ชี้ช่อง SMEs ประจำเดือนมิถุนายน 2012

Page 1

ปีที่ 2 ฉบับที่ 10 ประจ�ำเดือนมิถุนายน 2555

‘Link’ นาฬิกากราฟฟิกแนวแฟชั่น ฝีมือคนไทย ‘C.Nature’ น�้ำมันร�ำข้าว และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจมูกข้าว ‘เอวา แพลนท์’ เสิร์ฟวัตถุดิบ ป้อนธุรกิจความงาม ตราสัญลักษณ์คุณภาพ Thailand Trust Mark

BRICS

โอกาสทางการค้า ที่ ไม่ควรมองข้าม


DITP

DITP SMEs Club

ส�ำนักส่งเสริมธุรกิจ SMEs เพือ่ การส่งออก กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ โทรศัพท์ 0-2507-8162-63 และ 8165-8168 โทรสาร 0-2547-4258

2

ชี้ช่องส่งออก SMEs

สิทธิประโยชน์สมาชิก DITP SMEs Club 1. สมาชิกจะได้รับสิทธิ์ในการสมัครเข้าร่วมกิจกรรมของกรมฯ ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศเป็นระยะเวลา 3 ปี นับจากวันที่ได้รบั การอนุมตั ิ เป็นสมาชิกฯ 2. สมาชิกจะได้รบั สิทธิ์ให้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการส่งออก ของกรมฯ โดยเฉพาะการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าในประเทศ ซึ่งจะ ได้รบั การลดหย่อนค่าใช้จา่ ยสมทบจ�ำนวน 3 ครัง้ คือ ได้รบั การลดหย่อน ร้อยละ 50 ส�ำหรับครัง้ แรก ส่วนครัง้ ทีส่ องและสามจะได้รบั การลดหย่อน ร้อยละ 30 ของอัตราการเรียกเก็บเต็มจ�ำนวนของงานฯ 3. เข้าร่วมการฝึกอบรมเชิงลึกพร้อมฝึกปฏิบตั ิในเรือ่ งการจัดท�ำแผนการ ตลาดเพื่อการส่งออกโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น 4. สมาชิกฯ จะมีรายชื่ออยู่บนเว็บไซต์ของกรมฯ ในกลุ่มสมาชิก DITP SMEsClub และจะได้รบั ข่าวสารกิจกรรมกรมฯ และหน่วยงานเครือข่าย อย่างสม�่ำเสมอ


ชี้ช่องส่งออก SMEs ปีที่ 2 ฉบับที่ 10 เดือนมิถุนายน 2555

ารรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนับเป็นกลไกส�ำคัญ ที่จะ แสดงให้เห็นถึงอ�ำนาจการต่อรองทางเศรษฐกิจที่ เข้ ม แข็ ง ของมหาอ� ำ นาจ ที่ จ ะเป็ น เครื่ อ งต่ อ รองความ มั่นคงของประเทศได้ ซึ่งในปัจจุบันนั้น การรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจการค้า จะเป็นตัวเชือ่ มโยงกลุม่ ประเทศต่างๆ ให้มี อ�ำนาจการต่อรองทางการค้า และความมัน่ คงของประเทศ เพื่อวางกรอบระเบียบให้ประเทศสามารถพัฒนาให้เป็น เขตเศรษฐกิจได้ กลุ่มประเทศ BRICS พลังใหม่ในเวทีโลก ที่เป็น การรวมตัวของ 5 ประเทศ คือ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จี น และแอฟริ ก าใต้ ซึ่ ง มี สิ่ ง ที่ เ หมื อ นและต่ า งกั น อยู ่ ไม่น้อย โดยสิ่งที่เหมือนกันของกลุ่ม BRICS คือ เป็น ประเทศเปิดใหม่ มีจำ� นวนประชากรสูง และมีพลวัต ในการ ขยายตั ว เศรษฐกิ จ ที่ สู ง และสิ่ ง ส� ำ คั ญ คื อ มี ก ารด� ำ เนิ น นโยบายเศรษฐกิจในลักษณะเปิดเสรี อย่ า งไรก็ ต าม การรวมตั ว ของกลุ ่ ม ประเทศ BRICS นั้ น ถื อ เป็ น ปรากฏการณ์ ที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ โลก ที่จะต้องจับตามอง ซึ่ง BRICS อาจเป็นพลังใหม่ และเป็น หนึ่งในองค์ประกอบของระเบียบโลกใหม่ที่ก�ำลังเกิดขึ้น

04 @ Cover BRICS โอกาสทางการค้าที่ไม่ควรมองข้าม 07 SMEs Success

‘Link’ นาฬิกากราฟฟิกแนวแฟชั่น ฝีมือคนไทย

08 นวัตกรรมปั้น SMEs

‘C.Nature’ น�้ำมันร�ำข้าว และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจมูกข้าว

09 สายตรงแหลงผลิต

‘เอวา แพลนท์’ เสิร์ฟวัตถุดิบ ป้อนธุรกิจความงาม

10 Idea packaging

Iwish ดีไซน์เด่น สร้างสรรค์สบู่สนุกอาบ

11 ชี้ชองสงออก

ตราสัญลักษณ์คุณภาพ Thailand Trust Mark

12 SMEs logistics เทคโนโลยีโลจิสติกส์ 13 ชี้ชองสองทาง 14 Activities Update 15 สาระน่ารู้จาก EXIM BANK

เส้นทางเครือข่ายคมนาคมอาเซียน... เพื่อโอกาสทางการค้า

คณะท�ำงาน

เจ้ า ของ : กรมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก กระทรวงพาณิ ช ย์ ที่ ป รึ ก ษา : อธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก : นั น ทวั ล ย์ ศกุ น ตนาค รองอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก : วุฒชิ ยั ดวงรัตน์ อัญชลี พรหมนารท ร.อ.สุวพิ นั ธ์ุ ดิษยมณฑล นักวิชาการพาณิชย์เชีย่ วชาญ : มาตยวงศ์ อมาตยกุล ภูสิต รัตนกุลเสรีเริงฤทธิ์ เอกฉัตร ศีตวรรัตน์ สมเด็จ สุสมบูรณ์ เพยาว์ สุขมาก จตุพร วัฒนสุวรรณ มีชัย บุณยะมาน เพ็ญศรี ชุติธรพงษ์ บรรณาธิการ : จิรภาพรรณ มลิทอง ส�ำนักส่งเสริมธุรกิจ SMEs เพื่อการส่งออก กรมส่งเสริมการส่งออก 44/100 ถนนนนทบุรี 1 ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ชี้ช่องส่งออก SMEs

3


@ Cover

BRICS

โอกาสทางการค้าที่ไม่ควรมองข้าม

คํ

าว่า BRIC นัน้ เป็นศัพท์ทเี่ กิดจากนาย Jim O’Neil ซึ่งเป็นผู้บริหารของสถาบันการเงินโกลด์แมน แซคส์ ซึ่งได้เขียนบทความในปี ค.ศ.2002 โดยท�ำนาย ว่า 4 ประเทศดังกล่าวนัน้ จะมีบทบาทและความส�ำคัญ ในทางเศรษฐกิจและการเมืองในอนาคต ได้แก่ ประเทศ บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) และ จีน (China) ซึง่ เป็นทีย่ อมรับกันว่าเป็นตลาดเกิดใหม่ที่ ก�ำลังเติบโต (Emerging Market) และเป็นที่หมายตา ของนักลงทุนทัว่ โลก อีกทัง้ กลุม่ ประเทศ BRICS มีพนื้ ที่ รวมกันมากถึง 25 เปอร์เซ็นต์ของโลก และมีประชากร รวมกว่ า 40 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ข องโลก และสะสมเงิ น ทุนส�ำรองระหว่างประเทศอยู่ที่ประมาณ 45% ของ ทุนส�ำรองระหว่างประเทศทั้งหมดทั้งโลก ส�ำหรับประเทศแอฟริกาใต้ เป็นประเทศล่าสุดที่ ได้รบั เชิญเข้าร่วมเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ เมือ่ 24 ธันวาคม 2553 ท�ำให้กลุม่ ประเทศทัง้ 5 กลายเป็นกลุม่ ประเทศ BRICS กระจายอยู่ใน 4 ทวีป คือ ยุโรป เอเชีย อเมริกาใต้ และแอฟริกา กลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาที่มีอัตราการเติบโตทาง เศรษฐกิจสูงกว่าประเทศก�ำลังพัฒนาอืน่ ๆ จัดเป็นตลาด

