รายงานการจัดกิจกรรมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีการศึกษา 2560

Page 1

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

โครงการเพาะพันธุปญญา(พัฒนายุววิจัย) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ชุดโครงงาน ไก)ย)างบ*านแคน

โดย นายเดชมณี เนาวโรจน และคณะ

มีนาคม 2561 -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สารบัญ บทคัดย)อ บทนํา การออกแบบกระบวนการเรียนรู-แบบ RBL ของโรงเรียน การคัดเลือกประเด็นหลัก สรุปผลการดําเนินกิจกรรมโครงการเพาะพันธุปญญาของโรงเรียน เสียงสะท-อนของครู นักเรียน และผู-บริหาร สรุปผลการดําเนินงานโครงงานย)อย 10 โครงงาน ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

หน*า 2 4 5 6 10 14 16 21

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สรุปงานประจําป3 (พฤษภาคม 2560 – มีนาคม 2561) บทคัดย)อ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ได-สมัครเข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา ศูนย พี่เลี้ยงมหาวิทาลัยอุบลราชธานี เป>นปที่ 4 ปการศึกษา 2560 มีผู-บริหารโรงเรียน จํานวน 2 คน ครูที่ปรึกษา โครงงาน จํานวน 10 คน มีนักเรียน ม.5/1 จํานวน 35 คน ร)วมกิจกรรมโครงการในครั้งนี้ โดยได-เลือกประเด็น หลัก เรื่อง ไก)ย)างบ-านแคน โดยให-นักเรียนเสนอประเด็น และลงมติประชาธิปไตยเสียงข-างมาก มีการนําเสนอ โครงงานย)อยเกี่ยวกับไก)ย)างบ-านแคน และได-รับการอนุมัติจากศูนยพี่เลี้ยง จํานวน 10 โครงงาน และสนับสนุน งบโครงงานละ 8,000 บาท ดังนี้ โครงงาน ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ชื่อโครงงาน เครื่องบดใบไม-แห-ง เครื่องออกกําลังกายแบบพอเพียง ปุHยโกบาฉิ การรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะ น้ํายาล-างจานสมุนไพร สมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ํา น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร สร-างความเชื่อในการอ)านฉลาก เจลล-างมือ ผงแซบ

บูรณาการกับ โครงงานที่ 3 ทุกโครงงาน 1 ทุกโครงงาน ทุกโครงงาน ทุกโครงงาน ทุกโครงงาน ทุกโครงงาน ทุกโครงงาน ทุกโครงงาน

ครู*

สอนกลุ)มวิชา

นายพิษณุ สมจิตร นางสาคร ทองเทพ นายดชมณี เนาวโรจน นางสาวกิตติมา สาระรักษ นายกิตติพงษ บุญสาร นายจีระศักดิ์ ลิภา นางนุชนาฎ โชติสุวรรณ นางสาวแสงเดือน บกน-อย นางสาวกุสุมา ไชยช)วย นางสาวยาใจ เจริญพงษ

วิทยาศาสตร วิทยาศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศาสตร วิทยาศาสตร วิทยาศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศาสตร เศรษฐศาสตร วิทยาศาสตร

งบประมาณรวม (ทุกโครงการย)อย) 80,000 บาท

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สรุปผลการทําโครงงาน ทั้ง 10 โครงงาน พบว)า โครงงานสามารถสรุปผลได-ตามสมมติฐานที่ตั้งไวจากการเข-ารวมโครงการเพาะพันธุปญญาในครั้งนี้ ทําให-ทั้งครูและนักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงตนเองอย)าง มากสามารถนํามาใช-กับการดําเนินชีวิตประจําวันได-เป>นอย)างดี เป>นโครงการที่เกิดการเรียนรู-อย)างมากมายมี ทั้งทุกข สุข ในกระบวนการทํางาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมากที่สุดของนักเรียนโครงการเพาะพันธุปญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เรียงจากมากไปหาน-อย ได-แก) 1. มนุษยสัมพันธ ทักษะ ทางสังคม 2 ทักษะการคิดวิเคราะห 3. การรับฟงผู-อื่น และ 4. ความกล-าแสดงออก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทนํา โรงเรี ย นสมเด็ จ พระญาณสั งวร ในพระสั งฆราชู ป ถัมภ สมั ครเข-า ร) ว มโครงการเพาะพั น ธุ ปญญา กับศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตั้งแต)ปการศึกษา 2557 จนถึงปการศึกษา 2560 ปที่ 4 ของ การเข-าร)วมโครงการฯ จากที่ครูไม)มีความรู-อะไรเลยเกี่ยวกับทักษะเพาะพันธุปญญาจนถึงกระทั่งปนี้คิดว)าครูมี การเปลี่ยนแปลงและได-เรียนรู-อย)างมากจากครูด-วยกันเอง โครงการเพาะพันธุปญญาเป>นโครงการที่มีรูปแบบที่ สามารถวัดผลได-ชัดเจน นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู- โดยเฉพาะปนี้ยุคคนไทย 4.0 โครงการนี้ก็สามารถสนอง นโยบายของรัฐบาลได-เป>นอย)างดี ปนี้ครูและนักเรียนของโรงเรียนที่ร)วมโครงการได-เรียนรู-กระบวนการ RBL ซึ่งเป>นกระบวนการเรียนรู-ของนักเรียนนอกห-องเรียนมีความเข-าใจและทํางานเป>นระบบมากขึ้น มีการวาง แผนการทํางานทําให-งานที่ได-ไม)ค)อยมีปญญาและอุปสรรคเหมือนปที่แล-ว กระบวนการทํางานแบบ RBL เป>นการเรียนรู- สู)กระบวนการทํางาน ลงมือปฏิบัติ ทําซ้ํา วิเคราะหเหตุ วิเคราะหผล จนเกิดเป>นทักษะที่จะติดตัวนักเรียนไปตลอดชีวิต

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


การออกแบบกระบวนการเรียนรู*แบบ RBL ของโรงเรียน(ญสส.) ป3การศึกษา 2561 โรงเรียนดําเนินการ

ศูนยพี่เลี้ยงดําเนินการ

เริ1 มต้ น สมัครร่วมโครงการ

ศูนย์พี1เลี -ยง ม.อุบลฯ

เลือกห้ อง / เลือกประเด็นหลัก ศึกษาดูงาน

แบ่งกลุม่ ค้ นคว้ า / เรี ยนรู้ / โครงงานย่อย อบรม

จิตปั ญญา

ศึกษาข้ อมูล/สอบถาม/สัมภาษณ์ ผู้มีความรู้และประสบการณ์

เอกสารตีพมิ พ์

ครูกลุม่ สาระวิทยาศาสตร์ /สังคม

อินเทอร์ เน็ต นําเสนอเค้ าโครงฯ

อัพเดรต facebook ลงมือทําโครงงาน RBL / เรี ยนรู้ RBL อัพเดรต Line ครู/นักเรี ยนเขียนไดอารี1 นักเรี ยนสรุปผล RBL แต่ละกลุม่

วิเคราะห์ข้อมูล หลักการ สรุปผลวิจยั นําเสนอปิ ดโครงการที1ศนู ย์ ม.อุบล

แสดงละครเวทีนําเสนอRBL นําเสนอปิ ดโครงการที1ศนู ย์ ม.อุบล

อบรมการเขียนรายงาน อบรมการคิดวิเคราะห์ ศูนย์พี1เลี -ยงนิเทศ RBL 1 ครังร่วมปิ ดโครงการทีเ1 มืองทอง กทม. แสดงละครเวทีนําเสนอRBL

สิ -นสุด

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


การคัดเลือกประเด็นหลัก(Theme) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ได-สมัครเข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา ศูนย พี่เลี้ยงมหาวิทาลัยอุบลราชธานี เป>นปที่ 4 ปการศึกษา 2560 มีผู-บริหารโรงเรียน จํานวน 2 คน ครูที่ปรึกษา โครงงาน จํานวน 10 คน มีนักเรียน ม.5/1 จํานวน 35 คน ในการเลือกประเด็นหลักของโรงเรียน ครูใหนักเรียนคิดหาประเด็นหลักโดยการวิพากวิจารณ ค-นคว-า สืบค-นข-อมูล ซึ่งนักเรียนได-เสนอไว-หลายเรื่อง สรุป สุด ท- า ยก็ เป> น เรื่ อง “การแก- ปญหาสุ ขภาพในโรงเรี ย น” โดยใช- ป ระชามติ ป ระชาธิ ปไตย พื้ น ฐานความรู- เ ดิ มที่ โรงเรียนหรือชุมชุมมี คือ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถัมภ เป>นโรงเรียนขนาดกลาง ระดับมัธยมศึกษา มีพื้นที่ประมาณ 70 ไร) เปUดทําการเรียนการสอนมาแล-ว 27 ป เป>นโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร แต)โรงเรียนยังมีปญหา ในด-านสขภาพและสิ่งแวดล-อมภายในโรงเรียนหลายอย)าง เช)น ปญหาในเรื่องใบไม- ปญหาในเรื่องน้ําหนักเกณฑเกณฑ ปญหา เกี่ยวกับการบริโภคอาหารของนักเรียน เป>นต-น

มูลเหตุจูงใจให-สนใจประเด็นนี้โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เปนโรงเรียนที่เขา รวมโครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ถาเราสามารถแกปญหาสุขภาพในโรงเรียนไดจะทําใหการ ดําเนินโครงการประสบความสําเร็จและสงผลดีดานสุขภาพตอผูเรียนเปนอยางยิ่ง

การออกแบบกระบวนการเรียนรู- RBL ของโรงเรียน หลังจากได-ประเด็นไก)ย)างบ-านแคนแล-ว ได-ใหนักเรียนค-นคว-า สิบค-นประเด็นที่จะทําโครงงาน RBL ย)อยเกี่ยวกับไก)ย)างบ-านแคน จํานวน 10 โครงงาน เขียน ผังเหตุผลแต)ละโครงงานย)อย และเสนอโครงงาน RBL ย)อยทั้ง 10 โครงงานเพื่อขออนุมัติ ผลปรากฏว)า ได-รับ การอนุมัติโครงการ RBL จํานวน 10 โครงงานและเงินสนับสนุน 80,000 บาท

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ตามแผนผังโครงงาน ดังนี้

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ประวัติความเปIนมาโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ : โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรตั้งอยู)เลขที่ ๑๕๑ หมู)ที่ ๗ ถนนแจ-งสนิท บ-านบกน-อย ตําบลดงแคนใหญ) อําเภอคํา เขื่อนแก-ว จังหวัดยโสธร ก)อตั้งขึ้นเมื่อปพุทธศักราช ๒๕๑๗ โดยคณะศิษยานุศิษยและผู-ที่เคารพนับถือในเจ-าพระคุณสมเด็จ พระญาณสังวร ได-จดั หาทุนเพื่อจัดสร-างโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารทีป่ ระชาชนมีความยากจนวางศิลาฤกษอาคารเรียนหลังแรก เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๑๗ บนเนือ้ ที่ ๓๘ ไร)เปUดรับนักเรียนรุ)นแรกเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๙ มีนายวิจิตร สายธนูทํา หน-าที่เป>นครูใหญ) ทําการสอนตั้งแต)ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ จนกระทั่งปพุทธศักราช ๒๕๓๕ ได-รับการอนุมัติจากกรมสามัญ ศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ให-เปUดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔–๖ จนถึงปจจุบัน ปรัชญาประจําโรงเรียนคือ “ปญญา เวอาวุธ เสฎฐ ” (ปญญาเป>นอาวุธอันประเสริฐ) คําขวัญของโรงเรียนคือ “วิชาการเด)นเน-นเทคโนโลยี มีคณ ุ ธรรม เลิศล้ําบรรยากาศ” สัญลักษณของโรงเรียนคือ ช-างตราดุลยพาห ตราสัญลักษณพระนามย)อ ญสส. (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก) ประดิษฐานเหนือตรา ของโรงเรียน อักษรย)อของโรงเรียนคือ ญสส. สีประจําโรงเรียนคือ สีฟdา – ชมพู โครงการส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร การพัฒนาสุขภาพนักเรียนตามแนวทางของโครงการโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพ ภายใต-แนวคิดการมีส)วนร)วมของ นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู-ปกครองและชุมชน เพื่อให-โรงเรียนเป>นจุดเริ่มต-นและศูนยรวมของการพัฒนา สุขภาพในชุมชน เป>นกลยุทธที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได-ร)วมดําเนินการกับฝgายการศึกษามาตั้งแต)ป 2541 ก)อให-เกิดผลเป>นที่น)าพอใจ โดยมีโรงเรียนเข-าร)วมโครงการและสามารถพัฒนากิจกรรมด-านสุขภาพจนผ)านการประเมินรับรอง เป>นโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพเพิ่มขึน้ ทุกปติดต)อกันเป>นลําดับ สําหรับเกณฑประเมินโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพที่ใช-ในช)วงที่ผ)านมา เป>นเกณฑที่ประกอบด-วย ตัวชี้วัดภายใตองคประกอบ 10 ประการ ซึ่งส)วนใหญ)เน-นด-านกระบวนการของกิจกรรมส)งเสริมสุขภาพเพื่อเป>นทิศทางแก)โรงเรียน แต)ยัง มิได-ให-ความสําคัญกับการวัดผลลัพธทางสุขภาพมากนัก ดังนั้นเมื่อการพัฒนางานโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพดําเนินมาจนมี โรงเรียนบรรลุเกณฑค)อนข-างสูงดังกล)าว ในป 2551 กรมอนามัยจึงเห็นสมควรที่จะยกระดับเกณฑประเมินโรงเรียนส)งเสริม สุขภาพขึ้นสู)อีกระดับหนึ่ง โดยจัดทําเกณฑมาตรฐานโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร ให-มีตัวชี้วัดที่เน-นการวัดผลทาง สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน และผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการขึ้น การที่โรงเรียนจะพัฒนากิจกรรมด-านสุขภาพให-บรรลุเกณฑมาตรฐานโรงเรียนระดับเพชรได-นั้น นอกจากโรงเรียน ต-องมีความเข-มแข็งสามารถพัฒนาประสิทธิภาพของการดําเนินงานแล-ว ยังอาจต-องอาศัยการสนับสนุนจากหน)วยงานต)าง ๆ การพัฒนาเปนโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร • สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร)วมกับหน)วยงานต-นสังกัดของโรงเรียนในพื้นที่ชี้แจง หน)วยงานฝgายสาธารณสุข ฝgา การศึกษา ตลอดจนโรงเรียนที่แสดงเจตจํานงเข-าร)วมพัฒนา • โรงเรียนนําผลจากการผ)านเกณฑประเมินเป>นโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับทองมาเป>นข-อมูลเบื้องต-น • โรงเรียนประเมินตนเองโดยใช-เกณฑมาตรฐานโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร เพื่อค-นหาสิ่งที่ยังไม)ถึงเกณฑ • โรงเรียนพัฒนาเข-าสู)เกณฑ โดยอาจใช-วงจร PDCA คือ วางแผน ดําเนินการ ทบทวนตรวจสอบ แก-ไขเพื่อปรับแผน ใหม) ทั้ งในส) ว นที่ ส ามารถดํ า เนิ น การ ได- เ อง และส) ว นที่ จํ า เป> น ต- อ งขอรั บ การสนั บ สนุ น จากบุ ค คล / หน) ว ยงาน ที่เกี่ยวข-อง ซึ่งสามารถขอคําแนะนําได-จากทีมประเมินระดับอําเภอ • เมื่อโรงเรียนเห็นว)าผ)านเกณฑมาตรฐานโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร จะต-องจัดทําเอกสารที่แสดงให-เห็นถึงผล การบรรลุตัวชี้วัดต)าง ๆ (แบบฟอรมในภาคผนวก) ส)งไปยังทีมประเมินระดับอําเภอ เพื่อขอรับการประเมินจากทีม ประเมินระดับจังหวัดต)อไป • เมื่อโรงเรียนได-ผ)านการประเมินเพื่อการรับรองเป>นโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชรจากทีมประเมินระดับจังหวัดแล-ว โรงเรียนจะได-รับใบประกาศเกียรติคุณจากกระทรวงสาธารณสุข และรับสิทธิ์จัดทําปdายสัญลักษณโรงเรียนส)งเสริม สุขภาพระดับเพชร ซึ่งเป>นรูปแบบเฉพาะ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการเพาะพันธุปญญาของโรงเรียน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ได-จัดกิจกรรมโครงการเพาพันธุปญญา ตลอด ระยะเวลา 1 ปการศึกษา ตั้งแต)เข-าร)วมโครงการฯ กับศูนยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทําให-ทั้งครูและนักเรียน เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงต) า ง ๆ อย) า งมากมาย ทั้ ง ด- า นจิ ต ใจ และพฤติ ก รรมการเรี ย นรู- ค รู แ ละนั ก เรี ย นมี ความสัมพันธกันอย)างใกล-ชิด โดยนํากระบนการ RBL มาใช-ในกระบวนการเรียนรู-ของนักเรียนจนทําใหนักเรียนมีความเข-าใจและสามารถนําไปปรับใช-กับชีวิตประจําวัน ผลจากการทํ ากิ จ กรรมที่ มุ)งมั่ น และทุ)มเท ทํ าให- เพาะพั น ธุปญญา โรงเรี ย นสมเด็ จ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ได-รับรางวัลจากศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบล ดังนี้ 1. โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ได-รับรางวัล หนังสั้นยอดเยี่ยม 2. นางสาวชนิภรณ มุ)งงาม ได-รับรางวัล นักเรียนเพาะพันธุปญญาแห)งป 3. นางนุชนาฎ โชติสวุ รรณ ได-รับรางวัล ครูเพาะพันธุปญญาแห)งป ภาพกิจกรรมของโรงเรียน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาพกิจกรรมของโรงเรียน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


เสียงสะท*อน (Reflections) ของครู นักเรียน และผู*บริหาร เสียงสะท*อนของครู

--------------------------------

--------------------------------------------------

“ เพาะพันธุปญญา

สร*างต*นกล*านักคิด ”

เพาะพั น ธุ ปญญา ใครหนอเป> น คนคิ ด วลี นี้ ช) า งเป> น วลี ที่ กิ น ใจ เมื่ อได- ยิ นได- ฟงครั้ งแรกก็ ส ะดุด หู ยิ่ งเมื่ อได- เ ข-า มาเป> น หนึ่ งในครู ที่ป รึ กษาเพาะพัน ธุ ปญญา ยิ่ งทํ าให- รู- ว) า โครงการนี้เหมาะสมแล-วกับชื่อเพาะพันธุปญญา เพราะเป>นกิจกรรมที่สร-างนักคิด นักวิชาการ นักวิจัยตั้งแต) วัยเด็ก ศึกษาสิ่งที่อยู)ใกล-ตัวโดยใช-องคความรู-ในด-านต)าง ๆ ที่นักเรียนที่เรียนรู-ในห-องเรียน มาศึกษาเรื่องที่ สนใจในเชิงลึก ทําไมพี่ ๆ ไม)เลือกให-เราเป>นหนึ่งในทีมของครูที่ปรึกษาโครงงานเพาะพันธุปญญา เป>นคําถามแรก หลังจากที่โครงการเพาะพันธุปญญาได-เข-ามาสู)รั้วโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ฯ เก็บคําถามนี้ไว-ในใจ ได-แต) เฝdามองการทํางานของครูและนักเรียนที่เข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา เมื่อผ)านปแรกของการเข-าร)วม โครงการ ก-าวเข-าสู)ปที่สอง คุณครูเดชมณี เนาวโรจน หัวหน-าโครงการเพาะพันธุปญญาของโรงเรียน ได-มา สอบถามว)าสนใจที่จะเข-าร)วมโครงการนี้หรือไม) ข-าพเจ-าได-ตอบคําถามโดยไม)ต-องเสียเวลาคิดแม-แต)วินาทีเดียว ว)าสนใจและยินดีมาก เมื่อได-เข-ามาเป>นสมาชิกของโครงการเพาะพันธุเต็มตัวแล-ว ได-มาสัมผัสกับคณาจารยที่ เป>นพี่เลี้ยงจากศูนยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได-เข-าร)วมประชุม อบรมเชิงปฏิบัติการต)าง ๆ แล-วยิ่งทําให-รู-สึก ว)า นี่แหละทางของเรา โครงการเพาะพันธุปญญาเป>นโครงการที่มีความจริงใจกับสมาชิกของโครงการทุกคน ทุกระดับ ทั้งครูและนักเรียน ส)งเสริมให-เกิดการเรียนรู- การแสวงหาความรู- เพื่อให-เกิดองคความรู-ที่ถูกต-อง ส)งเสริมให-นักเรียนเป>นคนช)างสังเกต ช)างสงสัย ตั้งคําถามได-แล-วนํามาสู)กระบวนการที่จะใช-ในการแสวงหา คําตอบ ฝmกการคิดแก-ปญหา ฝmกกระบวนการทางวิทยาศาสตร แล-วนําไปสู)ความคิดสร-างสรรค เพื่อสร-าง นวัตกรรมในอนาคต จากการที่ร)วมบ)มเพาะนักเรียนเพาะพันธุปญญามาแล-วหลายรุ)น ทําให-ได-เห็นพัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงของนักเรียนแต)ละคนที่เข-าร)วม มากบ-าง น-อยบ-าง แต)การันตีได-ว)าทุกคนเปลี่ยน และ เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น แล-วครูที่เข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญาล)ะ มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงบ-าง เริ่มจากการ สังเกตคุณครูที่จัดกิจกรรมการเรียนรู-ในห-องใกล-กัน ซึ่งเข-าร)วมโครงการนี้ก)อนข-าพเจ-า พบว)าคุณครูมีวิธีการ ในการบริหารจัดการห-องเรียนให-อยู)ในความเรียบร-อยได- โดยไม)ต-องอาศัยไม-เรียวหรือการดุด)า ในการจัดการ เรียนรู-เต็มไปด-วยเสียงหัวเราะพร-อมกับการที่นักเรียนเกิดการเรียนรู- คุณครูมีแรงบันดาลใจในการสร-างสรรค งานต)าง ๆ มีวิธีการจัดการเรียนรู-ที่ทันสมัย คุณครูแต)ละคนแสวงหาความรู-เพื่อนํามาใช-ในการประกอบวิชาชีพ แล-วเมื่อกลับมาย-อนมองตัวเอง แล-วตัวเราล)ะมีอะไรที่เปลี่ยนแปลงบ-าง เป>นคําถามที่หาคําตอบยากมาก -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


เพราะทําอย)างไร เราจะตอบได-โดยไม)เข-าข-างตัวเอง เมื่อเฝdาสังเกตจิตใจ ความคิด วิธีคิด วิธีการดําเนินชีวิต ทั้งด-านการงานและด-านครอบครัวแล-วพบว)า หลังจากเข-าร)วมโครงการนี้แล-วพบว)า ตนเองเป>นคนที่ ใจเย็น มากขึ้น เข-าใจชีวิต เข-าใจตอนเอง เข-าใจคนอื่นมากขึ้น ใจกว-าง ไม)ตัดสินสิ่งใดเพียงด-านเดียว ใช-จิตใจ ประกอบกับเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต)าง ๆ แล-วเหตุใดโครงการนี้ถึงสามารถเปลี่ยนแปลงสมาชิกของโครงการนี้ไปในทางที่ดีขึ้นได- ด-วยกิจกรรมที่ จัดขึ้นในแต)ละครั้งเป>นกิจกรรมที่มีประโยชน สามารถนํามาปรับใช-ได-ทั้งในการทํางาน เช)น ข-าพเจ-าเคยไดเข-าร)วมการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมี ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ เป>นวิทยากร นอกจากข-าพเจ-าจะ ได-รับองคความรู-จากกิจกรรมที่ถือเป>นหัวใจหลักของการจัดการอบรม เรื่อง STEM แล-ว ตลอดการจัดการ อบรม ข-าพเจ-ายังสัมผัสได-ถึงพลังงานด-านบวกจากวิทยากร ทําให-ข-าพเจ-าสามารถนํามาปรับใช-ในการดําเนิน ชีวิต และข-าพเจ-ายังได-ยึดท)านเป>นแบบอย)างในการสอนคน กล)าวคือ เมื่อท)านสอนสิ่งใดกับผู-เข-าร)วมการ อบรมแล-ว มีสมาชิกที่เข-าร)วมอบรมไม)เข-าใจในหัวข-อใด ท)านก็จะกล)าวว)า ไม)เป>นไร เอาใหม) แล-วท)านก็ พยายามหาตั ว อย) า งที่คิด ว) า ผู- เ ข-า ร) ว มอบรมจะสามารถเข- าใจได- ง)า ยยิ่ งขึ้ นมาอธิ บ ายแทน แล-ว มั น ก็ ทําใหผู-เข-าร)วมการอบรมเข-าใจได-จริง ซึ่งวิธีการนี้ข-าพเจ-าได-นํามาปรับใช-ในการจัดการเรียนรู-ในห-องเรียน กล)าวคือ หากในการจัดกิจกรรมการเรียนรู- แล-วมีเนื้อหาใดที่นักเรียนไม)เข-าใจ ข-าพเจ-าจะพยายามยกตัวอย)างสิ่งที่ใกลตัวนักเรียนมากขึ้น และคิดว)าเป>นสิ่งที่นักเรียนสามารถทําความเข-าใจได-ง)ายขึ้นมาอธิบาย ซึ่งก็ทําให-นักเรียน สามารถเข-าใจได-จริง และอีกสิ่งหนึ่งที่ข-าพเจ-าประทับใจจากการเข-าร)วมโครงการนี้มาเป>นระยะเวลา 3 ป คื อ ก) อ นหน- า นี้ ข- า พเจ- า ได- ยิ น ได- ฟ งนั ก วิ ช าการหลายท) า นได- ก ล) า วถึ ง ความคิ ด ขั้ น สู ง คื อ การคิ ด อย) า ง สร-างสรรค ข-าพเจ-าเกิดความสงสัย และเกิดความคิดขัดแย-งมาโดยตลอดว)า ความคิดสร-างสรรคหมายความ ว)าอย)างไร แล-วคิดอย)างไรถึงจะได-ชื่อว)าเป>นความคิดที่สร-างสรรค จนเมื่อได-เข-าร)วมการทํา PLC กับ โรงเรียนต-นแบบเพาะพันธุปญญา และได-มีท)านวิทยากรได-มาให-ความรู-กับผู-เข-าร)วมกิจกรรมว)า การที่ใครสัก คนจะเกิดความคิดสร-างสรรคได- คนคนนั้นต-องเป>นบุคคลที่มีองคความรู- ความคิดสร-างสรรคจะเกิดขึ้นไม)ไดเลยหากปราศจากองคความรู-ในด-านต)าง ๆ ประโยคนี้ทําให-ข-าพเจ-าเข-าใจคําว)า ความคิดสร-างสรรค ได-มาก ขึ้น เพาะพันธุปญญาได-ให-โอกาสกับทุกคนอย)างมาก ให-โอกาสในการเปลี่ยนแปลงความคิด ให-โอกาสใน การแสดงออกทางความคิด ให-โอกาสในการปรับทัศนคติต)าง ๆ ให-โอกาสในการแสวงหาความรู- สร-างองค ความรู-โดยการปฏิบัติจริง ให-โอกาสครูในโรงเรียนมัธยมประจําตําบลได-ดึงศักยภาพของตนเองออกมา กล-า คิด กล-าทําสิ่งที่เป>นประโยชนต)อต-นกล-าแห)งปญญาจากรุ)นต)อรุ)นสืบไป เขียนโดย : นางนุชนาฎ โชติสวุ รรณ เสียงสะท*อนของผู*บริหาร “ ปที่ 4 กับการเข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา ผมเห็นความมุ)งมั่นความตั้งใจของนักเรียน รวมทั้งคุณครูที่ปรึกษา เห็นการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะความรักความสามัคคี ทักษะชีวิตการทํางานของแต)ละคน ในนามของฝgายบริหาร ขอขอบคุณ ครูพี่เลี้ยง นักเรียนในโครงการเพาะพันธุปญญาที่ได-ดูแลให-ข-อคิดในการจัดการเรียนรู- โดยใช-การวิจัยเป>นฐาน ลูกๆนักเรียนใน โครงการทุกคน ได-แลกเปลี่ยนเรียนรู- มีทักษะกระบวนการในการเรียนรู-อย)างมีวิจารณญาณ สามารถเชื่อมต)อการเรียนรู-ตลอด ชีวิต หวังเป>นอย)างยิ่งว)า โครงการเพาะพันธุปญญาจะสร-างกระบวนการในการคิดวิเคราะหและเป>นพื้นฐานของนักวิจัยใน ระดับชาติต)อไป ”

นายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


เสียงสะท*อนของนักเรียน

ชื่อ : นางสาวชณิภรณ มุ)งงาม ฉายา : เจ*าแม)...บทหนังสัน้ เข*าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา ป3ที่ 4

สวั ส ดี ค)ะดิ ฉัน ชื่ อ นางสาวชนิ ภรณ มุ) งงาม ชื่ อเล)น เฟU ร น กําลังศึกษาอยู)ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 ที่โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ในปการศึกษา นี้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 ได-เข-าร)วมโครงการเพาะพันธปญญา รุ)นที่ 4 ครั้งแรกที่รู-ว)าได-ร)วม โครงการนี้ ดิฉันรู-สึกกลัวเพราะดิฉันไม)ถนัดการทํางานแบบกลุ)ม เพราะเป>นคนที่พูดอะไรเข-าใจยาก และได-ฟง จากรุ)นพี่เพาะพันธุรุ)นก)อนๆ ยิ่งทําให-กลัวมากขึ้น กดดันมาก แต)ก็หลีกเลี่ยงไม)ได- มีสิ่งเดียวที่ทําได-คือต-อง เผชิญหน-ากับการเรียนรูในวั น แรกที่ ไ ด- เ ข- า ร) ว มโครงการนี้ ที่ โ รงเรี ย น คุ ณ ครู ทํ า ให- นั ก เรี ย นในห- อ งรู- สึ ก สบาย ไม) เ ครี ย ด และเปU ด ใจเพื่ อ ที่ จ ะพร- อ มกั บ การเรี ย นรู- ต) อ ไป ซึ่ งในแต) ล ะสั ป ดาหก็ จ ะได- เ รี ย นจากการเรี ย นจิ ต ปญญา การเรียนรู-นี้ทําให-ดิฉันมีสมาธิกลับการเรียนรู-มากขึ้น ได-ฝmกการใช-ความคิด และสิ่งที่ได-เรียนในการเรียนจิต ปญญานั้นดิฉันนํามาปรับเข-ากับการทํางานกลุ)มของดิฉัน ซึ่งกลุ)มของดิฉันทําโครงงานเรื่อง การรณรงคในการ สร-างและการทิ้งขยะ เป>นการรณรงคในการใช-สื่ออกไปเผยแพร) ซึ่งการรณรงคนี้มีนํามาทํางานวิจัยได-นั้นก็ต-อง มีนักเรียนเฉลี่ย 30% ขึ้นไป ซึ่งในการสอบถามนั้นมีนักเรียนให-ความร)วมมือมากกว)า 30% ทําให-การทํางาน ผ)านไปได-ด-วยดี จากเด็กที่ไม)ชอบการทํางานที่เกี่ยวกับการวิจัยเพราะเป>นสิ่งที่ต-องติดตามผลการทํางาน ถ-า ในทางวิทยาศาสตรก็จะเปรียบเหมือนกับการบันทึกผลมาโดยตลอด การลงมือทําก็มีส)วนน-อยเพราะจะคอย ช)วยในการทํา ถ-าให-บันทึกผลการทํางานทุกวันนั้นจะไม)เป>นคนทํา เพราะความขี้เกียจของตน ประกอบกับกลัว ที่จะทํางานกลุ)มผิดพลาดทําให-ฉันไม)ชอบการทํางานกลุ)มมากนัก เมื่อก)อนเวลาที่ทํางานกลุ)มนั้นถ-าได-อยู)กับคน ที่เก)งกว)าจะไม)ได-ทํางาน แต)จะช)วยแค)เกน-อย แต)ถ-าได-อยู)กับคนที่ไม)เก)ง หรือไม)เอาใจใส)งานกลุ)ม ก็จะ ทํางานนี้แค)คนเดียวเพราะไม)ไว-ใจการทํางานของเพื่อนกลัวงานออกมาไม)สําเร็จ แต)พอได-เข-ามาร)วมโครงการนี้ มันต-องเรียนรู-ทุกคน ทํางานทุกคน ทําให-ดิฉันมีความคิดที่เปลี่ยนไปเกี่ยวกับการทํางานกลุ)ม อาจจะผิดบ-างก็ สามารนํางานมาปรึกษาคุณครูได-ตลอดเวลาผ)านไปครึ่งเทอมดิฉันเพื่อนในกลุ)มลงทําแบบสอบถาม จากนั้นใชเวลาว)างลงมือแจกแบบสอบถามโดยการเดินเข-าไปแจกลิงคกับเพื่อนๆ พี่ๆ น-องๆ ในโรงเรียน จากคนที่ไม) รู-จักกันได-มาพูดคุยกันทําให-ดิฉันคิดว)า ถึงแม-เราจะไม)รู-จักกันเลยแต)เมื่อพี่ๆ น-องๆ ในโรงเรียนอยากให-มีส)วน ร)วมในกิจกรรมต)างๆ นั้นนักเรียนส)วนใหญ)ให-ความร)วมมือเกินสิ่งที่ดิฉันคิดไว- บางคนไม)กล-าเดินเข-าหาแต)เมื่อ เราต-องทํางานก็ต-องปรับทุกอย)างทัศนคติ การพูด เพื่อที่จะโน-มน-าวใจให-เพื่อนๆ พี่ๆ น-องๆ ได-เป>นส)วนหนึ่ง ของการทําวิจัยในครั้งนี้ นอกจากการที่ได-ฝmกการพูดแล-วยังฝmกการทํางานร)วมกับผู-อื่นซึ่งเพื่อนในกลุ)มบางคน จะเป>นเพื่อนที่ไม)สนิทและไม)ค)อยได-ทํางานด-วยกัน แต)ก็สามารถปรับตัว เปUดใจเข-าหากันได- ขั้นตอนแรกผ)าน มาได-ด-วยดี แต)กว)าจะทําได-อุปสรรคตัวร-ายก็มีอยู)เรื่อยๆ เมื่อได-ลงมือทํางานบางครั้งก็เผลอคิดถึงคําที่รุ)นพี่ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


เพาะพันธุปญญาได-พูดให-ฟงว)า การเรียนเพาะพันธุปญญานั้นมันยาก หลายคนร-องไห-เพราะงานไม)เสร็จ หลายคนท-อ ไม)อยากเรียนแต)ดิฉันกลับไม)ได-อยู) ณ จุดนั้นแต)กลับคิดว)า ถ-าเราลงมือทํางาน ขยัน มีความ รับผิ ดชอบต) อหน-าที่ ต) อให- งานจะออกมาไม) สมบู รณแบบอย) างที่ คิดไว-แต)เ ราก็ ภูมิใจที่ ได- ลงมื อทํ างาน การ กระทํา สําคัญกว)าคําพูด อย)าพูดถ-ายังไม)ลงมือทํา ดิฉันยึดคตินี้มาตลอดเพื่อเตือนใจให-ตัวเองประมาณตนอยู) เสมอ ในทุกสัปดาหจะมีกิจกรรมจิตปญญาบางสัปดาหจะให-เราฝmกการจํา การสังเกตเพื่อน ไหวพริบ แสดง ความคิดที่หลากหลาย การทํางานในแต)ละครั้งจะสําเร็จไมได-ถ-าเราไม)รู-จักการวางแผนก)อนการทํางาน การคิด ให-รอบคอบก)อนการตัดสินใจ ให-เหตุผลมากกว)าการใช-อารมณ และสิ่งสําคัญคือการนําประสบการณที่ทํางาน มาปรับเข-ากับการใช-ชีวิตทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ตลอดระยะเวลา 1 ป ดิฉันได-เรียนรู-อะไรหลาย อย)างทั้งกลุ)มของเพื่อนร)วมห-องทั้ง 10 กลุ)ม ซึ่งแต)ละกลุ)มดิฉันเห็นการเปลี่ยนแปลงของเพื่อนแต)ละคน บาง คนเปลี่ยนอย)างก-าวกระโดดคือ กล-าที่จะแสดงความคิด การสานสัมพันธกันระหว)างเพื่อนในห-องเรียน การ ลงมือทํางานด-วยตนเองซึ่งเป>นเปdาหมายของโครงการนี้ บางคนอาจจะเบื่อ แต)ส)วนใหญ)นักเรียนแต)ละคน กลับมีความสุขกับการทํางาน บางคนมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นไปจากเดิม การเรียนรู-สู)การเปลี่ยนแปลงสําหรับดิฉันรู-สึกว)า การเรียนรู-ที่ดีนั้นชีวิตเราทั้งชีวิตสามารถเรียนรู-ไดตลอด แต)ละสิ่งที่เราเรียนรู-ก็จะมีบทเรียนที่คอยเตือนใจและนําบทเรียนมาแก-ไข การเรียนเพาะพันธุปญญาก็ ป ที่ ได- เรี ยนรู-ทั้งในห- องเรีย นและนอกเวลาเรีย น ได- ทํา งาน ได-ทํากิ กรรมต)า งๆ เช) นกั น เวลา 1 ทําให-มุมมองการใช-ชีวิตที่เป>นแบบเดิมเปลี่ยนไป นั่นคือการบริหารเวลาในการใช-ชีวิตบนความรับผิดชอบที่ ต-องมากขึ้น ใส)ใจการทําทุกอย)าง สิ่งที่เปลี่ยนอย)างเห็นได-ชัด คือ การทํางานภายในกลุ)มแล-วเพื่อนในกลุ)มไดทําทุกคนดิฉันมีความไว-ใจเพื่อนในกลุ)ม และครูที่ปรึกษาคอยให-แนวทาง ดูแล เอาใจ ทําให-ทุกคนกล-าที่จะ ลงมือทํา กล-าที่จะแสดงความคิดภายในกลุ)ม ดิฉันมีทักษะการทํางานมากขึ้นซึ่งได-สังเกตประสบการณที่ผ)าน มาทําให-สิ่งเหล)านั้นเป>นบทเรียนที่คอยสอนให-ดิฉันทําในสิ่งที่ถูกต-อง สําหรับรางวัลนักเรียนเพาะพันธุปญญา ดีเด)นดิฉันคิดว)า รางวัลนี้ก็เป>นของนักเรียนเพาะพันธุปญญาทุกคนเพราะทุกคนก็มีความตั้งใจศึกษาเรียนรูทําการทดลองผิดบ-าง ถูกบ-าง แต)สิ่งที่ทุกคนได-คือการเรียนรู-ด-วยตนเอง ดิฉันขอขอบคุณคณะครูที่ปรึกษาโครงการที่ได-เลือกดิฉันให-เป>นนักเรียนเพาะพันธุปญญาดีเด)นในป การศึกษานี้ ดิฉันถือว)าเป>นเกียรติอย)างยิ่งจากเด็กที่กลัวการเข-าร)วมโครงการ เคยท-อกับการทํางาน เคยกลัว เวลานําเสนอจากคณะศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อได-เข-ามาเรียนรู-ก็ได-สัมผัสกับสิ่งที่เกิดขึ้น ไม)ได-น)ากลัวเหมือนที่คนอื่นเล)า แต)เป>นการเรียนที่เราต-องลงมือทําด-วยตนเอง

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สรุปผลการดําเนินโครงงานย)อ10 โครงงาน 1. เครื่องบดใบไม*แรงปZน

โครงงานเรื่ อง เครื่ องบดใบไม-แรงปt น การหาประสิทธิ ภาพของเครื่ องบดใบไม-แรงปt น มา เปรี ยบเทีย บกั บเครื่องบดใบไม- แรงมอเตอร ว) ามี ป ระสิ ทธิภ าพใกล-เ คี ย งหรื อแตกต) า งกัน มากน- อย เพียงใด และเมื่อมอเตอรใช-ไม)ได-จะสามารถใช-ทดแทนกันได-หรือไม) โดยการจัดทําเครื่องบดใบไม-ที่ สามารถใช-ได-ทั้งแรงปtนและแรงมอเตอรได-ในเครื่องเดียวกัน ทําเครื่องบดที่บดโดยใช-มอเตอรก)อน จากนั้นทําการต)อเติมโดยการเชื่อมเหล็กเป>นฐานตั้งรถจักรยานมาต)อสายพานเข-ากับเพลา จะได-เครื่อง บดที่ใช-แรงปtนและแรงมอเตอรได-ในเครื่องเดียว ต)อมาทําการทดลอง บันทึกผลในตารางและวัดผล แบ)งเป>นสองตาราง โดยตารางแรกวัดผลโดยการทดลองวัดขนาดของใบไม-ของแรงปtนทั้งสองชนิดและ เปรียบเทียบ โดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้งใส)ในปริมาณ 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากันในการ ปtนทั้งสองแรง จากนั้นนําใบไม-ที่ได-มาร)อนผ)านตะแกรงร)อน ขนาดเส-นผ)านศูนยกลาง 1 เซนติเมตร ส)วนตารางที่สองวัดผลโดยการทดลอง โดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้ง กําหนดใบไม- 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากันในการปtนทั้งสองแรง จากนั้นจับเวลาที่ใช-ในการบดเครื่องบดทั้งสองชนิด จากการทดลองพบว)า จากการทดลองในตารางที่หนึ่ง ใบไม-ที่ถูกบดมีความละเอียดใกล-เคียง กันเพราะสามารถผ)านตะแกรงร)อนได-ทั้งสอง จากการทดลองในตารางที่สองใบไม-ที่ถูกปtนจากเครื่อง บดใบไม-แรงมอเตอรใช-เวลาในการบดน-อยกว)าเครื่องบดใบไม-แรงปtน แต)ไม)แตกต)างกันมากนัก และ เครื่องบดใบไม-แรงปtนมีประสิทธิภาพใกล-เคียงกับเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอร เมื่อมอเตอรใช-ไม)ไดสามารถใช-แรงปtนทดแทนได2. เครื่องบดใบไม*แห*ง

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรมีปญหาเกี่ยวกับภาวะเสี่ยงโรคอ-วนลงพุงซึ่งมีประมาณร-อยละ 30กลุ)มของพวกเราจึงได-ปรึกษากันว)าจะทําเครื่องออกกําลังกายซึ่งเราได-ทําขึ้น 2 แบบ แบยแรกจะ ทําด-วยลูกปuนแบบที่สองจะทําด-วยลูกแก-ว และกลุ)มของพวกเราได-ทําการทดลองแล-วว)าแบบที่สองจะ ดีกว)าแบบแรก จากการทดลอง.พบว)า เครื่องออกกําลังกาย แบบที่ 1. มีประสิทธิภาพในการเผาผลาญแคลอ รี่ได-ดีกว)า เครื่องออกกําลังกาย แบบที่ 2 เพราะ เครื่องออกกําลังกายแบบที่ 1 จะหมุนได-ดีกว)าแบบที่ 2 ทําให-สัดส)วนและน้ําหนักลดลง 3. ปุ\ยโกบาฉิ

โรงเรียนของเราเป>นโรงเรียนขนาดกลางซึ่งโรงเรียนของเราอุดมสมบรูณมีต-นไม-หลายชนิด จํานวนมากในแต)ละวันมีเศษใบไม-ร)วงจํานวนมากและปญหาที่พบในโรงเรียนคือใบไม-เกลื่อนโรงเรียน โดยโรงเรียนแก-ปญหาโดยจัดทําโครงการโรงเรียนสวยด-วยมือเรา มีการรวมใบไม-ไว-เยอะๆ ซึ่งไม)ได-ใชเกิดประโยชนแต)อย)างใด อีกทั้งถ-าเรานําใบไม-มาใช-ให-เกิดประโยชนจะเป>นการนําสิ่งที่ไม)มีค)าทําให-มี ค)าโดยยึดหลักคามพอเพียงตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 ได-อย)างสมบูรณ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ปุHยโบกาฉิ เป>นการนํา EM มาประยุกตใช-โดยการผ)านกระบวนการหมักแห-ง มีการผสม กากน้ําตาลเข-าไป เพื่อช)วยในการย)อยสลายของจุลินทรีย ก)อนจะหมักด-วยวัตถุดิบตามสูตรจนได-ที่ย)อ มาจาก Effective Microorganisms หมายถึง กลุ)มจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง ศ.ดร.เทรูโอะ ฮิงะ นักวิทยาศาสตร ผู-เชี่ยวชาญสาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยริวกิว เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุgน ได-ศึกษา แนวคิดเรื่อง " ดินมีชีวิต" ของท)านโมกิจิ โอกะดะ (พ.ศ.2425-2498) บิดาเกษตรธรรมชาติของโลก จากนั้น ดร.ฮิงะ เริ่มค-นคว-าทดลองตั้งแต)ป พ.ศ 2510 และค-นพบ EM เมื่อ พ.ศ. 2526 ท)านอุทิศ ทุ)มเททําการวิจัยผลว)ากลุ)มจุลินทรียนี้ใช-ได-ผลจริง หลังจากนั้นศาสนาจารยวาคุกามิ ได-นํามาเผยแพร) ในประเทศไทย โดยท)านเป>นประธานมูลนิธิบําเพ็ญสาธารณประโยชนด-วยกิจกรรมทางศาสนา หรือ คิวเซ (คิวเซ แปลว)า ช)วยเหลือโลก) ปจจุบัน ตั้งอยู)ที่ อ.แก)งคอย จ.สระบุรี และนําไปใช-ให-เกิดผลดีใน การปรับสภาพโครงสร-างของดินให-ร)วนซุยในแปลงปลูกพืช ดาวเรือง เป>นไม-ดอกที่คนไทยนิยมปลูกกันมาก เนื่องจากเมล็ดมีขนาดใหญ)ปลูกง)าย งอกเร็ว ต-นโตเร็ว และแข็งแรงไม)ค)อยมีโรคหรือแมลงรบกวน ให-ดอกเร็ว ดอกดก มีหลายชนิดและหลายสี รูปทรงของดอกสวยงาม สีสันสดใส ที่ดาวเรืองเพราะช)วงนี้เป>นช)วงที่ รัชกาลที่9 ทรงเสด็จสวรรณคต และเป>นพืชที่หาได-ตามท-องถิ่น หาได-ง)าย กลุ)มของข-าพเจ-าจึงมีความสนใจที่จะใช-ประโยชนจากเศษ ใบไม-คือเราจะนําเศษใบไม-มาใช-เป>นส)วนผสมในการทําปุHยหมักโบกาฉิ เพื่อให-ได-อัตราส)วนที่เหมาะสม ในการปลูกดอกดาวเรือง ผลปรากฏว)า การศึกษาทดลองเปรียบเทียบการปลูกดอกดาวเรื่องโดยใช-สูตรปุHยโบกาฉิ ทั้ง 3 ตัวเปรียบเทียบและสังเกตการณเจริญเติบโตของดอกดาวเรือง พบว)า สูตรปุHยโบกาฉิสูตรที่ 1 ทําใหการเจริญเติบโตของต-นดาวเรืองทั้งความสูงและจํานวนดอกดีกว)าปุHยโบกาฉิ สูตรที่ 2 และไม)ใส)ปุHย โบกาฉิ แสดงว)า ปุHยโบกาฉิ สูตรที่ 1 มีสารอาหารที่เหมาะต)อการเจริญเติบโตของดอกดาวเรือง เหมาะสมที่สุด 4. การรณรงคสร*างจิตสํานึกในการสร*างและทิ้งขยะ

จากการศึกษาโครงงานเรื่อง การรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะ ทางกลุ)มผู-ศึกษามี วัตถุประสงคในการศึกษา คือ 1) ศึกษาพฤติกรรมเกี่ยวกับการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ 2) ศึกษาระดับความรู-และเจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะในโรงเรียน ของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ 3) พัฒนาสื่อในการให-ความรู-และส)งเสริมให-นักเรียน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯมีเจตคติที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ผลการศึกษาพบว)า ระดับความรู-เกี่ยวกับขยะของผู-บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา แม)ค-า ของโรงเรียนสมเด็ จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชู ปถัมภ มี ระดั บความรู-ที่ถูกต- องเกี่ ยวกั บขยะ จํานวน 120 คิดเป>นร-อยละ 68.97 และ มีระดับความรู-ที่ยังไม)ถูกต-องชัดเจน จํานวน 54 คน คิด เป>นร-อยละ 31.03 จึงจําเป>นอย)างยิ่งที่ต-องมีการจัดกิจกรรมในการให-ความรู-เกี่ยวกับ ขยะเพื่อพัฒนาความรู-ความเข-าใจอย)างถูกต-อง ด-านพฤติกรรมการสร-างและการทิ้งขยะในการสร-าง และทิ้งขยะในสถานศึกษาโดย พบว)าส)วนใหญ)ยังมีพฤติกรรมที่ไม)ถูกต-องในการทิ้งขยะ จําเป>นต-องมี -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


การรณรงคให-เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส)วนในด-านเจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะในโรงเรียน นั้น ส)วนใหญ)มีเจตคติที่ดี และเห็นว)าโรงเรียนควรมีการรณรงคเพื่อให-ความรู-และสร-างเจตคติที่ดี เกี่ยวกับการสร-าและการทิ้งขยะ ถ-าโรงเรียนมีกิจกรรมดังกล)าวจะเข-าร)วมกิจกรรมด-วยความเต็มใจ ระดับ ความพึงพอใจต) อสื่ อเพื่อรณรงคสร- างเจตคติที่ดีในการสร-า งและการทิ้ งขยะของนักเรี ยนใน โรงเรียน พบว)า สื่ อที่จั ดทําขึ้ นเพื่ อรณรงคให-ความรู-เ กี่ยวกั บปญหาขยะในสถานศึกษามีเนื้ อหาที่ เหมาะสม มีรูปแบบที่ดึงดูดความสนใจ ให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาที่เกิดจากขยะที่มีต)อการดําเนินชีวิต ได- ให-ความรู-เกี่ยวกับวิธีการทิ้งขยะที่ถูกต-อง มีความเหมาะสมกับบุคลากรในสถานศึกษาทุกเพศ ทุก วัย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดี และสามารถให-ข-อคิดที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะใน สถานศึกษา โดยมีค)าเฉลี่ย 4.14 อยู)ในระดับมาก ระดับความพึงพอใจในการเข-าร)วมกิจกรรมรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของ นักเรียนในโรงเรียนนั้น พบว)า ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมและการประชาสัมพันธกิจกรรมมี ความเหมาะสม สื่อที่ใช-ในการรณรงคมีความเหมาะสม สื่อและกิจกรรม Big cleaning Day ที่ใช-ใน การรณรงคนั้นช)วยพัฒนาความรู- เปลี่ยนแปลงเจตคติและพฤติกรรมได- จนทําให-เกิดความพึงพอใจ ได-รับประโยชน และมีความต-องการในการจัดกิจกรรมการรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้ง ขยะในสถานศึกษาในปการศึกษาต)อไป โดยมีค)าเฉลี่ย 3.99 อยู)ในระดับมาก 5. น้ํายาล*างจานสมุนไพร

กล)าวถึงปญหาด-านสุขภาพในโรงเรียนซึ่งโรงเรียนของเราได-เข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา และเป>นโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร พวกเราได-เห็นแม)ค-าใช-ผงซักฟอกในการล-างจานและ ผงซักฟอกมีสารเคมีเยอะซึ่งไม)เหมาะกับการล-างจาน ทางกลุ)มของเราจึงมีความคิดว)าจะทําน้ํายาล-างจานจากสมุนไพรที่สามรถหาได-ในท-องถิ่นคือ การนํามะกรูดมาใช-แทนสารเคมีอื่นๆและเราคิดค-นน้ํายาล-างจานที่จะช)วยลดสารเคมีที่มีในน้ํายาล-าง จานให-น-อยลงโดยใช-สมุนไพรในการกําจัดคราบมันและกลิ่นคาวในจาน น้ํายาล-างจานมีอยู) 3 สูตร คือ สูตรมะกรูด ตะลิงปลิง และมะขามเปยก จากที่ได-ทําการทดลองและสรุปผล ผลปรากฏว)าน้ํายาล-างจานสมุนไพรจากมะกรูดขจัดคราบมัน และกลิ่นคาวได-ดีกว)าสูตรอื่น เมื่อได-รู-ผลการทดลองแล-วทางกลุ)มพวกราจะนําน้ํายาล-างจานไปให-กลุ)ม แม)ค-าในโรงอาหารใช-เพื่อใช-แทนผงซักฟอกในการล-างจาน 6. สมุนไพรดับกลิ่นห*องน้ํา

