Green Reserch ฉบับที่ 21

Page 1

Research

ðŘìĊęǰ ǰÞïĆïìĊęǰ ǰêčúćÙöǰ ǰ ÔöôýŞÚďýöćô×ċæóąñýćėÚĐúçøşĀô

ISSN : 1686-1612


สารบัญ

บรรณาธิการ

ชวนคุย ปญหาดานสิ่งแวดลอม ยังคงถูกหยิบยกมาตั้งเปนประเด็นในการ พูดคุยกันอยูอยางตอเนื่อง เรียกไดวาไมมีการตกยุคแตอยางใด ไมวา ตนเหตุของปญหานั้นจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากนํ้ามือมนุษย !!! จึงเปนอีกหนึง่ บทบาทของนักวิจยั ทีจ่ ะตองคนควา ทดลอง เพือ่ เผยแพร แกสาธารณะใหไดเห็นและตระหนักถึงความรายแรง รวมถึงแนวทาง การแกปญหานั้นๆ Green Research ฉบับนี้ นํางานวิจยั ใหมๆ ทีน่ า สนใจมาเผยแพร อีกเชนเคย จากเหตุการณนํ้าทวมชวงปลายปที่ผานมา หลายทานมีความเชื่อ และใช EM ชวยในการบําบัดนํา้ เสียจากการทวมขัง จุลนิ ทรียต วั นีท้ าํ งาน อยางไร และสามารถชวยบําบัดนํ้าเสียไดจริงหรือไม ? ฉบับนี้เราไดทราบคําตอบกัน จริงหรือที่การใชยายอมผมมีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคมะเร็ง !!! ทําความรูจักและการพัฒนาพลังงานจากเซลลแสงอาทิตยเพื่อใช ประโยชนในชีวติ ประจําวัน การพัฒนาอยางตอเนือ่ งนีก้ า วไกลไปถึงไหนแลว รวมไปถึงการผสมผสานระหวางภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ กับหลักวิชาการ เขาดวยกันในการจัดการกับขยะทีม่ ปี ริมาณเพิม่ มากขึน้ ดวยการทํางาน ของระบบเตาเผาขยะชีวมวลไรควันของไทยและพัฒนาการของระบบ เตาเผาขยะที่ญี่ปุน ภายในเลม ยังมีบทความดานงานวิจัยเดนๆ ที่นาสนใจและมี ความสําคัญตอมนุษยและสิ่งแวดลอม ไมวาจะโดยตรงหรือทางออม เชิญรวมเดินทางไปกับเราไดเลย พบกันใหมฉบับหนา...

Contents เรื่องเดนประจําฉบับ 1 การศึกษาประสิทธิภาพ EM ของจุลินทรียในการบําบัด 7 9

นํ้าเสีย เตาเผาขยะชีวมวลไรควัน การจัดการขยะดวยระบบเตาเผาขยะ เมืองโตเกียว ประเทศ ญี่ปุน

ติดตามเฝาระวัง 11 ยายอมผมกับความเสี่ยงเปนโรคมะเร็ง 15 ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมีทางการเกษตร 17 จากแหลงนํ้าดิบที่ปนเปอน 19

“สูนํ้าดื่ม กับสุขภาพที่ไมควรมองขาม” ซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส

กาวหนาพัฒนา 23 เซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) : พลังงานสะอาดเพื่อ 25 29

สิ่งแวดลอม การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ในการทํางาน (SHE) ในโรงงานผลิตนํา้ มันจากยางรถยนตเกา ไมใชแลว กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมกับการสงเสริมการศึกษา วิจัยดานสิ่งแวดลอมอยางมีสวนรวม

พึ่งพาธรรมชาติ 32 ชีวภาพ-ชีวมวล-ความหลากหลายทางชีวภาพ-เทคโนโลยี ชีวภาพสูการจัดตั้งสังคม Satoyama (Satoyama Initiative)

คณะผูจัดทํา

บรรณาธิการ

ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เทคโนธานี ตําบลคลองหา อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0-2577-4182-9 โทรสาร 0-2577-1138

วสุวดี ทองตระกูลทอง

ที่ปรึกษา

กองบรรณาธิการ

โสฬส ขันธเครือ มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย นิตยา นักระนาด มิลน ศิรินภา ศรีทองทิม หทัยรัตน การีเวทย รุจยา บุณยทุมานนท จินดารัตน เรืองโชติวิทย ณัญธิกานต ทะเสนฮด

จตุพร บุรุษพัฒน รัชนี เอมะรุจิ ภาวินี ปุณณกันต

บรรณาธิการบริหาร สุวรรณา เตียรถสุวรรณ

ติดตอขอเปนสมาชิก สวนความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม โทรศัพท 0-2577-4182-9 ตอ 1226, 1215, 1121, 1102 โทรสาร 0-2577-1138 www.deqp.go.th/website/20/


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ

การศึกษาประสิทธิภาพ

EM

ในการบําบัดนํ้าเสีย

มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย ชวลา เสียงลํ้า อนุพงษ ปุณโณทก รุงอรุณ สุขสําราญ และ ชัชสกล ธนาดิลก

ปญหาและที่มาของงานวิจัย

สื

บเนื่องจากปญหาอุทกภัยของประเทศไทยในป พ.ศ. 2554 ทําใหประชาชนไดรับผลกระทบเปนจํานวนมากถึง 12.8 ลานคน ครอบคลุมพื้นที่ 63 จังหวัด คิดเปนพืน้ ทีก่ วา 150 ลานไร นิคมอุตสาหกรรมหลายแหงตองปดตัวลง สงผลเสียตอเศรษฐกิจของประเทศ มูลคาความเสียหายมากถึง 1.44 ลานลานบาท (1) สิง่ ทีต่ ามมาคือปญหาดานสาธารณสุข เนือ่ งจากนํา้ ทีท่ ว มขังไดชะเอาสิง่ ปฏิกลู และขยะจากหลายแหลงมารวมกัน ทําใหนาํ้ เนาเสีย โดยสาเหตุเกิดจากสารอินทรียใ นนํา้ มีปริมาณสูง เมือ่ เกิดการยอยสลายโดยจุลนิ ทรีย ทําใหนาํ้ มีปริมาณออกซิเจนลดลง และในทีส่ ดุ อาจกอใหเกิด สภาวะไรอากาศซึ่งสงกลิ่นเหม็นรบกวนการอยูอาศัยของประชาชนในบานเรือนที่มีนํ้าขัง และนอกจากนั้นยังสงผลเสียตอการดํารงชีพของปลาและ สัตวนาํ้ ตางๆ อีกดวย ปญหานี้ นอกจากจะสงผลตอสุขภาพของผูท ตี่ อ งสัมผัสกับแหลงนํา้ เปนเวลานานแลวยังสงผลตอสุขภาพจิตของผูป ระสบภัยอีกดวย จากปญหานํ้าเนาเสียดังกลาว รัฐบาลไดแกไขปญหาโดยการแจกจายกลุมจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพหรืออีเอ็ม (EM) เพื่อมาใชในการบําบัด นํ้าเสียที่ทวมขังตามบานเรือนและชุมชนจนเกิดความเขาใจในหมูประชาชนวาการใชอีเอ็ม สามารถนํามาใชในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าได

