ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม

Page 1

ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยว และการโรงแรม Research Methodology for Tourism and Hospitality


ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม

อัศวิน แสงพิกุล

ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สิงหาคม 2556


ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม เขียนโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน แสงพิกุล พิมพ์ ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2556 © 2556 ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ การผลิตและการลอกเลียนแบบต�ำราเล่มนี้ไม่ว่ารูปแบบใดทั้งสิ้นต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรุกิจบัณฑิตย์ อัศวิน แสงพิกุล ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม./อัศวิน แสงพิกุล--กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2556, 356 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง. 1 .ระเบียบวิธีวิจัย. 2. การวิจัยเบื้องต้น 3. การท่องเที่ยว 4. การโรงแรม ISBN 978-974-671-620-8 ผู้จัดจ�ำหน่าย ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 สาขา ศาลาพระเกี้ยว โทร.0-2218-7000-3 โทรสาร0-2255-4441 สยามสแควร์ โทร.0-2218-9881-2 โทรสาร 0-2254-9495 ม.นเรศวร จ. พิษณุโลก โทร. 0-5526-0162-4 โทรสาร 0-5526-0165 ม.เทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา โทร. 0-4421-6131-4 โทรสาร 0-4421-6135 ม.บูรพา จ.ชลบุรี โทร. 0-3839-4855-9 โทรสาร 0-3839-3239 โรงเรียนนายร้อย จปร. จ.นครนายก โทร. 0-3739-3023 โทรสาร 0-3739-3023 จัตุรัสจามจุรี (CHAMCHURI SQUARE) ชั้น 4 โทร. 0-2160-5301-2 โทรสาร0-2160-5304 รัตนาธิเบศร์ (แยกแคราย) โทร. 0-2950-5408-9 โทรสาร 0-2950-5405 Call Center (จัดส่งทั่วประเทศ) โทร. 0-2255-4433 http://www.chulabook.com เครือข่าย ศูนย์หนังสือ ม.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย โทร. 0-5391-7020-4 โทรสาร 0-5391-7025 ศูนย์หนังสือ ม.วลัยลักษณ์ จ.นครศรีธรรมราช โทร. 0-7567-3648-51 โทรสาร 0-7567-3652 ร้านหนังสือบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) รามค�ำแหง 43/1 โทร.0-2538-2573 โทรสาร 0-2539-7091 ศูนย์หนังสือ ม.ราชภัฏเชียงราย จ.เชียงราย โทร.0-5377-6000 ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฏร์ธานี โทร. 0-7735-5466, 0-7735-5654, โทรสาร 0-7735-5468 ศูนย์หนังสือเทคโนโลยีไออาร์พซี ี จ.ระยอง โทร 0-3889-9130-2 ต่อ 331 โทรสาร 0-3889-9130 ต่อ 301 ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี จ.ลพบุรี โทร. 0-3642-7485-93 ร้านค้าติดต่อ แผนกขายส่ง สาขารัตนาธิเบศร์ (แยกแคราย) โทร. 0-2950-5408-9 โทรสาร 0-2950-5405 พิมพ์ท ี่

โรงพิมพ์ ฟูจิซีร็อกซ์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชื่น แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทร. 0-2954-7300 ต่อ 277 โทรสาร 0-2954-7908


ค�ำน�ำ ต�ำราเล่มนี้เขียนขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจในระเบียบวิธีวิจัย ด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เนื้อหาส่วนใหญ่ ในต�ำราเล่มนี้ใช้หลักการและระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เป็นแนวทางในการอธิบายเนื้อหา การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม และมีตวั อย่างงานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม ประกอบการอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้เนื้อหามีความชัดเจนและความสมบูรณ์มากขึ้น ต�ำราเล่มนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นต�ำราเล่มแรกๆ ในสาขาวิชาที่ให้ข้อมูลและความรู้เชิงลึกใน การวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม เนื่องจากมีการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ประเด็น ต่างๆ เพือ่ อธิบายและเพิม่ พูนความรูใ้ ห้แก่ผอู้ า่ นให้เข้าใจถึงลักษณะและบริบทของการวิจยั ด้านการ ท่องเที่ยวและการโรงแรมอย่างกระจ่างชัด การเขียนต�ำราเล่มนี้ผู้เขียนได้เพียรพยายามค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ ต�ำรา และงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนขอความรู้จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน อีกทั้งยังได้น�ำผลงานวิจัยและ ประสบการณ์วิจัยของผู้เขียนมาถ่ายทอด โดยเขียนและเรียบเรียงเนื้อหาให้สามารถอ่านเข้าใจได้ ง่าย ในเรื่ อ งของคุ ณ ภาพของต� ำ รา ประการแรก ต� ำ ราเล่ ม นี้ ไ ด้ ผ ่ า นการประเมิ น จาก คณะกรรมการผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ข องสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ประการที่ ส อง ผู ้ เขี ย นได้ ท� ำ วิ จั ย เรื่ อ ง “การวิเคราะห์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมในรอบทศวรรษ (พ.ศ. 2543 – 2553): แนวทางเพื่อการศึกษาและค้นคว้าวิจัย” เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก โดยน�ำข้อค้นพบในประเด็นต่างๆ จากงานวิจยั มาประกอบการเขียนต�ำราเล่มนี้ และประการทีส่ าม ผูเ้ ขียนได้นำ� เนือ้ หาบางบทในต�ำรา เล่มนี้ โดยเฉพาะประเด็นใหม่ๆ ทีน่ า่ สนใจ เพือ่ ตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารวิชาของมหาวิทยาลัยหลาย แห่งทีม่ ผี ทู้ รงคุณวุฒกิ ลัน่ กรองผลงาน ได้แก่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (บทที่ 1) มหาวิทยาลัย กรุงเทพ (บทที่ 11) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (บทที่ 12) และมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น (บทที่ 13) ขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ให้ทุนสนับสนุนการเขียนต�ำรา ผู้เขียนหวัง ว่าต�ำราเล่มนีจ้ ะเป็นเอกสารวิชาการทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ นักศึกษาและผูท้ สี่ นใจทัว่ ไปเพือ่ ใช้เป็นแหล่ง ข้อมูลค้นคว้าและแสวงหาความรู้เกี่ยวกับการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม หากมีข้อ ผิดพลาดประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับค�ำติชมและค�ำแนะน�ำต่างๆ โดยจะน�ำไปปรับปรุงแก้ไขให้ดี ยิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป อัศวิน แสงพิกลุ 9 กรกฎาคม 2556


ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่หนังสือของคณาจารย์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ให้เป็นที่รู้จักในตลาดชุมชนวิชาการภายนอก 2. เป็นแหล่งสร้างงานวิชาการสู่วงการการศึกษา 3. เป็นแหล่งกลางในการเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน 4. ด�ำเนินการจัดพิมพ์หนังสือหลักๆ ในวาระหลักๆ เช่น วันสถาปนามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ปรึกษา

รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ม.ร.ว. รมณียฉัตร แก้วกิริยา

ประธานกรรมการ

ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์

คณะกรรมการบริหาร

พินิจ ทิพย์มณี วรสิทธิ์ ชูชัยวัฒนา พนารัตน์ ลิ้ม เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว นันทวัน รามเดชะ

จัดพิมพ์และเผยแพร่

ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (สนพ. มธบ.) 110/1-4 ถนนประชาชื่น แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

เว็บไซต์ โทรศัพท์

http://www.dpu.ac.th/dpurc/ 02-954-7300 ต่อ 631 และ 528


ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์

ต�ำราระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมเป็นต�ำราที่อธิบายถึงวิธีการวิจัย อย่างเป็นขั้นตอน เข้าใจง่าย เหมาะส�ำหรับนิสิต นักศึกษา ผู้สนใจ และผู้ที่ต้องการความรู้วิธีการ วิจัยทางด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ผู้เขียนต�ำรา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน แสงพิกุล เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญการสอนเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการ โรงแรมมานาน มีเทคนิคและวิธกี ารสอนทีน่ า่ สนใจ เมือ่ ได้ถา่ ยทอดเนือ้ หาทีส่ อนมาเป็นรูปเล่มต�ำรา จึงน่าสนใจอย่างมาก ทั้งนักศึกษาทางด้านนี้และผู้สนใจด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมโดยตรง กิจการด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง การด�ำเนินธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรม ให้ประสบความส�ำเร็จจ�ำเป็นต้องมีข้อมูล การ ประมวลผล วิเคราะห์ผลของธุรกิจเพื่อใช้ในการวางแผน ดังนั้น การวิจัยจึงมีความส�ำคัญในการได้ มาซึ่งสารสนเทศจากผลการวิจัย การมีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ด้านระเบียบวิธีวิจัยด้านการ ท่องเที่ยวและการโรงแรมจึงมีความจ�ำเป็นอย่างมาก ซึ่งหนังสือเล่มนี้จะช่วยผู้อ่านได้อย่างดี ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าระเบียบวิธีวิจัยด้านการ ท่องเที่ยวและการโรงแรม เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาและผู้ที่สนใจอย่างมากทีเดียว

ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


1 2 บทที่

บทที่

สารบัญ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

19

1. ความหมายของการวิจัย 20 2. ความสำ�คัญและประโยชน์ของการวิจัย 21 3. ลักษณะของการวิจัย 22 4. การแบ่งกลุ่มการวิจัย 23 5. การวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 24 5.1 ความหมายของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 24 5.2 ความสำ�คัญของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 24 5.3 จุดมุ่งหมายของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 28 5.4 ลักษณะและขอบเขตของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 31 5.5 ประโยชน์ของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 43 5.6 ประเภทของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 45 5.7 ขั้นตอนในการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 47 สรุป 51 คำ�ถามท้ายบท 51

การกำ�หนดปัญหาการวิจัย

53

1. ลักษณะปัญหาการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 53 2. แหล่งที่มาของปัญหาการวิจัย 57 3. ประเด็นที่ควรพิจารณาในการเลือกปัญหาการวิจัย 59 4. การกำ�หนดกรอบการวิจัย 60 4.1 ชื่อเรื่องการวิจัย 61 4.2 ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหาการวิจัย 62 4.3 วัตถุประสงค์การวิจัย 68 4.4 คำ�ถามในการวิจัย 72 4.5 ขอบเขตการวิจัย 73 4.6 สมมติฐานการวิจัย 74 4.7 ประโยชน์ของการวิจัย 75 4.8 การนิยามคำ�ศัพท์เฉพาะ 76 สรุป 78 คำ�ถามท้ายบท 78


3 4

บทที่

การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 79

บทที่

ตัวแปร กรอบแนวคิด และสมมติฐานการวิจัย 117

1. ความหมายของวรรณกรรม 79 2. ประเภทของวรรณกรรม 80 3. ความสำ�คัญของวรรณกรรม 82 4. แนวทางการทบทวนวรรณกรรม 85 5. การเขียนเรียบเรียงวรรณกรรม 86 5.1 หลักการเขียนเรียบเรียงวรรณกรรม 86 5.2 ทำ�ไมต้องมีการวิเคราะห์และการสังเคราะห์วรรณกรรม 88 5.3 การสังเคราะห์งานวิจัย 91 5.4 ปัญหาในการเขียนเรียบเรียงวรรณกรรม 93 6. การเขียนอ้างอิงวรรณกรรม 94 สรุป 114 คำ�ถามท้ายบท 115

1. ตัวแปรในการวิจัย 1.1 ความหมายของตัวแปร 1.2 ประเภทของตัวแปร 2. ความสำ�คัญของตัวแปร 3. การเลือกตัวแปรเพื่อนำ�มาใช้ในการวิจัย 4. กรอบแนวคิดในการวิจัย 4.1 ความหมายของกรอบแนวคิดในการวิจัย 4.2 ทำ�ไมต้องมีกรอบแนวคิดในการวิจัย 4.3 ประโยชน์ของกรอบแนวคิดในการวิจัย 4.4 ปัญหาที่พบบ่อยในเรื่องกรอบแนวคิดในการวิจัย 5. ที่มาของกรอบแนวคิดในการวิจัย 6. แนวทางการเขียนกรอบแนวคิดในการวิจัย 7. สมมติฐานการวิจัย 7.1 ความหมายของสมมติฐานการวิจัย 7.2 ทำ�ไมต้องมีสมมติฐานการวิจัย 7.3 การวิจัยทุกประเภทจำ�เป็นต้องมีสมมติฐานการวิจัยหรือไม่ 7.4 สมมติฐานการวิจัยควรมีกี่ข้อ 7.5 ตัวอย่างการตั้งสมมติฐานการวิจัย 7.6 ประเภทของสมมติฐานในการวิจัย 8. การทดสอบสมมติฐาน สรุป คำ�ถามท้ายบท

118 118 118 122 125 126 126 126 127 128 129 131 133 133 134 135 136 136 138 142 145 145


5 บทที่

สารบัญ ประชากร ตัวอย่าง และวิธีการเลือกตัวอย่าง 147 1. ประชากรในการวิจัย 1.1 ความหมายของประชากร 1.2 ประเภทของประชากร 2. ตัวอย่างในการวิจัย 2.1 ความหมายของตัวอย่าง 2.2 ข้อดีของการใช้ตัวอย่างแทนประชากร 2.3 คำ�ศัพท์ที่ควรทราบในการเลือกตัวอย่าง 3. วิธีการกำ�หนดขนาดตัวอย่าง 4. การเลือกตัวอย่าง 4.1 การเลือกตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น 4.1.1 การเลือกตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย 4.1.2 การเลือกตัวอย่างแบบเป็นระบบ 4.1.3 การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ 4.1.4 การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม 4.1.5 การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน 4.2 การเลือกตัวอย่างโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น 4.2.1 การเลือกตัวอย่างแบบตามสะดวก 4.2.2 การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า 4.2.3 การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง 4.2.4 การเลือกตัวอย่างด้วยการบอกต่อ 5. การเลือกตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ สรุป คำ�ถามท้ายบท

148 148 150 151 151 151 152 152 158 159 160 161 162 164 165 166 166 167 168 168 170 172 172


6

บทที่

การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย

1. ลักษณะของข้อมูลการวิจัย 2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือวิจัย 2.1 การสอบถาม 2.1.1 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 2.1.2 ประเภทของแบบสอบถาม 2.1.3 โครงสร้างแบบสอบถาม 2.1.4 ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม 2.2 การสัมภาษณ์ 2.2.1 ประเภทของการสัมภาษณ์ 2.2.2 ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์ 2.3 การสังเกต 2.3.1 ประเภทของการสังเกต 2.3.2 ตัวอย่างแบบสังเกต 2.4 การทดสอบหรือการวัดความรู้ 3. แหล่งที่มาของเครื่องมือวิจัย 4. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย 4.1 วิธีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย 4.2 การตรวจสอบความตรง 4.3 การตรวจสอบความเชื่อมั่น 4.4 วิธีอื่นๆ ที่ใช้ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย 4.5 การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ สรุป คำ�ถามท้ายบท

173

173 175 176 176 178 183 188 190 190 193 194 194 197 198 202 203 204 205 209 211 212 214 214


7

บทที่

สารบัญ

การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมาย 215 และการนำ�เสนอข้อมูล

1. การวิเคราะห์ข้อมูล 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ 2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำ�เร็จรูปทางสถิต ิ 2.2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ 2.2.1 สถิติเชิงพรรณนา 2.2.2 สถิติเชิงอ้างอิง 2.2.3 สถิติเพื่อการวิเคราะห์จำ�แนกกลุ่มข้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ 3.1 ลักษณะข้อมูลเชิงคุณภาพ 3.2 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ 4. การแปลความหมายและการนำ�เสนอข้อมูล 4.1 การแปลความหมายและนำ�เสนอข้อมูลเชิงปริมาณ 4.2 การแปลความหมายและนำ�เสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ สรุป คำ�ถามท้ายบท

8 บทที่

215 216 216 218 218 223 229 231 231 231 237 237 243 244 245

การสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 247 1. การสรุปผล 2. การอภิปรายผล 2.1 ความหมายของการอภิปรายผล 2.2 แนวทางการอภิปรายผล 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 แนวทางการเขียนข้อเสนอแนะ 3.1.1 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 3.1.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลการวิจัย 3.1.3 ข้อเสนอแนะสำ�หรับการวิจัยในครั้งต่อไป 3.2 ปัญหาที่พบบ่อยในการเขียนข้อเสนอแนะ สรุป คำ�ถามท้ายบท

247 249 249 249 253 253 253 256 257 258 260 260


9 10 บทที่

การเขียนรายงานการวิจัยและการเผยแพร่ 261 ผลการวิจัย 1. ความหมาย ความสำ�คัญ และประเภทของรายงานการวิจัย 1.1 ความหมายของรายงานการวิจัย 1.2 ความสำ�คัญของรายงานการวิจัย 1.3 ประเภทของรายงานการวิจัย 2. องค์ประกอบของรายงานการวิจัย 3. การเขียนรายงานการวิจัย 3.1 การเขียนส่วนนำ� 3.2 การเขียนส่วนเนื้อหา 3.3 การเขียนส่วนอ้างอิง 4. การเขียนบรรณานุกรม 5. การเผยแพร่ผลงานวิจัย สรุป คำ�ถามท้ายบท

บทที่

ข้อเสนอโครงการวิจัย

261 261 262 262 263 265 265 266 268 269 281 287 287

289

1. ความหมาย วัตถุประสงค์ และความสำ�คัญของข้อเสนอ 289 โครงการวิจัย 2. สิ่งที่ควรทราบในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย 291 3. องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการวิจัย 292 4. ปัญหาและข้อบกพร่องที่พบบ่อยในการเขียนข้อเสนอ 296 โครงการวิจัย 5. แหล่งทุนวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม 297 สรุป 298 คำ�ถามท้ายบท 298


11 12

สารบัญ

บทที่

การประเมินผลงานวิจัย

299

บทที่

จริยธรรมการวิจัย

313

1. ความหมายและความสำ�คัญของการประเมินผลงานวิจัย 299 1.1 ความหมายของการประเมินผลงานวิจัย 299 1.2 ความสำ�คัญของการประเมินผลงานวิจัย 299 2. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลงานวิจัย 300 2.1 การประเมินด้านคุณค่า 301 2.2 การประเมินด้านคุณภาพ 301 3. ประเด็นที่ใช้ประเมินผลงานวิจัย 302 4. ตัวอย่างแบบประเมินผลงานวิจัย 305 สรุป 311 คำ�ถามท้ายบท 311

1. ความหมายของจริยธรรมการวิจัย 2. ปัญหาการขาดจริยธรรมการวิจัย 3. แนวทางปฏิบัติเรื่องจริยธรรมการวิจัย 4. จริยธรรมการวิจัยในบริบทของต่างประเทศ สรุป คำ�ถามท้ายบท

313 314 315 320 324 324


13 บทที่

การสร้างสรรค์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยว 325 และการโรงแรม 1. ความหมายของการสร้างสรรค์งานวิจัย 2. ทำ�ไมต้องมีการสร้างสรรค์งานวิจัย 3. แนวทางการสร้างสรรค์งานวิจัย 4. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์งานวิจัย สรุป คำ�ถามท้ายบท บรรณานุกรม ดรรชนี ประวัติผู้เขียน

326 327 327 329 336 336 337 351 355


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

19

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ สามารถอธิบายความหมายของการวิจัย และลักษณะการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม

ท�ำไมต้องมีการวิจัย โลกปัจจุบนั เป็นโลกแห่งการพัฒนาเพือ่ ท�ำให้สงั คมมีความเจริญก้าวหน้าและมนุษย์มชี วี ติ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น การพัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เหมาะสมจ�ำเป็นต้องอาศัยข้อมูล หรือความรู้ที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือมาประกอบการตัดสินใจ วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ที่น่า เชื่อถือและเป็นที่ยอมรับมากที่สุดก็คือ “การวิจัย” ปัจจุบันการวิจัยเป็นกระบวนการหนึ่งของ การเสาะแสวงหาความรู้ในศาสตร์ทุกสาขา เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ข้อเท็จจริง หรือค�ำตอบในเรื่อง ต่างๆ รวมทั้งการวิจยั ยังช่วยแก้ไขปัญหาทีม่ ีอยู่ ตลอดจนช่วยปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาสิง่ ต่างๆ ให้ดีขึ้น ดังนั้นการวิจัยจึงเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ในการ พัฒนาและสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่สังคมและประเทศชาติ การท่องเที่ยวถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ในสังคมปัจจุบัน และ การเดินทางท่องเทีย่ วของมนุษย์กอ่ ให้เกิดการเติบโตของภาคธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องจ�ำนวนมาก จนท�ำให้ เกิดเป็นภาคธุรกิจขนาดใหญ่หรือที่เรียกว่า “อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว” ซึ่งถือได้ว่าเป็น อุตสาหกรรมขนาดใหญ่และมีความส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยก่อให้เกิดรายได้และ การจ้างงานเป็นจ�ำนวนมาก การเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้เกิดการ แข่งขันและการลงทุนในด้านนีเ้ ป็นจ�ำนวนมาก การพัฒนาและการด�ำเนินงานด้านการท่องเทีย่ วให้ ประสบความส�ำเร็จ ผู้ประกอบการอาจจ�ำเป็นต้องอาศัยข้อมูลจาก “การวิจัย” เพื่อช่วยประกอบ การตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจหรือช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ดังนั้นผู้ที่ก�ำลังศึกษาในสาขา การท่องเที่ยวและการโรงแรมจึงจ�ำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเพื่อน�ำความรู้นั้นไปใช้ ประโยชน์ในการท�ำงานในอนาคต โดยเนือ้ หาบทแรกจะเป็นบทน�ำเพือ่ ให้ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับการ วิจัยทางสังคมศาสตร์ รวมทั้งการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ซึ่งมีเนื้อหาส�ำคัญดังนี้ ความหมายของการวิจัย ความส�ำคัญของการวิจัย ลักษณะของการวิจัย การแบ่งกลุ่มการวิจัย การวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม

• • • • •

หมายเหตุ : เนื้อหาในบทนี้ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ‘วารสารการจัดการสมัยใหม่’ เรื่อง ลักษณะ และขอบเขตงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม, ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2555, หน้า 1 – 15. 1