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เป>นโรงเรียนขนาดกลางที่ตั้งอยู)ใน ชุมชนชนบท มีพืชพรรณมากมาย พืชแต)ละชนิดก็มีประโยชนหลากหลาย เช)น มะกรูด ตะไคร- และ ใบเตย กลุ)มของพวกเราจึงมองเห็นในประโยชนของสมุนไพรที่มีอยู)ใกล-ตัว พวกเราจึงนําพืชทั้ง 3 ชนิด นี้นํามาทําเป>นสมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ําโดยทําการผสมสูตรมีทั้งหมด 6 สูตร คือ สูตรที่ 1 มะกรูดล-วน สูตรที่ 2 ตะไคร-ล-วน สูตรที่ 3 ใบเตยล-วน สูตรที่ 4 มะกรูด ตะไคร- และใบเตย ผสมกันในอัตราส)วนที่ เท)ากัน เพื่อทดสอบว)านักเรียนในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ ชอบกลิ่นไหนมากที่สุด โดยทํา แบบสอบถามความพึงพอใจ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ผลการทดลอง พบว)า ผู-ใช-บริการห-องน้ํามีความพึงพอใจ ในการใช-สมุนไพร ทั้ง 3 ชนิดในการ ดับกลิ่นห-องน้ํา โดย กลิ่นที่ผู-ใช-บริการห-องน้ําพึงพอใจมากที่สุด คือ มะกรูด 7. น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร

โครงงานเพาะพันธุปญญา โครงงานนี้ได-ทําการศึกษา เรื่อง น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร (bio-fermented) เพื่อเปรียบเทียบว)า น้ําหมักชีวภาพที่ผลิตขึ้นทั้ง 4 สูตร สูตรใดที่มีประสิทธิภาพใน การทําให-ต-นดาวเรืองเจริญเติบโตได-ดีที่สุด ซึ่งการวัดการเจริญเติบโต วัดจากจํานวนใบและความสูงของ ต-นดาวเรือง โดยกลุ)มผู-จัดทําได-ผลิตน้ําหมักชีวภาพ จากการนํา เศษอาหารมาหมักรวมกับ EM กากน้ําตาล และน้ําเปล)า ในอัตราส)วนที่แตกต)างกัน แล-วหมักไว-ในถังหมักเป>นเวลา 30 วัน จากนั้น นํามาทดลองรดกับต-นดาวเรืองที่เพาะปลูกไว- ซึ่งมีอายุ 30 วัน สูตรละ 3 ต-น รวม 12 ต-น และอีก 3 ต-นจัดเป>นชุดควบคุม คือ ไม)ได-รดน้ําหมักชีวภาพ รวมจํานวนต-นดาวเรืองที่นํามาทดลอง 15 ต-น แล-วทําการวัดการเจริญเติบโต สัปดาหหละ 1 ครั้ง เป>นเวลา 8 สัปดาห พบว)า น้ําหมักชีวภาพ สูตรที่ 2 ทําให-ต-นดาวเรืองมีจํานวนใบมากที่สุด คือ เฉลี่ย 47.67 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 3 เฉลี่ย 38 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 1 เฉลี่ย 31.33 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 4 เฉลี่ย 29.33 ใบ ลําดับสุดท-ายคือ ต-นดาวเรืองที่ไม)ได-รดน้ําหมักชีวภาพ มีจํานวนใบเฉลี่ย 6.67 ใบ จาก การวัดความสูงของต-นดาวเรือง พบว)า น้ําหมักชีวภาพ สูตรที่ 4 ทําให-ต-นดาวเรืองมีความสูงมากที่สุด คือ เฉลี่ย 32.25 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตร 2 เฉลี่ย 31.20 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 3 เฉลี่ย 30.65 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 1 เฉลี่ย 25.05 เซนติเมตร ลําดับ สุดท-าย คือ ต-นดาวเรืองที่ไม)ได-รดน้ําหมักชีวภาพ เฉลี่ย 7.83 เซนติเมตร จากผลการทดลอง สูตรที่ 2 มีผลเฉลี่ยการเจริญเติบโตของต-นดาวเรืองสูงกว)าสูตรอื่น ๆ เมื่อ เปรียบเทียบกับผลเฉลี่ยรวม สูตรที่ 2 ทําให-ต-นดาวเรืองมีใบมากที่สุด สูตรที่ 4 ทําให-ต-นดาวเรืองมี ความสูงมากที่สุด และสูตรที่ 3 กราฟแสดงผลการเจริญเติบโตจํานวนใบเฉลี่ยของต-นดาวเรืองและกราฟ แสดงความสูงเฉลี่ยของต-นดาวเรืองมีการเพิ่มขึ้นอย)างสม่ําเสมอเมื่อเปรียบเทียบกับสูตรอื่นรวมทั้งชุด ควบคุม 8. สร*างความเชื่อในการอ)านฉลาก

โครงงานนี้เพื่อให-ความรู- รณรงคในการอ)านฉลากโภชนาการ ฉลาก หวาน มัน เค็ม(ฉลาก GDA ) สัญลักษณโภชนาการ“ทางเลือกสุขภาพ” เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารดังกล)าว คําถามที่อยากรู- เราอยากทราบว)า การที่เราใส)ใจและสนใจในการอ)านฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA)และ สัญลักษณโภชนาการ ทางเลือกสุขภาพ การดูปริมาณแคลอรี่ที่ได-รับใน แต)ละวัน สามารถพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภตอาหารเพื่อลดปจจัยเสี่ยงต)อโรคไม) ติดต)อเรื้อรัง ของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ได-หรือไม) ได-มาก น-อยเพียงใด วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการพัฒนาการอ)านฉลากโภชนาการ เพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 พบว)า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่2 ในอายุระหว)าง 13-15 มีพัฒนาการการอ)านฉลากโภชนาการมากขึ้น และใส)ใจในการอ)านฉลากและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การอ)านฉลากโภชนาการมากขึ้น โดยนักเรียนกลุ)มเปdาหมายของเราใส)ใจการการดูแคลอรี่ในการ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


รับประทานอาหารในแต)ล)ะวันโดยถูกต-องและในประมาณที่พอเหมาะ โดยไม)เกิน 2,000 แคลอรี่ต)อ วัน และไม)น-อยกว)า 1,700 แคลอรี่ต)อวัน และอีกทั้งกลุ)มเปdาหมายของเรายังเล็งเห็นการดูแลสุขภาพ และออกกําลังกายมากขึ้น 9. เจลล*างมือ

ในการทําโครงการเรื่อง เจลล-างมือสร-างรายได- เป>นโครงงานประเภทเศรษฐศาสตร ได-มีการ ทําเจลล-างมือเพิ่มรายได- และสามรถทําเป>นอาชีพเสริมได- จากนั้นพวกเราได-ออกแบบสอบถามโดยยึด หลักการตลาด 7 Ps โดยออกแบบครั้งที่1 เกี่ยวกับการสํารวจพฤติกรรมความต-องการของผู-ใช-ต)อ ผลิตภัณฑเจลล-างมือพบว)าเป>นเพศหญิง50คนและเพศชายจํานวน50คนมีช)วงอายุที่10-18ปเป>น จํานวนมากและมีช)วงอายุ50ปขึ้นไปเป>นจํานวนน-อย ซึ่งมีอาชีพเป>นนักเรียนส)วนใหญ)และมีอาชีพเป>น เกษตกรส)วนน-อยและส)วนมากมีรายได-เฉลี่ยต)อเดือนน-อยกว)า3000บาท ส)วนน-อยมีรายได-เฉลี่ย 12,000-15,000บาท ซึ่งเหตุผลที่ชอบใช-เจลล-างมือส)วนมากเพื่อความสะอาด และรูปแบบผลิตภัณฑ เจลล-างมือส)วนมากที่นิยมใช-เป>นแบบบรรจุภัณฑหลอดบีบ รองลงมาเป>นแบบขวดแก-ว และใน ความคิดเห็นเกี่ยวกับเจลล-างมือ ส)วนมากคิดว)าเป>นผลิตภัณฑใหม)ที่ใช-เพื่อความสะอาด ส)วนน-อยคิด ว)าเป>นผลิตภัณฑอื่นๆ ซึ่งหากมีการวางจําหน)ายเจลล-างมือจํานวน70คนสนใจซื้อ และจํานวน30คนที่ ไม)แน)ใจ และจํานวนเงินที่จะซื้อย)างในแต)ละครั้งส)วนมากอยู)ที่30บาท ส)วนน-อยจํานวนเงินที่จะซื้อเจ ลล-างมือในแต)ละครั้ง20บาท และหากมีการวางจําหน)ายเจลล-างมือส)วนมากต-องการให-มีการวาง จําหน)ายที่ร-านค-าชุมชน ส)วนน-อยเป>นการซื้อจากเพื่อน ขณะในการทําเจลล-างมือก็มีอุปสรรคก็คือ ผู-ใช-มีความชอบที่ต)างกัน พวกเราได-ลองทําเจลล-างมือเรื่อยๆจนสามารถแก-ไขปญหาได-ก็คือ ได-คิดทํา เจลล-างมือขึ้นมา3สูตรคือ สูตรว)านหางจระเข- สูตรมะกรูด สูตรว)านหางจระเข-และมะกรูด ส)วนวัตถุ การทําก็เหมือนเดิม จากนั้นได-มีการออกแบบครั้งที่2การสํารวจพฤติกรรมความต-องการของผู-ใช- เพื่อ ต-องการทราบข-อมูลที่ผู-ใช-กลุ)มเปdาหมายพอใจหรือไม)อย)างไรในการเลือกใช-ผลิตภัณฑเจลล-างมือ โดย การแจกแบบสอบถามการสํารวจความพึงพอใจผลิตภัณฑหลังจากได-ใช-เจลล-างมือ เพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑตามความต-องการของผู-ใช-เพื่อนําข-อมูลที่ได-หรือข-อมูลความต-องการเกี่ยวกับการพัฒนา ผลิตภัณฑที่ผู-ใช-ต-องการ นํากลับมาแก-ไขและพัฒนาผลิตภัณฑให-ดีขึ้นพร-อมกับการแจกผลิตภัณฑเจ ลล-างมือสูตรต)างๆเพื่อให-ผู-ใช-ได-ทดลองก)อนเพื่อสํารวจความแน)ใจก)อนมีการขายผลิตภัณฑเจลล-างมือ เพื่อรายได-เสริมจากผลของแบบสอบถามการสํารวจพฤติกรรมความต-องการของผู-ใช- หลังจากได-ใช-เจ ลล-างมือ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑเจลล-างมือตามความต-องการของผู-ใช-โดยเน-นกลุ)มเปdาหมายผู-บริโภค ในช)วงอายุ 10-18ป พบว)ามีความสนใจผลิตภัณฑเจลล-างมือสูตรว)านหางจระเข-และมะกรูด รองลงมา เป>นเจลล-างมือสูตรมะกรูด และส)วนน-อยชอบเจลล-างมือสูตรว)านหางจระเขส)วนบรรจุภัณฑผู-ใช-เห็นด-วยอย)างยิ่งในเรื่องการใส)บรรจุภัณฑในหลอดบีบ ส)วนมากผู-ใช-มี ความพึงพอใจอย)างมากกับผลิตภัณฑเจลล-างมือเพราะเป>นผลิตภัณฑใหม)ที่น)าใช- ถ-าหากมีการวาง จําหน)ายผลิตภัณฑเจลล-างมือส)วนมากสนใจที่จะซื้อ และได-รับความร)วมมือทําแบบสอบถามทั้งสอง ครั้ง โดยผู-ใช-ผลิตภัณฑได-มีขอเสนอแนะหรือข-อคิดดีๆมาให-กลุ)มพวกเราได-นํามาพัฒนาผลิตภัณฑเจ ลล-างมือ เช)น พยามยามสู-ต)อไป ยินดีสนับสนุนผลิตภัณฑ เป>นการทําเจลล-างมือจากวัตถุดิบธรรมชาติ มีความปลอดภัย ผลิตภัณฑน)าใช-สะอาด ซึ่งจากข-อเสนอแนะทั้งหมดนี้ เป>นการพูดให-กําลังใจ รวมทั้ง ข-อที่ควรปฏิบัติ ต-องขอขอบพระคุณทุกๆท)านที่ให-ความร)วมมือในการตอบแบบสอบถามทั้งสองครั้ง

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สรุปผล จากการทําเจลล-างมือมีการลงทุนซื้ออุปกรณทั้งหมด 500 บาท ได-มีการขายเจลล-าง มือทั้งหมด 20 หลอดซึ่งหลอดหนึ่งราคา30บาท ได-ทั้งหมด 600 บาท เห็นได-ว)า ลงทุน 500บาท ไดกําไร 100บาท 10. ผงแซบ

โครงงานเพาะพันธุปญญาได-ทําการศึกษาเรื่องผงแซบ เพื่อศึกษาการใช-ผงแซบแทนผงชูรสใน อาหาร โดยการใช-แบบประเมินความพึงพอใจในการสอบถามข-อมูล ซึ่งผลการเก็บข-อมูลพบว)า ผงแซบสูตรที่ 1รสหวาน สามารถใช-แทนอาหารประเภท ผัด ทอด โดยความพึงพอใจอยู)ใน ระดับ ร-อยละ 69 ผงแซบสูตรที่ 2 รสเผ็ด สามารถใช-แทนอาหารประเภทผัด โดยความพึงพอใจอยู)ในระดับ ร-อยละ 71 จากการทดลองสรุปได-ว)าผงแซบสูตรที่ 1 รสหวาน มีความเหมาะสมในการประกอบอาหาร ประเภทผัดและทอดมากที่สุด โดยระดับความพึงพอใจของผู-บริโภคอยู)ในระดับร-อยละ 72

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


รายชื่อคณะครู นักเรียนเพาะพันธุปญญา ป3การศึกษา 2558 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ผู*บริหาร 1. นายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียน 2. นายเชิดชัย สิงหคิบุตร ครูที่ปรึกษาร)วมโครงการ 1. นายเดชมณี เนาวโรจน 2. นางสาคร ทองเทพ 3. นางสาวยาใจ เจริญพงษ 4. นางสาวแสงเดือน บกน-อย 5. นายกิตติพงษ บุญสาร 6. นางสาวกิตติมา สาระรักษ 7. นางนุชนาฏ โชติสวุ รรณ 8. นางสาวกุสุมา ไชยช)วย 9. นายพิษณุ สมจิตร 10. นายจีระศักดิ์ ลิภา

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ครูกลุ)มวิชา วิทยาศาสตร ครูกลุ)มวิชา วิทยาศาสตร ครูกลุ)มวิชา วิทยาศาสตร ครูกลุ)มวิชา วิทยาศาสตร ครูกลุ)มวิชา วิทยาศาสตร ครูกลุ)มวิชา สังคมศึกษา ครูกลุ)มวิชา วิทยาศาสตร ครูกลุ)มวิชา คณิตศาสตร ครูกลุ)มวิชา สังคมศึกษา ครูกลุ)มวิชา สังคมศึกษา

มือถือ 0981049766 มือถือ 0854106857 มือถือ 0862506414 มือถือ 0872463509 มือถือ 0883758721 มือถือ 0801705406 มือถือ 0847524758 มือถือ 0868668355 มือถือ 0945216739 มือถือ 0843920580

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


นักเรียนร)วมโครงการเพาะพันธุปญญา ชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 5/1 ป3การศึกษา 2560 เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อ-สกุล นายกายสิทธิ์ สันดร นายนนทกานต ทองทา เด็กชายพัชรพล แสวงศรี นายมานนท วงชาลี นายมาโนชญ ชาวไทย นายสิทธิกร แลพล นายอัครพนธ มาลาวัยจันทร นางสาวจริยา บกน-อย นางสาวชนิภรณ มุ)งงาม นางสาวณัฐริกา ทองประสาน นางสาวพัชริดา วัฒนาเนตร นางสาวราตรี พูพวง นางสาวรุ-งตะวัน บกน-อย นางสาววิกานดา รวมธรรม นางสาวศิรินทิพย โคตรทิพย นางสาวอรุโณทัย รวมธรรม นายธีรเดช หลักคํา นายภาคิน ลําภาย นายมนตรี แก-วเนตร นางสาวพลอยนรินทร วงเวียน นางสาวภานุมาศ กลางนา นางสาววิยะดา ชาวไทย นางสาวธนาภา สาระพล นางสาวจุฑารัตน ตรงกลาง นางสาวปUยธิดา หมื่นสุข นางสาวภาวิณี แดงอุไร นางสาววิภาดา ทองทา นางสาวศิรลิ ักษณ ศิริโสม นายพีรพล แข็งขัน นายวันชัย แก-วยอดคง นายอภิสิทธิ์ แพทยทองชิว นางสาวเกวลิน ราชนู นายธีรภัทร บุญจรัส นายธีรศักดิ์ ภูมิประเสริฐ นายประทีป แสงกล-า

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ฉายา

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


Poster / เอกสารการนําเสนองานต)าง ๆ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


รายงานการประชาสัมพันธ : www.facebook.com/เพาะพันธุปญญา โรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร ในพระสังฆราชุปถัมภ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สัญญาที่ RDG5740040/59-11 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ชุดโครงงาน ไก)ย)างบ*านแคน รายงานสรุปการเงิน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ชื่อผู*ดูแลโครงงาน นายเดชมณี เนาวโรจน รายงานในช)วงตั้งแต)วันที่ 2 ธันวาคม 2559 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 หมายเหตุ เป>นรายงานสรุปการเงินรวมของทุกโครงงานย)อย โดยยึดถืองบประมาณรวมตามเอกสารแนบ หมายเลข 1/1 หมวดตาม สัญญา

รายจ)ายสะสม จากรายงาน ครั้งก)อน A

รายจ)าย ค)าใช*จ)ายงวด รวมรายจ)าย ปจจุบัน B สะสมจนถึง ปจจุบัน C= A+B 10000

1. ค)าตอบแทน หรือค)าประกัน คุณภาพ 2. ค)าวัสดุ อุปกรณ 3. ค)าใช-สอย รวมทั้งสิ้น * นํามาจากเอกสารแนบหมายเลข 1/1

งบประมาณ ที่ตั้งไว*ตาม สัญญา D*

0

20000

0

5000 80000

0 0

จํานวนเงินที่ได-รับและจํานวนเงินคงเหลือ จํานวนเงินที่ได*รับ จํานวนเงิน วันที่ได*รับ ค)าใช*จ)าย งวดที่ 1 64000 งวดที่ 1 งวดที่ 2 16000 งวดที่ 2 ดอกเบี้ย ครั้งที่ 1 ดอกเบี้ย ครั้งที่ 2 รวมรายรับ 80000 รวมรายจ)าย

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

คงเหลือ (หรือเกิน) E=D-C

จํานวน 64000 16000 80000

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


โครงงาน RBL เครื่องบดใบไม*แรงปZน

นางสาวศิรินทิพย โคตรทิพย นางสาวเกวลิน ราชนู นายมนตรี แก*วเนตร

ครูที่ปรึกษา นายพิษณุ สมจิตร

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


กิตติกรรมประกาศ ในการจัดทําโครงงานเรื่อง เครื่องบดใบไม-แรงปtน ในครั้งนี้โครงงานวิจัยนี้ได-รับการสนับสนุนจากการ วิจัย โครงการวิจัยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ขอกราบขอบพรคุณ นายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ นายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผู-อํานวยการ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ที่ให-การสนับสนุน และส)งเสริมให-นักเรียนได-พัฒนา ทักษะการคิด การทําโครงงาน ให-คําชี้แนะและอํานวยความสะดวกในการทําโครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณ คุณครูเดชมณี เนาวโรจน และคุณครูพิษณุ สมจิตร ที่ให-คําปรึกษา ดูแล แนะนํา และแก-ไขข-อบกพร)อง ในการทําโครงงานทุกด-าน กราบขอบพระคุณ คณะคุณครูและบุคลากรทางการศึกษา และสมาชิกในครอบครัวที่คอยช)วยเหลือในการทําโครงงาน อีกทั้งเพื่อนนักเรียนที่คอยให-กําลังใจ จนกระทั่ง โครงงานเรื่ อง เครื่ องบดใบไม- แรงปtน สํ า เร็ จลุ ล) ว ง ขอขอบคุ ณทุ กท) า นที่ มีส)ว นเกี่ ย วข-องให- งานบรรลุ ต าม วัตถุประสงค

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทคัดย)อ โครงงานเรื่อง เครื่องบดใบไม-แรงปtน การหาประสิทธิภาพของเครื่องบดใบไม-แรงปtนมาเปรียบเทียบ กับเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอร ว)ามีประสิทธิภาพใกล-เคียงหรือแตกต)างกันมากน-อยเพียงใด และเมื่อมอเตอรใชไม)ได-จะสามารถใช-ทดแทนกันได-หรือไม) โดยการจัดทําเครื่องบดใบไม-ที่สามารถใช-ได-ทั้งแรงปtนและแรงมอเตอร ได-ในเครื่องเดียวกัน ทําเครื่องบดที่บดโดยใช-มอเตอรก)อน จากนั้นทําการต)อเติมโดยการเชื่อมเหล็กเป>นฐานตั้ง รถจักรยานมาต)อสายพานเข-ากับเพลา จะได-เครื่องบดที่ใช-แรงปtนและแรงมอเตอรได-ในเครื่องเดียว ต)อมาทํา การทดลอง บันทึกผลในตารางและวัดผล แบ)งเป>นสองตาราง โดยตารางแรกวัดผลโดยการทดลองวัดขนาดของ ใบไม-ของแรงปtนทั้งสองชนิดและเปรียบเทียบ โดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้งใส)ในปริมาณ 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากันในการปtนทั้งสองแรง จากนั้นนําใบไม-ที่ได-มาร)อนผ)านตะแกรงร)อน ขนาดเส-นผ)านศูนยกลาง 1 เซนติเมตร ส)วนตารางที่สองวัดผลโดยการทดลอง โดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้ง กําหนดใบไม- 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากันในการปtนทั้งสองแรง จากนั้นจับเวลาที่ใช-ในการบดเครื่องบดทั้งสองชนิด จากการทดลองพบว)า จากการทดลองในตารางที่หนึ่ง ใบไม-ที่ถูกบดมีความละเอียดใกล-เคียงกันเพราะ สามารถผ)านตะแกรงร)อนได-ทั้งสอง จากการทดลองในตารางที่สองใบไม-ที่ถูกปtนจากเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอร ใช- เ วลาในการบดน- อยกว) า เครื่ องบดใบไม- แรงปt น แต) ไ ม) แตกต) า งกั น มากนั ก และเครื่ องบดใบไม- แรงปt น มี ประสิทธิภาพใกล-เคียงกับเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอร เมื่อมอเตอรใช-ไม)ได- สามารถใช-แรงปtนทดแทนได-

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทนํา เครื่องบดใบไม- เป>นเครื่องที่ใช-ย)อยอนุภาคของใบไม-ให-เล็กลง เป>นเครื่องมือทางการเกษตร ที่นําใบไมที่ได-มาใช-ให-เกิดประโยชน เช)น ใส)ต-นไม-ให-เป>นปุHย ใส)ผสมกับมูลสัตวเป>นปุHย ใส)ในที่แปลงนา และนํามาทําเป>น ปุHยโบกาฉิได- ดั้งนั้นจึงมีแนวคิดที่จะเปลี่ยนแรงของเครื่องบดโดยจากเดิมใช-แรงมอเตอร เปลี่ยนมาเป>นใช-แรง ปtน นําผลการทดลองมาเปรียบเทียบว)า ประสิทธิภาพของเครื่องบดทั้งสองแรงใกล-เคียงกันมากน-อยเพียงใด และเมื่อแรงมอเตอรใช-ไม)ได- จะสามารถใช-แรงปtนทดแทนได-หรือไม)

ความเปIนมาและความสําคัญของโครงงาน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เป>นโรงเรียนขนาดกลางที่เข-าร)วมโครงการ โรงเรียนส)งเสริมสุขภาพ จนได-รับรองเป>นโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร แต)จากการดําเนินงานที่ผ)านมาก็ พบว)าโรงเรียนยังมีปญหาในด-านสุขภาพ ซึ่งเป>นปญหาที่จะต-องดําเนินการแก-ไข เป>นต-นว)า ปญหาขยะ ปญหา แมลงวัน ปญหาเกี่ยวกับกลิ่นของห-องน้ํา และปญหาเกี่ยวกับใบไม- ซึ่งทางโรงเรียนก็พยายามแก-ไข แต)ถ-าเรา หลั ก การความพอเพี ย ง หรื อ นํ า หลั ก ปราชญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของในหลวงรั ช กาลที่ 9 มาแก- ป ญหา โดยใช-กระบวนการของโครงการเพาะพันธุปญญา หรือนําโครงงาน RBL มาใช-จะสามารถแก-ปญหาดังกล)าวไดจากการสํารวจพบว)าพื้นที่ไม)ต่ํากว)า 60% ของพื้นที่ของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ มีใบไม-จํานวนมาก ซึ่งใบไม-สดหรือใบไม-แห-ง เป>นอินทรียวัตถุชนิดหนึ่ง ส)วนใหญ)ทางโรงเรียนมักเผาทิ้งไป โดยเปล)าประโยชน ดังนั้นถ-ามีการนําใบไม-มาเป>นวัตถุสําคัญในการเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน โดยการทําปุHยหมัก จึงเป>นแนวทางที่ควรส)งเสริมแนวทางหนึ่ง ขนาดของวัตถุที่นํามาเป>นปุHยหมัก เป>นปจจัยสําคัญประการหนึ่ง ที่ช)วยให-ได-ปุHยหมักที่เร็วหรือช-า ถ-าวัตถุมีขนาดเล็กและมีสภาพอื่นๆที่เหมาะสม การสลายตัวของวัตถุจะเป>นไป อย)างรวดเร็วภายในหนึ่งสัปดาห แต)ถ-าวัตถุมีขนาดใหญ) เช)น หญ-าทั้งต-น ใบไม-ทั้งใบ ก็อาจจะใช-เวลาหลาย เดือนหรือเป>นปจึงจะใช-เป>นปุHยได- แต)การย)อยสับเพื่อลดขนาดวัตถุเป>นงานที่สิ้นเปลืองเวลามากโครงงานนี้ จึงมุ)งศึกษาและพัฒนาเครื่องทุ)นแรงเพื่อใช-ในการย)อยลดขนาดวัตถุการเกษตร โดยเฉพาะใบไม-สดและแห-ง จากเหตุที่กล)าวข-างต-นแล-วคณะผู-ศึกษาค-นคว-า ซึ่งเป>นนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระ สังฆราชูปถัมภ เล็งเห็นปญหาการที่มีใบไม-เยอะในโรงเรียน ที่ไม)สามารถนํามาใช-ประโยชนได-เท)าที่ควร จึงเกิด ความคิดที่จะผลิตเครื่องบดใบไม- เพื่อเป>นประโยชนในการนําใบไม-ที่บดแล-ว ไปทําเป>นปุHยหมัก และปุHยชีวภาพ สมมติฐาน : เครื่องบดใบไม-แรงปtนมีประสิทธิภาพเทียบเท)ากับเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอร และเมื่อแรง มอเตอรใช-งานไม)ได- สามารถใช-แรงปtนทดแทนไดตัวแปรต*น : เครื่องบดใบไม-แรงปtนและแรงมอเตอร ตัวแปรตาม : ขนาดของใบไม-ที่ผ)านเครื่องบดทั้งสอง และเวลาในการบดใบไมตัวแปรควบคุม : เครื่องบดใบไม-เครื่องเดียวกัน เวลาในการทดลอง ปริมาณใบไม-

วัตถุประสงค 1. เพื่อทดสอบว)าเครื่องบดใบไม-แรงปtนมีประสิทธิภาพเทียบเท)ากับเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอร 2. เพื่อทดสอบว)าเมื่อแรงมอเตอรใช-งานไม)ได- สามารถใช-แรงปtนทดแทนได3. เพื่อฝmกทักษะการทํางานร)วมกันเป>นกลุ)ม 4. เพื่อฝmกการคิดอย)างเป>นกระบวนการและเป>นเหตุเป>นผล -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข*อง มอเตอรไฟฟdา (อังกฤษ: electric motor) เป>นอุปกรณไฟฟdาที่แปลงพลังงานไฟฟdาเป>นพลังงานกล การทํางานปกติของมอเตอรไฟฟdาส)วนใหญ)เกิดจากการทํางานร)วมกันระหว)างสนามแม)เหล็กของแม)เหล็กใน ตัวมอเตอร และสนามแม)เหล็กที่เกิดจากกระแสในขดลวดทําให-เกิดแรงดูดและแรงผลักของสนามแม)เหล็กทั้ง สอง ในการใช-งานตัวอย)างเช)น ในอุตสาหกรรมการขนส)งใช-มอเตอรฉุดลาก เป>นต-นนอกจากนั้นแล-ว มอเตอร ไฟฟdายังสามารถทํางานได-ถึงสองแบบ ได-แก) การสร-างพลังงานกล และ การผลิตพลังงานไฟฟdา มอเตอรไฟฟdา ถูกนําไปใช-งานที่หลากหลายเช)น พัดลมอุตสาหกรรม เครื่องเปgา ปŠม เครื่องมือเครื่องใช-ในครัวเรือน และดิสก ไดรฟ‹ มอเตอรไฟฟdาสามารถขับเคลื่อนโดยแหล)งจ)ายไฟกระแสตรง (DC) เช)น จากแบตเตอรี่, ยานยนตหรือ วงจรเรียงกระแส หรือจากแหล)งจ)ายไฟกระแสสลับ (AC) เช)น จากไฟบ-าน อินเวอรเตอร หรือ เครื่องปtนไฟ มอเตอรขนาดเล็กอาจจะพบในนาฬิกาไฟฟdา มอเตอรทั่วไปที่มีขนาดและคุณลักษณะมาตรฐานสูงจะให-พลังงาน กลที่สะดวกสําหรับใช-ในอุตสาหกรรม มอเตอรไฟฟdาที่ใหญ)ที่สุดใช-สําหรับการใช-งานลากจูงเรือ และ การบีบอัด ท)อส)งน้ํามันและป•มป‹สูบจัดเก็บน้ํามันซึ่งมีกําลังถึง 100 เมกะวัตต มอเตอรไฟฟdาอาจจําแนกตามประเภทของ แหล)งที่มาของพลังงานไฟฟdาหรือตามโครงสร-างภายในหรือตามการใช-งานหรือตามการเคลื่อนไหวของเอาตพุต และอื่นๆ ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A เพลาขับ (อังกฤษ: drive shaft, driveshaft, driving shaft, propeller shaft, Cardan shaft) เป>น อุปกรณที่ใช-สํ าหรับ ส)งถ)ายแรงบิ ดจากชุดเกีย รสู)เฟu องท-า ยหรือจากเฟu องท-า ยสู)ล-อซึ่งไม)ส ามารถเชื่อมต)อไดโดยตรงกับแหล)งกําเนิดแรงบิดอันเนื่องมาจากระยะห)างระหว)างแหล)งกําเนิดแรงบิดและอุปกรณปลายทาง เพลาขับจึงมีรูปร)างและความยาวแตกต)างกันตามวัตถุประสงคของการใช-งาน ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E จักรยาน (อังกฤษ: Bicycle, Bike) คือ การขนส)งโดยใช-พลังงานที่ได-จากมนุษย ขับเคลื่อนโดยการกด ลูกบันได พาหนะสําหรับเส-นทางทุรกันดาร มีสองล-อเชื่อมต)ออยู)กับเฟรม ล-อทั้งคู)เรียงกันในทิศทางเดียวกัน โดยคนที่ขับขี่จักรยานเรียกว)านักปtนจักรยาน จักรยานถูกประดิษฐขึ้นครั้งแรกในยุโรป ช)วงศตวรรษที่ 19 ในป พ.ศ. 2003 มีจํานวนมากกว)าพันล-านคันทั่วโลก คิดเป>นสองเท)าของรถยนต เป>นการคมนาคมขั้นพื้นฐาน ใน หลายภู มิ ภ าค นอกจากนี้ ยั ง ใช- ใ นการพั ก ผ) อ นหย) อ นใจ และนํ า ไปใช- เ ป> น ของเล) น เด็ ก ใช- อ อกกํ า ลั ง กาย เป> นเครื่ องมื อสํ าหรับ ทหารตํ ารวจ การจั ดส) งสิ น ค-า และใช- ในการแข)งขั น รูป ร)า งพื้น ฐานและองคประกอบ ของจักรยานที่ถูกต-อง หรือจักรยานที่ปลอดภัย มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน-อยตั้งแต)จักรยานรูปแบบแรก ได-รับการพัฒนาขึ้นประมาณป1885 แต)มีการเปลี่ยนแปลงอย)างมาก โดยเฉพาะความก-าวหน-าทางวิทยาศาสตร และวิศวกรรมศาสตร ตั้งแต)มีการพัฒนาของวัสดุรูปแบบใหม)ๆ ขึ้น และ การออกแบบด-วยคอมพิวเตอร สิ่งนี้ เป>นการเริ่มต-นของการออกแบบจักรยานแบบพิเศษต)างๆ การออกแบบจักรยานมีผลกระทบอย)างมากต)อ สั ง คม ทั้ ง ในด- า นของวั ฒ นธรรม และความก- า วหน- า ของอุ ต สาหกรรมส) ว นประกอบหลายๆ อย) า งเป> น แรงผลักดันที่เกิดจากการพัฒนาของรถยนตและนํามาใช-กับจักรยานรวมถึง ลูกปuน ยางที่ใช-ลม โซ)ขับเคลื่อน เฟuองเกียร และซี่ลวด ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


อุปกรณและวิธีการทดลอง อุปกรณ 1. เครื่องบดใบไม-แรงปtนและแรงมอเตอร 2. ใบไม-แห-ง 3. เครื่องชั่ง

4. ตะแกรงร)อนขนาดเส-นผ)านศูนยกลาง 1 เซนติเมตร 5. นาฬิกาจับเวลา

วิธีการทดลอง การสร*างเหตุ (ตัวแปลต*นหรือเปIนสิ่งที่สร*างได* วัดได*) เครื่องบดใบไม-แรงปtนและแรงมอเตอร การควบคุมเหตุ ( ตัวแปรควบคุม หรือเหตุที่คุมไว*ไม)ให*ส)งไปก)อให*เกิดผล) ใบไม-ชนิดเดียวกัน ในปริมาณ 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม ในการบดแต)ละครั้ง การวัดผล (ตัวแปรตามเปIนสิ่งที่สังเกตได* วัดได*) วัดขนาดและเวลาในการบดของใบไม- แล-วนํามาเปรียบเทียบ

ผลการวิจัย จากการทดลองพบว)า ตารางที่ 1 ทดสอบขนาดของใบไมโดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้งใส)ในปริมาณ 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากันในการปtนทั้งสองแรง จากนั้นนําใบไม-ที่ได-มาร)อนผ)านตะแกรงร)อน ขนาดเส-นผ)านศูนยกลาง 1 เซนติเมตร ผลการทดลอง(ปริมาณใบไม*ในการบด)

ชนิดของเครื่องบด 100 กรัม

200 กรัม

300 กรัม

เครื่องบดแรงมอเตอร

ผ)านตะแกรงได- 100 กรัม

ผ)านตะแกรงได- 200 กรัม

ผ)านตะแกรงได- 300 กรัม

เครื่องบดแรงปZน

ผ)านตะแกรงได- 100 กรัม

ผ)านตะแกรงได- 200 กรัม

ผ)านตะแกรงได- 290 กรัม

หมายเหตุ

ตารางที่ 2 ทดสอบเวลาในการบดใบไมโดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้ง กําหนดใบไม- 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากันในการปtนทั้งสอง แรง จากนั้นจับเวลาที่ใช-ในการบดเครื่องบดทั้งสองชนิด

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ชนิดของเครื่องบด

ผลการทดลอง(ปริมาณใบไม*ในการบด) 100 กรัม

200 กรัม

300 กรัม

หมายเหตุ

เครื่องบดแรงมอเตอร

ใช-เวลา 3 นาที

ใช-เวลา 5 นาที

ใช-เวลา 8 นาที

เครื่องบดแรงปZน

ใช-เวลา 3 นาที

ใช-เวลา 6 นาที

ใช-เวลา 10 นาที

อภิปรายผล การหาประสิ ท ธิ ภ าพของเครื่ อ งบดใบไม- แ รงปt น มาเปรี ย บเที ย บกั บ เครื่ อ งบดใบไม- แ รงมอเตอร ว)ามีประสิทธิภาพใกล-เคียงหรือแตกต)างกันมากน-อยเพียงใด และเมื่อมอเตอรใช-ไม)ได-จะสามารถใช-ทดแทนกัน ได-หรือไม) โดยการจัดทําเครื่องบดใบไม-ที่สามารถใช-ได-ทั้งแรงปtนและแรงมอเตอรได-ในเครื่องเดียวกัน ทําเครื่อง บดที่บดโดยใช-มอเตอรก)อน จากนั้นทําการต)อเติมโดยการเชื่อมเหล็กเป>นฐานตั้งรถจักรยานมาต)อสายพานเข-า กับเพลา จะได-เครื่องบดที่ใช-แรงปtนและแรงมอเตอรได-ในเครื่องเดียว ต)อมาทําการทดลอง บันทึกผลในตาราง และวัดผล แบ)งเป>นสองตาราง โดยตารางแรกวัดผลโดยการทดลองวัดขนาดของใบไม-ของแรงปtนทั้งสองชนิด และเปรียบเทียบ โดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้งใส)ในปริมาณ 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากันในการปtน ทั้งสองแรง จากนั้นนําใบไม-ที่ได-มาร)อนผ)านตะแกรงร)อน ขนาดเส-นผ)านศูนยกลาง 1 เซนติเมตร ส)วนตาราง ที่สองวัดผลโดยการทดลอง โดยการปtนใบไม-ในแต)ละครั้ง กําหนดใบไม- 100 กรัม 200 กรัม 300 กรัม เท)ากัน ในการปtนทั้งสองแรง จากนั้นจับเวลาที่ใช-ในการบดเครื่องบดทั้งสองชนิด และจากการทดลองพบว)า จากการ ทดลองในตารางที่หนึ่งใบไม-ที่ถูกบดมีความละเอียดใกล-เคียงกันเพราะสามารถผ)านตะแกรงร)อนได-ทั้งสอง จากการทดลองในตารางที่สองใบไม-ที่ถูกปtนจากเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอรใช-เวลาในการบดน-อยกว)าเครื่องบด ใบไม-แรงปtน แต)ไม)แตกต)างกันมากนัก และเครื่องบดใบไม-แรงปtนมีประสิทธิภาพใกล-เคียงกับเครื่องบดใบไมแรงมอเตอร เมื่อมอเตอรใช-ไม)ได- สามารถใช-แรงปtนทดแทนได-

สรุปผล เครื่องบดใบไม-แรงปtนมีประสิทธิภาพใกล-เคียงกับเครื่องบดใบไม-แรงมอเตอร เมื่อมอเตอรใช-ไม)ไดสามารถใช-แรงปtนทดแทนได-จริงจาก การทดลองในตารางที่หนึ่งใบไม-ที่ถูกบดมีความละเอียดใกล-เคียงกัน เพราะสามารถผ)านตะแกรงร)อนได-ทั้งสอง และการทดลองในตารางที่สองใบไม-ที่ถูกปtนจากเครื่องบดใบไม-แรง มอเตอรใช-เวลาในการบดน-อยกว)าเครื่องบดใบไม-แรงปtน แต)ไม)แตกต)างกันมากนัก การทํากิจกรรมได-ฝmกทักษะ การทํ า งานร) ว มกั น สามารถปรั บ ตั ว เข- า กั บ เพื่อน และรู- จั กการทํ า งานเป> น ทีมได- ใช- กระบวนการคิ ดในการ แก-ปญหา ใช-เหตุ ใช-ผล และได-องคความรู-ใหม)

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


เอกสารอ*างอิง โชคอนันต พันหลวงและคณะ. (2554) ปริญญานิพนธ เรือ่ ง เครื่องย)อยใบไม*กิ่งไม* สืบค-นวันที่ 17 กรกฎาคม 2560 จากชื่อเวบไซด : http://www.lib.buu.ac.th/st/53550428.pdf หน)วยปรับซ)อมต)นไม- แขวงการทางกาฬสินธุ (ม.ป.ป.) เครื่องบดย)อยเศษวัสดุ เพื่อทําปุ\ยหมักชีวภาพ สืบค-น วันที่ 17 กรกฎาคม 2560 จากชื่อเวบไซต : http://msoh.go.th/km/location_file/knowledge/pdf/vot8detthu120353.pdf : จิตกร จินาและคณะ.(2557) การพัฒนาเครื่องย)อยกิ่งไม-และใบไมแห-งด-วยใบมีดเฉือนคู : สืบค-นวันที่ 20 กรกฎาคม 2560จากชื่อเวบไซต : http://hrd.rmutl.ac.th/qa/docUpload/pj//3540200134451/150826115737fullpp.pdf ทินกร หาดพรม และคณะ(2554) เครื่องย)อยไม*ใบ*แห*ง สืบค-นวันที่ 30 กรกฎาคม 2560จากชื่อเวบไซต : http://hrd.rmutl.ac.th/qa/docUpload/pj/3120101913757/150805105934fullpp.pdf

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาพกิจกรรมแสดงขั้นตอนการทํางาน

การวางแผน ออกแบบเค*าโครง และนําเสนอรูปแบบโครงการ

ลงพื้นที่ ติดตั้งชิ้นส)วนและทําการทดลอง

ลงพื้นที่ ติดตั้งชิ้นส)วนและทําการทดลอง

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


โครงงาน RBL เรื่อง เครื่องออกกําลังกาย

ชื่อผู*จัดทําโครงงาน 1 นางสาวจริยา บกน*อย 2 นางสาวอรุโณทัย รวมธรรม 3 นายประทีป แสงกล*า

ครูที่ปรึกษา ครูสาคร ทองเทพ

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง เครื่องออกกําลังกายสําเร็จลุล)วงไปได-ด-วยความกรุณาของอาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ได-แก) อาจารยสาคร ทองเทพ อาจารยเดชมณี เนาวโรจน และนายไทมตรี รวมธรรม แนะนํา วิธีการทํา เครื่องออกกําลังกายจนสําเร็จลุล)วงด-วยดี ขอบคุณผู-ให-การสนับสนุนทุน สกว. ธนาคารกสิกรไทยและศูนยพี่ เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคณะผู-จัดทําจึงขอกราบขอบพระคุณเป>นอย)างสูงไว- ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให-กําลังใจในการศึกษาเล)าเรียนและสมาชิกในกลุ)ม ที่ให-ความ ร)วมมือเป>นอย)างดี ในการทําโครงงานครั้งนี้ จนกระทั่งประสบความสําเร็จด-วยดี

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทคัดย)อ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรมีปญหาเกี่ยวกับภาวะเสี่ยงโรคอ-วนลงพุงซึ่งมีประมาณร-อยละ 30กลุ)มของ พวกเราจึงได-ปรึกษากันว)าจะทําเครื่องออกกําลังกายซึ่งเราได-ทําขึ้น 2 แบบ แบยแรกจะทําด-วยลูกปuนแบบที่ สองจะทําด-วยลูกแก-ว และกลุ)มของพวกเราได-ทําการทดลองแล-วว)าแบบที่สองจะดีกว)าแบบแรก จากการทดลอง.พบว)า เครื่องออกกําลังกาย แบบที่ 1. มีประสิทธิภาพในการเผาผลาญแคลอรี่ได-ดีกว)า เครื่องออกกําลังกาย แบบที่ 2 เพราะ เครื่องออกกําลังกายแบบที่ 1 จะหมุนได-ดีกว)าแบบที่ 2 ทําให-สัดส)วน และน้ําหนักลดลง

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทนํา ที่มาและความสําคัญของโครงงาน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เป>น โรงเรียนขนาดกลางที่เข-าร)วมโครงการ โรงเรียนส)งเสริมสุขภาพ จนได-รับรองเป>นโรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร แต)จากการดําเนินงานที่ผ)านมาก็ พบว)าโรงเรียนยังมีปญหาในด-านสุขภาพ ซึ่งเป>นปญหาที่จะต-องดําเนินการแก-ไข เป>นต-นว)า ปญหาขยะ ปญหา แมลงวัน ปญหาเกี่ยวกับกลิ่นของห-องน้ํา ปญหาเกี่ยวกับใบไม- และปญหาเกี่ยวกับอ-วนเกินเกณฑ ซึ่งจากการ สํารวจพบว)านักเรียนของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภมีปญหาโรคอ-วนลงพุง ภาวะ น้ําหนักตัวเกิน มูลเหตุสําคัญมาจากการตามใจปาก บริโภคอาหารมากเกินความจําเป>น ผูกติดอยู)กับอาหาร ประเภทฟาสตฟูdด ซึ่งมีแปdงและน้ําตาลสูง อีกทั้งยังอ-างว)าไม)มีเวลาออกกําลังกาย โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ มีนักเรียนทั้งหมด 508 คน จากการสํารวจ พบว)านักเรียนที่มีน้ําหนักเกิน 58 คน กลุ)มของข-าพเจ-าได-เล็งเห็นปญหาเหล)านี้จึงมีความสนใจที่ศึกษาทดลอง ประดิษฐเครื่องออกกําลังกายขึ้นเองเพื่อส)งเสริมให-คนหันมาออกกําลังกายมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเครื่องออกกําลัง กายที่วางขายตามตลาดมีราคาแพง นอกจากนี้ยังยึดหลักความพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ใช-วัสดุที่มีอยู)ในท-องถิ่นมาใช-ให-เกิดประโยชนสูงสุดใช-งบประมาณไม)มากนัก เหมาะ สําหรับทุกคนที่อยากจะลดน้ําหนักโดยไม)ต-องใช-ค)าใช-จ)ายจํานวนมากแต)ก็สามารถมีหุ)นที่สวยไดตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน สมมุติฐาน เครื่องออกกําลังกายแบบมีสปริง มีประสิทธิภาพดีกว)า แบบไม)มีสปริง โครงงานมีตัวแปรต)อไปนี้ และแสดงแผนผังเหตุ-ผล ในรูปที่ 1 ตัวแปร ตัวแปรอิสระ (ตัวแปรต-น) ได-แก) เครื่องออกกําลังกาย ตัวแปรตาม ได-แก) ประสิทธิภาพของเครื่องออกกําลังกาย ตัวแปรควบคุม ได-แก) เวลาในการใช-เครื่องออกกําลังกาย , น้ําหนักของคนที่ออกกําลังกาย

อาหาร

แบบมีสปริง

ใบไม-

ปญหาสุขภาพในโรงเรียน

พึงพอใจ

อ-วน

เครื่องออกกําลังกาย

ประสิทธิภาพ

การหมุนตัว ขยะ

ห-องน้ํา แบบไม)มีสปริง การเอียงตัว

รูปที่ 1 ผังเหตุ-ผล หรือตัวแปรต-น(เหตุ) ตัวแปรตาม (ผล) ของโครงงานฐานวิจัยนี้

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


4. วิธีการทดลอง 4.1 ให-คนที่มีน้ําหนักเกินโดยวัดจากค)าBMI ขึ้นออกกําลังกายบนเครื่องออกกําลังกายเครื่องที่ 1 ทุก เช-าใน 1 เดือน เวลา 06:00-06:30 น. เป>นเวลา 30 นาที และชั่งน้ําหนักหลังออกกําลังกายทุกครั้ง 4.2 ให-คนเดิมขึ้นออกกําลังกายบนเครื่องออกกําลังกายเครื่องที่ 2 ทุกเช-าเวลา 06:00-06:30 น. เป>น เวลา 30 นาที ในเดือนถัดไป 4.3 เมื่อทดลองเสร็จแล-วนําน้ําหนักของแต)ละเดือนมาเปรียบเทียบกันระหว)างเครื่องออกกําลังกาย เครื่องที่1 และเครื่องที่ 2 ตัวไหนช)วยในการเผาผลาญพลังานได-ดีกว)าและน้ําหนักลดลงได-มากว)า การสร*างเหตุ ( ตัวแปรต*นหรือสิ่งที่สร*างได* วัดได* ) เครื่องที่ 1 ใช-เขียงไม-ซึ่งมีลักษณะเป>นวงกลมจํานวน 2 แผ)น ขนาด10 นิ้ว และนําสว)านมาเจาะรูตรงกลาง เพื่อที่จะขันน็อตใส) นําลูกปuนมาใส)ในรางไม-แล-วนําน็อตมาขันให-แน)น เครื่องที่ 2 ใช-เขียงไม-ซึ่งมีลักษณะเป>นวงกลมจํานวน 2 แผ)น ขนาด12 นิ้ว และนําสว)านมาเจาะรูตรงกลางเพื่อที่จะ ขันน็อต นําลูกแก-วมาใส)ในรางไม-แล-วนําน็อตมาขันให-แน)น การควบคุมเหตุ ( ตัวแปรควบคุม หรือเหตุที่คุมไว*ไม)ให*ส)งไปก)อให*เกิดผล ) เวลาในการทดลองเท)ากัน การวัดผล ( ตัวแปรตามเปIนสิ่งที่สังเกตได* วัดได* ) ประสิทธิภาพของเครื่องออกกําลังกาย * ประสิทธิภาพ หมายถึง การใช-งานสะดวก สามารถทําให-น้ําหนักลดได-ดี และมีความพึงพอใจต)อเครื่องออก กําลังกาย

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ผลการทดลอง เครื่องออก กําลังกาย แบบที่ 1 (ถาดรองขนาด ใหญ) และ ลูกแก-วที่ทําใหหมุนมีขนาด ใหญ))

ผลการทดลอง(ค)าเฉลี่ย) แคลอรี่ที่เผา ภาพพลังงานการเคลื่อนไหว น้ําหนักก)อน น้ําหนักหลัง ผลาญ ทดลอง (กก.) ทดลอง (กก.) 65 63 309

เครื่องที่ 2 (ถาดรองเท-า ขนาดเล็ก และ ลูกแก-วที่ทําใหหมุนมีขนาด เล็ก)

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

63

62

263

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


350 300 250 200

ก่อนออกกําลังกาย หลังออกกําลังกาย

150

แคลอรี การเผาผลาญพลังงาน

100 50 0 แบบที1 1

แบบที1 2

กราฟข-อมูลเปรียบเทียบของเครื่องออกกําลังกายทั้งสองแบบ อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลองพบว)า เมื่อออกกําลังกายบนเครื่องออกกําลังกายแบบที่ 1 ที่มีขนาดถาดรองเท-า ขนาดใหญ) ทําให-การออกกําลังกายสามารถเคลื่อนไหวได-มากกว)าเครื่องออกกําลังแบบที่ 2 สังเกตได-จากกราฟ การเคลื่อนไหวดังภาพ และการออกกําลังทุกเช-า เป>นเวลา 1 เดือน ยังทําให-ทราบว)าเมื่อออกกําลังกายบน เครื่องออกกําลังแบบที่ 1 สามารถลดน้ําหนักได-มากกว)าเครื่องออกกําลังกายแบบที่ 2 ที่ลดน้ําหนักได- 2 กิโลกรัม และ 1 กิโลกรัมตามลําดับ แสดงว)า เครื่องออกกําลังกายที่ประดิษฐขึ้น สามารถเป>นอุปกรณที่อํานวย ความสะดวกในการออกกําลังกาย ทําให-การออกกําลังกายมีความสะดวกสนานมากขึ้นกว)าปกติ สรุปผล จากการทดลอง.พบว)า เครื่องออกกําลังกาย แบบที่ 1. มีประสิทธิภาพในการเผาผลาญแคลอรี่ได-ดีกว)า เครื่องออกกําลังกาย แบบที่ 2 เพราะ เครื่องออกกําลังกายแบบที่ 1 จะหมุนได-ดีกว)าแบบที่ 2 ทําให-สัดส)วน และน้ําหนักลดลง เอกสารอ*างอิง saowalak pisitpaiboon (2559) หนีโรคอ-วนลงพุง ด-วยโภชนบําบัด สืบค-นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 จากชื่อเว็บไซต : htp://www.thaihealth.or.th chatchai nokdee (2557) คนไทยเป>นโรคอ-วนอันดับ 2 ของอาเซียน สืบค-นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2560 จากชื่อเว็บไซต : http://www.thaihealth.or.th หนังสือประจําสัปดาห (ม.ป.ป.) สืบค-นเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2560 จากเว็บไซต http://resource.thaihealth.or.th/taxonomy/term/1628