อี เ อ็ ม มาจากคํ า ว า “Effective Microorganisms” เป น เครื่องหมายการคาของบริษัท EM Research Organization, Inc. มีสํานักงานใหญอยูที่เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุน โดยทั่วไป อีเอ็ม หมายถึง สวนผสมของเหลวที่มีจุลชีพแบบไมใชอากาศ (anaerobic Organisms) โดยจุลชีพเหลานี้สามารถอยูรวมกันไดและมีประโยชน กั บ สภาพแวดล อ ม จุ ล ชี พ เหล า นั้ น ได แ ก Lactobacillus casei (แบคทีเรียกรดแลคติค), Rhodopseudomonas palustris (แบคทีเรีย สังเคราะหแสง), Saccharomyces cerevisiae (ยีสต) และจุลชีพอื่นๆ ที่อยูในสภาพธรรมชาติของสวนผสมอีเอ็ม มีนกั วิชาการออกมาแสดงความเห็น ใหขอ มูล รวมถึงวิพากษวจิ ารณ เกี่ยวกับการใชอีเอ็มในการบําบัดนํ้าเสียกันอยางมาก เชน อาจารยจาก คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกลาววา การใชอีเอ็ม ในรูปแบบที่ไมเหมาะสม อาจสงผลทําใหเกิดปญหานํ้าเนาเสียจนทําให เกิดการขาดออกซิเจนที่รุนแรงขึ้นกวาเดิม และอีเอ็มที่ใสเขาไปไมมี ความสามารถในการสรางออกซิเจนแตอยางใด นอกจากนี้ องคประกอบของ อีเอ็มกอนที่รูจักกันในชื่อ EM ball หรือ Micro ball ซึ่งมีการปนโดยใช องคประกอบเปนสารอินทรียตางๆ เชน กากนํ้าตาล และ รําขาว จะยิ่ง สงผลใหเกิดการเนาเสียของแหลงนํา้ เพิม่ ขึน้ อีกดวย เพราะการเติมอีเอ็ม ลงในนํา้ เปนการเพิม่ สารอินทรียใ หกบั นํา้ นัน้ หรือพูดอีกนัยหนึง่ เปนการเติม ความสกปรกในรูปของบีโอดีใหกับนํ้านั่นเอง จากเหตุการณสึนามิใน ประเทศญี่ปุน หนวยงานของรัฐบาลญี่ปุนไดทําการทดลองเพื่อศึกษา ความสามารถของอี เ อ็ ม ในการบํ า บั ด นํ้ า เสี ย แล ว พบว า อี เ อ็ ม ที่ ใช

ไมไดชวยในการบําบัดนํ้าเสียแตอยางใด(2) ทําใหเกิดคําถามในสังคมวา EM สามารถปรับปรุงคุณภาพนํ้าทวมขังไดจริงหรือไม ประกอบกับใน ประเทศไทย ยังไมมีรายงานหรือหลักฐานยืนยันขอมูลเชิงวิจัยที่แนชัด เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ จากขอมูลดังกลาวจึงเปนทีม่ าของการศึกษาอีเอ็มตอการ ปรับปรุงคุณภาพนํ้าเสียในสภาวะนํ้าทวมขัง

จุดประสงคของงานวิจัย

เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเสียของอีเอ็ม สูตรตางๆ โดยการเปรียบเทียบคุณสมบัติของอีเอ็ม 3 ชนิดดวยกัน โดยใช นํ้ า ที่ เ กิ ด จากการท ว มขั ง ของระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ของหอพั ก รักษสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม นานเปนเวลา 1 เดือน มาศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของนํา้ กอนและหลังบําบัดตามสูตร ของอีเอ็มแตละสูตร

ขอบเขตของงานวิจัย

คัดเลือกอีเอ็มที่มีการใชกันอยางแพรหลายในขณะนี้ 3 ชนิด มา ศึกษาประสิทธิภาพอันไดแก 1. อีเอ็มนํ้าสูตรกรมพัฒนาที่ดิน (พด. 6) 2. อีเอ็มกอนสูตรกสิกรรมธรรมชาติ (EM ball) 3. อีเอ็มนํ้าสูตรของบริษัท EM Research Organization, Inc. (EM นํ้า) ติดตามคุณภาพนํ้า เชน ความขุน คาออกซิเจนละลายนํ้า ปริมาณ ความสกปรกของสารอินทรีย คาสารอาหารพืช และจุลนิ ทรียท เี่ ปนดัชนี ชี้วัดของนํ้าเสียบางชนิด อยางตอเนื่องเปนระยะเวลา 1 สัปดาห No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

1


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ วิธีการทดลอง

นํา

อีเอ็มมาใชในการทดลองปรับปรุงคุณภาพนํา้ เสียตามวิธที เี่ หมาะสมดังทีร่ ะบุไวของแตละสูตร จําลองสภาวะนํา้ ทวมขังภายในถังพลาสติก โดยนํานํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอมปริมาตร 100 ลิตร มาใสในถังพลาสติกขนาด 300 ลิตร ใหระดับนํ้าใน แตละถังลึก 30 เซนติเมตร จากนั้น แบงการทดลองออกเปน 4 ชุดทดลอง ชุดทดลองละ 3 ซํ้า คือ

1 2 3 4

ชุ ด ทดลองควบคุ ม ซึ่ ง เป น นํ้ า เสี ย จากหอพั ก ศู น ย วิ จั ย และ ฝกอบรมดานสิ่งแวดลอมซึ่งไมมีการบําบัดดวยอีเอ็มสูตรใดๆ (Control) ชุดทดลองซึ่งเปนนํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิ่งแวดลอมซึ่งบําบัดดวยอีเอ็มนํ้าสูตรกรมพัฒนาที่ดิน (พด. 6) ชุดทดลองซึ่งเปนนํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิง่ แวดลอมซึง่ บําบัดดวยอีเอ็มกอนสูตรกสิกรรมธรรมชาติ (EM ball) ชุดทดลองซึ่งเปนนํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิ่งแวดลอมซึ่งบําบัดดวยอีเอ็มนํ้าสูตรของบริษัท EM Research Organization, Inc. (EM นํ้า)