20

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

1. ความหมายของการวิจัย

ก่อนเรียนรูเ้ รือ่ งการวิจยั ผูอ้ า่ นควรท�ำความรูจ้ กั กับความหมายของค�ำว่า “การวิจยั ” เพือ่ เป็นความรู้พื้นฐานในการเรียนวิชาวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ผู้เขียนได้รวบรวมความ หมายของค�ำว่าการวิจัยจากหลายแหล่ง ดังนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (อ้างใน จุมพล สวัสดิยากร, 2520, น. 9) ให้ค�ำนิยามว่า การวิจัย หมายถึง การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่างมีระบบ โดยอาศัย อุปกรณ์หรือวิธีการ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง หรือหลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฎี หรือแนวทาง ในการปฏิบัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546, น. 1072) ให้ความหมายไว้ว่า การวิจัย หมายถึง การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (2546, น. 1) กล่าวว่า การวิจัย คือ กระบวนการแสวงหาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในสิ่งที่ต้องการศึกษา มีการเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล การวิเคราะห์และการตีความหมายผลทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ได้มาซึง่ ค�ำตอบอันถูกต้อง ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และอัจฉรา ช�ำนิประศาสน์ (2547, น. 1) ให้ความหมายว่า การวิจยั หมายถึง กระบวนการแสวงหาความรู้ ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบแบบแผนที่เชื่อถือได้ โดยอาศัย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ค�ำตอบที่น�ำไปใช้ในการอ้างอิง การสร้างกฎเกณฑ์และ ทฤษฎี การวางแผน และการแก้ปัญหาในการหาค�ำตอบอย่างเป็นระบบ จรัญ จันทลักขณา และกษิดศิ อือ้ เชีย่ วชาญกิจ (2548 อ้างใน ฉัตรสุมน พฤฒิภญ ิ โญ, 2553, น. 3) ให้ความหมายว่า การวิจัย หมายถึง การแสวงหาองค์ความรู้อย่างมีแบบแผนตามหลักวิชา และกระบวนการเก็บข้อมูล เพื่อน�ำมาวิเคราะห์และสรุปผลอย่างมีระเบียบแบบแผนตามหลักวิชา เพื่อให้ได้องค์ความรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยมีความมั่นใจในความถูกต้องของผล ปัญจะ กุลพงษ์ (2548, น. 1) ให้ค�ำนิยามว่า การวิจัย หมายถึง การศึกษาอย่างเป็นระบบ และมี ร ะเบี ย บแบบแผนด้ ว ยกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ค� ำ ตอบที่ มี ความถูกต้องเชื่อถือได้ ในส่วนของนักวิชาการต่างประเทศ อย่างเช่น Kerlinger (1973, p. 11) กล่าวว่า การวิจัย หมายถึง การด�ำเนินงานอย่างเป็นกระบวนการ โดยมุ่งเน้นการค้นหาข้อมูลและสมมติฐานในสิ่งที่ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ส่วน Nachmias and Nachmias (1981, p. 22) ให้ความหมาย การวิจัย หมายถึง การแสวงหาความรู้โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ Leedy and Ormrod (2005, p. 2) กล่าวว่า การวิจัย หมายถึง กระบวนการที่ด�ำเนินการอย่าง เป็นระบบซึ่งประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลความหมาย ข้อมูล เพื่อเพิ่มพูนความเข้าใจในปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม และ Altinay and Paraskevas (2008, p. 1) ให้ความหมายกว้างๆ ไว้ว่า การวิจัย หมายถึง การศึกษาค้นคว้าอย่าง มีระบบและเป็นขั้นตอนซึ่งจะท�ำให้เกิดองค์ความรู้และความเข้าใจในปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจยั

3

่ยวกั21 บ่ นการวิ จยั ป3 ด้ว ยวิธีก ารที่ถูกต้ องและน่ าเชื่อถื อ และการนาผลการวิจั ยไปใช้ ป ระโยชน์ นัน้นเกีจัยในที ี้ จึ งพอสรุ ความรู ้เบืความรู ้องต้นเกี้เ่ยบืวกัดั้อบงงต้ การวิ ความหมายของการวิจัย อย่างกว้างๆ ได้ว่า การวิจัย หมายถึง การศึกษาหรือการค้น คว้าหาความรู้ ้เบืดั้อ้ใงงต้ น้ นเกีหได้ ่ยรืวกั จ้ ทยั ี่ เ ป็ นป3 ด้ว ยวิ ธีกนารที ่ถูกต้เพื องและน่ อหรืนและการน ไปใช้ ในที ี้ จึ งพอสรุ าจากความหมายของการวิ งเป็ ระบบ ่อให้ไ ด้าขจเชื้อยั ่อมูข้ถืาลงต้ อพอจะเห็ ค าตอบที ก่อให้ปเ กิระโยชน์ ดความรู ความรู หม่ อใความรู อย่ นาผลการวิ ได้่นว่าา่ เชืนั่อกถืวิจชอั ยาการและหน่ วยงานต่ านังๆ ห้บ่นการวิ ความหมายของการวิ ัยตกต่ อย่ าางกว้ งๆ ได้กวฒ่าส่นาในด้ การวิ จาัยนต่ การศึประเด็ กษาหรื ความหมายของการวิ จัยไม่ไจแขปั งกันาอมากนั วนใหญ่ มักหมายถึ นทีอ่สการค้ �ำคัญ นเช่คว้น าหาความรู้ ประโยชน์ เพื่อการแก้ ญหาหรื การพั าจะเน้ งๆ นง 2-3 น้ นเกีหงในที ่ยรืหรื วกั จ้ ทยั ี่ เ ป็ นป3 ด้กวษาหรื ยวิ ธีกอนารที ่ถูกนต้คว้ องและน่ ่อมูถืลอหรืและการน าผลการวิ ดั้อ้ใงงต้หม่ ี้ จึ งพอสรุ การศึอย่ การค้ า่ออย่ให้าไงเป็ น้อระบบ ขั้นตอนหรื นความรู หาข้​้เอบืเท็ จนัจริ อบ่นการวิ า งเป็ ระบบ เพื ด้าขเชื อการมี ค าตอบที ่น่าเชือ่อกระบวนการค้ ถืจอั ยไปใช้ ก่อให้ปเ กิระโยชน์ ดความรู อความรู ความหมายของการวิ ัย อย่ างกว้ ได้วฒ่านาในด้ การวิ จาัยนต่หมายถึ กษาหรื ค�ำตอบด้ วยวิธีกเพืารที ่ถูกต้องและน่ เชื่อถืาอองๆ และการน� ำผลการวิ ระโยชน์ ดังนัอ้นการค้ ในทีน่นคว้ ี้จึง าหาความรู้ ประโยชน์ ่อการแก้ ไจขปั ญหาหรื การพั าจงๆัยไปใช้ง ปการศึ นอกจากค าว่ า “การวิ จ ั ย ” แล้ ว ในต าราเล่ ม นี ้ ย ั ง มี อ ี ก ค าหนึ ่ ง ที ่ จ ะกล่ า วถึ ง ้ง้ ที่คืเ ป็อนป ด้ว ยวิ ธีกนารที ่ถูกต้เพื องและน่ และการน นั้นหนในที ึ งพอสรุ อย่ า งเป็ ระบบ ่จอัยให้อย่ไ ด้าางกว้ ขเชื้อ่อมูาถืงๆ ลอหรืได้ อ คว่าาตอบที ่อถืจอั ยงไปใช้ ก่อการศึ ให้ปเ กิระโยชน์ ความรู ้ใงหม่ รืคว้ อบ่ความรู สรุปความหมายของการวิ การวิาผลการวิ จ่นัย่าเชืหมายถึ กดษาหรื อดัการค้ า่นอี้ จยครั “งานวิ ซึระบบ ่งหมายถึ ่จไาด้ัยนต่ ม่นหมายถึ ีก่าเชื ารศึ ธีวิจัยที่ ้ ความหมายของการวิ ัย อย่ าผลงานทางวิ งกว้ ง ก่การศึ อการค้ าหาความรู หาความรู ้อย่าจงเป็ เพื ่องให้ ได้ขาอ้องๆ มูลได้หรืวฒชอ่าาการที ค�การวิ ำตอบที อให้เกกิษาหรื ดความรู ้ใหม่นหคว้ รืยอบวิ ประโยชน์ เพืั ย่อ”นการแก้ ไจขปั ญ หาหรื การพั นาในด้ งๆ่อถืกอษาตามกระบวนการระเบี “การวิ จอัยค”คาตอบที แล้ ว ้ใในต าราเล่ มอานีนต่ ่งที่จคะกล่ อ(สยครั บนอกจากค สาขาวิ ชาเพื ดหาหรื องค์ หม่ หรื่ออถืเป็ นก่้ยการต่ ้เรืดิองมบ่ความรู านัก้ง้ ทงาน ความรู ป็นประโยชน์ เพื่อให้ การแก้ อวามรู การพั ฒ งๆอีกเอกิคยอดองค์ อย่้ทเหมาะสมกั าี่เงเป็ น ระบบ เพื ไาว่ ด้ข่อาไ้ให้ อขปั มูเลกิญหรื ่น่านาในด้ เชื อังามีให้ ดาหนึ ความรู ้ใวามรู หม่าหวถึ ี่คืเ ป็อน “งานวิ จเพืั ย่อ”การแก้ ซึ่งหมายถึ ผลงานทางวิ ม2555, ีกาารศึ ยบวิจัยธ”ีวิจและ ั ยที่ รับรองมาตรฐานและประเมิ นคุณ ภาพการศึ กษา,่ไาด้นต่ 14) โดยทั้ง 2 คา “การวิ ประโยชน์ ไขปัญง หาหรื อการพั ฒช าการที นาในด้ งๆ กน.ษาตามกระบวนการระเบี นอกจากค จัยว”ความรู แล้ มีำอหนึ ีกอคยอดองค์ ่งที่จคะกล่ คื่ออ นอกจากค� ำว่าชเาเพื “การวิ จบเัยกิกั”ดนองค์ แล้ ในต�ววข้ำ้อใในต ราเล่ ม้ขนีึ้นอ้ยเป็ ังมมีนีนอ่ก้ยการต่ ีับกังค�ประเด็ ่งาหนึ ่จะกล่ าวามรู วถึงาบ่วถึ เหมาะสมกั สาขาวิ ่อาให้“การวิ หม่ทั้งาราเล่ ้เอดิงยมบ่​่ตอ(ส้อยครั านั ก้งงาน “งานวิ จัย” บอาจจะใช้ รียาว่กสลั ในบางหั นีหรื อยู นทีและความหมายที งการสื ง ผลงานทางวิ ช าการที ่ได้ม2555, ษาตามกระบวนการระเบี ยบวิจัยธ่อ”ีวงของ ิจและ ั ยที่ ครั้ง คื“งานวิ ”หมายถึ หมายถึ ผลงานทางวิ ชษา, าการที รัในหั บอรองมาตรฐานและประเมิ ณภาพการศึ น.ารศึ โดยทั่อ้ง ความหมายในเรื 2 คา “การวิ ว“งานวิ ข้จอั ยนั”้นจๆซึัย่งเช่ นซึ่งบางหั วข้นงอคุอาจใช้ คาว่ า ก“การวิ จีกัย่ไารศึ ”ด้มีกเพื ่อ14) ต้กอษาตามกระบวนการ งการสื “การวิ แล้ ว(process/methods) มวามรู นีน่ก้ยการต่ มี้ ใอหม่ ีกอคในขณะที าหนึ ่งอทีเป็่จค่บะกล่ าววถึ ให้ องค์ ยอดองค์ ้เข้ดิองมบ่อาจใช้ านั กค้งงาน ระเบีเหมาะสมกั ย บวิ ธี วจิ จัยั ”ย ทีบอาจจะใช้ ่ นอกจากค เสาขาวิ หมาะสมกั สาขาวิ ชจัยาเพื ่ อัยวให้ เหม่ กิทัด้งาราเล่ องค์ นวามรู การต่ “งานวิ รีหรืยาว่กสลั บเกิกัยดนบวิ ในบางหั ข้​้อใในต นีหรื้ขึ้นอคเป็ อยู ับังประเด็ นหรื และความหมายที ่ตอ(ส้อยครั งการสื กระบวนการ วิธีการชเาเพื อบ่อาระเบี ธ”ีวคิจวามรู างหั าว่คื่ออา “งานวิ ซึม่งเช่ ผลงานทางวิ ช าการที ่ได้ม2555, ิจและ ั ยที่ รัในหั บรองมาตรฐานและประเมิ ณภาพการศึ น.ษาตามกระบวนการระเบี โดยทั่กอ้งอความหมายในเรื 2ผลงานวิ คา2555, “การวิ จัยธ่อ”ีวงของ ข้จจอัยั ยนั””้น้เดิๆเพื บางหั ว่อข้นความหมายในลั อบคุอาจใช้ คาว่ า ก“การวิ จีกัยารศึ ” นกคุเพื ต้ชอาการหรื งการสื ยอดองค์ คววามรู (ส� นักงงานรั รองมาตรฐานและประเมิ ณ่อ14) ภาพการศึ ษา, “งานวิ ่อหมายถึ ต้นอำงการสื กษา, ษณะของผลงานวิ จัยยบวิ (research สาขาวิ ชเาเพื ให้ัยบ”เกิกัยและ ดนบวิ องค์ อในขณะที ยอดองค์ ค่บวามรู กคงาน “งานวิ จัย้ง” 2บอาจจะใช้ รีหรืยกสลั ในบางหั ข้จ้อใหม่ ้ขึ้นอเป็ อยูน่กการต่ ับเรีประเด็ นบและความหมายที ่ต(ส้อานั งการสื กระบวนการ อ่อจระเบี ธี“งานวิ วคิจวามรู ัยว(process/methods) างหัว้เข้ข้ดิออมอาจใช้ าว่​่อา work) น. 14)เหมาะสมกั โดยทั ค�วิธำีการ“การวิ ัยทั”้งนีหรื อาจจะใช้ ยกสลั กันในบางหั รองมาตรฐานและประเมิ ณภาพการศึ 2555, น. โดยทั 2ผลงานวิ “การวิ จัย่อ”งของ และ ว่ข้กจอั บัยนัประเด็ บางหัว่อข้นความหมายในลั อคุอาจใช้ า ก“การวิ จัย”ว ข้ อเพื ่อ้งอความหมายในเรื “งานวิ ”้นๆเพืเช่ ่อนต้นอและความหมายที งการสื กษา, ษณะของผลงานวิ จัย (research ทั้ ง นี้ ขรัในหั ึ้ นบอยู ่คตาว่ ้ อ งการสื ่ อ ในหั นั้ น่อ14) ๆต้ชอาการหรื เช่งการสื น บางหั วคข้า อ อาจ “งานวิ จัย” อาจจะใช้เรียกสลั บกัยนบวิ ในบางหั ข้อ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเด็ในขณะที นและความหมายที ่ต้องการสื่อ อระเบี ธีวิจัยว(process/methods) work) ใช้ ค�ำว่กระบวนการ า “การวิจัยวิ”ธีกเพืาร่อต้หรืองการสื ่อความหมายในเรื ่อ งของกระบวนการ วิ ธ่บีกางหั าร วหรืข้อออาจใช้คาว่า ในหัวข้จอัยนั”้นๆเพืเช่ บางหัว่อข้ความหมายในลั ออาจใช้คาว่า “การวิ จัย” เพื่อต้ชอาการหรื งการสื่ออความหมายในเรื ่องของ ่อต้นองการสื กษณะของผลงานวิ ผลงานวิจัย (research ระเบี บวิ ธีวิจัย าคั (process/methods) ในขณะที่บางหัวข้ออาจใช้ค�ำว่า “งานวิจัย” เพื่อ 2.ย“งานวิ ความส ญ และประโยชน์ กระบวนการ วิธีการ หรือระเบียบวิธีวิจัย (process/methods) ในขณะที่บางหัวข้ออาจใช้คาว่า work) ต้อของการวิ งการสื ่ อ ความหมายในลั กษณะของผลงานวิ อผลงานวิจชัยาการหรื (research work) จ ย ั “งานวิจัย” เพื่อต้องการสื ่อความหมายในลัชาการหรื กษณะของผลงานวิ อผลงานวิ จัย (research

2. ความส าคั ญ และประโยชน์ work) 2. ความส� ำคัญจัยและประโยชน์ของการวิจัย ของการวิ ัยำมีคัคญวามส ความส าคั ญจและประโยชน์ 2. การวิ จัยมีการวิ ความส� อย่าาคั งไรญอย่างไร กล่าวถึงแประโยชน์ าคัญจของการวิ จัย ไว้หลายประการ ของการวิ นักวิชาการได้ าวถึงประโยชน์ ละความส�แำละความส คัญของการวิ ยั ไว้หลายประการ ซึง่ สามารถ ซึ่งสามารถ จัยนักวิกชล่าการได้ ัยามีงๆ าคัญำอย่ สรุป2ความส ได้ลั2กษณะกว้ ลักการวิ ษณะกว้ คืความส� อ ความส ญงเชิ วิชาการ และความส งนาไปใช้ ประโยชน์ (สุชาต 2. าคั ญาจงๆและประโยชน์ สรุปได้ คืคอวามส คัญาคัาเชิงไร วิชงาการ และความส� ำคัญาคัเชิญงน�เชิำไปใช้ ประโยชน์ ละความส าคัคามดิ ญของการวิ ัย ไว้หลายประการ ซึ่งสามารถ ประสิ ทธิท์รัฐธิจสิ์รนัยัฐนัสิธุกน์,วิ2546; สุวกิมสุล่ลวิมาติวถึ นท์น, ท์2546; สินสิธะวา ษฐ์ษ, 2550) (สุชาติของการวิ ประสิ ธุช์,าการได้ 2546; ลรกานั ติงประโยชน์ รกานั , แ2546; นธะวา คามดิ ฐ์,จ2550) การวิจัยมีความสาคัญอย่างไร

สรุปได้ 2 ลักษณะกว้างๆ คือ ความสาคัญเชิงวิชาการ และความสาคัญเชิงนาไปใช้ประโยชน์ (สุชาต นัญ ชงาการได้ งประโยชน์ และความส ญของการวิ จัย ไว้หลายประการ ซึ่งสามารถ ทธิ์รัฐสิำคันความส ธุก์,วิเชิ2546; วกิมงล่ลวิาชติวถึาการ รกานั นท์, 2546; สินธะวาาคัคามดิ ษฐ์, 2550) ญสุเชิ ประสิความส� วิาคั ชาการ จาให้ ัยเามีกิงๆ วามส าคั ญ อย่าคัาางไร ได้ การวิ 2การวิ ลักจการวิ ษณะกว้ อ ความส ญ ชาการ าคัใ้ใญ นต่ อ้ าไปใช้ ปกระโยชน์ าต เดคกิความรู ดคืความรู ้ ความเข้ ใจงอวิหรื อม่ เพิ พูและความส นคองค์ ความรู หม่เชิง่ ใทีงนสิ ่งงการศึ ที่ต้องการศึ สรุป ยัจท�ัยทำให้ ้ ความเข้ ใจาเชิหรื เพิ พูน่มองค์ วามรู ใ้ หม่ นสิ ษา กษา(สุซึช่งจะ นัผลดี าการได้ งวหน้ ประโยชน์ และความส ญ้ในศาสตร์ ของการวิ จสัยาขาต่ ไว้าหงๆ ลายประการ ซึ่งสามารถ ธุก์,ตวิ2546; วกิมญงล่ลวิญ รวหน้ , 2546; นนาความรู ธะวาาคัคามดิ ษฐ์, 2550) ญสุเชิ ประสิทธิซึ์รส่​่งัฐงส่สิผลดี งนความส ่อาคั ความเจริ ากานั าท์และการพั ้ในศาสตร์ างๆ ่อชตความเจริ ก้าชติวถึ าก้าการ านและการพั ฒสิฒ นาความรู สาขาต่ ได้ การวิ 2การวิ ลักจษณะกว้ ความส าคัญาเชิใจงวิกหรื ชต้อาการ นอาไปใช้ ปตา่ ระโยชน์ าต สรุป ยัจช่ัยวช่ทยพิ จูเสกิน์ูจดหคืน์ความรู รือหอรืตรวจสอบความถู หลัาคั กหลั การ ทฤษฎี งๆ ตก่าษา ้ ความเข้ มพูและความส นองค์ความรู ้ใญหม่เชิ ใงนสิ ่งหรื ที่ตอ้อทฤษฎี งการศึ ซึช่งจะ วาให้ ยพิสางๆ อตรวจสอบความถู กองของกฎเกณฑ์ ต้เพิอ่งของกฎเกณฑ์ กหรื การ งๆ (สุในแต่ ์รส่ละศาสตร์ ัฐงสิผลดี นความส ์,ต2546; วิมญงลวิก้ชติาาการ รวหน้ กานัานและการพั ท์, 2546;ฒสินาความรู นธะวา คามดิ ษฐ์, 2550) าคัญสุเชิ ประสิทธิในแต่ ลธุะศาสตร์ ่อความเจริ ้ในศาสตร์ สาขาต่างๆ  การวิ าให้ ความรู ้ ความเข้ าใจ มเครื พูอนหรื ้ใหม่ ใโดยท นสิำ่งให้ ทีาให้ ่ตกอระจ่ ้อทฤษฎี ก่าษา ซึ่งจะ้น ได้ไเสด้กิคูจคด�ำน์ตอบในเรื ่องต่ ที่ยทีหรื ัง่ยคลุ อไม่อคไม่ ชวามรู ัดชเจน โดยท� าง าตงชั  การวิ ยพิ หรือตรวจสอบความถู ต้มเพิอเครื กการ หรื งๆดเจนขึ ในแต่ การวิจจจัยัยัยท�ทช่ทำวให้ าให้ าตอบในเรื ่องต่างๆ างๆ ังกอคลุ ม่งของกฎเกณฑ์ อองค์ หรื ัดหลั เจน กงการศึ ระจ่ ความส เชิญงดยวิก้ข้ต่ชาอาาการ ชัส่ละศาสตร์ ดงเจนขึ และช่ สงสัยาและการพั ต่างๆ ฒนาความรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ ผลดี ่อความเจริ วหน้ และช่ ว้นตยขจั ดาคัข้วอญยขจั สงสั งๆ เกิเไเกิสดด้กิดูจความคิ ค้หรื าาชและหาความรู ้อ่ต้ออยู้อยูทฤษฎี ่เกงการศึ สมอ  การวิ าให้ ความรู ้ ความเข้ าใจทีหรื มเครื พูษา นอองค์ วามรู ้ใหม่กการ ใโดยท นสิ่งหรื ทีาให้ ก่าษา ซึ่งจะ้น วให้ ยพิ น์าตอบในเรื หรือดตรวจสอบความถู ต้เพิอมก่งของกฎเกณฑ์ งๆดเจนขึ ในแต่  การวิ การวิจจจัยัยัยท�ทช่ทำาให้ คดความคิ ่องต่างๆ ่ยังกอคลุ อคคว้ไม่ ัดหลั เจน ดและแนวทางในการศึ และแนวทางในการศึ กษา ค้นนคว้ และหาความรู ่เระจ่ สมอาตงชั ส่ละศาสตร์ งผลดีวตยขจั ่อความเจริ และช่ ดข้อสงสัญยก้ต่าาวหน้ งๆ าและการพัฒนาความรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ  ยพิ น์าตอบในเรื หงนรือาไปใช้ ตรวจสอบความถู ต้อมงของกฎเกณฑ์ ่างๆดเจนขึ ในแต่้น จัยทช่วาให้ ด้ดูจคเชิความคิ ่อปงต่ างๆ ที่ยังกคลุ เครื ัดหลั เจนกการ โดยทหรืาให้ ก่เระจ่  การวิ การวิความส ดและแนวทางในการศึ กษาอหรื ค้นอคว้ไม่าชและหาความรู ้ออยูทฤษฎี สมอาตงชั าคัเไกิสญ ระโยชน์ ละศาสตร์ และช่วยขจัดข้อสงสัยต่างๆ  การวิความส ด้ดคเชิความคิ าตอบในเรื ่อปงต่ างๆ ที่ยังคลุมเครื ัดเจน โดยทาให้ จัยทาให้าคัเไกิญ ดและแนวทางในการศึ กษาอหรื ค้นอคว้ไม่าชและหาความรู ้อยูก่เระจ่ สมอางชัดเจนขึ้น งนาไปใช้ ระโยชน์ และช่วยขจัดข้อสงสัยต่างๆ