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


โครงงาน RBL เรื่อง ปุ\ยโบกาฉิ

ผู*ทําโครงงาน 1. นางสาว กรรณิการ สุวิน 2. นางสาว ธนาภา สาระพล 3. นาย มานนท วงชาลี

ครูที่ปรึกษา นายเดชมณี เนาวโรจน

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


กิตติกรรมประกาศ ในการจัดทําโครงงานเรื่อง ปุHยโบกาฉิ ในครั้งนี้ สําเร็จลุล)วงได- ต-องขอกราบขอบคุณ นายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณ ในพระสังฆราชูปถัมภ นาย เชิดชัย สิงหคิบุตร รอง ผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ในการสนับสนุนและส)งเสริมให-นักเรียนมี การพัฒนาทักษะการคิด ให-คําชี้แนะและอํานวยความสะดวกในการทําโครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณ คุณครูเดชมณี เนาวโรจน และคุณครูทุกท)าน ที่ให-คําปรึกษาดูแล แนะนําและ แก-ไขข-อบกพร)องในการทํางานทุกๆด-าน กราบขอบพระคุณผู-อํานวยการศูนยหม)อมไหมเฉลิมพระเกียรติ อุบลราชธานี ที่ให-คําแนะนํา ขั้นตอนการทําปุHยโบกาฉิ ที่ทําจากใบไม- เพื่อเป>นพื้นฐานมาปรับใช-ใน การทําปุHย โบกาฉิ ท-องถิ่น ของกลุ)มผู-ทําโครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณคณะครูและบุคลาการทางการศึกษาและ ใหกําลังใจจนกระทั่งโครงงานสําเร็จ ขอขอบพระคุณ ทุกท)านที่มีส)วนเกี่ยวข-องให-งานบรรลุตามวัตถุประสงค

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทนํา ที่มาและความสําคัญของโครงงาน โรงเรียนของเราเป>นโรงเรียนขนาดกลางซึ่งโรงเรียนของเราอุดมสมบรูณมีต-นไม-หลายชนิดจํานวนมากใน แต)ละวันมีเศษใบไม-ร)วงจํานวนมากและปญหาที่พบในโรงเรียนคือใบไม-เกลื่อนโรงเรียน โดยโรงเรียนแก-ปญหา โดยจัดทําโครงการโรงเรียนสวยด-วยมือเรา มีการรวมใบไม-ไว-เยอะๆ ซึ่งไม)ได-ใช-เกิดประโยชนแต)อย)างใด อีกทั้ง ถ-าเรานําใบไม-มาใช-ให-เกิดประโยชนจะเป>นการนําสิ่งที่ไม)มีค)าทําให-มีค)าโดยยึดหลักคามพอเพียงตามทฤษฎี เศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 ได-อย)างสมบูรณ ปุHยโบกาฉิ เป>นการนํา EM มาประยุกตใช-โดยการผ)านกระบวนการหมักแห-ง มีการผสมกากน้ําตาลเข-าไป เพื่ อ ช) ว ยในการย) อ ยสลายของจุ ลิ น ทรี ย ก) อ นจะหมั ก ด- ว ยวั ต ถุ ดิ บ ตามสู ต รจนได- ที่ ย) อ มาจาก Effective Microorganisms หมายถึง กลุ)มจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง ศ.ดร.เทรูโอะ ฮิงะ นักวิทยาศาสตร ผู-เชี่ยวชาญ สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยริวกิว เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุgน ได-ศึกษาแนวคิดเรื่อง " ดินมีชีวิต" ของท)านโมกิ จิ โอกะดะ (พ.ศ.2425-2498) บิดาเกษตรธรรมชาติของโลกจากนั้น ดร.ฮิงะ เริ่มค-นคว-าทดลองตั้งแต)ป พ.ศ 2510 และค-นพบ EM เมื่อ พ.ศ. 2526 ท)านอุทิศทุ)มเททําการวิจัยผลว)ากลุ)มจุลินทรียนี้ใช-ได-ผลจริง หลังจาก นั้ น ศาสนาจารยวาคุ ก ามิ ได- นํ า มาเผยแพร) ใ นประเทศไทย โดยท) า นเป> น ประธานมู ล นิ ธิ บํ า เพ็ ญ สาธารณประโยชนด-วยกิจกรรมทางศาสนา หรือ คิวเซ (คิวเซ แปลว)า ช)วยเหลือโลก) ปจจุบัน ตั้งอยู)ที่ อ.แก)ง คอย จ.สระบุรี และนําไปใช-ให-เกิดผลดีในการปรับสภาพโครงสร-างของดินให-ร)วนซุยในแปลงปลูกพืช ดาวเรือง เป>นไม-ดอกที่คนไทยนิยมปลูกกันมาก เนื่องจากเมล็ดมีขนาดใหญ)ปลูกง)าย งอกเร็ว ต-นโตเร็ว และแข็งแรงไม)ค)อยมีโรคหรือแมลงรบกวน ให-ดอกเร็ว ดอกดก มีหลายชนิดและหลายสี รูปทรงของดอก สวยงาม สีสันสดใส ที่ดาวเรืองเพราะช)วงนี้เป>นช)วงที่ รัชกาลที่9 ทรงเสด็จสวรรณคต และเป>นพืชที่หาได-ตาม ท-องถิ่น หาได-ง)าย กลุ)มของข-าพเจ-าจึงมีความสนใจที่จะใช-ประโยชนจากเศษใบไม-คือเราจะนําเศษใบไม-มาใช-เป>นส)วนผสมใน การทําปุHยหมักโบกาฉิ เพื่อให-ได-อัตราส)วนที่เหมาะสมในการปลูกดอกดาวเรือง ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน สมมติฐาน ปุHยโบกาฉิ สูตร 1 ทําให-ต)อการเจริญเติบโตของดาวเรืองดีกว)าสูตร 2 และไม)ใส)ปุHย ตัวแปร ตัวแปรอิสระ(ตัวแปรต-น) ได-แก) ปุHยโบกาฉิสูตรต)างๆ. ตัวแปรตาม ได-แก) การเจริญเติบโตของลําต-น ดอก และใบ ของดาวเรือง ตัวแปรควบคุม ได-แก) ชนิดดาวเรือง กระถาง แสง ดินปลูก ปริมาณ 21-35 วัน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


EM

ขยะ

ปญหาในโรงเรียน

เศษอาหาร

รํา

กากน้ําตาล

น้ํา

ปุHยโบกาฉิ ความสูง

ดอก ใบไม-

ดอกดาวเรือง ใบ

รูปที่ 1 ผังเหตุ-ผล หรือตัวแปรต*น(เหตุ) ตัวแปรตาม (ผล) ของโครงงานฐานวิจัยนี้ วิธีการทดลอง วิธีการทําปุ\ยโบกาฉิ วัสดุปุกรณ 1. มูลสัตว (ทุกชนิด) 1 ส)วน ( กระสอบ) 2. รําละเอียด 1 ส)วน ( กระสอบ) 3. ใบไม-แห-ง 1 ส)วน ( กระสอบ) 4. จุลินทรีย EM 20 ซีซี (2 ช-อนโต™ะ) 5. กากน้ําตาล 20 ซีซี (2 ช-อนโต™ะ) 6. น้ําสะอาด 10 ลิตร หรือ 1 ถัง วิธีทํา 1. ขั้นที่ 1 เตรียมจุลินทรีย EM , กากน้ําตาล , น้ําสะอาด , ผสมไว-ในถังน้ํา 2. ขั้นที่ 2 นํามูลสัตว + รําละเอียดผสมคลุกเคล-าให-เข-ากัน 3. ขั้นที่ 3 นําแกลบดิบใส)ลงในน้ําที่ขยายจุลินทรีย EM ในขั้นที่ 1 จุ)มให-เปยกแล-วบีบพอหมาดๆ 4. นํามาคลุกกับส)วนผสม ขั้นที่ 2 ให-เข-ากันจะได-ความชื้น 40 – 50 % ( กําแล-วไม)มีน้ําหยดจากง)าม มือ) การหมัก เอาส)วนผสมทั้งหมดบรรจุลงในกระสอบปgาน , ถุงปุHย ที่อากาศถ)ายเทได- โดยบรรจุลงไป 3/4 ของกระสอบไม)ต-องกดให-แน)น นําไปวางลงในที่มีฟางรอง เพื่อการระบายอากาศในส)วนส)วนล)างพลิกกลับ กระสอบ ในวันที่ 2,3,4 ทุกๆ วัน ในวันที่ 2 – 3 อุณหภูมิ จะสูงถึง 50 0c – 60 0c วันที่ 4 และวันที่ 5 อุณหภูมิเย็นลงจนปกติตรวจดูไม)ให-อุณหภูมิเกิน 36 0c ปุHยแห-งสนิทสามารถนําไปใช-ไดวิธีการทดลอง 1. ขึ้นตอนที่ 1 เตรียมถุงดําขนาด 5x11 นิ้ว ใว-ประมาณ 4 ถุง 2. ขึ้นตอนที่ 2 เตรียมดินร)วนใส)ถุงทั้ง 4 ถุง คือใช-ดินชนิดเดียวกัน ใส)ดินในถุงดําในปริมาณที่เท)ากัน 3. ขึ้นตอนที่ 3 เตรียมต-นดาวเรือง 4 ต-นเล็กขนาดที่เท)ากัน 4. ขั้นตอนที่ 4 นําดินที่เตรียมมาผสมกับปุHยโบกาฉิของเราที่เตรียมใว-ทั้ง 3 สูตร

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


5. ขึ้นตอนที่ 5 นําต-นดาวเรืองที่เตรียมใว- 3 ต-น นําไปปลูกใส)ดินที่ผสมกับปุHยโบกิฉิทั้ง 2 สูตร ไหเรียบร-อย 6. ขั้นตอนที่ 6 ในวันแรกที่ปลูก รดน้ําจนโชก 2-3 ครั้งต)อวัน ส)วนวันต)อไปรดน้ําแค)เช-ากับเย็น รอดูผล ประมาณ 21 – 35 วัน บันทึกผลการเขริญเติบโตของต-นดาวเรืองทุก 15 วัน ** หมายเหตุ ขั้นตอนที่ 1 – 6 ทําการทดลอง 5 ชุดการทดลองเพื่อเก็บข-อมูลที่ละเอียดและชัดเจนขึ้น ผลการทดลอง ผลการทดลอง (ค)าเฉลี่ยการเจริญเติบโตของดาวเรือง) 15 วัน 30 วัน 45 วัน

สูตรปุHยโบกาฉิ อัตราส)วน มูลวัว : รําละเอียด : ใบไม-แห-ง : EM : กากน้ําตาล : น้ํา สูตรที่ 1 1:1:1:2:1:2 สูตรที่ 2 1:1:1:1:1:2 ไม)ใส)ปุHย -

สูง (ซม)

20 19 17

ใบ (ซม)

ดอก (จํานวน ดอก)

8 6 5

-

สูง (ซม)

26 25 23

ใบ (ซม)

ดอก (จํานวน ดอก)

สูง (ซม)

ใบ (ซม)

ดอก (จํานวน ดอก)

13 10 9

6 4 3

28 27 25

15 12 11

9 7 6

กราฟเปรียบเทียบการเจริญเติบโต(ความสูง)ของดอกดาวเรืองจากการใส)ปุHยโบกาฉิสูตรต)าง ๆ 30 25 20 ใส่ป๋ ยสู ุ ตร 1(cm) 15

ใส่ป๋ ยสู ุ ตร 2(cm) ไม่ใส่ป๋ ย(cm) ุ

10 5 0 15 วัน

30 วัน

45 วัน

อภิปรายผล จากการทดลองนําปุHยโบกาฉิ มาทดลองกับต-นดาวเรือง โดยใช-ปุHยโบกาฉิสูตรที่ 1 ปุHยโบกาฉิ สูตรที่ 2 และปลูกต-นดาวเรือง โดยใส)น้ํา สังเกตผลเป>นระยะเวลา 45 วัน พบว)า ต-นดาวเรืองที่ปุHยโบกาฉิสูตรที่ 1 จะมี การเจริญเติบโตความสูงมากกว)าปุHยโบกาฉิ สูตรที่ 2 และปลูกต-นดาวเรือง โดยใส)น้ํา

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


กราฟเปรียบเทียบการเจริญเติบโต(จํานวนดอก)ของดอกดาวเรืองจากการใส)ปุHยโบกาฉิสูตรต)าง ๆ 10 9 8 7 6

ใส่ป๋ ยสู ุ ตร 1(ดอก)

5

ใส่ป๋ ยสู ุ ตร 2(ดอก)

4

ไม่ใส่ป๋ ย(ดอก) ุ

3 2 1 0 15 วัน

30 วัน

45 วัน

อภิปรายผล จากการทดลองนําปุHยโบกาฉิมาใส)กับต-นดาวเรืองโดยแยกตามสูตรนํามาใส)ในถุงที่เตรียมไว-โดยใส)ปุHย โบกาฉิสูตรที่หนึ่งในปริมาณหนึ่งกํามือกับต-นดาวเรืองต-นที่หนึ่งแล-วนําปุHยโบกาฉิสูตรที่สองใส)ต-นที่สองใน ปริมาณหนึ่งกํามือส)วนต-นดาวเรืองต-นที่สามไม)ใส)ปุHยได-เห็นว)าต-นดาวเรืองต-นที่หนึ่งที่ใส)สูตรที่หนึ่งมีการ เจริญเติบโตของต-นและดอกมากกว)าต-นดาวเรืองต-นที่สองและต-นที่สาม สรุปผล การศึกษาทดลองเปรียบเทียบการปลูกดอกดาวเรื่องโดยใช-สูตรปุHยโบกาฉิ ทั้ง 3 ตัวเปรียบเทียบและ สังเกตการณเจริญเติบโตของดอกดาวเรือง พบว)า สูตรปุHยโบกาฉิสูตรที่ 1 ทําให-การเจริญเติบโตของต-น ดาวเรืองทั้งความสูงและจํานวนดอกดีกว)าปุHยโบกาฉิสูตรที่ 2 และไม)ใส)ปุHยโบกาฉิ แสดงว)า ปุHยโบกาฉิ สูตรที่ 1 มีสารอาหารที่เหมาะต)อการเจริญเติบโตของดอกดาวเรืองเหมาะสมที่สุด เอกสารอ*างอิง 1. Dhammachard (2557) , การทําปุ\ยแห*งโบกาฉิ , สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560 จากเวบไซด : http://www.kasedtakon.com/36 2. บริษัทออรกานิกโต™ตโตะจํากัด. (2557). จุลินทรียน้ํา EM พร*อมใช*. สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560 จากเวบไซด : http://www.organictotto.com/ 3. บริษัทอีเอ็มคิวเซจํากัด (2557). การประยุกตใช* EM แบบแห*ง สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560 จากเวบไซด : http://www.emkyusei.com/em1_2.html 4. Dhamma Articles ( 2556) ดาวเรือง ข*อมูลพื้นฐานของดอกดาวเรือง สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม 2560 จากเวบไซด : https://www.dmc.tv 5. Pranisa pansri. ( 2555) . การทําปุ\ยแห*งโบกาฉิ สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม 2560 จากเวบ ไซด : https://www.youtube.com/watch?v=hBp3MfVKAew

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาพกิจกรรม

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


โครงงาน RBL เรื่อง การรณรงคสร*างจิตสํานึกในการสร*างและทิง้ ขยะในสถานศึกษา สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว) และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย ชุดโครงการ “เพาะพันธุปญญา (พัฒนายุววิจัย)”

ผู*จัดทําโครงงาน 1 2 3 4

นายกายสิทธิ์ สันดร นายนนทกานต ทองทา นางสาวชนิภรณ มุ)งงาม นายธีรเดช หลักคํา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 5

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 พ.ศ. 2560

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


กิตติกรรมประกาศ ในการจัดทําโครงงาน RBL เรื่อง การรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ครั้งนี้สําเร็จลุล)วงไปได-ด-วยดีต-อง ขอกราบขอบพระคุณ นายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ นายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ที่ให-คําชี้แนะ อํานวยความสะดวกในการจัดทําโครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณ คณะครูพี่เลี้ยงศูนยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีทุกท)าน คําปรึกษา ดูแลแนะนํา และแก-ไขข-อบกพร)องในการทําโครงงานทุกด-าน กราบขอบพระคุณคุณครูกิตติมา สาระรักษ ที่ให-คําปรึกษา ดูแลแนะนํา และแก-ไขข-อบกพร)องใน การทําโครงงานทุกด-าน รวมถึงให- ให-กําลังใจอย)างดีที่สุดในการทําโครงงานจนเสร็จสมบูรณ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ)อ คุณแม)และผู-ปกครองของสมาชิกในกลุ)มทุกท)าน ที่ช)วยส)งเสริมและใหโอกาสทางการศึกษา และที่ได-ให-กําลังใจยิ่งในการศึกษาและการทําโครงงานในครั้งนี้ กราบขอบพระคุณ คณะครูเพาะพันธปญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ที่ให-คําปรึกษา ดูแลแนะนําและให-กําลังใจในการทําโครงงาน ขอขอบใจเพื่อนนักเรียนทุกคนที่คอยให-กําลังใจ และร)วมแสดงในภาพยนตรสั้น จนกระทั่งโครงงาน เรื่อง การรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะ สําเร็จลุล)วงไปด-วยดี

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทคัดย)อ ชื่อโครงงาน การรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ชื่อนักเรียนผู*จัดทําโครงงาน 1 นายกายสิทธิ์ สันดร 2 นายนนทกานต ทองทา 3 นางสาวชนิภรณ มุ)งงาม 4 นายธีรเดช หลักคํา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ครูที่ปรึกษา

นางสาวกิตติมา สาระรักษ ตําแหน)ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ

ป3ที่ทํา

พ.ศ. 2560 จากการศึกษาโครงงานเรื่อง การรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะ ทางกลุ)มผู-ศึกษามี วัตถุประสงคในการศึกษา คือ 1) ศึกษาพฤติกรรมเกี่ยวกับการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนโรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวรฯ 2) ศึกษาระดับความรู-และเจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะในโรงเรียนของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ 3) พัฒนาสื่อในการให-ความรู-และส)งเสริมให-นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวรฯมีเจตคติที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ผลการศึกษาพบว)า ระดับความรู-เกี่ยวกับขยะของผู-บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา แม)ค-า ของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ มีระดับความรู-ที่ถูกต-องเกี่ยวกับขยะ จํานวน 120 คิดเป>นร-อยละ 68.97 และ มีระดับความรู-ที่ยังไม)ถูกต-องชัดเจน จํานวน 54 คน คิดเป>นร-อยละ 31.03 จึงจํา เป>นอย)างยิ่ งที่ต- องมีการจัด กิจกรรมในการให-ความรู- เกี่ยวกับขยะเพื่ อพัฒนาความรู-ความเข-าใจอย)า ง ถูกต-อง ด-านพฤติกรรมการสร-างและการทิ้งขยะในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษาโดย พบว)าส)วนใหญ)ยัง มีพฤติกรรมที่ไม)ถูกต-องในการทิ้งขยะ จําเป>นต-องมีการรณรงคให-เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส)วนในด-าน เจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะในโรงเรียนนั้น ส)วนใหญ)มีเจตคติที่ดี และเห็นว)าโรงเรียนควรมีการรณรงค เพื่อให-ความรู-และสร-างเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการสร-าและการทิ้งขยะ ถ-าโรงเรียนมีกิจกรรมดังกล)าวจะเข-าร)วม กิจกรรมด-วยความเต็มใจ ระดับ ความพึงพอใจต) อสื่ อเพื่อรณรงคสร- างเจตคติที่ดีในการสร-า งและการทิ้ งขยะของนักเรี ยนใน โรงเรียน พบว)า สื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาขยะในสถานศึกษามีเนื้อหาที่เหมาะสม มี รูปแบบที่ดึงดูดความสนใจ ให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาที่เกิดจากขยะที่มีต)อการดําเนินชีวิตได- ให-ความรู-เกี่ยวกับ วิธีการทิ้งขยะที่ถูกต-อง มีความเหมาะสมกับบุคลากรในสถานศึกษาทุกเพศ ทุกวัย สามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมไปในทางที่ดี และสามารถให-ข-อคิดที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา โดยมีค)าเฉลี่ย 4.14 อยู)ในระดับมาก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ระดับความพึงพอใจในการเข-าร)วมกิจกรรมรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของ นักเรี ย นในโรงเรีย นนั้ น พบว) า ระยะเวลาในการดํ าเนิ น กิ จ กรรมและการประชาสั มพั น ธกิ จ กรรมมี ความเหมาะสม สื่อที่ใช-ในการรณรงคมีความเหมาะสม สื่อและกิจกรรม Big cleaning Day ที่ใช-ในการ รณรงคนั้ น ช) วยพั ฒ นาความรู- เปลี่ ย นแปลงเจตคติ และพฤติ กรรมได- จนทํ าให- เ กิ ดความพึ งพอใจ ได- รั บ ประโยชน และมี ความต- องการในการจั ด กิ จ กรรมการรณรงคสร- า งจิ ต สํ า นึ ก ในการสร- า งและทิ้ งขยะใน สถานศึกษาในปการศึกษาต)อไป โดยมีค)าเฉลี่ย 3.99 อยู)ในระดับมาก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สารบัญ เรื่อง

หน*า

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย)อ ที่มาและความสําคัญของโครงงาน วัตถุประสงคการศึกษาวิจัย ขอบเขตของการศึกษาวิจัย แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข-อง วิธีการศึกษาข-อมูล ผลการวิจัย การอภิปรายผล อ-างอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช-ในการศึกษา ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรมการดําเนินโครงการ

2 3 6 7 7 8 15 16 27 29 31 32 43

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทนํา ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ปจจุ บั น ปญหาเรื่ อ งขยะนั บ ว) า เป> น ปญหาสํ า คั ญ ทั้ ง ในระดั บ ชุ ม ชนและระดั บ ประเทศ สาเหตุ เนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจํานวนมากขึ้น สถานประกอบการต)างๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย)าง เลี่ยงไม)ได-ก็คือ ขยะ ย)อมมีจํานวนมากขึ้นตามไปด-วย ประชาชนในประเทศเองก็ยังขาดจิตสํานึกในการทิ้งขยะ ให-เป>นที่ ขาดความรู-เกี่ยวกับการนําขยะกลับมาใช-ใหม) และหลายๆ คนไม)เห็นคุณค)า ทั้งที่ขยะเหล)านั้นหาก นํามาคัดแยกอย)างถูกวิธีแล-วจะสามารถสร-างประโยชนได- และยังสามารถนํากลับมาหมุนเวียนเข-ากระบวนการ ผลิตเพื่อนํากลับมาใช-ใหม)ได-อีกครั้ง ซึ่งจะส)งผลดีทั้งต)อสิ่งแวดล-อม ต)อประชากร และต)อประเทศชาติต)อไป ( https://is.gd/5IAP4f ) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ โรงเรียนมัธยมศึกษาประจําตําบลดงแคนใหญ) อําเภอคําเขื่อนแก-ว จังหวัดยโสธร เป>นอีกโรงเรียนหนึ่งที่ประสบปญหาขยะในโรงเรียน อันเกิดจากความมักง)าย ขาดความรู- และขาดจิตสํานึก ในการสร-างและทิ้งขยะ สาเหตุที่พบบ)อย คือการทิ้งขยะลงตามพื้น ใต-โต™ะเรียน บริเวณพุ)มไม- การทิ้งขยะไม)ถูกที่นั้นสร-างปญหาทําให-โรงเรียนไม)สะอาด และยังเป>นแหล)งอาหารและแหล)ง เพาะพั น ธุ ของแมลงนํ าโรค เช) น แมลงวั น แมลงสาบ ยุ ง ฯลฯ ทํ าให-เ กิ ด กลิ่ น เหม็ น พื้ น ที่ บ ริ เ วณนั้ น ๆ สกปรก ก)อให-เกิดความรําคาญ และเป>นสาเหตุเกิดของปญหาสุขภาพตามมา (https://is.gd/GgJdqq ) จึงมี ความจําเป>นอย)างยิ่งที่ปญหาขยะดังกล)าวจะต-องได-รับการแก-ไขอย)างเร)งด)วน ซึ่งการแก-ไขปญหาเกี่ยวกับการ สร-างและการทิ้งขยะที่ดีวิธีการหนึ่งคือ การให-ความรู-ที่ถูกต-อง และการสร-างเจตคติในเชิงบวกให-แก)ผู-มีส)วน เกี่ยวข-องในปญหานั้นๆ การดํ า เนิ น การรณรงคสร- า งจิ ต สํ า นึ ก ในการสร- า งและการทิ้ ง ขยะในโรงเรี ย นนั้ น การพั ฒ นา กระบวนการคิด และการให-ความรู-โดยผ)านสื่อต)างๆ จนสามารถทําให-เกิดการเปลี่ยนเจตคติได-นั้น จะต-อง อาศัยขั้นตอนการให-ข-อมูลเบื้องต-น (Information)ทางความคิด การสร-างความคิดรวบยอด (Concept) การวิเคราะห (Analysis) แยกแยะส)วนต)างๆให-เห็นความสัมพันธหรือผลกระทบซึ่งกันและกัน การนําไปใช(Application) จนกระทั่งถึงการสร-างเจตคติ ( Attitude) เมื่อข-อมูลความรู-ถูกใช-หรือส)งผ)านมาถึงขั้นสุดท-าย แล-ว ผู-เกี่ยวข-องทุกฝgายก็สามารถสรุปผลด-วยตนเองได-ว)าเขามีความเชื่อหรือเจตคติอย)างไร แต)ทั้งนี้ทั้งนั้น การให-รณรงคดังกล)าวจะประสบความสําเร็จจนสามารถเปลี่ยนเจตคติได-หรือไม) ต-องประกอบไปด-วยปจจัยอีก หลายประการ เช)น การรับรู- (Perception) ความสนใจ และความจํา ดังนั้นในการรณรงคเพื่อเปลี่ยนเจตคติ จึงจําเป>นต-องคํานึงการสื่อความหมายซึ่งเป>นสิ่งสําคัญในการส)งและรับข-อมูล ข-อมูลที่สื่อสารนั้นจะต-องเป>นที่ น)าสนใจ มีการรับรู-ในทางบวก จึงจะเป>นการส)งเสริมให-ผู-รับจดจําข-อมูลได-ดี ก็จะทําให-การพัฒนาเจตคติ เป>นไปได-อย)างต)อเนื่อง (Interfere) จากแนวคิด เหตุผล ที่มาและความสําคัญดังกล)าว จึงเป>นแรงจูงใจให-คณะผู-ศึกษาได- ศึกษาระดับ ความรู-เกี่ยวกับขยะ เจตคติในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา รวมถึงการพัฒนาสื่อเพื่อการรณรงคใน การสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ผู-คณะผู-ศึกษาเชื่อมั่นว)าข-อมูลและเครื่องมือดังกล)าว จะสามารถส)งผลใหผู- เ กี่ ย วข- อ งกั บ ปญหาดั ง กล) า วมี เ จตคติ ใ นทางที่ ดี ขึ้ น จนสามารถแก- ไ ขปญหา ก) อ เกิ ด ความตระหนั ก ใน ความสําคัญ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะที่เกิดขึ้นในโรงเรียน เพื่อเป>นการรักษาความสะอาดและส)งเสริม สุ ข ลั ก ษณะที่ ดี ใ นการดํ า รงชี วิ ต ให- เ กิ ด ขึ้ น ในโรงเรี ย นสมเด็ จ พระญาณสั ง วรฯ รวมถึ ง เป> น แนวทางใน การรณรงคแก-ไขปญหาในเรื่องอื่นๆ ต)อไป -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


วัตถุประสงคการศึกษาวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมเกี่ยวกับการสร-าง และการทิ้งขยะของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ 2.2 เพื่อศึกษาระดับความรู-และเจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะในโรงเรียนของนักเรียนโรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ 2.3 เพื่อพัฒนาสื่อในการให-ความรู-และส)งเสริมให-นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ให-มีเจตคติที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ขอบเขตของการศึกษาวิจัย ประชากร - คณะผู-บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จํานวน 36 คน - นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภทุก จํานวน 493 คน - แม)ค-าในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภทุก จํานวน 11 คน จํานวนประชากรรวมทั้งสิ้น จํานวน 540 คน กลุ)มตัวอย)าง - คณะผู-บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จํานวน 10 คน - นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภทุก จํานวน 150 คน - แม)ค-าในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภทุก จํานวน 5 คน จํานวนกลุ)มตัวอย)างรวมทั้งสิ้น จํานวน 165 คน เครื่องมือ - แบบสอบถาม เพื่อวัดระดับความรู- เจตคติและความต-องการในการรณรงคเกี่ยวกับ การสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน - สื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน - แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ สื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้ง ขยะของนักเรียนในโรงเรียน - กิจกรรม Big Cleaning Day - แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ ในการเข-าร)วมโครงการรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการ สร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข*อง 1. ความรู*เกี่ยวกับขยะและการแก*ไขปญหาขยะ ขยะ เป>นปญหาสภาพแวดล-อมที่มีผลกระทบต)อสุขภาพอนามัยของมนุษยทั้งทางตรงและทางอ-อม มากมายหลายรูปแบบ ทั้งที่เป>นของแข็ง ของเหลว ขยะที่ย)อยสลายได-และที่ย)อยสลายไม)ได- ของที่ใช-ประโยชน ได- แ ละที่ ใ ช- ป ระโยชนไม) ได- และขยะมี พิ ษ ต) อ มนุ ษ ยและสิ่ ง แวดล- อ ม จากการใช- ส อยของมนุ ษ ยหรื อ จาก ขบวนการผลิตจากกิจกรรมภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมขยะมีหลายประเภท เช)นขยะที่สามารถนํามาใชประโยชนได- หรือขยะรีไซเคิล เช)น ขวดแก-ว พลาสติก โลหะ และกระดาษ ขยะธรรมชาติหรือขยะที่ย)อยสลาย ได- เช)น เศษผัก เศษใบไม-ใบหญ-า เศษอาหาร (https://www.im2market.com) ปญหาที่เกิดจากขยะมูล ฝอยนั้ น นั บ วั น จะเพิ่ มมากขึ้ น ตามจํ า นวนของประชากร ถ- า หากไม) มีการกํ า จั ด ขยะมู ล ฝอยให- ถูกต- องและ เหมาะสมแล-ว ปญหาความสกปรกต)างๆ ที่เกิดจากขยะมูลฝอย จะต-องเกิดขึ้นอย)างแน)นอน ถ-ามองกันอย)างผิว เผินแล-ว ขยะมูลฝอยนั้นไม)ได-มีผลกระทบต)อมนุษยมากนัก ทั้งนี้อาจเป>นเพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต)อ มนุ ษย ยั งอยู)ในขั้ น ที่ ไม)รุ น แรงมากนั ก แต) ในความเป> นจริ งแล- ว ขยะมู ล ฝอยจะก) อให- เกิ ด ปญหาต) อ สภาพแวดล-อมเป>นอย)างมากและจะมีผลกระทบต)อสุขภาพอนามัยของผู-ที่อาศัยบริเวณใกล-เคียง นอกจากนี้ ขยะมูลฝอยที่ตกอยู)หรือถูกทิ้งลงในคูคลอง หรือทางระบายน้ํา จะไปสกัดกั้นการไหลของน้ํา ทําให-แหล)งน้ํา สกปรกและเกิดการเน)าเสีย เมื่อน้ําเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลไปตามพื้นดินบริเวณใด ก็จะทําให-บริเวณนั้น เกิดความสกปรก และความเสื่อมโทรมของพื้นดินและอาจเปลี่ยนสภาพได- น้ําที่สกปรกมากหรือมีสารพิษเจือ ปนอยู) ก็อาจทําให-สัตวน้ําตายในเวลาอันสั้น ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว-นาน ๆ จะมีก™าซที่เกิดจากการหมั ก ขึ้น ได-แก) ก™าซชีวภาพ ซึ่งติดไฟหรือเกิดระเบิดขึ้นได- และก™าซไข)เน)า ซึ่งมีกลิ่นเหม็น ส)วนการแก*ไขปญหาขยะ มูลฝอยทําได*โดยพิจารณา ถึงต-นเหตุที่ก)อให-เกิดขยะมูลฝอยขึ้นมา ซึ่งก็คงจะหมายถึง มนุษย หรือผู-สร-างขยะ มูลฝอยนั้นเอง การปdองกันและการแก-ไขปญหาของขยะมูลฝอย เริ่มต-นด-วยการสร-างจิตสํานึกแก)มนุษยให-รู-จัก รับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ-านเรือนของตัวเอง และภายนอกบ-าน ไม)ว)าจะเป>นถนน สถานที่ ทํางาน หรือที่สาธารณะอื่นๆให-รู-จักทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะให-เป>นที่เป>นทาง ไม)มักง)ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้ ง นี้ เ ป> น ก า ร ช) ว ย ใ ห- พ นั ก ง า น เ ก็ บ ข ย ะ นํ า ไ ป ยั ง ส ถ า น ที่ กํ า จั ด ไ ด- ส ะ ด ว ก แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว ขึ้ น http://www.chaiwbi.com/0drem/web_children/2551/ms201/c_camp51/600.htm lและอีกวิธีการ ที่จะกําจัดขยะได-อย)างมีประสิทธิภาพ ลดปริมาณขยะของประเทศ และยังนําเอาขยะกลับมาใช-ใหม)ให-เป>น ประโยชนได-คือวิธีการจัดการขยะด-วยแนวคิด 7R ดังนี้ 1. REFUSE : หลีกเลี่ยงการใช-สิ่งของหรือบรรจุภัณฑที่สร-างปญหา รวมทั้งเป>นมลพิษต)อสิ่งแวดล-อม เช)น กล)องโฟม หรือ ขยะมีพิษอื่นๆ 2. REFILL : เลือกใช-สินค-าชนิดเติม 3. RETURN : เลือกใช-สินค-าที่สามารถส)งคืนบรรจุภัณฑกลับสู)ผู-ผลิตได- เช)น ขวดเครื่องดื่มประเภทต)างๆ 4. REPAIR : ซ)อมแซมเครื่องใช-ให-สามารถใช-ประโยชนได-ต)อไป 5. REUSE : นําบรรจุภัณฑใช-แล-วกลับมาใช-ใหม) เช)น ใช-ถุงผ-า แทนถุงพลาสติก 6. RECYCLE : แยกขยะที่ยังใช-ประโยชนได- เพื่อให-ง)ายในการจัดเก็บและส)งต)อไปแปรรูป เช)น กระปHอง ขวด พลาสติก ขวดแก-ว ฯลฯ 7. REDUCE : ลดปริมาณการใช-และหาทางเพิ่มประสิทธิภาพการใช-งานของสิ่งของต)างๆ http://www.yaklakyim.com

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


2. การจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสํานึกในด*านกระบวนการคิด การให-ความรู-โดยการจัดทําสื่อต)างๆล-วนเป>นการทําให-เกิดการเปลี่ยนเจตคติในเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง ถ-าจะมองในลักษณะของการสอนแล-วก็คงจะต-องมีเปdาหมายว)าผู-สอนต-องการให-ผู-เรียนมีเจตคติในเรื่องใด อย)างไร แล-วจะจัดสภาพการเรียนให-อย)างไร การที่จะให-เกิดผลอย)างใดอย)างหนึ่งนั้น มีปจจัยเข-ามาเกี่ยวข-อง มากมาย ซึ่งการพัฒนาจิตสํานึกเป>นกระบวนการที่ความรู-ถูกส)งผ)านแล-ว ท-ายที่สุดก็ออกมาเป>นเจตคติ โดย อาศัยขั้นตอนต)างๆ ของ Benjamin Bloom เป>นหลัก ดังนี้ 1. ขั้นข-อมูลเบื้องต-น (Information) การเปลี่ยนเจตคติของคนนั้นอย)างน-อยที่สุดก็จะต-อง ได-รั บข- อมู ลเสีย ก)อนเพื่อจะเข- าไปทํ าให-เ กิด การจํ าในทางความคิ ดข- อมู ลเบื้องต- นทางความคิดในการสร-า ง จิตสํานึกต)อการสร-างและการทิ้งขยะ คือ การเรียนรู-เรื่องขยะ การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศในโรงเรียน และ ความรู-เรื่องขยะที่ส)งผลต)อสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียน 2. ขั้นความคิดรวบยอด (Concept) เมื่อข-อมูลถูกส)งมายังผู-รับ ซึ่งสมองไม)สามารถจะเก็บ รายละเอียดต)างๆ ไว-ทั้งหมดได- แต)จะเก็บไว-ในลักษณะที่สรุปเป>นใจความสั้นๆ 3. ขั้นการวิเคราะห (Analysis) การวิเคราะหเป>นการแยกแยะส)วนต)างๆให-เห็นความสัมพันธ หรือผลกระทบซึ่งกันและกัน เช)นเรื่องของขยะในโรงเรียน ก็จะต-องแยกแยะดูว)าขยะเหล)านี้เกิดจากสาเหตุ อะไร 4. ขั้นการนําไปใช- (Application) ขั้นการนําไปใช-นี้อาจนําความรู-ในเรื่องเดิมไปใช-ใน สถานการณอื่นๆหรือทัศนะที่เกิดขึ้นไปใช-ซึ่ง Jerome Bruner กล)าวว)าการนําไปใช-เป>นการ ถ)ายทอดการ เรียนรู-โดยตรงและโดยอ-อม (Specific and Non-Specific Transfer) ตัวอย)างใน เรื่องของขยะในโรงเรียน ได-แก) เมื่อผู-เรียนใช-ถุงพลาสติกแล-วนักเรียนก็สามารถ นําความรู-ที่ได-ในการเรียนเรื่อขยะ เพื่อที่จะลด พฤติกรรม ปรับเปลี่ยนเจตคติที่ทําให-เกิดความเสียหายแก)สุขภาพของนักเรียนเอง ต-องทิ้งขยะให-ถูกต-องตาม ประเภทขยะ 5. ขั้นเจตคติ ( Attitude) เมื่อข-อมูลความรู-ถูกใช-หรือส)งผ)านมาถึงขั้นนี้แล-วผู-เรียนก็สามารถ สรุปผลด-วยตนเองได-ว)าเขามีความเชื่อหรือเจตคติอย)างไร ซึ่งในขั้นนี้ถือได-ว)าเป>นเปdาหมายของการเรียน การ สอนตามแนวทางของบลูมมีลักษณะที่เหมือนกันกับการสอนโดยทั่วไปคือ เป>นทฤษฎีที่เน-นถึงกระบวนการ เรียนรู-ของบุคคลที่มีข-อมูล เข-าไปทําให-เกิดการเปลี่ยนเจตคติ แต)ยังมีปจจัยอีกหลายประการที่เข-ามาเกี่ยวข-อง ในการสอนเพื่อให-เกิดการเปลี่ยนเจตคติดังนี้คือ 5.1. การรับรู- (Perception) การรับรู-ครั้งแรกที่บุคคลมีต)อเรื่องใดเรื่องหนึ่งมีผลต)อ การเปลี่ยนเจตคติโดยตรง ความรู-สึกที่มีต)อเรื่องใดๆ ในครั้งแรกอาจจะทําให-บุคคลไม)รับข-อมูลดังกล)าวก็ได- ถ-า ข-อมูลดังกล)าวถูกปฏิเสธ การส)งต)อข-อมูลเพื่อให-เกิดการเปลี่ยนเจตคติก็อาจไม)เกิดขึ้น 5.2. ความสนใจ บุคคลจะยินดีให-ข-อมูลส)งผ)านระบบประสาท เพื่อให-เกิดการเรียนรูหรือเปลี่ยนเจตคติหรือไม) อยู)ที่ความสนใจที่ผู-รับมีต)อข-อมูลนั้นด-วย เช)น ถ-าข-อมูลนั้นอ)านง)าย ลงมือปฏิบัติเป>น เรื่องที่น)าตื่นเต-น ฯลฯ ผู-รับก็ย)อมมีความสนใจต)อข-อมูลนั้น 5.3. ความจํา ถ-าข-อมูลน)าสนใจมีการรับรู-ในทางบวก ก็จะส)งเสริมให-ผู-รับจดจําข-อมูล ได-ดี ก็จะทําให-การพัฒนาเจตคติเป>นไปได-อย)างต)อเนื่อง เช)น ถ-าผู-รับสามารถจดจําเรื่องประเภทของขยะได- ลืม ข-อมูลอะไรนั้นเกิดจาก ข-อมูล หลายเรื่องเข-ามาสู)ระบบความจํามากเกินไปและ ข-อมูลเก)าถูกรบกวน (

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


Interfere) ด-วยข-อมูลที่รับเข-ามาใหม) ดังนั้นการให-ข-อมูลต)างๆแก)ผู-เรียนจึงต-องคํานึงถึงสิ่งเหล)านี้ด-วย โดยเฉพาะการสื่อความหมายซึ่งเป>นสิ่งสําคัญในการส)งและรับข-อมูล จากแนวคิดและทฤษฏีต)างๆที่กล)าวมาข-างต-นสรุปได-ว)า การจะสร-างให-ผู-เรียนเกิดจิตสํานึกในการ อนุ รั กษและพั ฒ นาสิ่ งแวดล- อมได- นั้ นควรต-องจัด กิ จกรรมโดยเริ่ มต- น ด- วยการสร- างความตระหนักเกี่ย วกั บ สิ่งแวดล-อมภายในโรงเรียน พัฒนาการสังเกต การบันทึกข-อมูล การให-ความรู-เกี่ยวกับขยะ ฝmกให-ผู-เรียนรู-จัก วางแผนร)วมกัน ตัดสินใจในการแก-ปญหา และจัดการกับขยะ สิ่งเหล)านี้จะส)งผล ให-ผู-เรียนมีเจตคติที่ดีต)อการ สร-างและทิ้งขยะ ผู-วิจัยจึงเลือกวิธีการจัดกิจกรรมตามหลักการของสิ่งแวดล-อมศึกษา ตามลําดับดังนี้ 1. ให-ความรู-หรือข-อมูลเกี่ยวกับสภาวะแวดล-อมภายในโรงเรียน ตลอดจนผลกระทบจาก กิจกรรมของมนุษยนั่นคือขยะ หรือให-ข-อมูลที่เป>นความจริงที่เกิดขึ้น เช)น ความรู-เกี่ยวกับปญหาขยะที่มี ผลกระทบต) อสุ ข ภาพของนั ก เรี ย นในโรงเรี ย น เพื่ อ ให- ผู- เ รี ย นได- มองเห็ น ความสั ม พั น ธระหว) า งมนุ ษ ยกั บ สิ่งแวดล-อม 2. ให- ผู- เ รี ย นได- มี ป ระสบการณตรงจากการลงมื อปฏิ บั ติ ด- ว ยตนเองในธรรมชาติ ห รื อ สภาพแวดล-อมโดยตรง ซึ่งเป>นการพัฒนาทักษะในเรื่องการวิเคราะห แยกแยะต-นตอของปญหาผลกระทบของ ปญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนหาแนวทางในการแก-ปญหานั้นๆ เช)น ปญหาผู-ปgวยเนื่องจากย)าฆ)าแมลง ผู-เรียนอาจ คิดวิธีกําจัดแมลงด-วยวิธีใหม) แทนการใช-ยาฆ)าแมลงชนิดที่เป>นอันตราย เป>นต-น 3. นําสิ่งที่ได-เรียนรู-ทั้งหมดสู)ความตั้งใจจริงในการปฏิบัติทํางาน และเป>นการสร-างความ ตระหนักทางด-านความคิด จะทําให-มองเห็นอันตรายของปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบันและอนาคต นําไปสู)การ เปลี่ยนแปลง แบบแผนการดําเนินชีวิต เพื่อดํารงรักษาสิ่งแวดล-อมเอาไว-โดยมีสิ่งบ)งชี้ความสัมฤทธิ์ผลหรือ ความสําเร็จดังนี้ 1. การสนใจรับรู-ข)าวสารสิ่งแวดล-อมและมีความรู- ความเข-าใจเกี่ยวกับการสร-างและ การทิ้งขยะ 2. การไม)ละเมิดกฎหมาย และข-อบังคับต)างๆ 3. การช)วยดูแลสอดส)องไม)ให-เกิดการทําลายสภาพแวดล-อมและทรัพยากรธรรมชาติ 4. การร)วมมือรักษาสภาพแวดล-อมและทรัพยากรธรรมชาติ 6. การให-ความร)วมมือกันในการรักษาความสะอาดของชุมชน 7. การปฏิบัติตนเป>นแบบอย)างให-ผู-อื่นในการรักษาสิ่งแวดล-อม 8. การชักชวนให-ผู-อื่นปฏิบัติตาม https://jarunart.files.wordpress.com 3. การโน*มน*าวใจและการรณรงค 1. ความหมายของการโน-มน-าวใจ กระบวนการสื่อสารที่ผู-ส)งสารมีความพยายามและเจตนาส)งสารเพื่อให-ผู-รับสารมีการเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมไปในทิศทางที่ได-กําหนดโดยผู-กํากับการสื่อสารหรือผู-ส)งสาร 2. ลักษณะของการโน*มน*าวใจ • ผู-โน-มน-าวใจมีความตั้งใจที่จะมีอิทธิพลเหนือผู-ถูกโน-มน-าวใจ • โดยปกติผู-ถูกโน-มน-าวมีทางเลือกมากกว)าหนึ่งทางเลือก และผู-โน-มน-าวใจพยายามชักจูงผู-ถูกโน-มน-าว ใจให-ยอมรับทางเลือกที่ตนเสนอ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


• สิ่งที่ผู-โน-มน-าวใจต-องการ คือ การเปลี่ยนแปลง หรือการสร-าง หรือ ดํารงไว-ซึ่งความคิดเห็น ทัศนะคติ ค)านิยม และความเชื่อ ของผู-ถูกโน-มน-าวใจ 3. วัตถุประสงคการโน*มน*าวใจ • เพื่อการรับรู-หรือความตระหนัก • ด-านความรู-สึก • ด-านพฤติกรรม 4. การพิจารณาผลของการโน*มน*าวใจ เกณฑ 3 ประการพิจารณาสําหรับตัดสิน 1. ความสอดคล-องกันระหว)างเจตนาของผู-ส)งสารและพฤติกรรมของผู-รับสารในระยะเวลาฉับพลันหรือ ช)วงเวลานั้น 2. ระดับความสอดคล-องระหว)างเจตนาของผู-ส)งสารและพฤติกรรมของผู-รับสารที่ตามมา 3. ระดับความยากของการสื่อสารผู-ส)งสาร 5. องคประกอบพื้นฐานในการโน*มน*าวใจ 1. ความเหมือนกัน หรือแตกต)างกันระหว)างผู-ส)งสารและผู-รับสาร 2. ความแตกต)างของเนื้อหาข)าวสาร สารแต)ละชิ้นมีความโน-มน-าวใจไม)เหมือนกัน 3. ความแตกต)างของสารในด-านวิธีการเขียน การพูด การจัดเรียงสาร หรือลีลาในการพูด การเขียน 6. ข*อสังเกตผลการโน*มน*าวใจ 1. การเปลี่ยนแปลงความรู- และสํานึก 2. การเปลี่ยนแปลงในอารมณและความรู-สึก 3. การมีวิธีการตรวจสอบทางสรีระวิทยา และการเปลี่ยนแปลงในทางพฤติกรรม การรณรงค (campaign) การรณรงค คือ เป>นศัพทที่มาจากทางทหาร การรณรงคสร-างกําลังเพื่ออุดมการณที่ทําให-คนทั้งหลาย ให-เกิดพลังอะไรสักอย)าง เช)น สัปดาหรณรงคเกี่ยวกับ 1. การรณรงค หมายถึง กระบวนการต)อเนื่องที่ประกอบด-วยกิจกรรม หรือการดําเนินการที่ออกแบบ ขึ้นเพื่อให-ได-มาซี่งผลลัพทที่คาดหวังในช)วงระยะเวลาที่กําหนด (kendall.1992) 2. การรณรงค คือการพยายามในการสื่อสารที่ต)อเนื่องที่มีสาร (massage) มากกว)าหนึ่ง ซึ่งเป>น วัตถุประสงคของความพยายามของการสื่อสาร คือ การมีอิทธิพล ต)อ สังคม หรือ สาธารณะชน 3. รณรงคคือ กิจกรรมที่ถูกวางไว-ล)วงหน-า ได-ออกแบบโดย ผู-ที่ต-องการการเปลี่ยนแปลง ( change agent)* เพื่อให-ได-มาซึ่งการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมของผู-รับสารในช)วงระยะเวลาที่กําหนด ( change agent) ผู-นําการเปลี่ยนแปลง ไม)ได-หมายถึงบุคคลเพียงอย)างเดียวยังหมายถึงองคกรด-วย 4. สรุป รณรงคเป>นกิจกรรมการสื่อสารเพื่อโน-มน-าวใจ โดยมีการกําหนดชุดกิจกรรมการสื่อสารและ วางแผนไว-ล)วงหน-า รวมถึงการกระทําหมดเวลาครอบคลุมในการแพร)กระจายข)าวสาร โดยผ)านสื่อจํารวนหนึ่ง ณ เวลาที่ใดจะให-สารเข-าถึงประชาชนกลุ)มเปdาหมายได-มากที่สุด หรือ คุ-มค)ามากที่สุดต)อความพยายามลงทุน ลงแรงนั้น