จากนั้นสุมตัวอยางนํ้ามาวิเคราะหคุณภาพนํ้าพื้นฐานอันไดแก คา DO, BOD, COD, ไอออนบวกและไอออนลบ, คาความขุน , ความเปน กรด-ดาง และจุลินทรียที่ปนเปอนในนํ้า และทําการสุมตัวอยางนํ้ามา วิเคราะหทกุ 1, 6, 12, 24 ชัว่ โมง ทุกวันจนครบ 7 วัน นําผลการทดลอง ที่ไดมาวิเคราะหและสรุปผล

วิธีการใชอีเอ็มของแตละสูตร

ผลการทดลอง

1 2 3

อีเอ็มนํา้ สูตรกรมพัฒนาทีด่ นิ (พด. 6) สัดสวนทีใ่ ชคอื 10 มิลลิลติ ร ตอนํ้าเสีย 100 ลิตร อีเอ็มกอนสูตรกสิกรรมธรรมชาติ (EM ball) สัดสวนที่ใช คือ 1 กอน ตอบอนํ้า 4 ตารางเมตร หรือ 1 กอน ตอ นํ้า 1 ลูกบาศกเมตร อีเอ็มนํ้าสูตรของบริษัท EM Research Organization, Inc. (EM นํ้า) สัดสวนที่ใชคือ 10 มิลลิลิตร ตอนํ้าเสีย 100 ลิตร

จากการทดลองพบวาคาคุณภาพนํ้าพื้นฐานจากพารามิเตอรตางๆ คือ BOD COD ไอออนบวก ไอออนลบ และปริมาณจุลินทรีย ของ ชุดทดลองแตละชุดซึง่ เกิดจากคาเฉลีย่ ของคาวิเคราะหทงั้ 3 ซํา้ พบวาสัมประสิทธิข์ องการกระจายของขอมูลระหวางซํา้ กับการกระจายของขอมูล ระหวาง treatment (อีเอ็ม 3 ชนิดและชุดทดลองควบคุม) มีคาไมแตกตางกันดังแสดงในตารางที่ 1

2

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


hr hr hr day day day day day day day

อุณหภูมิ (0C) Control EM Ball พด6 27.8 24.0 25.4 24.2 24.1 25.6 25.5 24.5 25.6 28.4 25.0 26.0 24.6 24.8 25.2 23.8 24.0 24.2 23.6 23.7 24.0 23.9 23.9 23.9 23.3 23.5 23.8 24.9 25.0 25.4 ความเปนกรด-ดาง ความขุน (NTU) EM นํ้า Control EM Ball พด6 EM นํ้า Control EM Ball พด6 28.7 7.2 7.3 7.2 7.2 64.6 62.2 39.8 28.7 7.3 7.3 7.3 7.2 60.8 57.4 36.6 27.8 7.2 7.3 7.2 7.2 38.1 62.9 37.9 27.7 7.2 7.2 7.3 7.3 70.8 70.8 47.2 25.4 7.3 7.3 7.3 7.2 71.3 63.8 68.8 24.8 7.3 7.3 7.3 7.3 62.6 57.4 63.4 24.9 7.2 7.3 7.3 7.3 52.5 51.0 56.5 24.3 7.3 7.3 7.3 7.3 45.3 42.2 46.7 24.8 7.3 7.3 7.3 7.3 27.3 27.8 31.4 26.5 7.3 7.3 7.3 7.3 23.1 16.4 18.1

1 6 12 1 2 3 4 5 6 7

เวลา

hr hr hr day day day day day day day

COD (mg/L) Control EM Ball พด6 161 150 169 156 141 137 154 137 159 165 176 156 135 178 156 122 116 139 114 114 116 114 167 106 94 85 101 84 69 96

NH4 (แอมโมเนีย) (mg/L) NO3- (mg/L) EM นํ้า Control EM Ball พด6 EM นํ้า Control EM Ball พด6 176 14.49 14.44 14.26 13.88 0.50 0.42 0.34 144 13.68 13.99 12.89 13.27 0.75 0.65 1.11 152 11.71 13.68 12.81 13.00 0.35 0.57 0.50 146 13.74 13.93 13.16 13.09 0.81 0.44 0.48 144 12.70 9.18 12.15 12.00 0.90 0.54 0.47 126 11.64 11.33 11.15 11.26 0.78 0.28 0.84 131 10.80 11.27 8.33 10.76 0.93 0.46 0.55 113 10.60 10.99 10.79 10.50 0.45 0.34 0.36 90 10.55 10.10 10.79 10.23 0.40 0.53 0.59 103 9.95 10.16 10.46 9.58 0.98 1.23 0.71

ตารางที่ 1 (ตอ) แสดงผลการวิเคราะหคาคุณภาพนํ้าเฉลี่ยดังนี้ คาCOD คาไอออนบวกและไอออนลบ

1 6 12 1 2 3 4 5 6 7

เวลา

ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะหคาคุณภาพนํ้าเฉลี่ย ดังนี้ คาอุณหภูมิ คาความเปนกรด-ดาง คาความขุน และคาออกซิเจนละลายนํ้า

NO2- (mg/L) EM นํ้า Control EM Ball พด6 1.11 ND ND 0.11 0.44 ND ND ND 0.49 ND 0.08 ND 0.52 ND ND ND 0.41 ND ND ND 0.83 ND 0.07 ND 0.68 ND ND ND 0.60 ND ND ND 1.45 ND ND ND 0.40 0.06 0.08 ND

EM นํ้า ND ND ND ND ND ND ND ND 0.08 ND

คาออกซิเจนละลายนํ้า (mg/L) EM นํ้า Control EM Ball พด6 EM นํ้า 67.1 2.2 0.8 0.7 2.1 73.5 0.8 0.8 1.1 1.2 71.9 0.9 0.7 0.8 0.8 74.4 1.4 1.0 0.7 0.5 80.9 0.8 0.7 0.6 1.2 70.5 0.7 0.8 0.9 1.1 61.0 0.7 0.8 0.7 0.8 55.7 0.7 0.8 0.7 0.7 45.1 1.0 0.9 0.8 0.7 32.7 0.5 1.3 0.7 0.6

GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ

No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

3


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ ตารางที่ 1 (ตอ) แสดงผลการวิเคราะหคาคุณภาพนํ้าเฉลี่ย ดังนี้ ปริมาณจุลินทรียที่ปนเปอนในแหลงนํ้า

35.0 30.0

คาความเปนกรด-ดาง ในนํ้า

คาอุณหภูมิในนํ้า (องศาเซลเซียส)