4

ชี้ช่องส่งออก SMEs

ใหม่ที่น่าท�ำการค้าและการลงทุน โดยอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจวัดได้จากอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (GDP Growth) คือ มูลค่า ตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ถูกผลิตใน ประเทศหรือรายได้จากการขายสินค้าและบริการขั้น สุดท้ายของประเทศ ประกอบด้วยมูลค่าการบริโภค ภายในประเทศ การลงทุน การใช้จ่ายของรัฐ รวมถึง มูลค่าการส่งออกสุทธิ ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจตกต�่ำทั่ว โลกในปี 2008 ประเทศอุตสาหกรรม G7 ได้รบั ผลกระทบ อย่างมาก ส่งผลให้ในปี 2009 GDP รวมของกลุม่ ลดลง 3.518% ในทางกลับกัน ประเทศจีนและอินเดียกลับ ไม่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบและยั ง มี อั ต ราการเติ บ โตทาง เศรษฐกิจที่สูงถึง 9.069% และ 5.678% ตามล�ำดับ ขณะทีบ่ ราซิลและรัสเซียโดดเด่นด้านการส่งออกสินค้า วัตถุดิบหรือโภคภัณฑ์ป้อนเข้าตลาดโลก BRICS น่าจะ มีโอกาสรวมเป็นพันธมิตรทางการค้า มีสถานะเทียบชัน้ กับ G6, G7 ได้ ปัจจัยพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญของกลุม่ ประเทศ BRICS คือ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ท�ำให้ธรุ กิจ ข้ามชาติสนใจเข้าไปลงทุนสร้างฐานการผลิต โดยเล็ง


เห็นประโยชน์ในเรื่องวัตถุดิบจ�ำนวนมากและราคาถูก เป็นหลัก บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติเป็นแหล่งแร่ เหล็ก และแหล่งเพาะปลูกถัว่ เหลือง เป็นผูส้ ง่ ออกหลัก ในด้านวัตถุดิบเพื่อการผลิต เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่ใหญ่ที่สุด ของโลก เช่น กาแฟ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ส่วนสิ่งที่น่า สนใจของรั ส เซี ย คื อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ท างด้ า น พลังงานที่มหาศาล มีแหล่งผลิตถ่านหินอันดับ 2 ของ โลก มีก๊าซธรรมชาติมากถึง 35% ของโลกและน�้ำมัน 20% ของโลก อินเดียมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบู ร ณ์ เช่ น แร่ เ หล็ ก แมงกานี ส ก๊ า ซธรรมชาติ ปิโตรเลียม และมีถ่านหินมากเป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นผูส้ ง่ ออกหลักในส่วนของสินค้าซอฟต์แวร์ ไอที รวม ทั้ง ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อัญมณี เครื่องประดับและ เสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ส่วนจีนเป็นแหล่งผลิตสินค้าอุปโภค และบริโภค รวมทัง้ สินค้าอุตสาหกรรมรายใหญ่ของโลก สินค้าส่งออกส�ำคัญได้แก่ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เครือ่ งจักรกล เครื่องนุ่งห่ม และเฟอร์นิเจอร์ สัดส่วนของประชากรส่งผลโดยตรงต่อการบริโภค ภายในประเทศ รวมถึงจ�ำนวนแรงงานที่จะช่วยขับ เคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นจึงไม่มีข้อสงสัยที่ จีนและอินเดีย จะอยู่ในกลุ่มนี้ เนื่องจากมีประชากร มากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโลก ตามล�ำดับ ปัจจุบัน อินเดียมีประชากรประมาณ 1.2 พันล้านคน โดยคาด ว่าในปี ค.ศ.2040 จะเป็นประเทศที่มีประชากรมาก ทีส่ ดุ ในโลก จึงมีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการ จ�ำนวนมาก อินเดียมีสัดส่วนของประชากรอายุต�่ำกว่า 30 ปี มากถึงครึ่งหนึ่งของประเทศ แสดงถึงตลาดการ บริ โ ภคขนาดใหญ่ แ ละแรงงานจ� ำ นวนมาก อี ก ทั้ ง ประชากรยั ง มี คุ ณ ภาพ มี ก ารศึ ก ษาดี โดยเฉพาะ บุ ค ลากรที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ วิศวกรรมเป็นจ�ำนวนมาก รวมทัง้ มีความพร้อมในเรือ่ ง ภาษา สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดี ในขณะที่อัตรา ค่าแรงไม่สูงนัก โดยหลายฝ่ายก็เชื่อว่าอินเดียจะแซง หน้าจีนได้ในอนาคตเนื่องจากนโยบาย One child policy ของรัฐบาลจีนท�ำให้อัตราการเกิดลดลงและ อนาคตสัดส่วนของผูส้ งู อายุในประเทศจะมีจำ� นวนเพิม่ มากขึ้นเรื่อยๆ ประเทศจีนมีประชากรมากที่สุดในโลก ประมาณ 1.3 พันล้านคน จึงเป็นผู้บริโภคสินค้าและ

ทรั พ ยากรธรรมชาติ ร ายใหญ่ ข องโลก นอกจากนี้ แรงงานที่มีการศึกษาก็มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น ปัจจุบันจีนมี ขนาดเศรษฐกิจเป็นอันดับ 4 ของโลกรองจากอเมริกา ญีป่ นุ่ และเยอรมนี ส่วนบราซิลเป็นประเทศทีม่ แี รงงาน เป็นจ�ำนวนมาก ดังนั้น ประชากรของ BRICS รวมกัน จะมีจ�ำนวนเกือบ 50 เปอร์เซ็นต์ของประชากรโลก เทคโนโลยีสารสนเทศและโครงสร้างพืน้ ฐานของ ประเทศ ก็เป็นอีกปัจจัยที่ส�ำคัญที่จะดึงดูดการลงทุน จากต่ า งชาติ และเป็ น ปั จ จั ย ที่ ส ่ ง เสริ ม การพั ฒ นา เศรษฐกิจของประเทศ อาทิ อินเดียที่มีความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก จึง เป็นแหล่งการให้บริการในลักษณะ Outsource ให้กบั บริษัทต่างๆ ทั่วโลก ในส่วนแอฟริกาใต้เป็นประเทศเศรษฐกิจใหญ่ มั่นคง มีประชากร 49 ล้านคน และมี GDP มากที่สุด ในทวีป มีโครงสร้างทางเศรษฐกิจแข็งแกร่งทีส่ ดุ ในทวีป แอฟริ ก า และเศรษฐกิ จ ขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี ทรัพยากรที่ล้วนมีมูลค่าสูง เช่น ทอง เพชร แพลทินัม รวมถึงโลหะหายากจึงเป็นแหล่งส่งออกวัตถุดบิ ส�ำคัญๆ ของตลาดโลก และยังเป็นศูนย์กลางการประกอบ อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ของทวีปแอฟริกา อีกด้วย นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางทางการค้า การคมนาคม ชี้ช่องส่งออก SMEs

5


ของภูมภิ าค เนือ่ งจากมี สิ่ ง สาธารณู ป โภคที่ พร้อม นอกจากนี้ แอง โกลาและโมซัมบิก เป็น ตลาดที่ก�ำลังเริ่มขยาย ตัว มูลค่าการส่งออกไป ยั ง ตลาดเหล่ า นี้ เ พิ่ ม มากขึ้ น ประกอบกั บ แอฟริกาจะเป็นประตู ให้ นั ก ลงทุ น สามารถเข้ า ไปท� ำ การค้ า และลงทุ น ใน ประเทศอื่นๆ ในทวีปแอฟริกาอีกด้วย ดังนั้น จึงเป็น โอกาสของผู้ส่งออกสินค้าที่จะหันมาเจาะตลาดกลุ่ม ประเทศในทวีปแอฟริกา ล่าสุด เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 ผู้น�ำ 5 ชาติ ได้ ร่วมประชุมสุดยอดผู้น�ำ BRICS ครั้งที่ 4 ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย เห็นชอบในการพิจารณาความเป็นไป ได้ในการจัดตัง้ “ธนาคารเพือ่ การพัฒนาแนวใต้ – ใต้” (South – South Development Bank) หรื อ “ธนาคาร BRICS” (BRICS Bank) เพื่อส่งเสริมการ ลงทุนระหว่างกัน โดยเป็นทางเลือกในการระดมทุน ของสถาบันการเงินในประเทศสมาชิก นอกเหนือจาก ธนาคารโลก ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย รวมถึงสถาบัน ทางการเงินระหว่างประเทศอื่นๆ และยังได้ลงนามข้อ ตกลงที่อนุญาตให้สถาบันการเงินในประเทศสมาชิก สามารถให้บริการสินเชื่อเป็นเงินสกุลของตนเองได้ และข้ อ ตกลงพหุ ภ าคี ว ่ า ด้ ว ยการให้ บ ริ ก ารยื น ยั น เล็ตเตอร์ออฟเครดิต (Agreement on Letter of Credit Confirmation Facility) ซึง่ จะช่วยให้ประเทศ สมาชิก BRICS สามารถลดการพึ่งพาสกุลเงินดอลลาร์

อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลีย่ นในตลาดโลกและลดต้นทุนการค้า นอกจากนี้ ข้อตกลงดังกล่าวสามารถช่วยส่งเสริมการ ค้าและการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอีกด้วย กลุม่ ประเทศ BRICS นัน้ มีสงิ่ ทีเ่ หมือนกันและแตก ต่างกันอยู่ไม่น้อย สิ่งที่เหมือนกันก็คือทั้ง 5 ประเทศ เหล่านี้ เป็นประเทศเกิดใหม่ มีจ�ำนวนประชากรที่สูง และมีพลวัตในการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สูง รวมถึง ทัง้ 5 ประเทศเหล่านี้ ได้มกี ารด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ในลักษณะเปิดเสรี การรวมตัวกันของ 5 ประเทศในกลุ่ม BRICS ที่มี ความแน่นแฟ้นและก�ำลังพัฒนาไปสู่การจัดโครงสร้าง ทีเ่ ป็นรูปธรรมมากขึน้ นัน้ เกิดจากแรงผลักดันของบริบท การเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของ โลก กลุ่มประเทศเหล่านี้แม้จะมีความแตกต่างกันใน ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมแต่ก็สามารถหาจุด ร่วมในอันที่จะประสานท่าทีและนโยบาย เป็นการรวม ตัวในประเด็นที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน การรวมตัวของกลุม่ BRICS ไม่ใช่เป็นการรวมกลุม่ เศรษฐกิจในลักษณะเดียวกัน กับ EU และ ASEAN แต่ ทิศทางที่ โลกทัง้ โลกก�ำลังเคลือ่ นย้ายฐานการผลิตออก จากกลุ ่ ม ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว ไปสู ่ ก ลุ ่ ม ประเทศ เศรษฐกิจใหม่ที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติมากมาย ต้นทุนการผลิต แรงงานที่ถูกกว่า ประเทศไทยหรือ ผูป้ ระกอบการไทยก็ไม่ควรมองข้าม การเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของกลุ่ม BRICS และควรใช้โอกาสนี้ แสวงหาช่องทางที่จะสร้างความสัมพันธ์ทางการค้า การต่างประเทศ กับแต่ละประเทศในกลุ่ม BRICS ให้ มากขึ้น

ภาพรวมของกลุม่ BRICS มีพื้นทีร่ วม 40 ล า้ นตารางกิโลเมตร ประชากร 2,900 ล า้ นคน แรงงาน 1,500 ล า้ นคน ขนาด GDP มากกว่า 18.5 ล า้ นล า้ นเหรียญคิดเป น็ เงินไทยก็ 570 ล า้ นล า้ นบาท B - Brazil พื้นที่ 8.5 ล า้ น ตร.กม. ประชากร 201 ล า้ นคน แรงงาน 103 ล า้ นคน อายุเฉลี่ยประชากร 28.9 ป ี GDP 2.20 ล า้ นล า้ น เหรียญ อัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ 7.5% ส่งออก 199 พันล า้ นเหรียญ น�ำเข า้ 187 พันล า้ นเหรียญ เงินส�ำรอง 290 พันล า้ นเหรียญ R - Russia พื้นที่ 17 ล า้ น ตร.กม. ประชากร 139 ล า้ นคน แรงงาน 75.5 ล า้ นคน อายุเฉลี่ยประชากร 38.5 ป ี GDP 2.22 ล า้ นล า้ น เหรียญ อัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ 3.8% ส่งออก 376 พันล า้ นเหรียญ น�ำเข า้ 237 พันล า้ นเหรียญ เงินส�ำรอง 483 พันล า้ นเหรียญ I – India พื้นที่ 3.3 ล า้ น ตร.กม. ประชากร 1,173 ล า้ นคน แรงงาน 478 ล า้ นคน อายุเฉลี่ยประชากร 25.9 ป ี GDP 4.06 ล า้ นล า้ น เหรียญ อัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ 8.3% ส่งออก 201 พันล า้ นเหรียญ น�ำเข า้ 327 พันล า้ นเหรียญ เงินส�ำรอง 284 พันล า้ นเหรียญ C - China พื้นที่ 9.6 ล า้ น ตร.กม. ประชากร 1,330 ล า้ นคน แรงงาน 820 ล า้ นคน อายุเฉลี่ยประชากร 35.2 ป ี GDP 9.8 ล า้ นล า้ น เหรียญ อัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ 10.3% ส่งออก 1.5 ล า้ นล า้ นเหรียญ น�ำเข า้ 1.3 ล า้ นล า้ นเหรียญ เงินส�ำรอง 2.6 ล า้ นล า้ นเหรียญ S – South Africa พื้นที่ 1.2 ล า้ น ตร.กม. ประชากร 49 ล า้ นคน แรงงาน 17 ล า้ นคน อายุเฉลี่ยประชากร 24.7 ป ี GDP 527 พัน ล า้ นเหรียญ อัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ 3% ส่งออก 76 พันล า้ นเหรียญ น�ำเข า้ 77 พันล า้ นเหรียญ เงินส�ำรอง 45 พันล า้ นเหรียญ

6

ชี้ช่องส่งออก SMEs


SMEs Success

‘Link’ นาฬิกากราฟฟกแนวแฟชัน่ ฝีมอื คนไทย

‘น

าฬิกา’ นอกจากจะเปน ของใชท จี่ ำ� เปน ในการ บอกเวลาแลว ยังเปน ของสะสม เปน ของทีร่ ะลึก ที่นิยมใหแกกัน และยังเปนเครื่องประดับที่สะทอนถึง รสนิ ย มของผู  ส วมใส นาฬิ ก าจึ ง ถู ก ออกแบบมาใน วาระที่ตางกัน เพื่อการใชงานและเปนเครื่องประดับ โดยเฉพาะการออกแบบลวดลายในตัวเรือนนาฬิกา ถือ เปนจุดขายอยา งหนึง่ นอกเหนือจากคุณภาพทีผ่ บู ริโภค ใหค วามสนใจ ดังเชน นาฬิกา “Link” (ลิง้ ค) ทีน่ ำ� เอา งานกราฟฟกมาเปนสวนรวมในการออกแบบไดอยาง กลมกลืนสวยงาม คุณวสันต วงศอ ศั วนฤมล กรรมการผูจ ดั การ บริษัท ลิ้งค กราฟฟก จ�ำกัด ผูฉีกแนวตลาดวงการ นาฬิกาที่ไมไดเปนแคนาฬิกา เลาถึงจุดเริ่มตนวา เกิด จากความชอบในงานกราฟฟกดีไซน แมไ มไ ดเ รียนมาทาง ดา นนี้ แตม คี วามสนใจทีจ่ ะท�ำธุรกิจทีเ่ กีย่ วขอ งกับการ ออกแบบกราฟฟก เปน หลัก “เราตองการท�ำสินคาที่แตกตางจากที่มี อยู  ใ นตลาด ตอนนั้ น ได วิ เ คราะห  สิ น คาหลายตั ว และพบวาบางอยาง ถึงแมจะใสงานกราฟฟกลงไป แตก็ไมสามารถแขงขันในตลาด และไมชัดเจนเพียง พอทีจ่ ะสรางแบรนดไ ด มันตอ งเปน สินคาทีม่ ศี กั ยภาพ พอใหล กู คาจดจ�ำ เพราะงานกราฟฟก ดีไซนเ ปน งาน สากล ฉะนัน้ สินคาทีจ่ ะมารองรับก็ควรจะมีความเปน สากล และเราอยากขายสินคาที่ผูบริโภคทั่วไปใชได สุดทายจึงมาลงตัวทีน่ าฬิกา” ส�ำหรับชือ่ แบรนด “Link” นัน้ ตอ งการเชือ่ มโยง ระหว  า งนั ก ออกแบบ กั บ โรงงานผลิ ต โดย นาฬิ ก าทุ ก เรื อ นจะมี คอนเซ็ปตการออกแบบ และชื่ อ คนออกแบบที่ กลอ ง เพือ่ สรางเอกลักษณ ของตนเอง และมีมากกวา 100 แบบ ใน 2 ประเภท หลั ก คื อ Link งาน กราฟฟก ดีไซนสากลทัว่ ไป คุณวสันต วงศอ ศั วนฤมล

