกษาความสาคัญ ความหมาย และวิธีการปฏิบัติในเรื่องทาน ศีล ภาวนา ศัพท์ทาง พระพุทธศาสนาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาหัวข้อธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง หลักการ วิธีการปฏิบัติและมารยาทพื้นฐานต่อ พระรัตนตรัย GB 102 สูตรสาเร็จการพัฒนาตนเอง ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาชีวิตให้มีความก้าวหน้าด้วยมงคลชีวิต 38 ประการ ความสาคัญของมงคลชีวิตทั้ง ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การจัดหมวดหมู่มงคลชีวิต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของมงคลแต่ละข้อ แนวทางในการพัฒนา ตนเองและสังคมอย่างเป็นขั้นตอน ตลอดจนหลักธรรมอันนาไปสู่ความก้าวหน้าทั้งทางโลกและทางธรรม ทั้งโลกนี้และ โลกหน้า จนถึงการบรรลุมรรคผลนิพพานในที่สุด GB 203 สูตรสาเร็จการพัฒนาสังคมโลก ศึกษาภาพรวมของปัญหาสังคมในปัจจุบัน อันมีสาเหตุมาจากการขาดศีลธรรมและขาดสัมมาทิฐิ เพื่อหาแนวคิดในการ ปฏิรูปมนุษย์ ศึกษาคุณสมบัติของคนดีที่โลกต้องการ ปัจจัยที่เป็นความยั่งยืนแห่งคุณสมบัติของคนดี หลักการและ วิธีการปลูกฝังคุณสมบัติของคนดีที่โลกต้องการ และการสร้างเครือข่ายคนดี อันเป็นการนาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของการ พัฒนาสังคม GB 304 สูตรสาเร็จการพัฒนาองค์กรและเศรษฐกิจ ศึกษาเหตุแห่งความจนและความรวย การดาเนินชีวิตของผู้ครองเรือนแบบชาวพุทธที่ถูกต้อง หลักการสร้างฐานะตาม พุทธวิธี หลักการพัฒนาตนเองและฐานะทางเศรษฐกิจ และต้นเหตุแห่งความวิบัติ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถเอาชนะความจน ความเจ็บและความโง่ได้ GB 405 ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ความเป็ น มาของพระพุ ท ธศาสนาตั้ ง แต่ ส ภาพสั ง คมอิ น เดี ย ก่ อ นพุ ท ธกาล ความเป็ น ไปของ พระพุทธศาสนาสมัยพุทธกาล พุทธประวัติ การบริหารองค์การสงฆ์ การเปลี่ยนแปลงความเชื่อของคนในสังคมอินเดีย ความเป็นไปของพระพุทธศาสนาหลังพุทธปรินิพพาน ทั้งความเจริญและความเสื่อม การเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปสู่ นานาประเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน GB 406 สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฎก ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี หลักศีลธรรมของสรรพศาสตร์โดยสังเขป ได้แก่ แพทยศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วาทศาสตร์ เป็นต้น เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของศีลธรรมในพระพุทธศาสนากับ สรรพศาสตร์ดังกล่าว ตลอดจนวิเคราะห์หลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาที่มีคุณค่าและประโยชน์ต่อการพัฒนาชีวิต และสังคมให้เกิดสันติสุข GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี ศึกษาเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพโดยอาศัยพุทธวิธีโดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 2 ภาคคือ ภาคที่ 1 ศึกษาเรื่องอาหารการดื่ม น้าเพื่อเป็นยารักษาโรคการรักษาสุขภาพด้วยตนเอง เป็นต้น ส่วนภาคที่ 2 ศึกษาเรื่องดุลยภาพบาบัดทั้งในสมัย พุทธกาลและในสมัยปัจจุบัน ตลอดจนบทฝึกการรักษาสุขภาพโดยวิธีดุลยบาบัด 4 ประการ และในบทสุดท้ายกล่าวถึง ความสาคัญของนิสัยต่อการรักษาสมดุลโครงสร้างของร่างกาย

16


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

4. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย SB 101 วิถีชาวพุทธ ศึกษาความหมาย ประเภท วัตถุประสงค์ วิธีการ อานิสงส์ และวิธีการสร้างบุญบารมีตามหลักทาน ศีล ภาวนา ที่เป็นรากฐานใน การดาเนินชีวิตของชาวพุทธในแง่มุมต่างๆ เพื่อให้มีแรงบันดาลใจในการสร้างบารมีเพื่อประโยชน์ของตนเอง และสามารถชักชวน ผู้อื่นทาความดีได้ SB 202 วัฒนธรรมชาวพุทธ ศึกษาวัตถุประสงค์ รูปแบบ หลักการ และวิธีการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันเพื่อใช้ในการฝึกฝนพัฒนานิสัยของชาวพุทธ เช่นการ บริหารปัจจัย 4 มารยาทชาวพุท ธ และข้อ ควรปฏิบัติต่อ พระรั ตนตรัย เป็นต้ น รวมถึงการปฏิบัติ ศาสนพิธีที่ สาคัญทาง พระพุทธศาสนา SB 303 แม่บทการฝึกอบรมในพระพุทธศาสนา ศึกษาอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการในการฝึกอบรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยนาธัมมัญญูสูตรคณกโมคคัลลานสูตรและ พระสูตรสาคัญในพระไตรปิฎกมาเป็นแม่บทในการศึกษา และขยายรายละเอียดด้วยหลักธรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องพร้อมตัวอย่าง กรณีศึกษา SB 304 ชีวิตสมณะ ศึกษาวิถีชีวิต ความเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเรื่องเป้าหมายของการบวช การเลี้ยงชีวิตและวิธีการปฏิบัติ ตนเอง เพื่อการมุ่งไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ การกาจัดอาสวะให้หมดไปโดยอาศัยสามัญญผลสูตร SB 405 ชาดกวิถีนักสร้างบารมี ศึกษาเกี่ยวกับวิถีการดาเนินชีวิตในอดีตของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครั้งบาเพ็ญบารมีเป็นพระบรมโพธิสัตว์อยู่ ศึกษาวิธีการแก้ไข ปัญหา การเผชิญหน้ากับอุปสรรค การรู้จักต่อสู้เอาชนะกิเลสในใจตน และผู้อื่น เพื่อเป็นแบบอย่างในการคิดตัดสินใจ และปฏิบัติ ตนจนพาชีวิตให้ก้าวหน้าถึงจุดรุ่งโรจน์สูงสุด