Total Coliform (cfu/ml) E.Coli (cfu/ml) Enterococci (cfu/ml) เวลา EM EM Control EM EM Control EM EM Control Ball พด6 พด6 นํ้า Ball นํ้า Ball พด6 นํ้า 1 hr 161 150 169 176 14.49 14.44 14.26 13.88 0.50 0.42 0.34 1.11 6 hr 156 141 137 144 13.68 13.99 12.89 13.27 0.75 0.65 1.11 0.44 12 hr 154 137 159 152 11.71 13.68 12.81 13.00 0.35 0.57 0.50 0.49 1 day 165 176 156 146 13.74 13.93 13.16 13.09 0.81 0.44 0.48 0.52 2 day 135 178 156 144 12.70 9.18 12.15 12.00 0.90 0.54 0.47 0.41 3 day 122 116 139 126 11.64 11.33 11.15 11.26 0.78 0.28 0.84 0.83 4 day 114 114 116 131 10.80 11.27 8.33 10.76 0.93 0.46 0.55 0.68 5 day 114 167 106 113 10.60 10.99 10.79 10.50 0.45 0.34 0.36 0.60 6 day 94 85 101 90 10.55 10.10 10.79 10.23 0.40 0.53 0.59 1.45 7 day 84 69 96 103 9.95 10.16 10.46 9.58 0.98 1.23 0.71 0.40 เมื่อนําคาเฉลี่ยที่ไดจากผลการทดลองดังตารางที่ 1 มาสรางกราฟความสัมพันธระหวางเวลาที่ผานไปกับคาคุณภาพนํ้าพื้นฐานตางๆ จะพบ ความสัมพันธดังภาพ

25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0

7.3 7.2 7.2 7.1

6 12 1 2 3 4 5 6 7 hr hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball

1 hr

6 hr

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 1 แสดงผลการเปรียบเทียบคาอุณหภูมิในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด 90.0 80.0 70.0 60.0 50.0 40.0 30.0 20.0 10.0 0.0

12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 2 แสดงผลการเปรียบเทียบคาความเปนกรด-ดางในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด 2.5 คาออกซิเจนละลายนํ้า (mg/L)

คาความขุนของนํ้า (NTUs)

7.3

7.1 1 hr

2.0 1.5 1.0 0.5 0.0

1 hr

6 hr

12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball

4

7.4 7.4

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 3 แสดงผลการเปรียบเทียบคาความขุนของนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด www.deqp.go.th No. 21 October 2012

1 hr

6 hr

12 hr

1 2 3 4 5 6 7 Day Days Days Days Days Days Days

Control EM Ball

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 4 แสดงผลการเปรียบเทียบคาออกซิเจนละลายในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ ปริมาณ NH4 ในนํ้า mg/L

คา COD mg/L

200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0

16.00 14.00 12.00 10.00 8.00 6.00 4.00 2.00 0.00

1 6 12 1 2 3 4 5 6 7 hr hr hr Day Days Days Days Days Days Days Control พด6 EM Ball EM นํ้า

1.60 1.40 1.20 1.00 0.80

12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control พด6 EM Ball EM นํา้

3.0E+04

0.60 0.40 0.20

2.5E+04 2.0E+04 1.5E+04 1.0E+04 0.5E+03 0.0E+04

0.00 1 hr

6 12 1 2 3 4 5 6 7 hr hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball

1 hr

6 hr

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 7 แสดงผลการเปรียบเทียบคา NO3นํ้าที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด 4.5E+02 4.0E+02 3.5E+02 3.0E+02 2.5E+02 2.0E+02 1.5E+02 1.0E+02 0.5E+02

12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 8 แสดงผลการเปรียบเทียบปริมาณ total coliform ในนํ้าที่ ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด จํานวน E-Coil ในนํ้า (CFU/ml)

จํานวน Enterococcus (CFU/ml)

6 hr

ภาพที่ 6 แสดงผลการเปรียบเทียบคา NH4 นํ้าที่ผานการบําบัด ดวยอีเอ็ม 3 ชนิด คาออกซิเจนละลายนํ้า (mg/L)

ปริมาณ NO3 ในนํ้า mg/L

ภาพที่ 5 แสดงผลการเปรียบเทียบคา COD นํ้าที่ผานการบําบัด ดวยอีเอ็ม 3 ชนิด

1 hr

2.0E+04 1.8E+04 1.6E+04 1.4E+04 1.2E+04 1.0E+04 0.8E+04 0.6E+04 0.4E+04 0.2E+04 0.0E+04

0.0E+02 1 hr

6 hr

12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 9 แสดงผลการเปรียบเทียบปริมาณ Enterococcus ในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด

1 hr

6 hr

12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball

พด6 EM นํ้า

ภาพที่ 10 แสดงผลการเปรียบเทียบปริมาณ Escherichia coli ในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

5


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ เมือ่ นําคาความขุน คาออกซิเจนละลายนํา้ คาความสกปรกของสารอินทรียใ นรูปของซีโอดี คาความเขมขนของแอมโมเนีย ปริมาณจุลนิ ทรีย ปนเปอนทั้ง 3 ชนิด ของชุดทดลองทั้ง 3 ซํ้า กับชุดควบคุม มาทดสอบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แบบ 2 tailed T score test ทีค่ วามเชือ่ มัน่ ทางสถิติ 90 % พบวาไมพบความแตกตางระหวางคาเฉลีย่ ระหวางคุณภาพนํา้ ทีเ่ ติมสารอีเอ็มทัง้ 3 ชนิด กับชุดควบคุม หรือกลาวอีก นัยหนึง่ คือสารอีเอ็มทัง้ 3 ชนิดทีเ่ ติมลงไปในนํา้ เสีย ไมทาํ ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงคุณภาพนํา้ ทีท่ าํ การวิเคราะหทงั้ 6 พารามิเตอรแตอยางใด การที่ นํ้ามีคาออกซิเจนละลายนํ้าที่สูงขึ้นและคาความสกปรกของนํ้าในรูปของซีโอดีลดลงอยางตอเนื่องในแตละวัน และปริมาณจุลินทรียทั้งสามชนิด คือ total coliform, Enterococcus, Escherichia coli ในนํ้าที่ใชเปนดัซนีชี้วัดของจุลินทรียชนิดอื่นๆ ที่ลดลงประมาณวันที่ 3 ของการทดลอง เนื่องมาจากการบําบัดที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ การบําบัดนํ้าเสียจากการทวมขัง อาจชวยโดยการใหนํ้าสัมผัสอากาศ และแสงแดดซึ่งสาหรายที่ อยูในนํ้าเสียจะเปนตัวสรางออกซิเจนใหเพิ่มขึ้นในนํ้าไดจากกระบวนการสังเคราะหแสง อยางไรก็ตาม การทดลองนี้ดําเนินการในอาคารซึ่งไมมี แสงแดดสองถึงถังทดลองโดยตรง จึงไมสามารถประเมินอิทธิพลของแสงแดดที่สามารถชวยในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเสียได

เอกสารอางอิง 1. http://www.time.com/time/world/article/0,8599,2101273,00.html 2. http://www.eng.chula.ac.th/?q=node/3915