กับ Link Siam ทีบ่ อกเลา เรือ่ งราวทีเ่ ปน เอกลักษณไ ทย “จุดเดน ของนาฬิกา Link อยูท งี่ านกราฟฟก เปน หลัก โดยสินคาจะเปน สว นประกอบในการน�ำเสนอ แตเ ราก็ไมไ ดม องขามในเรือ่ งของคุณภาพ เพราะตัว เครือ่ งจะเปน ของ citizen จากโรงงานทีญ ่ ปี่ นุ ขณะ เดียวกันการตั้งราคา จะตองเปนราคาที่ลูกคารับได เพราะกลุม เปาหมายของเราก็คอื กลุม วัยรุน ปจจุบนั ราคาของ Link อยูท ี่ 495-595 บาท” ในดา นชอ งทางการตลาด นาฬิกา Link มีวาง จ�ำหนายตามหางสรรพสินคาชั้นน�ำทั่วไป และที่ราน Loft รวมทัง้ ไดข ยายชอ งทางใหมๆ เชน รา นกิฟ๊ ทช อ็ ป และรานเครื่องประดับ นอกจากนี้ยังไดขยายตลาด ไปยังตา งประเทศ อาทิ ฟล ปิ ปน สส วีเดน คูเวต สิงคโปร ฯลฯ โดยมี สั ด ส ว นการส ง ออกอยู  ที่ 20% ขณะที่ รายไดของบริษัทฯ ไดเติบโตอยางตอเนื่องประมาณ 20-30% ทุกป จัดวา ธุรกิจประสบความส�ำเร็จไปแลว ขั้ น หนึ่ ง หากแต ใ นมุ ม มองของคุ ณ วสั น ต ไ ด ก ล า ว ทิง้ ทา ยวา “ความส�ำเร็จก็คอื การทีท่ ำ� ใหผ บ ู ริโภคชืน่ ชอบ แบรนดเราโดยไมมีขอแม ทุกวันนี้ลูกคาเริ่มจดจ�ำ แบรนด Link ไดม ากขึน้ จึงเตรียมพรอ มทีจ่ ะขยายไป ยังสินคาอืน่ ๆ ซึง่ คงชูเรือ่ งกราฟฟก และคุณภาพมาตรฐาน เปน หลักเชน กัน ถาเราท�ำสินคาอืน่ แลว ลูกคายังสนใจ ในตัวแบรนดอ ยู หรือผูบ ริโภคจดจ�ำแบรนดเ ราได ตรง นีถ้ อื วาประสบความส�ำเร็จมากกวา” สนใจธุรกิจ Link นาฬิกากราฟฟก สามารถสอบถาม รายละเอียดไดที่เบอร 0-2863-5269 หรือ www. linkgraphix.com ชี้ช่องส่งออก SMEs

7


นวัตกรรมปั้น SMEs

‘C.Nature’

น�้ำมันร�ำขาวและผลิตภัณฑ เสริมอาหารจมูกขาว

คุ

ณคาของ ‘ขาว’ กับสังคมไทยในอดีต จะมี คุณคาในมิติของโภชนาการที่ใหคารโบไฮเดรต เพียงอยางเดียว ปจจุบันจากการวิจัยคนควาทาง วิทยาศาสตรพบวา ‘น�ำ้ มันร�ำขาวและจมูกขาว’ มี คุณประโยชนค รอบคลุมทัง้ การใชเ ปน อาหารสุขภาพ และเสริมความงาม ขาวจึงถูกผลิตเปนผลิตภัณฑเสริม อาหารมากมายในตลาด และเปนที่นิยมใน หมูข องคนรักสุขภาพดวย C.Nature หนึ่งในผลิตภัณฑ เสริมอาหารจากน�ำ้ มันร�ำขาวและจมูกขา ว ทีส่ รางจุดตางดวยการน�ำเขาจมูกขา วญีป่ นุ จากเมือง Tsuno มาผสมกับน�ำ้ มันร�ำขาวไทย ดว ยกระบวนการสกัดน�ำ้ มันร�ำขาวแบบบีบเย็น ดวย เครื่องมือที่ทันสมัย ซึ่งขาวญี่ปุนจะสกัดสารแกมมา ออไรซานอล (Gamma Oryzanol) ไดปริมาณเขมขน สูงกวาขาวไทย คุณคฤตสา โกศลจิตร เจาของผลิตภัณฑ กลาววา C.Nature เปนผลิตภัณฑเสริมอาหาร น�้ำมันร�ำขาวและจมูกขาวสูตรเขมขน โดยเฉพาะ สารแกมมาออไรซานอลในปริมาณ 30 มิลลิกรัม ตอหนึ่งแคปซูล ซึ่งแกมมาโอไรซานอลเป็นสารตาน อนุมลู อิสระ ตานการอักเสบของผิวหนัง นอกจากนี้ ยังอุดมไปดวยวิตามินอี และกรด ไขมันในกลุม โอเมกา 9-6-3 มีคณ ุ สมบัตใิ นการชวยลด คอเลสเตอรอลทีไ่ มดี (LDL) โดยสามารถเพิม่ หรือคง ระดับคอเลสเตอรอลทีด่ ี (HDL) ได มีสารเลซิตนิ สาร ธรรมชาติเหลานีย้ งั ชวยรักษาสมดุลระบบประสาท บ�ำรุง สมองและปอ งกันโรคหัวใจ อีกทัง้ มีคณ ุ สมบัตชิ ว ยบ�ำรุง ฟน ฟูผวิ พรรณใหดสู ดใสนุม นวล และปกปองผิวจาก สารอนุมลู อิสระทีเ่ ปนตัวการของริว้ รอยกอนวัยดวย “แผนการตลาดของ C.Nature เราไมขาย ผานระบบเครือขายเหมือนรายอืน่ ๆ แตจะเปนการ

8

ชี้ช่องส่งออก SMEs

ขยายธุรกิจดวยระบบคาสง คาปลีก และ รับสมัครตัวแทนจ�ำหนาย เราตองการ ใหสินคาคุณภาพไปถึงมือผูบริโภคในราคา ทีไ่ มแพงในราคา 500-600 บาท ขึน้ อยูก บั ปริมาณ การสั่งซื้อ ผลิตภัณฑไดรับใบอนุญาต อย.เลข ที่ 11-1-01049-1-0073 และมาตรฐานการผลิต GMP ลูกคาจึงมั่นใจไดวาไมมีสารตกคางจากการ บริโภค ส� ำ หรั บ แผนธุ ร กิ จ ในอนาคต วางแผน ทีจ่ ะสง สินคาไปจ�ำหนายทีป่ ระเทศญีป่ นุ กอ น และ ขยายไปสูต ลาดเอเชีย ซึง่ ขณะนีอ้ ยูใ นขัน้ ตอนการ ขอ อย. จากญี่ปุน รวมถึงศึกษาขอมูลและการ พัฒนาสินคาเพือ่ การสงออก ในสวนของการพัฒนา บรรจุภัณฑ การสรางแบรนด และเพิ่มไลนสินคา ใหมีความหลากหลายมากขึ้น และตรงกับความ ตอ งการของลูกคาในแตละประเทศดวย” คุณคฤตสา กลาวทิง้ ทาย สนใจผลิตภัณฑเ สริมอาหาร C.Nature ติดตอ ไดท ี่ เลขที่ 265/3 หมู 10 ถ.สายเอเชีย ต.นครสวรรคต ก อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000 โทร. 0-5633-3888, 08-7318-0406


‘เอวา แพลนท’

สายตรง แหล่งผลิต

เสิรฟวัตถุดิบปอนธุรกิจความงาม

ป

จจุ บั น ตลาดด  า นสุ ข ภาพและความงามได  มี การเติบโตอยา งตอ เนือ่ งและขยายตัวไปทัว่ โลก ดวยเทคโนโลยีอันทันสมัยที่น�ำมาใชในธุรกิจความ งาม โดยเฉพาะการสกัดสารจากสมุนไพรธรรมชาติ ทีไ่ มเพียงแตมสี รรพคุณทางยา ชว ยในการรักษาโรค และท�ำใหสุขภาพรางกายแข็งแรงเทานั้น สมุนไพร ยังเกี่ยวโยงกับความงามโดยตรง ดังจะเห็นไดจาก การน�ำสมุนไพรมาพัฒนาเปนผลิตภัณฑเพื่อความ งามในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปน เครื่องส�ำอาง อาหารเสริม และเครื่องดื่ม ลวนมีใหเลือกหลาก หลายแบรนดในตลาด ด  ว ยศั ก ยภาพของธุ ร กิ จ ความงามที่ มี แนวโนม การขยายตัว ผูบ ริโภคหันมาใสใจสุขภาพและ ความงามมากขึน้ จึงท�ำใหธรุ กิจความงามตองพัฒนา ตัวเองอยูเ สมอ ดว ยขอ เท็จจริงดังกลาวจึงท�ำให บริษทั เอวา แพลนท จ�ำกัด น�ำทีมบริหารโดย คุณวทัญู บุ ณ ยสิ ท ธิ เ ดช ได ก ล า วถึ ง จุ ด เด  น ของธุ ร กิ จ ว  า “เราได  เ ลื อ กผลิ ต ภั ณ ฑ  ที่ มี คุ ณ สมบั ติ โ ดดเด  น แตกตางจากสมุ น ไพรอื่ น ทั่ ว ๆ ไป เพื่ อ ลดการ แข  ง ขั น กั บ ประเทศที่ ส  ง ออกสมุ น ไพรรายใหญ อยางจีนและอินเดีย โดยเรามุง เนนในเรือ่ งคุณภาพ เปนหลัก และผลิตภัณฑตางๆ ของบริษทั ฯ ไมวา จะเปน สารสกัดจากสมุนไพร เชน สารสกัดขมิน้ ชัน สารสกัดกวาวเครือแดง สารสกัด กวาวเครือขาว น�้ำมันหอมระเหย และสิ่งสกัดอื่นๆ จากพืช ลวน ได  รั บ การตรวจสอบมาตรฐาน จากแล็ปชัน้ น�ำของโลก รวมทัง้