work) การวิวิธจีกัยาร กระบวนการ อระเบี บวิาธงไร ีวิจัย (process/methods) ในขณะที่บางหัวข้ออาจใช้คาว่า มีคหรื วามส าคัญยอย่ จัย”นักเพืวิ่ชอาการได้ ต้องการสื กษณะของผลงานวิ ชาการหรื จัย (research กล่​่อาความหมายในลั วถึงประโยชน์และความส าคัญของการวิ จัย ไว้หอผลงานวิ ลายประการ ซึ่งสามารถ 2.“งานวิ ความส าคั ญ และประโยชน์ การวิ จ ย ั มี ค วามส าคั ญ อย่ า งไร work) สรุปได้ 2 ลัจกัยษณะกว้างๆ คือ ความสาคัญเชิงวิชาการ และความสาคัญเชิงนาไปใช้ประโยชน์ (สุชาต ของการวิ ชาการได้ กล่าวถึงประโยชน์และความสาคัญของการวิจัย ไว้หลายประการ ซึ่งสามารถ 2. ญ และประโยชน์ ประสิความส ธิ์รนเกีัฐสิ่ยวกันนัาคั ธุบกการวิ ์,วิ2546; ้เบืท ้องต้ จัย สุวิมล ติรกานันท์, 2546; สินธะวา คามดิษฐ์, 2550) 22 ความรู สรุปได้ 2 ลัจกัยษณะกว้างๆ คือ ความสาคัญเชิงวิชาการ และความสาคัญเชิงนาไปใช้ประโยชน์ (สุชาต ของการวิ ประสิความส� ทธิ์รัฐสิำคันการวิ ธุ์,เชิ2546; วิมงปลวิระโยชน์ รญ กานั , 2546; สินธะวา คามดิษฐ์, 2550) ัยาคัมีำไปใช้ คญสุวามส าคั อย่นาท์งไร ความส าคั ญจงน�และประโยชน์ ความส เชิ ชติาการ 2. ญ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจยั 3 นั ก วิ ช าการได้ ก ล่ า วถึ ง ประโยชน์ แ ละความส าคั ญ ของการวิ ัย ไว้ใแนสิ หก้ลายประการ ของการวิ การวิ จ ย ั ท� ำ ให้ ท ราบข้ อ เท็ จ จริ ง หรื อ ค� ำ ตอบในเรื อ ่ งต่ า งๆ เพื อ ่ น� ำ มาใช้ ไ่งขทีปรั ปรุง ซึก่งษาสามารถ  การวิ จัยทจาให้ เคกิวามส ดความรู ้ ความเข้ าใจ หรือเพิมพูนองค์ความรู้ใจหม่ ่ต้อบงการศึ ซึ่งจะ จัยการวิ ย ั มี าคั ญ อย่ า งไร าคั ญ เชิ ง วิ ช าการ สรุปได้ หรื 2ส่ลังอผลดี กพัความส ษณะกว้ า งๆ คื อ ความส าคั ญ เชิ ง วิ ช าการ และความส าคั ญ เชิ ง น าไปใช้ ป ระโยชน์ (สุ ชาต มีปกาญระสิ ภาพมากขึ ้นละความส าผลการวิ ตวิต้่อชอความเจริ า่อทวหน้ าและการน และการพั ฒนาความรู สาขาต่ าหงๆ ด้ว ยวิธีก ารทีนั่ถฒกูกนางานให้ งและน่ เชืก้าวถึ ถืงธิอประโยชน์ จัญย้ในศาสตร์ ไปใช้ ป ระโยชน์ ดังนั้น ในที่นซึี้ จ่ ึ งสามารถ พอสรุ ป าการได้ ล่ แ าคั ของการวิ จ ั ย ไว้ ลายประการ เสกิสุูจทดวน์ราบและเข้ ความรู ความเข้ ใจ นหรืต่กาสิองๆ ่งของกฎเกณฑ์ มพูชนดั คามดิ องค์ คน้ษวามรู ้ใหม่กเี่ กีการ ใย่นสิวข้่งหรื ่ตอ้อทฤษฎี งการศึตก่าษา ซึ่งจะ ประสิ ทธิการวิ ์รการวิ ัฐสิจนยัจจธุช่ัยัย์, วช่ท2546; ิมลรือติตรวจสอบความถู ร้กานั นใจประเด็ ท์, า2546; นเพิธะวา ฐ์โดยผู , 2550) ความหมายของการวิ ยท� ำจให้ เจนขึ อทีงสามารถ วจาให้ ยพิ หลั งๆ (สุในแต่ ัยวามส อย่คือหางกว้ าญงๆอย่าาคั ได้ ว่าเชิการวิ จต้ัยอได้ หมายถึ ง การศึ กญท้ษาหรื อาไปใช้ การค้ นระโยชน์ คว้าหาความรู สรุป ได้ 2การวิ ลั ก ษณะกว้ า งๆ ความส ญ ง วิ ช าการ และความส าคั เชิ ง น ป ชาต้ การวิ ย ั มี ค าคั า งไร ส่ละศาสตร์ งผลการวิ ผลดีต่อความเจริ ญประกอบการก� ก้าวหน้าและการพั ฒนาความรู้ในศาสตร์สาขาต่ างๆ หรือ น� ำ จ ั ย มาใช้ ำ หนดนโยบายและแผนงานที ่ เ หมาะสม อย่ า งเป็ นัฐระบบ ่อให้สุไวด้กิมขล่ล้อาติวถึ มูรลกานั ่นสิน่าเชื ่อาคั ถือคามดิ อให้ ดจความรู ้ใ หม่หรือความรู ้ ที่ เ ป็น ประสิ สินความส นอท์ค,าตอบที 2546; ธะวา ษฐ์เ,กิ2550) นัจธุกทัย์,วิธิช่2546; ชภเพื าการได้ งหรื ประโยชน์ และความส ญก่ของการวิ ัยกไว้การ หลายประการ ซึ่า่งงๆสามารถ ทธิมี์รการวิ ว ยพิ ส ู จ น์ ห รื อ ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของกฎเกณฑ์ หลั หรื อ ทฤษฎี ต ในแต่้น าคั ญ เชิ ง วิ ช าการ ประโยชน์ ป ระสิ าพยิ ง ่ ขึ น ้  การวิ จ ั ย ท าให้ ไ ด้ ค าตอบในเรื ่ อ งต่ า งๆ ที ่ ย ั ง คลุ ม เครื อ หรื อ ไม่ ช ั ด เจน โดยท าให้ ก ระจ่ า งชั ด เจนขึ เ พื อ ่ การแก้ ไ ขปั ญ หาหรื อ การพั ฒ นาในด้ า นต่ า งๆ ได้ การวิ 2ละศาสตร์ ลักจษณะกว้ างๆ อมีคความส าคั นาไปใช้ ประโยชน์ าต การวิ จัยวัยช่ยขจั ทวยให้ าให้ ้ ความเข้ ใจงวิหรื องค์คฒวามรู ้ใญหม่เชิใงนสิ ่งที่ตน้อคงใน งการศึ กษา(สุซึช่งจะ สรุป ธเอกิุรสงสั กิดคืจความรู วามเจริ ญก้ญาาเชิ วหน้ าชาการ ก่ออเพิให้่มเพูและความส กิดนการพั นาาคัและความมั และช่ ด ข้ ย ต่ า งๆ ประสิทธิการด� ์รส่การวิ ัฐงสิผลดี นำความส ธุัย์,ตนท2546; วาตอบในเรื ิมญงลวิก้ชติาาการ รวหน้ กานัา่อนและการพั 2546; นธะวา ราคั กิเจไกิญ จเนิ าให้ ด้สุดคเชิ งต่ท์,างๆ ที่ยฒังสินาความรู คลุ มเครื อคามดิ อคว้ษไม่ฐ์าช, และหาความรู ัด2550) ดเจนขึ้น ่อธุาให้ ความเจริ ้ใหรื นศาสตร์ สเจน าขาต่โดยท างๆ าให้  การวิ จ ย ั ท ความคิ ด และแนวทางในการศึ ก ษา ค้ น ้อ้อยูกงการศึ ่เระจ่ สมอางชั  การวิ จ ั ย ท าให้ เ กิ ด ความรู ้ ความเข้ า ใจ หรื อ เพิ ่ ม พู น องค์ ค วามรู ้ ใ หม่ ใ นสิ ่ ง ที ่ ต ก ษา ซึคื่งอจะ ช่ยขจั งกคมในเรื ่อมงต่ สกังการ ความ และช่จจัยวัยนอกจากค ดข้ไสอขหรื ต่อ“การวิ าตรวจสอบความถู งๆ จญ  การวิ การวิ ช่วยแก้ วยพิ ูสงสั จาว่ น์หอายรืบรรเทาปั ต้าราเล่ องของกฎเกณฑ์ หลั หรื อาทฤษฎี ่างๆ ้งในแต่ ัย”หาของสั แล้ว ในต นี้ยาังงๆ มีอท�ีกำคให้ าหนึ ่งคมมี ที่จะกล่ วถึงบ่อตยครั ความเจริ ญงผลงานทางวิ วหน้ าและการพั ฒ่นาความรู สาขาต่างๆ ้อยู่เสมอยบวิธีวิจัยที่ ความส าคัฒเกิญนามากขึ เชิ วิก้ชาาการ าจงวหน้ ้นด และแนวทางในการศึ  ก้ส่ การวิ จาซึัยตและพั ท่ง่อหมายถึ าให้ ดเชิ ษา ้ใค้กนศาสตร์ นษาตามกระบวนการระเบี คว้า และหาความรู ละศาสตร์ “งานวิ ั ยผลดี ”ความส งความคิ ช าการที ได้มีกการศึ าคั ญ ง น าไปใช้ ป ระโยชน์  การวิ การวิจัยทช่ทำให้ วาให้ ยพิ ูวิจคดทน์าตอบในเรื ห่อรืให้อตรวจสอบความถู ต้เพิอหรื หลั ตงชั งๆดกเจนขึ ในแต่ าให้ ความรู าใจทีษหรื มเครื วามรู ้ใหม่กการ ใโดยท นสิค่งหรื ทีาให้ ่ตอ้อทฤษฎี ก่าานั ษา ซึงาน ่งจะ้น เกิไเชดสด้กิาเพื ยาการหรื อ่อสิงต่ง่ คประดิ ๆม่งของกฎเกณฑ์ ทีพูอท่ นเป็อนั องค์ เป็ชอนัดยอดองค์ ประโยชน์ และพั  การวิจจยับัยท�สาขาวิ าวามรู งๆ ังใกอหม่ คลุ หรื อยคไม่ เจน กงการศึ เหมาะสมกั เกิ้ ความเข้ ดองค์ ้่ยใฐ์หม่ นสมัการต่ วามรู ้เฒระจ่ ดินา ม า(ส คุส่ละศาสตร์ ณงผลดี ภาพชี คม ่อวิตความเจริ างาคุวหน้ าปและการพั ฒนาความรู าขาต่้งางๆ ความส าคัข้อญสงสั เชิญงยนก้ต่นาไปใช้ ระโยชน์กษา, และช่ วตยขจั ดของคนในสั งๆณภาพการศึ รับรองมาตรฐานและประเมิ 2555, ้ในศาสตร์ น. 14) สโดยทั 2 คา “การวิจัย” และ  การวิจัยท าให้ ไ ด้ ค าตอบในเรื ่ อ งต่ า งๆ ที ่ ย ั ง คลุ ม เครื อ หรื อ ไม่ ช ั ด เจน โดยท ก่เระจ่ ช่ ว ยพิ ส ู จ น์ ห รื อ ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของกฎเกณฑ์ หลั ก การ หรืาให้ งๆดเจนขึ ในแต่  การวิ ัยทาให้เกิเดรียความคิ า และหาความรู ้ออยูทฤษฎี สมอ่ตาตงชั “งานวิ จัย” จอาจจะใช้ กสลับดกัและแนวทางในการศึ นในบางหัวข้อ ทั้งนี้ขกึ้นษาอยูค้่กนับคว้ ประเด็ นและความหมายที ้อ่างการสื ่อ้น ละศาสตร์ นอกจากความส� ของการวิจัยดังที่กล่าวข้างต้นแล้ว นักวิชาการยังได้จ�ำแนก อสงสัำวยคัข้ต่ญอางๆ ในหัวข้และช่ อนั้นวๆยขจั เช่นดข้บางหั อาจใช้คาว่า “การวิจัย” เพื่อต้องการสื่อความหมายในเรื่องของ ประโยชน์ ของการวิ 3 ลักษณะ อางๆ (ส�ำนัทีก่ยงานรั นาให้ คุ้อณ การวิความส จัยวิทออกเป็ าให้ เไกิญ ดและแนวทางในการศึ กรองมาตรฐานและประเมิ ษาอหรื ค้นอคว้ไม่าชและหาความรู ยูวก่เข้ภาพ สมอ ด้นดหรื คเชิความคิ าตอบในเรื ่อปคืงต่ ังคลุมบเครื ัดในขณะที เจน โดยท ระจ่ างชัดเจนขึ าคั งนระเบี าไปใช้ ระโยชน์ กระบวนการ ธ ี ก าร อ ย บวิ ธ ี ว ิ จ ั ย (process/methods) ่ บ างหั ออาจใช้ คาว่า้น การศึกษา, 2555) อสงสัย่อต่ความหมายในลั างๆ “งานวิและช่ จัย”1.วเพืยขจั ่อต้ดอข้งการสื ษณะของผลงานวิ ชาการหรื ผลงานวิจแัยก่ (research ประโยชน์ ใ นเชิ ง สาธารณะ เช่นกการน� ำผลการวิ จคว้ัยไปใช้ ให้เกิดอประโยชน์ ความส าคั ญ เชิ ง น าไปใช้ ป ระโยชน์  การวิ จ ย ั ท าให้ เ กิ ด ความคิ ด และแนวทางในการศึ ก ษา ค้ น า และหาความรู ้อยู่เสมอ work) อ่ งต่างๆ ทีท่ ำ� ให้คณ สาธารณชนในเรื ุ ภาพชีวติ และเศรษฐกิจของประชาชนดีขนึ้ เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านการบริหารจัดการของชุมชน ด้านศิลปะและวัฒนธรรม เป็นต้น ความสาคัญเชิงนาไปใช้ประโยชน์ 2. ประโยชน์ในเชิงนโยบาย เช่น การน�ำผลการวิจัยไปประกอบเป็นข้อมูลการ ประกาศกฎหมาย หรือกฎเกณฑ์ตา่ งๆ โดยองค์กร หรือหน่วยงานภาครัฐและ 2. ความสการก� าคั ญำหนดมาตรการ และประโยชน์ เอกชน เป็นต้น จัย ของการวิ 3. ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เช่น การน�ำผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์เพือ่ การพัฒนา สิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ หรือน�ำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เป็นต้น การวิจัยมีความสาคัญอย่างไร นักวิชจาการได้ 3. ลักษณะของการวิ ัย กล่าวถึงประโยชน์และความสาคัญของการวิจัย ไว้หลายประการ ซึ่งสามารถ ได้ 2 จลั​ัยกมีษณะกว้ างๆ าคืงไร อ ความสาคัญเชิงวิชาการ และความสาคัญเชิงนาไปใช้ประโยชน์ (สุชาต สรุปการวิ ลักษณะอย่ ทธิ์รัฐสินธุ์, 2546; สุวิมลจยั ติข้รากานั ท์, 2546; คามดิษฐ์, 2550) ประสิจากความหมายของการวิ งต้นนและเพื อ่ ให้สิเข้นาธะวา ใจลักษณะของการวิ จยั ได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ผู ้ เขี ย นได้ ร วบรวมลั ก ษณะของการวิ จั ย ที่ นั ก วิ ช าการได้ อ ธิ บ ายไว้ โดยมี ลั ก ษณะส� ำ คั ญ ดั ง นี้ เชิงวิชคามดิ าการษฐ์, 2550) (บุญชม ศรีสะอาด,ความส 2535;าคัสินญธะวา  การวิ การวิจจัยัยเป็ทนาให้ เกิดความรู้ ความเข้าใจ หรื ้ใหม่ใ่งนสิ ้องการศึ กระบวนการแสวงหาความรู ้ ข้ออเท็เพิจ่มจริพูนง องค์ หรือคค�วามรู ำตอบในสิ ต่า่งงๆที่ตอย่ างมี กษา ซึ่งจะ เหตุ ผลและเป้ าหมายญโดยด� ำเนิานและการพั การอย่างเป็ นขัน้ ตอน ้ใและเป็ นระบบตามหลั ส่งผลดี ต่อความเจริ ก้าวหน้ ฒนาความรู นศาสตร์ สาขาต่างๆ กวิชาการ  การวิจัยช่วยพิสูจน์ หรือตรวจสอบความถูกต้องของกฎเกณฑ์ หลักการ หรือทฤษฎีต่างๆ ในแต่ ละศาสตร์  การวิจัยทาให้ได้คาตอบในเรื่องต่างๆ ที่ยังคลุ มเครือหรือไม่ชัดเจน โดยทาให้กระจ่างชัดเจนขึ้น และช่วยขจัดข้อสงสัยต่างๆ  การวิจัยทาให้เกิดความคิดและแนวทางในการศึกษา ค้นคว้า และหาความรู้อยู่เสมอ


นักวิชาการได้กล่าวถึงประโยชน์และความสาคัญของการวิจัย ไว้หลายประการ ซึ่งสามารถ ของการวิจัยการวิ จัยมีความสาคัญอย่างไร

สรุปได้ 2 ลักษณะกว้างๆ คือ ความสาคัญเชิงวิชาการ และความสาคัญเชิงนาไปใช้ประโยชน์ (สุชาต ชาการได้ งประโยชน์ และความส ญของการวิ จัย ไว้หลายประการ ซึ่งสามารถ ประสิทธิ์รัฐสินนัธุก์,วิ2546; สุวกิมล่ลาติวถึรกานั นท์, 2546; สินธะวาาคัคามดิ ษฐ์, 2550) จัยามีงๆความส าคัญอย่าคัางไร สรุปได้ 2 ลักการวิ ษณะกว้ คือ ความส ญเชิงวิชาการ และความส าคั้เบืญ ความรู ้องต้เชิ นเกีง่ยนวกัาไปใช้ บการวิจป ัย ระโยชน์ 23 (สุชาต นัธุก์,วิ2546; ชาการได้ งประโยชน์ และความส ญของการวิ จัย ไว้หลายประการ ซึ่งสามารถ ประสิทธิ์รัฐสินความส วกิมงล่ลวิาชติวถึาการ รกานั นท์, 2546; สินธะวาาคัคามดิ ษฐ์, 2550) าคัญสุเชิ ได้ การวิ 2การวิ ลักจษณะกว้ งๆ อ ความส ญาเชิใจงวิบหรื ชรวบรวมข้ าการ นาไปใช้ ประโยชน์ าต สรุป ่อางมื คาคั ในการเก็ มูลทีค่เทีวามรู ่ยาคั งตรง จัยัยมีทเครื าให้ เกิอดคืและเทคนิ ความรู ้ ความเข้ อเพิ่มพูและความส นอองค์ ้ใญหม่เชิและเชื ใงนสิ ่งที่อถื่ตอ้ ได้ งการศึ กษา(สุซึช่งจะ ประสิทธิเพื์รส่ัฐง่อสิผลดี วิมญง่งลวิทีก้ชติ่ตาาการ รวหน้ ท์ก, ษา 2546;ฒสินาความรู นธะวา คามดิ ษฐ์, 2550) าคัญสุเชิ ใช้นความส หธุ์,าค� ตอบในสิ ้อกานั งการศึ ต2546; ่อำความเจริ านและการพั ้ในศาสตร์ สาขาต่างๆ ย้ ความเข้ รพยายาม การติคดวามรู ตามผล นงการศึ ทึก ตก่าษา  การวิ การวิจจัยัยต้ช่ทอวงอาศั าให้ าใจความซื หรืกอต้เพิ่อสั่งของกฎเกณฑ์ มตพูย์นองค์ ้ใหม่กและการบั ในสิ่งหรื ที่ตอ้อทฤษฎี ซึ่งจะ ยพิเสกิยูจดความเพี น์ความรู หรือตรวจสอบความถู หลั การ งๆ ในแต่ าคัญยเชิ าการ ข้ส่ละศาสตร์ องมูผลดี ลความส อย่ตา่องละเอี ด ญงเพืวิก้่อชาให้ ได้ขาและการพั ้อมูลที่ถูกต้ฒอนาความรู ง และตรงกั บความเป็ นจริงาให้ ความเจริ วหน้ ้ในศาสตร์ สาขาต่ งๆมากที่สุด ได้คไเสด้กิวามรู า่อใจงต่หรืางๆ ค�ำทีตอบในประเด็ นหรื ต่าอคงๆไม่ ชัชดัดเจนขึ รวมถึ ง่ตอ้อทฤษฎี  การวิ าให้ ความรู ้ ความเข้ าอใจ หรื มเครื พูนอองค์ วามรู ้ใหม่กน้การ ใโดยท นสิ ่งหรื ทีาให้ ก่าษา ซึ่งจะ้น ยพิ ูจคดน์าตอบในเรื ห้ ความเข้ รือตรวจสอบความถู ต้เพิอม่งของกฎเกณฑ์ หลั งๆดเจนขึ ในแต่  การวิ การวิจยั จจท�ัยัยำทช่ทให้วาให้ ่ยังกอคลุ เจน กงการศึ ระจ่าตงชั ก่ส่ละศาสตร์ องให้ผลดี เกิวดตยขจั ความรู ทญ จี่ ยะเป็ นงๆประโยชน์ ตอ่ ความก้ าวหน้าทางวิ ชาการสหรื อการพั ่อความเจริ ก้ต่าาวหน้ าและการพั ฒนาความรู ้ในศาสตร์ าขาต่ างๆฒนาสังคม และช่ ดข้ใ้ อหม่สงสั  วยพิเไกิสด้ดูจคความคิ น์าตอบในเรื หรือตรวจสอบความถู ต้อมงของกฎเกณฑ์ ่างๆดเจนขึ ในแต่้น ่องต่างๆ ที่ยังกคลุ เครื ัดหลั เจนกการ โดยทหรืาให้ ก่เระจ่  การวิ การวิจจัยัยทช่าให้ ดและแนวทางในการศึ กษาอหรื ค้นอคว้ไม่าชและหาความรู ้ออยูทฤษฎี สมอาตงชั 4. การแบ่งละศาสตร์ กลุ่มการวิ และช่ วยขจัดจข้ัยอสงสัยต่างๆ  การวิความส จัยทาให้ ด้ดคเชิความคิ าตอบในเรื ่อปงต่ างๆ ที่ยังคลุมเครื ัดเจน โดยทาให้ ดและแนวทางในการศึ กษาอหรื ค้นอคว้ไม่าชและหาความรู ้อยูก่เระจ่ สมอางชัดเจนขึ้น าคัเไกิญ งนาไปใช้ ระโยชน์ โดยทัและช่ ว่ ไปนัวกยขจั วิชาการมั กแบ่ยงต่กลุ ดข้อสงสั างๆม่ การวิจยั ออกเป็น 2 กลุม่ หลัก คือ การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ (scientificresearch) จยั งนทางสั คมศาสตร์ เหตุผลทีแ่ ้อบ่ยูง่เกลุ การวิความส จัยทและการวิ าให้าคัเกิญดเชิความคิ ดงและแนวทางในการศึ กษา ค้นresearch) คว้า และหาความรู สมอม่ าไปใช้ ประโยชน์(social science ดังกล่าวก็เพราะว่าสิง่ ทีศ่ กึ ษาและเป้าหมายของการวิจยั มีความแตกต่างกัน อีกทัง้ เพือ่ ประโยชน์ของ การจัดประเภทหรือความส หมวดหมู จยั ให้ปมคีระโยชน์ วามชัดเจน การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์จะเป็นการวิจยั าคัข่ญองการวิ เชิงนาไปใช้ เกีย่ วกับวิทยาศาสตร์บริสทุ ธิ์ (ฟิสกิ ส์ เคมี ชีววิทยา ฯลฯ) และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (วิศวกรรมศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ฯลฯ) โดยส่วนใหญ่จะไม่คอ่ ยเกีย่ วข้องกับมนุษย์ แต่จะเน้นใน ด้านการทดลองและศึกษาสรรพสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบตัวมนุษย์ มีกฎเกณฑ์และเครือ่ งมือวัดทีแ่ น่นอน ควบคุม ตัวแปรได้งา่ ย และผลการวิจยั มีความถูกต้องแม่นย�ำสูง (สิน พันธุพ์ นิ จิ , 2553) ในขณะที่การวิจัยทางสังคมศาสตร์จะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ มนุษย์และสังคม โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เข้าใจความจริง ปรากฏการณ์และการเปลีย่ นแปลงทางสังคม ในที่นี้การวิจัยทางสังคมศาสตร์จะครอบคลุมสาขาวิชาด้านมนุษยศาสตร์ เช่น ศาสนา ปรัชญา ประวัตศิ าสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดี ฯลฯ และด้านสังคมศาสตร์ เช่น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิตศิ าสตร์ สังคมวิทยา บริหารธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ การวิจยั ทางสังคมศาสตร์จะมีความซับซ้อนและ ควบคุมตัวแปรได้ยากกว่าทางวิทยาศาสตร์ เนือ่ งจากงานวิจยั ในศาสตร์นบี้ างเรือ่ งอาจไม่มเี ครือ่ งมือ วัดโดยตรงเหมือนการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ และผลการวิจยั อาจใช้ได้เพียงช่วงระยะเวลาหนึง่ ซึง่ อาจ จ�ำเป็นต้องท�ำวิจยั ซ�ำ้ เพราะสภาพสังคมและมนุษย์มกี ารเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ (สิน พันธุพ์ นิ จิ , 2553) ด้วยเหตุผลข้างต้นจึงท�ำให้การวิจยั ทางสังคมศาสตร์มคี วามแตกต่างจากการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ในส่วนของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมถือได้วา่ เป็นการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ สาขาหนึง่ เพราะมุง่ ศึกษาและท�ำความเข้าใจในเรือ่ งของมนุษย์และสังคมในบริบทของการเดินทาง เพื่อการท่องเที่ยว ดังนั้นเนื้อหาส่วนใหญ่ในต�ำราเล่มนี้จึงใช้หลักการและระเบียบวิธีวิจัยทาง สังคมศาสตร์เป็นแนวทางการวิจัยในสาขานี้ โดยจะใช้ตัวอย่างของการท่องเที่ยวและการโรงแรม ประกอบการอธิบายเนือ้ หาควบคูก่ นั ไป และหวังว่าผูอ้ า่ นจะเข้าใจเนือ้ หาของการวิจยั ด้านการท่อง เทีย่ วและการโรงแรมได้ชดั เจนขึน้ ในหัวข้อต่อไปจะกล่าวถึงการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม


24

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

5. การวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ดังทีก่ ล่าวมาแล้วว่าการวิจยั เป็นกระบวนการหาความรู้ ข้อเท็จจริง หรือค�ำตอบในเรือ่ งที่ ต้องการศึกษา ศาสตร์ทุกศาสตร์จ�ำเป็นต้องมีการวิจัยเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลและพัฒนาองค์ความรู้ อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้สงั คมเกิดการพัฒนาและความเจริญก้าวหน้า สาขาการท่องเทีย่ วและการโรงแรม ก็เช่นเดียวกัน จ�ำเป็นต้องมีการวิจยั เพือ่ พัฒนาความรูแ้ ละสร้างองค์ความรูใ้ นศาสตร์ของตนเอง รวม ทั้งอาศัยความรู้จากการวิจัยเพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ดังนั้นเนื้อหาในส่วนนี้จะมุ่งเน้นเรื่องการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมเป็นหลัก โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ ให้ผอู้ า่ นมีความรูค้ วามเข้าใจเบือ้ งต้นในการวิจยั ในสาขานี้ โดยเริม่ ต้นจากความหมาย ของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม และประเด็นอืน่ ๆ ในล�ำดับต่อไป 5.1 ความหมายของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม หมายถึง การศึกษาค้นคว้าหาความรูอ้ ย่างเป็น ระบบและเป็นขั้นตอนตามหลักการวิจัยทางสังคมศาสตร์โดยมุ่งเน้นศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเทีย่ ว (เช่น นักท่องเทีย่ ว แหล่งท่องเทีย่ ว) หรือภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ ธุรกิจโรงแรม เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลหรือค�ำตอบทีเ่ ป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาด้าน ต่างๆ ของภาคธุรกิจหรือสังคม ดังนัน้ ค�ำว่า “การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม” จึงมีความ หมายและขอบเขตทีก่ ว้างขวาง โดยมีประเด็นทีส่ ามารถศึกษาวิจยั ได้มากมายทัง้ ในขอบเขตของการ ท่องเทีย่ วและภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว นักวิชาการบางท่านอาจเรียกการวิจยั ด้านการ ท่องเทีย่ วและการโรงแรมอย่างสัน้ ๆ ว่า การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ ว 5.2 ความส�ำคัญของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม จากความหมายของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและโรงแรมทีก่ ล่าวข้างต้น จะเห็นว่าการวิจยั ในสาขานีม้ ขี อบเขตทีก่ ว้างขวางและมีประเด็นทีส่ ามารถศึกษาวิจยั ได้มากมาย ดังนัน้ การวิจยั ด้านการ ท่องเทีย่ วและการโรงแรมจึงมีความส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อสังคมและประเทศชาติ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เห็นความ ส�ำคัญของการวิจยั ในสาขานีไ้ ด้อย่างชัดเจน อาจพิจารณาในแง่ของความส�ำคัญของการวิจยั ด้านการ ท่องเทีย่ วและการโรงแรมทีม่ ตี อ่ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมของประเทศ โดยมีรายละเอียด ดังนี้


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

25

5.2.1 ด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวประกอบด้วยธุรกิจจ�ำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับการให้ บริการในการเดินทางของนักท่องเที่ยว เช่น ธุรกิจที่พักแรม ธุรกิจจัดน�ำเที่ยว ธุรกิจขนส่ง ธุรกิจ นันทนาการ ธุรกิจร้านอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดจนธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทางอ้อม เช่น ธุรกิจ บันเทิง ธุรกิจการประชุม ธุรกิจห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ธุรกิจเหล่านี้จ�ำเป็นต้องแข่งขันกันเพื่อการ อยู่รอดในตลาด รวมทั้งมุ่งพัฒนาสินค้าหรือบริการให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า และสร้างความพึงพอใจให้มากที่สุด นอกจากนั้นการด�ำเนินธุรกิจยังต้องพบเจอปัญหาอุปสรรค หรือสิ่งท้าทายต่างๆ มากมาย ซึ่งอาจพิจารณาได้จากตัวอย่างต่อไปนี้

ท�ำอย่างไรลูกค้าจึงจะรู้จักและสนใจที่จะมาพักโรงแรม/รีสอร์ทของเรา ลูกค้าพึงพอใจกับการบริการของโรงแรม/รีสอร์ทหรือไม่ อย่างไร ลูกค้าคิดเห็นและคาดหวังอย่างไรกับการบริการของโรงแรม/รีสอร์ท ท�ำอย่างไรลูกค้าจึงจะพึงพอใจในการบริการจัดน�ำเที่ยวของบริษัท สินค้าหรือการบริการของเราดีกว่าคู่แข่งหรือไม่ อย่างไร ปัจจัยใดมีอิทธิพลต่อการเลือกที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ของนักท่องเที่ยวชาวไทย ธุรกิจรีสอร์ทควรพัฒนาเว็บไซต์อย่างไรเพื่อเข้าถึงลูกค้าเป้าหมาย สายการบินต้นทุนต�่ำควรสร้างตราสินค้าอย่างไรเพื่อผลทางการตลาด นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศมีพฤติกรรมการซื้อของที่ระลึกอย่างไร

จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า มีสงิ่ ท้ายทายต่างๆ มากมายในการด�ำเนินธุรกิจ ซึง่ แนวทาง หนึ่งของการด�ำเนินธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จ คือ การมีข้อมูลหรือทราบข้อมูลในเรื่องต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจในด้านต่างๆ เช่น การแข่งขัน การตลาด การบริหารจัดการ หรือการ บริการ เป็นต้น ข้อมูลทีน่ า่ เชือ่ ถือทีจ่ ะช่วยประกอบการตัดสินใจให้แก่ผปู้ ระกอบการคือ ข้อมูลจาก การวิจัย โดยการวิจัยจะช่วยให้ผู้ประกอบการได้ทราบข้อเท็จจริงและค�ำตอบในเรื่องต่างๆ รวมทั้ง การวิจัยยังให้ข้อเสนอแนะหรือแนวทางที่มีประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจให้เจริญก้าวหน้า ดังนั้น จากสิ่งที่น�ำเสนอข้างต้นจะเห็นว่าการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมมีความส�ำคัญ ต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นอย่างยิ่ง นอกจากความส�ำคัญของการวิจัยในระดับองค์กรหรือบริษัทแล้ว การวิจัยด้านการท่อง เที่ยวและการโรงแรมยังมีความส�ำคัญในระดับที่ใหญ่ขึ้น เช่น ภาคธุรกิจ หรือสังคม เป็นต้น โดยสามารถพิจารณาได้จากประเด็นตัวอย่างต่อไปนี้


26

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของธุรกิจที่พักแรมในอ�ำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอนมากน้อยเพียงใด ตัวแทนจ�ำหน่ายทางการท่องเทีย่ วของไทย (travel agents) มีการพัฒนาระบบ พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ทางการท่องเทีย่ ว (e-tourism) ในปัจจุบนั มากน้อยเพียงใด นักท่องเทีย่ วสะพายเป้และนักท่องเทีย่ วทัว่ ไป กลุม่ ใดใช้จา่ ยเงินมากกว่ากันในระหว่าง เดินทางท่องเทีย่ วในเมืองไทย พฤติกรรมการซือ้ สินค้าหรือการใช้บริการของนักท่องเทีย่ วชาวเอเชียเหมือนหรือ แตกต่างจากชาวยุโรปหรือไม่ อย่างไร ปัจจัยใดทีน่ กั ท่องเทีย่ วพิจารณาเลือกทีพ่ กั แบบโฮมสเตย์ในจังหวัดเชียงใหม่

จากสิง่ ทีน่ ำ� เสนอข้างต้นจะเห็นว่า การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมมีความส�ำคัญ ต่อภาคธุรกิจและสังคม โดยการวิจยั จะให้ขอ้ มูลหรือข้อเท็จจริงทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินงานหรือ การพัฒนาในด้านต่างๆ อันจะน�ำไปสูก่ ารพัฒนาธุรกิจให้เจริญก้าวหน้าอย่างมัน่ คง ดังนัน้ การวิจยั ด้าน การท่องเทีย่ วและการโรงแรมจึงมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้วยเหตุผลข้างต้น 5.2.2 ด้านสังคม ในอดีตนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มักสนใจกับการท่องเที่ยวในเขตเมือง หรือแหล่ง ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม แต่ปจั จุบนั การท่องเทีย่ วเริม่ มีการเติบโตและ ขยายตัวอย่างรวดเร็วไปสูช่ มุ ชนหรือหมูบ่ า้ นในต่างจังหวัดมากขึน้ นักท่องเทีย่ วอาจมีวตั ถุประสงค์การ เดินทางเพือ่ ต้องการสัมผัสวัฒนธรรมท้องถิน่ หรือผูค้ นในท้องถิน่ ทีม่ วี ถิ ชี วี ติ และวัฒนธรรมทีโ่ ดดเด่น และมีเอกลักษณ์ การเติบโตอย่างรวดเร็วของการท่องเที่ยวในลักษณะดังกล่าวอาจท�ำให้เกิดผล กระทบหรือการเปลีย่ นแปลงในด้านต่างๆ ของชุมชนและสังคมทัง้ เชิงบวกและเชิงลบ โดยพิจารณาได้ จากประเด็นตัวอย่างต่อไปนี้ การเติบโตของการท่องเทีย่ วในอ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย มีผลกระทบต่อวิถชี วี ติ และความเป็นอยูข่ องชาวบ้านในพืน้ ทีอ่ ย่างไร การทีน่ กั ท่องเทีย่ วนิยมเดินทางไปท่องเทีย่ วหมูบ่ า้ นชาวเขาในจังหวัดเชียงใหม่และ เชียงรายจะมีผลกระทบอย่างไรต่อวิถชี วี ติ และความเป็นอยูข่ องชาวเขาในพืน้ ที่ ชาวบ้านในชุมชนจะมีบทบาทและส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศใน พืน้ ทีท่ างธรรมชาติได้อย่างไร ทีพ่ กั แบบโฮมสเตย์จะมีสว่ นช่วยส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ นวัฒนธรรม ท้องถิน่ ระหว่างเจ้าของบ้านกับนักท่องเทีย่ วทีม่ าพักหรือไม่ อย่างไร ท�ำอย่างไรจะท�ำให้เยาวชนในชุมชนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการท่องเทีย่ วให้มากขึน้


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

27

จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า การท่องเทีย่ วอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆ ต่อชุมชนและ สังคมทัง้ เชิงบวกและเชิงลบ อย่างไรก็ตาม ชุมชนจะทราบได้อย่างไรว่าผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เป็นผล ดีหรือผลร้ายต่อคนในชุมชน รวมทัง้ วิถชี วี ติ และความเป็นอยูข่ องคนในชุมชน แล้วชุมชนควรจะท�ำ อย่างไร ด้วยเหตุข้างต้นจะเห็นว่าหากมีการศึกษาวิจัยในประเด็นต่างๆ ก็จะสามารถช่วยให้ชุมชน และสังคม รวมทัง้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องรับทราบข้อมูลและข้อเท็จจริงทีเ่ กิดขึน้ โดยการวิจยั จะช่วย ชีแ้ นะและเสนอแนะแนวทางทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชนและสังคมเพือ่ ให้เกิดการพัฒนาทีด่ ขี นึ้ ต่อไป 5.2.3 ด้านสิง่ แวดล้อม เช่นเดียวกับด้านเศรษฐกิจและสังคม การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม มีความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กบั สิง่ แวดล้อม เนือ่ งจากกิจกรรมการท่องเทีย่ วส่วนใหญ่มกั เกีย่ วข้องกับสถาน ที่หรือแหล่งท่องเที่ยวเป็นหลัก (ทั้งสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ) ดังนั้น การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมจึงมีความส�ำคัญต่อสภาพแวดล้อมทัง้ ทางตรงและทางอ้อม โดยพิจารณาได้จากตัวอย่างต่อไปนี้ แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติทนี่ กั ท่องเทีย่ วนิยมเดินทางไปเยือน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ภาครัฐ จะมีแนวทางอนุรกั ษ์และลดผลกระทบจากการท่องเทีย่ วได้อย่างไร ท�ำไมแหล่งท่องเทีย่ วในบางจังหวัดจึงเสือ่ มโทรมเร็ว และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจะมีแนวทาง ใดบ้างในการอนุรกั ษ์หรือรักษาทรัพยากรการท่องเทีย่ ว การเติบโตของการท่องเทีย่ วในเกาะเสม็ดจะส่งผลเสียอย่างไรต่อสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติของเกาะ การจัดน�ำเทีย่ วของผูป้ ระกอบการจ�ำนวนมากในบริเวณอุทยานแห่งชาติทางทะเลอ่าวพังงา ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาและสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในพืน้ ทีม่ ากน้อย เพียงใด หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจะมีมาตรการลดผลกระทบอย่างไร โรงแรมและรีสอร์ททีต่ งั้ อยูบ่ ริเวณชายหาดทีเ่ ปราะบาง ได้สร้างปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมใน พืน้ ทีด่ งั กล่าวหรือไม่ อย่างไร

จากประเด็นตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า การเติบโตของการท่องเทีย่ วและปัญหาสิง่ แวดล้อมมี ความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กนั และมีผลกระทบซึง่ กันและกัน หากมีการศึกษาวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและ การโรงแรมในประเด็นทีเ่ กิดขึน้ ดังกล่าว ก็จะช่วยให้ประชาชนและสังคมทราบข้อเท็จจริงและรูถ้ งึ ปัญหาทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ ในแหล่งท่องเทีย่ ว รวมทัง้ การวิจยั ยังให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างการตระหนัก ถึงสิง่ แวดล้อมให้แก่คนในชุมชนและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ นอกจากนัน้ การวิจยั ยังให้ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางการพัฒนาและการอนุรกั ษ์ทรัพยากรท่องเทีย่ วแก่ชมุ ชนและสังคม ประเด็นส�ำคัญคือ หากมีการน�ำผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจังก็จะช่วยอนุรกั ษ์ทรัพยากรการท่องเทีย่ วให้คงอยู่ ตลอดไป หรือลดผลกระทบที่เกิดขึ้น จากสิ่งที่น�ำเสนอข้างต้นจะเห็นว่า การวิจัยด้านการท่องเที่ยว และการโรงแรมมีความส�ำคัญในการปกป้องและรักษาสิง่ แวดล้อมของชุมชน สังคม และประเทศชาติ


28

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

5.3 จุดมุ่งหมายของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม การท�ำวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผู้วิจัยมักจะมีจุดมุ่งหมายของการวิจัยว่าต้องการท�ำวิจัย เรื่องนั้นเพื่ออะไร (research purposes) เช่น เพื่อค้นหาค�ำตอบบางอย่าง เพื่อหาข้อเท็จจริง เพื่อแก้ไขปัญหา หรือเพื่อให้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ เป็นต้น ทั้งนี้การจ�ำแนกจุดมุ่งหมายของ การวิจัยให้มีความชัดเจนจะช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถน�ำผลการวิจัยนั้นไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม จากการวิเคราะห์งานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมทัง้ ในบริบทของประเทศไทย และต่างประเทศ พบว่าจุดมุ่งหมายของการวิจัยในสาขานี้มีหลายประการ ผู้เขียนได้จ�ำแนกและ สรุปจุดมุ่งหมายของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมไว้ดังนี้ ตาราง 1.1 จุดมุ่งหมายของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม จุดมุ่งหมายของการวิจัย ตัวอย่างงานวิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือ  แนวทางปฏิบัติที่ดีส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจน�ำ สร้างองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชา เที่ยวเชิงนิเวศเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง (new knowledge) ยั่งยืนของประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2553)  “ความเป็นเอเชีย” – แนวคิดในการบริหารจัดการ ด้านการโรงแรมและการบริการ (Wan & Chon, 2010) เพื่อให้ข้อมูลหรือข้อเสนอ แนะแก่ผู้ประกอบการ/ภาค ธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่อง เที่ยวเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ (tourism business development)

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ บริษัทน�ำเที่ยวในกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยว ชาวต่างประเทศ (สิริกัญญา ปัญญาดี, 2554)  ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อคุณภาพการบริการ ของโรงแรมบูติกใน จ.เชียงใหม่ (อัจฉรา สุขจิต, 2554)  การตลาดทางอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษาธุรกิจท่องเที่ยว เชิงนิเวศในประเทศไทย (Sangpikul, 2010) 


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

จุดมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจ ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวกับนักท่อง เที่ยว และสามารถน�ำผลการ วิจัยไปใช้ประโยชน์ (tourist studies) เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว ประเภทต่างๆ เช่น การท่อง เที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม การท่องเที่ยวทาง ทะเล การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ฯลฯ (tourism development) เพื่อให้ข้อมูลหรือข้อเสนอ แนะแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน การพัฒนา อนุรักษ์หรือรักษา ทรัพยากรการท่องเที่ยว/แหล่ง ท่องเที่ยว (tourism conservation)

29

ตัวอย่างงานวิจัย  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมท่องเที่ยวซ�้ำ ของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ (กรภัทร กิตติภานิชกุล, 2554)  แรงจูงใจในการเดินทางและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว กรณีศึกษานักท่องเที่ยวชาวเกาหลีที่เดินทางมา ประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2551) แนวทางปฏิบัติที่ดีส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจน�ำ เที่ยวเชิงนิเวศเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนของประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2553)  การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบสมัยใหม่ในอีสานใต้ (ศิริกัญญา ฤทธิ์แปลก, 2551) 

การศึกษาสภาพการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ใน เขตพื้นที่ผืนป่าตะวันตก กรณีศึกษาเขตรักษาพันธุ์ สัตวป่าห้วยขาแข้ง ทุ่งใหญ่นเรศวร และอุ้มผาง และ อุทยานแห่งชาติคลองลานและแม่วงก์ (ปานพิมพ์ เชื้อพลากิจ, 2553)  การวางแผนจัดการเขาถ�ำ้ เอราวัณเพือ่ การท่องเทีย่ ว ทางธรรมชาติอย่างยั่งยืน (เสรีวัฒน์ สมินทร์ปัญญา และคณะ, 2553) 

เพื่อให้ข้อมูลหรือข้อเสนอ  ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อศักยภาพและความต้องการใน แนะแก่ชุมชนและประชาชนใน การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน ต.วังยาว อ.ด่านช้าง ท้องถิ่นในการพัฒนาการท่อง จ.สุพรรณบุรี (จันทร์พร ช่วงโชติ, 2554) เที่ยว/แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน  การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อพัฒนาการ (community development) ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : กรณีศึกษา เขตเทศบาลเมือง จังหวัดเพชรบุรี (ชิษณุชา ปานศิร,ิ 2552)


30

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

ตัวอย่างงานวิจัย

เพื่อให้ข้อมูลแก่หน่วยงาน  บทบาทขององค์กรภาครัฐที่มีต่อการพัฒนากิจกรรมการ ภาครัฐในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติอย่างยั่งยืนบนพื้นที่เกาะช้าง ประโยชน์ในด้านต่างๆ กิ่งอ�ำเภอเกาะช้าง จ.ตราด (รักษ์พงศ์ วงศาโรจน์ และ (government development) คณะ, 2551)  การวิเคราะห์อุปสรรคที่มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรม การจัดประชุมในประเทศไทย (Sangpikul & Kim, 2009)  การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - มุมมองจากเยาวชนไทย (Sangpikul & Batra, 2007) เพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการท�ำงานของพนักงาน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงแรมในเมืองพัทยา (ลิขิตา เฉลิมพลโยธิน, 2554) (human resources  คุณลักษณะทีพ ่ ึงประสงค์ของพนักงานแม่บ้านโรงแรมใน development) พื้นที่กรุงเทพมหานคร (อรทัย ชุ่มเย็น, 2554) เพือ่ ให้ขอ้ มูลหรือข้อเสนอแนะ  การศึกษาแรงจูงใจและความสนใจของนักศึกษาชาวเอเชีย ในการพัฒนาการเรียนการสอนใน ในประเทศจีน ไต้หวัน และเกาหลี ที่เลือกเรียนสาขาการ สาขาการท่ อ งเที่ ย วและการ ท่องเที่ยวและการโรงแรม (Kim, Guo, Wang, & Agrusa, โรงแรม (education 2007) development)  การประเมินสมรรถนะด้านการครัวส�ำหรับนักศึกษาการ โรงแรม (Ko & Lee, 2010) (หมายเหตุ: การเขียนอ้างอิงส�ำหรับวารสารต่างประเทศ หากเป็นคนไทย ให้ใช้หลักการเขียนแบบเดียวกับชาวต่างประเทศ โดยใช้ นามสกุลขึ้นต้นเป็นภาษาอังกฤษ แล้วตามด้วยปี ค.ศ.)