6

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ

เตาเผา ขยะชีวมวลไรควัน นิตยา นักระนาด มิลน

หมอกควัน...ปญหาที่มีทางปองกัน

นประเทศไทย ป ญ หาหมอกควั น เป น ป ญ หาที่ ท วี ค วาม รุ น แรงขึ้ น เป น ลํ า ดั บ ทั้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เองโดยธรรมชาติ แ ละ จากการกระทํ า ของมนุ ษ ย โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบนที่ มี ส ภาพภู มิ ป ระเทศเป น แอ ง กะทะ มี ทิ ว เขาล อ มรอบ ก อ ให เ กิ ด สารมลพิ ษ ทางอากาศจํ า นวนมาก เช น ก า ซคาร บ อน มอนนอกไซต ก า ซไนโตรเจนไดออกไซต สารอิ น ทรี ย ร ะเหย ไดออกซิน รวมทั้งฝุนละออง เถา เขมาควัน จากรายงานการตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษพบวา ในหลายจังหวัดทางภาคเหนือ ไดแก เชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน พะเยา ลําปาง ลําพูน แพร และ นาน ตรวจพบคาเฉลี่ยของฝุนละออง รวมหรือฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (พีเอ็ม 10) ในเวลา 24 ชั่วโมง มีคาเกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ (ซึ่งคามาตรฐานไมเกิน 120 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) ซึ่งสรุปในภาพรวมพบวาคุณภาพอากาศ

จัดอยูในระดับปานกลางถึงระดับที่มีผลกระทบตอสุขภาพมาก ซึ่งมี ความสัมพันธสอดคลองกับอัตราการเจ็บปวยดวยโรคทางเดินหายใจ ที่เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด รวมถึงกลุมโรคหัวใจและหลอดเลือดทุกชนิด กลุมโรคตาอักเสบ และโรคผิวหนังอักเสบ นอกจากนี้ยังสงผลกระทบ ตอเศรษฐกิจ สังคม และการทองเที่ยว กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ไดตระหนักถึงปญหามลพิษ หมอกควันจากการเผาในทีโ่ ลง จึงไดรเิ ริม่ ดําเนินการโครงการพัฒนาเตาเผา ขยะชีวมวลสําหรับชุมชน โดยมีเปาหมายการนําไปใชกาํ จัดของเหลือทิง้ จากการเกษตรแทนการเผาในที่โลง การออกแบบเตาเผานี้ จะเป น การผสมผสานภู มิ ป  ญ ญา ทองถิ่นกับหลักวิชาการเขาดวยกัน เพื่อสรางนวัตกรรมที่เปนตนแบบ เตาเผาขยะชีวมวลอยางงายที่กอมลพิษนอยถึงนอยที่สุดเปนการใช หลักวิชาการการเผาไหมแบบใชออกซิเจน หรือ Combustion เพื่อให ความรอนที่ชั้นบนของเชื้อเพลิงชีวมวล เหนี่ยวนําใหเกิดกระบวนการ ไพโรไลซีส ลงไปดานลางของเตา ทําใหไดถา นชีวมวลสําหรับใชเปนแหลง พลังงาน นอกจากนั้น ทําใหอากาศไหลผานบริเวณชองวางระหวางเตา ชั้นในกับชั้นนอก เมื่อถูกเผาใหรอนดวยอุณหภูมิของไพโรไลซีส ก็จะ ลอยขึ้นไปเหนือชั้นเชื้อเพลิงชีวมวล ชวยใหเกิดปฏิกริยาการแตกตัว ขั้นที่สองหรือแกสซิฟเคชันของกาซไฮโดรคารบอนจากกระบวนการ ไพโรไลซีสเชือ้ เพลิงชีวมวล กลายเปนไอนํา้ และกาซคารบอนไดออกไซด

No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

7


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ

ปฏิกริยาการเผาชีวมวลในเตาเผามี ๓ ขั้นตอน คือ 1. ใหความรอนขั้นตน จนถึง 200°C เพื่อไลความชื้น 2. อากาศไหลเขา (primary air) เชื้อเพลิงชีวมวลเผาไหมอุณหภูมิระหวาง 200 ถึง 500°C ได hydrocarbon gases และถาน หากมี ออกซิเจนมากในเตา ถานจะถูกเผาไหมที่ 300 ถึง 500°C ได CO2 และเถา (ที่จุดนี้หากตองการถาน เราจะตองจํากัดปริมาณอากาศไหลเขาดวย ขนาดรูของเตาชั้นในหรือการปดเปดประตูเตา) 3. อากาศไหลเขาผานทอนําอากาศเขาไปในเตา และปลอยสูช ว งบนของเปลวไฟจากการเผาชีวมวล ทําใหไดอากาศรอนทีเ่ รียกวา secondary hot air ซึ่งจะเติมออกซิเจนรอน ทําใหกาซที่เกิดจากการเผาไหมตอนแรกถูกเผาอีกครั้งและแตกเปน CO2 และไอนํ้า

การออกแบบเตาเผาขยะชีวมวลประสิทธิภาพสูงและราคาถูก

ใชหลักวิชาการของการไหลของอากาศแบบธรรมชาติ-draft flow และการให secondary hot air ที่ชั้นบนของเชื้อเพลิง แบบที่คิดคนขึ้น จะยึดหลักการนําของเหลือใชจาํ พวกถังนํา้ มัน กระปอง มาประกอบเปนตัวเตา โดยนวัตกรรมการคิดคนจะอยูท กี่ ารออกแบบชองเติมอากาศ การให อากาศ สรางเงื่อนไขใหเกิด thermochemical reactions ทั้ง 3 รูปแบบคือ pyrolysis, combustion และ gasification ในเตาเผา สิ่งประดิษฐนี้จะนําไปจดสิทธิบัตรเมื่อพัฒนาใหไดตนแบบที่ดีที่สุดแลว โดยจะตองผานการทดสอบประสิทธิภาพการเผา ดูระยะเวลาเผา ชนิดเชือ้ เพลิง และกาซทีป่ ลดปลอยออกมาโดยใชเครือ่ งมือทีเ่ รียกวา Flue Gas Analyser หรือ Combustion Efficiency Tester วิเคราะหคณ ุ สมบัติ เชื้อเพลิงของถานที่ผลิตได รวมทั้งคุณสมบัติการดูดซับและความบริสุทธิ์หากนําไปผลิตถานกัมมันตตอไป