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


นัยสําคัญของการณรงค 1. ความหมายต-องการให-ผู-รับสารเห็นคุณค)าหรืออประโยชน หรืออันตรายที่จะได-รับ 2. เพื่อแสดงความคิดเห็นให-ผู-รับสารทราบถึงความสําคัญและความจําเป>นและสาเหตุที่ต-องมีการ เผยแพร)กระจายเรื่องราวนั้น เพื่อให-เกิดความรู- ความตระหนัก และความเข-าใจต)อเรื่องนั้นๆ 3. ต-องการดึงความสนใจ แสวงหาการสนับสนุนเพื่อให-เกิดความเข-ามามีส)วนร)วมและเกิดความร)วมมือ ในกิจกรรมจากสาธารณชน หรือผู-รับสาร เช)น การหาเสียงเลือกตั้ง ,กรณีช)วยกันทําความสะอาด กทม.หลัง เหตุการณความรุนแรง 4. ต-องการย้ําเตือน เพราะสื่อระยะสั้น ต-องย้ําให-เกิดการระลึกได- ความสนใจ 5. เพื่อให-เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนะคติ คือ ความรู- + ความเข-าใจ+ ความเชื่อ โดยทั้งสามอย)างนี้ต-อง ทําเป>นกระบวนการ ความสัมพันธระหว)างความรู-ทัศนะคติ+พฤติกรรม เช)น KPI คือ ความรู- ทัศนคติ ได-รู-ไดเห็น ความเคยชิน การยอมรับปฏิบัติตาม ลักษณะทั่วไปของการรณรงค 1. การกระทําเพื่อเปdาหมาย 2. เจาะกลุ)มเปdาหมายคนกลุ)มไหน 3. กําหนดระยะเวลาชัดเจน 4. ประกอบด-วยชุดกิจกรรม และทําต)อเนื่อง ชนิดของการรณรงค โดยปกติการรณรงค มี อยู) 3 ประเภท คือ 1. การรณรงคทางการเมือง 2. การรณรงคโฆษณาประชาสัมพันธ 3. การรณรงคเพื่ออุดมการณ คือ อยากเผยแพร)แนวคิดต)างๆ เช)น เศรษฐกิจพอเพียง โดยเน-นคนเข-ามี ส)วนร)วม ขั้นตอนที่นําไปสู)ความสําเร็จของการรณรงค จุดร)วมของการรณรงคทั้ง 3 แบบ คือ จะมีการเปลี่ยนแปลงและปรับให-เข-ากับประเด็นใหม)ที่เกิดขึ้น โดยจะไม)ใช-จังหวะ หรือย้ําอย)างเดียว คือไม)ใช-กลยุทธเดียวตลอดต-องมีหลายๆรูปแบบ กลยุทธที่เข*าถึงกลุ)มเปvาหมายมี 5 ขั้นตอน 1. ขั้นตอนให-คนรู-จัก หรือ ประกาศตัว(identification) 2. ขั้นตอนการสร-างความชอบธรรม (legitimacy)หรือ ความถูกต-อง 3. ขั้นตอนการมีส)วนร)วม (Participation) .ขั้นตอนการชอบธรรม มีผู-การสนับสนุนอย)างเปUดตัว ในขั้น การมีส)วนร)วม ผู-นําการรณรงคพยายามดึงคนที่ไม)มีส)วนร)วมเข-าร)วมด-วย 4. ขั้นตอนเข-าไปอยู)ในตลาด (penetration) ถึงขั้นนี้แสดงว)า มีผลิตภัณฑ /แนวคิด/อุดมการณ ได-มี ส)วนแบ)ง หรือส)วนครองใจผู-รับสาร 5. ขั้นสําเร็จ (distribution) ขั้นสุดท-ายของการรณรงคเมื่อประสบความสําเร็จ ต-องรักษาไวลักษณะการสื่อสารแบบต)างในการรณรงค ที่น)ารู* 1. ความน)าเชื่อถือ ต)อผลิตภัณฑ บุคคล โดยส)วนใหญ)คนรู-จัก มีชื่อเสียง หรือบุญบารมี 2. ความนิยมของประชาชน (climate of opinion) คือความนิยมของประชาชนเปลี่ยนแปลงง)าย คน ที่ทําการรณรงคต-องจับกระแสนี้ได- (บริบทของสังคมจะมีผลต)อกระแส) 3. ผู-นําความคิด (opinion leaders) คือการรณรงคมุ)งส)งสารไปยังผู-นําความคิด เพราะ มีผลต)อทัศนะ คติ ความเชื่อ แนวผู-รับสาร มีบทบาทสําคัญ เผยแพร) สาร ปฏิบัติ หรือไม)ปฏิบัติ ยอมรับหรือไม)ยอมรับ ผู-นํา -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ความคิด จะถ)ายทอดข-อมูลข)าวสารไปยังผู-รับสาร จะแสดงความคิดเห็น ทัศนะคติ ของเขาไปยังผู-รับสาร ผู-นํา ความคิด จึงต-องได-รับการยอมรับ 4. ความเป>นหนึ่งเดียว (uniqueness) คือทําให-ไม)ธรรมดา คือ สร-างเอกลักษณ ให-เป>นเรื่องน)าสนใจ แม-แต)ชื่อโครงการของเรา เราจะใช-ภาษา คําพูดอะไร ถึงจะโดนใจ การใช-ภาษาจึงมีความสําคัญ 5. ความรู-สึก “ใช-ได-” เป>นการเน-นพยายามให-ผู-รับสาร ยอมรับ ในการรณรงค ความรู-สึกคํานึกถึงมาก โดยเน-นการยอมรับของสังคม 6. สภาพภายในจิตใจผู-รับสาร อาจดู สิ่งแวดล-อม ,จิตใจ.สถานการณทางสังคม เป>นต-น ขั้นตอนรณรงค 1. การวิจัย เพื่อให-ได-ข-อมูล กลุ)มเปdาหมายผู-รับสาร /ประเด็นปญหา/ หลักการ เหตุผล/ความคิดเห็น/ ทัศนะคติของกลุ)มเปdาหมาย - หาข-อมูลด-านแรงจูงใจ - พฤติกรรมกลุ)มเปdาหมายผู-บริโภค/ผู-ใช-บริการ - ทัศนะคติกลุ)มเปdาหมาย 2. การวางแผนการณรงค - กําหนดวัตถุประสงคและเปdาหมาย (ทราบและเข-าใจ) - กําหนด Theme การรณรงค (คือที่ต-องการให-คนสนับสนุน) - กําหนดกลุ)มเปdาหมาย (คือต-องการบรรลุเรื่องอะไร เช)นกลุ)มเปdาหมายหลัก กลุ)มเปdาหมายรอง คือ ต-องดูเจตนาว)ากําหนดว)าอย)างไร) - กําหนดระยะเวลาการรณรงค (คือ ระยะที่หมายกําหนดการใช-ทรัพยากร เช)นงบประมาณ บุคลากร เพราะจะทําให-เราประมาณการ การใช-สื่อได- เตรียมงบประมาณในการดําเนินการทรัพยากรอื่นๆ 3. การเลือกใช-สื่อ - กําหนดชนิดของสื่อที่ต-องใช- ความบ)อย/ความครอบคลุม ช)วงเวลาที่ต-องการ (คือต-องเหมาะสมกับ กลุ)มเปdาหมาย) - กําหนดเนื้อหาและรูปแบบข)าวสาร กระชับ เข-าใจ - จําง)าย ไม)ซับช-อน 4. นําแผนไปปฏิบัติ (Implementation) 5. ประเมินผลการรณรงคและการทํางาน - เพื่อวัดประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ของการเผยแพร) และการใช-สื่อ ทั้งนี้เพื่อจะได-นําผลจากการ ประเมินมาใช-เป>นประโยชนและวางกลยุทธต)อไป สรุป การรณรงค 1. ศึกษาปญหา (อะไรเด)น/อะไรควรเน-น) 2. ศึกษาประเมินกลุ)มเปdาหมาย กลุ)มผู-มีอิทธิผลต)อการตัดสินใจ ต)อการกระตุ-นจูงใจโน-มน-าวใจ 3. พิจารณาช)องทางที่เหมาะสมที่สุดที่จะทําการเผยแพร) 4. ต-องแน)ใจว)าโอกาสที่เหมาะสมที่สุดที่จะทําการเผยแพร)อยู)ช)วงใด 5. ทบทวนงานเก)าๆและแนวโน-ม( ศึกษาข-อมูลเก)าให-เราพัฒนาโครงการใหม)ๆของเราได- สะดวกขึ้น มีแหล)ง อ-างอิงมากขึ้น โครงการมีแหล)งอ-างอิงทําให-โครงการมีน้ําหนัก มีความน)าเชื่อถือ โดดเด)น น)าสนใจมากขึ้น 6. พยามกําหนดวัตถุประสงคให-แน)ชัดการรณรงค -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


7. พยายามให-วัตถุประสงคของการรณรงคสอดคล-องสัมพันธกับนโยบาย/เปdาหมายระยะยาวขององคกรของ หน)วยงานที่เป>น change agent 8. กําหนดงบประมาณ 9. กําหนด Theme หรือเรียกร-องความสนใจ สําหรับ campaign 10. การทํา วิจัย ด-านการตลาดมาใช-ให-เป>นประโยชน (โดยอาศัยข-อมูลจากสหวิทยาการ เกี่ยวข-องกับวิชาด-าน การตลาดจะทําให-เราเข-าใจสภาพปญหามากขึ้น) 11. ตรวจเช็คว)าสื่อใดเหมาะสมที่สุด https://devcomru7.blogspot.com/2011/09/blog-post_21.html วิธีการศึกษาข*อมูล โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ประสบปญหาในเรื่องของความสะอาดอัน เนื่องมาจากพฤติกรรมเกี่ยวกับการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียนที่ไม)ถูกต-อง ดังนั้นผู-ศึกษาจึงมี ความต-องการที่จะศึกษาพฤติกรรม ความรู- และเจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะ เพื่อหาวิธีการแก-ไขปญหาที่ ถูกต-อง โดยมีขั้นตอนการทํางานดังนี้ 1. กําหนดหัวข-อโครงงาน 2. ศึกษา ค-นคว-า รวบรวมข-อมูล 3. สร-างแบบสอบถาม เพื่อวัดระดับความรู- เจตคติและความต-องการในการรณรงคเกี่ยวกับ การสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน 4. แจกแบบสอบถามผ)านระบบ Internet เพื่อเก็บรวบรวมข-อมูลระดับความรู- เจตคติและความต-องการ ในการรณรงคเกี่ยวกับ การสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียนโดยใช- Google Forms 5. สรุปผลข-อมูลระดับความรู- เจตคติและความต-องการในการรณรงคเกี่ยวกับ การสร-างและการทิ้งขยะ ของนักเรียนในโรงเรียน 6. นําข-อมูลมาออกแบบสื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน 7. เผยแพร)สื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียนต)อนักเรียน กลุ)มทดลอง 8. สร-างแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ และความรู-ที่ได-รับข)าวสารจากสื่อที่เผยแพร) 9. แจกแบบสอบถามผ)านระบบ Internet เพื่อเก็บรวบรวมข-อมูลระดับประเมินความพึงพอใจสื่อและ กิจกรรมเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียนที่เผยแพร)โดย ใช- Google Forms 10. สรุปผลการประเมิน / ปรับปรุงสื่อ 11. เผยแพร)สื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียนต)อนักเรียน ทั้งหมดของโรงเรียนและสาธารณชน 12. จัดกิจกรรม กิจกรรม Big Cleaning Day สัปดาหละ 1 ครั้ง 13. สร-างแบบสอบถามเพื่อแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ ในการเข-าร)วมโครงการรณรงคสร-าง เจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


14. แจกแบบสอบถามผ)านระบบ Internet เพื่อเก็บรวบรวมข-อมูลระดับเพื่อประเมินความรู- เจตคติ และความพึงพอใจ ในการเข-าร)วมโครงการรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของ นักเรียนในโรงเรียนโดยใช- Google Forms 15. สรุปผลการดําเนินงาน ผลการวิจัย ในการศึกษาเรื่อง การรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ซี่งคณะผู-ศึกษาไดดําเนินการศึกษาโดยใช-กระบวนการพัฒนาความคิดและเจตคติ ผ)านสื่อการรณรงค โดยมีกลุ)มตัวอย)างเป>น คณะผู-บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จํานวน 10 คน นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภทุก จํานวน 150 คน แม)ค-าในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภทุก จํานวน 5 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 165 คน มีเครื่องมือที่ใช-ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม เพื่อวัดระดับความรู- เจตคติและความต-องการในการรณรงค เกี่ยวกับการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน สื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการ ทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจสื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการ สร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน กิจกรรม Big Cleaning Day แบบสอบถามเพื่อประเมินความรูเจตคติ และความพึงพอใจ ในการเข-าร)วมโครงการรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของ นักเรียนในโรงเรียน โดยมีเเกณฑการแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ (ชูศรี วงศรัตนะ 2549 :104-015) คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายความว)า ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายความว)า ระดับความพึงพอใจ มาก คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายความว)า ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายความว)า ระดับความพึงพอใจ น-อย คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายความว)า ระดับความพึงพอใจ น-อยที่สุด เกณฑการตัดสินแปลความหมายคะแนน พิจารณาค)าเฉลี่ยของการประเมินค)าเฉลี่ยรวม 3.51 ขึ้นไป จึงถือว)าผ)านเกณฑ จากการดําเนินงานดังกล)าว ผลการศึกษาพบว)า

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ตารางที่ 1 ระดับความรู- เจตคติและความต-องการในการรณรงคเกี่ยวกับการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียน ในโรงเรียนก)อนเข-าร)วมกิจกรรม ข-อที่ หัวข-อ ตัวเลือก ค)าความถี่(คน) ตอนที่ 1 ข*อมูลทั่วไปของผู*ตอบแบบสอบถาม 1 เพศ ชาย 97 หญิง 77 2 สถานภาพ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 10 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 21 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 13 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 28 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 39 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 39 แม)ค-า – บุคลากรในโรงเรียน 2 ผู-บริหาร - คณะครู 22 ตอนที่ 2 การสํารวจความรู*เกี่ยวกับขยะ 1 ท)านคิดว)าข-อใดคือขยะเปยกทั้งหมด ถุงพลาสติกเปยกนํ้า ใบตอง 35 เศษกระดูกไก) เศษอาหาร เปลือกผลไม- ใบไม-สด 120 ขวดนํ้าอัดลม ขวดพลาสติก 4 เศษเหล็ก ใบไม-สด แก-วพลาสติกที่ใส)กาแฟ 13 เศษหนังปลาเผา

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ร-อยละ 55.6 44.4 5.9 11.8 7.7 16 22.5 22.5 1.2 12.4 20.1 69.2 2.4 7.7


ข-อที่ 2

3

หัวข-อ ท)านคิดว)าข-อใดเป>นขยะมูลฝอยที่ใชเวลาในการย)อยสลายนานที่สุด

ท)านคิดว)าข-อใดคือขยะอันตราย ทั้งหมด

4

ท)านคิดว)าขยะในข-อใดที่สามารถนํามา รีไซเคิลได

5

ท)านคิดว)าขยะชนิดใดที่สามารถนํามา ทําเป>นปุHยหมักได

6

เมื่อต-องทิ้งขยะที่เป>นขยะเปยก ท)าน คิดว)าควรทิ้งในถังขยะสีใด

7

ท)านคิดว)าข-อใดคือโทษที่อันตรายที่สุด ที่เกิดจากขยะ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ตัวเลือก มูลสัตว ซากพืชซากสัตว พลาสติก โฟม ถ)านไฟฉาย กระปHองยาฆ)าแมลง หลอดไฟ เศษแก-ว หลอดไฟ ตะปู เปลือกทุเรียน ตะปู หลอดไฟ ถานหิน เปลือกทุเรียน เศษแก-ว ถุงขนมขบเคี้ยว กระดูกไก) มูลสัตว กระดาษลัง ขวดพลาสติก เศษเหล็ก เปลือกลูกอม เศษผ-า หลอดยาสีฟน เปลือกส-ม เศษเหล็ก เศษกระดาษ เปลือกลองกอง - เศษอาหาร เศษใบไม- - เศษกระดาษ ถุงพลาสติก - ซากสัตว มูลสัตว – ขวดนํ้าพลาสติก ถังขยะสีเขียว ถังขยะสีแดง/สีส-ม ถังขยะสีน้ําเงิน/สีฟdา ถังขยะสีเหลือง ทําให--นํ้าเน)าเสีย มีกลิ่นเหม็นและไม)สวยงาม เป>นแหล)งเพาะพันธุเชื้อโรค บริเวณที่มีขยะมีความสกปรก ไม)น)ามอง

ค)าความถี่(คน) 4 16 61 92 141

ร-อยละ 2.4 9.4 35.3 52.9 80.8

26 2 5 5 137 27 5 125 39 8 1 95 17 25 38 19 14 130 10

15 1.2 3 2.9 78.8 15.3 2.9 72 22.6 4.8 0.6 54.4 9.5 14.2 21.9 11.2 8.3 74.6 5.9

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ข-อที่ หัวข-อ 8 ท)านคิดว)าข-อใดเป>นการกําจัดขยะที่ถูก สุขลักษณะ

ตัวเลือก ค)าความถี่(คน) 8 การทิ้งข-างทาง สาดไว-ใต-โคนต-นไม12 การนําพลาสติกและกล)องโฟมไปเผา การทิ้งขยะลงแม)นํ้าลําคลอง 137 การขุดหลุมฝงในที่ห)างจากแหล)งนํ้า การนําเศษอาหารไปทําปุHยหมัก

การทิ้งรวมๆ กันทุกประเภทลงในถัง ขยะเพื่อให-เทศบาลมาจัดเก็บ 9 ท)านคิดว)าเมื่อต-องทําการกําจัดขยะควร พิจารณาว)าขยะประเภทใดยังใช-ประ ปฏิบัติขั้นตอนใดเป>นอันดับแรก โยชนได-แล-วคัดแยกก)อนทิ้ง นําขยะทุกชนิดไปเก็บไว-ในที่มิดชิด นําขยะทุกชนิดมารวมกันก)อนนําไปทิ้ง จัดหาแหล)งทิ้งขยะมูลฝอย 10 ท)านคิดว)าข-อใดต)อไปนี้เป>นปญหา สมศรี ไม)ได-คัดแยกขยะมูลฝอยก)อนทิ้ง เกี่ยวกับขยะมูลฝอยมากที่สุด สมหมาย ซื้อผลิตภัณฑที่มีบรรจุ ภัณฑที่ทันสมัย สมบัติ ไม)ทิ้งขยะมูลฝอยลงถังรองรับ ขยะมูลฝอย สมชาย ไปซื้อของที่ตลาดโดยนําถุง ผ-าไปใส)ของด-วยทุกครั้ง ตอนที่ 3 ข*อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการสร*างและทิ้งขยะในโรงเรียน 11 การดําเนินชีวิตประจําวันของท)านใน ขวดน้ําพลาสติก โรงเรียน ท)านสร-างขยะประเภทใด กระดาษ มากที่สุด เศษอาหาร ถุงพลาสติก แก-วน้ําพลาสติก ถุงขนม/พลาสติกห)อลูกอม อื่นๆ (โปรดระบุ) ............................

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ร-อยละ 4.7 7.1 78.8

15

8.8

142

81.8

14 9 7 75 24

8.2 5.3 4.1 42.9 14.9

63

36.3

10

6

78 22 10 21 11 31 0

44.6 12.5 6 11.9 6.5 17.9 0

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ข-อที่ หัวข-อ 12 เมื่ออยู)ในโรงเรียน โดยปกติ ท)านสร-าง ขยะใน 1 วัน กี่ชิ้นโดยประมาณ

13

ปจจุบันท)านทิ้งขยะทุกประเภทรวม กันลงในถังขยะภายในโรงเรียนโดยไม) คัดแยก

14

ท)านรับประทานอาหารเที่ยงและเหลือ เศษอาหารทุกครั้งใช)หรือไม)

15

ท)านมีพฤติกรรมอย)างไร เมื่อต-องการ ทิ้งขยะเศษเล็กๆ แต)บริเวณนั้นไม)มี ถังขยะ

16

ท)านเคยทิ้งขยะลงบริเวณใดในเขต โรงเรียน ที่นอกเหนือจากถังขยะที่ทาง โรงเรียนจัดไว-ให-

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ตัวเลือก ค)าความถี่(คน) 26 ไม)เคยสร-างขยะเลย 109 ประมาณ 1-3 ชิ้นต)อวัน 28 ประมาณ 4 – 5 ชิ้นต)อวัน 11 มากกว)า 5 ชิ้นต)อวัน 61 ใช) 30 ไม)ใช) 86 เป>นบางครั้ง 38 ใช) 44.7 ไม)ใช) 92 เป>นบางครั้ง 150 เก็บไว-ในกระเปHาก)อนเมื่อพบถังขยะ จึงค)อยทิ้ง 15 ทิ้งขยะลงพื้นในบริเวณนั้นเลย 18 ไม)เคยมีพฤติกรรมนั้นเลย 0 อื่น ๆ โปรดระบุ……………………… 66 บริเวณพื้นที่ทั่วไป 17 บนอาคารเรียน 58 ใต-โต™ะเรียน 14 ในห-องเรียน 7 ระเบียงที่นั่งหน-าห-องเรียน 10 ใต-โต™ะม-าหินอ)อน 0 อื่นๆ (โปรดระบุ) ………………………

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ร-อยละ 14.7 62.9 15.9 6.5 35.1 14.9 49.4 21.6 25.7 52.7 81 8.9 10.1 0 38.2 10.3 33.3 7.9 4.2 5.5 0


ข-อที่ หัวข-อ ตัวเลือก ค)าความถี่(คน) ตอนที่ 4 การสํารวจเจตคติต)อการสร*างและทิ้งขยะในโรงเรียน 17 ท)านคิดว)า ปจจัยใดที่มีอิทธิพลต)อการ พนักงานที่ทําหน-าที่กําจัดขยะไม) 16 เพิ่มขึ้นของปริมาณขยะในโรงเรียน เพียงพอ 25 ถังขยะมีไม)เพียงพอ 22 ถังขยะอยู)ไกลไม)สะดวกในการใช-งาน 109 จิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะของ ทุกคนในโรงเรียน 0 อื่น ๆ โปรดระบุ ……………. 18 เมื่อท)านเดินอยู)ในบริเวณโรงเรียนเห็น เก็บแต)ทิ้งลงบริเวณที่ขยะชิ้นอื่นๆ 27 ขยะ ท)านจะ ทําอย)างไร รวมๆอยู) 9 ไม)เก็บเพราะไม)ได-เป>นคนทิ้ง ขยะชิ้นนั้น 123 เก็บและนําทิ้งลงถังขยะ 13 ไม)เก็บเพราะเป>นหน-าที่ของเจ-าของ เขตรับผิดชอบชั้นเรียนนั้นๆ 19 เศษใบไม-ที่ร)วงหล)นอยู)ตามโคนต-นไม40 เห็นด-วย ควรนําไปเผา เพราะเป>นการกําจัดที่ง)าย ไม)เห็นด-วย 101 และรวดเร็วสะดวกต)อผู-ดูแล 31 ไม)แน)ใจ 0 อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 27 20 ในสถานที่ทํางาน จะมีผู-ดูแลรักษาความ เห็นด-วย สะอาดอยู)แล-ว เราจึงไม)จําเป>นต-อง 126 ไม)เห็นด-วย รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น 21 ไม)แน)ใจ 0 อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 21 การจัดการและคัดแยกประเภทของขยะ เห็นด-วย 57 มูลฝอยควรทําในที่ทํางานเท)านั้น 91 ไม)เห็นด-วย เพราะเป>นกฎระเบียบ 26 ไม)แน)ใจ 0 อื่น ๆ โปรดระบุ……………

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ร-อยละ 9.4 14.1 12.9 62.9 0 15.4 5.3 70.4 7.7 23.2 58.3 17.9 0 15.5 72.6 11.9 0 32.9 52.1 15 0


ข-อที่ หัวข-อ 22 หากว)าโรงเรียนมีกิจกรรมเกี่ยวกับการ รณรงคเรื่องขยะท)านจะเข-าร)วม กิจกรรมด-วยหรือไม)

23

24

25

ตัวเลือก

เข-าร)วม เข-าร)วมตามเพื่อน เข-าร)วมเพราะเป>นกิจกรรมบังคับ ไม)แน)ใจ ไม)เข-าร)วม เห็นด-วย การแยกขยะมูลฝอยในโรงเรียนโดย วิธีการแยกขยะแล-วทิ้งในถังขยะตาม ไม)เห็นด-วย ประเภทของขยะ ท)านรู-สึกว)าเป>นสิ่งที่ ไม)แน)ใจ ยุ)งยาก อื่น ๆ โปรดระบุ…………… ท)านคิดว)านักเรียนในโรงเรียนควรมีการ เห็นด-วย รณรงคเพื่อให-ความรู-และสร-างเจตคติ ไม)เห็นด-วย เกี่ยวกับการสร-างและทิ้งขยะที่วิธีใน ไม)แน)ใจ การกําจัดขยะมูลฝอยภายในรงเรียน อื่น ๆ โปรดระบุ…………… เพื่อลดจํานวนขยะมูลฝอย เมื่อโรงเรียน มีโครงการและกิจกรรม เห็นด-วย รณรงคเพื่อให-ความรู-และสร-างเจตคติ ไม)เห็นด-วย เกี่ยวกับการสร-างและทิ้งขยะ เราควรใหไม)แน)ใจ ความร)วมมืออย)างเต็มที่เพราะการดูแล สิ่งแวดล-อมในโรงเรียนเป>นหน-าที่ของ อื่น ๆ โปรดระบุ……………

ค)าความถี่(คน) 135 8 18 13 0 56 94 22 0 143 10 20 0

ร-อยละ 77.5 4.7 10.1 7.7 0 32.7 54.2 12.5 0 82 6 11.4 0

148 13 14 0

84.4 7.2 7.8 0

ทุกคน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ข-อที่ หัวข-อ 26 ท)านมีความคิดเห็นอย)างไรต)อการ รณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและ ทิ้งขยะ ในโรงเรียน

ตัวเลือก ค)าความถี่(คน) ร-อยละ 131 75.3 มีความสําคัญมากในการปรับเปลี่ยน เจตคติในทางที่ดี 25 14.1 ไม)มีประโยชนเพราะเมื่อปฏิบัติแล-ว ผลการทํางานไม)สามารถเป>นไป ตามที่คาดหวังเหมือนเดิม 9 5.3 มีความคิดว)าเป>นเรื่องน)าเบื่อ เป>น การเพิ่มภาระ เพราะไม)ใช)หน-าที่ ที่ต-องทํา 9 5.3 มีความคิดว)าเฉยๆ ทําก็ได- ไม)ทําก็ได0 0 อื่น ๆ โปรดระบุ…………… ตอนที่ 5 การสํารวจข*อมูลความต*องการเกี่ยวกับสื่อและวิธีการในการให*ความรู*และส)งเสริมเจตคติที่ดีในการสร*า และทิ้งขยะในสถานศึกษา 27 ท)านต-องการสื่อประเภทใดในการ 23 13.1 แผ)นพับเกี่ยวกับวิธีการในการใหรณรงคให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ใน ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา การสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา โปสเตอรเกี่ยวกับวิธีการในการให39 22.6 ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการ สร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 4 2.4 วารสารเกี่ยวกับวิธีการในการใหความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ใน การสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 14 8.3 สื่อบุคคลนําเสนอเกี่ยวกับวิธีการใน การให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะใน สถานศึกษา

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ข-อที่ หัวข-อ ตัวเลือก ค)าความถี่(คน) 27 ท)านต-องการสื่อประเภทใดในการ 41 สื่อที่เป>นกิจกรรมเกี่ยวกับวิธีการใน (ต)อ) รณรงคให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี การให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ในการสร-างและทิ้งขยะใน สถานศึกษา 51 ภาพยนตรสั้นเกี่ยวกับวิธีการในการ ให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ใน การสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 0 อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 28 ท)านคิดว)าเวลาที่เหมาะสมในการใช30 ไม)เกิน 5 นาที ศึกษาสื่อการรณรงคให-ความรู-และ 86 5-10 นาที ส)งเสริมเจตคติที่ดีในการสร-างและทิ้ง 25 11-15 นาที ขยะในสถานศึกษาคือข-อใด 31 มากกว)า 15 นาที 0 อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 29 ท)านต-องการให-โรงเรียนมีกิจกรรมใน 142 ต-องการ การจัดการขยะและสิ่งแวดล-อมใน 17 ไม)ต-องการ สถานศึกษาหรือไม) 16 ไม)แน)ใจ 0 อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 30 หากโรงเรียนจัดกิจกรรมในการจัดการ จัดกิจกรรมทุกวัน 36 ขยะและสิ่งแวดล-อมในสถานศึกษา 68 จัดกิจกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง ท)านคิดว)าระยะเวลาที่เหมาะสมคือ 39 จัดกิจกรรมเดือนละ 1 ครั้ง 31 จัดกิจกรรมภาคเรียนละ 1 ครั้ง 0 อื่น ๆ โปรดระบุ…………… จากตารางที่ 1 พบว)า ระดับความรู-เกี่ยวกับขยะของกลุ)มตัวอย)างของการศึกษาในครั้งนี้ มีระดับ ความรู-ที่ถูกต-องเกี่ยวกับขยะ จํานวน 120 คิดเป>นร-อยละ 68.97 และ มีระดับความรู-ที่ยังไม)ถูกต-องชัดเจน จํานวน 54 คน คิดเป>นร-อยละ 31.03 มีพฤติกรรมในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษาโดย ส)วนใหญ) สร-างขยะที่เป>นขวดน้ําพลาสติก สร-างขยะ 1-3 ชิ้นต)อวัน ทิ้งขยะโดยไม)คัดแยกขยะก)อนทิ้ง รับประทาน อาหารเหลือทิ้งเป>นเศษขยะ เมื่อมีขยะชิ้นเล็กๆแต)ไม)พบถังขยะก็มักจะเก็บไว-ในกระเปHาก)อนเมื่อพบถังขยะจัง ทิ้ง บริเวณที่ทิ้งขยะส)วนใหญ)มักทิ้งในพื้นที่ทั่วไปของโรงเรียนและบริเวณใต-โต™ะนักเรียน ส)วนเจตคติต)อการ สร-าง และทิ้งขยะในโรงเรียน ส)วนใหญ)มีความเห็นว)า จิตสํานึกที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะของทุกคน เป>น ปจจัยสําคัญของการเพิ่มปริมาณขยะในโรงเรียน เมื่อพบเห็นขยะในบริเวณโรงเรียนจะเก็บและนําไปทิ้งลงถัง ขยะ ไม) เ ห็ น ด- ว ยกั บ การกํา จั ด ขยะโดยการเผา ไม)เ ห็ น ด- ว ยกั บ การผลั กภาระในการดู แลความสะอาดใหผู-รับผิดชอบแต)เพียงผู-เดียว เห็นด-วยกับการคัดแยกขยะก)อนทิ้งและไม)คิดว)าเป>นเรื่องยุ)งยากในการปฏิบัติ และเห็ น ว) าโรงเรี ย นควรมี การรณรงคเพื่ อให- ความรู- และสร- า งเจตคติ ที่ดี เ กี่ ย วกั บ การสร- า และการทิ้ งขยะ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ร-อยละ 23.8

29.2

0 17.2 49.7 14.2 17.8 0 81.5 9.5 8.9 0 20.7 39.1 22.5 17.8 0


ถ-าโรงเรียนมีกิจกรรมดังกล)าวจะเข-าร)วมกิจกรรมด-วยความเต็มใจ โดยความต-องการสื่อในการรณรงคดังกล)าว นั้น ส)วนใหญ)เห็นว)าภาพยนตรสั้น เวลา 7-10 นาที เป>นสื่อที่เหมาะสมที่สุด และควรจัดให-มีกิจกรรมในการ จัดการขยะและสิ่งแวดล-อมในสถานศึกษา อย)างน-อยสัปดาหละ 1 ครั้ง ตารางที่ 2 ความพึงพอใจสื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน X. รายการ S ระดับ 1. สื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาขยะในสถานศึกษามี 4.31 0.63 มาก เนื้อหาที่เหมาะสม 2. สื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาขยะในสถานศึกษา 4.13 0.68 มาก มีรูปแบบที่ดึงดูดความสนใจ 3. สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาที่เกิดจากขยะที่มีต)อการ 4.18 0.71 มาก ดําเนินชีวิต 4. สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถให-ความรู-เกี่ยวกับวิธีการทิ้งขยะที่ถูกต-อง 4.07 0.70 มาก 5. สื่อที่จัดทําขึ้นมีความเหมาะสมกับบุคลากรในสถานศึกษาทุกเพศ ทุกวัย 4.11 0.73 มาก ในด-านการให-ความรู-และวิธีการแก-ปญหาเกี่ยวกับขยะในสถานศึกษา 6. สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีในการสร-าง 3.95 0.78 มาก และการทิ้งขยะ 7. สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถเป>นแนวทางการแก-ไขปญหาที่เกิดจากขยะใน 4.03 0.75 มาก สถานศึกษา 8. ความรู- ความเข-าใจเกี่ยวกับปญหาขยะในสถานศึกษาและการทิ้งขยะที่ 4.13 0.72 มาก ถูกต-อง ที่ได-รับหลังจากการใช-สื่อ 9. ข-อคิดที่ได-จากสื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคแก-ไขปญหาขยะในสถานศึกษา 4.19 0.76 มาก 10.ความพึงพอใจต)อสื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคแก-ไขปญหาขยะใน 4.26 0.75 มาก สถานศึกษา เฉลี่ย 4.14 0.72 มาก จากตารางที่ 2 พบว)า ระดับความพึงพอใจสื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะ ของนักเรียนในโรงเรียน ของกลุ)มตัวอย)างของการศึกษาในครั้งนี้ พบว)า สื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคให-ความรูเกี่ยวกับปญหาขยะในสถานศึกษามีเนื้อหาที่เหมาะสม มีค)าเฉลี่ยสูงสุด โดยมีค)าเฉลี่ย 4.31 อยู)ในระดับมาก ความพึงพอใจต)อสื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคแก-ไขปญหาขยะในสถานศึกษา อยู)ในระดับรองลงมา โดยมีค)าเฉลี่ย 4.26 อยู)ในระดับมาก และระดับความพึงพอใจน-อยที่สุด คือ สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไป ในทางที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะ มีค)าเฉลี่ย 3.95 อยู)ในระดับมาก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ตารางที่ 3 ระดับความพึงพอใจ ในการเข-าร)วมกิจกรรมรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะ ของนักเรียนในโรงเรียน X. รายการ S ระดับ 1. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม 4.25 0.57 มาก 2. ความเหมาะสมของการประชาสัมพันธกิจกรรม 4.19 0.64 มาก 3.87 0.71 มาก 3. ความเหมาะสมของสื่อที่ใช-ในการรณรงครณรงคสร-าง เจตคติที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน 4. การเพิ่มขึ้นของความรู-เกี่ยวกับขยะ ปญหาและการแก-ไข 3.80 0.62 มาก ปญหาที่เกิดจากขยะ 5. การเปลี่ยนแปลงของเจตคติในการสร-างและการทิ้งขยะ 3.79 0.64 มาก ในสถานศึกษา 6. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการสร-างและการทิ้งขยะ 3.77 0.70 มาก ในสถานศึกษา 7. ความพึงพอใจต)อกิจกรรม Big cleaning Day 4.05 0.65 มาก 8. ประโยชนที่ได-รับจากการเข-าร)วมกิจกรรมการรณรงค 3.87 0.66 มาก สร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 9. ความพึงพอใจต)อกิจกรรมการรณรงคสร-างจิตสํานึกใน 4.09 0.62 มาก การสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 10. ความต-องการในการจัดกิจกรรมการรณรงคสร-าง 4.24 0.74 มาก จิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษาในป การศึกษาต)อไป เฉลี่ย 3.99 0.65 มาก จากตารางที่ 3 พบว)า ระดับความพึงพอใจในการเข-าร)วมกิจกรรมรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-าง และการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน ของกลุ)มตัวอย)างของการศึกษาในครั้งนี้ พบว)า ความเหมาะสมของ ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม มีระดับค)าเฉลี่ยสูงสุด โดยมีค)าเฉลี่ย 4.25 อยู)ในระดับมาก ความต-องการ ในการจัดกิจกรรมการรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษาในปการศึกษาต)อไป อยู)ใน ระดับรองลงมา โดยมีค)าเฉลี่ย 4.24 อยู)ในระดับมาก และระดับความพึงพอใจน-อยที่สุด คือ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมในการสร-างและการทิ้งขยะในสถานศึกษา โดยมีค)าเฉลี่ย 3.77 อยู)ในระดับมาก การอภิปรายผล จากการศึกษาพบว)า ระดับความรู-เกี่ยวกับขยะของผู-บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา แม)ค-า ของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ มีระดับความรู-ที่ถูกต-องเกี่ยวกับขยะ จํานวน 120 คิดเป>นร-อยละ 68.97 และ มีระดับความรู-ที่ยังไม)ถูกต-องชัดเจน จํานวน 54 คน คิดเป>นร-อยละ 31.03 จึงจํา เป>นอย)างยิ่ งที่ต- องมีการจัด กิจกรรมในการให-ความรู- เกี่ยวกับขยะเพื่ อพัฒนาความรู-ความเข-าใจอย)า ง ถูกต-อง ด-านพฤติกรรมการสร-างและการทิ้งขยะในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษาโดย ส)วนใหญ)สร-างขยะ ที่เป>นขวดน้ําพลาสติก สร-างขยะ 1-3 ชิ้นต)อวัน ทิ้งขยะโดยไม)คัดแยกขยะก)อนทิ้ง รับประทานอาหารเหลือ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ทิ้งเป>นเศษขยะ เมื่อมีขยะชิ้นเล็กๆแต)ไม)พบถังขยะก็มักจะเก็บไว-ในกระเปHาก)อนเมื่อพบถังขยะจังทิ้ง บริเวณที่ ทิ้งขยะส)วนใหญ)มักทิ้งในพื้นที่ทั่วไปของโรงเรียนและบริเวณใต-โต™ะนักเรียน จากข-อมูลดังกล)าวจะเห็นว)าส)วน ใหญ)ยังมีพฤติกรรมที่ไม)ถูกต-องในการทิ้งขยะ จําเป>นต-องมีการรณรงคให-เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส)วน ในด-านเจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะในโรงเรียนนั้น ส)วนใหญ)เจตคติที่ดี โดยพบว)า จิตสํานึกที่ดีในการสร-าง และทิ้ งขยะของทุกคน เป> นปจจัย สํ าคั ญ ของการเพิ่ มปริ มาณขยะในโรงเรี ย น เมื่ อพบเห็ น ขยะในบริเ วณ โรงเรียนจะเก็บและนําไปทิ้งลงถังขยะ ไม)เห็นด-วยกับการกําจัดขยะโดยการเผา ไม)เห็นด-วยกับการผลักภาระ ในการดูแลความสะอาดให-ผู-รับผิดชอบแต)เพียงผู-เดียว เห็นด-วยกับการคัดแยกขยะก)อนทิ้งและไม)คิดว)าเป>น เรื่องยุ)งยากในการปฏิบัติ และเห็นว)าโรงเรียนควรมีการรณรงคเพื่อให-ความรู-และสร-างเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการส ร-าและการทิ้งขยะ ถ-าโรงเรียนมีกิจกรรมดังกล)าวจะเข-าร)วมกิจกรรมด-วยความเต็มใจ โดยความต-องการสื่อ ในการรณรงคดังกล)าวนั้น ส)วนใหญ)เห็นว)าภาพยนตรสั้น เวลา 7-10 นาที เป>นสื่อที่เหมาะสมที่สุด และควร จัดให-มีกิจกรรมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล-อมในสถานศึกษา อย)างน-อยสัปดาหละ 1 ครั้ง ส)วนระดับความพึงพอใจต)อสื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนใน โรงเรียน พบว)า สื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาขยะในสถานศึกษามีเนื้อหาที่เหมาะสม มี รูปแบบที่ดึงดูดความสนใจ ให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาที่เกิดจากขยะที่มีต)อการดําเนินชีวิตได- ให-ความรู-เกี่ยวกับ วิธีการทิ้งขยะที่ถูกต-อง มีความเหมาะสมกับบุคลากรในสถานศึกษาทุกเพศ ทุกวัย สามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมไปในทางที่ดี และสามารถให-ข-อคิดที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา โดยมีค)าเฉลี่ย 4.14 อยู)ในระดับมาก ส)วนระดับความพึงพอใจในการเข-าร)วมกิจกรรมรณรงคสร-างเจตคติที่ดีในการสร-างและการทิ้งขยะ ของนักเรียนในโรงเรียนนั้น พบว)า ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมและการประชาสัมพันธกิจกรรมมีความ เหมาะสม สื่อที่ใช-ในการรณรงคมีความเหมาะสม สื่อและกิจกรรม Big cleaning Day ที่ใช-ในการรณรงคนั้น ช)วยพัฒนาความรู- เปลี่ยนแปลงเจตคติและพฤติกรรมได- จนทําให-เกิดความพึงพอใจ ได-รับประโยชน และมี ความต-องการในการจัดกิจกรรมการรณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษาในปการศึกษา ต)อไป โดยมีค)าเฉลี่ย 3.99 อยู)ในระดับมาก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


อ*างอิง 7.1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล-าธนบุรี.(2560) หลักการและเหตุผล. สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560. จากชื่อเวบไซต: http://arts.kmutt.ac.th/ssc210/Group%20Project/ASSC210/1.46anti%20drug/1.htm. 7.2 pump lee. (2560). ขยะคือ?. สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560. จากชื่อเวบไซต : https://www.im2market.com/2015/12/15/2189. 7.3 มหาวิทยาลัยนเรศวร.(2558) ปญหาจากขยะ. สืบค-นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2560 จากชื่อเวบไซต : http://www.chaiwbi.com/0drem/web_children/2551/ms201/c_camp51/600.html 7.4 ปตท. (2558) โครงการแยกแลกยิ้ม. สืบค-นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2560. จากเว็บไซต :http://www.yaklakyim.com 7.5 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห)งชาติ.(2559) โครงการ 4D รณรงคและส)งเสริมการลดปริมาณ ขยะมูลฝอยอย)างถูกวิธี ป3 2560. สืบค-นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2560. จากชื่อเวบไซต : http://localfund.happynetwork.org/paper/486 7.6 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค.(2560) โครงการลดขยะลดภาระของชุมชนเขาทอง. สืบค-นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2560 จากเวบไซต : http://www.na.mahidol.ac.th/greencampus/images/document/waste 7.7 อรวรรณ บุญส)ง.ผลการพัฒนาจิตสํานึกในการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดล*อมของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาป3ที่ 3 โดยใช*กิจกรรมสิ่งแวดล*อมศึกษาประกอบการประเมินตามสภาพจริง. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.2551. 7.8 The dregs of society. (2557) ปญหาขยะสังคม. สืบค-นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2560 จากชื่อ เวบไซต : https://guardianemz.wordpress.com 7.9 สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จพระเจ-าอยู)หัว เล)มที่ 15. (2559) ปญหาสิ่งแวดล*อมระดับสากล. สืบค-นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2560 . จากเวบไซต: https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/en-sakol/sakoln.htm 7.10 phenpittayakhom school. (2560) ปญหาขยะในโรงเรียน. สืบค-นเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 จากชื่อเวบไซต: https://kannikabiw.wordpress.com/ 7.11 โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร.(2560) รายงานศึกษาค*นคว*าเรื่อง วิธีลดปริมาณขยะในโรงเรียน. สืบค-นเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560. จากชื่อเวบไซต: http://howtoreducewasteinschoolis2.blogspot.com/ 7.12 อาณาจักร โกวิทย. (2554) การโน*มน*าวใจและการรณรงค. สืบค-นเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560. จากชื่อเวบไซต : https://devcomru7.blogspot.com/2011/09/blog-post_21.html 7.13 ชูศรี วงศรัตนะ. เทคนิคการเขียนเค*าโครงการวิจัย : แนวทางสู)ความสําเร็จ. กรุงเทพฯ : บริษัทไทเนรมิตกิจ อินเตอรโปรเกรสซิฟจํากัด, 2549. -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช*ในการศึกษา แบบสอบถามเรื่อง การสํารวจระดับความรู* พฤติกรรม เจตคติ และความต*องการของผู*บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา แม)ค*า และนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ ต)อปญหา เรื่องขยะที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียน แบบสอบถามชุดนี้เป>นการสํารวจพฤติกรรมและความต-องการของผู-บริโภคที่มีต)อการรณรงคสร-าง จิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะ ซึ่งเป>นงานวิจัยของโครงการเพาะพันธปญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสั งฆราชู ปถั มภ ดั งนั้ นจึ งใคร)ขอความร)ว มมื อจากท)า น กรุ ณาตอบแบบสอบถามให- สมบูร ณ ข-อมู ล ทั้งหมดที่ท)านตอบมาจะเป>นประโยชนอย)างยิ่งสําหรับการศึกษาปญหาในครั้งนี้ และทุกคําตอบของท)านจะไม)มี ผลกระทบต)อตัวท)านทั้งสิ้น ขอขอบคุณที่ท)านให-ความร)วมมือในการตอบ แบบสอบถามครั้งนี้ ตอนที่ 1 ข*อมูลทั่วไปของผู*ตอบแบบสอบถาม คําแนะนํา: กรุณาตอบแบบสอบถาม โดยเลือกตัวเลือก ที่ตรงกับคําตอบ และความคิดเห็นของท)านมากที่สุด 1. เพศ ชาย หญิง 2. นักเรียน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แม)ค-า – บุคลากรในโรงเรียน ผู-บริหาร - คณะครู ตอนที่ 2 การสํารวจความรู*เกี่ยวกับขยะ 1. ท)านคิดว)าข*อใดคือขยะเป3ยกทั้งหมด ถุงพลาสติกเปยกนํ้า ใบตอง เศษกระดูกไก) เศษอาหาร เปลือกผลไม- ใบไม-สด ขวดนํ้าอัดลม ขวดพลาสติก เศษเหล็ก ใบไม-สด แก-วพลาสติกที่ใส)กาแฟ เศษหนังปลาเผา 2. ท)านคิดว)าข*อใดเปIนขยะมูลฝอยที่ใช*เวลาในการย)อยสลายนานที่สุด มูลสัตว ซากพืชซากสัตว พลาสติก โฟม 3. ท)านคิดว)าข*อใดคือขยะอันตรายทั้งหมด ถ)านไฟฉาย กระปHองยาฆ)าแมลง หลอดไฟ เศษแก-ว หลอดไฟ ตะปู เปลือกทุเรียน ตะปู หลอดไฟ ถานหิน เปลือกทุเรียน เศษแก-ว 4. ท)านคิดว)าขยะในข*อใดที่สามารถนํามารีไซเคิลได* ถุงขนมขบเคี้ยว กระดูกไก) มูลสัตว กระดาษลัง ขวดพลาสติก เศษเหล็ก เปลือกลูกอม เศษผ-า หลอดยาสีฟน เปลือกส-ม เศษเหล็ก เศษกระดาษ 5. ท)านคิดว)าขยะชนิดใดที่สามารถนํามาทําเปIนปุ\ยหมักได* เปลือกลองกอง - เศษอาหาร เศษใบไม- - เศษกระดาษ ถุงพลาสติก - ซากสัตว มูลสัตว – ขวดนํ้าพลาสติก -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


6. เมื่อต*องทิ้งขยะที่เปIนขยะเป3ยก ท)านคิดว)าควรทิ้งในถังขยะสีใด ถังขยะสีเขียว ถังขยะสีแดง/สีส-ม ถังขยะสีน้ําเงิน/สีฟdา ถังขยะสีเหลือง 7. ท)านคิดว)าข*อใดคือโทษที่อันตรายที่สุดที่เกิดจากขยะ ทําให--นํ้าเน)าเสีย มีกลิ่นเหม็นและไม)สวยงาม เป>นแหล)งเพาะพันธุเชื้อโรค บริเวณที่มีขยะมีความสกปรกไม)น)ามอง 8. ท)านคิดว)าข*อใดเปIนการกําจัดขยะที่ถูกสุขลักษณะ การทิ้งข-างทาง การสาดไว-ใต-โคนต-นไมการนําพลาสติกและกล)องโฟมไปเผา การทิ้งขยะลงแม)นํ้าลําคลอง การขุดหลุมฝงในที่ห)างจากแหล)งนํ้า การนําเศษอาหารไปทําปุHยหมัก การทิ้งรวมๆ กันทุกประเภทลงในถังขยะเพื่อให-เทศบาลมาจัดเก็บ 9. ท)านคิดว)าเมื่อต*องทําการกําจัดขยะควรปฏิบัติขั้นตอนใดเปIนอันดับแรก พิจารณาว)าขยะประเภทใดยังใช-ประโยชนได-แล-วคัดแยกก)อนทิ้ง นําขยะทุกชนิดไปเก็บไว-ในที่มิดชิด นําขยะทุกชนิดมารวมกันก)อนนําไปทิ้ง จัดหาแหล)งทิ้งขยะมูลฝอย 10. ท)านคิดว)าข*อใดต)อไปนี้เปIนปญหาเกี่ยวกับขยะมูลฝอยมากที่สุด สมศรี ไม)ได-คัดแยกขยะมูลฝอยก)อนทิ้ง สมหมาย ซื้อผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑที่ทันสมัย สมบัติ ไม)ทิ้งขยะมูลฝอยลงถังรองรับขยะมูลฝอย สมชาย ไปซื้อของที่ตลาดโดยนําถุงผ-าไปใส)ของด-วยทุกครั้ง ตอนที่ 3 ข*อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการสร*างและทิ้งขยะในโรงเรียน 11. การดําเนินชีวิตประจําวันของท)านในโรงเรียน ท)านสร*างขยะประเภทใดมากที่สุด ขวดน้ําพลาสติก กระดาษ เศษอาหาร ถุงพลาสติก น้ําพลาสติก ถุงขนม/พลาสติกห)อลูกอม อื่นๆ (โปรดระบุ) ................................................ 12. เมื่ออยู)ในโรงเรียน โดยปกติ ท)านสร*างขยะใน 1 วัน กี่ชิ้นโดยประมาณ ไม)เคยสร-างขยะเลย

ประมาณ 1-3 ชิ้นต)อวัน

ประมาณ 4 – 5 ชิ้นต)อวัน

แก-ว

มากกว)า 5 ชิ้นต)อวัน

13. ปจจุบันท)านทิ้งขยะทุกประเภทรวมกันลงในถังขยะภายในโรงเรียนโดยไม)คัดแยก ใช) ไม)ใช) เป>นบางครั้ง 14. ท)านรับประทานอาหารเที่ยงและเหลือเศษอาหารทุกครั้งใช)หรือไม) ใช) ไม)ใช) เป>นบางครั้ง 15. ท)านมีพฤติกรรมอย)างไร เมื่อต*องการทิ้งขยะเศษเล็กๆ แต)บริเวณนั้นไม)มีถังขยะ เก็บไว-ในกระเปHาก)อนเมื่อพบถังขยะจึงค)อยทิ้ง ทิ้งขยะลงพื้นในบริเวณนั้นเลย ไม)เคยเลย อื่น ๆ โปรดระบุ………………………

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


16. ท)านเคยทิ้งขยะลงบริเวณใดในเขตโรงเรียน ที่นอกเหนือจากถังขยะที่ทางโรงเรียนจัดไว*ให* บริเวณพื้นที่ทั่วไป บนอาคารเรียน ใต-โต™ะเรียน ใต-โต™ะม-าหินอ)อน ในห-องเรียน ระเบียงที่นั่งหน-าห-องเรียน ใต-โต™ะม-าหินอ)อน อื่นๆ (โปรดระบุ) ……………………… ตอนที่ 4 การสํารวจเจตคติต)อการสร*างและทิ้งขยะในโรงเรียน 17. ท)านคิดว)า ปจจัยใดที่มีอิทธิพลต)อการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะในโรงเรียน พนักงานที่ทําหน-าที่กําจัดขยะไม)เพียงพอ

ถังขยะมีไม)เพียงพอ

ถังขยะอยู)ไกลไม)สะดวกในการใช-งาน อื่น ๆ โปรดระบุ …………….

จิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะของทุกคนในโรงเรียน

18. เมื่อท)านเดินอยู)ในบริเวณโรงเรียนเห็นขยะ ท)านจะ ทําอย)างไร เก็บแต)ทิ้งลงบริเวณที่ขยะชิ้นอื่นๆรวมๆอยู) ไม)เก็บเพราะไม)ได-เป>นคนทิ้งขยะชิ้นนั้น เก็บและนําทิ้งลงถังขยะ ไม)เก็บเพราะเป>นหน-าที่ของเจ-าของเขตรับผิดชอบชั้นเรียนนั้นๆ 19. เศษใบไม*ที่ร)วงหล)นอยู)ตามโคนต*นไม* ควรนําไปเผา เพราะเปIนการกําจัดที่ง)ายและรวดเร็วสะดวกต)อผู*ดูแล เห็นด-วย ไม)เห็นด-วย ไม)แน)ใจ อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 20. ในสถานที่ทํางาน จะมีผู*ดูแลรักษาความสะอาดอยู)แล*ว เราจึงไม)จําเปIนต*องรับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น เห็นด-วย ไม)เห็นด-วย ไม)แน)ใจ อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 21. การจัดการและคัดแยกประเภทของขยะมูลฝอยควรทําในที่ทํางานเท)านั้น เพราะเปIนกฎระเบียบ เห็นด-วย ไม)เห็นด-วย ไม)แน)ใจ อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 22. หากว)าโรงเรียนมีกิจกรรมเกี่ยวกับการรณรงคเรื่องขยะท)านจะเข*าร)วมกิจกรรมด*วยหรือไม) เข-าร)วม เข-าร)วมตามเพื่อน เข-าร)วมเพราะเป>นกิจกรรมบังคับ ไม)แน)ใจ ไม)เข-าร)วม 23. การแยกขยะมูลฝอยในโรงเรียนโดยวิธีการแยกขยะแล*วทิ้งในถังขยะตามประเภทของขยะ ท)านรู*สึกว)าเปIนสิ่งที่ยุ)งยาก เห็นด-วย ไม)เห็นด-วย ไม)แน)ใจ อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 24. ท)านคิดว)านักเรียนในโรงเรียนควรมีการรณรงคเพื่อให*ความรู*และสร*างเจตคติ เกี่ยวกับการสร*างและ ทิ้งขยะ วิธีในการกําจัดขยะมูลฝอยภายในรงเรียนเพื่อลดจํานวนขยะมูลฝอย เห็นด-วย ไม)เห็นด-วย ไม)แน)ใจ อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 25. เมื่อโรงเรียน มีโครงการและกิจกรรมรณรงคเพื่อให*ความรู*และสร*างเจตคติ เกี่ยวกับการสร*างและทิ้งขยะ เราควรให*ความร)วมมืออย)างเต็มที่เพราะการดูแลสิ่งแวดล*อมในโรงเรียนเปIนหน*าที่ของทุกคน เห็นด-วย ไม)เห็นด-วย ไม)แน)ใจ อื่น ๆ โปรดระบุ……………

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


26. ท)านมีความคิดเห็นอย)างไรต)อการรณรงคสร*างจิตสํานึกในการสร*างและทิ้งขยะ ในโรงเรียน มีความสําคัญมากในการปรับเปลี่ยนเจตคติในทางที่ดี ไม)มีประโยชนเพราะเมื่อปฏิบัติแล-วผลการทํางานไม)สามารถเป>นไปตามที่คาดหวังเหมือนเดิม มีความคิดว)าเป>นเรื่องน)าเบื่อ เป>นการเพิ่มภาระ เพราะไม)ใช)หน-าที่ที่ต-องทํา มีความคิดว)าเฉยๆ ทําก็ได- ไม)ทําก็ไดอื่น ๆ โปรดระบุ…………… ตอนที่ 5 การสํารวจข*อมูลความต*องการเกี่ยวกับสื่อและวิธีการในการให*ความรู*และส)งเสริมเจตคติที่ดีใน การสร*างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 27. ท)านต*องการสื่อประเภทใดในการรณรงคให*ความรู*และส)งเสริมเจตคติที่ดีในการสร*างและทิ้งขยะใน สถานศึกษา แผ)นพับเกี่ยวกับวิธีการในการให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา โปสเตอรเกี่ยวกับวิธีการในการให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา วารสารเกี่ยวกับวิธีการในการให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา สื่อบุคคลนําเสนอเกี่ยวกับวิธีการในการให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา สื่อที่เป>นกิจกรรมเกี่ยวกับวิธีการในการให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา ภาพยนตรสั้นเกี่ยวกับวิธีการในการให-ความรู-และส)งเสริมเจตคติที่ดี ในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา อื่น ๆ โปรดระบุ…………… 28. ท)านคิดว)าเวลาที่เหมาะสมในการใช*ศึกษาสื่อการรณรงคให*ความรู*และส)งเสริมเจตคติที่ดีในการสร*าง และทิ้งขยะในสถานศึกษาคือข*อใด ไม)เกิน 5 นาที 5-10 นาที อื่น ๆ โปรดระบุ……………

11-15 นาที

มากกว)า 15 นาที

29. ท)านต*องการให*โรงเรียนมีกิจกรรมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล*อมในสถานศึกษาหรือไม) ต-องการ

ไม)ต-องการ

ไม)แน)ใจ

อื่น ๆ โปรดระบุ……………

30. หากโรงเรียนจัดกิจกรรมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล*อมในสถานศึกษา ท)านคิดว)าระยะเวลาที่ เหมาะสมคือ จัดกิจกรรมทุกวัน จัดกิจกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง จัดกิจกรรมเดือนละ 1 ครั้ง จัดกิจกรรมภาคเรียนละ 1 ครั้ง อื่น ๆ โปรดระบุ…………… ตอนที่ 6 ข*อเสนอแนะเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอขอบคุณที่ท)านให*ความร)วมมือในการตอบแบบสอบถามครั้งนี้ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


แบบประเมินความพึงพอใจสื่อเพื่อรณรงคสร*างเจตคติที่ดีในการสร*างและการทิ้งขยะ ของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร คําชี้แจง แบบประเมินนี้เป>นคําถามแสดงระดับความเหมาะสมและ ความพึงพอใจสื่อเพื่อรณรงคสร-างเจตคติที่ดี ในการสร-างและการทิ้งขยะของนักเรียนในโรงเรียน ภายในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ประจําปการศึกษา 2560 ขอความกรุณาท)านโปรดได-ตอบแบบประเมินตามความคิดเห็นที่เป>นจริงของท)าน โดย ทําเครื่องหมาย / ลงในตารางนี้ เกณฑการประเมิน 5 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติมากที่สุด 4 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติมาก 3 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติปานกลาง 2 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติน-อย 1 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติน-อยที่สุด ตอนที่ 1 ข*อมูลผู*ตอบ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ผู-บริหารโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ แม)ค-าในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ ตอนที่ 2

ให-กาเครื่องหมาย

ลงในข-อที่ตรงกับความคิดเห็นของท)าน

รายการประเมิน ลําดับ ที่ 1 สื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาขยะใน สถานศึกษามีเนื้อหาที่เหมาะสม 2 สื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาขยะใน สถานศึกษามีรูปแบบที่ดึงดูดความสนใจ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ครูโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ

มาก ที่สุด

ระดับคุณภาพ มาก ปานกลาง น-อย

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

น-อย ที่สุด


ตอนที่ 2

ให-กาเครื่องหมาย

ลงในข-อที่ตรงกับความคิดเห็นของท)าน ( ต)อ )

รายการประเมิน ลําดับ ที่ 3 สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถให-ความรู-เกี่ยวกับปญหาที่เกิดจาก ขยะที่มีต)อการดําเนินชีวิต 4 สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถให-ความรู-เกี่ยวกับวิธีการทิ้งขยะ ที่ถูกต-อง 5 สื่อที่จัดทําขึ้นมีความเหมาะสมกับบุคลากรใน สถานศึกษาทุกเพศ ทุกวัย ในด-านการให-ความรู-และ วิธีการแก-ปญหาเกี่ยวกับขยะในสถานศึกษา 6 สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ ดีในการสร-างและการทิ้งขยะ 7 สื่อที่จัดทําขึ้นสามารถเป>นแนวทางการแก-ไขปญหาที่เกิด จากขยะในสถานศึกษา 8 ความรู- ความเข-าใจเกี่ยวกับปญหาขยะในสถานศึกษา และการทิ้งขยะที่ถูกต-อง ที่ได-รับหลังจากการใช-สื่อ 9 ข-อคิดที่ได-จากสื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคแก-ไขปญหาขยะ ในสถานศึกษา 10 ความพึงพอใจต)อสื่อที่จัดทําขึ้นเพื่อรณรงคแก-ไขปญหา ขยะในสถานศึกษา

มาก ที่สุด

ระดับคุณภาพ มาก ปานกลาง น-อย

ข*อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

น-อย ที่สุด


แบบประเมินผลการดําเนินงานการรณรงคสร*างจิตสํานึกในการสร*างและทิ้งขยะ ในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร คําชี้แจง แบบประเมินนี้เป>นคําถามแสดงระดับความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติเกี่ยวกับการ ดําเนินงาน รณรงคสร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะ ภายในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆ ราชูปถัมภ ประจําปการศึกษา 2560 ขอความกรุณาท)านโปรดได-ตอบแบบประเมินตามความคิดเห็นที่เป>น จริงของท)าน โดยทําเครื่องหมาย / ลงในตารางนี้ เกณฑการประเมิน 5 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติมากที่สุด 4 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติมาก 3 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติปานกลาง 2 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติน-อย 1 หมายถึง ความเหมาะสมและความพึงพอใจในการปฏิบัติน-อยที่สุด ตอนที่ 1 ข*อมูลผู*ตอบ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ผู-บริหารโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ แม)ค-าในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ ตอนที่ 2

ให-กาเครื่องหมาย

ลงในข-อที่ตรงกับความคิดเห็นของท)าน

รายการประเมิน ลําดับ ที่ 1 ความเหมาสมของระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม 2 ความเหมาะสมของการประชาสัมพันธกิจกรรม 3 ความเหมาะสมของสื่อที่ใช-ในการรณรงครณรงคสร-าง เจตคติที่ดีในการสร-างและทิ้งขยะของนักเรียนใน โรงเรียน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ครูโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ

มาก ที่สุด

ระดับคุณภาพ มาก ปานกลาง น-อย

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

น-อย ที่สุด


ตอนที่ 2

ให-กาเครื่องหมาย

ลงในข-อที่ตรงกับความคิดเห็นของท)าน ( ต)อ )

รายการประเมิน มาก ลําดับ ที่ ที่สุด 4 การเพิ่มขึ้นของความรู-เกี่ยวกับขยะ ปญหาและการแก-ไข ปญหาที่เกิดจากขยะ 5 การเปลี่ยนแปลงของเจตคติในการสร-างและการทิ้งขยะ ในสถานศึกษา 6 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการสร-างและการทิ้งขยะ ในสถานศึกษา 7 ความพึงพอใจต)อกิจกรรม Big cleaning Day 8 ประโยชนที่ได-รับจากการเข-าร)วมกิจกรรมการรณรงค สร-างจิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 9 ความพึงพอใจต)อกิจกรรมการรณรงคสร-างจิตสํานึกใน การสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษา 10 ความต-องการในการจัดกิจกรรมการรณรงคสร-าง จิตสํานึกในการสร-างและทิ้งขยะในสถานศึกษาในป การศึกษาต)อไป

ระดับคุณภาพ มาก ปานกลาง น-อย

ข*อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

น-อย ที่สุด


สื่อภาพยนตรสั้นเพื่อรณรงคสร*างเจตคติที่ดีในการสร*างและการทิ้งขยะ ของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร ภาพยนตรสั้นเรื่อง One Piece ขยะหนึ่งชิ้น โดย Khadong Film ในชีวิตประจําวันหรือวิ ถีชีวิตในโรงเรียนที่พบเจออยู)บ)อยๆ นั้น คือ การสร-างและการทิ้งขยะใน โรงเรียนที่ไม)ถูกที่ ไม)แยกขยะ บางคนกินแล-วทิ้งตรงนั้นทําเหมือนลืมแล-วเดินหนีนี่แหละการใช-ชีวิตในโรงเรียน ของแต)ละคน เจมสเป>นเด็กนักเรียนคนหนึ่งที่มักง)ายไม)ใส)ใจในการทิ้งขยะ ขณะที่แก-วเพื่อนร)วมชั้นเรียนจะคอย กล)าวตักเตือนเจมสเสมอ แต)เจมสก็ไม)เคยใส)ใจ ภายในโรงเรียนไม)ได-มีแค)เจมสที่มักง)ายยังมีนักเรียนอีกหลาย คนที่ทิ้งขยะไม)ถูกที่ จนสภาพบริเวณในโรงเรียนไม)สะอาด ภายในห-องก็มีกลิ่นเหม็นที่เกิดจากการทิ้งขยะโดย ไม)แยกประเภทของนักเรียน ตามระเบียงเต็มไปด-วยขวดน้ําและแก-วพลาสติก เศษกระดาษ เศษพลาสติกห)อ ลูกอม อยู)ตามซอกตามมุมตามต-นไม- รกเกลื่อนกลาดไปหมด มีเพียงแก-วและวิที่พยายามเก็บขยะแต)เก็บ เท)าไหร)ก็ไม)หมดซักที เมื่อเวลาพักเที่ยง เจมสจึงแอบซื้ออาหาร ผลไม-และน้ําขึ้นมากินบนห-องและเล)นเกมไปด-วย เมื่อกิน เหลือเจมสจึงทิ้งขยะนั้นโดยปาทั้งหมดลงถังขยะโดยไม)ใส)ใจว)าขยะจะลงไปในถังขยะหรือไม) และไม)มีใครสนใจ ที่จะเก็บกวาด จนมาถึงวันหนึ่งภายในห-องถังขยะเต็ม ขณะเวลาพักเที่ยงเจมสเดินเข-าห-องมาแล-วถามเพื่อน ว)ากลิ่นอะไร แล-วพากันเดินหาที่มาของกลิ่น จนมาพบกับขยะที่อยู)หลังห-อง เจมสได-แต)บ)นว)าเพื่อนไม)รู-จักเก็บ กวาดขยะ และเอาเท-าเตะถังขยะให-ล-มลง ขยะเน)าๆกระจายเกลื่อนกลาด แก-วเดินเข-ามาเห็นพอดีจึงดุเจมส ขณะเดียวกันเพื่อนเจมสวิ่งไล)หยอกล-อกันอยู)วิ่งผ)านมาจึงลื่นเศษขยะนั้นเสียล-มลงและมีบาดแผล เจมสตกใจที่ เพื่อนเกิดอุบัติเหตุเพราะตนเองและรู-สึกแย) แก-วรีบพาเพื่อนไปทําแผลที่ห-องพยาบาล คุณครูพยาบาลจึงถาม ถึงเหตุการณที่เกิดขึ้น แก-วเล)าเหตุการณให-ครูฟง ครูจึงตักเตือนเจมสถึงโทษของการทิ้งขยะไม)ถูกที่ พร-อมกับ ทําโทษโดยให-เจมสไปค-นคว-าข-อมูลเกี่ยวกับขยะ แล-วมาเล)าให- ครูและเพื่อนๆฟง เมื่อได-ศึกษาข-อมูลต)างๆแล-ว เจมสเริ่มสังเกตเห็นว)า โรงเรียนเต็มไปด-วยขยะ แก-วเห็นเจมสยืนอยู)คนเดียว จึงเดินออกมาหาเจมสและพูดใน สิ่งที่พูดทุกวัน ไม)ใช)มีแค)เราที่ทิ้งไม)ถูกยังมีนักเรียนหลายคนที่ขาดจิตสํานึก มีแต)สร-างขยะ แล-วทิ้งไม)ถูกที่ ไม) คํานึงถึงโทษที่จะตามมาภายหลัง เจมสรู-สึกผิดหวังในตัวเองที่ทําตัวแย) แก-วได-ให-กําลังใจแล-วชักชวนให-เจมส เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรมการดําเนินโครงการ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาพการดําเนินการของโครงงาน

ภาพการดําเนินการของโครงงาน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาพกิจกรรม Big Cleaning Day

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาพกิจกรรมการสร*างสื่อ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


โครงงาน RBL เรื่อง น้ํายาล*างจานจากสมุนไพร

ชื่อผู*จัดทําโครงงาน 1 นางสาวพัชริดา วัฒนาเนตร 2 นางสาวรุ*งตะวัน บกน*อย 3 นางสาววิกานดา รวมธรรม

ครูที่ปรึกษา ครูกิตติพงษ บุญสาร

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก*ว จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง น้ํา ยาล- างจานจากสมุ น ไพรสํ า เร็จ ลุ ล) วงไปได-ด- ว ยความกรุ ณาของอาจารยที่ป รึ กษา โครงงาน ได-แก) อาจารย กิตติพงษ บุญสาร อาจารยเดชมณี เนาวโรจน และอาจารยในแผนกวิชาวิทยาศาสตร ที่ได-ให-คําปรึกษา แนะนํา ชี้แนะ ในการศึกษาค-นคว-า แนะนําขั้นตอนและวิธีจัดทําโครงงานจนสําเร็จลุล)วง ด-วยดี ขอบคุณผู-ให-การสนับสนุนทุน สกว. ธนาคารกสิกรไทยและศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคณะ ผู-จัดทําจึงขอกราบขอบพระคุณเป>นอย)างสูงไว- ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให-กําลังใจในการศึกษาเล)าเรียนและสมาชิกในกลุ)ม ที่ให-ความ ร)วมมือเป>นอย)างดี ในการทําโครงงานครั้งนี้ จนกระทั่งประสบความสําเร็จด-วยดี

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทคัดย)อ กล)าวถึงปญหาด-านสุขภาพในโรงเรียนซึ่งโรงเรียนของเราได-เข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญาและเป>น โรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร พวกเราได-เห็นแม)ค-าใช-ผงซักฟอกในการล-างจานและผงซักฟอกมีสารเคมี เยอะซึ่งไม)เหมาะกับการล-างจาน ทางกลุ)มของเราจึงมีความคิดว)าจะทําน้ํายาล-างจานจากสมุนไพรที่สามรถหาได-ในท-องถิ่นคือการนํา มะกรูดมาใช-แทนสารเคมีอื่นๆและเราคิดค-นน้ํายาล-างจานที่จะช)วยลดสารเคมีที่มีในน้ํายาล-างจานให-น-อยลง โดยใช-สมุนไพรในการกําจัดคราบมันและกลิ่นคาวในจาน น้ํายาล-างจานมีอยู) 3 สูตร คือสูตรมะกรูด ตะลิงปลิง และมะขามเปยก จากที่ได-ทําการทดลองและสรุปผล ผลปรากฏว)าน้ํายาล-างจานสมุนไพรจากมะกรูดขจัดคราบมันและ กลิ่นคาวได-ดีกว)าสูตรอื่น เมื่อได-รู-ผลการทดลองแล-วทางกลุ)มพวกราจะนําน้ํายาล-างจานไปให-กลุ)มแม)ค-าในโรง อาหารใช-เพื่อใช-แทนผงซักฟอกในการล-างจาน

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทนํา ความเปIนมาและความสําคัญของโครงงาน กล)าวถึงปญหาด-านสุขภาพในโรงเรียนซึ่งโรงเรียนของเราได-เข-าร)วมโครงการเพาะพันธุปญญาและเป>น โรงเรียนส)งเสริมสุขภาพระดับเพชร ซึ่งโรงเรียนของเรามีปญหาทางด-านขยะ น้ํา โรงอาหาร ดังนั้นกลุ)มของ พวกเราจึงมุ)งเน-นที่จะมาแก-ไขปญหาทางด-านโรงอาหารเพราะพวกเราได-เห็นแม)ค-าใช-ผงซักฟอกในการล-างจาน และผงซักฟอกมีสารเคมีเยอะซึ่งไม)เหมาะกับการล-างจานและถูกสุขลักษณะทางโภชนาการและอาจมีอาจมี สารเคมีตกค-างในภาชนะเมื่อเรานําอาหารมาใส)และทานทําให-สารเคมีที่ตกค-างในภาชนะเข-าสู)ร)างกาย เมื่อ สารเคมีที่ตกค-างสะสมในร)างกายมากขึ้นเรื่อยๆจะส)งผลเสียต)อร)างกายของเรา น้ํายาล-างจานบางชนิดมีสารเคมีปะปนเยอะ ซึ่งถ-าเราใช-เยอะๆและล-างน้ําไม)สะอาดก็จะมีสารเคมี ตกค-างเช)นเดียวกันกับผงซักฟอกเมื่อมีสารเคมีตกค-างเยอะๆและเมื่อสารเคมีตกค-างในร)างกายของเรามีเยอะก็ จะส)งผลต)อสุขภาพอาจจะเป>นโรคต)างๆเช)นโรคมะเร็ง ทางกลุ)มของเราจึงมีความคิดว)าจะทําน้ํายาล-างจานจากสมุนไพรที่สามรถหาได-ในท-องถิ่นคือการ นํามะกรูดมาใช-แทนสารเคมีอื่นๆและเราคิดค-นน้ํายาล-างจานที่จะช)วยลดสารเคมีที่มีในน้ํายาล-างจานให-น-อยลง โดยใช-สมุนไพรในการกําจัดคราบมันและกลิ่นคาวในจานและทําให-สารเคมีที่จะตกค-างในภาชนะน-อยลงและลด การสะสมเคมีในร)างกาย จุดประสงค 1 เพื่อลดสารเคมีน้ํายาล-างจาน 2 เพื่อศึกษาการขจัดคราบมันและกลิ่นคาว 3 เพื่อศึกษาการสูตรการผลิตน้ํายาที่ดีที่สุด

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


คาบสกปรก

ปั ญหาในโรงเรี ยน

นํายาล้างจานราคาแพง

จานล้างไม่สะอาด

ไม่มีสารตกค้าง

ประหยัด

คราบมันและกลินคาว นํายาล้างจานสมุนไพร รูปที่ 1 ผังเหตุ-ผล หรือตัวแปรต-น(เหตุ) ตัวแปรตาม (ผล) ของโครงงานฐานวิจัยนี้ สมมติฐาน น้ํายาล-างจานสมุนไพรมะนาว กําจัดคราบมันและกลิ่นคาว ได-ดีกว)า น้ํายาล-างจานสมุนไพร มะกรูด น้ํายาล-างจานสมุนไพรมะเฟuอง ตัวแปร ตัวแปรอิสระ(ตัวแปรต-น) ได-แก) น้ํายาล-างจานจากสมุนไพร ตลิงปลิง มะกรูด มะขามเปยก ตัวแปรตาม ได-แก) ผลการขจัดคราบมันและกลิ่นคาว ตัวแปรควบคุม ได-แก) ปริมาณของน้ํายาล-างจานสมุนไพร ตลิงปลิง มะกรูด มะขามเปยก ชนิดของคราบมัน ชนิดของกลิ่นคาว ภาชนะที่ใส)คาบมันและกลิ่นคาว ปริมาณน้ําที่ใช-ล-างคาบมันและกลิ่น คาวต-องมีปริมาณเท)ากัน วิธีการทําน้ํายาล*างจาน 1 นํามะกรูด ตลิงปลิง มะขามปยกมาล-าง ผ)าครึ่งแล-วบีบน้ําออกอย)างละ 0.5 ลิตร 2 นํามาบีบเอาแต)น้ําจากข-อที่ 1 กรองเศษออกแล-วนําผ-าขาวบางมากรองอีกรอบ 3 เท N70 500 กรัม ใส)กะละมังกวนไปในทางเดียวกันเป>นเวลา 5 นาที 4 เมื่อครบ 5 นาทีแล-วค)อยๆใส)เกลือและน้ํามะกรูด น้ําตะลิงปลิง น้ํามะขามเปยกตามปริมาณแต)ละสูตรลงไป กวนให-เข-ากัน จนกว)าจะหมด 5 ใส)สีผสมอาหารแล-วกวนให-เข-ากันเป>นเวลา 30 นาที 6 จากนั้นทิ้งไว- 12 ชม. ให-ฟองหมด 7 หลังจากฟองหมดก็บรรจุใส)บรรจุภัณฑ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


อัตราส)วนน้ํายาล*างจานแต)ละสูตร สูตรที่ 1 1. N70 1000 กรัม 2. F24 1000 กรัม 3. น้ํามะกรูด 0.5 ลิตร 4. ผงฟอง 100 กรัม 5. น้ํา 6 ลิตร 6. เกลือ 500 กรัม 7. สารกันบูด 0.5 มล.

สูตรที่ 2 1. N70 1000 กรัม 2. F24 1000 กรัม 3. น้ําตะลิงปลิง 0.5 ลิตร 4. ผงฟอง 100 กรัม 5. น้ํา 6 ลิตร 6. เกลือ 500 กรัม 7. สารกันบูด 0.5 มล.

สูตรที่ 3 1. N70 1000 กรัม 2. F24 1000 กรัม 3. น้ํามะขามเป3ยก 0.5 ลิตร 4. ผงฟอง 100 กรัม 5. น้ํา 6 ลิตร 6. เกลือ 500 กรัม 7. สารกันบูด 0.5 มล.

วิธีทําการทดลอง 1. นําจานที่มีขนาดเท)ากัน จํานวน 3 ใบ หยดน้ํามันในปริมาณเท)ากันให-เป>นคราบมัน 2. หยดน้ํามันยาล-างจานสมุนไพร ตะลิงปลิง มะกรูด มะขามเปยก ลงในข-อ 1 จํานวน 1 ซีซี 3. ใช-มือถูน้ํายาล-างจานลงบนจาน อย)าให-หก 4. ใช-น้ําปริมาณ 0.5 ลิตรลาดลงบนจาน 5. สังเกตคราบมันของจานทั้ง 3 ใบ โดยใช-มือลูบสัมผัส บันทึกผลการทดลอง 6. ทําการทดลองข-อ 1- 5 ซ้ํา 3 ครั้งเพื่อให-ได-ข-อมูลที่น)าเชื่อถือได7. ทําการทดลอง ข-อ 1 เปลี่ยนจากน้ํามัน เป>น น้ําคาวปลา 8. หยดน้ํามันยาล-างจานสมุนไพร ตะลิงปลิง มะกรูด มะขามเปยก ลงในข-อ 1 จํานวน 1 ซีซี 9. ใช-มือถูน้ํายาล-างจานลงบนจาน อย)าให-หก 10. ใช-น้ําปริมาณ 0.5 ลิตรลาดลงบนจาน 11. สังเกตกลิ่นคาวของจานทั้ง 3 ใบ โดยใช-การดมกลิ่น บันทึกผลการทดลอง 12. ทําการทดลองข-อ 7- 10 ซ้ํา 3 ครั้งเพื่อให-ได-ข-อมูลที่น)าเชื่อถือไดผลการทดลอง สูตรน้ํายาล-างจาน ขจัดคราบมัน สูตรที่ 1 (มะกรูด) สูตรที่ 2 (ตะลิงปลิง) สูตรที่ 3 (มะขามเปยก)

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ดีมาก ดี ดี

ผลการทดลอง ขจัดกลิ่นคาว ดีมาก พอใชดี

หมายเหตุ ไม)มีความลื่น หลังล-างจาน ดีมาก ดี ดี

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


อภิปรายผล สูตรที่ 1 (มะกรูด) มะกรูดมีฤทธิ์เป>นกรดและมีกลิ่นหอมทําให-ขจัดคราบมันและกลิ่นคาวได-ดี สูตรที่ 2 (ตะลิงปลิง) ตะลิงปลิงมีฤทธิ์เป>นกรดแต)น-อยกว)ามะกรูดและมะขามเปยก ไม)มีกลิ่นหอม สามารถขจัดคราบมันไดแต)กลิ่นคาวยังคงเหลืออยู) สูตรที่ 3 (มะขามเปยก) มะขามเปยกมีฤทธิ์เป>นกรดแต)น-อยกว)ามะกรูด มีกลิ่นหอมเล็กน-อย สามารถขจัดคราบมันได-และมี กลิ่นหอมเล็กน-อย ซึ่งน้ํายาล-างจนทั่วไปตามท-องตลาดมีสารที่ทําให-ภาชนะสะอาด สารที่ว)าคือ F24(Neopelex) คือสาร ขจัดคราบไขมัน , N70(Texapon N70)มีชื่อทางเคมีว)า Sodium Laurylether เป>นสารลดแรงตึงผิวประจุลบ มีหน-าที่ขจัดคราบน้ํามันและทําให-เกิดฟอง ซึ่งสมุนไพรที่นํามาจะเป>นตัวช)วยทําให-จานสะอาดยิ่งขึ้น สรุปผล จากที่เราได-ศึกษาและได-ผลิตน้ํายาล-างจานจากสมุนไพร ซึ่งมีประสิทธิภาพในการขจัดคราบมันและ กลิ่นคาว และช)วยลดสารเคมีตกค-างในภาชนะ มีทั้งหมด 3 สูตร สูตรแรกทํามาจากน้ํามะกรูด สูตรสองทํามา จากน้ําตะลิงปลิง และสูตรสามทํามาจากน้ํามะขามเปยก ซึ่งสมุนไพรที่นํามาสามารถหาได-ตามท-องถิ่น จากผล การทดลองน้ํายาล-างจานจากมะกรูดมีประสิทธิภาพในการขจัดคราบมันและกลิ่นคาวได-ดีกว)าสูตรอื่นๆ เพราะ มะกรูดมีฤทธิ์เป>นกรดที่ช)วยขจัดคราบมันและมีความหอมที่ช)วยดับกลิ่นคาว เอกสารอ*างอิง 7.1. นางสาวจุฑาทิพย เรืองฉายและคณะ (ม.ป.ป) น้ํายาล-างจานจากมะกูด สืบค-นเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 จากhttp://extaem.weebly.com/index.html 7.2. Tungsong. (ม.ป.ป.) น้ํายาล-างจาน สืบค-นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2560 จากเวบไซด : http://www.tungsong.com/water/dish_wash.htm 7.3. Gotoknow. (ม.ป.ป) สูตรน้ํายาล*างจาน น้ํายาเอนกประสงค สืบค-นเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2560 จากเวบไซด : https://www.gotoknow.org/posts/99096

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


โครงงาน RBL เรื่อง สมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ํา

ผู-ทําโครงงาน 1. นางสาว ปUยธิดา หมื่นสุข 2. นางสาว พลอยนรินทร วงเวียน 3. นาย พัชรพล แสวงศรี 4. นาย ภาคิน ลําภาย

ครูที่ปรึกษา นายจีระศักดิ์ ลิภา

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก-ว จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต28 ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กิตติกรรมประกาศ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ในการจัดทําโครงงานเรื่อง สมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ํา ในครั้งนี้ สําเร็จลุล)วงได- ต-องงขอกราบ ขอบพระคุณ นายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ นายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ในการ สนับสนุนและส)งเสริมให-นักเรียนมีการพัฒนาทักษะการคิด ให-คําชี้แนะและอํานวยความสะดวกในการทํา โครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณ คุณครูเดชมณี เนาวโรจน คุณครูแสงเดือน บกน-อย ที่ให-คําปรึกษาดูแล แนะนําและแก-ไขข-อบกพร)องในการทํางานทุกๆด-าน กราบขอบพระคุณผู-อํานวยการศูนยหม)อมไหมเฉลิมพระเกียรติอุบลราชธานี ที่ให-คําแนะนําขั้นตอน การทําสมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ําที่ทําจากมะกรูด,ตะไคร- และใบเตย เพื่อเป>นพื้นฐานมาปรับใช-ในการทําสมุนไพร ดับกลิ่นห-องน้ําจากสมุนไพรในท-องถิ่นของกลุ)มผู-ทําโครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณคณะครูและบุคลาการทางการศึกษาและ สมาชิกในครอบครัวที่คอยช)วยเหลือใน การทําโครงงาน อีกทั้งเพื่อนนักเรียน ที่คอยช)วยเหลือและให-กําลังใจจนกระทั่งโครงงานสําเร็จ ขอขอบคุณทุก ท)านที่มีส)วนเกี่ยวข-องให-งานบรรลุตามวัตถุประสงค คณะผู-จัดทํา

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทคัดย)อ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เป>นโรงเรียนขนาดกลางที่ตั้งอยู)ในชุมชนชนบท มีพืชพรรณมากมาย พืชแต)ละชนิดก็มีประโยชนหลากหลาย เช)น มะกรูด ตะไคร- และใบเตย กลุ)มของพวกเรา จึงมองเห็นในประโยชนของสมุนไพรที่มีอยู)ใกล-ตัว พวกเราจึงนําพืชทั้ง 3 ชนิดนี้นํามาทําเป>นสมุนไพรดับกลิ่น ห-องน้ําโดยทําการผสมสูตรมีทั้งหมด 6 สูตร คือ สูตรที่ 1 มะกรูดล-วน สูตรที่ 2 ตะไคร-ล-วน สูตรที่ 3 ใบเตย ล-วน สูตรที่ 4 มะกรูด ตะไคร- และใบเตย ผสมกันในอัตราส)วนที่เท)ากัน เพื่อทดสอบว)านักเรียนในโรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวรฯ ชอบกลิ่นไหนมากที่สุด โดยทําแบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการทดลอง พบว)า ผู-ใช-บริการห-องน้ํามีความพึงพอใจ ในการใช-สมุนไพร ทั้ง 3 ชนิดในการดับกลิ่น ห-องน้ํา โดย กลิ่นที่ผู-ใช-บริการห-องน้ําพึงพอใจมากที่สุด คือ มะกรูด

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทนํา ที่มาและความสําคัญของโครงงาน มะกรูด,ตะไคร-,ใบเตย เป>นสมุนไพรในท-องถิ่นที่คนไทยส)วนใหญ)ก็รู-จัก พวกเราจึงนําสมุนไพรทั้งสาม ชนิดมาทดลองทําสมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ํา จากการสํารวจห-องน้ําในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ พบว)ามีกลิ่นไม)พึ่งประสงคต)อ ผู-มาใช-บริการ พวกเราจึงนําพืชทั้ง 3 ชนิดนี้นํามาทําเป>นสมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ําโดยทําการผสมสูตรมีทั้งหมด 6 สูตร คือ สูตรที่1 มะกรูดล-วน สูตรที่2 ตะไคร-ล-วน สูตรที่3 ใบเตยล-วน สูตรที่4 สูตรที่5 สูตรที่6 เพิ่อทดสอบว)านักเรียน ในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรฯ ชอบกลิ่นไหนมากที่สุด โดยทําแบบสอบถามความพึงพอใจ วัตถุประสงค 1. เพื่อให-ห-องน้ําไม)มีกลิ่นเหม็น 2. เพื่อให-ผู-ใช-บริการห-องน้ําเกิดความพึงพอใจ สมมติฐาน

สมุนไพรดับกลิ่นแต)ละสูตร ดับกลิ่นห-องน้ําได-แตกต)างกัน โครงงานมีตัวแปรต)อไปนี้ และแสดงแผนผังเหตุ-ผล ในรูปที่ 1

ตัวแปร ตัวแปรอิสระ(ตัวแปรต-น) สมุนไพรสูตรต)างๆ ตัวแปรตาม ความพึงพอใจของผู-ใช-ห-องน้ําหลังจากทดลองวางสมุนไพรกําจัดกลิ่นห-องน้ําแต)ละสูตร ตัวแปรควบคุม - ระยะเวลาในการกําจัดกลิ่น - ปริมาณของสูตรสมุนไพร - สถานที่ทดลอง ที่มีความรุนแรงของกลิ่นใกล-เคียงกัน - ความคงทนของกลิ่น ใบเตย

ปญหาห-องน้ํามีกลิ่นไม)พึงประสงค

มะกรูด ปญหาในโรงเรียน

นักเรียนไม)ทําความสะอาด

สมุนไพรดับกลิ่น

ความพึงพอใจ

บรรยากาศ

ตะไคร-

ความสะอาด

เข-าใช-บริการ

รูปที่ 1 ผังเหตุ-ผล หรือตัวแปรต-น(เหตุ) ตัวแปรตาม (ผล) ของโครงงานฐานวิจัยนี้ -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข*อง ชื่อวิทยาศาสตร: Pandanus amaryllifolius come ชื่อวงศ: Pandanaceae ชื่อสามัญ: Pandanus ชื่อพื้นเมือง: เตยหอม ลักษณะทั่วไป: ต-น ไม-พุ)มขนาดเล็ก เจริญเติบโตลักษณะเป>นกอ มีลําต-นเป>นเหง-าอยู)ใต-ผิวดิน ลําต-นติดดิน ออกราก ตามข-อของลําต-นได-เมื่อลําต-นยาวมากขึ้นใช-เป>นรากค้ํายัน ใบ เป>นใบเดี่ยวเรียงสลับเวียนเป>นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ลักษณะใบยาวเรียวคล-ายใบหอก ปลายใบ แหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเป>นมัน เส-นกลางใบเว-าลึกเป>นแอ)ง ถ-าดูด-านท-องใบจะเห็นเป>นรูปคล-ายกระดูกงูเรือ ดอก เป>นดอกช)อแบบ สแปดิก(spadix) ดอกย)อยแยกเพศและแยกต-น ไม)มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ฝก/ผล: ผลขนาดเล็ก ส)วนใหญ)ไม)เกิดดอกและผล เป>นเตยเพศผูการปลูก: ตามริมคูน้ําบริเวณที่น้ําขังแฉะ หรือที่ดินชื้น การดูแลรักษา: ชอบแสงแดดรําไร แต)ก็ทนต)อแสงแดดจัด การขยายพันธุ: ปกชําลําต-น หรือกิ่งแขนง ส)วนที่มีกลิ่นหอม: ใบ การใช-ประโยชน: - ไม-ประดับ - สมุนไพร - ใช-เป>นภาชนะห)อและใส)เพื่อปรุงกลิ่น อาหาร คาวหวาน และยังเป>นพันธุที่ชาวสวนปลูกตัดใบ ออกจําหน)ายเป>นการค-า ถิ่นกําเนิด: เอเชียตะวันออกเฉียงใตสรรพคุณทางยา: - ใช-ใบเตยสดเป>นยาบํารุงหัวใจ ให-ชุ)มชื่นช)วยลดอาการกระหายน้ํา - รากใช-เป>นยาขับปสสาวะ ใช-รักษาเบาหวาน ชื่อวิทยาศาสตรว)า Citrus hystrix DC. • วงศ : Rutaceae • ชื่อพ-อง : – Citrus echinata St. Lag. – Citrus latipes Hook. F.& Thoms. – Citrus papidia Miq • ชื่อสามัญ : – kaffir lime – porcupine orange – leech lime – mauritrus papeda • ชื่อท-องถิ่น : -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


– มะกรูด – ส-มมั่วผี – มะหูด – ส-มมะกรูด – ส-มกรูด – มะขุน – มะขูด – มะหูด – หมากกรูด ลักษณะทั่วไป: ลําต-น ต-นมะกรูด เป>นไม-ยืนต-นขนาดเล็ก เนื้อไม-เป>นเนื้อแข็ง เปลือกเรียบมีสีน้ําตาลอ)อน ลําต-นแตกกิ่งก-าน จํานวนมากตั้งแต)ระดับล)างของลําต-นทําให-มีลักษณะเป>นพุ)ม ตามลําต-น และกิ่งมีหนามแหลมยาว ใบ ใบมะกรูด เป>นใบประกอบ ออกเป>นใบเดี่ยว มีก-านใบแผ)ออกเป>นครีบคล-ายแผ)นใบ ใบมีลักษณะหนา เรียบ มีผิวมัน สีเขียว และเขียวเข-มตามอายุของใบ ใบมีคอดกิ่วที่กลางใบทําให-ใบแบ)งออกเป>น 2 ตอน หรือ คล-ายใบไม- 2 ใบ ต)อกัน ขนาดใบกว-างประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5-12 เซนติเมตร ใบมีกลิ่น หอมมากเพราะมีต)อมน้ํามันอยู) ดอก ดอกมะกรูดเป>นดอกสมบูรณเพศ ดอกออกเป>นช)อมีสีขาว แทงออกบริเวณส)วนยอดหรือตามซอกใบ แต) ละช)อมีดอกประมาณ 1-5 ดอก หลีบดอกมีสีขาวครีม 5 กลีบ มีขนปกคลุม ภายในดอกมีเกสรมีสีเหลือง ดอกมี กลิ่นหอมเล็กน-อย และเมื่อแก)จะร)วงง)าย ผล/ลูก: ผลมะกรูดหรือลูกมะกรูด มีลักษณะค)อนข-างกลม มีเส-นผ)านศูนยกลาง 5-7 เซนติเมตร ผลคล-ายผลส-ม ซ)า ผลมีขนาดใหญ)กว)าลูกมะนาวเล็กน-อย ลักษณะของผลมีรูปร)างแตกต)างกันไปแล-วแต)พันธุ เปลือกผล ค)อนข-างหนา ผิวเปลือกมีสีเขียวเข-ม ผิวขรุขระเป>นลูกคลื่นหรือเป>นปุgมนูน ภายในเปลือกมีต)อมน้ํามันหอม ระเหยเป>นจํานวนมาก มีจุกที่หัว และท-ายของผล เมื่อสุก ผลจะเปลี่ยนเป>นสีเหลือง ประโยชนจากมะกรูด: • ใบมะกรูด นิยมใช-ประกอบอาหารสําหรับใช-ดับกลิ่นคาวของเนื้อต)างๆ เช)น แกงเผ็ด ต-มยํา ใช-โรยในอาหาร เช)น ห)อหมก • ใบมะกรูด ใช-เป>นส)วนผสมของเครื่องแกง เช)น พริกแกง • ลูกมะกรูด ผ)าเป>นชิ้นใช-สําหรับดับกลิ่นในห-องน้ําชาย-หญิง • น้ําจากลูกมะกรูด ใช-ดับกลิ่นคาว และปรุงอาหารให-มีรสเปรี้ยว เช)น แกงส-ม แกงคั่ว • น้ําจากลูกมะกรูด ใช-ทําน้ําผลไม-ปtน เช)น น้ํามะกรูดปtน สารสําคัญที่พบ: นํ้ามันหอมระเหยมะกรูดประกอบด-วย 2 ส)วนใหญ)ๆ คือ สารในกลุ)มเทอรพีน ( terpenes) และสารที่ไม)ใช)กลุ)มเทอรพีน ( non-terpene) หรือ oxygenated compounds ชื่อวิทยาศาสตร : Cymbopogon citratus (DC.) วงศ : Graminae ชื่อสามัญ : Lapine, Lemon grass, Sweet rush, Ginger grass ชื่อท-องถิ่น : -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


– ตะไคร– ตะไคร-แกง – ตะไคร-มะขูด – คาหอม – ไคร – จะไคร – เชิดเกรย – หัวสิงไค – เหลอะเกรย – ห)อวอตะโป – เฮียงเม-า ลักษณะทั่วไป: ลําต-น: ลําต-นตะไคร-มีเหง-าใต-ดิน ลําต-นมีลักษณะตั้งตรง รูปทรงกระบอก มีความสูงได-ถึง 1 เมตร (รวมทั้ง ใบ) ส)วนของลําต-นที่เรามองเห็นจะเป>นส)วนของกาบใบที่ออกเรียงช-อนกันแน)น โคนต-นมีลักษณะกาบใบหุ-ม หนา ผิวเรียบ และมีขนอ)อนปกคลุม ส)วนโคนมีรูปร)างอ-วน มีสีม)วงอ)อนเล็กน-อย และค)อยๆเรียวเล็กลง กลายเป>นส)วนของใบ แกนกลางเป>นปล-องแข็ง ส)วนนี้สูงประมาณ 20-30 ซม. ขึ้นอยู)กับความอุดมสมบูรณของ ดิน และพันธุ และเป>นส)วนที่นํามาใช-สําหรับประกอบอาหาร ใบใบตะไคร-ประกอบด-วย 3 ส)วน คือ ก-านใบ (ส)วนลําต-นที่กล)าวข-างต-น) หูใบ (ส)วนต)อ ระหว)างกาบใบ และใบ) และใบ ใบ: ตะไคร-เป>นใบเดี่ยว มีสีเขียว มีลักษณะเรียวยาว ปลายใบโค-งลู)ลงดิน โคนใบเชื่อมต)อกับหูใบ ใบมีรูป ขอบขนาน ผิวใบสากมือ และมีขนปกคลุม ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แต)คม กลางใบมีเส-นกลางใบแข็ง สี ขาวอมเทา มองเห็นต)างกับแผ)นใบชัดเจน ใบกว-างประมาณ 2 ซม. ยาว 60-80 เซนติเมตร ดอก: ตะไคร-เป>นพืชที่ออกดอกยาก จึงไม)ค)อยพบเห็น ดอกตะไคร-ดอกจะออกดอกเป>นช)อกระจาย มีก-านช)อ ดอกยาว และมีก-านช)อดอกย)อยเรียงเป>นคู)ๆ ในแต)ละคู)จะมีใบประดับรองรับ มีกลิ่นหอม ดอกมีขนาดใหญ) คล-ายดอกอ-อ ประโยชนตะไคร-: • ลําต-น และใบสด – ใช-เป>นเครื่องเทศประกอบอาหารสําหรับดับกลิ่นคาว ช)วยให-อาหารมีกลิ่นหอม และปรับปรุงรสให-น)า รับประทานมากขึ้น – ใช-เป>นส)วนผสมของยาทากันยุง สเปรยกันยุง และยาจุดกันยุง สารสําคัญที่พบ: ส)วนของลําต-น และใบมีน้ํามันหอมระเหย (Volatile oil) ที่ประกอบด-วยสารหลายชนิด ได-แก) – ซิทราล (Citral) พบมากที่สุด 75-90% – ทรานซ ไอโซซิทราล (Trans-isocitral) – ไลโมเนน (Limonene) – ยูจีนอล (Eugenol) – ลินาลูล (Linalool) – เจอรานิออล (Geraniol) -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


– คาริโอฟUวลีน ออกไซด (Caryophyllene oxide) – เจอรานิล อะซิเตท (Geranyl acetate) – 6-เมทิล 5-เฮพเทน-2-วัน (6-Methyl 5-hepten-2-one) – 4-โนนาโนน (4-Nonanone) – เมทิลเฮพทีโนน (Methyl heptennone) – ซิโทรเนลลอล (Citronellol) – ไมรซีน (Myrcene) – การบูร (Camphor) สรรพคุณตะไคร-: • ลําต-น และใบ – ช)วยบรรเทา และรักษาอาการไข-หวัด – แก-ไอ และช)วยขับเสมหะ – บรรเทาอาการโรคหืดหอบ – รักษาอาการปวดท-อง – ช)วยขับปสสาวะ แก-ปสสาวะยา อุปกรณการทดลอง 1. วัตถุดิบ ได-แก) มะกรูด ตะไคร- ใบเตย 2. วัสดุอุปกรณในการทําสมุนไพรดับกลิ่นห-องน้ํา ได-แก) ช-อนตวง กะละมัง มีด กรรไกร วิธีการทดลอง วิธีทําสมุนไพรดับกลิ่น 1. นําผิวมะกรูด ตะไคร- และใบเตยมาหั่นให-เป>นชิ้นเล็กๆ 2. พอหั่นเสร็จแล-วก็นํามาผสมสูตรในอัตราส)วนที่ต)างกัน ดังนี้ สูตรที่ 1 ผิวมะกรูด 5 ช-อน สูตรที่ 2 ใบเตย 5 ช-อน สูตรที่ 3 ตะไคร- 5 ช-อน สูตรที่ 4 ผิวมะกรูด 3 ช-อน ตะไคร- 3 ช-อน ใบเตย 3 ช-อน 3. หลังจากที่ผสมตามสูตรเสร็จแล-ว นํามาบรรจุใส)ในถุงผลิตภัณฑที่เตรียมไววิธีทําการทดลอง 1. นําถุงผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นไปวางไว-ในห-องน้ํา จํานวน 6 ห-อง โดยห-องที่ 1 ใส)สูตรที่ 1 ห-องที่ 2 ใส)สูตรที่ 2 ห-องที่ 3 ใส)สูตรที่ 3 ห-องที่ 4 ใส)สูตรที่ 4 และห-องที่ 5 และห-องที่ 6 ใส)สูตรที่ 6 4. หลังจากวางถุงผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นจากสมุนไพรในห-องน้ําเป>นเวลา 12 ชั่วโมง แจกแบบประเมินความพึง พอใจให-กับกลุ)มตัวอย)างจํานวน 100 คน ซึ่งเป>นผู-ที่มาใช-บริการห-องน้ํา 3. นําข-อมูลที่ได-จากแบบประเมินความพึงพอใจมาวิเคราะหผล 4. ทําการทดลองซ้ํา จํานวน 3 รอบเพื่อให-ได-ข-อมูลที่น)าเชื่อถือ

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ผลการวิจัย จากการทดลองนําถุงที่บรรจุผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นจากสมุนไพรไปวางไว-ในห-องน้ํา แล-วให-กลุ)มตัวอย)าง เข-าใช-บริการห-องน้ําแล-วทําแบบประเมินความพึงพอใจก)อนและหลังวางผลิตภัณฑ ผลปรากฏดังนี้ ตารางที่ 1 คะแนนจากแบบประเมินความพึงพอใจต)อกลิ่นของห*องน้ําก)อนวางถุงที่บรรจุ ผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นจากสมุนไพรในห*องน้ํา กลุ)มตัวอย)าง 100 คน ที่ใช*บริการห*องน้ํา 4 ห*อง ระดับความพึงพอใจ รายการ 5 4 3 2 1 เฉลี่ย แปลผล 1. ห-องน้ํานี้สะอาด กลิ่นหอม น)าใช-บริการ - 43 57 1.43 ไม)พึงพอใจ 2. ห-องน้ํานี้ปราศจากกลิ่นไม)พึงประสงค - 45 55 1.45 ไม)พึงพอใจ 3. ห-องน้ํานี้ ให-ความรู-สึก สดชื่น เนื่องจากกลิ่น - 34 66 1.34 ไม)พึงพอใจ หอมของสมุนไพร 4. กลิ่นสมุนไพรสามารถดับกลิ่นไม)พึงประสงค - 100 1.00 ไม)พึงพอใจ ของห-องน้ําไดสรุป - 122 278 1.31 ไม)พึงพอใจ ตารางที่ 2 คะแนนจากแบบประเมินความพึงพอใจต)อกลิ่นของห*องน้ําหลังวางถุงที่บรรจุ ผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นจากสมุนไพรในห*องน้ํา กลุ)มตัวอย)าง 100 คน ต)อห*องน้ําห*องที่ 1 (ตะไคร*) ระดับความพึงพอใจ รายการ 5 4 3 2 1 เฉลี่ย แปลผล 1. ห-องน้ํานี้สะอาด กลิ่นหอม น)าใช-บริการ 10 55 35 - 3.75 พึงพอใจมาก 2. ห-องน้ํานี้ปราศจากกลิ่นไม)พึงประสงค 25 58 17 - 4.08 พึงพอใจมาก 3. ห-องน้ํานี้ ให-ความรู-สึก สดชื่น เนื่องจากกลิ่น 29 43 28 - 4.01 พึงพอใจมาก หอมของสมุนไพร 4. กลิ่นสมุนไพรสามารถดับกลิ่นไม)พึงประสงค 64 36 - 4.64 พึงพอใจมากที่สุด ของห-องน้ําไดสรุป 128 192 80 4.12 พึงพอใจมาก ตารางที่ 3 คะแนนจากแบบประเมินความพึงพอใจต)อกลิ่นของห*องน้ําหลังวางถุงที่บรรจุ ผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นจากสมุนไพรในห*องน้ํา กลุ)มตัวอย)าง 100 คน ต)อห*องน้ําห*องที่ 2 (มะกรูด) ระดับความพึงพอใจ รายการ 5 4 3 2 1 เฉลี่ย แปลผล 1. ห-องน้ํานี้สะอาด กลิ่นหอม น)าใช-บริการ 21 79 - 4.21 พึงพอใจมาก 2. ห-องน้ํานี้ปราศจากกลิ่นไม)พึงประสงค 74 26 - 4.74 พึงพอใจมากที่สุด 3. ห-องน้ํานี้ ให-ความรู-สึก สดชื่น เนื่องจากกลิ่น 42 58 - 4.42 พึงพอใจมาก หอมของสมุนไพร 4. กลิ่นสมุนไพรสามารถดับกลิ่นไม)พึงประสงค 78 22 - 4.78 พึงพอใจมากที่สุด ของห-องน้ําไดสรุป 215 185 - 4.54 พึงพอใจมากที่สุด -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ตารางที่ 4 คะแนนจากแบบประเมินความพึงพอใจต)อกลิ่นของห*องน้ําหลังวางถุงที่บรรจุ ผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นจากสมุนไพรในห*องน้ํา กลุ)มตัวอย)าง 100 คน ต)อห*องน้ําห*องที่ 3 (ใบเตย) ระดับความพึงพอใจ รายการ 5 4 3 2 1 เฉลี่ย แปลผล 1. ห-องน้ํานี้สะอาด กลิ่นหอม น)าใช-บริการ 15 52 33 - 3.82 พึงพอใจมาก 2. ห-องน้ํานี้ปราศจากกลิ่นไม)พึงประสงค 28 52 20 - 4.08 พึงพอใจมาก 3. ห-องน้ํานี้ ให-ความรู-สึก สดชื่น เนื่องจากกลิ่น 25 45 30 - 3.95 พึงพอใจมาก หอมของสมุนไพร 4. กลิ่นสมุนไพรสามารถดับกลิ่นไม)พึงประสงค 70 30 - 4.70 พึงพอใจมากที่สุด ของห-องน้ําไดสรุป 128 192 80 4.14 พึงพอใจมาก ตารางที่ 5 คะแนนจากแบบประเมินความพึงพอใจต)อกลิ่นของห*องน้ําหลังวางถุงที่บรรจุ ผลิตภัณฑกําจัดกลิ่นจากสมุนไพรในห*องน้ํา กลุ)มตัวอย)าง 100 คน ต)อห*องน้ําห*องที่ 4 (มะกรูด ตะไคร* ใบเตย ) ระดับความพึงพอใจ รายการ 5 4 3 2 1 เฉลี่ย แปลผล 1. ห-องน้ํานี้สะอาด กลิ่นหอม น)าใช-บริการ 8 42 50 - 3.58 พึงพอใจมาก 2. ห-องน้ํานี้ปราศจากกลิ่นไม)พึงประสงค 22 56 16 - 3.82 พึงพอใจมาก 3. ห-องน้ํานี้ ให-ความรู-สึก สดชื่น เนื่องจากกลิ่น 32 47 21 - 4.11 พึงพอใจมาก หอมของสมุนไพร 4. กลิ่นสมุนไพรสามารถดับกลิ่นไม)พึงประสงค 68 32 - 4.68 พึงพอใจมากที่สุด ของห-องน้ําไดสรุป 147 183 70 - 4.05 พึงพอใจมาก อภิปรายผล จากการทดลองนําถุงที่บรรจุสมุนไพรกําจัดกลิ่นแต)ละสูตร ไปวางไว-ในห-องน้ํา 4 ห-อง และให-กลุ)ม ตัวอย)าง จํานวน 100 คน ทําแบบประเมินความพึงพอใจต)อกลิ่นของห-องน้ําก)อนและหลังวางถุงที่บรรจุ สมุนไพรกําจัดกลิ่นพบว)า ก)อนวางถุงที่บรรจุสมุนไพรกําจัดกลิ่นในห-องน้ํา มีระดับความพึงพอใจ 1.31 หลังวางถุงที่บรรจุสมุนไพรกําจัดกลิ่นสูตรที่ 1 (ตะไคร-)ในห-องน้ํา มีระดับความพึงพอใจ 4.12 หลังวางถุงที่บรรจุสมุนไพรกําจัดกลิ่นสูตรที่ 2 (มะกรูด)ในห-องน้ํา มีระดับความพึงพอใจ 4.52 หลังวางถุงที่บรรจุสมุนไพรกําจัดกลิ่นสูตรที่ 3 (ใบเตย)ในห-องน้ํา มีระดับความพึงพอใจ 4.14 หลังวางถุงที่บรรจุสมุนไพรกําจัดกลิ่นสูตรที่ 4 (มะกรูด ตะไคร- ใบเตย)ในห-องน้ํา มีระดับความพึงพอใจ 4.05 จากข-อมูลข-างต-นพบว)า ผู-ใช-บริการมีความพึงพอใจสมุนไพรที่ใช-ในการดับกลิ่นห-องน้ําทั้ง 3 ชนิด แต) สมุนไพรดับกลิ่นที่ดีที่สุด ที่ คือ สูตรที่ 2 มะกรูด รองลงมา คือ สูตรที่ 3 ใบเตย รองลงมา คือ สูตรที่ 1 -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ตะไคร- น-อยที่สุดคือ สูตรที่ 4 มะกรูด ตะไคร- ใบเตย ดังนั้น สมุนไพรกําจัดกลิ่นที่คณะผู-จัดทําได-ทําขึ้นนั้นมี ประสิทธิภาพในการกําจัดกลิ่น สรุปผลการทดลอง โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เป>นโรงเรียนขนาดกลางที่ตั้งอยู)ในชุมชนชนบท มีพืชพรรณมากมาย พืชแต)ละชนิดก็มีประโยชนหลากหลาย เช)น มะกรูด ตะไคร- และใบเตย กลุ)มของพวกเรา จึงมองเห็นในประโยชนของสมุนไพรที่มีอยู)ใกล-ตัว พวกเราจึงนําพืชทั้ง 3 ชนิดนี้นํามาทําเป>นสมุนไพรดับกลิ่น ห-องน้ําโดยทําการผสมสูตรมีทั้งหมด 6 สูตร คือ สูตรที่ 1 มะกรูดล-วน สูตรที่ 2 ตะไคร-ล-วน สูตรที่ 3 ใบเตย ล-วน สูตรที่ 4 มะกรูด ตะไคร- และใบเตย ผสมกันในอัตราส)วนที่เท)ากัน เพื่อทดสอบว)านักเรียนในโรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวรฯ ชอบกลิ่นไหนมากที่สุด โดยทําแบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการทดลอง พบว)า ผู-ใช-บริการห-องน้ํามีความพึงพอใจ ในการใช-สมุนไพร ทั้ง 3 ชนิดในการดับกลิ่นห-องน้ํา โดย กลิ่นที่ผู-ใช-บริการห-องน้ําพึงพอใจมากที่สุด คือ มะกรูด ข*อเสนอแนะ 1. การทดลองในครั้งนี้ได-วางสมุนไพรไว-เพียง 2 ชั่วโมง แล-วให-กลุ)มตัวอย)างทําแบบประเมินความพึง พอใจ ดังนั้นควรมีการทําแบบประเมินความพึงพอใจหลายช)วงเวลากว)านี้ 2. ควรใช-สมุนไพรชนิดอื่นๆด-วยและวิธีการทดลองที่ใหม)ๆ 3. ควรมีสูตรสมุนไพรที่ใช-ในการทดลองที่หลากหลายมากกว)านี้ 4. ควรแก-ปญหาเรื่องความสะอาดของห-องน้ําด-วย 7. เอกสารอ*างอิง 7.1 อัญชลี กล-าขยัน. (,ม.ป.ป.) โครงงานสมุนไพรดับกลิ่น. สืบค-นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560 . จาก เวบไซด : http://www.namsongkram.com/2014/07/blog-post_20.html 7.2 สุธีระ ประเสริฐสรรพ (2558) สะเต็มศึกษา : ความท-าทายใหม)ของการศึกษาไทย.สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย, กรุงเทพฯ. 7.3 กระปุกดอทคอม. (ม.ป.ป.) 10 DIY เครื่องหอมสูตรธรรมชาติ ดับกลิ่นเหม็นในห-องน้ําได-ชะงัก !. สืบค-น เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560 . จากเวบไซดhttps://home.kapook.com 7.4 เวบestopolis. (ม.ป.ป.) วิธีดับกลิ่นห-องน้ําในคอนโด ภูมิปญญาชาวบ-านง)าย ๆ แต)ใช-ได-ผลจริง .สืบค-น เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2560 . จากเวบไซด : https://www.estopolis.com

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาคผนวก

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


แบบประเมินความพึงพอใจการใช*สมุนไพรดับกลิ่นห*องน้ํา คําชี้แจง : จงทําเครื่อง  ลงใน  ตามความพึงพอใจของท)าน ตอนที่ 1 เพศ : % ชาย % หญิง ระดับชั้น : % มัธยมศึกษาตอนต-น

% มัธยมศึกษาตอนปลาย

 อื่นๆ…….