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

31

ตาราง 1.1 เป็นการจ�ำแนกจุดมุง่ หมายของงานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม โดย งานวิจยั ในสาขานีม้ จี ดุ มุง่ หมายของการวิจยั หลายประเด็น เช่น เพือ่ ให้ขอ้ มูลหรือข้อเสนอแนะแก่ภาค ธุรกิจ เพือ่ ให้ความรูค้ วามเข้าใจในประเด็นนักท่องเทีย่ ว หรือเพือ่ การพัฒนาการท่องเทีย่ วประเภท ต่างๆ เป็นต้น ทัง้ นีจ้ ากการวิเคราะห์งานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมของประเทศไทยใน รอบ 10 ปี ทีผ่ า่ นมา (อัศวิน แสงพิกลุ , 2555) พบว่างานวิจยั ส่วนใหญ่ในสาขานีม้ กั จะเป็นงานวิจยั ที่มีจุดม่งหมายเพื่อให้ข้อเสนอแนะหรือค�ำแนะน�ำแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ำผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว การบริการ หรือการด�ำเนินธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนั้นยังพบว่างานวิจัยบางเรื่องอาจมีจุดมุ่งหมายของการวิจัยได้มากกว่า 1 ข้อ ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์การวิจยั 5.4 ลักษณะและขอบเขตของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม หัวข้อนีต้ อ้ งการน�ำเสนอลักษณะและขอบเขตของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม เนือ่ งจากการท�ำวิจยั ในสาขานี้ ผูว้ จิ ยั ควรมีความรูแ้ ละความเข้าใจในสาขาทีต่ นเองก�ำลังศึกษาอยูเ่ พือ่ เป็นข้อมูลเบือ้ งต้น อันจะท�ำให้ผวู้ จิ ยั เข้าใจถึงลักษณะและขอบเขตของการวิจยั ในสาขาได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ และสามารถน�ำความรูจ้ ากประเด็นเหล่านีไ้ ปปรับประยุกต์ใช้กบั งานวิจยั ของตนเองในอนาคต ผู้เขียนได้วิเคราะห์และสังเคราะห์โดยสรุปเป็นประเด็นที่ส�ำคัญเกี่ยวกับลักษณะและขอบเขตของ งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมไว้ดังนี้ หัวข้อและประเด็นที่ศึกษามีความหลากหลายและกว้างขวาง งานวิจัยมีขอบเขตทั้งระดับจุลภาคและมหภาค งานวิจัยมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสาขาวิชาอื่นๆ งานวิจัยมีความเป็นนานาชาติสูง วิธีการวิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลการวิจัยสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง 5.4.1 หัวข้อและประเด็นที่ศึกษามีความหลากหลายและกว้างขวาง ผู้วิจัยในสาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรมส่วนใหญ่ท�ำวิจัยเพื่อค้นหาค�ำตอบ ข้อเท็จจริง หรือข้อสงสัยในประเด็นต่างๆ ทีต่ อ้ งการทราบ รวมทัง้ เพือ่ แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาปรับปรุง สิง่ ต่างๆ ในด้านการท่องเทีย่ ว (เช่น แหล่งท่องเทีย่ ว ชุมชน นักท่องเทีย่ ว การเดินทางท่องเทีย่ ว ฯลฯ) หรือ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว (เช่น ภาคธุรกิจ ผูป้ ระกอบการ การบริการ ฯลฯ) จากการวิเคราะห์ งานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมโดย อัศวิน แสงพิกลุ (2555) พบว่าหัวข้อ (topics) และ ประเด็น (issues) ทีศ่ กึ ษาในสาขานีม้ คี วามหลากหลายและกว้างขวางเป็นอย่างยิง่ หรืออาจกล่าวได้ ว่ามีผสู้ นใจศึกษาในเกือบทุกประเด็นทีอ่ ยูใ่ นขอบเขตของการท่องเทีย่ วหรืออุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ สาขาวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง การวิเคราะห์งานวิจยั ดังกล่าวได้จำ� แนกหัวข้อและประเด็นในสาขา การท่องเทีย่ วและการโรงแรมทีม่ ผี นู้ ยิ มศึกษา ดังแสดงในตาราง 1.2


32

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ตาราง 1.2 หัวข้อและประเด็นที่ศึกษาในการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม หัวข้อที่ศึกษา (topics) ประเด็นที่ศึกษา (issues) โรงแรม รีสอร์ท และทีพ่ กั ประเภทอืน่ ๆ  การตลาด การบริหารจัดการ การบริการ  พนักงาน การบริหารทรัพยากรมนุษย์  ความคิดเห็น ความพึงพอใจ จิตวิทยา  ความรับผิดชอบต่อสังคม ผลกระทบและสิง ่ แวดล้อม  อินเทอร์เน็ต/พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจท่องเที่ยวประเภทต่างๆ (เช่น บริษัทจัดน�ำเที่ยว สายการบิน ภัตตาคาร ธุรกิจเชิงสุขภาพ ธุรกิจของที่ระลึก ธุรกิจบันเทิง ธุรกิจนันทนาการ ฯลฯ) การท่องเที่ยวประเภทต่างๆ (เช่น การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ การท่อง เที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ ฯลฯ) การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน การท่องเทีย่ ว เชิงอนุรักษ์

การตลาด การบริหารจัดการ การบริการ  ความคิดเห็น ความพึงพอใจ จิตวิทยา  ความรับผิดชอบต่อสังคม ผลกระทบและสิง ่ แวดล้อม  อินเทอร์เน็ต/พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 

การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว  กิจกรรมการท่องเที่ยว กิจกรรมนันทนาการ  นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ ประชาชนในท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ  การตลาด การบริหารจัดการ การมีส่วนร่วม  ภาพลักษณ์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก เส้นทางการ ท่องเที่ยว  การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว การศึกษา สิ่งแวดล้อม การศึกษาผลกระทบ 

การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ชุมชน วิถีชีวิตความ เป็นอยู่ วัฒนธรรม  นักท่องเที่ยว ประชาชนในท้องถิ่น หน่วยงาน ภาครัฐ  กิจกรรมการท่องเที่ยว กิจกรรมนันทนาการ  การอนุรักษ์ทรัพยากร การศึกษาสิ่งแวดล้อม การศึกษาผลกระทบ 


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

หัวข้อที่ศึกษา (topics) นักท่องเที่ยว

ภาครัฐกับการท่องเที่ยว

ชุมชนท้องถิ่น/ประชาชนในท้องถิ่นกับ การท่องเที่ยว

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การเรียนการสอนกับการท่องเที่ยว สาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว

33

ประเด็นที่ศึกษา (issues)  พฤติกรรมนักท่องเที่ยว การศึกษาข้ามวัฒนธรรม ลักษณะการเดินทาง  นักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม นักท่องเที่ยวนานาชาติ  ความคิดเห็น ความพึงพอใจ จิตวิทยานักท่องเที่ยว  การตลาด การบริหารจัดการ การบริการ  ความคิดเห็นที่มีต่อผู้ประกอบการ/ภาคธุรกิจ  กิจกรรมการท่องเที่ยว กิจกรรมนันทนาการ  อินเทอร์เน็ต/พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บทบาท นโยบาย การด�ำเนินงาน การมีส่วนร่วม  การส่งเสริมการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว  การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว  การตลาด การบริหารจัดการ 

บทบาท การมีส่วนร่วม การด�ำเนินงาน  การส่งเสริมการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว  การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร  การท่องเทีย ่ วเชิงชุมชน การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม  การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว  การตลาด การบริหารจัดการ  ผลกระทบด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อมของชุมชน 

พนักงาน/ผู้ให้บริการ  เจ้าหน้าของรัฐ ประชาชนท้องถิ่น  นักเรียน/นักศึกษา อาจารย์ มัคคุเทศก์ 

การท่องเที่ยว การโรงแรม อาหาร  ภาษาต่างประเทศ 

นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ สถาปัตยกรรม สิง่ แวดล้อม วิทยาศาสตร์ 


16 16 ระเบี ระเบียยบวิ บวิธธีวีวิจิจัยัยด้ด้าานการท่ นการท่อองเที งเที่ย่ยวและการโรงแรม วและการโรงแรม ้เบื้องต้ น เกี ย ่ วกั บ การวิ จ ย ั 34 16ความรูระเบี ยบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม

จากตาราง ปปได้ จจั​ัยยด้ด้อาางเที นการท่ อองเที จากตาราง 1.2 สรุป1.2 ได้วา่ สรุ านการท่ ย่ วและการโรงแรมสามารถแบ่ งออกเป็น 2 งงออกเป็ จากตาราง 1.2 สรุงานวิ ได้จววยั ่​่าาด้งานวิ งานวิ นการท่ งเที่​่ยยวและการโรงแรมสามารถแบ่ วและการโรงแรมสามารถแบ่ ออกเป็นน 22 ขอบเขตกว้ คืคืออตสาหกรรมการท่ ด้ด้1.2 าานอุ ่​่ยยวว อและการท่ อองเที วว โดยผู ้​้ววิ​ิจจกั​ัยยษาองค์ อาจเลื กศึ ปได้ว่า องานวิ ด้ออางเที นการท่ องเที งเทีย่ ว่ยวและการโรงแรมสามารถแบ่ ขอบเขตกว้ างๆ คืจากตาราง อาางๆ ด้านอุ งเทีย่ จวัยและการท่ โดยผู ว้ จิ ยั ่​่ยยอาจเลื อกศึ ขอบเขตกว้ งๆ นอุสรุตตสาหกรรมการท่ สาหกรรมการท่ งเที และการท่ งเที โดยผู อาจเลืงออออกเป็ กศึกกษา ษาน องค์ ปประกอบย่ ยด้ นใดด้ าานอุ นหนึ ่ง่งได้ เช่ ้ว้วอิจิจงเที ววษาข้ข้ออ(topic) ทีที่​่ศศึ​ึกกษา คืคืออ ้วธุธุิจรรัยกิกิอาจเลื จจผูวโรงแรม ิ​ิจจั​ัยย 2 ขอบเขตกว้ าอองๆ อ ด้ง่ าได้ องเที ประกอบย่ อยด้านใดด้ เช่ตนสาหกรรมการท่ หากผู ยั เลือกหั วัยัยข้เลื ศ่ กึ และการท่ คื(topic) อ่ยธุวรกิโดยผู จโรงแรม ้ จิ ยั อกศึผูผูก้​้ววษา องค์ ระกอบย่ ยด้าาาคืนหนึ นใดด้ นหนึ ได้ เช่นนว้ จิ หากผู หากผู เลือ่ยออทีวกหั กหั ษา (topic) โรงแรม อาจเลื ออกประเด็ ย่ย่าออต่ นใดด้ ยที ่​่ตตนเองสนใจ เช่ องค์ ระกอบย่ านหนึ(issues/contents) ่งได้ เช่(issues/contents) น หากผู้วิจัยเช่เลืนอกหั ที่ศการบริ ึกษา (topic) คืหหอารจั ธุรดดกิการ จดโรงแรม ิจัย อาจเลื อปกประเด็ นย่ออนนยด้ ยที นเองสนใจ การตลาด หการบริ ารจัดการ การจั การการจั อาจเลื กประเด็ ยที นเองสนใจ (issues/contents) เช่วข้นนอการตลาด การตลาด การบริ ารจั การ การจัผูดด้วการ การ ทรั พพยากรมนุ ย์ย์นอหรื อาจเป็ นนประเด็ เกี บบริรินกกเช่าร) เช่ เห็ นน ความพึ พอใจของ ทรัอาจเลื พยากรมนุ ษย์ษษหรื ประเด็ นเกีนนย่ (issues/contents) วกั ลูกบบค้ลูลูากก(ผูค้ค้าาใ้ ช้(ผู น ความคิ ดการบริ เห็นดดความพึ พอใจงงการจั อกประเด็ ย่อาจเป็ อออยที ่ตนนเองสนใจ เช่ การตลาด หารจั ดงการ ดการ ทรั ยากรมนุ หรื อาจเป็ ประเด็ เกี่ย่ยบวกั วกั (ผูบริ้ใ้ใกช้ช้าร) าร) เช่นน ความคิ ความคิ เห็ ความพึ พอใจของ ลูทรั ของลู าทีทีที่ม่มม่ ีตีตตี ่อ่ออ่ การบริ การบริ ารของโรงแรม ษย์ หรืกกกอารของโรงแรม อาจเป็นประเด็เป็ ลูกกกพค้ค้ค้าายากรมนุ การบริ ารของโรงแรม เป็นนนเกีต้ต้่ยนนวกับลูกค้า (ผู้ใช้บริการ) เช่น ความคิดเห็น ความพึงพอใจของ ลูกค้าที่มีต่อการบริการของโรงแรม เป็นต้น หัหัววข้ข้ออการวิ การวิจจัยัยด้ด้าานการท่ นการท่อองเที งเที่ย่ยวและการโรงแรม วและการโรงแรม หัวข้อการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม อุอุตตสาหกรรมการท่ การท่ สาหกรรมการท่อองเที งเที่ย่ยวว การท่อองเที งเที่ย่ยวว  จจทีที่พ่พักักแรม  อองเที งเที่ยว าางๆ  ธุธุอุรรตกิกิสาหกรรมการท่ แรม องเที่ยว  การท่ การท่การท่ งเที่ย่ยอวประเภทต่ วประเภทต่ งๆ  ธุ ร กิ จ ท่ อ งเที ย ่ วประเภทต่ า งๆ  การท่ อ งเที ย ่ วอย่ า งยั ง ่ ยื น /เชิ ักแรม วประเภทต่ งๆ งงนินิเเวศ  ธุรกิจทีท่​่พองเที ่ยวประเภทต่างๆ  การท่องเที่ยวอย่ างยั่งยืนา/เชิ วศ าเที ย ่ ว  นั ก ท่ อ งเที ย ่ ว  --ธุรธุธุกิรรจกิกิท่จจอนนงเที ย ่ วประเภทต่ า งๆ การท่ อ งเที ย ่ วอย่ า งยั ง ่ ยื น /เชิ ง นิ เ วศ าเที่ยว  นักท่องเที่ยว -- ธุธุรรกิกิจจนร้ร้าาาเที นอาหาร/ภั ต ตาคาร  ภาครั ่ยว ตตาคาร กท่งอฐฐท่งเที ่ยว่ยว  นั แหล่ องเที นอาหาร/ภั  ภาครั -- ธุธุรรกิกิจจร้ขนส่ ง  ชุ ม ชนท้ อ งถิ านอาหาร/ภั ตตาคาร ฐ องถิ่น่น ขนส่ ง  ภาครั ชุมชนท้ -- ธุธุรรกิกิจจขนส่ ของที  ฒ มชนท้ องถิ่นพพยากรมนุ ของทีง่ร่ระลึ ะลึกก  ชุการพั การพั ฒนาทรั นาทรั ยากรมนุษษย์ย์  การพั ชุมชนท้ องถิ่นพและอื ่นๆ ษย์ - ธุรกิจอืของที  ฒนาทรั ยากรมนุ ่นๆ ที่ระลึ ่เกี่ยกวข้อง 5.4.2 งานวิ งานวิจจัยัยมีมีขขอบเขตทั อบเขตทั้ง้งระดั ระดับบจุจุลลภาคและมหภาค ภาคและมหภาค 5.4.2 5.4.2 5.4.2 งานวิจสืสืงานวิ ัยมีบบขเนื ้งออระดั5.3.1 บจุ้งระดั ลภาคและมหภาค เนือบเขตทั งจากข้ 5.3.1 และประเด็นนทีที่​่ศศึ​ึกกษามี ษามีสส่​่ววนเกี นเกี่​่ยยวข้ วข้อองสั งสัมมพัพันนธ์ธ์ กกั​ับบ จ่​่ออัยงจากข้ มีขอบเขตทั บหัหัจุววลข้ข้ภาคและมหภาค ออและประเด็ งานวิ จกล่ ัยสืด้บาเนืวคื นการท่ องเที ่ยด้วและการโรงแรมสามารถแบ่ ขอบเขตของการวิ งานวิ นการท่หัออวงเที งเที วและการโรงแรมสามารถแบ่ ขอบเขตของการ อจจั​ัยย5.3.1 ข้อและประเด็ นที่ศงึกขอบเขตของการวิ ษามีส่วนเกี่ยงงวข้ อจงสั​ัย มพันธ์ กับ ขอบเขตของการวิ จจัยัย กล่ าวคื่ออองจากข้ งานวิ ด้าานการท่ ่​่ยยวและการโรงแรมสามารถแบ่ ขอบเขตของการ ที่ทวิขอบเขตของการวิ �ำจการศึ ษาออกเป็ บจุจล่ยั ภาคและงานวิ จัยระดับมหภาค ้วิจัย ผู้วิจัย ัยยทีที่​่ททกาการศึ าการศึ กษาออกเป็ ษาออกเป็ นษณะ ลัได้กกแษณะ ษณะ ได้นการท่ แจก่ก่ัยระดั งานวิ ระดับบจุจุลลภาคและงานวิ ภาคและงานวิ จั​ัยยระดั ระดัง ขอบเขตของการ บผูมหภาค มหภาค จนัย 2กล่ลัากวคื อ22 งานวิ จก่ัยงานวิ ด้าได้ องเที วและการโรงแรมสามารถแบ่ วิ จ ั ก น ลั แ งานวิ จ ั ย ระดั จ บ ผู้วิจัย สามารถเลื อ กท� ำ วิ จ ย ั ในระดั บ ใดก็ ไ ด้ ขึ น ้ อยู ก ่ บ ั ความสนใจและความส� ำ คั ญ ของเรื อ ่ งที ศ ่ ก ึ ษา โดยงาน สามารถเลื อ กท าวิ จ ย ั ในระดั บ ใดก็ ไ ด้ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ความสนใจและความส าคั ญ ของเรื ่ อ งที ่ ศ ึ ก ษา โดยงานวิ วิจัยที่ทาการศึ ลัได้กษณะ ก่ความสนใจและความส งานวิจัยระดับจุลภาคและงานวิ ัยระดั บมหภาค ผู้วิจจั​ัยย อกทกาวิษาออกเป็ จัยในระดันบล2ใดก็ ขึ้น่แตกต่ อยูได้่กาับแงกั าคัญของเรื่อจงที ่ศึกษา โดยงานวิ วิจัยสามารถเลื ระดั บ จุ ล ภาคและมหภาคมี ก ั ษณะที น ดั ง นี ้ ระดั ภาคและมหภาคมี ษณะที ตกต่ งกั สามารถเลื อกทาวิจัยในระดัลลบักักใดก็ ได้ ขึ่แ่แ้นตกต่ อยูาา่กงกั ับความสนใจและความส าคัญของเรื่องที่ศึกษา โดยงานวิจัย ระดั บบจุจุลลภาคและมหภาคมี ษณะที นนดัดังงนีนี้​้ หมายถึง งานวิ งานวิ จ ย ั ระดั บ จุ ล ภาค (micro research) ษาในระดับบเล็กหรือใน งานวิจจัยัยระดั ระดับบลจุจุักลลษณะที ภาค (micro (micro research) หมายถึงง งานวิ งานวิจจจั​ัยยัยทีทีที่​่มม่มุุ่่งงุ่งศึศึศึกกกษาในระดั ษาในระดั ระดับจุลภาคและมหภาคมี ่แตกต่างกัresearch) นดังนี้ หมายถึ งานวิ ภาค เล็กหรือใน เล็กบริ หรืบอทที ในบริ บทที ่จ�ำกัด โดยผลการวิ จัยสามารถน� ำไไปใช้ ได้ในขอบเขตที ่ผัยู้วกิจาหนดขึ ัยก�ำหนดขึ ้นเท่ า้นนับ้นไม่ ่ จ ากั ด โดยผลการวิ จ ั ย สามารถน าไปใช้ ด้ ใ นขอบเขตที ่ ผ ้ ู ว ิ จ ้ น เท่ า นั ามารถ งานวิ จ ย ั ระดั บ จุ ล ภาค (micro research) หมายถึ ง งานวิ จ ั ย ที ่ ม ่ ุ ง ศึ ก ษาในระดั บ เล็สสกามารถ หรือใน บ ทที่จำากั ด โดยผลการวิ จั ย สามารถน าไปใช้ ไ ด้ใจนขอบเขตที ่ผู้ วกิจรัยธุกราหนดขึ ้นงเท่ างเที นั้น่ยวไม่ ไม่สบริ ามารถน� ไปใช้ ไ ด้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง ตั ว อย่ า งเช่ น งานวิ ย ั ในระดั บ องค์ กิ จ แหล่ ท่ อ นาไปใช้ าไปใช้ ได้ออย่ย่ดาางกว้ งกว้ งขวาง ตัตัจั ยววอย่ อย่าางเช่ งเช่น งานวิ งานวิจจไั​ัยยด้ในระดั ในระดับบองค์ องค์กก่ผรรู้ วธุธุิจรรัยกิกิกจจาหนดขึ แหล่งงท่ท่้นออเท่งเที งเที หรืออ บ ทที โดยผลการวิ านัำ่​่นวน าางขวาง แหล่ ยย้นวว ไม่พืพื้​้นนสทีทีามารถ ่​่ หรื พืน้ นบริ ที่ หรื อ ชุ่ไจมด้ากั ชนใดชุ มชนหนึ ง่ เป็นต้สามารถน น ปัจจุบนนั าไปใช้ มีงานวิจยั ใด้นขอบเขตที านการท่องเที ย่ วและการโรงแรมจ� ชนใดชุได้มมอชนหนึ ชนหนึ ่ง เป็ เป็ านวิ นการท่ องเที่​่ยยวและการโรงแรมจ วและการโรงแรมจ านวนมากที อยู ย่ างกว้ งขวาง อย่ งเช่ น งานวิ ัยในระดั กร ธุรกิจ แหล่งท่านวนมากที องเที่ยว พื้น่​่จจทีั​ัดดอยู ่ หรื่​่ใในนอ ชุนชุมมาไปใช้ ชนใดชุ นนต้ต้ดันนงตัตัปัปัววจจอย่ จุจุบบาาั​ันนงแสดงในตาราง มีมีงงานวิ จจั​ัยยด้ด้จาานการท่ มากที ่จัดอยู่ในระดั บจุ่งลาภาค 1.3 อบงเทีองค์ ภาค อย่เป็าานงแสดงในตาราง งแสดงในตาราง 1.3 จัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมจานวนมากที่จัดอยู่ใน ชุระดั มชนใดชุ มชนหนึ ต้น ปัจจุบันมีงานวิ ระดั บบจุจุลลภาค ดัดังงตัตัวว่งอย่ 1.3 ระดับจุลภาค ดังตัวอย่างแสดงในตาราง 1.3 ตาราง ตาราง 1.3 1.3 งานวิ งานวิจจัยัยระดั ระดับบจุจุลลภาค ภาค ชืชื่อ่อบเรื อ ่ งงานวิ ตาราง 1.3 งานวิจัยระดั จุ ล ภาค จจัยัย เรื่องงานวิ ปัปัจจจัจัยยทีที่ม่มีตีต่อ่อความพึ กกท่ท่ออจงเที ชื่อเรื่องงานวิ ัย ่ย่ยวว ณ ความพึงงพอใจของนั พอใจของนั งเที ณ โบราณสถาน โบราณสถาน รอบเกาะเมื งง จัจังงหวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ปัรอบเกาะเมื จจัยที่มีต่อออความพึ ง พอใจของนั ก ท่ อ งเที ย ่ ว ณ โบราณสถาน หวัดพระนครศรีอยุธยา (นคภรณ์ เกตุ โ กมุ ท , 2554) รอบเกาะเมื จังทหวั, ด2554) พระนครศรีอยุธยา (นคภรณ์ เกตุองโกมุ (นคภรณ์ เกตุโกมุท, 2554)

ขอบเขตที ขอบเขตที่น่นาไปใช้ าไปใช้ ด้ด้าานการพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที ย ่ วส าหรั บบหน่ ขอบเขตที น ่ าไปใช้ นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสาหรั หน่ววยงานท้ ยงานท้อองถิ งถิ่น่นใน ใน บริ เเวณโบราณสถานรอบเกาะเมื อ ง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุยุธธยา ด้บริานการพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที ย ่ วส าหรั บ หน่ ว ยงานท้ อ งถิ น ่ วณโบราณสถานรอบเกาะเมือง จังหวัดพระนครศรีอใน ยา บริเวณโบราณสถานรอบเกาะเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

35

ตาราง 1.3 งานวิจัยระดับจุลภาค ชื่อเรื่องงานวิจัย

ปัจจัยที่มีต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ณ โบราณสถานรอบเกาะเมือง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา (นคภรณ์ เกตุโกมุท, 2554) พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ชาวไทยที่มีต่อตลาดน�้ำบางน้อย จังหวัด สมุทรสงคราม (พชราวลี พิเสฎฐศลาศัย, 2553) ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรม นักท่องเที่ยวชาวไทยในการเข้าพักโรงแรมใน จังหวัดพิษณุโลก (ชลัดดา สวนพรหม, 2552)

ขอบเขตที่น�ำไปใช้ประโยชน์

ด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวส�ำหรับหน่วย งานท้องถิ่นในบริเวณโบราณสถานรอบเกาะ เมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวส�ำหรับหน่วย งานท้องถิ่นในเขตตลาดน�้ำบางน้อย จังหวัด สมุทรสงคราม ด้านการตลาดส�ำหรับผู้ประกอบการโรงแรม ในจังหวัดพิษณุโลก

การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของหมู่บ้าน ด้านการอนุรักษ์ช้างในเขตอุทยานแห่งชาติ ช้างในเขตอุทยานแห่งชาติอุดาวาลา ประเทศ อุดาวาลา ประเทศศรีลังกา ศรีลังกา (Jayawardana, 2010) งานวิจยั ระดับมหภาค (macro research) หมายถึง งานวิจยั ทีม่ งุ่ ศึกษาในระดับ ใหญ่ ในบริบทที่กว้างขวาง หรือ ในระดับที่ผลการวิจัยสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง งานวิจยั ประเภทนีม้ กั มีผทู้ เี่ กีย่ วข้องหรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับผลการวิจยั มากกว่างานวิจยั ระดับ จุลภาค ตัวอย่างเช่น งานวิจยั ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับนักท่องเทีย่ ว งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจท่องเทีย่ ว หรือ งานวิจัยที่ศึกษาในขอบเขตพื้นที่กว้างขวาง หรือมีผลกระทบต่อชุมชนและสังคม เป็นต้น ดังแสดง ในตาราง 1.4


36

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ตาราง 1.4 งานวิจัยระดับมหภาค ชื่อเรื่องงานวิจัย

ขอบเขตที่น�ำไปใช้ประโยชน์

การศึกษาปัจจัยทางการตลาดและความ ด้านการตลาดส�ำหรับหน่วยงานและผูป้ ระกอบ พึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเดินทาง การที่ท�ำการตลาดนักท่องเที่ยวอินเดีย มาประเทศไทยของนักท่องเที่ยวชาวอินเดีย (อุดมกิจ ส�ำราญกมล, 2554) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ ด้านการตลาดและการบริการส�ำหรับบริษัท บริการบริษัทน�ำเที่ยวในกรุงเทพมหานครของ น�ำเที่ยวในกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ (สิริกัญญา ปัญญาดี, 2554) แนวทางปฏิบัติที่ดีส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการและการจัดน�ำเที่ยว น�ำเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว ส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจน�ำเที่ยวเชิงนิเวศ อย่างยั่งยืนของประเทศไทย ในประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2553). การวิเคราะห์และเปรียบเทียบแรงจูงใจในการ ด้านการตลาดส�ำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ เดินทางและพฤติกรรมนักท่องเที่ยวนานาชาติ ดูแลการท่องเที่ยวของประเทศทั้งภาครัฐและ ที่เดินทางมาประเทศไทย เอกชน (อัศวิน แสงพิกุล, 2552) 5.4.3 งานวิจยั มีความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กบั สาขาวิชาอืน่ ๆ การท่องเทีย่ วและการโรงแรมเป็นสาขาวิชาทีม่ ลี กั ษณะเป็นสหวิชา (interdisciplinary) กล่าวคือ เป็นวิชาที่มีขอบเขตและเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาอื่นๆ เช่น การตลาด การจัดการ เศรษฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์ สังคมวิทยา จิตวิทยา เทคโนโลยี ภูมศิ าสตร์ และสิง่ แวดล้อม เป็นต้น (สินธะวา คามดิษฐ์, 2550) ดังนัน้ งานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมจึงมีความเกีย่ วข้องสัมพันธ์ กับสาขาวิชาต่างๆ ในสังคม ด้วยเหตุนี้ งานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมจึงสามารถด�ำเนิน การศึกษาได้อย่างกว้างขวางในหลายๆ สาขาวิชา ซึง่ ลักษณะเช่นนีอ้ าจกล่าวได้วา่ งานวิจยั ด้านการ ท่องเทีย่ วและการโรงแรมมีลกั ษณะของความเป็นเชิงบูรณาการอยูบ่ า้ ง (partial integrated research) เนือ่ งจากงานวิจยั บางเรือ่ งเป็นการวิจยั ข้ามสาขาหรือข้ามศาสตร์ อันจะท�ำให้การน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ กว้างขวางยิง่ ขึน้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

การตลาด + การท่องเทีย่ ว เช่น เศรษฐศาสตร์ + การท่องเทีย่ ว เช่น สังคมวิทยา + การท่องเทีย่ ว เช่น จิตวิทยา + การท่องเทีย่ ว เช่น เทคโนโลยี + การโรงแรม เช่น ภูมศิ สิาสตร์ องเทีองเที ย่ ว ่ยว เช่นเช่น ่งแวดล้+อมการท่ + การท่ สิ่งแวดล้อม + การท่องเที่ยว เช่น  ประวัติศาสตร์ + การท่องเที่ยว เช่น ประวัติศาสตร์ + การท่องเที่ยว เช่น  นิเทศศาสตร์ + การโรงแรม เช่น นิเทศศาสตร์ + การโรงแรม เช่น

การศึกษาพฤติกรรมนักท่องเทีย่ วในการเลือกซือ้ ของ ทีร่ ะลึก การวิเคราะห์แนวโน้มจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วในอีก 10 ปี ข้างหน้า การอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมท้องถิน่ ในแหล่งท่องเทีย่ ว การเปรียบเทียบแรงจูงใจของนักท่องเทีย่ วต่างประเทศ การศึกษาการใช้เทคโนโลยี ของโรงแรมในการส�ำรอง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจยั 19 ห้องพัก การวิ ภมู ศิ าสตร์การท่อองเทีงเที่ยวที ย่ วในจั งหวัด่งต่างๆ การศึเกคราะห์ ษาผลกระทบของการท่ ่มีต่อชายฝั การศึ องเที่ยวที่มีต่อชายฝั่ง ทะเลอ่กาษาผลกระทบของการท่ วไทย ทะเลอ่ วไทย าคัญของแหล่งโบราณสถานที่มีต่อ การศึกาษาความส การศึ การท่กอษาความส� งเที่ยว ำคัญของแหล่งโบราณสถานที่มีต่อ การวิอเ คราะห์ การท่ งเที่ยว ก ลยุ ท ธ์ ก ารใช้ สื่ อ เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ภาพลัเคราะห์ กษณ์ของโรงแรม ดาวสในกรุ การวิ กลยุทธ์ก5ารใช้ ื่อเพื่องเทพฯ ประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์ของโรงแรม 5 ดาว ในกรุงเทพฯ

การตลาด/ การบริหารจัดการ

สิ่งแวดล้อม

งานวิจัยด้าน การท่องเที่ยวและ การโรงแรม

สังคมวิทยา/ จิตวิทยา

37

นิเทศศาสตร์

เศรษฐศาสตร์

ภาพ 1.1 ความสัมพันธ์ของการวิจยั ด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมกับสาขาวิชาต่างๆ


38

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ตาราง 1.5 ความสัมพันธ์ของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมและสาขาวิชาอื่นๆ ชื่อเรื่องงานวิจัย สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อประสิทธิผลการท�ำงานของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ พนักงานโรงแรมในเมืองพัทยา (ลิขิตา เฉลิมพลโยธิน, 2554) การวิเคราะห์และเปรียบเทียบแรงจูงใจในการ จิตวิทยาและการตลาด เดินทางและพฤติกรรมนักท่องเที่ยวนานาชาติ ที่เดินทางมาประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2552) การศึกษารูปแบบจ�ำลอง (model) ในการสร้าง การตลาด ตราสินค้าของจุดหมายปลายทางการท่องเทีย่ ว (Qu, Kim, & Im, 2011) การพยากรณ์แนวโน้มจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่าง เศรษฐศาสตร์ ประเทศในภาคใต้ (อนุมาน จันทวงศ์, 2552) ปัญหาทางกฎหมายและอุปสรรคในการส่งเสริม นิติศาสตร์ และสนับสนุนกิจกรรมการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (วารุณี สุวัฒนกร, 2552) บทเรียนส�ำเร็จรูปเพื่อพัฒนาการอ่านภาษา ภาษา อั ง กฤษที่ มี เ นื้ อ หาเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและ ประเพณีในจังหวัดสกลนคร ส�ำหรับนักศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (สลินดา โคตรภักดี, 2552) กระบวนทัศน์ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี (อุทิศ ศรีสุนาครัว, 2551) การรั บ รู ้ ข ่ า วสารและประสิ ท ธิ ผ ลของสื่ อ นิเทศศาสตร์ ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารท่ อ งเที่ ย วตลาดน�้ ำ (กรรณิการ์ อัศวดรเดชา, 2551)


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

39

ตาราง 1.5 อธิบายเพิม่ เติมได้วา่ การทีง่ านวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมมีความ สัมพันธ์เกีย่ วข้องกับสาขาวิชาอืน่ ๆ จึงท�ำให้เอือ้ อ�ำนวยในการด�ำเนินงานวิจยั ในลักษณะของงานวิจยั หลายๆ เรือ่ งภายใต้หวั เรือ่ งเดียวกัน (theme-based research) หรือพืน้ ทีเ่ ดียวกัน (area-based research) โดยงานวิจยั ประเภทนีน้ กั วิจยั มักเรียกว่า “ชุดโครงการวิจยั ” ซึง่ จะก่อให้เกิดประโยชน์และ ผลกระทบในวงกว้างต่อสังคมมากกว่างานวิจยั เดีย่ วทีก่ ระท�ำโดยแต่ละบุคคล ปัจจุบนั มหาวิทยาลัย บางแห่งเริม่ ให้ความสนใจและความส�ำคัญของการวิจยั ลักษณะนีก้ นั มากขึน้ อย่างเช่น ชุดโครงการ วิจยั ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ทีส่ ง่ เสริมให้อาจารย์ในคณะฯ ท�ำวิจยั เกีย่ วกับประเด็นการท่องเทีย่ วในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ หรือชุดโครงการวิจยั ของส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจยั (สกว.) ทีส่ ง่ เสริมให้ทำ� วิจยั ในลักษณะเชิงพืน้ ทีห่ รือกลุม่ จังหวัดเพือ่ น�ำผลการวิจยั ไปใช้พฒ ั นาพืน้ ที่ เป็นต้น 5.4.4 งานวิจัยมีความเป็นนานาชาติสูง ลักษณะพิเศษประการหนึง่ ของงานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและโรงแรม คือ มีความ เป็นนานาชาติสูง (high international dimensions) ซึ่งแตกต่างจากการวิจัยสาขาอื่นๆ ในที่นี้ ความเป็นนานาชาติสามารถอธิบายได้ดังนี้ ประการแรก การวิจัยในสาขาอื่นๆ ส่วนใหญ่มักจะ เกี่ยวข้องกับประชากรเป้าหมายที่เป็นคนไทยเป็นหลัก แต่ทว่างานวิจัยในสาขาการท่องเที่ยวและ การโรงแรมจ�ำนวนมากได้ศึกษาประชากรเป้าหมายที่เป็นชาวต่างประเทศ (international population) การศึกษาลักษณะเช่นนี้ท�ำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจลักษณะและความหลากหลายของ ประชากรที่มาจากต่างวัฒนธรรมได้ชัดเจนขึ้น และสามารถน�ำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น การศึกษาเรือ่ งพฤติกรรมนักท่องเทีย่ วต่างประเทศ จิตวิทยานักท่องเทีย่ วต่างประเทศ ความคิดเห็น ทัศนคติ เป็นต้น ประการทีส่ อง มีงานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมจ�ำนวน มากทีเ่ ก็บข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่างในต่างประเทศหรือมากกว่าหนึง่ ประเทศ (international survey) ท�ำให้เห็นบริบทของการวิจัยที่กว้างขวางขึ้น รวมทั้งมุมมองและความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างใน แต่ละประเทศ ซึง่ จะแตกต่างจากการศึกษาเพียงสังคมเดียวหรือประเทศเดียว และ ประการทีส่ าม มีงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมจ�ำนวนหลายเรื่องที่ศึกษาในต่างประเทศ แต่สามารถ น�ำแนวคิดหรือหลักการนัน้ มาประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวางในหลายๆ วัฒนธรรม/ประเทศ รวมทัง้ สังคมไทย (international application) เช่น เรื่องการตลาดการท่องเที่ยว การพัฒนาการท่อง เที่ยวเชิงนิเวศ หรือการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นต้น แนวคิดเหล่านี้นักวิชาการและผู้ประกอบการ ในประเทศไทยสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวของไทย ในขณะ เดียวกันงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ศึกษาในบริบทสังคมไทยก็สามารถน�ำไป ประยุกต์ใช้ในต่างประเทศได้เช่นกัน ดังนัน้ จึงอาจกล่าวได้วา่ ความเป็นนานาชาติของงานวิจยั ด้าน การท่องเที่ยวและการโรงแรมจะก่อให้เกิดการเรียนรู้และความรู้อย่างกว้างขวางจากหลายๆ มุมมอง หลายๆ วัฒนธรรม ซึ่งจะท�ำให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม (cross-cultural learning societies) อันจะน�ำไปสู่ความรู้ความเข้าใจและการพัฒนาการท่องเที่ยวของสังคมโลก ตาราง 1.6 แสดงให้เห็นถึงความเป็นนานาชาติของงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม


40

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ตาราง 1.6 ความเป็นนานาชาติของงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ชื่อเรื่องงานวิจัย ลักษณะความเป็นนานาชาติ การวิเคราะห์และเปรียบเทียบแรงจูงใจในการเดินทาง ศึ ก ษาและเปรี ย บเที ย บพฤติ ก รรมนั ก ท่ อ งเที่ ย ว และพฤติกรรมนักท่องเที่ยวนานาชาติที่เดินทางมา ต่ า งประเทศได้ แ ก่ ชาวเอเชี ย และชาวยุ โ รป ประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2552) (international population) การศึกษาข้ามวัฒนธรรม (cross-culture) ในการ เปรี ย บเที ย บจิ ต วิ ท ยานั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งประเทศ รับรู้เรื่องการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศเกาหลี ได้แก่ ชาวจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี (international ระหว่างนักท่องเที่ยวชาวจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี population) (Yu & Ko, 2012) การศึ ก ษาแรงจู ง ใจและความสนใจของนั ก ศึ ก ษา ชาวเอเชียในประเทศจีน ไต้หวัน และเกาหลี ที่เลือก เรียนสาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม (Kim, Guo, Wang, & Agrusa, 2007) การส่งเสริมภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางการท่อง เที่ยว (Gover, Go, & Kumar, 2007) การศึกษารูปแบบจ�ำลอง (model) ในการสร้างตราสิน ค้าของจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยว (Qu, Kim, & Im, 2011) การศึ ก ษากรอบแนวคิ ด ด้ า นการเรี ย นรู ้ เ ชิ ง เปลี่ ย นแปลงในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อาสาสมั ค ร (Coghlan & Gooch, 2011)

เก็บข้อมูลด้านจิตวิทยาของนักศึกษาในสาขาการท่อง เทีย่ วและการโรงแรมจาก 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ไต้หวัน และเกาหลี (international surveys) เก็บข้อมูลนักท่องเที่ยวทั่วโลกในเรื่องภาพลักษณ์ ของแหล่งท่องเที่ยวใน 7 ประเทศ (international surveys) ศึ ก ษารู ป แบบจ� ำ ลองในการสร้ า งตราสิ น ค้ า ของ จุ ด หมายปลายทางการท่ อ งเที่ ย วในประเทศหนึ่ ง โดยสามารถน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใช้ ใ นประเทศอื่ น ๆได้ (international application) ศึกษากรอบแนวคิดด้านการเรียนรู้เชิงเปลี่ยนแปลง ในการท่องเที่ยวเชิงอาสาสมัครในประเทศหนึ่ง โดย สามารถน�ำไปใช้ในประเทศอื่นๆ ได้ (international application)


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ความรู้เ้เ้เบืบืบื้อ้อ้องต้ งต้นนนเกีเกี เกี่ย่ยวกั วกับบบการวิ การวิจจจยั ยั ยั 23 23 ความรู ความรู งต้ วกั การวิ 23 ความรู ้เบื้องต้ นเกี่ย่ยวกั บการวิ จยั 23

41

5.4.5 วิธีการวิจัยใช้กระบวนการวิจัยและระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 5.4.5 ารวิจจจัยัยัยใช้ ใช้วกกกว่ระบวนการวิ ระบวนการวิ และระเบีอยยยบวิ บวิธธธีว่ยีวีวิจิจวและการโรงแรมเป็ ิจัยัยัยทางสั ทางสังงงคมศาสตร์ คมศาสตร์ นส่วนหนึ่งของ 5.4.5 ดังที่กวิวิวิวิธล่ธธธีกีกีกาีการวิ วมาแล้ าการวิจัยด้จจจจัยาัยัยัยและระเบี นการท่ งเที 5.4.5 ารวิ ใช้ ระบวนการวิ และระเบี บวิ ทางสั คมศาสตร์ 5.4.5 ารวิ จ ย ั ใช้ ก ระบวนการวิ และระเบี ย บวิ ธ ว ี จ ิ ย ั ทางสั ง คมศาสตร์ ดั ง ที ก ่ ล่ า วมาแล้ ว ว่ า การวิ จ ย ั ด้ า นการท่ อ งเที ย ่ วและการโรงแรมเป็ นหนึ ของการ ดัดังงทีที่ก่กล่ล่ซึาาวมาแล้ ว่ว่าาการวิ ัยัยด้ด้าานการท่ นนนส่ส่ส่วอววนหนึ การวิ จั ย ทางสั ง คมศาสตร์ ่ ง เป็ นวววการศึ จั ย เพือออ่งเที องเที หาความรู ้ แ ละข้ เท็ จ่ง่ง่ง่งของการ จริ ง เกี่ ย วกั บ วมาแล้ การวิกจจจษาวิ นการท่ งเทีค้่ย่ย่ยนวและการโรงแรมเป็ วและการโรงแรมเป็ นหนึ ของการ ดั ง ที ก ่ ล่ า วมาแล้ ว่ า การวิ ย ั ด้ า นการท่ วและการโรงแรมเป็ น ส่ ว นหนึ ของการ ทางสังงงคมศาสตร์ คมศาสตร์ ซึซึซึ่ง่ง่งเป็ เป็นนนการศึ การศึกกกษาวิ ษาวิจจจัยัยัยเพื เพื่อ่อ่อค้ค้ค้นนนหาความรู หาความรู้แ้แ้และข้ ละข้อออเท็ เท็จจจจริ จริงงงเกี เกี่ย่ย่ยวกั วกับบบปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ทททาง าง วิวิวิจจจัยัยัยทางสั ทางสั คมศาสตร์ เป็ การศึ ษาวิ เพื หาความรู ละข้ เท็ จริ เกี วกั ปรากฏการณ์ าง ปรากฏการณ์ ง คมและพฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ ใ นด้ า นต่ า งๆ โดยนั ก วิ จ ั ย ในสาขาการท่ องเที่ยว วิสัสังจงคมและพฤติ ัยคมและพฤติ ทางสัทงางสั คมศาสตร์ ซึ ่ ง เป็ น การศึ ก ษาวิ จ ั ย เพื ่ อ ค้ น หาความรู ้ แ ละข้ อ เท็ จ จริ ง เกี ่ ย วกั บ ปรากฏการณ์ ท าง รรมของมนุษษษย์ย์ย์ใใในด้ นด้าาานต่ นต่าาางๆ งๆ โดยนั โดยนักกกวิวิวิจจจัยัยัยในสาขาการท่ ในสาขาการท่ออองเที งเที่ย่ย่ยวและการโรงแรมจะก วและการโรงแรมจะกาหนด าหนด กกกรรมของมนุ สั ง คมและพฤติ รรมของมนุ นด้ นต่ งๆ โดยนั ในสาขาการท่ งเที วและการโรงแรมจะก าหนด สัประเด็ งคมและพฤติ กรรมของมนุ นต่หาและเลื างๆ โดยนักอวิกหั จัยในสาขาการท่ องเที่ยวและการโรงแรมจะก และการโรงแรมจะก� ำหนดประเด็ ญในขอบเขตของการท่ วอข้องเที องเทีวิ่ยจ่ยวและการโรงแรม ยัวและการโรงแรม ในขอบเขตของการท่ อระบวนวิ งเทีาหนด ย่ วและการ หาและเลื กหัวววษข้ข้ข้ย์อออใวิวินด้ วินจจจัปั แล้วววใช้ ใช้กกกระบวนวิ ประเด็ นนนปัปัปัญญญหาและเลื อออกหั ยัยัยาในขอบเขตของการท่ แล้ จจจัยัยัย ประเด็ หาและเลื กหั ในขอบเขตของการท่ อ งเที ่ ย วและการโรงแรม แล้ ใช้ ระบวนวิ ประเด็ น ปั ญ หาและเลื อ กหั ว ข้ อ วิ จ ั ย ในขอบเขตของการท่ อ งเที ่ ย วและการโรงแรม แล้ ว ใช้ ก ระบวนวิ จัย อเท็จ โรงแรมและระเบี แล้ ว ใช้ ก ระบวนวิ จ ั ย และระเบี ย บวิ ธ ี ว ิ จ ั ย ทางสั ง คมศาสตร์ ใ นการค้ น หาค� ำ ตอบและข้ และระเบียยยบวิ บวิธธธีวีวีวิจิจิจัยัยัยทางสั ทางสังงงคมศาสตร์ คมศาสตร์ใใในการค้ นการค้นนนหาค หาคาตอบและข้ าตอบและข้อออเท็ เท็จจจจริ จริงงง (ดั(ดั (ดังงงแสดงในรู แสดงในรูปปปภาพ ภาพ 1.2) 1.2) โดย โดย และระเบี บวิ ทางสั คมศาสตร์ นการค้ หาค าตอบและข้ เท็ จริ แสดงในรู ภาพ 1.2) โดย และระเบี ย บวิ ธ ี ว ิ จ ั ย ทางสั ง คมศาสตร์ ใ นการค้ น หาค าตอบและข้ อ เท็ จ จริ ง (ดั ง แสดงในรู ป ภาพ 1.2) โดย ส่ว่วนใหญ่ นใหญ่ จะน าไปใช้ปปประโยชน์ ระโยชน์ นด้ นการท่ งเที วและการโรงแรมเป็ หลักกกในด้ เช่นนนาภาค ภาค อง จริง (ดัผลการวิ งผลการวิ แสดงในรู 1.2) โดยผลการวิ จัยทีใใในด้ ่ไนด้ ด้าสาานการท่ ่วนใหญ่ มัก่ย่ย่ยวและการโรงแรมเป็ จะน� ำไปใช้ประโยชน์ นการท่ จจจัยัยัยทีทีที่ไ่ไ่ไป ด้ด้ด้สสภาพ มมมักักักจะน าไปใช้ ออองเที นนนหลั เช่เช่ ผลการวิ นใหญ่ จะน าไปใช้ ระโยชน์ นการท่ งเที วและการโรงแรมเป็ หลั ภาค ผลการวิ จท่ัยท่อทีองเที ่ไงเที ด้ส่ย่ย่ว่วววนใหญ่ มการพั ักจะน าไปใช้ ปงระโยชน์ ใวนด้ านการท่ อ่ง่งหังเที ่ยออวและการโรงแรมเป็ นหลั ก เช่ น ภาค ธุ ร กิ จ นั ก หรื อ ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที ่ ย ว เป็ น ต้ น ซึ หั ว ข้ ต่ อ ไปจะกล่ า วถึ ง การน าผลการวิ ธุ ร กิ จ นั ก หรื อ การพั ฒ นาแหล่ ท่ อ งเที ่ ย เป็ น ต้ น ซึ ว ข้ ต่ อ ไปจะกล่ า วถึ ง การน าผลการวิ เทีย่ วและการโรงแรมเป็ นอหลั ก เช่ฒฒนนาแหล่ ภาคธุงงท่ท่รออกิงเที จ ่ย่ยนัววกเป็เป็ท่อนนต้ต้งเที ฒนาแหล่ งท่าผลการวิ องเทีย่ วจจจจัยัยัยัยเป็นต้น องเที งเที่ย่ยวว หรื หรื อการพั การพั นาแหล่ งเที น ซึซึย่ ่ง่งวหัหัววหรื ข้อออต่ต่การพั อไปจะกล่ ไปจะกล่ าวถึ วถึงงการน การน าผลการวิ ธุด้ธุด้ารรานการท่ กิกินการท่ จจ นันักกท่ท่ออองเที น ข้ อ า งเที่ย่ย่ยวและการโรงแรมไปใช้ วและการโรงแรมไปใช้ ระโยชน์ ปปประโยชน์ นการท่ งเที วและการโรงแรมไปใช้ ระโยชน์ ซึ่งหัวข้ด้ด้อาาต่นการท่ อไปจะกล่ าวถึงการน�ำผลการวิ จัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมไปใช้ประโยชน์ อองเที ่ยวและการโรงแรมไปใช้ ประโยชน์ าหนดประเด็นปัญหาและเลืออกหั กหัวข้อ กกกาหนดประเด็ าหนดประเด็นนนปัปัปัญญญหาและเลื หาและเลืออกหั กหัวววข้ข้ข้อออ กการวิ าหนดประเด็ จยั ยั ในขอบเขตด้ ในขอบเขตด้หาและเลื านการท่ นการท่อองเที งเที่ยวและ การวิ จ า การวิจจยัยั ในขอบเขตด้ ในขอบเขตด้าานการท่ นการท่อองเที งเที่ย่ย่ยวและ วและ การวิ วและ การโรงแรม การโรงแรม การโรงแรม การโรงแรม