แบบจําลอง 8

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ

การจัดการขยะดวยระบบเตาเผา สุดา อิทธิสุภรณรัตน

เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุน

ตเกียว เปนเมืองหลวงของญี่ปุน และเปนพื้นที่ศูนยกลางทางการเมือง และเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,187 ตาราง กิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยูทั้งสิ้น 13,187,000 คน โดยพื้นที่ทางฝงตะวันออกติดกับอาวโตเกียว มีทั้งหมด 23 เมือง ในพื้นที่ 621 ตารางกิโลเมตร ซึง่ ประมาณเกือบหนึง่ ในสีข่ องพืน้ ทีใ่ นโตเกียว แตมพี ลเมืองอาศัยอยูจ าํ นวน 8,970,000 คน ซึง่ มากกวาครึง่ หนึง่ ของจํานวน พลเมืองที่อาศัยอยูในโตเกียว ไดรวมกันจัดตั้งและดําเนินการจัดการขยะภายใตการทํางานของหนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 ซึ่งเปนหนวยงานพิเศษของรัฐบาลทองถิ่น ภายใตพระราชบัญญัติขององคการปกครองสวนทองถิ่น (Local Autonomy Act) ในการเปนสวนหนึ่ง เพื่อรวมกันจัดการขยะที่เกิดขึ้น ภารกิจของแตละหนวยงาน การจัดการขยะจากบานเรือน ในระยะตนนั้น แตละเมืองมีหนาที่ จั ด การขยะอย า งเป น อิ ส ระ ในการรวบรวม คั ด แยะขยะที่ เ ผาได (combustible wastes) เผาไมได ( incombustible wastes) และ ขยะทีม่ ขี นาดใหญ (large sized wastes) รวมทัง้ การขนสง เพือ่ สงตอให หนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 เปนผูด าํ เนินงานจัดการ ตอไป ในการจัดการของ Clean Association of TOKYO 23 ทําหนาที่ ในการจัดการขยะระยะกลาง ในการรวบรวมขยะจากแตละเมืองมาผาน กระบวนการตางๆ กอนเขาเตาเผาขยะ (incinerator) ประกอบไปดวย ศูนยจดั การขยะทีเ่ ผาไมได (Incombustible waste processing center) 2 แหง หนวยงานจัดการขยะขนาดใหญ (Pulverization processing plant for large-sized wastes) 1 แหง และเตาเผาขยะ (Incinerator) จํานวน แหง 20 แหง สุดทายขยะที่ถูกจัดการอยางเปนระบบแลว จะ ถูกนําไปทิง้ ทีห่ ลุมฝงกลบขยะ โดยการสงมอบภาระหนาทีน่ ใี้ หหนวยงาน รัฐบาลของเมืองโตเกียวเปนผูดูแลรับผิดชอบตอไป

ขั้นตอนการจัดการขยะ ในขั้นตอนแรก ขยะตองถูกทําการคัดแยกตั้งแตบานเรือน เปน 4 ประเภท ไดแก ขยะทีเ่ ผาได เชน เศษอาหาร กระดาษ และขยะพลาสติก เปนตน ขยะทีเ่ ผาไมได ไดแก แกว กระเบือ้ ง และโลหะ เปนตน ขยะทีม่ ี ขนาดใหญ เชน โตะ ตู เตียง ที่นอน และ จักรยาน เปนตน และสุดทาย เปนขยะที่สามารถรีไซเคิลได เชน กระดาษ ขวดพลาสติก ขวดแกว กระปองอลูมเิ นียม เปนตน แตละเมืองจะทําการขนสงขยะแตละประเภท ใหหนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 เปนผูดําเนินการตอ โดยขนขยะที่เผาไดเขาระบบเตาเผาขยะ ขยะที่เผาไมได ถูกสงไปที่ ศูนยจัดการขยะที่เผาไมได เพื่อทําการคัดแยกเอาสวนที่เปนโลหะ และ อลูมิเนียมออกมา สวนที่เหลือทําการบดเปนชิ้นเล็กๆ กอนขนสงไปทิ้งที่ หลุมฝงกลบขยะ สวนขยะที่มีขนาดใหญ จะถูกนํามาคัดแยกเชนเดียวกับ ศูนยจัดการขยะที่เผาไมได แตจะมีบางสวนที่เปนขยะที่เผาได ซึ่งจะ ถูกขนสงไปยังเตาเผาขยะตอไป ในขณะที่ขยะรีไซเคิลได แตละเมืองจะ บริหารจัดการขยะสวนนี้ดวยตนเอง No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

9


GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ ระบบเตาเผาขยะ ขยะเผาไดจะถูกรวบรวมสงเขาระบบเตาเผาขยะ ซึ่งมีอยูจํานวน 20 แหง ที่อยูในความดูแลของหนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 โดยจะขอยกตัวอยางระบบเตาเผาขยะของเมือง Chuo ซึ่งเปนหนึ่งในความดูแลของหนวยงานดังกลาวขางตน ระบบเตาเผาในเมือง Chuo มี 2 เตา สามารถรับปริมาณขยะรวมไดถึง 600 ตัน/วัน ซึ่งนอกจากสามารถทําการเผาขยะใหเหลือเปนเถาเพียงปริมาณรอยละ 5 จากขยะทั้งหมดแลว ยังสามารถผลิตกระแสไฟฟาจากการเผาขยะจํานวน 15,000 กิโลวัตต เพื่อนําไปใชในกระบวนการเผาขยะ และนําไปขายเปนรายไดอีกดวย โรงเก็บขยะกอนเผา จะมีแขนคีบทําการผสมขยะ กองพักไวเพือ่ ระบายนํา้ ออกกอนทีจ่ ะตักขยะ เขาเตาเผา

ระบบเตาเผาขยะจะถูกควบคุมการทํางานแบบอัติโนมัติ เมื่อขยะถูกลําเลียงเขาสูท่ีเก็​็บขยะ ขนาด 2,500 ตัน เครนจะทําการตักขยะเขาสูเ ตาเผา และเผาทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู กวา 850 องศาเซลเซียส เพือ่ ปองการไมใหเกิดสารพิษไดออกซินขึน้ หรือเกิดขึน้ มานอยทีส่ ดุ สวนไอสารพิษทีป่ นเปอ นจากการ เผาขยะตางๆ จะถูกบําบัดผานผงถานกัมมันต (activated carbon) ปูนขาว (lime) ถุงกรอง (bag filter) ระบบ gas scrubber และระบบปฏิกรณบําบัดไนโตรเจนออกไซด (NOx) กอนที่จะ ระบายออกสูบ รรยากาศ นํา้ เสียทีเ่ กิดจากกระบวนการบําบัดไอของสารพิษ จะผานการบําบัดขัน้ ตน ขยะเผาได กอนที่จะระบายลงระบบบําบัดนํ้าเสียของเมือง สวนเถาที่ไดจากการเผาขยะจะถูกนําไปหลอมตอที่ อุณหภูมสิ งู กวา 1,200 องศาเซลเซียส และทําใหเย็นลงอยางรวดเร็ว จะทําใหเถากลายเปน slag ซึ่งเปนวัสดุที่มีความแข็งมาก สําหรับใชผสมเปนองคประกอบสําหรับทําเปนวัสดุเพื่อใชในการ กอสรางอาคารและถนน จะเห็นวาลักษณะการทํางานของหนวยงานที่ดําเนินการมีหนาที่รับผิดชอบอยางชัดเจน มีการทํางานอยางเปนขั้นตอนและเปนระบบ ประชาชนใหความรวมมือในการจัดการขยะใน ขั้นตอนแรก โดยการคัดแยกขยะถือวาเปนกระบวนการสําคัญที่สุด ที่จะทําใหการดําเนินการ กําจัดขยะงายขึน้ และเปนการลดปริมาณขยะลงตัง้ แตตน ทาง ทัง้ 23 เมือง ไดรว มมือกัน เพือ่ ทําการ จัดตั้งหนวยงานพิเศษเฉพาะดาน เพื่อดูแลรับผิดชอบระบบการจัดการขยะในระยะกลางใหมี การเก็บขยะเผาได ประสิทธิภาพ โดยอาศัยเครื่องมือ และสถานที่รวมกัน เนื่องจากบางเมืองไมมีพื้นที่หรือเครื่องมือ เปนของตนเอง นอกจากนี้หนวยงานพิเศษนี้ ยังคํานึงถึงสุขภาพอนามัยของประชาชน และ สิ่งแวดลอม ในการปองการสารพิษที่ปนเปอนมาจากกระบวนการใชเตาเผาขยะ ทั้งทางอากาศ และนํา้ เสียเปนอยางดี และยังมีการพัฒนาแปรรูปจากของเสียใหกลายเปนทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชน อยาง slag และพลังงานไฟฟาไดอีกดวย