มีการควบคุมมาตรฐานของสินคาในแตล ะล็อตใหม ี คุณภาพอยูเ สมอ นอกจากนีเ้ รายังมีบริการในสว น ของลูกคาสามารถสั่งผลิตเพื่อเพิ่มสวนผสมความ เขมขนของสารสกัดสมุนไพรตามความตองการ ไดดว ย” ส�ำหรับทิศทางธุรกิจในอนาคตทางบริษัทฯ เตรียมแผนที่จะวิจัยพัฒนาสมุนไพร เพื่อผลิตสินคา ที่ มี คุ ณ ภาพ และให  ไ ด  รั บ การยอมรั บ จากตลาด ทั่ ว โลกมากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง ในขณะนี้ ไ ด จั บ มื อ ร ว มกั บ คูคาผูผลิตสมุนไพรที่เปนหนึ่งในเรื่องคุณภาพและ ความนา เชือ่ ถือ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังไดใ หค วามส�ำคัญ ถึงการเติบโตของตลาด E-commerce ทีเ่ พิม่ ขึน้ อยา ง ต  อ เนื่ อ ง จึ ง ได  ท� ำ การขยายช  อ งทางการตลาด ดังกลาว เพือ่ เพิม่ ชองทางการขายใหมากขึน้ ท า ยนี้ คุ ณ วทั ญ ู ได ฝ ากข อ คิ ด ให ผูป ระกอบการ SMEs ทัว่ ไปวา “การทีบ่ ริษทั สามารถ พัฒนาผลิตภัณฑและเขาใจกลไกตลาดการคาทัง้ ใน และตางประเทศ สวนหนึง่ มาจากภาครัฐบาล โดย เฉพาะกรมสง เสริมการสงออกทีไ่ ดใหโอกาสบริษทั ไดเขารวมเปนสมาชิก DITP SMEs Club” ที่ได เอื้ อ ประโยชน  ด  า นข  า วสารเกี่ ย วกั บ การส  ง ออก ต  า งๆ รวมทั้ ง กิ จ กรรมที่ ส ่ ง เสริ ม และพั ฒ นา เพื่ อ เพิ่ ม ประสบการณ์ ค วามสามารถในการ แขงขันในตลาดตางประเทศ และการขยายชองทาง การจ� ำ หน า ยเพิ่ ม มากขึ้ น ถื อ ได  ว  า เป  น อี ก ทาง เลือกหนึ่งที่นาสนใจ ไมมีคาใชจาย ซึ่งถือวากรม ส  ง เสริ ม การส  ง ออกได  ใ ห  โ อกาสทางธุ ร กิ จ แก  ผูป ระกอบการ SMEs ทัง้ สิน้ สนใจธุรกิจ ติดตอ คุณวทัญู บุณยสิทธิเดช บริษทั เอวา แพลนท จ�ำกัด โทรศัพท 0-2746-7939, 08-4433-1354 ชี้ช่องส่งออก SMEs

9


Idea Packaging

Iwish ดีไซนเดน สรางสรรคสบูสนุกอาบ

‘I

wish’ สบูแฟนซี เนเชอรัล เฮอรเบอร ไอเดีย สร า งสรรค ข องคนไทย ที่ มี รู ป ลั ก ษณ  โ ดดเด  น ทั้งงานดีไซนเนื้อสบู สีสัน และความเปนงานผลิต แฮนดเมดทั้งหมด ผนวกกับกลิ่นไอของธรรมชาติ คุณอรวรรณ ยิลมาส (Orawan Yilmaz) เจาของธุรกิจสบู Iwish กลาววา เริ่มแรกท�ำธุรกิจสบู ในลักษณะของการรับจางผลิต เปนแบรนดของลูกคา แตละรายนานกวา 10 ป หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาท�ำ แบรนดของตัวเองโดยใชชื่อวา Iwish ซึ่งด�ำเนินมา ไดประมาณ 4 ปแลว เนนตลาดสงออก สบูจะเปน แฟนซี เนเชอรัล เฮอรเบอร เปนงานแฮนดเมดทั้งหมด โดยมีจุดเดนที่รูปลักษณ สีสันสดใส ที่ส�ำคัญคือ บ�ำรุง และถนอมผิวพรรณ ใหเปลงปลั่งเปนธรรมชาติ สินคา ของ Iwish จะแบง เปน กลุม ตา งๆ ไดแ ก สบูบ ำ� รุงผิวหนา ทีม่ สี ว นผสมของสมุนไพร เชน มะขาม อโรเวรา ขิง ขมิ้น มังคุด ฯลฯ สบูส�ำหรับขัดตัว จะใสใยบวบและสมุนไพรที่ขัดตัวลงไปในเนื้อสบู ซึ่ง เหมาะกับธุรกิจสปาอยางยิ่ง สบูเชือกแขวน ส�ำหรับ คนที่ไมชอบใหสบูเละ เสียรูปทรง สบูแฟนซี จะมี ทั้งสไตลของเลน สบูเหมือนของกิน เปนรูปไอศกรีม เคก อมยิ้ม และสบูรูปสัตวตางๆ เชน วัว หมี แกะ ซึ่ง ใชวัตถุดิบจากธรรมชาติ 80% เชน น�้ำมันปาลม น�้ำมัน มะพราว กลีเซอรีนบริสุทธิ์ สารสกัดตางๆ เชน มะขาม น�้ำผึ้ง อโรเวรา โอลีฟออยล สวนสีและน�้ำหอม ก็เปนสี คอสเมติก เกรดเอ ซึ่งไมเปนอันตรายตอผิว “เราสรางมารเก็ตใหม ดวยการท�ำสบูให เป น แนวสนุ ก สนาน นาใช  โดยมุ  ง กลุ  ม ลู ก คาที่ หลากหลาย ทัง้ กลุม ผูช ายทีช่ อบสบูแ บบเรียบๆ เนน สมุนไพรและ การใชงาน กลุ  ม ผู  ห ญิ ง ช อ บ ส บู  ที่ มี สี สั น ก ลิ่ น หอม ถนอม แ ล ะ บ� ำ รุ ง ผิ ว พ ร ร ณ

10

ชี้ช่องส่งออก SMEs

ส  ว นกลุ  ม เด็ ก จะเป น แนวแฟนตาซี เป น รู ป สั ต ว นารักๆ ทีจ่ ะเปน สิง่ ดึงดูดใหเ ด็กๆ อาบน�ำ้ ได นอกจาก นี้ยังมีสบูที่เปนของช�ำรวย ซึ่งเราจะผลิตใหไดตาม โอกาสและเทศกาล ทุกวันนี้สบูกลายเปนรูปแบบ แฟชั่น เพราะสามารถใชเปนสินคาอุปโภคไดดวย หรือจะซื้อไปเปนของฝากของขวัญ ตองบอกวางาน ทุกชิน้ ทุกดีไซนข องเราคุณภาพและมาตรฐานสง ออก ราคาไมแ พง ซึง่ ถาดูจากรูปแบบสบูแ ลว ลูกคาจะคิด วา สบูกอนละเปน 100 แนๆ ซึ่งตรงกันขาม สบูของ เรามีราคาเริม่ ตน เพียงกอ นละ 50 บาท เทานัน้ แตว า ทุกกอนราคาต�่ำกวารอยทั้งนั้น ทุกคนที่มาเห็นงาน จะไมกลาเขามาในรานเพราะคิดวาสินคาแพง” คุณ อรวรรณ กลาว คุณอรวรรณ กลา วตอ วา โดยเฉลีย่ สบู 1 กอ น มีน�้ำหนัก 100 กรัม ราคาจ�ำหนายปลีกจะแบงเปน 3 กลุม กลุมสบูกอนธรรมดา ราคา 50 บาท สบูแบบที่มี สายเชือก กอนละ 60 บาท กลุมสบูแฟนซี เชน หมี ไอศกรีม กอนละ 80 บาท สบู Iwish มีวางจ�ำหนายที่ เจเจ มอลล ชั้น 1 (ฝงแบล็คแคนยอน) และ CDC โครงการ 2 ส�ำหรับกลุมลูกคา สวนใหญของบริษัท จะเปนสองกลุม ไดแก กลุมที่เริ่มธุรกิจ ซื้อมาขายไป แลวไปสรางแบรนดตัวเอง บางคนลงทุนประมาณ 30,000 - 50,000 บาท ท�ำสบูขึ้นมา 1-2 ตัว ก็น�ำไป ท�ำตลาดขายได สวนอีกกลุมเปนบริษัทที่มีธรุ กิจเครือ่ งส�ำอาง อยากเพิ่มไลนธุรกิจ ก็มาสั่งสบูเพิ่ม เปนลักษณะเพิ่ม ไลนผลิต สวนใหญเปนบริษัทในกลุมสปา โรงแรม รี ส อร  ท ร  า นค า ทั่ ว ไป ร า นขายสิ น ค า ตามแหล ง ทองเที่ยว ก็มารับสินคาจาก Iwish ไปจ�ำหนาย รวมถึง สงออกดวย อาทิ ตุรกี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด อินเดีย ดูไบ จีน ญี่ปุน สนใจธุรกิจติดต่อได ท้ ี่ บริษัท Iwish Natural Product จ�ำกัด เลขที่ 82 ซอยลาดพราว 95 แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 12310