ใช้กกระบวนการวิ ระบวนการวิจยั และระเบียยบวิ บวิธวี ิจัยทาง ใช้ใช้ ระบวนการวิจจจยั ยัยั และระเบี และระเบียยบวิ บวิธธธวี วีวี ิจิจิจัยัยัยทาง ทาง ใช้ กกระบวนการวิ คมศาสตร์ ในการค้ นการค้นนและระเบี หาคาตอบและข้ าตอบและข้ อเท็ทาง จจริงง สัสัสังงงคมศาสตร์ ใ หาค คมศาสตร์ใในการค้ นการค้นนหาค หาคาตอบและข้ าตอบและข้อออเท็ เท็จจจจริ จริงง สังคมศาสตร์ เท็ จริ

าผลการวิจัยไปใช้ปประโยชน์ ระโยชน์ในด้าานน นนนาผลการวิ าผลการวิจจจัยัยัยไปใช้ ไปใช้ปประโยชน์ ระโยชน์ใใในด้ นด้าานน นการท่ าผลการวิ ไปใช้ นด้ องเที งเที่ย่ยวและการโรงแรม วและการโรงแรม การท่ อ การท่ อ งเที ย ่ วและการโรงแรม การท่องเที่ยวและการโรงแรม

ภาพ 1.2 1.2 ความสั ความสัมมมพัพัพันนนธ์ธ์ธ์รรระหว่ ะหว่าาางการวิ งการวิจจจัยัยัยด้ด้ด้าาานการท่ นการท่ออองเที งเที่ย่ย่ยวและการโรงแรมกั วและการโรงแรมกับบบ ภาพ ภาพ 1.2 ความสั ะหว่ งการวิ นการท่ งเที วและการโรงแรมกั ภาพ 1.2 ความสั มพันกระบวนการวิ ธ์กระบวนการวิ ระหว่ างการวิ จ ย ั ด้ า นการท่ อ งเที ย ่ วและการโรงแรมกั บ ทางสังงงคมศาสตร์ คมศาสตร์ กระบวนการวิจจจจยั ยัยั ยั ทางสั ทางสั คมศาสตร์ กระบวนการวิ ทางสั งคมศาสตร์

5.4.6 ผลการวิ สามารถน าไปใช้ปปปประโยชน์ ระโยชน์ไไได้ด้ได้อด้ออย่ย่ย่อาาาย่งกว้ งกว้ งขวาง ผลการวิ จจจัยัยัยสามารถน าไปใช้ ระโยชน์ าาางขวาง 5.4.6 5.4.6 ผลการวิ จัยสามารถน� ำไปใช้ างกว้ างขวาง 5.4.6 ผลการวิ สามารถน าไปใช้ ระโยชน์ งกว้ งขวาง 5.4.6 ผลการวิ จจัยัยัยในด้ สามารถน าไปใช้ ป่ยระโยชน์ ได้อย่างกว้ าหน่ งขวาง ผลการวิ ในด้ า นการท่ อ งเที ่ ย วและการโรงแรม หน่ ยงานที่เ่เ่เกีกีกี่ย่ย่ยวข้ วข้ออองสามารถ งสามารถ ผลการวิ จ า นการท่ อ งเที วและการโรงแรม วววยงานที ผลการวิ ในด้ านการท่ นการท่ องเที งเที ่ยยวและการโรงแรม วและการโรงแรม หน่ หน่หน่ ยงานที วข้ งสามารถ ผลการวิผลการวิ จัยในด้จจั​ัยยาในด้ นการท่ องเที ่ยวและการโรงแรม วยงานที ่เกีอ่ยงสามารถ วข้องสามารถ า อ ่ ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข้ าไปใช้ปปประโยชน์ ระโยชน์ไไได้ด้ด้อออย่ย่ย่าาางกว้ งกว้าาางขวาง งขวาง โดยผลการวิ โดยผลการวิจจจั ยั ยั ยส่ส่ส่วววนใหญ่ นใหญ่จจจะอยู ะอยู่ ใ่ ใ่ ในลั นลักกกษณะของการให้ ษณะของการให้ขขข้ อ้ อ้ อมูมูมูลลล นนนาไปใช้ าไปใช้ ระโยชน์ งกว้ งขวาง โดยผลการวิ นใหญ่ ะอยู นลั ษณะของการให้ ป ระโยชน์ ย่าาาหรื งกว้ าแนวทางต่ งขวาง โดยผลการวิ โดยผลการวิ ั ยัยส่ส่ววนใหญ่ จะอยู ษณะของการให้ ข้ อรรกิมูกิจลจข้อมูล น�ำไปใช้ข้นข้อปาไปใช้ ระโยชน์ ไคคด้าแนะน อย่ได้าองกว้ างขวาง จยงานที นใหญ่ ะอยู อเสนอแนะ เสนอแนะ าแนะน หรื งๆ แก่ แก่หหหน่น่น่วววจยงานที วข้ งตั แต่​่ในลั ะดักบบบษณะของการให้ องค์กกกรรร ภาคธุ ภาคธุ อออแนวทางต่ าาางๆ ่เ่เ่เกีกีกี่ย่ย่ยวข้ ออจองตั ้่งใ้ง้งนลั แต่ รกรระดั องค์ ข้ อ เสนอแนะ ค าแนะน า หรื แนวทางต่ งๆ แก่ ยงานที วข้ งตั แต่ ะดั องค์ ภาคธุ เสนอแนะ คาแนะน อแนวทางต่ างๆแก่ แก่หหน่น่ววหหยงานที ่เษณะ กีษณะ อเช่งตั ้งข้ข้แต่ รแต่ ะดัรบะดั องค์บ่วก่วองค์ รไปภาคธุ รรกิกิจจ รกิจ ข้อเสนอแนะ ค�งคม ำแนะน� ำ หรืา อหรืแนวทางต่ างๆ ยงานที ่เกี่ยวข้ ่ยวข้ อน งตั ้งเสนอแนะทั กร ภาคธุ ชน สั คม และประเทศชาติ โดยข้ อ เสนอแนะอาจมี ลายลั ก อ (general ชุข้ชุชุมอมมชน สั ง และประเทศชาติ โดยข้ อ เสนอแนะอาจมี ลายลั ก เช่ น อ เสนอแนะทั ไป (general ชน สัสังงคม คม และประเทศชาติ และประเทศชาติ โดยข้ โดยข้ออเสนอแนะอาจมี เสนอแนะอาจมีหหลายลั ลายลักษณะ ษณะ เช่ เช่นน ข้ข้ออเสนอแนะทั เสนอแนะทั่ว่วไป ไป (general (general ชุrecommendation) มสัชน ชุมชนrecommendation) งคม และประเทศชาติ ข้อเสนอแนะอาจมี กษณะ เช่น ข้ข้ข้ข้ออออเสนอแนะเชิ เสนอแนะทั เสนอแนะเฉพาะเรื (specificหกลายลั recommendation) เสนอแนะเชิ ข้ข้ข้อออเสนอแนะเฉพาะเรื ่อ่อ่องงง (specific recommendation) งงง ่วไป recommendation) เสนอแนะเฉพาะเรื (specific recommendation) เสนอแนะเชิ recommendation) ข้ อ เสนอแนะเฉพาะเรื ่ อ ง (specific recommendation) ข้ อ เสนอแนะเชิ ง นโยบาย (policy recommendation) หรื อ ข้ อ เสนอแนะเชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ (practical recommendation) นโยบาย (policy recommendation) หรื ออข้ข้ออเสนอแนะเชิ งง(specific ปฏิ บบัตัติ ิ (practical recommendation) (general recommendation) ข้ อ เสนอแนะเฉพาะเรื อ ่ ง recommendation) ข้ อเสนอ นโยบาย (policy recommendation) หรื เสนอแนะเชิ ปฏิ (practical recommendation) นโยบาย (policy่เ่เกีกี่ย่ยrecommendation) หรือข้อเสนอแนะเชิ งปฏิบจจัตัยัยิ ไปประยุ (practical recommendation) โดยหน่ ว ยงานที วข้ อ งทั ้ ง ภาครั ฐ และเอกชนสามารถน าผลการวิ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ น โดยหน่ ว ยงานที วข้ อ งทั ้ ง ภาครั ฐ และเอกชนสามารถน าผลการวิ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ น แนะเชิโดยหน่ ง นโยบาย หรื อ ข้ อจจเสนอแนะเชิ ั ติ (practical โดยหน่ ยงานที(policy กี่ย่ยวข้ วข้อองทั งทั้ง้งrecommendation) ภาครัฐฐและเอกชนสามารถน และเอกชนสามารถนาผลการวิ าผลการวิ ไปประยุกกต์ต์ใใช้ช้ใใงห้ห้ปฏิ ประโยชน์ ววยงานที ่เ่เากีงกว้ ภาครั ัยัยไปประยุ เเกิกิดดบประโยชน์ ใในน ด้ด้าาานต่ นต่ า งๆ ได้ อ ย่ งกว้ า ง เช่ น การวางแผนงาน การด าเนิ น งาน การตลาด การบริ ก าร การบริ ห ารจั ด การ ด้ า งๆ ได้ อ ย่ า า ง เช่ น การวางแผนงาน การด าเนิ น งาน การตลาด การบริ ก าร การบริ ห ารจั ด การ นต่าางๆ งๆ ได้ ได้ออย่ย่าางกว้ งกว้ การวางแผนงาน าเนิฐนนและเอกชนสามารถน� งาน การตลาด การตลาด การบริ การบริกการ าร การบริหหจารจั ารจั การ กต์ recommendation) หน่าางงวอเช่เช่ยงานที เ่ กีย่ งวข้ องทัย่ วการด งการด ้ ภาครั ำแสดงในตาราง ผลการวิ ยั ไปประยุ ด้รวมทั านต่ นน่ย่ยการวางแผนงาน าเนิ งาน การบริ ดด1.7 การ ง ้ การพั ฒ นาการท่ งเที ว แหล่ ท่ อ งเที ชุ ม ชน และสิ ง ่ แวดล้ อ ม เป็ น ต้ น ดั ง รวมทั ง ้ การพั ฒ นาการท่ อ งเที ว แหล่ ง ท่ อ งเที ย ่ ว ชุ ม ชน และสิ ง ่ แวดล้ อ ม เป็ น ต้ น ดั ง แสดงในตาราง 1.7 รวมทั การพัฒ ฒนาการท่ นาการท่ งเที แหล่ งเที ชนาและสิ และสิ แวดล้ เป็นนต้ต้นน ดัดังงแสดงในตาราง แสดงในตาราง 1.7 ้ง้งการพั ชุชุมมชน ออมม เป็ ใช้ ใ ห้ เรวมทั กิ ด ประโยชน์ ใ นด้ออางเที นต่​่ย่ยววาแหล่ งๆ งงท่ท่ได้อองเที อ ย่ย่ย่ ววา งกว้ ง เช่​่ง่งแวดล้ น การวางแผนงาน การด�1.7 ำ เนิ น งาน การตลาด การบริการ การบริหารจัดการ รวมทั้งการพัฒนาการท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยว ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ดังแสดงในตาราง 1.7


42

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ตาราง 1.7 ลักษณะของการน�ำผลการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมไปใช้ประโยชน์ ลักษณะของการน�ำผลการวิจัย ชื่อเรื่องงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์ การศึกษาการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของ ด้านการบริหารจัดการ โดยให้ข้อมูล ธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ท จ.กระบี่ แก่ ธุ ร กิ จ โรงแรมและรี ส อร์ ท ใน (วรรษพร ผิวดี, 2555) จ.กระบี่ ในการบริหารจัดการความ เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากภัยธรรมชาติ แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบฟาร์มสเตย์ ด้านการตลาดและการบริการ โดยให้ จ.สระบุรี (ธัญญลักษณ์ ศิริวรรณางกูล, 2555) ข้อเสนอแนะแก่ผปู้ ระกอบการในการ พัฒนาธุรกิจและการบริการเพื่อส่ง เสริมการท่องเทีย่ วแบบฟาร์มสเตย์ใน จ.สระบุรี ความคาดหวังและการรับรู้ของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยให้ มีต่อการท่องเที่ยวใน อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานท้องถิ่นใน (พรศิริ บินนาราวี, 2555) อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน เพื่อปรับปรุง และพัฒนาการท่องเที่ยวของท้องถิ่น การวางแผนจัดการเขาถ�้ำเอราวัณเพื่อการท่องเที่ยว ด้ า นการวางแผน โดยให้ ข ้ อ เสนอ ทางธรรมชาติอย่างยั่งยืน แนะแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ (เสรีวัฒน์ สมินทร์ปัญญา และคณะ, 2553) วางแผนและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติให้เกิดความอย่างยัง่ ยืน แนวทางปฏิบัติที่ดีส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจน�ำเที่ยว ด้านการด�ำเนินธุรกิจและบริหาร เชิงนิเวศเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ จัดการ โดยให้ข้อเสนอแนะเชิง ประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2553) ปฏิบัติและเชิงนโยบายส�ำหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจในการจัดน�ำ เที่ยวเชิงนิเวศที่เหมาะสม แรงจูงใจในการเดินทางและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว: ด้านการตลาด โดยให้ข้อมูลและ กรณีศึกษานักท่องเที่ยวชาวเกาหลีที่เดินทางมา ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ ประเทศไทย (อัศวิน แสงพิกุล, 2551) ประกอบการที่ท�ำการตลาดนักท่อง เที่ยวชาวเกาหลี


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

43

5.5 ประโยชน์ของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม นอกจากความส�ำคัญของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมทีม่ ตี อ่ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมแล้ว การวิจยั ยังก่อให้เกิดประโยชน์ในหลายๆ ด้านต่อหน่วยงาน องค์กร สังคมและ ประเทศชาติ ประโยชน์ ข องการวิ จั ย มี ตั้ ง แต่ ร ะดั บ เบื้ อ งต้ น คื อ ได้ รั บ ความรู ้ ใ นเรื่ อ งต่ า งๆ ที่ต้องการศึกษา ชี้แนะสังคม จนถึงการน�ำผลการวิจัยหรือข้อเสนอแนะไปใช้ประโยชน์ ผู้เขียนได้ แบ่งประโยชน์ของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมออกเป็น 4 ประการ (ระดับ) ดังนี้ 5.5.1 การเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจในสิ่งที่ศึกษา ประโยชน์ประการแรกของการ วิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม คือ การเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจในประเด็นต่างๆ ทีศ่ กึ ษาได้อย่างชัดเจนแจ่มแจ้งแก่ผวู้ จิ ยั และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ตลอดจนได้ทราบค�ำตอบหรือข้อเท็จจริง ในเรื่องต่างๆ เช่น การศึกษาเรื่องพฤติกรรมนักท่องเที่ยว ท�ำให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทาง การใช้จ่าย และรูปแบบการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวกลุ่มที่ศึกษาได้ชัดเจนขึ้น หรือการส�ำรวจ ความคิดเห็นของผูบ้ ริหารธุรกิจท่องเทีย่ วในเรือ่ งการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่อง เที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน ก็จะท�ำให้ผู้วิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบข้อมูลในเชิงลึกในประเด็น ดังกล่าวชัดเจนขึ้น และสามารถน�ำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ต่อไป 5.5.2 เป็นข้อเสนอแนะหรือชี้น�ำสังคม งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมนอก เหนือจากการเพิม่ พูนความรูแ้ ล้ว ผลของการวิจยั ยังให้ขอ้ เสนอแนะหรือชีน้ ำ� สังคมในเรือ่ งต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม โดยงานวิจัยเหล่านี้จะชี้ให้เห็นถึงต้นตอของปัญหาในเรื่อง ที่ท�ำวิจัย ตลอดจนแนวทางหรือวิธีแก้ปัญหานั้นๆ จากข้อเสนอแนะของการวิจัย โดยผู้ที่ได้ รับประโยชน์จากผลการวิจยั อาจแบ่งเป็น 3 กลุม่ หลักๆ คือ ประชาชนทัว่ ไป ภาครัฐ และภาคธุรกิจ ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 5.5.3 การสร้างองค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์ การวิจัยนอกจากจะช่วยเพิ่มพูนความรู้และ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ แล้ว งานวิจัยจ�ำนวนมากยังก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ทั้งในเชิงทฤษฎีหรือ เชิงปฏิบตั ิ ซึง่ ความรูใ้ หม่นอี้ าจจะเป็นประโยชน์ในวงการวิชาการหรือต่ออุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว ตัวอย่างเช่น การวิจยั ในระดับปริญญาเอก หรือการวิจยั ของอาจารย์มหาวิทยาลัยทีม่ งุ่ ศึกษาวิจยั ใน เรื่องใหม่ๆ หรือประเด็นที่ส�ำคัญแต่ขาดองค์ความรู้ในด้านนั้น เป็นต้น 5.5.4 การน�ำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ เป้าหมายสูงสุดของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ รวมทัง้ การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม คือ การน�ำผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ซึง่ อาจอยู่ ในลักษณะการน�ำไปแก้ไขปัญหาของสังคม การน�ำไปประกอบการตัดสินใจของภาคธุรกิจหรือการ ตลาด หรือการน�ำไปก�ำหนดเป็นนโยบายของหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้อาจกล่าวได้ว่าการวิจัยจะมี ประโยชน์สูงสุดเมื่อมีการน�ำผลการวิจัยนั้นไปใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติ ที่ผ่านมางานวิจัยด้านการ ท่องเทีย่ วและการโรงแรมจ�ำนวนมากยังไม่มผี นู้ ำ� ผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจังด้วยสาเหตุ หลายประการ เช่น ความน่าเชื่อถือของการวิจัย การวิจัยที่ไม่ตอบโจทย์ของผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือการ เข้าไม่ถงึ ฐานข้อมูลงานวิจยั เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนั เริม่ มีหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ทำ� วิจยั และ น�ำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมมากขึ้น


44

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ตัวอย่างเช่น งานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานของภาครัฐ เช่น กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และ 26 ระเบียน บวิสนั ธีวิจบ ัยด้สนุ านการท่ องเที่ยจวและการโรงแรม ส�ำนักงานกองทุ นการวิ ัย เป็นต้น

การนา ผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์

การสร้าง องค์ความรู้ใหม่

ข้อเสนอแนะ แก่สังคม

การเพิ่มพูนความรูแ้ ละความเข้าใจในสิ่งที่ศึกษา

ภาพ 1.3 พีระมิดแสดงระดับของการนำ�ผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ภาพ 1.3 พีระมิดแสดงระดับของการนาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์

ภาพ 1.3จากภาพ เป็นการน� ำเสนอเพื่อต้องการสื่อให้เห็นระดับของการน�ำผลการวิจัยด้าน 1.3 เป็นการนาเสนอภาพเพื่อต้องการสื่อให้เห็นระดับของการนาผลการวิจัยด้าน การท่องเที ่ยวและการโรงแรมไปใช้ ระโยชน์ โดยมี ลักษณะคล้ ยกัด บกล่พีารวคืะมิอ ดในปักล่ การท่ องเที่ยวและการโรงแรมไปใช้ปประโยชน์ โดยมี ลักษณะคล้ ายกับพีราะมิ จจุบาันวคื สังอคมมีในปัจจุบัน จานวนงานวิ ด้านการท่ องเทีย่ ่ยวและการโรงแรมอยู วและการโรงแรมอยู่เป็นเ่ จป็านวนมาก โดยมีการส ารวจในรอบ 10 ปีที่ 10 ปี มีจำ� นวนงานวิ จยั ด้าจัยนการท่ องเที นจ�ำนวนมาก โดยมี การส�ำรวจในรอบ นมา าพบว่ บ 1,700เรืเรือ่ ่องง (อั (อัศศวิวินนแสงพิ กุล,กลุ 2555) ประโยชน์ เบื้องต้นเบื ของงานวิ จัยเหล่านี้ จยั เหล่า ทีผ่ า่ นมาคืผ่าอพบว่ มีอายูมีก่ อว่ยูา่เกือ1,600 แสงพิ , 2555) ประโยชน์ อ้ งต้นของงานวิ การให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่สังคมในแง่ของความรู้และความเข้าใจในประเด็นต่างๆ ที่ศึกษา (เป็น นัน้ คือ การให้ ขอ้ มูลระมิทีเ่ ดป็) นนอกจากนั ประโยชน์ แก่จสัยงั ทีคมในแง่ แ้ ละความเข้ างๆ ทีศ่ กึ ษา เสมือนฐานพี ้นงานวิ ่มีอยู่ยังให้ขข้อองความรู มูลเพื่อเสนอแนะหรื อชี้นาสัาใจในประเด็ งคม ชุมชน หรืนอต่ภาค กิจได้ แต่หรากพิ าดับทีน ขึ้นของพี างองค์ความรู้ใอหม่ชีใน (เป็นเสมืธุอรนฐานพี ะมิดจารณาในล ) นอกจากนั ้่สูงงานวิ จยั รทีะมิม่ ดอี คืยูอย่ ประเด็ งั ให้ขนอ้ เรืมู่อลงการสร้ เพือ่ เสนอแนะหรื ้ นสาขา ำ� สังคม ชุมชน สัดส่แต่ วนของจ จัยที่ลำดลงตาม องการนน าไปใช้ ประโยชน์าจงองค์ าก ความรู้ หรือภาคธุเริ่มรจะมี กิจได้ หากพิานวนงานวิ จารณาในล� ดับทีส่ งู และหากพิ ขึน้ ของพีจรารณาในแง่ ะมิด คือขประเด็ เรือ่ งการสร้ หน่ ว ยงานที่เกี่ย วข้องก็จ ะมีสั ดส่ ว นที่ล ดลงตามล าดับ ซึ่งเปรียบเสมือนยอดของพี ระมิด ดังนั้นการ ใหม่ในสาขาเริ ม่ จะมีปพีสรดั ะมิส่ดวเพืนของจ� นวนงานวิ ทีล่ ดลงตาม และหากพิ จารณาในแง่ นาเสนอในรู ่อสะท้อำนให้ เห็นถึงระดัจบยั ของการน าผลการวิ จัยไปใช้ประโยชน์ ในปัจจุบขันองการน� ด้วย ำไปใช้ ประโยชน์เหตุจากหน่ วยงานที ะมีสจดั ัยส่ด้วานที ล่ ดลงตามล� ำดับเช่นกัน ซึง่ เปรียบเสมื อนยอดของ เช่น นี้ หน่ ว ยงานทีเ่ กี่เกีย่ ่ ยวข้ วข้อองก็ งกับจการวิ นการท่ องเที่ยวและการโรงแรมของประเทศจึ งควร ญหานี้เพื่อป หาแนวทางหรื ผู้ที่เบ กี่ยของการน� วข้องเข้าถึงำฐานข้ อมูล จัยไปใช้ พีระมิด พิดัจงารณาประเด็ นั้นการน�นำปัเสนอในรู พีระมิดเพือ่อหนทางในการส่ สะท้อนให้เห็งเสริ นถึมงให้ระดั ผลการวิ งานวิจัยและส่งเสริมให้ภาคสังคมและภาคธุรกิจนาผลการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างกว้างขวาง ประโยชน์ในปัจจุบนั ด้วยเหตุเช่นนี้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม ของประเทศจึงควรพิจารณาประเด็นปัญหานีเ้ พือ่ หาแนวทางหรือหนทางในการส่งเสริมให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้อง เข้าถึงฐานข้อมูลงานวิจยั และส่งเสริมให้ภาคสังคมและภาคธุรกิจน�ำผลการวิจยั ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างกว้างขวางต่อไป


