โครงร่างงานวิจัย เรื่อง ถาวร

Page 1

โครงร่ างงานวิจยั เรื่ อง ความคิดของนักเรียนทีม่ ีต่อจริยธรรมของบุคลากรทางการศึกษาใน

ศูนย์ การนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้ อย จังหวัดขอนแก่ น

ผูเ้ สนอสารนิพนธ์ นายถาวร ดงแสง นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน คณะศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา


ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา จะเห็นได้ ว่าจากแนวความคิดและผลการศึกษาวิจัยที่กล่ าวมานี้ พฤติกรรม จริ ยธรรมกับผู้บริ หารเป็ นเรื่ องคู่กัน และพฤติกรรมและจริ ยธรรมของผู้บริ หาร จากผลการศึกษาวิจัยนั้นคือหลักธรรมคาสอนขององค์ สมเด็จพระสั มมาสั มพุทธ เจ้ า โดยสรุ ปแล้ วเป็ นหลักธรรมที่ใช้ ในการครองตน ครองคนและครองงานของ ผู้บริ หาร ดังนั้นจึงจาเป็ นอย่ างยิ่งที่ผู้บริ หารสถานศึกษาในสั งคมยุคโลกาภิวัตน์ ต้ องมีพฤติกรรมจริ ยธรรมที่พึ่งประสงค์ เป็ นผู้นาที่เป็ นแบบอย่ างที่ดี จึงทาให้ ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึ กษาว่ าผู้บริ หารมีระดับจริ ยธรรมในด้ านการครองตน การครองคนและการครองงานมากน้ อยเพียงใดและในจังหวัดขอนแก่ นยังไม่ มี ผู้ ศึกษามาก่อน


วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อศึ กษาระดับจริ ยธรรมตามสภาพจริ ง และที่พึงประสงค์ ของบุ คลากรทาง การศึ กษาสถาน ตามความคิดเห็ นของนักเรี ยนในสถานศึ กษาศู นย์ การศึ กษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้ อย ในด้ านการครองตน การ ครองคน และการครองงาน 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับจริยธรรมตามสภาพจริงและทีพ่ งึ ประสงค์ ของ บุคลาการทางการศึกษาศึกษาตามความคิดเห็นของนักเรียนในสถานศึกษาศู นย์ การศึกษานอกระบบและกาศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้ อย 3. ศึกษาเปรียบเทียบระดับจริยธรรมตามสภาพจริงตามความคิดเห็นของนักเรี ยน ในสถานศึกษาศู นย์ การศึ กษานอกระบบและกาศึ กษาตามอัธยาศั ยอาเภอเปื อย น้ อย ใน 3 ด้ าน คือ 1. ด้ านการครองตน 2. การครองคน 3. การครองงาน


สมมติฐานของการวิจัย 1. จริ ยธรรมตามสภาพจริ งของบุคลากรทางการศึ กษาศู นย์ การศึ กษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้ อย จังหวัดขอนแก่น 2. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาและระดับจริยธรรมตามสภาพจริ ง ในด้ านการครองตน ครองคนและครองงานของบุคลากรทางการศึ กษา ศู นย์ การศึ กษานอกระบบและการศึ กษาตามอัธยาศั ยอาเภอเปื อยน้ อย จังหวัดขอนแก่น


ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตเนื้อหา การศึ กษาครั้ งนี้มุ่งศึ กษาระดับความพึงพอใจของนักศึ กษา ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย อ าเภอเปื อยน้ อ ย จริยธรรมของของผู้บริหารสถานศึกษาตามสภาพจริงและที่พึงประสงค์ ใน 3 ด้ านคือ 1.

•การครองตน (สัปปุริสธรรม 7)

2.

•การครองคน (สังคหวัตถุ 4)

3.

•การครองงาน (อิทธิบาท 4)


2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง 2.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้ อย จานวน 4 ตาบล ร่ วม 1,691 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างได้มาโดย 2.2.1 กาหนดกลุ่มตัวอย่ างตามตารางเครซีและมอร์ แกน (Krejcie and Morgan อ้ างถึงใน สุ ภาเพ็ญ จริ ยะเศรษฐ์ , 2542, หน้ า 84) จากการศึ กษานักศึ กษาศู นย์ การศึ กษานอกระบบและการศึ กษาตาม อัธยาศัยอาเภอเปื อยน้ อย จานวน 4 ตาบล ได้ จานวนกลุ่มตัวอย่ าง 114 คน 2.2.2 สุ่ มตัวอย่างอย่างง่ายตามสัดส่ วนนักศึกษาแต่ละตาบล


3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรต้ น ได้แก่ นักเรี ยนที่มีระดับความพึงพอของจริ ยธรรมของบุคลากร ทางการศึกษาในศูนย์การนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้อย 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดของนักเรี ยนที่มีต่อจริ ยธรรมของบุคลากรทาง การศึกษาในศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้อย ใน 3 ด้าน 1. การครองตน 2. การครองคน 3. การครองงาน


ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการวิจัย 1. ได้ ข้ อ ความรู้ เกี่ ย วกั บ คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ่ ง ประสงค์ ท างจริ ย ธรรมของผู้ บ ริ ห าร สถานศึ กษาและใช้ เป็ นแนวทางในการพัฒ นาในการพัฒ นาจริ ยธรรมของผู้ บ ริ ห าร สถานศึกษา 2. นาผลการวิจัยไปใช้ เป็ นแนวทางในการวางแผน ฝึ กอบรม พัฒนาคุณภาพผู้บริ หาร สถานเข้ าสู่ เกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา 3. นาผลไปสนั บสนุ นการกาหนดหลักสู ตรอบรมเตรี ยมผู้บริ หารเข้ าสู่ ตาแหน่ งของ ผู้บริหารการศึกษาของสถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา



กรอบแนวคิดเกีย่ วกับจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา

นักเรี ยนในสถาน ศึกษาศูนย์การศึกษานอก ระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ เปื อยน้อยจาแนกตาม เพศ 1. เพศชาย 2. เพศหญิง

จริ ยธรรมตามสภาพจริ ง และที่พ่ งึ ประสงค์ของบุคลาการ ทางการศึกษาศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอเปื อยน้อย ด้าน 1. การครองตน 2. การครองคน 3. การครองงาน


วิธีดาเนินการวิจัย ตามลาดับขั้นตอนดังนี้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง 2. เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล

3. การสร้ างเครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล 4. การเก็บรวบรวมข้ อมูล 5. การวิเคราะห์ ข้อมูล

6. สถิตทิ ใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล


ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้อย จานวน 3 ตาบล ร่ วม 1,691 คน

กลุ่มตัวอย่ าง 1. กาหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางเครซีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan อ้างถึงใน สุ ภาเพ็ญ จริ ยะเศรษฐ์, 2542, หน้า 84) จากการศึกษานักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้อย จานวน 3 ตาบล ได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 114 คน 2. สุ่ มตัวอย่างอย่างง่ายตามสัดส่ วนนักศึกษาแต่ละตาบล


เครื่ องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั สร้างขึ้นเองตามกรอบแนวคิด ของการวิจยั และยึดวัตถุประสงค์ของการวิจยั เป็ นหลัก จานวน 1 ฉบับ ซึ่ งแบบสอบถาม แบ่งเป็ น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 เป็ นข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม เป็ นคาถามเกี่ยวกับ เพศ และ กศน.ตาบล ลักษณะคาถามเป็ นแบบสารวจรายการ (check list) ตอนที่ 2 เป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (rating scale) ของลิเคร์ท (Likert) คือ มาก ที่สุดมาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับจริ ยธรรมของ ผูบ้ ริ หารในสถานศึกษาในปัจจุบนั และระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ใน 3 ด้าน จานวน 18 ข้อ


การสร้ างเครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย 1, ศึกษาเอกสาร ตารา และผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับพฤติกรรมจริยธรรมของ ผู้บริหาร 2. ศึกษารายละเอียดของตัวแปรทีต่ ้ องการจะวัดตามวัตถุประสงค์ กาหนดเป็ น ประเด็นหลัก และแจกแจงประเด็นหลักเป็ นประเด็นย่ อย นามากาหนดเป็ นข้ อ คาถาม 3. ร่ างแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (check list) และคาถามแบบมาตรา ส่ วนประมาณค่ า (rating scale) ให้ มีจานวนข้ อตามกาหนด


การสร้ างเครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย 4. นาแบบสอบถามขอคาแนะนาจากอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ ปรับปรุงแก้ไขให้ ครอบคลุมตรงเนื้อหา 5. นาแบบสอบถามทีป่ รับแก้แล้วให้ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน ตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหา 6. นาแบบสอบถามมาปรับแก้ และจัดทาแบบสอบถามเพื่อนาไปทดลองใช้ 7. นาแบบสอบถามมาแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ ได้ ฉบับสมบูรณ์ ทสี่ ุ ด จัดพิมพ์ แบบสอบถามให้ เพียงพอกับจานวนผู้ให้ ข้อมูล


การเก็บรวบรวมข้ อมูล 1. ขอหนังสื อรั บรองจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราช วิทยาลัย เพื่ อทราบและขอความอนุ เคราะห์ เก็บข้ อ มู ลจากสถานศึ กษาใน สั งกัด 2. นาหนังสื อจากสานักงานเขตพื้นที่การศึ กษาอาเภอเปื อยน้ อยพร้ อม เครื่ องมื อ(แบบสอบถาม)และกาหนดวันส่ งคื น ไปขอความอนุ เคราะห์ จาก ผู้บริหารสถานศึกษาด้ วยตนเองและส่ งในช่ องรับจดหมายของสถานศึกษาที่ มีอยู่ ณ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเปื อยน้ อย


การเก็บรวบรวมข้ อมูล 3. รั บ แบบสอบถามกลั บ คื น ด้ ว ยตนเองบางส่ วนและให้ สถานศึ ก ษาส่ งคื น ทางไปรษณี ย์ บ างส่ วนโดยมี ซ องผนึ ก ตรา ไปรษณีย์ให้ 4. เก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนได้ จานวน 114 ชุ ด คิดเป็ น 100 % ของแบบสอบถามทีส่ ่ งไปเก็บข้ อมูลทั้งหมด 5. น าแบบสอบถามที่ ไ ด้ คื น มาตรวจสอบความสมบู ร ณ์ ถูกต้ องก่อนทีจ่ ะนาไปวิเคราะห์


การวิเคราะห์ ข้อมูล ตอนที่ 1 ข้ อมูลสถานภาพส่ วนตัว วิเคราะห์ เป็ นความถี่ (frequency) และค่ าร้ อยละ(percentage) นาเสนอข้ อมูลในรู ป ตารางและความเรียง


การวิเคราะห์ ข้อมูล ตอนที่ 2 ข้ อมูลเกีย่ วกับพฤติกรรมจริยธรรมของผู้บริหารทั้ง 3 ด้ าน ตาม ความคิดเห็นของนักศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลโดยหาค่ าเฉลีย่ ( X , arithmetic mean) และหาค่ าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D. standard deviation) เปรียบเทียบโดยใช้ การวิเคราะห์ ความแปรปรวน ( oneway ANOVA / F– test) และทดสอบความแตกต่ างเป็ นรายคู่ด้วย วิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) การหาค่ าเฉลีย่ กาหนดเกณฑ์ การแปลความหมายตามเกณฑ์


จบ

การ นาเสนอ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.