ตราสัญลักษณคุณภาพ

ชี้ช่องส่งออก

Thailand Trust Mark

มจ ะเปน หนว ยงานทีม่ มี ากวา 20 ป แต “ส�ำนัก สงเสริมมูลคาเพิ่มเพื่อการสงออก” มีภารกิจ ที่ทันสมัยและมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหเขากับ ยุคสมัยอยา งตอ เนือ่ ง จนปจ จุบนั ทัง้ ภาคอุตสาหกรรม ที่มีความตื่นตัว และดีไซเนอรไดรับการยอมรับทั้งใน และตา งประเทศมีจำ� นวนมากขึน้ การเปด โอกาสใหท งั้ นักออกแบบทีเ่ ปน นักธุรกิจหรือผูป ระกอบการมีโอกาส ที่จะน�ำเสนอคอลเลคชั่นใหมๆ ออกสูตลาดมากยิ่งขึ้น ทางส�ำนักฯ จึงไดตอ ยอดทางดานการตลาด โดยใชเ ครือ่ ง หมายตา งๆ เชน Thailand’s Brand, DE mark และ ลา สุด คือ Thailand Trust Mark (TTM) ม.ล. คฑาทอง ทองใหญ ผูอ ำ� นวยการส�ำนัก สงเสริมมูลคาเพิ่มเพื่อการสงออก กรมสงเสริมการ สง ออก กลา วถึงโครงการ Thailand Trust Mark วา “ผลจากการส�ำรวจตลาดในภูมิภาค เมื่อ 2 ปที่แลว ท�ำใหเห็นไดชัดวา สิ่งที่เรายังครองแชมปอยูทุกวันนี้ คือ เรื่องของชื่อเสียงในแงการผลิตสินคาที่มีคุณภาพ สูง ไวใจได ถาเปนเรื่องการบริการ เรามี service mind ยิม้ แยม อบอุน มีความเปน ไทย ซึง่ เราน�ำ ‘จุด แข็ง’ เรือ่ งของคุณภาพทีไ่ วว างใจไดมาเปน ‘จุดขาย’ ของ Thailand Trust Mark โดยมุง เนนทีจ่ ะสือ่ สาร trusted quality ความไววางใจในคุณภาพของสินคา ที่ผลิตในประเทศไทย ไดเปดตัวอยางเปนทางการเมื่อ เดือนมกราคม 2555 นีเ้ อง” หลักเกณฑห รือคุณสมบัตขิ องการเปน สมาชิก TTM ผูส ง ออกตอ งเปน สมาชิกผูส ง ออก (Exporter List) หรือเปน Inter trader หรือเปน บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนใน ประเทศไทยและผลิตสินคาในประเทศ ดว ยทางโครงการ เปดกวาง เนน Made in Thailand เปนหลัก ซึ่ง ในแต ล ะอุ ต สาหกรรมมี ข  อ ก� ำ หนดมาตรฐานที่ แตกต า งกั น ไป แบ ง เป น 5 ประเภทอุตสาหกรรม ไดแก อุตสาหกรรมหนั ก อุ ต ส า ห ก ร ร ม ทั่ ว ไ ป อุ ต สาหกรรมไลฟ ส ไตล  อุตสาหกรรมอาหาร และ อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ และ ม.ล.คฑาทอง ทองใหญ่ อีกหมวดหนึ่ง คือ ธุรกิจ

บริการ ไดแก โรงพยาบาล สถาบันการศึกษา และ สปา โดยเปด รับสมัคร ปล ะ 3 ครัง้ ไมจ ำ� กัดจ�ำนวน ใน ครัง้ แรกมีผไู ดร บั TTM แลว จ�ำนวน 86 ราย พรอ มทัง้ เปดโอกาสใหกับผูที่เปนสมาชิก Thailand’s Brand ประมาณ 600 ราย สามารถสมัครไดทันทีเพราะมี คุณสมบัติครบอยูแลว และสมาชิกของกรมฯ ที่มีอีก กวา หมืน่ ราย การใชต ราสัญลักษณบ นสินคา และบรรจุภณ ั ฑ สามารถน�ำไปพิมพหรือติดบนสินคาและบรรจุภัณฑ ด วยเทคนิ คการพิ ม พ รู ปแบบต า งๆ รวมทั้ งงานติ ด สติ๊กเกอร หรือการวางตราสัญลักษณบนปายหอย ที่เดนชัดและเหมาะสม ซึ่งจะชวยสรางความมั่นใจใน คุณภาพที่เปนการเลือกสรรและรับรองวาเปนสินคา ชัน้ เยีย่ มจากประเทศไทย โดยกรมสง เสริมการสง ออก กระทรวงพาณิชย สิ่งที่ผูสงออกจะไดรับนอกเหนือไป จากจะไดรับความไววางใจจากผูบริโภคแลว ดวยตรา สัญลักษณ TTM ซึง่ สามารถติดบนผลิตภัณฑห รือบริษทั ทางกรมฯ ยังมีการประชาสัมพันธและการตลาด ทั้ง ในประเทศและตา งประเทศในรูปแบบตา งๆ อาทิ การ ลงสื่อประชาสัมพันธโครงการ การไดเขารวมแสดง สินคา โดยไดรับการพิจารณาเปนอันดับแรก รวมถึง ทางกรมฯ ก�ำลังพิจารณาสิทธิประโยชนเ รือ่ งทุนอุดหนุน หรือคาใชจายสมทบใหแกสมาชิกที่เขารวมงานแสดง สินคา ตา งๆ “เราคาดวาสมาชิ ก TTM ในอนาคตจะ มีเปนพันเปนหมื่นราย โดยครั้งตอไปมีก�ำหนดเปดรับ สมัครในเดือนมิถนุ ายนนี้ ผมอยากจะเชิญชวนผูส ง ออก ที่อยากจะใหประเทศไทยเปนที่ยอมรับในเรื่องของ การผลิตสินคาที่มีคุณภาพสูง มาเปนสมาชิก TTM รวมกันสรางภาพลักษณที่ดีใหกับประเทศชาติ ผม เชื่อวาตรงนี้เปนจุดเริ่มตน เมื่อตลาดยอมรับในสินคา และบริ ก ารแล ว คนตางชาติ ก็ จ ะมาท อ งเที่ ย วใน ประเทศไทยมากยิ่ ง ขึ้ น เพราะไว ว างใจได แม ว า อนาคตตลาดจะเปลี่ ย นไป แต ว าความไว ว างใจ ประเทศไทยเปนสิ่งที่ถาวรจะอยูในใจของคนตางชาติ มากยิง่ ขึน้ ” ม.ล. คฑาทอง กลา ว สนใจขอรายละเอียดข อ้ มูลเพิม่ เติมได้ที่ ส�ำนักส่งเสริม มูลค่าเพิ่ มเพื่อการส่งออก โทร. 0-2507-8270, 0-2507-8274 หรือ www.ditp.go.th