แผนผังแสดงขั้นตอนการเผา และการบําบัดหลังการเผา

การเก็บขยะที่มีขนาดใหญ

อางอิง: Waste report 2012: Towards a recycling society, Clean Association of TOKYO 23 10

www.deqp.go.th No. 21 October 2012

หน า จอเตาเผา ขยะที่ อุ ณ หภู มิ สูงกวา 8500c


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

ยายอมผม กับความเสี่ยงเปนโรค

ใน

มะเร็ง

นิตยา นักระนาด มิลน

โลกทุกวันนี้ แฟชั่นการเปลี่ยนสีผมไดเขามามีบทบาทอยางมากทั้งในกลุม วัยรุน วัยกลางคน และผูสูงวัย แตกอนคนจะยอมผมก็ตอเมื่อ ผมหงอก หรืออาจจะยอมเพราะมีอาชีพนางแบบหรือนักแสดง จากสถิติการตายของประชากรไทย โรคที่คราชีวิตคนไทยอันดับหนึ่งในปจจุบันคือ โรคมะเร็ง สาเหตุจากพฤติกรรมการบริโภค การใชชีวิต ทีม่ คี วามเสีย่ งตอการเกิดโรคมากขึน้ รวมทัง้ ปจจัยสภาวะแวดลอมทีม่ มี ลพิษ ลวนเปนคําตอบของสาเหตุการกอโรคมะเร็งในสิง่ มีชวี ติ ทีไ่ มเวนแมแต สัตวเลี้ยงของเราเอง ขณะนี้โรคมะเร็งกําลังเปนปญหาสาธารณสุขที่รุนแรงระดับโลก เปนภัยเงียบที่คุกคามชีวิตประชาชนที่อยูในวัยแรงงาน และผูสูงอายุมาก ที่สุด โดยมีรายงานพบผูปวยโรคมะเร็งทั่วโลกปละ 13.7 ลานคน เสียชีวิตปละ 7.6 ลานคน แนวโนมจํานวนผูปวยและเสียชีวิตเพิ่มขึ้นทุกประเทศ องคการอนามัยโลกคาดการณวา ในอีก 18 ปขา งหนา คือ ในป 2573 จะมีผเู สียชีวติ จากโรคนีท้ วั่ โลกประมาณ 17 ลานคน ถือวาเปนตัวเลขทีส่ งู มาก องคการอนามัยโลกไดเรียกรองใหทุกประเทศ เรงปองกัน ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งใหเร็วที่สุด และกําหนดใหวันที่ 4 กุมภาพันธทุกปเปนวันมะเร็งโลก (World Cancer Day) เพื่อกระตุนใหทุกประเทศรณรงคใหความรูประชาชนเพื่อปองกันการปวย โดยกําหนดใหทุกประเทศลดอัตราการตายโรคมะเร็ง ใหไดรอยละ 25 ภายในป 2568 สําหรับประเทศไทย พบวาโรคมะเร็งเปนสาเหตุการตายสูงอันดับ 1 ของคนไทยตอเนือ่ งมานานกวา 10 ป ตัง้ แตป 2543 ประมาณรอยละ 20 ของผูเสียชีวิตทุกสาเหตุ คาดอีก 3 ปขางหนาประเทศไทยจะมีผูปวย มะเร็งรายใหม 133,767 คน และมีผูเสียชีวิตจากมะเร็ง 84,662 คน อัตราสวนชาย-หญิงใกลเคียงกัน ทัง้ นี้ การกอตัวของโรคมะเร็งจะคอยเปนคอยไป ไมรตู วั กระทรวง สาธารณสุขแนะนําผูที่มีอายุ 30 ปขึ้นไป ควรตรวจสุขภาพคนหาความ ผิดปกติอยางนอยปละ 1 ครัง้ หากตรวจพบเร็วโอกาสรักษาหายจะมีสงู สัญญาณผิดปกติที่สงสัยวาอาจเปนมะเร็งมี 7 ประการ ไดแก 1. มีเลือดออกหรือมีสิ่งขับออกจากรางกายผิดปกติ เชน ตกขาว มากเกินไป

2. มีกอ นเนือ้ หรือตุม เกิดขึน้ ทีใ่ ดทีห่ นึง่ ของรางกายและกอนนัน้ โตเร็ว 3. มีแผลเรื้อรังรักษาหายยาก 4. ถายอุจจาระหรือปสสาวะผิดปกติ หรือเปลี่ยนไปจากเดิม 5. เสียงแหบหรือไอเรื้อรัง 6. กลืนอาหารลําบากหรือทานอาหารแลวไมยอย และ 7. มีการเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝ วิธีการปฏิบัติตัวที่จะทําใหโรคมะเร็งไมมาใกลตัวเรา มีกิจกรรมที่ ควรทํา 5 ประการ คือ ออกกําลังกายเปนนิจ ทําจิตแจมใส กินผักผลไม อาหารหลากหลาย ตรวจรางกายเปนประจํา และสิ่งที่ไมควรทําเลย มี 5 ประการ คือ ไมสูบบุหรี่ ไมมีเซ็กซมั่ว ไมมัวเมาสุรา ไมตากแดดจา และไมกินปลานํ้าจืดดิบ No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