ตอนที่ 2 ที่ 1 2 3 4 5

ประเด็น/หัวข*อ การพิจารณา กลิ่นห-องน้ําห-องที่ 1 สูตรที่ 1 กลิ่นห-องน้ําห-องที่ 2 สูตรที่ 2 กลิ่นห-องน้ําห-องที่ 3 สูตรที่ 3 กลิ่นห-องน้ําห-องที่ 4 สูตรที่ 4 กลิ่นห-องน้ําห-องที่ 5 ไม)ใส)สมุนไพรดับกลิ่น

ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น*อย

น*อยที่สุด

ข-อเสนอแนะ ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ภาพกิจกรรม

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


โครงงาน RBL เรื่อง น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร

ผู-ทําโครงงาน 1. นางสาว ณัฐริกา ทองประสาน 2. นางสาว ราตรี พูพวง 3. นาย มาโนชญ ชาวไทย

ครูที่ปรึกษา นางนุชนาฎ โชติสุวรรณ

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขื่อนแก-ว จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต28 ศูนยพีเ่ ลีย้ งมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


กิตติกรรมประกาศ โครงงานRBL เรื่อง น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร (bio-fermented) ในครั้งนี้สําเร็จลุล)วงได-ต-องขอ กราบพระคุณ นายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป ถัมภ นายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ที่ให-คํา ชี้แนะ อํานวยความสะดวกในการทําโครงงาน และขอบคุณศูนยพี่เลี้ยงมหาลัยอุบลราชธานี ที่เปUดโอกาสใหข-าพเจ-าและคณะได-มีโอกาสได-เรียนรู-การทําโครงการRBLในครั้ง กราบขอบพระคุณ คุณครูนุชนาฎ โชติสุวรรณ ที่ให-คําปรึกษา ดูแลแนะนํา และแก-ไขข-อบกพร)องใน การทําโครงงานทุ กด- า น กราบขอบพระคุ ณ คณะครู บุคลากรทางการศึ กษา ผู- ป กครอง และเพื่ อนๆ นักเรียนที่คอยให-กําลังใจจนกระทั่งโครงงาน เรื่อง น้ําหมักชีวภาพ สําเร็จลุล)วงไปได-ด-วยดี

คณะผู*จัดทํา

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


บทคัดย)อ ชื่อโครงงาน น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร ผู-จัดทํา 1.นายมาโนชญ ชาวไทย 2.นางสาวณัฐริกา ทองประสาน 3.นางสาวราตรี พูพวง ครูที่ปรึกษา 1.นางนุชนาฎ โชติสวุ รรณ ปที่ทํา 2560 โครงงานเพาะพันธุปญญา โครงงานนี้ได-ทําการศึกษา เรื่อง น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร (biofermented) เพื่อเปรียบเทียบว)า น้ําหมักชีวภาพที่ผลิตขึ้นทั้ง 4 สูตร สูตรใดที่มีประสิทธิภาพในการทําใหต-นดาวเรืองเจริญเติบโตได-ดีที่สุด ซึ่งการวัดการเจริญเติบโต วัดจากจํานวนใบและความสูงของต-นดาวเรือง โดยกลุ)มผู-จัดทําได-ผลิตน้ําหมักชีวภาพ จากการนํา เศษอาหารมาหมักรวมกับ EM กากน้ําตาล และน้ําเปล)า ในอัตราส)วนที่แตกต)างกัน แล-วหมักไว-ในถังหมักเป>นเวลา 30 วัน จากนั้นนํามาทดลองรดกับต-นดาวเรืองที่ เพาะปลูกไว- ซึ่งมีอายุ 30 วัน สูตรละ 3 ต-น รวม 12 ต-น และอีก 3 ต-นจัดเป>นชุดควบคุม คือ ไม)ไดรดน้ําหมักชีวภาพ รวมจํานวนต-นดาวเรืองที่นํามาทดลอง 15 ต-น แล-วทําการวัดการเจริญเติบโต สัปดาหห ละ 1 ครั้ง เป>นเวลา 8 สัปดาห พบว)า น้ําหมักชีวภาพ สูตรที่ 2 ทําให-ต-นดาวเรืองมีจํานวนใบมากที่สุด คือ เฉลี่ย 47.67 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 3 เฉลี่ย 38 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 1 เฉลี่ย 31.33 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 4 เฉลี่ย 29.33 ใบ ลําดับสุดท-ายคือ ต-นดาวเรืองที่ไม)ได-รดน้ําหมัก ชีวภาพ มีจํานวนใบเฉลี่ย 6.67 ใบ จากการวัดความสูงของต-นดาวเรือง พบว)า น้ําหมักชีวภาพ สูตรที่ 4 ทําให-ต-นดาวเรืองมีความสูงมากที่สุด คือ เฉลี่ย 32.25 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตร 2 เฉลี่ย 31.20 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 3 เฉลี่ย 30.65 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 1 เฉลี่ย 25.05 เซนติเมตร ลําดับสุดท-าย คือ ต-นดาวเรืองที่ไม)ได-รดน้ําหมักชีวภาพ เฉลี่ย 7.83 เซนติเมตร จากผลการทดลอง สูต รที่ 2 มี ผลเฉลี่ยการเจริญเติบโตของต-น ดาวเรื องสูงกว)า สูต รอื่ น ๆ เมื่ อ เปรียบเทียบกับผลเฉลี่ยรวม สูตรที่ 2 ทําให-ต-นดาวเรืองมีใบมากที่สุด สูตรที่ 4 ทําให-ต-นดาวเรืองมีความ สูงมากที่สุด และสูตรที่ 3 กราฟแสดงผลการเจริญเติบโตจํานวนใบเฉลี่ยของต-นดาวเรืองและกราฟแสดง ความสูงเฉลี่ยของต-นดาวเรืองมีการเพิ่มขึ้นอย)างสม่ําเสมอเมื่อเปรียบเทียบกับสูตรอื่นรวมทั้งชุดควบคุม

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น- า

|1

บทนํา ความเปIนมาและความสําคัญของโครงงาน ประเทศไทยเป> น ประเทศเกษตรกรรม ประชากรส) ว นใหญ) เ ป> น เกษตรกร ทํ า อาชี พ เกี่ ย วกั บ การเกษตรไม) ว) า จะเป> น การทํ า นา ทํ า สวน ทํ า ไร) ล- ว นแต) ต- อ งมี ตั ว ช) ว ยในการผลิ ต เพื่ อ ให- ผ ลผลิ ต มี ประสิทธิภาพ ปุHยเป>นอีกปจจัยหนึ่งที่สําคัญต)อศักยภาพของผลผลิต เป>นแหล)งอาหารที่ช)วยให-ผลผลิต ทางการเกษตรมีคุณภาพที่ดี ซึ่งปุHยแบ)งออกเป>นปุHยเคมีและปุHยอินทรีย ปุHยที่ใช-กันในปจจุบันเป>นปุHยที่เป>น เคมี ส)งผลให-ต-นพืชเจริญเติบโตได-รวดเร็วมีผลดีในระยะสั้น แต)มีผลเสียในระยะยาว เนื่องจากปุHยเคมี ทําลายจุลินทรียบางชนิดที่อาศัยอยู)ในดินและทําให-ดินเค็ม หากใช-ในปริมาณมากและเป>นเวลานาน อาจ ทําให-ดินเสื่อมคุณภาพ แตกต)างจากปุHยอินทรียที่เป>นปุHยที่ได-มาจากการเน)าเสียของซากพืชซากสิ่งมีชีวิต ธาตุอาหารส)วนใหญ)ต-องเกิดจากการย)อยสลายจากจุลินทรียก)อน เป>นกระบวนการผลิตสารอาหารจาก ธรรมชาติ เห็นผลช-าหากแต)ช)วยบํารุงดินรักษาสภาพความเป>น กรด-เบสในดินอีกทั้งยังสลายช-า ช)วยใหพืชได-รับสารอาหารอย)างสม่ําเสมอ โรงเรียนของคณะผู-จัดทําเป>นโรงเรียนขนาดกลาง มีประชากรรวมทั้งครูและนักเรียนประมาณ 550 คน ดังนั้นจึงทําให-การรับประทานอาหารในแต)ละวันจะมีเศษอาหารจํานวนมาก และในปจจุบันแม)ค-าก็ไดนําเศษอาหารไปเลี้ยงสัตว แต)เศษอาหารนั้นมีจํานวนมากกินกว)าจํานวนสัตวเลี้ยงของแม)ค-า จึงยังมีเศษ อาหารหลงเหลืออยู) คณะผู-จัดทําจึงคิดหาวิธีที่จะใช-ประโยชนจากเศษอาหารนั้นและโรงเรียนของคณะ ผู-จัดทํามีต-นไม-จํานวนมาก คณะผู-จัดทําจึงมีแนวคิดจะนําเศษอาหารมาทําน้ําหมักชีวภาพ คณะผู-จัดทําจึงมีแนวคิดที่จะนําเศษอาหารทําเป>นน้ํามักชีวภาพ เพื่อช)วยให-ต-นไม-การเจริญเติบโต งอกงามและบํารุงดิน ซึ่งเป>นการช)วยกําจัดขยะเศษอาหาร ลดปญหามลพิษไปได-บางส)วนแล-ว ยังสามารถ นําน้ําหมักชีวภาพไปใช-ประโยชนได-อย)างหลากหลาย อีกทั้งสามารถเพิ่มมูลค)าให-กับเศษอาหาร ทําเป>น อาชีพเสริมภายในครัวเรือน วัตถุดิบที่นํามาใช-ก็สามารถหาได-ง)ายในชีวิตประจําวัน วัตถุประสงค ศึกษาประสิทธิภาพของน้ําหมักชีวภาพ สมมติฐาน น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร สูตรที่ 2 ช)วยทําให-พืชเจริญเติบโตได-ดีที่สุด โครงงานมีตัวแปรต)อไปนี้ และแสดงแผนผังเหตุ-ผล ในรูปที่ 1 ตัวแปร ตัวแปรอิสระ(ตัวแปรต-น) ได-แก) น้ําหมักชีวภาพ สูตรที่1 สูตรที่2 สูตรที่3 สูตรที่4 ตัวแปรตาม ได-แก) การเจริญเติบโตของพืช ซึ่งวัดจากความสูงและจํานวนใบของพืช ตัวแปรควบคุม ได-แก) ขนาดของถังที่ใช-หมัก ระยะเวลาที่ใช-หมัก สภาพแวดล-อมบริเวณที่ปลูกพืช ชนิด ของดินที่ปลูกพืช ชนิดของพืช ปริมาณน้ําหมักชีวภาพ อายุของต-นพืช

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น- า ขยะรีไซเคิล

|2

ประชากรในโรงเรียน

ปญหาสิ่งแวดล-อม

ขยะย)อยสลายไดน้ําหมักชีวภาพจากเศษ อาหาร

ช)วยให-พืชเจริญเติบโตได-ดี

เศษอาหาร

ให-อาหารสัตว

\

ใส)ต-นไม-

รูปที่ 1 ผังเหตุ-ผล หรือตัวแปรต*น(เหตุ) ตัวแปรตาม (ผล) ของโครงงานฐานวิจัยนี้

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น- า

|3

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข*อง น้ําหมักชีวภาพ น้ําหมักชีวภาพ หรือ น้ําสกัดชีวภาพ หรือ น้ําจุลินทรีย เป>นของเหลว สีดําออกน้ําตาล กลิ่นอม เปรี้ยวอมหวาน ไม)เป>นอันตรายต)อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เช)น พืช สัตวทุกประเภท สามารถช)วยปรับความ สมดุลของสิ่งแวดล-อมและสิ่งมีชีวิตได- บางครั้งยังสามารถนําน้ําหมักชีวภาพไปชําระล-างห-องน้ําได- ซึ่งจะช)วย กําจัดกลิ่นเหม็นไดการเก็บรักษาต-องเก็บน้ําหมักชีวภาพไว-ที่อุณหภูมิปกติ ไม)ร-อนหรือเย็นเกินไป เราสามารถทําน้ําหมัก ชีวภาพใช-เองได-จากพืชผักผลไม-และผลผลิตจากธรรมชาติ โดยนําไปหมักตามกรรมวิธีที่ถูกต-อง คือต-องผลิต หัวเชื้อจุลินทรียก)อน แล-วจึงนําหัวเชื้อที่ได-ไปขยายเป>นน้ําหมักชีวภาพต)อไป การทําหัวเชื้อจุลินทรีย นําพืช ผัก หรือผลไม-สับให-เป>นชิ้นเล็ก ๆ ใส)ในภาชนะปUดฝาให-มิดชิด จากนั้นผสมกับกากน้ําตาล ซึ่ง น้ําตาลอาจเป>นน้ําตาลที่ใช-กันปกติ หรือน้ําตาลทรายแดง หรือน้ําตาลทรายขาว ในอัตราส)วน 3 กิโลกรัม ต)อน้ําตาล 1 กิโลกรัม แล-วคลุกเคล-าให-เข-าและปUดฝาทิ้งไว- ทุก ๆ 5-7 วัน ควรเปUดฝาภาชนะ เพื่อคลุกใหเศษผักสัมผัสกับอากาศ ซึ่งจะหมักทิ้งไว-ประมาณ 1-2 เดือน เมื่อครบกําหนดแล-วจะสังเกตเห็นว)ามีน้ําผสมอยู) ซึ่งน้ําที่ได-ก็คือน้ําหัวเชื้อจุลินทรีย เมื่อได-น้ําหัวเชื้อจุลินทรียแล-วควรนําน้ําหัวเชื้อจุลินทรียที่ได- เก็บใส)ไว-ใน ขวดปUดฝาให-สนิท พร-อมที่จะนําไปใช-ในการทํามันหมักหรืออาหารสัตวประเภทอื่น (https://th.wikipedia.org/wiki/%) น้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร น้ําหมักชีวภาพ หรือ น้ําสกัดชีวภาพ หรือ ปุHยน้ําจุลินทรีย ตามแต)จะเรียก เป>นสารละลายเข-มข-นที่ไดจากการหมั ก เศษพื ช หรื อ สั ต ว กั บ สารที่ ใ ห- ค วามหวาน จนถู ก ย) อ ยสลายโดยจุ ลิ น ทรี ย ซึ่ ง เมื่ อ ผ) า น กระบวนการแล-วจะได-สารละลายเข-มข-นสีน้ําตาล ประกอบไปด-วยจุลินทรีย และสารอินทรียหลายชนิด เดิมทีนั้นจุดประสงคของการคิดค-น "น้ําหมักชีวภาพ" ขึ้นมา เพื่อใช-ประโยชนทางการเกษตรโดยเฉพาะ แต)ช)วงหลังก็มีการนําน้ําหมักชีวภาพ มาประยุกตใช-ประโยชนในด-านอื่นเช)นกัน คือ ด- า นการเกษตร น้ํ า หมั ก ชี ว ภาพ มี ธ าตุ อ าหารสํ า คั ญ ทั้ ง ไนโตรเจน ฟอสฟอรั ส โปแตสเซี ย ม แคลเซียม กํามะถัน ฯลฯ จึงสามารถนําไปเป>นปุHย เร)งอัตราการเจริญเติบโตของพืช เพิ่มคุณภาพของผลผลิต ให-ดีขึ้น และยังสามารถใช-ไล)แมลงศัตรูพืชได-ด-วย ด-านปศุสัตว สามารถช)วยกําจัดกลิ่นเหม็น น้ําเสียจากฟารมสัตวได- ช)วยปdองกันโรคระบาดต)าง ๆ ใน สัตวแทนการให-ยาปฏิชีวนะ ทําให-สัตวแข็งแรง มีความต-านทานโรค ช)วยกําจัดแมลงวัน ฯลฯ ด-านการประมง ช)วยควบคุมคุณภาพน้ําในบ)อเลี้ยงสัตวน้ํา ช)วยแก-ปญหาโรคพยาธิในน้ํา ช)วยรักษาโรค แผลต)าง ๆ ในปลา กบ จระเข-ได- ช)วยลดปริมาณขี้เลนในบ)อ ช)วยให-เลนไม)เน)าเหม็น สามารถนําไปผสม เป>นปุHยหมักใช-กับพืชต)าง ๆ ได-ดี ด-า นสิ่ งแวดล- อม น้ํ า หมั กชี วภาพ สามารถช)ว ยบํ า บั ด น้ํา เสี ย จากการเกษตร ปศุสั ต ว การประมง โรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน และสถานประกอบการทั่วไป แถมยังช)วยกําจัดกลิ่นเหม็นจากกองขยะ การ เลี้ยงสัตว โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชนต)าง ๆ นอกจากนี้ยังช)วยปรับสภาพอากาศที่เสียให-สดชื่น และมี สภาพดีขึ้น -โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น- า

|4

ประโยชนในครัวเรื อน เราสามารถนําน้ําหมั กชีวภาพ มาใช-ในการซักล- างทําความสะอาด แทนสบู) ผงซักฟอก แชมพู น้ํายาล-างจาน รวมทั้งใช-ดับกลิ่นในห-องน้ํา โถส-วม ท)อระบายน้ํา ฯลฯ ได-ด-วย เห็นประโยชนใช-สอยของ น้ําหมักชีวภาพ มากมายขนาดนี้ ชักอยากลองทําน้ําหมักชีวภาพดูเองแล-วใช) ไหมล)ะ จริง ๆ แล-ว น้ําหมักชีวภาพมีหลายสูตรตามแต)ที่ผู-คิดค-นขึ้นเพื่อประโยชนใช-สอยต)าง ๆ กัน วันนี้เรา ก็มีวิธีทําน้ําหมักชีวภาพแบบง)าย ๆ มาฝากกันด-วย วิธีทําน้ําหมักชีวภาพเพื่อการเกษตร เราสามารถเลือกส)วนผสมจาก พืช ผลไม-สุก หรือสัตว อย)างหอยเชอรี่ ในการทําน้ําหมักชีวภาพ ไดส)วนผสม : เราสามารถเลือกส)วนผสมจาก พืช ผลไม-สุก หรือสัตว อย)างหอยเชอรี่ อย)างใดอย)าง หนึ่ง ในการทําน้ําหมักชีวภาพ โดยสับเป>นชิ้นเล็ก 3 ส)วน, กากน้ําตาล 1 ส)วน (อาจใช-น้ําตาลทรายแดง หรือ น้ําตาลทรายขาว ผสมน้ํามะพร-าว 1 ส)วนแทนได-) น้ําเปล)า 10 ส)วน วิธีทํา : นําส)วนผสมทั้งหมดมาคลุกเคล-ากัน แล-วบรรจุลงในถังหมักพลาสติก หรือขวดปUดฝาเก็บไว-ใน ที่ร)ม นานประมาณ 3 เดือน แล-วจึงสามารถนําไปใส)เป>นปุHยให-พืชผักผลไม-ได- โดย ใช-น้ําหมักชีวภาพ อัตราส)วน 10 ซีซี ต)อน้ํา 20 ลิตร เพื่อบํารุงใบพืชผักผลไมใช-น้ําหมักชีวภาพอัตราส)วน 15-20 ซีซี ต)อน้ํา 20 ลิตร เพื่อปรับปรุงบํารุงดินให-ดินร)วนซุย ใช-น้ําหมักชีวภาพ อัตราส)วน 1 ส)วน น้ํา 1 ส)วน เพื่อกําจัดวัชพืช ทั้งนี้ มีเทคนิคแนะนําว)า หากต-องการบํารุงส)วนใบพืช ก็ให-ใช-ส)วนใบยอดพืชมาหมัก หากต-องการ บํา รุงผล ให- ใช- ส)ว นผล เช) น กล-ว ยน้ํ าว- าสุ ก มะละกอสุก เปลือกสั บปะรด ฟกทองมาหมัก หรื อหาก ต-องการใช-กําจัดศัตรูพืช ควรหมักสะเดา ตะไคร-หอม ข)า แยกต)างหากด-วย เมื่อจะใช-ก็นํามาผสมฉีดพ)น พืชผักผลไมนอกจากนี้ หากใช-สายยางดูดเฉพาะน้ําใส ๆ จากน้ําหมักชีวภาพที่หมักได- 3 เดือนแล-วออกมา จะ เรียกส)วนนี้ว)า "หัวเชื้อน้ําหมักชีวภาพ" เมื่อนําไปผสมอีกครั้ง แล-วหมักไว- 2 เดือน จะได-หัวเชื้อน้ําหมักชีวภาพ อายุ 5 เดือน ซึ่งหากขยายต)ออายุทุก ๆ 2 เดือน จะได-หัวเชื้อที่อายุมากขึ้นเรื่อย ๆ และประสิทธิภาพสูงมาก ขึ้น วิธีทําน้ําหมักชีวภาพเพื่อการซักล*าง น้ําหมักชีวภาพ สามารถนํามาใช-ประโยชนในการซักล-างได- โดยมีสูตรให-นําผลไม- เปลือกผลไม- (ฝก ส-มปgอย , มะคําดีควาย , มะนาว ฯลฯ) 3 ส)วน น้ําตาลทรายแดงหรือน้ําตาลอ-อย 1 ส)วน และน้ํา 10 ส)วน ใส) รวมกันในภาชนะที่มีฝาปUดสนิท โดยให-เหลือช)องว)างไว-ประมาณ 1 ใน 5 ของขวด/ถัง แล-วหมั่นเปUดฝาคลาย แก™สออก โดยต-องวางไว-ในที่ร)ม อย)าให-ถูกแสงแดด หมักไว-นาน 3 เดือน ก็จะได-น้ําหมักชีวภาพ สําหรับซัก ผ-า หรือล-างจานได- ซึ่งสูตรนี้แม-ว)าผ-าจะมีราขึ้น หากนําผ-าไปแช)ทิ้งไว-ในน้ําหมักชีวภาพก็จะสามารถซักออก ไดวิธีทําน้ําหมักชีวภาพเพื่อดับกลิ่น สูตรหนึ่งของการทําน้ําหมักชีวภาพมาดับกลิ่น คือ ใช-เศษอาหาร พืชผัก ผลไม-ที่เหลือทิ้ง 3 ส)วน กากน้ําตาลหรือโมลาส 1 ส)วน และน้ํา 10 ส)วน ใส)รวมกันในภาชนะที่มีฝาปUดสนิท โดยให-เหลือช)องว)างไวประมาณ 1 ใน 5 ของขวด/ถัง หมักไว-นาน 3 เดือน ก็จะได-น้ําหมักชีวภาพใช-ดับกลิ่นในห-องน้ํา โถส-วม ท)อ ระบายน้ํา กลิ่นปสสาวะสุนัข ฯลฯ ได-อย)างดี

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น- า

|5

ข*อควรระวังในการใช* น้ําหมักชีวภาพ 1. หากใช-น้ําหมักชีวภาพกับพืช ต-องใช-ปริมาณเจือจาง เพราะหากความเข-มข-นสูงเกินไป อาจทําใหพืชชะงักการเจริญเติบโต และตายได2. ระหว)างหมัก จะเกิดก™าซต)าง ๆ ในภาชนะ ดังนั้นต-องหมั่นเปUดฝาออก เพื่อระบายแก™ส แล-วปUด ฝากลับให-สนิททันที 3. หากใช-น้ําประปาในการหมัก ต-องต-มให-สุก เพื่อไล)คลอรีนออกไปก)อน เพราะคลอรีนอาจเป>น อันตรายต)อจุลินทรียที่ใช-ในการหมัก 4. พืชบางชนิด เช)น เปลือกส-ม ไม)เหมาะในการทําน้ําหมักชีวภาพ เพราะน้ํามันที่เคลือบผิวเปลือก ส-มเป>นพิษต)อจุลินทรีย น้ําหมักชีวภาพเพื่อการบริโภค เราอาจเคยได-ยินข)าวว)า มีคนนําน้ําหมักชีวภาพมาใช-บริโภคกันด-วย ซึ่งน้ําหมักชีวภาพที่ใช-ในการ บริโภค หรือ เอนไซม เป>นสารโปรตีน วิตามินเอ บี ซี ดี อี เค อะมิโนแอซิค(Amino acid) และ อะเซทิลโคเอ (Acetyl Coa) ที่ได-จากการหมักผลไม-นานาชนิด เมื่อหมักระยะเริ่มแรกจะเป>นแอลกอฮอล ระยะต)อมา เป>นน้ําส-มสายชู ซึ่งมีรสเปรี้ยว อีกระยะหนึ่งเป>นยาธาตุ มีรสขม ก)อนจะได-เป>นน้ําหมักชีวภาพ (เอ็นไซม) ซึ่งใช-เวลาหมักขยายประมาณ 2 ป แต)หากจะนําไปดื่มกินควรผ)านการหมักขยายเป>นเวลา 6 ปขึ้น ไป (https://hilight.kapook.com/view/50873)

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น- า

|6

อุปกรณและวิธีการทดลอง อุปกรณในการทําน้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร 1.ถังหมัก 4 ใบ 2.เศษอาหาร 10 กิโลกรัม 3.EM 10 ช-อนโต™ะ 4.น้ํา 49 ลิตร 5.กากน้ําตาล 10 กิโลกรัม อุปกรณในการปลูกต*นดาวเรือง 1.เมล็ดพันธุดาวเรือง 2.กระถางเพาะเมล็ด 5 กระถาง วิธีการทําน้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหาร 1. นําขยะเศษอาหารใส)ในถังพลาสติก (ถ-าชิ้นใหญ) ควรสับให-เล็กลง) 2. ใส)กากน้ําตาลคลุกเคล-าให-ทั่ว 3. เติมหัวเชื้อจุลินทรีย (EM) และน้ํา 4. คนให-เข-ากันแล-วปUดฝาถังให-สนิท 5. หมักต)อไปนาน 30-45 วัน จึงนําน้ําหมักมาใช-ไดวิธีการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของน้ําหมักชีวภาพ ทดลองโดยการนําต-นดาวเรืองทั้ง 15 ต-น มาปลูกในสภาพแวดล-อมเดียวกัน จากนั้นนําน้ําหมักสูตรที่ 1 รดต-นที่ 1 – 3 สูตรที่ 2 รดต-นที่ 4 – 6 สูตรที่ 3 รดต-นที่ 7 – 9 สูตรที่ 4 รดต-นที่ 10 - ต-นที่ 13 - 15 ไม)รด โดยใช-น้ําหมักรดต-นดาวเรือง สัปดาหละ 1 ครั้ง แล-วทําการวัดการเจริญเติบโตของต-น ดาวเรือง ต-นที่ 1 – 15 ซึ่งการวัดการเจริญเติบโตคือการวัดความสูงและนับจํานวนใบของต-นดาวเรือง การสร*างเหตุ ( ตัวแปลต*นหรือเปIนสิ่งที่สร*างได* วัดได* ) น้ําหมักชีวภาพทั้ง 4 สูตร ซึ่งเราคิดค-นสูตรแต)ละสูตรขึ้นมาใหม)โดยประยุกตจากสูตรที่สืบค-นจากแหล)ง เรียนรู-ต)าง ๆ สูตรที่ 1 EM 2 ช-อนโต™ะ , เศษอาหาร 1 กิโลกรัม , น้ํา 9 ลิตร , กากน้ําตาล 1 กิโลกรัม สูตรที่ 2 EM 4 ช-อนโต™ะ , เศษอาหาร 2 กิโลกรัม , น้ํา 10 ลิตร , กากน้ําตาล 2 กิโลกรัม สูตรที่ 3 EM 6 ช-อนโต™ะ , เศษอาหาร 3 กิโลกรัม , น้ํา 11 ลิตร , กากน้ําตาล 3 กิโลกรัม สูตรที่ 4 EM 8 ช-อนโต™ะ , เศษอาหาร 4 กิโลกรัม , น้ํา 12 ลิตร , กากน้ําตาล 4 กิโลกรัม การควบคุมเหตุ( ตัวแปรควบคุม หรือเหตุที่คุมไว*ไม)ให*ส)งไปก)อให*เกิดผล ) ขนาดของถังที่ใช-หมัก ระยะเวลาที่ใช-หมัก สภาพแวดล-อมบริเวณที่ปลูกพืช ชนิดของดินที่ปลูกพืช ชนิดของพืช การวัดผล( ตัวแปรตามเปIนสิ่งที่สังเกตได* วัดได* ) วัดความสูงและนับจํานวนใบของต-นไม-

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น- า

ผลการวิจัย ตารางที่ 1 ผลการวัดการเจริญเติบโตของต*นดาวเรือง จํานวนใบและความสูงของลําต*นในเวลา ที่

ต*นที่

1

เฉลี่ย

สัปดาหที่

2

สัปดาหที่

3

สัปดาหที่

4

สัปดาหที่

5

สัปดาหที่

6

สัปดาหที่

7

สัปดาหที่

8

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

1 2

6 6

11.50 11.30

10 11

12.60 12.65

26 27

14.10 14.00

28 30

18.20 18.30

30 31

23.00 23.40

28 32

23.05 24.10

22 35

24.05 24.50

20 36

25.00 25.06

3

7

12.00

12

13.04

27

15.00

29

17.05

32

21.90

34

22.00

36

25.00

38

25.08

11.60 11.00

12.76

26.67

14.37 29.00

17.85

31.00

22.77 31.33

23.05

31.00

24.52

31.33

25.05

6.33 4

6

13.50

12

14.00

30

16.00

38

26.00

40

27.00

40

30.00

44

32.00

54

35.00

5

7

14.05

11

15.02

28

17.00

32

19.05

35

20.00

37

22.04

39

24.00

43

25.60

6

7

15.00

13

14.07

21

16.09

23

20.00

39

23.00

41

31.07

43

32.01

46

33.00

14.18 12.00

14.36

26.33

16.36 31.00

21.68

38.00

23.33 39.33

27.70

42.00

29.34

47.67

31.20

6.67

เฉลี่ย

3

1

ใบ

เฉลี่ย

2

สัปดาหที่

2 เดือน

7

6

10.00

10

12.00

20

16.00

34

25.00

45

27.00

50

31.00

50

32.50

52

33.50

8

8

11.50

11

13.00

15

15.03

18

16.90

25

18.00

26

20.09

28

23.04

29

25..05

9

7

13.00

10

15.55

14

17.00

18

20.09

23

23.04

25

23.05

31

25.00

33

27.80

13.52

16.33

20.66

31.00

24.71

36.33

26.85

38.00

30.65

7.00

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

11.50 10.33

16.01 23.33

22.68 33.67

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

|1


ห น- า จํานวนใบและความสูงของลําต*นในเวลา ที่

ต*นที่

4

เฉลี่ย

1

สัปดาหที่

2

สัปดาหที่

3

สัปดาหที่

4

สัปดาหที่

5

สัปดาหที่

6

สัปดาหที่

7

สัปดาหที่

8

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

ใบ

สูง

10

6

11.00

8

13.00

16

18.00

22

28.00

30

29.00

26

30.00

26

31.00

27

33.00

11

9

13.00

15

19.05

18

20.00

20

23.55

25

25.30

28

29.55

32

31.20

35

33.40

12

7

15.00

9

18.00

13

20.60

15

23.50

17

25.80

19

26.00

23

28.25

26

30.35

13.00 10.67

16.68

15.67

19.53 19.00

25.02

24.00

26.70 24.33

28.52

27.00

30.15

29.33

32.25

7.33

เฉลี่ย

ไม)ใช-น้ํา หมักฯ

สัปดาหที่

2 เดือน

13

6

11.50

8

13.50

6

14.20

18

16.00

20

17.00

18

19.50

20

22.00

20

23.50

14

9

13.00

16

15.25

16

17.50

19

20.40

21

22.03

-

0.00

0

0.00

0

0.00

15

8

12.00

11

13.05

13

15.60

14

15.50

15

17.00

15

18.00

17

18.00

0

0.00

13.93

11.67

17.30

18.67

12.50

12.33

13.33

6.67

7.83

7.67

12.17 11.67

15.77 17.00

18.68 16.50

จาการทดลองนําน้ําหมักชีวภาพไปรดต-นดาวเรืองที่เตรียมไว- ทําให-เราผลการทดลองได-ตามตารางบันทึกผล ดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง *หมายเหตุ : ใบ หมายถึง จํานวนใบ : สูง หมายถึง ความสูงของลําต-น (ซม.) : - หมายถึง ต-นดาวเรืองตาย

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

|2


ห น- า

ตารางที่ 2 จํานวนใบเฉลี่ยของต*นดาวเรืองที่รดด*วยน้ําหมักชีวภาพแต)ละสูตร สูตรที่ สัปดาหที่ 1 สัปดาหที่ 2 สัปดาหที่ 3 สัปดาหที่ 4 1 6.33 11.00 26.67 29.00 2 6.67 12.00 26.33 32.33 3 7.00 10.33 16.33 23.33 4 7.33 10.67 15.67 19.00 ไม)รดน้ําหมัก 7.67 11.67 11.67 17.00

สัปดาหที่ 5 31.00 38.00 32.33 24.00 18.67

สัปดาหที่ 6 31.33 39.33 33.67 24.33 16.50

สัปดาหที่ 7 31.00 42.00 36.33 28.33 12.33

สัปดาหที่ 8 31.33 47.67 38.00 29.33 6.67

ตารางที่ 3 ความสูงเฉลี่ยของต*นดาวเรือง(เซนติเมตร)ที่รดด*วยน้ําหมักชีวภาพแต)ละสูตร สูตรที่ สัปดาหที่ 1 สัปดาหที่ 2 สัปดาหที่ 3 สัปดาหที่ 4 สัปดาหที่ 5 1 11.60 12.76 14.37 17.85 25.43 2 14.18 14.36 16.36 21.68 24.67 3 11.50 13.52 16.01 20.66 24.01 4 13.00 16.68 15.67 27.68 26.70 ไม)รดน้ําหมัก 12.17 11.67 15.77 17.30 18.68

สัปดาหที่ 6 24.38 27.70 26.05 28.52 12.50

สัปดาหที่ 7 24.52 29.34 28.18 30.15 13.33

สัปดาหที่ 8 25.05 31.20 30.65 32.25 9.17

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

|3


ห น- า

กราฟที่ 1 จํานวนใบเฉลี่ยของต*นดาวเรืองที่รดด*วยน้ําหมักชีวภาพแต)ละสูตร 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 สัปดาหที่ 1

สัปดาหที่ 2

สัปดาหที่ 3 1

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

สัปดาหที่ 4 2

3

สัปดาหที่ 5 4

ไม)รดน้ําหมัก

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

สัปดาหที่ 6

สัปดาหที่ 7

สัปดาหที่ 8

|4


ห น- า

กราฟที่ 2 แสดงความสูงเฉลี่ยของต*นดาวเรือง(เซนติเมตร)ที่รดด*วยน้ําหมักชีวภาพแต)ละสูตร 35.00 30.00 25.00 20.00 15.00 10.00 5.00 0.00 สัปดาหที่ 1

สัปดาหที่ 2

สัปดาหที่ 3 1

-โครงการเพาะพันธุปญญา ป 2560-

สัปดาหที่ 4 2 3

สัปดาหที่ 5 สัปดาหที่ 6 4 ไม)รดน้ําหมัก

ศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

สัปดาหที่ 7

สัปดาหที่ 8

|5


สรุปผล จากการศึกษาประสิทธิภาพของน้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหารพบว)า เมื่อวัดการเจริญเติบโตเป>นเวลา 8 สัปดาห น้ําหมักชีวภาพ สูตรที่ 2 ทําให-ต-นดาวเรืองมีจํานวนใบมากที่สุด คือ เฉลี่ย 47.67 ใบ ลําดับ ต)อมา คือ สูตรที่ 3 เฉลี่ย 38 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 1 เฉลี่ย 31.33 ใบ ลําดับต)อมา คือ สูตร ที่ 4 เฉลี่ย 29.33 ใบ ลําดับสุดท-ายคือ ต-นดาวเรืองที่ไม)ได-รดน้ําหมักชีวภาพ มีจํานวนใบเฉลี่ย 6.67 ใบ จากการวัดความสูงของต-นดาวเรือง พบว)า น้ําหมักชีวภาพ สูตรที่ 4 ทําให-ต-นดาวเรืองมีความสูง มากที่สุด คือ เฉลี่ย 32.25 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตร 2 เฉลี่ย 31.20 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 3 เฉลี่ย 30.65 เซนติเมตร ลําดับต)อมา คือ สูตรที่ 1 เฉลี่ย 25.05 เซนติเมตร ลําดับ สุดท-าย คือ ต-านดาวเรืองที่ไม)ได-รดน้ําหมักชีวภาพ เฉลี่ย 7.83 เซนติเมตร

อภิปรายผล จากการทดลองนําน้ําหมักชีวภาพมาทดสอบกับต-นดาวเรืองทั้ง 12 ต-น โดยแยกตามสูตร และต-น ดาวเรืองอีก 3 ต-น จัดเป>นชุดควบคุมซึ่งจัดสิ่งแวดล-อมทุกอย)างเหมือนต-นดาวเรือง 12 ต-น แต)ไม)รดน้ํา หมักชีวภาพเลย นําน้ําหมักชีวภาพมารดต-นดาวเรืองทุก ๆ สัปดาห แล-วทําการวัดการเจริญเติบโต คือ การ นับจํานวนใบและการวัดความสูง พบว)า สูตรที่ 2 มีผลเฉลี่ยการเจริญเติบโตต-นดาวเรืองสูงกว)าสูตรอื่น ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับผลเฉลี่ยรวม แต)สูตรที่ 3 กราฟแสดงผลการเจริญเติบโตจํานวนใบเฉลี่ยของต-นดาวเรือง และกราฟแสดงความสูงเฉลี่ยของต-นดาวเรืองมีการเพิ่มขึ้นอย)างสม่ําเสมอเมื่อเปรียบเทียบกับสูตรอื่นรวมทั้งชุด ควบคุม จากผลการทดลอง จะพบว)าน้ําหมักชีวภาพจากเศษอาหารในแต)ละสูตรเหมาะสมกับช)วงอายุในแต) ละสัปดาหของต-นดาวเรือง เช)น หากอยากเพิ่มจํานวนใบและความสูงในสัปดาหที่ 1 ให-ใช-สูตรที่ 4 รดต-น ดาวเรือง แต)ถ-าเพิ่มเฉพาะความสูง ใช-สูตรที่ 2 รดต-นดาวเรือง หรือเพิ่มเฉพาะจํานวนใบ ไม)ต-องรดน้ํา หมักชีวภาพจากเศษอาหาร เป>นต-น

0


เอกสารอ*างอิง 1. Chiang Mai University Library , การอ-างอิงทางบรรณานุกรรม สืบค-นเมื่อ 31 ก.ค. 2560 จาก www.library.cmu.ac.th 2. บ-านไร)นา , 4 สูตรน้าํ หมักชีวภาพยอดนิยม สืบค-นเมื่อ 31 ก.ค. 2560 จาก www.banrainarao.com Konking , การทําน้ําหมักชีวภาพไว-ใช-เอง 3. สืบค-นเมื่อ 1 ส.ค. 2560 จาก www.oknation.nationtv.tv 4. ครบเครื่องเรื่องปุHยแบบปราชญชาวบ-าน(2558) , สูตรปุHยฮอรโมนเร)งดอก ผล กําจัดแมลง สืบค-นเมื่อ 1 ส.ค. 2560 จาก www.kasetthai2015.blogspot.com

1


ภาคผนวก

2


ภาพกิจกรรม

เตรียมอุปกรณในการทําน้ําหมักชีวภาพ

สับเศษอาหารให-ชิ้นเล็กลง

ใส)น้ํา เศษอาหาร EM กากน้ําตาล ผสมให-เข-ากัน หมักไว- 30 วัน

3


เพาะเมล็ดดาวเรืองพร-อมกันกับวันที่หมักปุHย

เมื่อครบ 30 วัน นําดาวเรืองที่เพาะไว-มารดด-วยน้ําหมักชีภาพจากเศษอาหารทุก ๆ สัปดาห

4


5


รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ โครงงานย)อยที่ 8 เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการอ)านฉลากโภชนาการ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

อาจารยที่ปรึกษาโครงงาน นางสาวแสงเดือน บกน-อย

คณะผู-จัดทําวิจัย(นักเรียน)

นายอภิสิทธิ์ แพทยทองซิว นางสาวภานุมาศ กลางนา นางสาวภาวิณี แดงอุไร นางสาววิยะดา ชาวไทย

สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สวก) และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย ชุดโครงการ “เพาะพันธุปญญา (พัฒนายุวิจัย)

6


กิตติกรรมประกาศ โครงงานย)อยที่ 8 เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการอ)านฉลากโภชนาการ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ บริโภคอาหารสําเร็จลุล)วงไปได-ดว- ยความกรุณาของอาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ได-แก) อาจารยแสงเดือน บกน-อย อาจารยเดชมณี เนาวโรจน แนะนํา วิธีการทํา จนสําเร็จลุล)วงด-วยดี ขอบคุณผู-ให-การสนับสนุนทุน สกว. ธนาคารกสิกรไทย และศูนยพี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะผู-จัดทําจึงขอกราบขอบพระคุณเป>นอย)างสูง ไว- ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให-กําลังใจในการศึกษาเล)าเรียนและสมาชิกในกลุ)ม ที่ให-ความ ร)วมมือเป>นอย)างดี ในการทําโครงงานครั้งนี้ จนกระทั่งประสบความสําเร็จด-วยดี

7


บทนํา

ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ปญหาโภชนาการเกินและโรคอ-วนในเด็กมีอัตราเพิ่มขึ้นอย)างต)อเนื่อง จากการสํารวจพบว)า เด็กอายุ 6-13 ปอ-วนเพิ่มขึ้นจากร-อยละ5.8 เป>นร-อยละ6.7 หรือเพิ่มขึ้นร-อยละ15.5 ในระยะเวลา 5 ป (กองโภชนาการ, 2546) เป>นปญหาสาธารณสุขที่สําคัญทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกโดยเป>นภัยเงียบที่ร-ายแรง เนื่องจากไม) แสดงอาการผิดปกติใดๆในระยะแรก จนกระทั่งมีความรุนแรงมากขึ้นส)งผลกระทบต)อสุขภาพร)างกาย เกิดโรค เรื้อรังที่พบบ)อยคือ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ โรคถุง ลมโปgงพอง โรคอ-วนลงพุงทําให-คุณภาพชีวิตลดลง และยังส)งผลต)อสุขภาพจิต อารมณสังคม เกิดความวิตก กังวล ความเครียดแลความรู-สึกมีปมด-อยและมีผลทางอ-อมทําให-ประสิทธิภาพในการเรียนหรือการทํางานลดลง ซึ่งปญหาดังกล)าวทําให-ต-องสูญเสียค)าใช-จ)ายจํานวนมากในการรักษาพยาบาล ทั้งในระดับครอบครัวชุมชน และ ประเทศชาติพันธุกรรมและสิ่งแวดล-อมเป>นปจจัยสําคัญที่ทําให-เกิดภาวะโภชนาการเกินและโรคอ-วนในเด็ก โดยปจจัยทางพันธุกรรมไม)สามารถเปลี่ยนแปลงได-แต)ปจจัยทางด-านสิ่งแวดล-อมสามารถปรับเปลี่ยนได-อาทิ พฤติกรรมการบริโภคอาหารชนิดของอาหารและเครื่องดื่มที่เด็กบริโภคโดยเฉพาะอาหารที่ให-พลังงานนํ้าตาล และไขมันสูง ที่มาจากขนมขบเคี้ยวและเครื่องดื่มในปจจุบันพบว)าสถานการณสิ่งแวดล-อมและเศรษฐกิจที่ เปลี่ยนแปลงไป อาหารสําเร็จรูปที่มีในท-องตลาดจํานวนมากผู-ประกอบการยังให-ความสําคัญในด-านคุณค)าทาง โภชนาการค)อนข-างน-อยแต)มุ)งเน-นการตลาดโดยมูลค)าการโฆษณาเพิ่มขึ้นจาก6.5 พันล-านบาทในป2541 เป>น 16.5 พันล-านบาทในป2551 และใช-รูปลักษณที่สวยงามของบรรจุภัณฑเป>นจุดสนใจนอกจากนี้ยังพบว)าป2552 เด็กมีความถี่ในการบริโภคขนมขบเคี้ยวเพิ่มขึ้น 2 เท)าจากป2546 ค)าใช-จ)ายในการซื้อขนมสูงถึง8,900 บาทต)อ คนต)อปมากกว)าเงินที่ใช-ซื้อเครื่องเขียนทําให-เด็กมีการบริโภคขนมขบเคี้ยวและเครื่องดื่มเพิ่มมากขึ้นจากการ สํารวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารว)างและขนมของเด็กนักเรียน พบว)าเด็กในระดับประถมศึกษาเป>นกลุ)มที่ บริโภคอาหารว)างมากที่สุดกรวาลโดยบริโภคขนมขบเคี้ยวและเครื่องดื่มคิดเป>นร-อยละ27 ของอาหารที่บริโภค ต)อวัน คิดเป>นพลังงาน 300 กิโลแคลอรีซึ่งเท)ากับหนึ่งในสี่ของพลังงานที่ควรได-รับต)อวัน นอกจากนี้ยังพบว)า เด็กที่บริโภคขนมขบเคี้ยวทุกวันมีสูงถึงร-อยละ 56.7 และดื่มน-าอัดลมหรือน้ําหวานโดยดื่มบางวันคิดเป>นร-อยละ 43.9 โดยให-เหตุผลว)าเป>นความเคยชินมากที่สุดในระดับประถมศึกษาที่อยู)ในช)วงอายุ10–12 ปเป>นวัยที่เริ่มมี ความพร- อมทางด- านร) างกายและสติปญญามี ความสามารถที่จ ะเรี ยนรู- มีความรู- สึกนึ กคิด มีวุฒิ ภาวะในการ พัฒนา มี อิสระในการตัด สินใจสามารถพิ จารณาเปรียบเทียบข-อมู ลฉลากโภชนาการของขนมขบเคี้ยวและ เครื่องดื่มที่ให-ข-อมูลที่เป>นประโยชนเกี่ยวกับพลังงานและสารอาหารที่ได-รับหากเด็กได-รับการส)งเสริมให-มีความ เข- าใจและตระหนั กถึ งความสํ า คั ญ ของการอ) า นฉลากโภชนาการของขนมขบเคี้ ย วและเครื่ องดื่ มสามารถ เปรียบเทียบและเลือกบริโภค โดยเฉพาะอย)างยิ่งขนมที่เป>นอาหารว)าง เพื่อให-เกิดบริโภคนิสัยเพื่อสุขภาพ ฉะนั้นการให-ข-อมูลความรู-กับเด็กในการอ)านฉลากและในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ พบว) า มีนั กเรี ยนที่มีภาวะโภชนาการเกิ นเกณฑ คื ออ- วน เพิ่ มมากขึ้น รวมถึงนักเรีย นอื่ นมี พฤติ กรรมการ บริโภคขนมขบเคี้ยว หรือน้ําหวาน น้ําอัดลม หรือการปรุงอาหารที่มีรสจัดมาก ที่เป>นปจจัยเสี่ยงต)อการเกิด โรคไม)ติดต)อเรื้อรังสูง กลุ)มผู-ทําการศึกษา จึงมีความต-องการทําโครงงานนี้เพื่อให-ความรู- รณรงคในการอ)านฉลากโภชนาการ ฉลาก หวาน มัน เค็ม(ฉลาก GDA ) สัญลักษณโภชนาการ“ทางเลือกสุขภาพ” เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมการ บริโภคอาหารดังกล)าว 8


คําถามที่อยากรู* เราอยากทราบว)า การที่เราใส)ใจและสนใจในการอ)านฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) และ สัญลักษณโภชนาการ ทางเลือกสุขภาพ การดูปริมาณแคลอรี่ที่ได-รับในแต)ละวัน สามารถพัฒนาและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภตอาหารเพื่อลดปจจัยเสี่ยงต)อโรคไม)ติดต)อเรื้อรัง ของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ได-หรือไม) ได-มากน-อยเพียงใด

วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการพัฒนาการอ)านฉลากโภชนาการ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข*อ ฉลากโภชนาการคืออะไร ฉลากโภชนาการ คือ ฉลากอาหารที่มีการแสดงข-อมูลโภชนาการ ซึ่งระบุชนิดและปริมาณสารอาหารของ อาหารนั้นในกรอบสี่เหลี่ยมเรียกว)า “กรอบข*อมูลโภชนาการ” ซึ่งมีอยู) 2 รูปแบบ ได-แก) แบบเต็มและแบบย)อ 1.ฉลากโภชนาการแบบเต็ม เป>นฉลากที่แสดงชนิดและปริมาณสารอาหารที่สําคัญควรทราบ 15 รายการ สําหรับฉลากที่มีความสูงจํากัด สามารถแสดงฉลากโภชนาการเต็มรูปแบบในลักษณะแบบแนวนอนหรือแบบ ขวางตามที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุขกําหนดไว-

2.ฉลากโภชนาการแบบย)อ ใช-ในกรณีที่สารอาหารตั้งแต) 8 รายการ จากจํานวนที่กําหนดไว- 15 รายการ นั้น มีปริมาณน-อยมากจนถือว)าเป>นศูนย จึงไม)มีความจําเป>นที่ต-องแสดงให-เต็มรูปแบบ

9


ปริมาณสูงสุดที่บริโภคได*ต)อวัน สําหรับคนไทยอายุตั้งแต) 6 ปขึ้นไป ในหนึ่งวันไม)ควรได-รับพลังงาน น้ําตาล ไขมัน และโซเดียม มากกว)า ปริมาณสูงสุดที่แนะนํา ดังนี้ พลังงานไม)ควรเกิน 2,000 กิโลแคลอรี น้ําตาลไม)ควรเกิน 65 กรัม ไขมันไม)ควร เกิน 65 กรัม โซเดียมไม)ควรเกิน 2,400 มิลลิกรัม วิธีการอ)านฉลากโภชนาการ 1. ดูปริมาณหนึ่งหน)วยบริโภค เป>นปริมาณการกินต)อครั้งที่แนะนําให-ผู-บริโภครับประทาน 2. ดูจํานวนหน)วยบริโภคต)อภาชนะบรรจุ เป>นจํานวนที่บอกว)าถ-ากินครั้งละหนึ่งหน)วยบริโภคจะแบ)งกินได-กี่ ครั้ง 3. ดูคุณค)าทางโภชนาการต)อหนึ่งหน)วยบริโภค ว)าจะได-พลังงานเท)าใด สารอาหารอะไรบ-าง ในปริมาณ เท)าใด 4. ดูร-อยละของปริมาณที่แนะนําต)อวัน ฉลากหวาน มัน เค็ม หรือฉลาก GDA (Guideline Daily Amount) คือฉลากที่แสดงค)าพลังงาน น้ําตาล ไขมัน และโซเดียม ในหนึ่งหน)วยบรรจุภัณฑ เช)น ซอง ถุง กล)องของผลิตภัณฑอาหารนั้น โดยฉลาก หวาน มัน เค็ม จะแสดงอยู)ด-านหน-าบรรจุภัณฑ ซึ่งในปจจุบันพบได-ในผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปพร-อมบริโภคทันทีบางชนิด ได-แก) มันฝรั่งทอดกรอบหรืออบ กรอบข-าวโพดคั่วทอดหรืออบกรอบ ข-าวเกรียบหรืออาหารขบเคี้ยวชนิดอบพอง ขนมปงกรอบหรือแครก เกอรหรือบิสกิต เวเฟอรสอดไสรูปแบบของฉลากหวานมันเค็ม ส)วนที่ 1 บอกให-ทราบถึงคุณค)าทางโภชนาการ ได-แก) พลังงาน น้ําตาล ไขมัน โซเดียม ที่ได-รับจากการ บริโภคหนึ่งหน)วยบรรจุภัณฑ เช)น ต)อ 1 ถุง หรือ ต)อ 1 ซอง เป>นต-น ส)วนที่ 2

บอกให-ทราบว)าเพื่อความเหมาะสมควรแบ)งกินกี่ครั้ง

ส)วนที่ 3

บอกให-ทราบว)าเมื่อกินเข-าไปหมดทั้งถุงหรือซอง จะได-รับพลังงาน น้ําตาล ไขมัน และโซเดียมปริมาณเท)าไร

ส)วนที่ 4 บอกให-ทราบว)าเมื่อกินหมดทั้งถุงหรือซองจะได-รับพลังงาน น้ําตาล ไขมัน และโซเดียมคิดเป>นร-อย ละเท)าไรของปริมาณสูงสุดที่แนะนําให-บริโภคต)อวัน ปริมาณสูงสุดที่แนะนําให*บริโภคได*ต)อวัน พลังงาน (กิโลแคลอรี่) 2,000

ไขมัน (กรัม) 65

น้ําตาล (กรัม) 65

โซเดียม (มิลลิกรัม) 2,400 10


11


ตัวเลขที่ฉลากหวาน มัน เค็ม มีประโยชนอย)างไร 1. บอกให-รู-ว)าผลิตภัณฑอาหารนั้น มีปริมาณพลังงาน น้ําตาล ไขมัน และโซเดียม เท)าใด 2. ส)งเสริมให-เกิดการบริโภคอาหารอย)างสมดุล โดยในแต)ละวันมีเปdาหมายในการรับประทานอาหาร ใหร)างกายได-รับพลังงาน น้ําตาล ไขมันและโซเดียมไม)เกิน 100% ของปริมาณสูงสุดที่แนะนําให-บริโภคได-ต)อวัน 3. ใช-เปรียบเทียบปริมาณพลังงาน น้ําตาล ไขมัน และโซเดียมระหว)างผลิตภัณฑอาหารชนิดเดียวกัน เพื่อ เลือกบริโภคหรือหลีกเลี่ยงอาหารได-ตามความต-องการของแต)ละคน โดยเฉพาะผู-ที่ต-องการควบคุมอาหาร ผู-มี ความเสี่ยงหรือปgวยเป>นโรคเรื้อรังต)าง ๆ ฉลากโภชนาการทางเลือกสุขภาพ

สัญลักษณโภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” แสดงว)าผลิตภัณฑนั้นมีปริมาณสารอาหาร เช)น น้ําตาล ไขมัน โซเดียม อยู)ในเกณฑที่คณะอนุกรรมการพัฒนาและส)งเสริมการใช-สัญลักษณโภชนาการอย)างง)ายกําหนด ยกตัวอย)าง น้ําปลากําหนดให-มีโซเดียมไม)เกิน 6,000 มิลลิกรัมต)อน้ําปลา 100 มิลลิลิตร โดยทั่วไป 1 ช-อนชา มีโซเดียมประมาณ 500 มิลลิกรัม แต)น้ําปลาที่มีการแสดงสัญลักษณนี้บนฉลาก 1 ช-อนชา จะมีโซเดียมไม)เกิน 300 มิลลิกรัม สําหรับผู-ที่ชื่นชอบการดื่มน้ําอัดลม น้ําผักและน้ําผลไม- น้ําอัดลมและน้ําหวานกลิ่นรสต)าง ๆ น้ํานมถั่วเหลือง น้ําธัญพืชต)าง ๆ หากเลือกยี่ห-อที่มีการแสดง “สัญลักษณโภชนาการ ทางเลือกสุขภาพ” บน ฉลาก ก็จะได-รับประโยชนด-านการลดปริมาณน้ําตาลลงเช)นกัน เพราะจะมีปริมาณน้ําตาลไม)เกิน 6 กรัมต)อ เครื่องดื่ม 100 มิลลิลิตร หากเครื่องดื่มที่กล)าวข-างต-นมีขนาดบรรจุ 200 มิลลิลิตร และดื่มครั้งเดียวหมดจะ ได-รับน้ําตาลไม)เกิน 12 กรัม หรือไม)เกิน 3 ช-อนชา สัญลักษณนี้นอกจากช)วยให-สามารถตัดสินใจเลือกซื้อไดง)ายขึ้นแล-ว ยังช)วยลดปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไม)ติดต)อเรื้อรัง (NCDs) เช)น โรคอ-วน โรคเบาหวาน ความดัน โลหิตสูง ภาวะไตวายเรื้อรัง หัวใจและหลอดเลือด ฯลฯ ที่สําคัญจะช)วยลดภาระค)าใช-จ)ายของประเทศในการ รักษาพยาบาลโรคดังกล)าวในระยะยาวด-วย จึงขอให-ผู-บริโภค “อ)านฉลาก อย)างฉลาด ลดเสี่ยงโรคภัย มีแต)ไดไม)มีเสีย”

โรค NCDs คืออะไร โรค NCDs หรือ non-communicable diseases เป>นกลุ)มโรคไม)ติดต)อเรื้อรัง คือ ไม)ได-เกิดจากเชื้อโรค และไม)สามารถแพร)กระจายจากคนสู)คนได- แต)เป>นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดําเนินชีวิต ซึ่งจะมีการ ดําเนินโรคอย)างช-าๆ ค)อยๆ สะสมอาการอย)างต)อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคแล-วมักจะเกิดการเรื้อรังของ โรคด-วย จึงอาจจัดว)าโรค NCDs เป>นกลุ)มโรคเรื้อรังได12


ตัวอย)างของโรค NCDs 1. โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด เช)น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ 2. โรคหลอดเลือดสมอง 3. โรคเบาหวาน 4. โรคมะเร็งต)างๆ 5. โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง เช)น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ถุงลมโปgงพอง 6. โรคไตเรื้อรัง 7. โรคอ-วนลงพุง 8. โรคตับแข็ง 9. โรคสมองเสื่อม พฤติกรรมเสี่ยง...ตัวการก)อโรค NCDs สาเหตุหลักสําคัญของกลุ)มโรค NCDs คือพฤติกรรมเสี่ยงต)างๆ ในการดําเนินชีวิต ไม)ว)าจะเป>นการ รับประทานอาหารรสจัด เช)น หวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปU•งย)าง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล การสูบบุหรี่ การไม)ออกกําลังกาย การนอนดึก การมีความเครียดสูง การรับประทานยาโดยไม)ปรึกษาแพทย เป>นต-น ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมการดําเนินชีวิตเช)นนี้จึงมีความเสี่ยงที่จะเป>นโรค NCDs ได-มากกว)าคนอื่นๆ ความรุนแรงของโรค NCDs แม-โรค NCDs จะไม)ใช)โรคติดต)อ แต)จากข-อมูลขององคการอนามัยโลกพบว)า ตลอดช)วงเวลา 10 ปที่ผ)านมา กลุ)มโรค NCDs เป>นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย โดยมีคนไทยปgวยด-วยโรค NCDs ถึง 14 ล-านคน เสียชีวิตกว)า 300,000 คนต)อป และคาดว)าจะมีแนวโน-มเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ป ซึ่งส)วนใหญ)เสียชีวิต ก)อนอายุ 60 ป ปรับพฤติกรรม ลดความเสี่ยงโรค NCDs -การปdองกันโรค NCDs ทําได-ง)ายๆ โดยเริ่มจากตัวเรา นั่นก็คือการปรับพฤติกรรมการดําเนินชีวิต เช)น -รับประทานอาหารที่มีประโยชนให-ครบ 5 หมู) เน-นการรับประทานผักและผลไม-หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสหวานจัด เค็มจัด อาหารมัน รวมถึงอาหารปU•งย)าง -ออกกําลังกายอย)างสม่ําเสมอ อย)างน-อย 30 นาที/ครั้ง สัปดาหละ 5 ครั้ง -งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล งดสูบบุหรี่ -พักผ)อนให-เพียงพอ ผ)อนคลายความเครียด -ตรวจสุขภาพประจําปอย)างสม่ําเสมอ -รับประทานยาตามแพทยสั่ง ไม)ซื้อยารับประทานเองโดยไม)ปรึกษาแพทยหรือเภสัชกร -หากมีอาการผิดปกติใดๆ ควรรีบปรึกษาแพทย

13


วิธีการศึกษาข*อมูล ผู-ศึกษาจึงมีความต-องการที่จะศึกษาพฤติกรรม ความรู- และเจตคติต)อการสร-างและทิ้งขยะ เพื่อหา วิธีการที่ถูกต-องโดยศึกษาข-อมูลดังต)อไปนี้ 1. เลือกกลุ)มเปdาหมายที่จะทําการศึกษา โดย เลือกศึกษาพฤติกรรมการอ)านฉลากโภชนาการของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 89 คน และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ทั้งหมด จํานวน 97 คน รวม 186 คน 2. ให-กลุ)มตัวอย)างทําแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภค อาหารก)อนได-รับความรู- และสรุปผล 3. ผู-ทําวิจัยจัดกิจกรรมให-ความรู-เรื่องความสําคัญของการอ)านฉลากโภชนาการ ความรู-เรื่องโรคไม) ติดต)อเรื้อรัง (NCDs) ทั้งแบบกลุ)มใหญ) และ กลุ)มย)อย 4. สังเกตติดตามพฤติกรรมการซื้ออาหารสําเร็จรูป ขนม ในห-องสหกรณร-านค-าของโรงเรียนของ นักเรียนกลุ)มตัวอย)างในช)วงพักกลางวัน 5. ให-กลุ)มตัวอย)างทําแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภค อาหารกหลังได-รับความรู- และสรุปผล 6. อภิปรายและสรุปผลการวิจัย

ผลการวิจัย ส)วนที่ 1 ข*อมูลเกี่ยวกับนักเรียน 1. ข-อมูลผู-ทําแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากโภชนาการของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ดังนี้ ระดับชั้น ระดับชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 2 รวม

จํานวนนักเรียน เพศชาย เพศหญิง 44 45 52 45 96 90

รวม 89 97 186

กลุ)มตัวอย)างมีช)วงอายุ 13-14 ป มีน้ําหนักเฉลี่ย 50.35 กิโลกรัม ส)วนสูงเฉลี่ย 157 เซนติเมตร ในช)วง 1 สัปดาหที่ผ)านมานักเรียนกินขนมขบเคี้ยว ดื่มน้ําอัดลม หรือดื่มเครื่องดื่มที่มีน้ําตาลเป>นส)วนผสม คิด เป>น 100 % ลักษณะการใช-ชีวิตของนักเรียนในแต)ละวันนอกจากเรียนหนังสือหรือเรียนพลศึกษาใน ชั่วโมงเรียนนักเรียนจะออกกําลังกาย คิดเป>นร-อยละ 97 และ ไม)ออกกําลังกายคิดเป>นร-อยละ 3 โดยเฉลี่ย นักเรียนกินขนมกรุบกรอบยี่ห-อ เลย ซองละ 5 บาท 1 ครั้งต)อวัน ปริมาณการกินต)อครั้ง 2 ซอง กิน น้ําอัดลมยี่ห-อ โค™ก ขวดละ 10 บาทจํานวน 1 ขวดต)อครั้งต)อวัน และชอบกินเครื่องดื่มประเภทอื่นๆ คือ ชา เขียว 2 ครั้งต)อวัน 14


ตอนที่ 2. ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากและการบริโภคอาหาร (ก)อนรับความรู-) รายการ 1.นักเรียนมั่นใจว)า นักเรียนจะอ)านฉลากอาหารก)อนซื้อ ทุกครั้ง 2.นักเรียนมั่นในว)า นักเรียนจะหลีกเลี่ยงการกินอาหารที่ ไม)มี ฉลากได- แม-ว)าอาหารนั้นจะมีรสชาติอร)อย 3.นักเรียนกินอาหารมื้อหลักตามเวลา และไม)กินขนมกรุบ กรอบ จุบจิบ 4.นักเรียนไม)รับประทานขนมกรุบกรอบที่ซองหรือภาชนะ บรรจุ มีรอยฉีกขาด

ระดับพฤติกรรม ความถี่ มาก ปาน น*อย มาก น*อย ที่สุด กลาง ที่สดุ จํานวนคน 25 105 36 20 ร*อยละ

13.44 56.45 19.35 10.76 -

จํานวนคน

10

30

ร*อยละ

5.38

16.13 69.89 8.60

-

จํานวนคน

-

10

6

20

150

ร*อยละ

-

5.38

3.22

10.75 80.65

จํานวนคน

186 100

0

0

0

ร*อยละ

130

16

-

0

15


ตอนที่ 2. ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากและการบริโภคอาหาร(ก)อนรับความรู-) ระดับพฤติกรรม รายการ ความถี่ มาก ปาน มาก น*อย ที่สุด กลาง จํานวนคน 5.นักเรียนเชื่อมั่นว)า นักเรียนสามารถคํานวณปริมาณ 10 10 140 ร*อยละ 5.38 5.38 75.26 สารอาหารของขนมกรุบกรอบจากข-อมูลบนฉลาก โภชนาการ เพื่อให-เกิดประโยชนต)อร)างกาย 6.เมื่อเห็นอาการของผู-ปgวยที่เกิดจากการกินมากเกินความ จํานวนคน 6 120 40 10 ร* อ ยละ 3.22 64.52 21.50 5.38 จําเป>นของร)างกาย ทําให-นักเรียนเห็นความสําคัญของการ อ)านฉลากก)อนเลือกซื้อ จํานวนคน 7.การหลีกเลี่ยงการกินอาหารพวกปU•งย)าง เช)น ไก)ย)าง 135 20 16 10 ลูกชิ้นปU•ง หมูปU•ง เป>นเรื่องลําบาก เพราะหาซื้อง)าย รสชาติ ร*อยละ 72.58 10.75 8.61 5.38 อร)อย 8.อาหารปU•งย)างที่ไหม-เกรียม เช)น ไก)ย)าง ลูกชิ้นปU•ง หมูปU•ง จํานวนคน 40 128 10 8 ร*อยละ 21.50 68.82 5.38 4.30 ไม)ควรกิน เพราะมีสารก)อมะเร็ง 9.การดื่มน้ําอัดลม น้ําชาเชียว น้ําผลไม-บรรจุกล)อง เป>น จํานวนคน 30 110 30 16 ร*อยละ 16.13 59.14 16.13 8.60 ประจํา ทําให-มีโอกาสเสี่ยงต)อการเป>นโรคอ-วน 10.แม-ว)านักเรียนจะเร)งรีบขนาดไหน นักเรียนก็มั่นใจว)า จํานวนคน 16 132 28 110 จะไม)ซื้อขนมกรุบกรอบมากินโดยเด็ดขาด ถ-าหากยังไม)ได- ร*อยละ 8.60 17.20 15.05 59.15 อ)านฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) 11.นักเรียนเปรียบเทียบข-อมูลโภชนาการบนฉลากอาหาร จํานวนคน 10 35 40 97 ร*อยละ 5.38 18.82 21.50 52.15 ก)อนตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร 12.นักเรียนอ)านฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) ของ จํานวนคน 6 6 24 36 ร*อยละ 3.22 3.22 12.90 19.35 ขนมกรุบกรอบก)อนเลือกซื้อ และเลือกกิน 13.นักเรียนแบ)งจํานวนครั้งในการกินอาหารตามข-อมูลบน จํานวนคน 6 20 ร*อยละ 3.22 10.75 ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA)

น*อย ที่สุด 26 13.98

10 5.38

5 2.68

-

-

-

4 2.15

114 61.29

160 86.03

16


ตอนที่ 2. ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากและการบริโภคอาหาร(ก)อนรับความรู-) ระดับพฤติกรรม รายการ ความถี่ มาก ปาน มาก น*อย ที่สุด กลาง 14.การอ)านฉลากอาหาร ทําให-ต-องเสียเวลาในการเลือก จํานวนคน 28 142 10 6 ร*อยละ 15.05 76.35 5.38 3.22 ซื้ออาหาร 15.การอ)านฉลากโภชนาการก)อนซื้ออาหารทําให-ถูกมอง จํานวนคน 56 73 30 20 ร*อยละ 30.11 39.25 16.13 10.75 ว)าเป>นคนเรื่องมาก 16.การเลิกดื่มน้ําอัดลมเป>นเรื่องยาก เพราะดื่มแล-วรู-สึก จํานวนคน 120 40 16 8 ร*อยละ 64.52 21.51 8.60 4.30 สดชื่น จํานวนคน 17.การกินขนมกรุบกรอบเป>นประจํา อาจทําให-ได-รับ 60 115 11 ร*อยละ 32.26 61.83 5.91 โซเดียมเกินความต-องการของร)างกาย อาจทาใหเป>นโรคไตและเกิดภาวะไตวายไดจํานวนคน 18.การกินขนมกรุบกรอบโดยไม)อ)านฉลากหวาน มัน 30 38 115 3 ร*อยละ 16.13 20.43 61.83 1.61 เค็ม (ฉลาก GDA) มีโอกาสเสี่ยงต)อการได-รับน้ําตาล เกินปริมาณที่ร)างกายควรได-รับในแต)ละวัน จํานวนคน 19.การไม)ใช-ประโยชนจากข-อมูลโภชนาการบนฉลาก 30 112 30 10 ร* อ ยละ 16.13 60.21 16.13 5.38 อาหาร ทาให-มีโอกาสเสี่ยงจากการได-รับสารอาหาร เกินความต-องการของร)างกาย จํานวนคน 20.อาหารที่มีฉลากสัญลักษณโภชนาการ “ทางเลือก 20 34 97 20 สุขภาพ”(Healthier Choice) ทําให-ได-รับอาหารที่มี ปริมาณสารอาหาร เช)น น้ําตาล ไขมัน และเกลือ โซเดียม ร*อยละ 10.75 18.28 52.15 10.75 ไม)เกินปริมาณที่กําหนด

น*อย ที่สุด -

7 3.76

1.07

-

-

4 2.15

15 8.07

กลุ)มตัวอย)างจํานวน 186 คน ก)อนได-รับการเรียนรู-การอ)านฉลากโภชการพบว)า อ)านฉลากก)อนซื้อ ทุกครั้งอยู)ในเกณฑ มาก คือ ร-อยละ 56.45 หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่ไม)มีฉลากได-แม-อาหารมีรสชาติอร)อยอยู) ในเกณฑปานกลางคือร-อยละ 69.89 กินอาหารมื้อหลักตามเวลาไม)ไม)กินขนมกรุบกรอบอยู)ในเกณฑน-อยสุดคือ ร-อยละ 80.65 ไม)รับประทานขนมกรุบกรอบที่ซองหรือภาชนะบรรจุมีรายอฉีกขาด ร-อยละ 100 สามารถ คํานวณปริมาณสารอาหารของขนมกรุบกรอบจากข-อมูลบนฉลากโภชนาการ อยู)ในเกณฑน-อย คือ ร-อยละ 75.26 เมื่อเห็นอาการของผู-ปgวยที่เกิดจากการกกินมากเกินความจําเป>นของร)างกาย ทําให-เห็นความสําคัญ ของการอ)านฉลากก)อนเลือกซื้ออยู)ในเกณฑมาก คือ ร-อยละ 64.52 การหลีกเลี่ยงการกินอาหารพวกปU•งย)าง เป>นเรื่องลําบาก อยู)ในเกณฑมากที่สุด คือ ร-อยละ 72.58 ไม)กินอาหารปU•งย)างที่ไหม-เกรียมเพราะมีสารก)อ มะเร็ง อยู)ในเกณฑมาก คือร-อยละ 68.82 การดื่มน้ําอัดลม ชาเขียว น้ําผลไม-บรรจุกล)องมีโอกาสต)อการเป>น โรคอ-วนอยู)ในเกณฑมาก คือ ร-อยละ 59.14 แม-เร)งรีบขนาดไหน นักเรียนก็มั่นใจจะไม)ซื้อขนมกรุบกรอบมา กินโดยเด็ดขาดถ-ายังไม)อ)านฉลาก GDA อยู)ในเกณฑน-อย คือ ร-อยละ 59.15 17


เปรียบเทียบข-อมูลโภชนาการบนฉลากอาหารก)อนตัดสินใจเลือกซื้ออยู)ในเกณฑน-อย คือร-อยละ 52.15 อ)าน ฉลาก GDA ของขนมกรุบกรอบก)อนเลือกซื้อและเลือกกินอยู)ในเกณฑน-อยที่สุดคือร-อยละ 61.29 แบ)งจํานวน ครั้งในการกินอาหารตามข-อมูลบนฉลาก GDA อยู)ในเกณฑน-อยที่สุดคือ ร-อยละ 86.03 คิดว)าการอ)านฉลาก อาหารทําให-ต-องเสียเวลาในการเลือกซื้ออาหารอยู)ในเกณฑมาก คือร-อยละ 76.35 การอ)านฉลากโภชนาการ ก)อนซื้ออาหารทําให-ถูกมองว)าเป>นคนเรื่องมาก อยู)ในเกณฑมาก คือร-อยละ 39.25 การเลิกดื่มน้ําอัดลมเป>น ของยาก อยู)ในเกณฑมากที่สุดคือร-อยละ 64.52 การกินขนมกรุบกรอบเป>นประจําอาจทําให-ไดรับโซเดียมเกิน ความต-องการของร)างกายอาจทําให-เป>นโรคไตและเกิดภาวะไตวายได-อยู)ในเกณฑมากคือ ร-อยละ 61.83 การ กินขนมกรุบกรอบโดยไม)อ)านฉลาก GDA มีโอกาสเสี่ยงต)อการได-รับน้ําตาลเกินปริมาณที่ร)างกายควรได-รับใน แต)ละวันอยู)ในเกณฑปานกลางคือร-อยละ 61.83 การไม)ใช-ประโยชนจากข-อมูลโภชนาการบนฉลากอาหารทํา ให-มีโอกาสเสี่ยงจากการได-รับสารอาหารเกินความต-องการของร)างกายอยู)ในเกณฑมากคือร-อยละ 60.21 ทราบว)าอาหารที่มีฉลากสัญลักษณโภชนาการทางเลือกสุขภาพ (Healthier Choice) ทําให-ได-รับอาหารที่มี ปริมาณสารอาหารเช)น น้ําตาล ไขมัน และ เกลือ โซเดียมไม)เกินปริมาณที่กําหนด อยู)ในเกณฑปานกลางคือ ร-อยละ 52.15 ผู-ศึกษาวิจัย ได-วางแผนการดําเนินกิจกรรมการให-ความรู-เพื่อสร-างความตระหนักและปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารสําเร็จรูป ขนมกรุบกรอบ โดยใช-กิจกรรมชมรม อย.น-อย และการให-ความรู-แบบ เจาะจงกับกลุ)มย)อยในเวลาพักกลางวัน ประสานงานกับครูประจําวิชาสุขศึกษา ในการเข-าไปใช-สื่อให-ความรูฝmกทักษะกลุ)มทดลองในการคํานวณปริมาณพลังงานและ ปริมาณน้ําตาล ไขมัน โซเดียมที่ควรได-รับแต)ละวัน ให-ความรู-ความเสี่ยงและผลที่ตามมาในการเป>นโรคไม)ติดต)อเรื้องรัง (NCDs) นอกจากนั้นผู-ศึกษายังเฝdาสังเกต พฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารของกลุ)มทดลองจากห-องสหกรณร-านค-าโรงเรียนในช)วงพักกลางวัน แล-วให-กลุ)ม ทดลองทําแบบทดสอบพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคอาหารครั้งที่ 2 ตอนที่ 2. ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากและการบริโภคอาหาร (หลังรับความรู-) ระดับพฤติกรรม รายการ ความถี่ มาก ปาน มาก น*อย ที่สุด กลาง 1.นักเรียนมั่นใจว)า นักเรียนจะอ)านฉลากอาหารก)อนซื้อ จํานวนคน 175 11 ร*อยละ 94.09 5.91 ทุกครั้ง 2.นักเรียนมั่นในว)า นักเรียนจะหลีกเลี่ยงการกินอาหารที่ จํานวนคน 145 38 3 ร* อ ยละ 77.95 20.44 1.61 ไม)มี ฉลากได- แม-ว)าอาหารนั้นจะมีรสชาติอร)อย จํานวนคน 3.นักเรียนกินอาหารมื้อหลักตามเวลา และไม)กินขนมกรุบ 50 52 80 4 ร* อ ยละ 26.88 27.96 43.01 2.15 กรอบ จุบจิบ 4.นักเรียนไม)รับประทานขนมกรุบกรอบที่ซองหรือภาชนะ จํานวนคน 186 ร* อ ยละ บรรจุ มีรอยฉีกขาด 100 -

น*อย ที่สุด -

-

-

-

18


ตอนที่ 2. ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากและการบริโภคอาหาร(หลังรับความรู-) ระดับพฤติกรรม รายการ ความถี่ มาก ปาน มาก น*อย ที่สุด กลาง จํานวนคน 5.นักเรียนเชื่อมั่นว)า นักเรียนสามารถคํานวณปริมาณ 112 46 24 4 ร*อยละ 60.22 24.73 12.90 2.15 สารอาหารของขนมกรุบกรอบจากข-อมูลบนฉลาก โภชนาการ เพื่อให-เกิดประโยชนต)อร)างกาย 6.เมื่อเห็นอาการของผู-ปgวยที่เกิดจากการกินมากเกินความ จํานวนคน 150 30 6 ร* อ ยละ 80.65 16.13 3.22 จําเป>นของร)างกาย ทําให-นักเรียนเห็นความสําคัญของการ อ)านฉลากก)อนเลือกซื้อ จํานวนคน 7.การหลีกเลี่ยงการกินอาหารพวกปU•งย)าง เช)น ไก)ย)าง 12 65 57 6.45 34.95 30.65 ลูกชิ้นปU•ง หมูปU•ง เป>นเรื่องลําบาก เพราะหาซื้อง)าย รสชาติ ร*อยละ อร)อย 8.อาหารปU•งย)างที่ไหม-เกรียม เช)น ไก)ย)าง ลูกชิ้นปU•ง หมูปU•ง จํานวนคน 165 20 1 ร*อยละ 88.71 10.75 0.54 ไม)ควรกิน เพราะมีสารก)อมะเร็ง 9.การดื่มน้ําอัดลม น้ําชาเชียว น้ําผลไม-บรรจุกล)อง เป>น จํานวนคน 136 43 7 ร*อยละ 73.12 23.11 3.77 ประจํา ทําให-มีโอกาสเสี่ยงต)อการเป>นโรคอ-วน 10.แม-ว)านักเรียนจะเร)งรีบขนาดไหน นักเรียนก็มั่นใจว)า จํานวนคน 92 84 16 จะไม)ซื้อขนมกรุบกรอบมากินโดยเด็ดขาด ถ-าหากยังไม)ได- ร*อยละ 49.46 84.16 8.60 อ)านฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) 11.นักเรียนเปรียบเทียบข-อมูลโภชนาการบนฉลากอาหาร จํานวนคน 142 40 4 ร*อยละ 76.34 21.50 2.16 ก)อนตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร 12.นักเรียนอ)านฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) ของ จํานวนคน 137 47 2 ร*อยละ 73.65 25.27 1.08 ขนมกรุบกรอบก)อนเลือกซื้อ และเลือกกิน 13.นักเรียนแบ)งจํานวนครั้งในการกินอาหารตามข-อมูลบน จํานวนคน 45 70 30 30 ร*อยละ 24.19 37.63 16.13 16.13 ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA)

น*อย ที่สุด -

-

52 27.95

-

-

-

-

-

11 5.92

19


ตอนที่ 2. ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการอ)านฉลากและการบริโภคอาหาร(หลังรับความรู-) ระดับพฤติกรรม รายการ ความถี่ มาก ปาน มาก น*อย ที่สุด กลาง 14.การอ)านฉลากอาหาร ทําให-ต-องเสียเวลาในการเลือก จํานวนคน 12 70 49 ร*อยละ 6.45 37.63 26.35 ซื้ออาหาร 15.การอ)านฉลากโภชนาการก)อนซื้ออาหารทําให-ถูกมอง จํานวนคน 4 20 40 54 ร*อยละ 2.15 10.75 21.50 29.04 ว)าเป>นคนเรื่องมาก 16.การเลิกดื่มน้ําอัดลมเป>นเรื่องยาก เพราะดื่มแล-วรู-สึก จํานวนคน 6 20 61 52 ร*อยละ 3.23 10.75 32.79 27.95 สดชื่น จํานวนคน 17.การกินขนมกรุบกรอบเป>นประจํา อาจทําให-ได-รับ 161 25 ร*อยละ 86.56 13.44 โซเดียมเกินความต-องการของร)างกาย อาจทาใหเป>นโรคไตและเกิดภาวะไตวายไดจํานวนคน 18.การกินขนมกรุบกรอบโดยไม)อ)านฉลากหวาน มัน 158 28 ร*อยละ 84.95 15.05 เค็ม (ฉลาก GDA) มีโอกาสเสี่ยงต)อการได-รับน้ําตาล เกินปริมาณที่ร)างกายควรได-รับในแต)ละวัน จํานวนคน 19.การไม)ใช-ประโยชนจากข-อมูลโภชนาการบนฉลาก 141 39 6 ร* อ ยละ 75.81 20.96 3.23 อาหาร ทาให-มีโอกาสเสี่ยงจากการได-รับสารอาหาร เกินความต-องการของร)างกาย จํานวนคน 20.อาหารที่มีฉลากสัญลักษณโภชนาการ “ทางเลือก 130 50 6 สุขภาพ”(Healthier Choice) ทําให-ได-รับอาหารที่มี ปริมาณสารอาหาร เช)น น้ําตาล ไขมัน และเกลือ โซเดียม ร*อยละ 69.89 26.88 3.23 ไม)เกินปริมาณที่กําหนด

น*อย ที่สุด 55 29.57

68 36.56

47 25.28

-

-

-

-

กลุ)มตัวอย)างจํานวน 186 คน หลังได-รับการเรียนรู-การอ)านฉลากโภชการพบว)า อ)านฉลากก)อนซื้อ ทุกครั้งอยู)ในเกณฑ มากที่สุด คือ ร-อยละ 94.09 หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่ไม)มีฉลากได-แม-อาหารมีรสชาติ อร)อยอยู)ในเกณฑมากที่สุด คือร-อยละ 77.95 กินอาหารมื้อหลักตามเวลาไม)ไม)กินขนมกรุบกรอบอยู)ในเกณฑ ปานกลางคือร-อยละ 43.01 ไม)รับประทานขนมกรุบกรอบที่ซองหรือภาชนะบรรจุมีรอยฉีกขาด ร-อยละ 100 สามารถคํานวณปริมาณสารอาหารของขนมกรุบกรอบจากข-อมูลบนฉลากโภชนาการ อยู)ในเกณฑมากที่สุด คือ ร-อยละ 60.22 เมื่อเห็นอาการของผู-ปgวยที่เกิดจากการกกินมากเกินความจําเป>นของร)างกาย ทําให-เห็น ความสําคัญของการอ)านฉลากก)อนเลือกซื้ออยู)ในเกณฑมากที่สุด คือ ร-อยละ 80.65 การหลีกเลี่ยงการกิน อาหารพวกปU•งย)างเป>นเรื่องลําบาก อยู)ในเกณฑปานกลาง คือ ร-อยละ 34.95 ไม)กินอาหารปU•งย)างที่ไหม-เกรียม เพราะมีสารก)อมะเร็ง อยู)ในเกณฑมากที่สุด คือร-อยละ 88.71 การดื่มน้ําอัดลม ชาเขียว น้ําผลไม-บรรจุกล)อง มีโอกาสต)อการเป>นโรคอ-วนอยู)ในเกณฑมากที่สุด คือ ร-อยละ 73.12 แม-เร)งรีบขนาดไหน นักเรียนก็มั่นใจจะ ไม)ซื้อขนมกรุบกรอบมากินโดยเด็ดขาดถ-ายังไม)อ)านฉลาก GDA อยู)ในเกณฑมากที่สุด คือ ร-อยละ 49.46 20


เปรียบเทียบข-อมูลโภชนาการบนฉลากอาหารก)อนตัดสินใจเลือกซื้ออยู)ในเกณฑมากที่สุด คือร-อยละ 76.34 อ)านฉลาก GDA ของขนมกรุบกรอบก)อนเลือกซื้อและเลือกกินอยู)ในเกณฑมากที่สุดคือร-อยละ 73.65 แบ)ง จํานวนครั้งในการกินอาหารตามข-อมูลบนฉลาก GDA อยู)ในเกณฑมากคือ ร-อยละ 37.63 คิดว)าการอ)าน ฉลากอาหารทําให-ต-องเสียเวลาในการเลือกซื้ออาหารอยู)ในเกณฑปานกลาง คือร-อยละ 37.63 การอ)านฉลาก โภชนาการก)อนซื้ออาหารทําให-ถูกมองว)าเป>นคนเรื่องมาก อยู)ในเกณฑน-อยที่สุด คือร-อยละ 36.56 การเลิก ดื่มน้ําอัดลมเป>นของยาก อยู)ในเกณฑปานกลางคือร-อยละ 32.79 การกินขนมกรุบกรอบเป>นประจําอาจทําใหไดรับโซเดียมเกินความต-องการของร)างกายอาจทําให-เป>นโรคไตและเกิดภาวะไตวายได-อยู)ในเกณฑมากที่สุดคือ ร-อยละ 86.56 การกินขนมกรุบกรอบโดยไม)อ)านฉลาก GDA มีโอกาสเสี่ยงต)อการได-รับน้ําตาลเกินปริมาณที่ ร)างกายควรได-รับในแต)ละวันอยู)ในเกณฑมากที่สุดคือร-อยละ 84.95 การไม)ใช-ประโยชนจากข-อมูลโภชนาการ บนฉลากอาหารทําให-มีโอกาสเสี่ยงจากการได-รับสารอาหารเกินความต-องการของร)างกายอยู)ในเกณฑมากที่สุด คือร-อยละ 75.81 ทราบว)าอาหารที่มีฉลากสัญลักษณโภชนาการทางเลือกสุขภาพ (Healthier Choice) ทํา ให-ได-รับอาหารที่มีปริมาณสารอาหารเช)น น้ําตาล ไขมัน และ เกลือ โซเดียมไม)เกินปริมาณที่กําหนด อยู)ใน เกณฑมากที่สุดคือร-อยละ 69.89 สรุปผลการศึกษา พบว)านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่2 ในอายุระหว)าง 13-15 มีพัฒนาการ การอ)านฉลากโภชนาการมากขึ้น และใส)ใจในการอ)านฉลากและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอ)านฉลาก โภชนาการมากขึ้น โดยนักเรียนกลุ)มเปdาหมายของเราใส)ใจการการดูแคลอรี่ในการรับประทานอาหารในแต)ล)ะ วันโดยถูกต-องและในประมาณที่พอเหมาะ โดยไม)เกิน 2,000 แคลอรี่ต)อวัน และไม)น-อยกว)า 1,700 แคลอรี่ต)อ วัน และอีกทั้งกลุ)มเปdาหมายของเรายังเล็งเห็นการดูแลสุขภาพและออกกําลังกายมากขึ้น เอกสารอ*างอิง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (256 ). การพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนใน โรงเรียน อย.น*อย. สืบค-นเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2560. จากเว็บไซต : http://www.oryornoi.com สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (2560) อย. เดินหน*าสร*างทางเลือกสุขภาพแก)ชุมชน เน*น ประโยชนจากฉลาก ช)วยลดโรค NCDs. สืบค*นเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2560. จากเว็บไซต http://www.btripnews.net/?p=4669

21


ภาคผนวก

22


ประชุมปรึกษาหาหัวข*อในการทําโครงงาน

ทํา power point เตรียมนําเสนอเค*าโครง โครงงาน

23


วันนําเสนอเค*าโครง โครงงานเพาะพันธุปญญาในหัวข*อตรีมสุขภาพ

แจกแบบสอบถามครั้งที่ 1 ให*นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 1 และ2

หากลุ)มเปvาหมายที่มีรูปร)างผอมเกินเกณฑและอ*วนเกินเกณฑเพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 24


ให*น*องๆกลุ)มเปvาหมายทําแบบสอบถามข*อมูลเกี่ยวกับนักเรียน

เตรียมแผ)นชาตท เพื่อนําเสนอความคืบหน*าของโครงงาน

นําเสนอความคืบหน*าของโครงงาน 25


แจกแบบสอบถามครั้งที่ 2ให*นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป3ที่ 1 และ 2

ทํารูปเล)มโครงงาน และโปรดักส

26


รายชื่อกลุ)มเปvาหมายจํานวน 7 คน

27


ภาคผนวก (ข) แบบสอบถาม

28


แบบสอบถามที่ 1 (หลัง) คําชี้แจ*ง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในหน*าข*อความเกี่ยวกับผู*ตอบแบบสอบถาม ที่ตรงกับความเปIนจริง 1. ชั้นมัธยมศึกษา 1.1 ม.1 1.2 ม.2 2. เพศ 2.1 ชาย 2.2 หญิง 3. ปจจุบันนักเรียนอายุ..................ป3 4. นักเรียนมีน้ําหนัก.......................กิโลกรัม ส)วนสูง.......................................เซนติเมตร

รายการ

มาก ที่สุด

ระดับพฤติกรรม ปาน น*อย มาก น*อย กลาง ที่สดุ

1.นักเรียนมั่นใจว)า นักเรียนจะอ)านฉลากอาหารก)อนซื้อ ทุกครั้ง 2.นักเรียนมั่นในว)า นักเรียนจะหลีกเลี่ยงการกินอาหารที่ ไม)มี ฉลากได- แม-ว)าอาหารนั้นจะมีรสชาติอร)อย 3.นักเรียนกินอาหารมื้อหลักตามเวลา และไม)กินขนมกรุบ กรอบ จุบจิบ 4.นักเรียนไม)รับประทานขนมกรุบกรอบที่ซองหรือภาชนะ บรรจุ มีรอยฉีกขาด 5.นักเรียนเชื่อมั่นว)า นักเรียนสามารถคํานวณปริมาณ สารอาหารของขนมกรุบกรอบจากข-อมูลบนฉลาก โภชนาการ เพื่อให-เกิดประโยชนต)อร)างกาย 6.เมื่อเห็นอาการของผู-ปgวยที่เกิดจากการกินมากเกินความ จําเป>นของร)างกาย ทําให-นักเรียนเห็นความสําคัญของการ อ)านฉลากก)อนเลือกซื้อ 7.การหลีกเลี่ยงการกินอาหารพวกปU•งย)าง เช)น ไก)ย)าง ลูกชิ้นปU•ง หมูปU•ง เป>นเรื่องลําบาก เพราะหาซื้อง)าย รสชาติ อร)อย 8.อาหารปU•งย)างที่ไหม-เกรียม เช)น ไก)ย)าง ลูกชิ้นปU•ง หมูปU•ง ไม)ควรกิน เพราะมีสารก)อมะเร็ง 9.การดื่มน้ําอัดลม น้ําชาเชียว น้ําผลไม-บรรจุกล)อง เป>น ประจํา ทําให-มีโอกาสเสี่ยงต)อการเป>นโรคอ-วน 10.แม-ว)านักเรียนจะเร)งรีบขนาดไหน นักเรียนก็มั่นใจว)า จะไม)ซื้อขนมกรุบกรอบมากินโดยเด็ดขาด ถ-าหากยังไม)ไดอ)านฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) 29


รายการ

มาก ที่สุด

ระดับพฤติกรรม ปาน น*อย มาก น*อย กลาง ที่สดุ

11.นักเรียนเปรียบเทียบข-อมูลโภชนาการบนฉลากอาหาร ก)อนตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร 12.นักเรียนอ)านฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) ของ ขนมกรุบกรอบก)อนเลือกซื้อ และเลือกกิน 13.นักเรียนแบ)งจํานวนครั้งในการกินอาหารตามข-อมูลบน ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) 14.การอ)านฉลากอาหาร ทําให-ต-องเสียเวลาในการเลือก ซื้ออาหาร 15.การอ)านฉลากโภชนาการก)อนซื้ออาหารทําให-ถูกมอง ว)าเป>นคนเรื่องมาก 16.การเลิกดื่มน้ําอัดลมเป>นเรื่องยาก เพราะดื่มแล-วรู-สึก สดชื่น 17.การกินขนมกรุบกรอบเป>นประจํา อาจทําให-ได-รับ โซเดียมเกินความต-องการของร)างกาย อาจทาใหเป>นโรคไตและเกิดภาวะไตวายได18.การกินขนมกรุบกรอบโดยไม)อ)านฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA) มีโอกาสเสี่ยงต)อการได-รับน้ําตาล เกินปริมาณที่ร)างกายควรได-รับในแต)ละวัน 19.การไม)ใช-ประโยชนจากข-อมูลโภชนาการบนฉลาก อาหาร ทาให-มีโอกาสเสี่ยงจากการได-รับสารอาหาร เกินความต-องการของร)างกาย 20.อาหารที่มีฉลากสัญลักษณโภชนาการ “ทางเลือก สุขภาพ”(Healthier Choice) ทําให-ได-รับอาหารที่มี ปริมาณสารอาหาร เช)น น้ําตาล ไขมัน และเกลือ โซเดียม ไม)เกินปริมาณที่กําหนด แสดงความคิดเห็น.............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

30


แบบสอบถามข*อมูลเกี่ยวกับนักเรียน คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมายถูกต*องลงใน หน*าข*อความเกี่ยวกับผู*ตอบแบบสอบถามทีต่ รงกับความ เปIนจริง 1. ชั้นมัธยมศึกษา 1.1 ม.1 1.2 ม.2 2. เพศ 2.1 ชาย 2.2 หญิง 3. ปจจุบันนักเรียนอายุ..................ป3 4. นักเรียนมีน้ําหนัก.......................กิโลกรัม ส)วนสูง.......................................เซนติเมตร 5. ในช)วง 1 สัปดาหที่ผ)านมานักเรียนกินขนมขบเคี้ยว ดืม่ น้ําอัดลม หรือดื่มเครื่องดื่มที่มีน้ําตาลเปIนส)วนผสมหรือไม) 5.1  ไม)กิน / ไม)ดื่ม(ข*ามไปตอบข*อ 7) 5.2  กิน / ดืม่ (ตอบข*อต)อไป สามารถตอบได*มากกว)า 1 ข*อ) 6. ลักษณะการใช*ชีวติ ของนักเรียนในแต)ละวัน (นอกจากเรียนหนังสือหรือเรียนพลศึกษาในชั่วโมงเรียน) 6.1 เล)นกีฬา/ออกกําลังกาย ปฏิบตั ิ อาทิตยละ ........... ชั่วโมง (โดยประมาณ) ไม)ปฏิบตั ิ 6.2 โดยเฉลีย่ นักเรียนกินขนมกรุบกรอบหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีน้ําตาลเปIนส)วนผสมวันละเท)าใด ขนมขบเคีย้ ว ประเภท (โปรดระบุ เช)น มันฝรั่งทอด เวเฟอร สาหร)ายอบกรอบ ฯลฯ) ยี่ห*อ ................................................ ราคา ............บาท จํานวนครั้งที่กินต)อวัน ...............ครั้ง ปริมาณการกินต)อครั้ง ................ซอง ประเภท (โปรดระบุ เช)น มันฝรั่งทอด เวเฟอร สาหร)ายอบกรอบ ฯลฯ) จํานวนครั้งที่กินต)อวัน ...............ครั้ง ปริมาณการกินต)อครั้ง ................ซอง น้ําอัดลม ยี่ห*อ .........................................ราคา..........บาท จํานวนครั้งที่กินต)อวัน...........ครั้ง ปริมาณการกินต)อครั้ง ...........ขวด/กล)องกระป\อง .........................................ราคา..........บาท จํานวนครั้งที่กินต)อวัน ..........ครั้ง ปริมาณการกินต)อครั้ง ...........ขวด/กล)อง/กระป\อง

ยี่ห*อ

เครื่องดื่มอื่น ๆ ประเภท (โปรดระบุ เช)น ชาเขียว น้ําผลไม*) ยี่ห*อ ............................................ ราคา..........บาท จํานวนครั้งที่กินต)อวัน............ครั้ง ปริมาณการกินต)อครั้ง ..........ขวด/กล)อง/กระป\อง ประเภท (โปรดระบุ เช)น ชาเขียว น้ําผลไม*) ยี่ห*อ ............................................ราคา..........บาท จํานวนครั้งที่กินต)อวัน............ครั้ง ปริมาณการกินต)อครั้ง ..........ขวด/กล)อง/กระป\อง

31


ภาคผนวก (ค) ภาพการลงพื้นที่ให-ความรู-

32


ภาพถ)ายการลงพื้นที่ให*ความรู*

33


34


35


36


37


โครงงานเพาะพันธุปญญา เรื่อง เจลล*างมือ

อาจารยที่ปรึกษาโครงการ นางสาว กุสุมา ไชยช)วย

คณะผู*วิจัย (นักเรียน) 1.นางสาว วิภาดา ทองทา 2.นางสาว รัชญากร นางาม 3. นาย สิทธิกร แลพล 4.นาย พีรพล แข็งขัน

สนับสนุนโดยสํานักงานทองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) และ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย ชุดโครงการ “เพาะพันธุปญญา” (พัฒนายุววิจัย)

38


กิตติกรรมประกาศ ในการจัดทําโครงงานRBL เรื่อง เจลล-างมือภายในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป ถัมภ ในครั้งนี้สําเร็จลุล)วงได-ต-อง ขอกราบขอบพระคุณ นายชาติชาย สิงหพรหมสารผู-อํานวยการโรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ นายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภที่ให-คําชี้แนะอํานวยความสะดวกในการทําโครงงานครั้งนี้ กราบขอบพระคุณ คุณครูกุสุมา ไชยช)วย ที่ให-คําปรึกษา ดูแลแนะนํา และแก-ไขข-อบกพร)องในการทํา โครงงานทุกด-าน กราบขอบพระคุณ คณะครู บุคลากรทางการศึกษา ที่ให-คําปรึกษาเกี่ยวกับการทําโครงงานใน ครั้งนี้ และเพื่อนนักเรียนที่คอยให-กําลังใจ และให-ความช)วยเหลือในเรื่องต)างๆ จนกระทั่งโครงงาน เรื่องเจ ลล-างมือภายในโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ สําเร็จลุล)วงไปด-วยดี

39


บทนํา ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ปจจุบันในสังคมมีการใช-เจลล-างมืออย)างแพร)หลาย เพื่อการรักษาความสะอาดของมือของเรา เพราะ ปจจุบันหลายคนใช-เจลล-างมือแบบไม)ใช-น้ํากันมาก ให-ทุกคนช)วยรักษาความสะอาดของมือเรา เพราะมือของ เราได-จับหลายสิ่งต)างๆมา ทําให-ในมือของเรามีเชื้อโรคติดอยู) ทางเราจึงได-คิดสิ่งประดิษฐนี้ขึ้นมาเพื่อจะทําใหมือเราสะอาด ถ-ามือของเราไม)สะอาด แล-วไปสัมผัสกับร)างกายของเรา เช)น ปาก ตา หรือจมูก ก็จะทําให-เชื้อ โรคติดเข-าไปข-างในร)างกายเราได- อาจจะทําให-เราเป>นโรคมือเท-าปากได- ดังนั้นทางเราจึงคิดที่จะทําสิ่งประดิษฐ นี้ขึ้นมา เพื่อใช-ในการล-างมือที่สะดวกและสะอาด เจลล-างมือทั่วไปมีปริมาณสารเคมีที่มากเกินไป กลุ)มของ พวกเราจึงคิดทําเจลล-างมือที่มีปริมาณสารเคมีที่น-อยกว)าและมีกลิ่นหอมกว)า ดังนั้นกลุ)มของข-าพเจ-าจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและผลิตเจลล-างมือขึ้นมาใช-ประโยชน ทําให-ถูก สุขลักษณะที่ดี ทําให-มีสุขภาพที่ดี วัตถุประสงค เพื่อเพิ่มเจลล-างมือและบรรจุภัณฑให-มากขึ้นเพื่อเป>นทางเลือกให-กับผู-บริโภค ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน โครงงานนี้มีตัวแปรต)อไปนี้ และแสดงผังเหตุ-ผลในรูปที่1 ทําแบบสอบถามความต้ องการ(หลักการตลาด 7 Ps)

บัวเชือม/บัวกรอบ

อุปกรณ์ ช้ อนตวง ถ้ วยตวง ช้ อนคนสาร แอลกอฮอล์ ถาดคัพเค้ ก ขวดเจล พายพลาสติก

ศึกษาการทําเจลล้างมือ ศึกษาสรรพคุณ วิธีการทํางาน

หลักการตลาด7 Psตลาด Product คัพเค้ กทีมีคุณภาพ Price ราคาทีเหมาะสม Place กลุ่มผู้บริโภค Promotion มีการส่ งเสริมการขาย People ความน่ าเชือถือ ความสามารถ Physical Evidence แพ็คเก็จ รู ปร่ าง สี Process กระบวนการจัดการด้ านบริการ