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

45

5.6 ประเภทของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม การแบ่งประเภทของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมจะคล้ายกับการแบ่งประเภท ของการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ โดยนิยมแบ่งได้ดงั นี้ 5.6.1 แบ่งตามวัตถุประสงค์การวิจยั 1) การวิจยั บริสทุ ธิห์ รือการวิจยั พืน้ ฐาน (pure or basic research) เป็นการวิจยั ทีม่ ี วัตถุประสงค์เพือ่ มุง่ ค้นหาความรูใ้ นเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ อย่างลึกซึง้ เพือ่ ขยายความรูท้ างวิชาการให้กว้าง ขวางออกไป หรือเพือ่ น�ำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์หรือสมมติฐานต่างๆ ในศาสตร์นนั้ ๆ แต่มไิ ด้มงุ่ หวัง ทีจ่ ะน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการวิจยั ไปใช้ในการแก้ปญ ั หาต่างๆ โดยตรง การวิจยั บริสทุ ธิม์ กั จะมีเป้า หมายเพือ่ ขยายความรูห้ รือสร้างความรูใ้ หม่ในแง่ของทฤษฎี กฎเกณฑ์ หลักการ หรือแนวคิดในเรือ่ ง ต่างๆ ทางวิชาการ อันจะท�ำให้เกิดความรูแ้ ละความเข้าใจในศาสตร์นนั้ ๆ อย่างลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ ส่วนใหญ่ การวิจยั ประเภทนีม้ กั จะเป็นการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์เป็นหลัก 2) การวิจยั เชิงประยุกต์ (applied research) เป็นการวิจยั ทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ มุง่ น�ำผล การวิจัยไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ผลของการวิจัยอาจอยู่ในรูปของแนวคิด แนวทางปฏิบตั ิ นโยบายหรือข้อเสนอแนะต่างๆ เพือ่ การพัฒนา การปรับปรุงเปลีย่ นแปลง หรือการ แก้ไขปัญหาในประเด็นต่างๆ ทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ ในสังคม ทัง้ นีก้ ารวิจยั ในสาขาการท่องเทีย่ วและการโรงแรม ส่วนใหญ่เป็นประเภทการวิจยั เชิงประยุกต์โดยมุง่ น�ำผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์เพือ่ พัฒนาการท่องเทีย่ ว หรืออุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว 5.6.2 แบ่งตามลักษณะข้อมูลการวิจยั หรือระเบียบวิธวี จิ ยั 1) การวิจยั เชิงปริมาณ (quantitative research) เป็นการวิจยั ทีใ่ ช้ขอ้ มูลเป็นตัวเลขและวิธี การทางสถิตเิ พือ่ วิเคราะห์ขอ้ มูล (statistical analysis) การวิจยั ประเภทนีม้ กั ใช้ตวั เลขหรือค่าสถิติ ยืนยันแสดงผลการวิจยั ในเชิงปริมาณว่ามีคา่ มากน้อยเพียงใดหรือเป็นจ�ำนวนเท่าไรเพือ่ อธิบายสิง่ ที่ ต้องการศึกษา ตัวอย่างการวิจัยเชิงปริมาณในด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม เช่น การศึกษา พฤติกรรมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว การส�ำรวจความคิดเห็น ทัศนคติ หรือความพึงพอใจของ นักท่องเทีย่ วในเรือ่ งต่างๆ เป็นต้น 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) เป็นการวิจัยที่ใช้ข้อมูลที่ได้มาจาก การสัมภาษณ์ การสนทนา การสังเกต หรือการจดบันทึก เพือ่ น�ำมาอธิบายปรากฏการณ์ เหตุการณ์ หรือสภาพแวดล้อมต่างๆ ทางสังคม ข้อมูลของการวิจยั ประเภทนีม้ กั จะไม่เป็นตัวเลขหรือค่าสถิติ แต่ จะเป็นลักษณะของการอธิบายหรือบรรยายสิง่ ทีต่ อ้ งการศึกษาในด้านเนือ้ หามากกว่า ตัวอย่างการวิจยั ประเภทนี้ เช่น การศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยว การศึกษา ผลกระทบของการท่องเทีย่ วทีม่ ตี อ่ วิถชี วี ติ ของคนในชุมชน หรือแนวทางการอนุรกั ษ์แหล่งท่องเทีย่ ว ทางธรรมชาติในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ เป็นต้น


46

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

3) การวิจยั แบบผสมผสาน (mixed methods research) เป็นการวิจยั ทีใ่ ช้เทคนิควิธกี าร วิจยั แบบผสมผสานระหว่างการวิจยั เชิงปริมาณและการวิจยั เชิงคุณภาพในการท�ำวิจยั เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ โดยข้อมูลมีทงั้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ส่วนการวิเคราะห์ขอ้ มูลก็จะใช้ระเบียบวิธวี จิ ยั ทัง้ 2 รูปแบบ กล่าวคือ หากเป็นข้อมูลเชิงปริมาณก็จะใช้สถิตใิ นวิเคราะห์ขอ้ มูลและสรุปผลการวิจยั และหากเป็น ข้อมูลเชิงคุณภาพก็จะใช้การวิเคราะห์เนือ้ หาหรือการตีความเพือ่ สร้างข้อสรุป การวิจยั แบบผสมผสาน มีขอ้ ดีมากกว่าการวิจยั ในรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ เพียงวิธเี ดียว เนือ่ งจากการวิจยั เชิงปริมาณและการ วิจยั เชิงคุณภาพต่างก็มลี กั ษณะข้อเด่นและข้อจ�ำกัดแตกต่างกัน ดังนัน้ หากน�ำทัง้ สองวิธมี าใช้รว่ มกัน ก็จะช่วยเสริมซึง่ กันและกัน (เพิม่ จุดเด่นและลดข้อจ�ำกัดของแต่ละวิธ)ี ซึง่ จะท�ำให้ขอ้ มูลมีความน่าเชือ่ ถือ และผลการวิจยั มีความชัดเจนยิง่ ขึน้ (Creswell, 2009; Finn, Elliott-White, & Walton, 2000) ปัจจุบนั มีงานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมจ�ำนวนหลายเรือ่ งทีน่ ยิ มใช้ระเบียบวิธวี จิ ยั แบบ ผสมผสานเพือ่ ให้ขอ้ ค้นพบหรือค�ำตอบจากการวิจยั มีความชัดเจนและน่าเชือ่ ถือมากยิง่ ขึน้ 5.6.3 แบ่งตามวิธีการเก็บข้อมูล 1) การวิจยั เชิงเอกสาร (documentary research) หรืออาจเรียกกว่า การวิจยั เชิงเนือ้ หา เป็นการวิจัยที่เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) เช่น เอกสารประเภทต่างๆ การวิจัยประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสรุปผลในประเด็นใดประเด็นหนึ่งที่ต้องการ ศึกษาจากข้อมูลที่เป็นเอกสาร การวิจัยประเภทนี้อาจเป็นได้ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณหรือคุณภาพ ก็ได้ (ฉัตรสุมน พฤฒิภญ ิ โญ, 2553) ตัวอย่างการวิจยั เชิงเอกสารในด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรม เช่น การวิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยหรืองานวิทยานิพนธ์ด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม เป็นต้น 2) การวิจัยเชิงส�ำรวจ (survey/exploratory research) เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวม ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจมาจากการสอบถาม หรือการสัมภาษณ์ การวิจัยประเภทนี้ ส่วนใหญ่มักใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างที่เลือกมาจากประชากรที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา รวมทั้งต้องอาศัยความรู้ในเรื่องการเลือกตัวอย่างและการก�ำหนดตัวอย่างที่เหมาะสมกับลักษณะ ข้อมูลที่จะน�ำมาวิเคราะห์ (สรชัย พิศาลบุตร, 2551) การวิจัยประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหา ข้อมูล ข้อเท็จจริง หรือค�ำตอบในประเด็นใดประเด็นหนึ่งที่ผู้วิจัยต้องการทราบ ส่วนใหญ่มัก เกี่ยวข้องกับเรื่องความคิด ความรู้สึกหรือความเชื่อของคนในเรื่องต่างๆ และใช้วิธีการวิจัยที่ไม่ยุ่ง ยากซับซ้อนมากนัก (อุทุมพร จามรมาน, 2537) ตัวอย่างการวิจัยเชิงส�ำรวจ เช่น การส�ำรวจความ คิดเห็น ทัศนคติ หรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในเรื่องต่างๆ ทั้งนี้งานวิจัยด้านการท่องเที่ยว และการโรงแรมจ�ำนวนมากเป็นการวิจัยเชิงส�ำรวจ (อัศวิน แสงพิกุล, 2555)


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

47

3) การวิจยั เชิงสังเกต (observation research) เป็นการวิจยั ทีไ่ ด้ขอ้ มูลมาจากการสังเกต ของผู้วิจัย เนื่องจากผู้วิจัยอาจไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรงได้ หรือข้อมูล บางอย่างเก็บรวบรวมได้จากการสังเกตเท่านั้น (สรชัย พิศาลบุตร, 2551) การวิจัยด้านการ ท่องเทีย่ วและการโรงแรม ผูว้ จิ ยั มักจะไม่ใช้การวิจยั เชิงสังเกตเพียงวิธเี ดียว แต่จะใช้รว่ มกับการวิจยั ประเภทอื่นๆ (อัศวิน แสงพิกุล, 2555) 4) การวิจัยแบบมีส่วนร่วมหรือการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research or PAR) เป็นการวิจัยที่มุ่งเน้นให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในกระบวนการวิจัย ส่วนใหญ่จะเป็นการวิจัยเชิงพื้นที่หรือชุมชน โดยผู้วิจัยจะเปิดโอกาสให้สมาชิกของชุมชนเข้ามามี ส่วนร่วมในกระบวนการวิจัย ผลการวิจัยจะน�ำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาชุมชนเป็นหลัก นอกจาก นัน้ การวิจยั ประเภทนีย้ งั สามารถน�ำมาใช้เพือ่ แก้ไขปัญหาหรือพัฒนางานขององค์กรหรือหน่วยงาน ก็ได้ (ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, 2553) 5.7 ขั้นตอนในการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม โดยทั่วไปขั้นตอนในการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมจะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน กับขั้นตอนในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ กล่าวคือ มีการด�ำเนินการอย่างเป็นระบบและขั้นตอน ถึงแม้วา่ นักวิชาการแต่ละท่านอาจจะแบ่งขัน้ ตอนในการวิจยั ทีแ่ ตกต่างกันออกไป แต่ในแง่ของราย ละเอียดในแต่ละขั้นตอนยังคงคล้ายคลึงกัน ผู้เขียนได้สรุปและแบ่งขั้นตอนในการวิจัยด้าน การท่องเที่ยวและการโรงแรมออกเป็น 8 ขั้นตอนตามความสอดคล้องของเนื้อหาในแต่ละขั้นตอน โดยน�ำเสนอในรูปของวงล้อการวิจัย (research wheel) ดังแสดงในภาพ 1.4 โดยเริ่มต้นจากการ ก�ำหนดปัญหาการวิจัย การก�ำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การก�ำหนดตัวแปรและสมมติฐานการวิจยั จากนัน้ จึงเป็นขัน้ ตอนการออกแบบวิธกี ารวิจยั การเก็บ รวบรวมข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ขอ้ มูล แปลความหมายข้อมูล สรุปผลและให้ขอ้ เสนอแนะ จนถึง ขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการวิจัย คือ การเขียนรายงานการวิจัยและการเผยแพร่ เหตุผลที่น�ำ เสนอเป็นรูปวงล้อการวิจัยเพราะว่าการวิจัยจะด�ำเนินการเป็นขั้นตอนหรือเป็นกระบวนการที่ต่อ เนื่อง โดยแต่ละขั้นตอนจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนสุดท้าย โดยขั้น ตอนสุดท้ายของการวิจยั คือ การเผยแพร่ผลการวิจยั ซึง่ ขัน้ ตอนนีจ้ ะน�ำไปสูก่ ารท�ำวิจยั ในหัวข้อใหม่ หรือให้ขอ้ มูลแก่ผทู้ สี่ นใจน�ำไปศึกษาต่อยอดหรือขยายความรู้ การท�ำวิจยั แต่ละเรือ่ งก็จะมีลกั ษณะ เช่นนี้ โดยงานวิจยั เรือ่ งหนึง่ อาจมีความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กบั งานวิจยั อีกเรือ่ งหนึง่ ต่อๆ ไปเรือ่ ยๆ ไม่ สิน้ สุด ดังนัน้ กระบวนการค้นหาความรูด้ ว้ ยการวิจยั จึงพอเปรียบเทียบได้กบั วงล้อทีห่ มุนไปได้เรือ่ ยๆ ไม่สิ้นสุดเช่นกัน โดยเนื้อหาของขั้นตอนในการวิจัยพอสังเขป มีดังนี้


48

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจยั

31

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย (8) จัดทารายงานการวิจัย และเผยแพร่ (1) กาหนดปัญหาการวิจยั (7) สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

(2) กาหนดวัตถุประสงค์ และขอบเขตการวิจัย

ขั้นตอนในการวิจัยด้านการท่องเที่ยว และการโรงแรม (6) วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย และนาเสนอผล

(3) ทบทวนวรรณกรรม กาหนดตัวแปรและ สมมติฐานการวิจัย

(5) เก็บรวบรวมข้อมูล

(4) กาหนดวิธกี ารวิจัย

ภาพ 1.4 ขั้นตอน (วงล้อม) ในการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ภาพ 1.4 ขั้นตอน (วงล้อ) ในการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

49

ขั้นตอนที่ 1 การก�ำหนดปัญหาการวิจัย ขั้นตอนแรกของการวิจัยคือ การก�ำหนดประเด็นปัญหาการวิจัยซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้วิจัยจะต้อง ก�ำหนดขึ้น เสมือนเป็นโจทย์ในการวิจัย ซึ่งโจทย์นี้อาจมาจากประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงหรืออาจ เป็นสิง่ ทีผ่ วู้ จิ ยั ต้องการทราบหรืออยากค้นหาค�ำตอบในสิง่ นัน้ ก็ได้ การเลือกประเด็นปัญหาการวิจยั ผู้วิจัยควรเลือกประเด็นปัญหาที่มีความส�ำคัญและเป็นประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่ในสังคมหรือภาค ธุรกิจ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในวงกว้าง (รายละเอียดจะกล่าวในบทที่ 2) ขั้นตอนที่ 2 การก�ำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัย หลังจากเลือกประเด็นปัญหาการวิจัยได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ ผู้วิจัยจะต้องก�ำหนด วัตถุประสงค์การวิจยั และขอบเขตการวิจยั เพือ่ ให้ทราบแนวทางหรือทิศทางการท�ำวิจยั ทีช่ ดั เจนขึน้ ซึ่งในขั้นตอนนี้จะต้องมีการก�ำหนดชื่อเรื่อง ความเป็นมาของปัญหา ความส�ำคัญของการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย ตลอดจนขอบเขตของสิ่งที่ต้องการศึกษา รวมทั้งประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ จากการวิจัย (รายละเอียดจะกล่าวในบทที่ 2) ขั้นตอนที่ 3 การทบทวนวรรณกรรม ก�ำหนดตัวแปร และสมมติฐานการวิจัย หลังจากก�ำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การค้นคว้า หาความรูแ้ ละความเข้าใจในเรือ่ งทีต่ อ้ งการศึกษาเพือ่ ให้เข้าใจในเรือ่ งนัน้ ๆ อย่างละเอียดลึกซึง้ โดย การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยในอดีต เพื่อน�ำมาประมวลเป็น ความรู้และแนวทางในการด�ำเนินการวิจัยต่อไป เช่น การก�ำหนดตัวแปร กรอบแนวคิด และ สมมติฐานการวิจัย เป็นต้น (รายละเอียดจะกล่าวในบทที่ 3 และ 4) ขั้นตอนที่ 4 การก�ำหนดวิธีการวิจัย การก�ำหนดวิธีการวิจัย (หรือระเบียบวิธีวิจัย) เป็นขั้นตอนที่ส�ำคัญเพราะผู้วิจัยจะต้อง วางแผนหรือออกแบบการวิจัยให้เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย เช่น จะเก็บ ข้อมูลจากใคร เลือกตัวอย่างด้วยวิธใี ด หรือจะใช้เครือ่ งมือใดในการเก็บรวบรวมข้อมูล หากก�ำหนด วิธีการที่ไม่เหมาะสม อาจท�ำให้ได้ค�ำตอบหรือข้อเท็จจริงที่ไม่น่าเชื่อถือ (รายละเอียดจะกล่าวใน บทที่ 5)


50

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ขั้นตอนที่ 5 การเก็บรวบรวมข้อมูล หลังจากผูว้ จิ ยั ได้กำ� หนดวิธกี ารวิจยั เรียบร้อยแล้ว ขัน้ ตอนต่อไปคือ การเก็บรวบรวมข้อมูล ตามแผนที่ได้ก�ำหนดไว้ ซึ่งอาจกระท�ำได้หลายวิธี เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ หรือการสังเกต (รายละเอียดจะกล่าวในบทที่ 6) ขั้นตอนที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมาย และการน�ำเสนอผลการวิจัย หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลเสร็จสิ้นแล้ว ผู้วิจัยจะน�ำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์โดยจะใช้ สถิติหรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์การวิจัย หากวิเคราะห์ข้อมูลเสร็จ แล้วก็จะต้องแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล และน�ำเสนอผลการวิจยั ว่าค้นพบอะไรบ้าง (รายละเอียดจะกล่าวในบทที่ 7) ขั้นตอนที่ 7 การสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ หลังจากแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูลและน�ำเสนอผลการวิจัยแล้ว ขั้นตอน ต่อไปคือ การสรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องสรุปผลหรือข้อค้นพบจากการวิจัยว่าได้ผลเป็นอย่างไร ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจัยหรือไม่ รวมทั้งอภิปรายผลการวิจัยด้วยว่า เพราะเหตุใดผลการวิจัย จึงออกมาเป็นเช่นนัน้ และมีความน่าเชือ่ ถือได้มากน้อยเพียงใด จากนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงให้ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนาหรือการน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไป (รายละเอียดจะกล่าวในบทที่ 8) ขั้นตอนที่ 8 การจัดท�ำรายงานการวิจัยและการเผยแพร่ ขั้นตอนสุดท้ายของการท�ำวิจัยคือ การจัดท�ำรายงานการวิจัยและการเผยแพร่ ซึ่งเป็นขั้น ตอนที่ส�ำคัญเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลศึกษาค้นคว้าส�ำหรับผู้ที่สนใจและผู้ที่เกี่ยวข้องในการน�ำผล การวิจัยไปใช้ประโยชน์ต่อไป (รายละเอียดจะกล่าวในบทที่ 9)


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

51

สรุป

การวิจยั เป็นกระบวนการศึกษาหาความรูห้ รือค�ำตอบในสิง่ ทีต่ อ้ งการศึกษาอย่างเป็นระบบ และเป็นขั้นตอนตามหลักวิชาการ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ใหม่หรือค�ำตอบอันจะเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาหน่วยงาน ชุมชน สังคม หรือประเทศชาติ การวิจัยมีความส�ำคัญในเชิงวิชาการและเชิง ปฏิบัติ โดยทั่วไปการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก คือ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์และการวิจัยทาง สังคมศาสตร์ ทั้งนี้การวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทาง สังคมศาสตร์ โดยมีลักษณะเฉพาะซึ่งแตกต่างจากการวิจัยทางสังคมศาสตร์ในบางประเด็น ทั้งนี้ การวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมมีบทบาทและความส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ ผลของการวิจัยช่วยเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจในสิ่งที่ต้องการ ศึกษา สร้างองค์ความรู้ใหม่ ให้ข้อเสนอแนะแก่สังคม ตลอดจนสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง กว้างขวางในสังคม การด�ำเนินงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ที่ส�ำคัญ ได้แก่ การก�ำหนดปัญหาการวิจัย การก�ำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การก�ำหนดวิธีการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล การจัดท�ำรายงานการวิจัยและการเผยแพร่

ค�ำถามท้ายบท

1. จงอธิบายความหมายและความส�ำคัญของการวิจัย 2. จงอธิบายประโยชน์และความส�ำคัญของการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่มีต่อ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 3. จงอธิบายลักษณะและขอบเขตของการวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วและการโรงแรมให้เข้าใจพอสังเขป 4. การวิจัยเชิงปริมาณแตกต่างจากการวิจัยเชิงคุณภาพอย่างไร 5. ขั้นตอนการวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมประกอบด้วยกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง


ประวัติผู้เขียน

355

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน แสงพิกุล การศึกษา • ปริญญาเอก การท่องเที่ยว University of South Australia, Australia (ทุนมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์) • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Southeastern Louisiana University, USA (ทุน Southeastern Louisiana University) • ปริญญาตรี การโรงแรม มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ (เกียรตินิยม) ผลงานวิจัยตีพิมพ์ต่างประเทศ • Travel Motivations of Japanese Senior Travelers, International Journal of Tourism Research • Internet Marketing and Ecotourism, International Journal of Hospitality and Tourism Administration • Ecotourism: A Perspective from Thai Youth, Journal of Hospitality, Leisure, Sport and Tourism Education • Developing the Good Practices for Ecotourism Tour Operators, Sasin Journal of Management • The Identification of Barriers Affecting the Meeting and Convention Industry, Journal of Convention and Event Tourism • Travel Motivations between Asian and European Tourists to Thailand, Journal of Hospitality and Tourism • Internationalization of Hospitality and Tourism Higher Education, Journal of Teaching in Travel and Tourism • A Factor-Cluster Analysis of U.S. Senior Travelers’ Motivations, TOURISM: An International Interdisciplinary Journal • A Critical Review of Ecotourism Studies in Thailand, Journal of Tourism Analysis • Segmenting the Japanese Senior Travel Market, Journal of Hospitality & Tourism ผลงานแต่งต�ำรา/หนังสือ • ต�ำรา ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม • หนังสือ หลักการตลาดเพื่อการท่องเที่ยว และการตลาดเชิงกลยุทธ์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว • บทเรียนในหนังสือต่างประเทศ Psychology of Happiness and Tourism และ Internationalization of Hospitality Management Education, Nova Publisher, USA ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้อ�ำนวยการหลักสูตรมหาบัณฑิต (ป.โท) สาขาการจัดการการท่องเที่ยว ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ รางวัลผู้สอนคุณภาพ (certified quality teacher) ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน • ประธานคณะกรรมการวิจัย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ • ฝ่ายขายและการตลาด โรงแรมโอเรียนเต็ล กรุงเทพฯ และบริษัทสยามพรหมประทานจ�ำกัด กรุงเทพฯ 

งานบริการวิชาการ • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิชาการและงานวิจัยให้แก่สถาบันอุดมศึกษาหลายแห่ง • กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโทและเอกของสถาบันอุดมศึกษาหลายแห่ง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.