5. กลุ่มวิชาการทาหน้าที่กัลยาณมิตร DF 101 การทาหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น ศึกษาความหมาย ความสาคัญ หลักการเบื้องต้น บทบาทหน้าที่และหลักธรรมในการทาหน้าที่กัลยาณมิตร และการทาหน้าที่ กัลยาณมิตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า การประยุกต์ใช้ความรู้ทางพฤติกรรมของบุคคลและกลุ่มคนในสังคม การสร้างแรงจูงใจ วิธีการและกระบวนการในการทาหน้าที่กัลยาณมิตร DF 202 ทักษะการทาหน้าที่กัลยาณมิตร ศึกษาความรู้เบื้องต้นว่าบุคคลทั้งหลายมีอัธยาศัยแตกต่างกัน การเตรียมตัวเรื่องบุคลิกภาพ การรู้จักกาลเทศะ มารยาทในการพูด การประยุกต์วิธีการเชิงบูรณาการเพื่อการทาหน้าที่กัลยาณมิตร และการพัฒนาตนเองในการทาหน้าที่กัลยาณมิตรเชิงปฏิบัติ พร้อมทั้งกรณีศึกษาและวิธีการต่างๆ ในการทาหน้าที่กัลยาณมิตร DF 303 เครือข่ายองค์กรกัลยาณมิตร ศึกษาหลักในการทาหน้าที่กัลยาณมิตรในลักษณะความร่วมมือกันระหว่างองค์กร ประกอบด้วย 3 องค์กรหลักที่สาคัญ คือ บ้าน วัด และโรงเรียน ตลอดจนบทบาทของแต่ละองค์กรต่อการทาหน้าที่กัลยาณมิตร อันก่อให้เกิดคนดีและสังคมที่ดีนาไปสู่ความสุข ความสงบและสันติสุขของโลกได้ DF 404 ศาสนศึ ก ษา ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับการนับถือศาสนาต่างๆ ของมนุษยชาติ โดยเริ่มต้นศึกษาความรู้พื้นฐานต่างๆ เกี่ยวกับศาสนา ศาสนา พื้นฐานดั้งเดิม เกี่ยวกับความเชื่อต่างๆ ของกลุ่มชนที่มีความล้าหลังทางวัฒนธรรม และศาสนาต่างๆ ที่มีศาสนิกชนนับถืออยู่ใน ปัจจุบันทั่วโลก

17


ระเบียบการสมัคร ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3

ตัวอย่างแผนการศึกษา หลักสูตรปริญญาตรี ชั้นปีที่

ปี 1

ภาคการศึกษาที่ 1 จักรวาลวิทยา

DF101

การทาหน้าที่กัลยาณมิตร เบื้องต้น

GL102

ปรโลกวิทยา

GB101

ความรู้พื้นฐานทาง พระพุทธศาสนา

MD102

สมาธิ 2

GB102

สูตรสาเร็จการพัฒนาตนเอง

MD101

สมาธิ 1

MD203

สมาธิ 3

SB101

วิถีชาวพุทธ

SB202

วัฒนธรรมชาวพุทธ

รวม 2 ชุดวิชา 10 หน่วยกิต

รวม 4 ชุดวิชา 20 หน่วยกิต ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สูตรสาเร็จการพัฒนาองค์กรและ เศรษฐกิจ

GL203

กฎแห่งกรรม

MD305

สมาธิ 5

GL204

GB203

สูตรสาเร็จการพัฒนา สังคมโลก

DF202

ทักษะการทาหน้าที่ กัลยาณมิตร

GB304

MD204

สมาธิ 4

MD306

สมาธิ 6

SB303

สูตรสาเร็จการพัฒนา องค์กรและเศรษฐกิจ

SB304

ชีวิตสมณะ

รวม 4 ชุดวิชา 20 หน่วยกิต

ปี 3

ภาคการศึกษาที่ 2

GL101

รวม 4 ชุดวิชา 20 หน่วยกิต

ปี 2

ภาคฤดูร้อน

รวม 2 ชุดวิชา 10 หน่วยกิต

รวม 4 ชุดวิชา 20 หน่วยกิต

GL305

ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์

MD408

สมาธิ 8

SB405*

ชาดก วิถีนักสร้างบารมี

GB405

ประวัตศิ าสตร์ พระพุทธศาสนา

DF404

ศาสนศึกษา

GB410*

การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี

MD407

สมาธิ 7

DF303*

เครือข่ายองค์กรกัลยาณมิตร

GB406

สรรพศาสตร์ใน พระไตรปิฎก

* หมายถึง วิชาเลือก ให้เลือกอย่างน้อย 2 ชุดวิชา รวม 2 ชุดวิชา 10 หน่วยกิต

รวม 4 ชุดวิชา 20 หน่วยกิต

รวม 2 ชุดวิชา 10 หน่วยกิต

18


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.