ชี้ช่องส่งออก SMEs 11


SMEs Logistics

R

เทคโนโลยี โลจิสติกส

adio Frequency Identification (RFID) คือ เทคโนโลยีที่ใชคลื่นวิทยุเพื่อการบงบอกขอสนเทศ เกี่ยวกับคน สัตว หรือสิ่งของโดยอัตโนมัติ ซึ่งเปน เทคโนโลยีหนึ่งของ Automatic Identification (AutoID) ที่น�ำมาใชเพื่อชวยใหเครื่องจักร สามารถบงบอก พิสูจนทราบ หรือชี้ตัว สิ่งของ เชนเดียวกับบารโคด สมารท การด การอานตัวอักษรทางแสง (OCR) หรื อ ระบบไบโอเมตริ ก ทั้ ง หมดเป  น Identification technology ซึ่งใชกัน อยางแพรหลายมาแลวเปนเวลาหลาย สิบป โดยมีหลายวิธีการดวยกันที่ใชใน การพิสูจนทราบหรือชี้ตัวสิ่งของ แตที่ใชกันมากที่สุด คือ เพื่อการเก็บขอสนเทศในไมโครชิปที่มีสายอากาศ (ชิป+สายอากาศ เรียกวา “RFID transponder” หรือ “RFID Tag” สายอากาศท�ำใหชิปสามารถถายทอด “ขอมูลไอดี” ไปยัง “ตัวอาน” เพื่อใหตัวอานแปลง คลื่นวิทยุที่ปรากฏจากปายอารเอฟไอดีใหเปนขอสนเทศ ดิจิทัลที่สามารถผานตอไปยังเครื่องคอมพิวเตอรหรือ เครื่องพีแอลซีของระบบควบคุมได ในอุตสาหกรรมการผลิตและการจัดการโลจิสติกส และซัพพลายเชนทุกวันนี้ มีการใช RFID ในสายการผลิต ระบบสายพานล�ำเลียง การผลิตเชิงอุตสาหกรรม คลัง วั ส ดุ / สิ น ค า โลจิ ส ติ ก ส การจ� ำ หน า ย การทดสอบ และการขนส ง ระบบ RFID มั ก จะถู ก ใช ง านด ว ย วัตถุประสงคตา งๆ อาทิ เพือ่ ใหถงึ ขีดทีไ่ ดผ ลดีทสี่ ดุ ส�ำหรับ การไหลของวัสดุและโลจิสติกส เพื่อการผลิตที่เกี่ยวของ กั บ อุ ต สาหกรรมหนั ก ที่ มี ส ภาพแวดล อ มรุ น แรงและ อากาศปนเปอน เชน การท�ำตัวถังรถยนต การพนสี และ การประกอบขั้นสุดทายในสายการผลิตรถยนต และ อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ มี อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งใช ไ ฟฟ า อุตสาหกรรมแกวและเซรามิก เปนตน อีกทั้งเพื่อการ จ�ำหนา ยสินคา การขนสง และโลจิสติกสส ำ� หรับคลังสินคา เชน ในงานสงเอกสารคลังสินคารวมถึงการรับใบสั่งของ การชีต้ วั ตูค อนเทนเนอรห รือเรือทีข่ นสง การชีต้ วั รถขนสง เพลเล็ต หีบหอ หรือ ตูคอนเทนเนอรบรรจุนอย การ

12

ชี้ช่องส่งออก SMEs

ควบคุมการบรรจุและการจัดจายจ�ำหนายดวยบันทึก น�ำสงทางอิเล็กทรอนิกส การชี้ตัวชิ้นสวนส�ำหรับสิ่งทอ และเครื่องนุงหม และอื่นๆ รวมถึงการสงหีบหอและการ ติดตาม เปนตน การใช เ ทคโนโลยี RFID นี้ มี ประโยชนในการจัดการส�ำหรับผูป ระกอบการ เป  น อย  า งมาก ท� ำ ให  ผู  ส  ง ออกสามารถ ควบคุมการบรรจุ การจัดการวัตถุดิบหรือ อุปกรณในการผลิต รวมไปถึงติดตามสินคา การขนสง และการจัดจ�ำหนายได ระบบที่ จะชว ยลดตน ทุนในการใชแ รงงาน ลดความ ผิดพลาดในการสงสินคาผิด อีกทั้งยังชวย เพิ่มผลิตภาพในการผลิต ลดขั้นตอนในการตรวจสินคา ลดปริมาณหรือสัดสวนของสต็อกทีเ่ สียหาย สูญหาย หรือ หมดอายุ เปนตน อยางไรก็ตาม หากจะใชเทคโนโลยีนใี้ นโลจิสติกส จะต อ งค� ำ นึ ง ถึ ง การเลื อ กใช  อุ ป กรณ  RFID คื อ Carrier Frequencies ซึ่งหมายถึงคุณสมบัติของ คลืน่ วิทยุทจี่ ะใชสง ขอมูล หรือพูดอีกนัยหนึง่ คือความเขม ของคลืน่ วิทยุทจี่ ะใชสง ขอสนเทศ คลืน่ ความถีท่ ใี่ ชมที งั้ คลื่นความถี่ต�่ำ (LF) คลื่นความถี่สูง (HF) และคลื่น ความถีส่ งู มาก ๆ (UHF) ระบบ RFID อาจจะใชย านความ ถีห่ นึง่ ๆ ของคลืน่ วิทยุ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั งาน ขอก�ำหนดทาง กฎหมาย และทีส่ ำ� คัญคือราคาทีเ่ หมาะสมกับงาน ทีม่ าขอมูล : ดร.นระ คมนามูล. RFID ส�ำหรับอุตสาหกรรม

การผลิต โลจิสติกสและซัพพลายเชน. ออนไลน. http:// www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php ?passTo=f241731bd26874e0a13071a66b4f289d &pageid=7&bookID=589&read=true&count=true. สืบคน 8 พฤษภาคม 2555. ผศ.ดร.พงษ ชั ย อธิ ค มรั ต นกุ ล . เอกสารบรรยายเรื่ อ ง “เทคโนโลยี RFID กับระบบโลจิสติกส”. ศูนยความเปน เลิศดานโลจิสติกส, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี. ออนไลน. http://www.rfid.or.th/webdatas/ Download/RFID_Logistic.pdf สืบคน 8 พฤษภาคม 2555.


ชี้ช่องส่องทาง ค�ำถาม ที่หนึ่ง

หนังสือรับรองแหลงก�ำเนิดสินคา Form D คืออะไร?

ค�ำตอบ Form D เปนหนังสือรับรองแหลงก�ำเนิดสินคาประเภทหนึ่งใชในการ ใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรกับสินคาที่มีถิ่นก�ำเนิดในกลุมประเทศอาเซียน ดวยกัน ภายใตขอตกลงวาดวยการใชอัตราภาษีพิเศษที่เทากัน (CEPT) ส�ำหรับเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) โดยสามารถยื่นขอหนังสือรับรอง Form D ไดที่หนวยงานที่มีอ�ำนาจออกหนังสือรับรองฯ ของกรมการคาตาง ประเทศ หรือทีศ่ นู ยบ ริการสง ออกแบบเบ็ดเสร็จ กรมสง เสริมการสง ออก ถ.รัชดาภิเษก ·‹ÒÂ×¹á¹Ð¹Ó โดยมีเอกสารประกอบการยื่นขอ Form D ดังนี้ 1. ใบก�ำกับสินคา (Commercial Invoice) ตนฉบับ หรือส�ำเนา 2. ใบตราสงสินคา (Bill of Lading – B/L) หรือใบรับขนสงสินคาทางอากาศ (AirWaybill) หรือเอกสารแสดงการขนสงสินคาอื่นๆ ตนฉบับ หรือส�ำเนา 3. หนังสือรับรองอัตราสวนตนทุนการผลิตสินคาทั่วไป หรือส�ำเนา 4. หนังสือรับรองรายละเอียดขั้นตอนการผลิตสินคาสิ่งทอ (กรณีสินคาพิกัด 50-63) 5. หนังสือแจงผลการตรวจคุณสมบัติของสินคาทางดานถิ่นก�ำเนิด เพื่อขอใชสิทธิพิเศษทาง ดานภาษีศุลกากร (กรณีสินคาพิกัด 25-97)

ค�ำถาม ที่สอง

ผูประกอบการโลจิสติกส ไทยควรจะปรับตัวอยางไรภายใต AEC ?

ค�ำตอบ ตามขอตกลงในการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดมีการวางแผนในการ เปดเสรีภาคบริการใน 5 สาขา ไดแก สาขาสุขภาพ สาขาทองเที่ยว สาขาคอมพิวเตอรและ โทรคมนาคม สาขาขนสงทางอากาศ และสาขาโลจิสติกสภายในป พ.ศ. 2556 (ค.ศ.2013) ประเทศไทยตองเปดเสรีการคาบริการสาขาโลจิสติกส ตามขอตกลงดังกลาวซึ่งประเทศใน กลุม อาเซียนสามารถเขา ไปลงทุนโดยถือหุน ได 70% ในธุรกิจโลจิสติกส ดังนัน้ ผูป ระกอบการ โลจิสติกสไทยจะตองมีการวางแผนเพื่อรองรับการแขงขันจากบริษัทตางประเทศที่มี เทคโนโลยีทที่ นั สมัยกวา ซึง่ ผูป ระกอบการสาขาโลจิสติกสไ ทยควรมีแผนเพือ่ พัฒนาระบบ โลจิสติกสใหสามารถแขงขันในสภาวะที่มีการเปดเสรีการคาบริการสาขาโลจิสติกส ภายใต AEC อาจมีการตั้งส�ำนักงานและศูนยบริการอยูตามเมืองใหญในประเทศตางๆ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ·‹ÒÂ×¹á¹Ð¹Ó ข้อมูลโดย ส�ำนักส่งเสริมธุรกิจ SMEs เพื่อการส่งออก กรมส่งเสริมการส่งออก