รูปที่ 1 ผังกระบวนการการทํางาน ของโครงงานวิจัยนี้

รายได*จากเจลล*างมือ

แอลกอฮอล์ นําเปล่า ว่ านหางจระเข้ วัตถุดิบ

ลงมือปฏิบัติ ศึกษาสู ตร

40


ตัวแปรต*น เจลล-างมือ ตัวแปรตาม รายไดเจลล-างมือ เป>นผลิตภัณฑที่คนกําลังนิยมใช-เพื่อรักษาความสะอาดของมือเพื่อปdองกันสิงสกปรกจาก ภายนอก ซึ่งมีราคาถูกและมัจําห)ายทั่วไป ผู-ศึกษาจึงมีสมมุติฐานการวิจัยว)า การส)งเสิมให-เจลล-างมือสามารถใช-ได-โดยใช-ทําให-มีสารเคมีที่น-อยลง และมีส)วนของธรรมชาติมากขึ้น มีราคาที่ประหยัดและส)งผลดีต)อสุขภาพ สามารถสร-างแรงจูงใจผู-ซื้อจน สามารถสร-างรายได-ให-กับผู-ประกอบการได- ดังแสดงในผังเหตุ-ผล แนวคิดและทฤษฏีที่กั่ยวข*อง ในชีวิตประจําวันของเรามักจะพบเจอกับสิ่งสกปรกไม)ว)าจะเป>นในอากาศสิ่งของที่เราจับและคนใน ปจจุบันหันมาใส)ใจสุขภาพมากขึ้นรู-จักการรักษาความสะอาดของมือมากขึ้นเพราะในชีวิตประจําวันเราต-องใชมือในการจับสิ่งของมากมายซึ่งทําให-มีสิ่งสกปรกติดมากับมือเราในการล-างมือก็ทําให-เชื่อถือว)ามือของเรา สะอาดระดับหนึ่งทําแต)ยังไม)มากพอจึงมีการผลิตเจลล-างมือขึ้นมาเพื่อใช-ในการล-างมือทําให-มั่นใจในการทํางาน หรือรับประทานอาหารมากขึ้น อุปกรณและวิธีการทดลอง 1. หม-อสแตนเลส 2. ผ-าขาวบาง 3. ช-อนคน 4. เครื่องปtน 5. ว)านหางจระเข6. มะกรูด 7. มีด 8. เขียง 9. แอลกอฮอล 70% 10. สารกันเสีย 11. สารสร-างเจล 12. หลอดบีบสําหรับใส)เจล วิธีทํา สูตรว)านหางจระเข- (สูตรที่1) 1. ปลอกเปลือกว)านหางจระเข2. หั่นเป>นสี่เหลี่ยมใส)ไว-ในภาชนะ 3. นําไปล-างน้ําเปล)า 4. นําไปปtนให-ระเอียด 5. นําว)านหางจระเข-ที่ได-ไปเทใส)ผ-าขาวบางที่มีภาชนะรองไว41


6. คั่นออกจนเหลือน้ํา 7. ผสมแอลกอฮอลลงไปในอัตรา 2:1 8. ใส)สารกันเสีย 9. ใส)สารสร-างเจล 10. คนส)วนผสมให-เข-ากัน 11. เทใส)หลอดบีบที่เตรียมไวสูตรมะกรูด (สูตรที่2) 1. นํามะกรูดมาผ)าครึ่ง 2. นํามะกรูดไปปtนกับน้ําเปล)าให-ระเอียด 3. นํามะกรูดที่ได-ไปเทใส)ผ-าขาวบางที่เตรียมไว4. คั่นออกจนเหลือแต)น้ํา 5. นําสารสร-างเจลมาเทใส)ภาชนะ 6. นําสารสร-างเจลและน้ํามะกรูดผสมให-เข-ากัน 7. ผสมแอลกอฮอลอัตรา2:1 8. ใส)สารกันเสีย 9. คนส)วนผสมให-เข-ากัน 10. เทใส)หลอดบีบที่เตรียมไว 11. สูตรมะกรูดและว)านหางจระเข-(สูตรที่3) 12. ปลอกเปลือกว)านหางจระเข13. หั่นเป>นสี่เหลี่ยมใส)ไว-ในภาชนะ 14. นําไปล-างน้ําเปล)า 15. นําไปปtนให-ระเอียด 16. นํามะกรูดมาผ)าครึ่ง 17. นํามะกรูดและน้ําเปล)าเทใส)เครื่องปtน 18. นําว)านหางจระเข-ที่ได-ไปเทใส)ผ-าขาวบางที่มีภาชนะรองไว19. นํามะกรูดที่ได-ไปเทใส)ผ-าขาวบางที่เตรียมไว20. คั่นออกจนเหลือแต)น้ํา 21. นําวุ-นว)านหางจระเข-และน้ํามะกรูดคนให-เข-ากัน 22. ผสมแอลกอฮอลลงไปในอัตรา 2:1 23. ใส)สารกันเสีย 24. ใส)สารสร-างเจล 25. คนส)วนผสมให-เข-ากัน 26. เทใส)หลอดบีบที่เตรียมไว-

42


ผลการวิจัย การทําแบบสอบถามครั้งที่1 คือ การสํารวจพฤติกรรมความต-องการของผู-บริโภคเจลล-างมือ ทําเพื่อ ต-องการทราบข-อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู-บริโภคข-อมูลพฤติกรรมการใช-เจลล-างมือและข-อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา ผลิตภัณฑที่ผู-บริโภคต-องการโดยกลุ)มของพวกเราได-ทําแบบสอบถามการสํารวจพฤติกรรมความต-องการของ ผู-บริโภคต)อเจลล-างมือ สรุปผลได-ดังตาราง ตอนที่1 ขัอมูลทั่วไปของผู-ตอบแบบสอบถาม ข-อที่ หัวข-อ ตัวเลือก 1 เพศ ชาย หญิง 2 อายุ 10-18ป 19-27ป 28-35ป 36-41ป 42-50ป 50ปขึ้นไป นิสิต/นักศึกษา 3 อาชีพ ข-าราชการ/รัฐวิสาหกิจ รับจ-าง เกษตรกร 4 รายได-เฉลี่ยต)อเดือน น-อยกว)า 3,000 บาท 3,000-7,000 บาท 7,000-12,000 บาท 12,000-15,000

ค)าความถี่ 50 50 30 25 15 10 15 5 30 20 35 15 40 20 25 15

43


ผลการวิจัย ตอนที่1 ข-อมูลทั่วไปของผู-ตอบแบบสอบถาม พบว)าเป>นเพศหญิง50คนและเพศชายจํานวน50คนมีช)วงอายุที่10-18ปเป>นจํานวนมากและมีช)วงอายุ50 ปขึ้นไปเป>นจํานวนน-อย ซึ่งมีอาชีพเป>นนักเรียนส)วนใหญ)และมีอาชีพเป>นเกษตกรส)วนน-อยและส)วนมากมี รายได-เฉลี่ยต)อเดือนน-อยกว)า3000บาท ส)วนน-อยมีรายได-เฉลี่ย12,000-15,000บาท ตอนที่ 2 ข-อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช-เจลล-างมือ ข-อที่ หัวข-อ ตัวเลือก 5 ปกติท)านนิยมใช-เจลล-างมือหรือไม) ใชไม)ใช6 ท)านใช-เจลล-างมือบ)อยเพียงใดใน1 ทุกวัน สัปดาห 2-3ครั้ง 4-5ครั้ง 7 เหตุผลที่ท)านใช-เจลล-างมือ เพื่อความสะอาด มีจําหน)ายทั่วไป อื่นๆ 8 รูปแบบของผลิตภัณฑเจลล-างมือที่ท)าน แบบขวดแก-ว นิยมใช- (ตอบได-มากกว)า1ข-อ) หลอดบีบ ขวดพลาสติก อื่นๆ 9 ท)านนิยมใช-เจลล-างมือสูตรใด มะกรูด ว)านหางจระเขว)านหางจระเข-และมะกรูด 10 ท)านต-องการซื้อผลิตภัณฑเจลล-างมือ ส)วนผสม คุณสมบัติใดบ-างที่ท)านใช-พิจารณาใน การตัดสินใจซื้อ ราคา บรรจุภัณฑ คุณภาพ กลิ่น 11 ท)านคิดว)า ปจจัยใดที่มีอิทธิพลต)อการ ตัวท)านเอง เลือกซื้อผลิตภัณฑเจลล-างมือของท)าน เพื่อน ครอบครัว อื่นๆ

ค)าความถี่ 75 25 65 20 15 65 20 15 25 55 15 5 25 15 60 45 25 15 10 5 60 20 15 5 44


ตอนที่ 2 ข-อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช-เจลล-างมือ พบว)าโดยปกติชอบใช-เจลล-างมือเป>นจํานวน75คนและไม)ชอบใช-เจลล-างมือ25คนและในการใช-เจลล-าง มือใน1สัปดาหส)วนมากชอบใช-ทุกวันส)วนน-อยชอบใช-4-5วันต)อสัปดาห เหตุผลที่ชอบใช-เจลล-างมือส)วนมากเพื่อ ความสะอาด ส)วนน-อยที่ชอบใช-เจลล-างมือส)วนน-อยเพราะเหตุผลอื่นๆและรูปแบบผลิตภัณฑเจลล-างมือ ส)วนมากที่นิยมใช-เป>นแบบบรรจุภัณฑหลอดบีบส)วนน-อยรูปแบบผลิตภัณฑเจลล-างมือนิยมใชเป>นแบบบรรจุ ภัณฑอื่นๆ คุณสมบัติที่พิจารณาในการตัดสินใจซื้อส)วนมากเป>นส)วนผสม ส)วนน-อยเป>นกลิ่น ซึ่งปจจัยที่มี อิทธิพลต)อการเลือกซื้อเจลล-างมือจํานวนมากเกิดจากตัวราเอง และปจจัยที่มีอิทธิพลต)อการเลือกซื้อเจลล-าง มือจํานวนน-อยเกิดจากอื่นๆ ตอนที่3 ข-อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ ข-อที่ หัวข-อ 12 รูปแบบของผลิตภัณฑเจลล-างมือที่ท)าน ต-องการใช-มากที่สุด

13

14

15

16

ท)านมีความคิดอย)างไรต)อผลิตภัณฑ เจลล-างมือ

หากมีการวางจําหน)ายผลิตภัณฑเจลล-างมือ ท)านสนใจใช-ผลิตภัณฑดังกล)าวหรือไม) จํานวนเงินที่ท)านคาดว)าจะใช-ในการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑเจลล-างมือในแต)ละครั้งอยู)ที่เท)าไหร)

ท)านต-องการให-มีการวางจําหน)ายผลิตภัณฑ เจลล-างมือจากสถานที่ใด

ตัวเลือก แบบขวดพลาสติก

ค)าความถี่ 15

ขวดแก-ว หลอดบีบ ขวดกด ใหม)น)าใช-

5 50 30 40

มีความปลอดภัย มีส)วนผสมจากธรรมชาติ อื่นๆ สนใจ

45 10 5 70

ไม)แน)ใจ 10

30 30

20 30 ร-านค-าชุมชน

10 60 50

จากพื่อน ตลาดชุมชน ร-านอาหารและสุขภพ

5 30 15

45


ผลการวิจัย ตอนที่ 3 ข-อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ พบว)าส)วนมาก รูปแบบของผลิตภัณฑเจลล-างมือส)วนมากเป>นแบบหลอดบีบ แบบผลิตภัณฑส)วนน-อย เป>นแบบขวดแก-ว และในความคิดเห็นเกี่ยวกับเจลล-างมือ ส)วนมากคิดว)าเป>นผลิตภัณฑใหม)ที่ใช-เพื่อความ สะอาด ส)วนน-อยคิดว)าเป>นผลิตภัณฑอื่นๆ ซึ่งหากมีการวางจําหน)ายเจลล-างมือจํานวน70คนสนใจซื้อ และ จํานวน30คนที่ไม)แน)ใจ และจํานวนเงินที่จะซื้อย)างในแต)ละครั้งส)วนมากอยู)ที่30บาท ส)วนน-อยจํานวนเงินที่จะ ซื้อเจลล-างมือในแต)ละครั้ง20บาท และหากมีการวางจําหน)ายเจลล-างมือส)วนมากต-องการให-มีการวางจําหน)าย ที่ร-านค-าชุมชน ส)วนน-อยเป>นการซื้อจากเพื่อน แบบสอบถามครั้งที่2 การพัฒนาผลิตภัณฑเจลล-างมือตามความต-องการของผู-ใชการทําแบบสอบถามครั้งที่2เป>นการสํารวจความพึงพอใจผลิตภัณฑหลังจากได-ใช-เจลล-างมือ เพื่อพัฒนาเจ ลล-างมือตามความต-องการของผู-บริโภคเพื่อนําข-อมูลที่ได-หรือข-อมูลความต-องการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ ที่ผู-บริโภคต-องการนํากลับมาแก-ไขและพัฒนาผลิตภัณฑให-ดีขึ้น โดยกลุ)มของพวกเราได-ทําการสํารวจ พฤติกรรมความต-องการของผู-บริโภคช)วงอายุ10-18ปเมื่อได-ใช-เจลล-างมือทั้งสิ้น50ชุด สรุผลได-ดังตาราง ด-านล)าง 5=เห็นด-วยอย)างยิ่ง 4=เห็นด-วย 3=ไม)แน)ใจ 2=ไม)เห็นด-วย 1=ไม)เห็นด-วยอย)างยิ่ง ข-อที่ รายการ ตัวเลือก ค)าความถี่ 1 ชอบใช-เจลล-างมือแบบดั้งเดิม 5 25 4 11 3 10 2 2 1 1 2 ชอบใช-เจลล-างมือสูตรว)านหางจระเข5 5 4 20 3 15 2 6 1 4 3 ชอบใช-เจลล-างมือสูตรมะกรูด 5 15 4 16 3 12 2 6 1 1 4 ชอบใช-เจลล-างมือสูตรว)านหางจระเข-และมะกรูด 5 30 4 15 3 3 2 1 1 1 46


5

ชอบเจลล-างมือแบบบรรจุในหลอดบีบ

6

เจลล-างมือเป>นผลิตภัณฑใหม)ที่น)าทดลองใช-

7

เจลล-างมือควรจําหน)ายในราคา30บาท

8

สนใจซื้อเจลล-างมือจากร-านค-าชุมชน

9

ความพึงพอใจต)อเจลล-างมือของท)าน

5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1

30 14 3 2 1 25 20 3 2 0 25 15 5 3 2 20 15 10 2 3 26 10 4 6 4

สรุปผลการวิจัย จากการสํารวจผู-ใช-ในช)วง10-18ปพบว)าส)วนมากมีความสนใจเจลล-างมือสูตรว)านหางจระเข-และมะกรูด รองลงมาเป>นเจลล-างมือสูตรมะกรูด และส)วนน-อยชอบเจลล-างมือสูตรว)านหางจระเข- ซึ่งผู-ใช-เห็นด-วยอย)างยิ่ง ในเรื่องการใส)บรรจุภัณฑในหลอดบีบ ส)วนมากผู-ใช-มีความพึงพอใจอย)างมากกับผลิตภัณฑเจลล-างมือเพราะ เป>นผลิตภัณฑที่ใหม)น)าใช-ถ-าหากมีการวางจําหน)ายผลิตภัณฑเจลล-างมือส)วนมากสนใจที่จะซื้อ

47


อภิปรายผล ในการทําเจลล-างมือสร-างรายได- นั้นได-มีการทําแบบสอบถาม สองครั้ง โดยครั้งที่1 คือ การสํารวจ พฤติกรรมความต-องการของผู-บริโภคต)อผลิตภัณฑเจลล-างมือโดยมีกลุ)มตัวอย)างทั่วไปเป>นเพศหญิงจํานวน50 คน และเพศชายจํานวน50คน มีช)วงอายุ10-18ปที่โดยปกติชอบใช-เจลล-างมือ ซึ่งเหตุผลที่ชอบใช-เจลล-างมือ ส)วนมากเพื่อความสะอาด และรูปผลิตภัณฑเจลล-างมือส)วนมากที่นิยมใช-เป>นบรรจุภัณฑเป>นแบบหลอดบีบ รองลงมาแบบผลิตภัณฑส)วนน-อยเป>นแบบขวดแก-ว ซึ่งในความคิดเห็นเกี่ยวกับเจลล-างมือส)วนมากคิดว)าเป>น ผลิตภัณฑใหม)ที่น)าใช-และจํานวนเงินที่จะซื้อเจลล-างมือในแต)ละครั้งส)วนมากอยู)ที่ 30 บาท และคุณสมบัติที่ใชพิจารณาในการตัดสินใจซื้อส)วนมากเพื่อความสะอาด ซึ่งปจจัยที่มีอิทธิพลต)อการเลือกซื้อเจลล-างมือจํานวน มากเกิดจากตัวเอง และปจจัยที่มีอิทธิพลต)อการเลือกซื้อเจลล-างมือจํานวนน-อยเกิดจากเพื่อน ดังนั้นเพื่อเปdน การสํารวจความแน)ใจก)อนมีการขายผลิตภัณฑเจลล-างมือเพื่อรายได-เสริม ได-มีการทําแบบสอบถามครั้งที่2 โดย การสํารวจความพึงพอใจผลิตภัณฑหลังจากได-ใช-เจลล-างมือ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑเจลล-างมือตามความต-องการ ของผู-ใช-โดยเน-นกลุ)มเปdาหมายผู-ใช-ในช)วงอายุ10-18ป พบว)ามีความสนใจผลิตภัณฑเจลล-างมือสูตรว)านหาง จระเข-และมะกรูด รองลงมาเป>นเจลล-างมือสูตรมะกรูด และส)วนน-อยชอบเจลล-างมือสูตรว)านหางจระเข- ซึ่ง ผู-ใช-เห็นด-วยอย)างยิ่งในเรื่องการใช-บรรจุภัณฑในหลอดบีบ ส)วนมากผู-ใช-มีความพึงพอใจอย)างมากกับผลิตภัณฑ เจลล-างมือเพราะเป>นผลิตภัณฑที่ใหม)น)าใช- ถ-าหากมีการวางจําหน)ายผลิตภัณฑเจลล-างมือส)วนมากสนใจที่จะ ซื้อ สรุปผล ในการทําโครงการเรื่อง เจลล-างมือสร-างรายได- เป>นโครงงานประเภทเศรษฐศาสตร ได-มีการทําเจลล-างมือ เพิ่มรายได- และสามรถทําเป>นอาชีพเสริมได- จากนั้นพวกเราได-ออกแบบสอบถามโดยยึดหลักการตลาด 7 Ps โดยออกแบบครั้งที่1 เกี่ยวกับการสํารวจพฤติกรรมความต-องการของผู-ใช-ต)อผลิตภัณฑเจลล-างมือพบว)าเป>น เพศหญิง50คนและเพศชายจํานวน50คนมีช)วงอายุที่10-18ปเป>นจํานวนมากและมีช)วงอายุ50ปขึ้นไปเป>น จํานวนน-อย ซึ่งมีอาชีพเป>นนักเรียนส)วนใหญ)และมีอาชีพเป>นเกษตกรส)วนน-อยและส)วนมากมีรายได-เฉลี่ยต)อ เดือนน-อยกว)า3000บาท ส)วนน-อยมีรายได-เฉลี่ย12,000-15,000บาท ซึ่งเหตุผลที่ชอบใช-เจลล-างมือส)วนมาก เพื่อความสะอาด และรูปแบบผลิตภัณฑเจลล-างมือส)วนมากที่นิยมใช-เป>นแบบบรรจุภัณฑหลอดบีบ รองลงมา เป>นแบบขวดแก-ว และในความคิดเห็นเกี่ยวกับเจลล-างมือ ส)วนมากคิดว)าเป>นผลิตภัณฑใหม)ที่ใช-เพื่อความ สะอาด ส)วนน-อยคิดว)าเป>นผลิตภัณฑอื่นๆ ซึ่งหากมีการวางจําหน)ายเจลล-างมือจํานวน70คนสนใจซื้อ และ จํานวน30คนที่ไม)แน)ใจ และจํานวนเงินที่จะซื้อย)างในแต)ละครั้งส)วนมากอยู)ที่30บาท ส)วนน-อยจํานวนเงินที่จะ ซื้อเจลล-างมือในแต)ละครั้ง20บาท และหากมีการวางจําหน)ายเจลล-างมือส)วนมากต-องการให-มีการวางจําหน)าย ที่ร-านค-าชุมชน ส)วนน-อยเป>นการซื้อจากเพื่อน ขณะในการทําเจลล-างมือก็มีอุปสรรคก็คือ ผู-ใช-มีความชอบที่ ต)างกัน พวกเราได-ลองทําเจลล-างมือเรื่อยๆจนสามารถแก-ไขปญหาได-ก็คือ ได-คิดทําเจลล-างมือขึ้นมา3สูตรคือ สูตรว)านหางจระเข- สูตรมะกรูด สูตรว)านหางจระเข-และมะกรูด ส)วนวัตถุการทําก็เหมือนเดิม จากนั้นได-มีการ ออกแบบครั้งที่2การสํารวจพฤติกรรมความต-องการของผู-ใช- เพื่อต-องการทราบข-อมูลที่ผู-ใช-กลุ)มเปdาหมายพอใจ หรือไม)อย)างไรในการเลือกใช-ผลิตภัณฑเจลล-างมือ โดยการแจกแบบสอบถามการสํารวจความพึงพอใจ ผลิตภัณฑหลังจากได-ใช-เจลล-างมือ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑตามความต-องการของผู-ใช-เพื่อนําข-อมูลที่ได-หรือข-อมูล ความต-องการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑที่ผู-ใช-ต-องการ นํากลับมาแก-ไขและพัฒนาผลิตภัณฑให-ดีขึ้นพร-อม 48


กับการแจกผลิตภัณฑเจลล-างมือสูตรต)างๆเพื่อให-ผู-ใช-ได-ทดลองก)อนเพื่อสํารวจความแน)ใจก)อนมีการขาย ผลิตภัณฑเจลล-างมือเพื่อรายได-เสริมจากผลของแบบสอบถามการสํารวจพฤติกรรมความต-องการของผู-ใชหลังจากได-ใช-เจลล-างมือ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑเจลล-างมือตามความต-องการของผู-ใช-โดยเน-นกลุ)มเปdาหมาย ผู-บริโภคในช)วงอายุ 10-18ป พบว)ามีความสนใจผลิตภัณฑเจลล-างมือสูตรว)านหางจระเข-และมะกรูด รองลงมา เป>นเจลล-างมือสูตรมะกรูด และส)วนน-อยชอบเจลล-างมือสูตรว)านหางจระเขส)วนบรรจุภัณฑผู-ใช-เห็นด-วยอย)างยิ่งในเรื่องการใส)บรรจุภัณฑในหลอดบีบ ส)วนมากผู-ใช-มีความพึงพอใจ อย)างมากกับผลิตภัณฑเจลล-างมือเพราะเป>นผลิตภัณฑใหม)ที่น)าใช- ถ-าหากมีการวางจําหน)ายผลิตภัณฑเจลล-าง มือส)วนมากสนใจที่จะซื้อ และได-รับความร)วมมือทําแบบสอบถามทั้งสองครั้ง โดยผู-ใช-ผลิตภัณฑได-มีขอ เสนอแนะหรือข-อคิดดีๆมาให-กลุ)มพวกเราได-นํามาพัฒนาผลิตภัณฑเจลล-างมือ เช)น พยามยามสู-ต)อไป ยินดี สนับสนุนผลิตภัณฑ เป>นการทําเจลล-างมือจากวัตถุดิบธรรมชาติ มีความปลอดภัย ผลิตภัณฑน)าใช-สะอาด ซึ่ง จากข-อเสนอแนะทั้งหมดนี้ เป>นการพูดให-กําลังใจ รวมทั้งข-อที่ควรปฏิบัติ ต-องขอขอบพระคุณทุกๆท)านที่ใหความร)วมมือในการตอบแบบสอบถามทั้งสองครั้ง จากการทําเจลล-างมือมีการลงทุนซื้ออุปกรณทั้งหมด 500 บาท ได-มีการขายเจลล-างมือทั้งหมด 20 หลอด ซึ่งหลอดหนึ่งราคา30บาท ได-ทั้งหมด 600 บาท เห็นได-ว)า ลงทุน 500บาท ได-กําไร 100บาท

49


เอกสารอ*างอิง Matinee wongpian (2557 ) เจลล-างมือว)านหางจระเข- สืบค-นเมื่อวันที่ 5 เดือนสิงหาคม ป2560 จาก เว็บไซต: http://matinee10135.blogspot.com/2014/09/blog-post.html Noom Nnpt (2557) เจลล-างมือมะกรูด สืบค-นเมื่อวันที่ 5 เดือนสิงหาคมป2560จากเว็บไซต: http://pitchaporn27101.blogspot.com/2016/02/1-1.html Sawitree huabbangyanghuabbangyang (2559) เจลล-างมือมะนาว สืบค-นเมื่อวันที่5 เดือน สิงหาคม ป2560 จากเว็บไซต: https://www.youtube.com/watch?v=-XOLrhOqYEc HONG HUAT COMPANY LIMITED ( 2559 ) เจลล-างมือ สืบค-นเมื่อวันที่ 5 เดือนสิงหาคม ป 2560 จาก เว็บไซต : https://www.youtube.com/watch?v=Ns-nfGBr_4w&t=2s Basic Cosme (2559) วิธีสร-างเนื้อเจล สืบค-นวันที่ 5 เดือนสิงหาคม ป2560 จากเว็บไซต: https://www.youtube.com/watch?v=qHvCxsZR8U4 Worldchemical Group ( 2560 ) วิธีทําเจลว)านหางจะเข- สืบค-นวันที่ 5 เดือนสิงหาคม ป 2560 จาก เว็บไซต : https://www.youtube.com/watch?v=7LG5XbbR52c น.ส ลลิตา แก-วนาบอน (2558) โครงงานเจลล-างมือจากว)านหางจระเข-และมะกรูดสืบค-นวันที่ 5 เดือน สิงหาคม ป 2560 จากเว็บไซต: https://www.youtube.com/watch?v=vezib-4edWk

50


ภาคผนวก

51


ภาพกิจกรรม

52


ตัวอย)างบรรจุภัณฑ

53


โครงงาน RBL เรื่อง ผงแซบ

อาจารยที่ปรึกษาโครงการ นางสาว ยาใจ เจริญพงษ

คณะผู*วิจัย (นักเรียน) 1.นางสาวจุฑารัตน ตรงกลาง 2.นางสาวดรุณี สุวรรณคีรี 3.นาย ธีรภัทร บุญจรัส 4.นายธีรศักดิ์ ภูมิประเสริฐ

สนับสนุนโดยสํานักงานทองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว)และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย ชุดโครงการ“เพาะพันธุปญญา” (พัฒนายุววิจัย) 54


กิตติกรรมประกาศ ในการจัดทําโครงงานRBL เรื่อง ผงแซบสําเร็จได-ด-วยความอนุเคราะหของบุคลากรที่เกี่ยวข-องหลาย ท)าน ขอขอบคุณท)านผู-อํานวยการ ชาติชาย สิงหพรหมสาร ผู-อํานวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระ สังฆราชูปถัมภและนายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผู-อํานวยการโรงเรียน ซึ่งเป>นฝgายบริหารงานโรงเรียนที่คอย ส)งเสริมและสนับสนุนการจัดทําโครงงาน RBL มาโดยตลอด คุณครูยาใจ เจริญพงษ ครูที่ปรึกษาโครงงาน RBL เรื่องผงแซบ ที่คอยให-คําปรึกษาแนะนําและตรวจแก-ไขข-อบกพร)องต)างๆ จนโครงงาน RBL สําเร็จลุล)วงไปไดด-วยดี ขอขอบคุณ คุณครูเดชมณี เนาวโรจน หัวหน-าโครงการเพาะพันธุปญญาโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ตลอดจนบุคลลากรทางการศึกษาทุกท)านที่ให-โอกาสดีๆ ขอขอบพระคุณบิดามารดาที่ ส)งเสริมสนับสนุนมาโดยตลอด ตลอดจนเพื่อนๆพี่ๆน-องๆในโรงเรียนที่มีส)วนส)งเสริมสนับสนุนให-โครงงาน RBL เรื่องผงแซบ สําเร็จลุล)วงตามวัตถุประสงค ขอขอบพระคุณยิ่ง คณะผู-จัดทํา

55


บทคัดย)อ ชื่อโครงงาน การศึกษาเรื่องผงแซบ ชื่อผู-จัดทําโครงงาน นางสาวจุฑารัตน ตรงกลาง นางสาวดรุณี สุวรรณคีรี นายธีรภัทร บุญจรัส นายธีรศักดิ์ ภูมิประเสริฐ ครูที่ปรึกษา นางสาวยาใจ เจริญพงษ ปที่ทํา พ.ศ. 2560 โครงงานเพาะพันธุปญญาได-ทําการศึกษาเรื่องผงแซบ เพื่อศึกษาการใช-ผงแซบแทนผงชูรสในอาหาร โดยการใช-แบบประเมินความพึงพอใจในการสอบถามข-อมูล ซึ่งผลการเก็บข-อมูลพบว)า ผงแซบสูตรที่ 1รสหวาน สามารถใช-แทนอาหารประเภท ผัด ทอด โดยความพึงพอใจอยู)ในระดับ ร-อยละ 69 ผงแซบสูตรที่ 2 รสเผ็ด สามารถใช-แทนอาหารประเภทผัด โดยความพึงพอใจอยู)ในระดับร-อยละ 71 จากการทดลองสรุปได-ว)าผงแซบสูตรที่ 1 รสหวาน มีความเหมาะสมในการประกอบอาหารประเภท ผัดและทอดมากที่สุด โดยระดับความพึงพอใจของผู-บริโภคอยู)ในระดับร-อยละ 72

56


บทนํา ที่มาและความสําคัญ ผงแซบ...สมุนไพรชูรส แทนผงชูรส : เมื่อการดําเนินชีวิตแปรเปลี่ยนไป ผู-คนหันมาพึ่งอาหารสําเร็จรูป อาหารนอกบ-าน สารพัดโรคจึงตามมา ทั้งโรคหัวใจ โรคเครียด โรคประสาท “ผงแซบ”ช)วยสร-างรสชาติอาหาร ให-กลมกล)อม ผลิตจากสมุนไพรธรรมชาติ นับเป>นอีกทางเลือกหนึ่งที่น)าสนใจ เมื่อความเจริญเข-ามาวิถีชีวิตผู-คนเริ่มเปลี่ยนไปมากขึ้น จากที่เคยบริโภคพืชผักท-องถิ่นเด็ดจากริมรั้ว แต)ละครอบครัวก็หันมาพึ่งอาหารถุงสําเร็จรูป ซื้อวัตถุดิบจากรถกับข-าวเร)ขาย และสิ่งที่ตามมาก็คือ ชาวบ-าน เริ่มปgวยเหมือนคนเมือง บางครั้งเป>นโรคหัวใจ โรคเครียด โรคประสาท แม)บ-านสมัยใหม)ทํากับข-าวพอถูๆ ไถๆ แค)ฉีกถุงผงชูรสลงไปก็จบเลยรสชาติกลมกล)อมถูกใจ แต)บริโภคเป>นจํานวนมากก็ไม)ดี บางคนก็แพ-สารที่อยู)ใน ผงชูรสอีกต)างหาก ถ-าหันมาชูรสโดยวิธธี รรมชาติด-วยการหลีกเลี่ยงที่จะใช-น้ําต-มกระดูกหมู ไม)ก็ถั่วเหลืองแทน แต)กว)าจะเคี่ยวเพื่อนําไปทําอาหารก็คงจะไม)ทันใจสําหรับคนยุคนี้ แถมใช-ครั้งเดียวแล-วทิ้ง หรือถ-าไม)อยากเคี่ยว กระดูกหมูให-ยุ)งยาก ยังมีอีกอย)างหนึ่งที่ใช-แทนกันได- มีชื่อเรียกว)า “ผงแซบ” ดังนั้นกลุ)มของพวกเราจึงได-คิดค-น ผงแซบ แทนการใช-ผงชูรสในการประกอบอาหารในโรงเรียนสมเด็จ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ เพื่อลดโรค แต)ร)างกายได-พลังงานและสารอาหารเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผงแซบที่ใช-แทนผงชูรสโดยศึกษา2 สูตร ได-แก) สูตรที่ 1 ผงแซบรสหวาน สูตรที่ 2 ผงแซบรสเผ็ด ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน สมมติฐาน ผงแซบรสหวานและรสเผ็ดนํามาใช-แทนผงชูรสในการประกอบอาหาร ตัวแปร ตัวแปรอิสระ(ตัวแปรต-น) ได-แก) รสหวาน (ข-าวเหนียวสุกตากแห-ง,หัวมันเทศต-มสุก,ใบก-านตรง,ยอดอ)อนใบ คอนแคน,ยอดอ)อนมะรุม,ข-าวโพด)รสเผ็ด(ตะไคร-,ขิง,ข)า,ขมิ้นชัน,พริกไทย,กะเพรา,ใบมะกรูด) ตัวแปรตาม ได-แก) รสชาติของอาหาร ความพึงพอใจ ตัวแปรควบคุม ได-แก) ปริมาณของสมุนไพร รสชาติของผงแซบ ระยะเวลาในการทดลอง

57


ความพึงพอใจ ใบไม้

ขยะ

ปญหาสุขภาพในโรงเรียน

โรคอ-วน

รสหวานหวาน หวานหวาน อร)อย ผงชูรส

อาหาร

ผงแซบ

สีสัน

รสเผ็ด

โครงงานนี้มีตัวแปรต)อไปนี้และแสดงแผนผังเหตุ-ผล ในรูปที่ 1 วิธีการทดลอง วิธีทํา (สูตรที่1 รสหวาน) 1. ล-างผักทั้งหมดให-สะอาดแล-ว 2. ตําส)วนผสมกับข-าวเหนียวสุกตากแห-งให-แหลกละเอียด เข-ากันให-ดี 3. ใส)กระดงเกลี่ยบางๆ 4. ผึ่งลมให-แห-งสนิท 2-3 วัน แล-วร)อนเก็บ 5. เป>นผงใส)ขวดไว-ในที่แห-ง ใช-ใส)แกง, ต-ม, ปgน, แจ)ว, ส-มตํา, อ)อมฯ วิธีทํา (สูตรที่2 รสเผ็ด) 1. ล-างผักทั้งหมดให-สะอาดแล-ว 2. นําทุกอย)างมาหั่นบางๆ แล-วนําไปตากแดดให-แห-งสนิท 3. นําวัตถุดิบแต)ละอย)างมาตําจนละเอียด (ตําที่ละอย)างก)อน) 4. เมื่อส)วนผสมทุกอย)างละเอียดจนเป>นผงเล็กๆแล-ว นําทุกอย)างผสมเข-าด-วยกัน 5. เมื่อได-ผงนัวแล-วใส)ขวดโหลปUดฝาให-มิดชิด สูตรที่ 1 (รสหวาน) สูตรที่2 (รสเผ็ด) 1.ข-าวเหนียวสุกตากแห-ง 1กิโลกรัม 1.ตะไคร1กิโลกรัม 2. หัวมันเทศต-มสุก 1กิโลกรัม 2.ขิง 1กิโลกรัม 3.ใบก-านตรง 1กิโลกรัม 3.ขมิ้นชัน 1กิโลกรัม 4. ยอดอ)อนใบคอนแคน 1กิโลกรัม 4. หัวข)า 1กิโลกรัม 5. ยอดอ)อนมะรุม 1กิโลกรัม 5.พริกไทย 1กิโลกรัม 6.ข-าวโพด 1กิโลกรัม 6.กะเพรา 1กิโลกรัม 7.ใบมะกรูด 1กิโลกรัม

58


ผลการทดลอง เก็บข-อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีผลต)อผงแซบได-ข-อมูลดังกล)าวจากตารางที่ 1 ระดับความพึงพอใจในรสชาติผงแซบ เห็นด-วยมาก เห็นด-วยมาก เห็นด-วย เห็นด-วย รวม ค)าเฉลี่ย สูตรที่ ความพึงพอใจ ที่สุด

สูตรที่ 1 1.รสชาติอาหารที่ใส)ผงแซบ รสหวาน 2.สีสันของอาหารน)ารับประทาน 3.ความปลอดภัยจากสารเคมี 4.คุณค)าของสารอาหารที่เพิ่มขึ้น 5.ความพึงพอใจในภาพรวม สูตรที่ 2 1.รสชาติอาหารที่ใส)ผงแซบ รสเผ็ด 2.สีสันของอาหารน)ารับประทาน 3.ความปลอดภัยจากสารเคมี 4.คุณค)าของสารอาหารที่เพิ่มขึ้น 5.ความพึงพอใจในภาพรวม สูตรที่ 3 1.รสชาติอาหารที่ใส)ผงแซบ ผงชูรส 2.สีสันของอาหารน)ารับประทาน 3.ความปลอดภัยจากสารเคมี 4.คุณค)าของสารอาหารที่เพิ่มขึ้น 5.ความพึงพอใจในภาพรวม สูตรที่ 4 1.รสชาติอาหารที่ใส)ผงแซบ ไม)ใส) 2.สีสันของอาหารน)ารับประทาน เครื่องปรุ 3.ความปลอดภัยจากสารเคมี งรส 4.คุณค)าของสารอาหารที่เพิ่มขึ้น 5.ความพึงพอใจในภาพรวม

20 10 18 9 17 12 14 10 17 11 8 13 14 14 14 12 13 12 10 4

8 18 10 19 11 13 14 17 11 15 21 13 14 12 11 15 14 15 16 22

ปานกลาง

น-อย

2 2 2 2 2 5 2 3 1 4 1 4 2 4 5 3 3 2 3 3

1 1 1

30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

72.0 67.3 73.3 64.6 70.0 64.6 88.0 64.6 69.3 66.6 68.0 66.0 68.0 66.6 66.0 66.0 66.7 65.3 64.7 59.3

59


อัตราค)าเฉลี่ยของแต)ละสูตรได-จากกราฟดังต)อไปนี้ 90 80 70 60 50 40 30 20

รสชาติอาหารที1ใส่ผงแซบ สีสนั ของอาหารน่ารับประทาน ความปลอดภัยจากสารเคมี คุณค่าของสารอาหารที1เพิ1มขึ -น ความพึงพอใจในภาพรวม

10 0

สรุป อัตราค)าเฉลี่ยของแต)ละสูตรมีดังนี้ สูตร ความพึงพอใจ 1 ผงแซบรสหวาน 2 ผงแซบรสเผ็ด 3 ผงชูรส 4 ไม)ใส)ผงชูรส

ร*อยละความพึงพอใจ 72% 71% 67% 64%

อัตราค)าเฉลี่ยของสูตรที่ 1 รสหวาน ร-อยละ 69.0 อัตราค)าเฉลี่ยของสูตรที่ 2 รสเผ็ด ร-อยละ 71.0 อัตราค)าเฉลี่ยของสูตรที่ 3 ผงชูรส ร-อยละ 67.0 อัตราค)าเฉลี่ยของสูตรที่ 4 ไม)ใส)เครื่องปรุงรส ร-อยละ 64.0

60


เก็บข-อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจต)ออาหารที่ใช-ในการทดลองมีผลต)อผงแซบได-ข-อมูลดังกล)าวจาก ตารางที่ 2 ระดับความพึงพอใจ เมนู ส)วนผสม มากที่สุด มาก ปาน น-อย น-อยที่สุด รวม ค)าเฉลี่ย กลาง ไข)เจียว

ผัด กะหล่ําปลี ตับย)าง

ผงชูรส ผงแซบ(รสเผ็ด) ผงแซบ(รสหวาน) ไม)ใส)เครื่องปรุงรส ผงชูรส ผงแซบ(รสเผ็ด) ผงแซบ(รสหวาน) ไม)ใส)เครื่องปรุงรส ผงชูรส ผงแซบ(รสเผ็ด) ผงแซบ(รสหวาน) ไม)ใส)เครื่องปรุงรส

15 14 10 7 8 10 5 5 14 12 12 4

13 12 16 20 13 19 18 19 10 15 12 20

2 4 4 3 9 1 7 6 5 4 6 5

2 1 1

3 -

30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

88.6 86.6 84.0 82.6 79.3 86.0 78.6 79.3 74.6 89.3 84.0 78.0

61


อัตราค)าเฉลี่ยของอาหารแต)ละเมนูได-จากกราฟดังต)อไปนี้ 90

85 ผงชูรส

80

ผงแซบ(รสเผ็ด) ผงแซบ(รสหวาน) 75

ไม่ใส่เครื1 องปรุงรส

70

65 ไข่เจียว

ผัดกะหลํ1าปลี

ตับย่าง

สรุป อัตราค)าเฉลี่ยของอาหารแต)ละเมนูมีดังนี้ เมนู ไข)เจียว ผัดกะหล่ําปลี ตับย)าง

ร*อยละความพึงพอใจ 86% 81% 82%

อัตราค)าเฉลี่ยของ เมนูที่ 1 ไข)เจียว ร-อยละ 86.0 อัตราค)าเฉลี่ยของ เมนูที่ 2 ผัดกะหล่ําปลี ร-อยละ 81.0 อัตราค)าเฉลี่ยของ เมนูที่ 3 ตับย)าง ร-อยละ 82.0 อภิปรายผลและสรุปผล ผงแซบจากสมุนไพรนอกจากมีคุณสมบัติเป>นเครื่องปรุงรสแล-ว ยังให-ประโยชนด-านสมุนไพร โดย เฉพาะตัวผักพื้นบ-านเองมีวิตามินและเกลือแร)ต)างๆ ซึ่งเป>นสารอาหารที่จําเป>นต)อร)างกายและจากการศึกษา ของสถาบันการแพทยแผนไทยพบว)า ดอกมะรุม,ตะไคร-,กระชาย,โหระพา,ขมิ้นชัน,กระเทียม,อีกทั้งก-านตรงมี ศักยภาพในการต-านอนุมูลอิสระในระดับที่สูงมาก ทั้งนี้ ผักพื้นบ-านยังมีสารลดไขมันในเส-นเลือดปdองกัน โรคมะเร็ง,โรคเบาหวาน,ช)วยฟอกโลหิตและบํารุงร)างกาย โดยวิธีการทําผงแซบมีการถ)ายทอดไปสู)ชุมชนมาก ขึ้นผลิตเป>นผลิตภัณฑบริโภคกันเองในชุมชนบางที่ผงชูรสถึงกับขายไม)ออก โดยเฉพาะคนที่เป>นโรคเบาหวาน นิยมหันมาใช-ผงแซบเยอะขึ้น"(นิภาพร:วิจัยศึกษาเรื่องนี้ขึ้นมาเมื่อราว 4 ปที่ผ)านมา)ในการทําผงแซบมาใชประกอบอาหารนั้นผู-ทดลองได-เก็บข-อมูลได-สอบผู-บริโภคโดยใช-แบบประเมินความพึงพอใจในการเก็บข-อมูล สอบถามความพึงพอใจโดยใช-เกณฑ รสชาติอาหารที่ใส)ผงแซบสีสันของอาหารน)ารับประทาน ความปลอดภัย 62


จากสารเคมีและคุณค)าของสารอาหารที่เพิ่มขึ้นโดยใช- ผงปรุงรส 4 สูตรในการทดลอง ได-แก) ผงแซบรสหวาน ร-อยละความพึงพอใจอยู)ในระดับ 72% สูตรที่ 2 ผงแซบรสเผ็ด ร-อยละความพึงพอใจอยู)ในระดับร-อยละ 71% สูตรที่ 3 ใส)ผงชูรสร-อยละความพึงพอใจอยู)ในระดับ 67% สูตรที่ 4 ไม)ใส)เครื่องปรุงร-อยละความพึงพอใจอยู)ใน ระดับ 64% ซึ่งปจจัยที่มีอิทธิพลต)อระดับความพึงพอใจในรสชาติอาหาร นอกจากรสชาติที่กลมกล)อมแล-ว ผู-บริโภคยังนึก ถึงความปลอดภัยของสุขภาพ เมื่อรับประทานแล-วสามารที่จะเป>นยาบํารุงร)างกายได-เพราะผลิตมาจาก สมุนไพร ซึ่งน)าจะเป>นปจจัยที่น)าสําคัญ เพราะปจจุบันคนหันมาใส)ใจสุขภาพมากขึ้น ดังนั้นผู-มูลจากการสํารวจความพึงพอใจ ผู-จัดทําได-พัฒนาผงแซบตามคําแนะนําของผู-ทดลอง ซึ่งพบว)ามีความ สนใจอาหารสูตรรสหวานมากที่สุด และส)วนน-อยจะชอบสูตรเผ็ด ในการทําโครงงานนี้ผู-ปกครองได-เรียนรู-ว)า ได-รู-ถึงการพัฒนาการของคณะผู-วิจัยการนําเอาสมุนไพรท-องถิ่นมาใชประโยชนคุณค)าและสรรพคุณของสมุนไพรที่สามารถแปรรูปเป>นผลิตภัณฑเครื่องปรุงอาหารแทน ผงชูรสไดรู-จักนําสมุนไพรท-องถิ่นมาใช-ประโยชนในช)วงที่บางชนิดขาดตลาดได-รู-เห็นกลุ)มคณะผู-วิจัยใช-เวลาว)างให-เป>น ประโยชนและได-เรียนรู-ถึงพืชสมุนไพรในท-อถิ่นที่สามารถนํามาประกอบอาหารไดส)วนผู-วิจัยได-เรียนรู-ว)า สิ่งที่ได-เรียนรู-ในการสังเกต การทดลองการดําเนินงานในแต)ละขั้นตอนรู-จักนิสัยเพื่อน มากขึ้น ได-เรียนรู-การวิเคราะหแยกแยะและการทํางานเป>นระบบ การทําผงแซบสามารถหาสมุนไพรทําได-เอง ตามท-องถิ่นและสมุนไพรนั้นมีราคาที่ย)อมเยาสามารถปลูกเองไดh ดังนั้น ในการทําโครงงาน RBL เรื่องผงแซบ มีทั้งผู-ปกครองและนักเรียนที่ได-เรียนรู-ไปด-วยกัน และสามารถ นําไปใช-ในชีวิตประจําวันให-เกิดผลประโยชนสูงสุด

63


ได้ เรี ยนรู้ในการสังเกต การทดลองในเชิงวิทยาศาสตร์

ได้ เรี ยนรู้การดําเนินงานในแต่ละขันตอน -

รู้จกั นิสยั เพื1อนมากขึ -น

มีการทํางานเป็ นระบบ

คณะผู้วจิ ัย • •

ได้ เรี ยนรู้วา่ การทําผงแซบสามารถหาสมุนไพรทําได้ เอง ตามท้ องถิ1นและสมุนไพรนันมี - ราคาที1ยอ่ มเยาสามารถ ปลูกเองได้ ได้ เรี ยนรู้การทํางานเป็ นกลุม่ และเป็ นขันตอน ได้ เรี ยนรู้การวิเคราะห์แยกแยะในการทํางาน

สะท้ อนการเรียนรู้ •

ได้ ร้ ูถึงการพัฒนาการของคณะผู้วิจยั

ได้ ร้ ูถึงการนําเอาสมุนไพรท้ องถิ1นมาใช้ ประโยชน์

ได้ ร้ ูถึงคุณค่าและสรรพคุณของสมุนไพรที1สามารถแปรรูป

ผู้ปกครอง

เป็ นผลิตภัณฑ์เครื1 องปรุงอาหารแทนผงชูรสได้ •

ได้ ร้ ูจกั นําสมุนไพรท้ องถิ1นมาใช้ ประโยชน์ในช่วงที1บางชนิด ขาดตลาด

ได้ ร้ ูเห็นกลุม่ คณะผู้วจิ ยั ใช้ เวลาว่างให้ เป็ นประโยชน์และได้ เรี ยนรู้ถึงพืชสมุนไพรในท้ อถิ1นที1สามารถนํามาประกอบ อาหารได้

64


เอกสารอ*างอิง http://www.finearts.go.th/nakhonphanomlibrary/parameters/km/item ผงนัว-มหัศจรรยแห)งรส แซบ-ภูมิปญญาของชาวอีสาน https://sites.google.com/site/bannongsan/phng-naw นิภาพรอามัสสา แห)งสถาบันวิจัยและฝmกอบรม การเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสกลนคร ได-สนใจที่จะวิจัยศึกษาเรื่องนี้ขึ้นมาเมื่อราว 4 ปที่ ผ)านมา http://www.parameelaw.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539654849&Ntype=4 พ)อ แสง นามตะ หมอพื้นบ-านด-านสมุนไพร ศูนยการเรียนรู-สุขภาพชุมชน เครือข)ายเกษตรนิเวศนเทพนิมิตร จังหวัดชัยภูมิ https://dspace.tarr.arda.or.th/handle/6622815955/11472 โครงการบูรณาการฐานข-อมูลความรู-ดิจิทัล ด-านการเกษตรแห)งชาติเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจดูแลโดยสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) อีเมล support@arda.or.th

65


ภาคผนวก

66


เริ่มทําการผลิตผงแซบ สูตรเผ็ด และสูตรหวาน แล-วก็นําสมุนไพรทั้ง 2 สูตรที่หั่นเสร็จแล-วไปผึงแดดให-แห-ง แล-วนํามาโขลกให-ละเอียดพอประมาณก)อนที่จะนําไปปtน เพื่อให-เป>นผง

หลังจากที่โขลกละเอียดแล-ว เราได-ก็นําผงที่ละเอียดปานกลาง มาปtนให-ละเอียด สําหรับมันเทศเรานํามาอบ ก)อนไปตากแห-งเพื่อปdองกันไม)ให-เสียง)าย

67


สืบค-นหาข-อมูลที่เกี่ยวกับสมุนไพรในท-องถิ่น

นําเสนอโครงงานครั้งแรกของโครงการ เพาะพันธุปญญา

นําผงแซบมาทําการทดลองกับอาหารครั้งแรก โดยนําผงแซบทั้ง 2 สูตร มาทดลองกับไข)เจียว แบ)งออกเป>น 2 จาน จานหนึ่งใส)ผงแซบสูตรหวาน อีกจานหนึ่งใส)ผงแซบสูตรเผ็ด เพื่อทดลองชิมรสชาติของอาหารแต)ละสูตร ว)า สูตรไหนที่มีรสชาติดีกว)ากัน

จานที่1 ใส)ผงแซบสูตรหวาน

จานที่2 ใส)ผงแซบสูตรเผ็ด 68


โดยมีคณะกลุ)มผู-วิจัยและผู-ปรกครองได-ร)วมเป>นส)วนหนึ่งในการชิมรสชาติของอาหาร พร-อมให-คําติชม เกี่ยวกับ รสชาติของอาหาร พวกเราก็ได-นําคําติชมเหล)านั้นมาปรับปรุง เพื่อให-รสชาติของอาหารกลมกล)อมกว)าเดิม

นําผงแซบชทั้ง2 สูตรมาทดลองกับเมนูที่ 2 คือเมนูไก)เขย)า

69


นําผงแซบทังB - สูตรมาผสมกัน และนํามาบดให้ ผงแซบทัง- B สูตเป็ นเนื -อเดียวกัน แล้ วก็นํามาปรุงกับไก่ที1สกุ แล้ ว หรื อ ปรุง ก่อนที1จะนําลงไปทอด

แบบใส)ผงชูรส

แบบใส)ผงแซบทั้ง2สูตร ลงมือทําตามขันตอนที 1กําหนดไว้

นําผงแซบมาทดลองกับเมนูที่ 3 คือ เมนูย)างตับ

70


โดยมีคณะกลุ)มผู-วิจัยและผู-ปกครองได-เป>นส)วนหนึ่งในการชิมรสชาติของอาหาร

71


อาจารยที่ปรึกษาให-คําแนะนํา และคณะกลุ)มผู-วิจัยปรึกษา กันเรื่องโครงงาน

72


นําผงแซบทั้ง2สูตรมาประกอบอาหาร และโดยมีกลุ)มผู-วิจัย คณะครู และกลุ)มนักเรียนภายในโรงเรียนสมเด็จ พระญาณสังวรฯ ได-ร)วมเป>นส)วนหนึ่งในการชิมรสชาติของอาหาร และกรอกแบบสอบถามความพึงพอใจ

ออกแบบการนยําเสนอความก-าวหน-าของโครงการ

73


นําเสนอความก-าวหน-าของโครางการ พพปญ. ครั้งที่ 2 74


คณะกลุ)มผู-วิจัยและอาจารยที่ปรึกษาโครงงาน

75


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.