ชี้ช่องส่งออก SMEs 13


Activities update 2555

กิจกรรมงานแสดงสินคานานาชาติ จัดโดยกรมสงเสริมการสงออก ประจ�ำเดือนมิถุนายน

งานแสดงสินคาแฟชั่นและเครื่องหนัง (Bangkok International Fashion Fait & Bangkok International Leather Fair 2012) วันเจรจาธุรกิจ 27 - 29 มิถุนายน 2555 เวลา 10.00 – 18.00 น. วันจ�ำหนายปลีก 30 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2555 เวลา 10.00 - 20.00 น. ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี

บอกเล่าเก้าสิบ

สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สงออกไทยกับการกาวเขาสู AEC” รุ่นที่ 2 ระหวางวันที่ 19-20 มิถุนายน 2555 ณ กรมสงเสริมการสงออก ถนนรัชดาภิเษก รับเฉพาะสมาชิกกรมส่งเสริม การส่งออกจ�ำนวนจ�ำกัดเพียง 50 ทาน โดยไมเสียคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น สนใจติดตอขอใบสมัครไดที่ ส�ำนักสงเสริมธุรกิจ SMEs เพื่อการสงออก โทร. 0-2507-8162-63 และ 0-2507-8166-68 ในวัน และเวลาราชการ ชองทางหนึ่งส�ำหรับการอานจุลสารชี้ชองสงออกฉบับยอนหลัง สามารถสืบคนไดที่ เว็บไซตกรมสงเสริมการสงออก www.ditp.go.th กิจกรรมพัฒนาผูประกอบการไทย DITP SMEs Club ผู  ป ระกอบการท  า นใด สนใจสมั ค รเป  น สมาชิ ก กรมส ง เสริ ม การส ง ออก ประเภท DITP SMEs Club สามารถขอรับเอกสารใบสมัครไดที่ ส�ำนักสงเสริมธุรกิจ SMEs เพื่อการสงออก ตึ ก กรมส  ง เสริ ม การส  ง ออก 2 กระทรวงพาณิ ช ย  สอบถามข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได ที่ ห มายเลข 0-2507-8162-63 0-2507-8166-68 ในวัน และเวลาราชการ หรือทาง E-Mail: depsmeclub@ gmail.com กรมสงเสริมการสงออก ไดจัดกิจกรรมสงเสริมและพัฒนาผูสงออก ประจ�ำป 2555 อาทิ กิ จ กรรมงานแสดงสิ น ค  า ในประเทศ/ต  า งประเทศ และกิ จ กรรมการฝ ก อบรม/สั ม มนา การค า ระหว า งประเทศ ท  า นสามารถเข  า ไปสื บ ค  น ได  ที่ เว็ บ ไซต www.ditp.go.th กิ จ กรรม ส  ง เสริ ม การตลาด ส่ ว นงานแสดงสิ น ค้ า นานาชาติ ใ นประเทศ และต่ า งประเทศ ส� ำ นั ก กิ จ กรรมส  ง เสริ ม การส ง ออกเป  น ผู  ดู แ ล (บางกระสอ) หรื อ สอบถามข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได ที่ หมายเลข 0-2507-7842 ในวัน และเวลาราชการ สวนกิจกรรมพัฒนาผูประกอบการไทย สถาบัน ฝกอบรมสัมมนาการคาระหวางประเทศเปนผูดูแล สามารถสอบถามเพิ่มเติมไดที่ สถาบันฝกอบรม การคาระหวางประเทศ (ถนนรัชดาภิเษก) หมายเลข 0-2512-0093-104 ตอ 326, 329, 358 และ 360 ในวัน และเวลาราชการ

• • •

14

ชี้ช่องส่งออก SMEs


เส้นทางเครือข่ายคมนาคมอาเซียน... เพื่อโอกาสทางการค้า ความส�ำคัญของอาเซียนที่มีต่อผู้ประกอบการไทย ไม่ได้มีแต่เพียงเฉพาะการเป็นตลาดขนาดใหญ่ด้วยประชากร รวมมากถึง 600 ล้านคนที่พร้อมจับจ่ายใช้สอยเพิ่มขึ้น และ มูลค่าส่งออกของไทยไปอาเซียนทีม่ สี ดั ส่วนถึง 25% ของมูลค่า ส่งออกรวมในแต่ละปีเท่านัน้ แต่ประเด็นทีก่ ำ� ลังเป็นทีส่ นใจอยู่ ในขณะนี้ คือ การก้าวสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี 2558 ซึ่งจะยิ่งเป็นแรงเสริมให้ผู้ประกอบการสามารถ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ทุน และแรงงาน ระหว่างประเทศ อาเซียนได้อย่างเสรี และเป็นโอกาสส�ำหรับผู้ประกอบการใน การขยายตลาดสินค้าและบริการไปยังตลาดอาเซียนได้มากขึน้ การศึ ก ษาเส้ น ทางคมนาคมที่ เ ชื่ อ มต่ อ ถึ ง กั น ใน อาเซียนเพื่อประโยชน์ในการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ระหว่างกันจึงเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ผู้ประกอบการไม่ควร ละเลย โดยเฉพาะเส้นทางเศรษฐกิจที่พาดผ่านประเทศไทย ได้แก่ เส้นทางเศรษฐกิจตามแนวเหนือ-ใต้ (เชือ่ มระหว่างเมือง คุนหมิง เมืองหลวงของมณฑลยูนนานของจีนมายังกรุงเทพฯ) เส้นทางเศรษฐกิจตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (เชือ่ มระหว่าง เมืองดานังของเวียดนาม ผ่าน สปป.ลาว และไทย จนไปสิ้นสุด ทีเ่ มืองเมาะละแหม่งของพม่า) และเส้นทางเศรษฐกิจตามแนว ใต้ (เชื่อมระหว่างนครโฮจิมินห์ของเวียดนาม ผ่านกัมพูชาและ ไทย จนไปสิ้นสุดที่เมืองทวายของพม่า) รวมถึงเส้นทางรถไฟ สิงคโปร์-คุนหมิง (Singapore-Kunming Rail Link : SKRL) ซึง่

สาระน่ารู้ จาก

ผู้ประกอบการไทยสามารถใช้ประโยชน์จากเส้นทางคมนาคม ดังกล่าวเป็นช่องทางในการขยายตลาดสินค้า และบริการ หลากหลายประเภท โดยเฉพาะตลาดสินค้าอุปโภคบริโภคใน ประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นตลาดที่ยังขยายตัวดี และมีก�ำลัง ซื้อเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง อีกทั้งสินค้าไทยถือเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ดี ท�ำให้ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้บริโภคในประเทศ เพื่อนบ้านมาโดยตลอด นอกจากนี้ ในอนาคตเครือข่ายคมนาคมในอาเซียนมี แนวโน้มจะเชือ่ มโยงถึงกันมากขึน้ เนือ่ งจากมีการจัดตัง้ กองทุน สาธารณูปโภคพื้นฐาน (ASEAN Infrastructure Fund : AIF) เพื่อพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในส่วนที่ยังขาดแคลน และเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งระหว่างกัน ซึ่งไม่เพียงแต่ จะช่วยให้การเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการที่ค้าขายกันอยู่ใน ปัจจุบันได้รับความสะดวกมากขึ้น แต่ยังมีส่วนช่วยเพิ่มโอกาส ทางการค้าให้กับสินค้าประเภทชิ้นส่วนส�ำหรับอุตสาหกรรม ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งคาดว่าจะเป็น ทีต่ อ้ งการมากขึน้ ตามการลงทุนจากต่างประเทศทีห่ ลัง่ ไหลเข้า สู่อาเซียนซึ่งเป็นฐานการผลิตส�ำคัญของอุตสาหกรรมเหล่านี้ ส�ำหรับผู้ที่สนใจรายละเอียดของเส้นทางคมนาคม ในอาเซียน สามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www. thaifta.com/thaifta/Portals/0/GMS_Corridor.pdf

Disclaimer : ข้อมูลต่างๆ ทีป่ รากฏ เป็นข้อมูลทีไ่ ด้จากแหล่งข้อมูลทีห่ ลากหลาย และการเผยแพร่ขอ้ มูลเป็นไปเพือ่ วัตถุประสงค์ในการให้ขอ้ มูลแก่ผทู้ สี่ นใจเท่านัน้ โดยธนาคารเพือ่ การส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยจะไม่รบั ผิดชอบในความเสียหายใดๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการทีม่ บี คุ คลน�ำข้อมูลนีไ้ ปใช้ไม่วา่ โดยทางใด

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ DITP Call Center 1169

ชี้ช่องส่งออก SMEs 15



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.