11


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

ก็ยังไมมีการแนะนําวา ไมควรยอมผม กัดสีผม ดัดผม เพราะหลักฐานยืนยันทางการวิจัยยังไมเพียงพอที่จะฟนธงไปวา ยายอมผมทําใหคน เปนโรคมะเร็ง มีเพียงการทดลองในสัตวทดลองแลวพบวากอมะเร็งจริง ไมตางอะไรกับขอสงสัยเกี่ยวกับอันตรายจากคลื่นความถี่ตํ่า สัญญาณ โทรศัพทมือถือ ที่ผูบริโภคมีความตองการใชสูงขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งเทคโนโลยีและธุรกิจประเภทนี้ก็ไปไกลเกินกวาจะหยุดยั้งได

เรามาทําความเขาใจกับชนิดของยายอมผมกันกอน ชนิดของยายอมผม ยายอมผมที่มีขายในปจจุบัน มี 3 ชนิด 1. ยายอมผมแบบชั่วคราว (Temporary hair dyes) - ปดผิวดานนอกของเสนผม แตไมซึมผานเขาไปขางในเสนผม - คงทนอยูแคหลังการสระ 1 ถึง 2 ครั้ง 2. ยายอมผมแบบกึ่งถาวร (Semi-permanent hair dyes) - ซึมผานเขาไปขางในเสนผม - สวนใหญคงทนอยูหลังการสระ 5 ถึง 10 ครั้ง 3. ยายอมผมแบบถาวร (Permanent hair dyes)

ยายอมผมแบบถาวรมี 2 ชนิด

- ซึมผานเขาไปขางในเซลลเสนผม และทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลง ทางเคมีในเสนผม ทําใหสีผมเปลี่ยน เปนชนิดที่ไดรับความนิยมสูงสุด เพราะสีผมคงทนอยูจนกวาจะงอกใหม เราจึงเห็นผมหงอกขาวออกมา ชัดเจนกรณียอมผมหงอก หรือเห็นสีผมเดิมของผูที่ยอมเปลี่ยนสีผม • ชนิดออกซิเดทีฟ (Oxidative hair dyes) มีสว นประกอบทีเ่ ปน สียอม (เชน p-phenylenediamine หรือ 2-nitro-p-phenylenediamine) และ hydrogen peroxide สารเคมีเหลานีจ้ ะเขาไปทําปฏิกริยา ในเสนผมเกิดสีออกมา ยายอมผมชนิดนี้จะตองผสมใหมๆ กอนใช • ชนิดโพรเกสสีฟ (Progressive hair dyes) มีสว นประกอบหลัก ที่เปนเกลือของโลหะ (metal salts เชน lead acetate หรือ bismuth citrate) ซึ่งจะคอยๆ เปลี่ยนสีผมตอเนื่องอยางชาๆ โดยทําปฏิกริยากับ ซัลเฟอร (กํามะถัน) ในเสนผม ผูบริโภคสวนใหญมักรับรูและสนใจแควาอะไรเขาไปในรางกาย เราแลวจะมีคุณมีโทษอยางไร? มากนอยแคไหน? แตไมคอยไดใสใจวา สารเคมีที่เราใชบนรางกายเรา โดยเฉพาะในยายอมผม เครื่องสําอาง ครีม และเครื่องประทินโฉมตางๆ เหลานี้สามารถซึมแทรกผานรูขุมขน 12

www.deqp.go.th No. 21 October 2012

เขาสูร ะบบนํา้ เหลืองและเลือดได นัน่ หมายความวารางกายเรามีความเสีย่ ง ทีจ่ ะรับพิษจากสารเคมีอนั ตรายเหลานัน้ ได และเมือ่ ปริมาณและความถี่ การรับพิษจากสารเคมีกลุมเดิมๆ ถึงระดับที่กออันตรายตอรางกาย สัญญาณการเกิดโรคมะเร็ง ก็จะเริ่มขึ้น บางคนกวาจะรูตัว ก็สายเกิน เยียวยา เพื่อนๆ ของผูเขียนหลายคนบอกทําใจไมไดที่จะปลอยให ผมหงอกขาว ดูแกเกินวัย แกกวาเพื่อน บางคนพูดวายอมเปนมะเร็ง ดีกวาไมสวย มีรายงานวิจัยในตางประเทศหลายแหลงระบุวา การยอมผม ทําใหเสี่ยงตอโรคมะเร็ง โดยเฉพาะอยางยิ่งมะเร็งในถุงนํ้าดี (Bladder cancer) มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) และอื่นๆ อีกมากมาย ไดแก มะเร็งเลือดชนิด multiple myeloma, Hodgkin disease, non-Hodgkin lymphoma, มะเร็งปอด lung cancer, มะเร็งเตานม breast cancer, มะเร็งรังไข oral cancer, และมะเร็งปากมดลูก cervical cancer กลุม ประเทศในสหภาพยุโรปมีการตืน่ ตัวเรือ่ งอันตรายจากสารเคมี ในเครือ่ งสําอางคและผลิตภัณฑบาํ รุงผิวมากกวาสหรัฐอเมริกา เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม ปที่แลว กฎหมายหามใช สารเคมี 22 ชนิดในยายอมผม มีผลบังคับใชในกลุม ประเทศสหภาพยุโรป นอกจากนัน้ EU ยังมีกฎเหล็ก ใหผูผลิตยายอมผมตองสง safety files สําหรับสารเคมีทุกตัวที่ใชเปน สวนผสมในยายอมผม จากผลการวิจัยของ University of Southern California เมื่อป 2001 พบวาสารเคมีอันตรายทั้ง 22 ชนิดนั้น มีความสัมพันธเชื่อมโยง กับการเกิดมะเร็งในถุงนํ้าดี สารเคมีอนั ตราย 22 ชนิดทีถ่ กู หามใชในยายอมผมในกลุม ประเทศ ในสหภาพยุโรป ไดแก


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

* 6-Methoxy-2,3-Pyridinediamine and its HCl salt * 2,3-Naphthalenediol * 2,4-Diaminodiphenylamine * 2,6-Bis(2-Hydroxyethoxy)-3,5-Pyridinediamine * 2-Methoxymethyl-p-Aminophenol * 4,5-Diamino-1-Methylpyrazole and its HCl salt * 4,5-Diamino-1-((4-Chlorophenyl)Methyl)-1H-Pyrazole Sulfate * 4-Chloro-2-Aminophenol * 4-Hydroxyindole * 4-Methoxytoluene-2,5-Diamine and its HCl salt * 5-Amino-4-Fluoro-2-Methylphenol Sulfate * N,N-Diethyl-m-Aminophenol * N,N-Dimethyl-2,6-Pyridinediamine and its HCl salt * N-Cyclopentyl-m-Aminophenol * N-(2-Methoxyethyl)-p-phenylenediamine and its HCl salt * 2,4-Diamino-5-methylphenetol and its HCl salt * 1,7-Naphthalenediol * 3,4-Diaminobenzoic acid * 2-Aminomethyl-p-aminophenol and its HCl salt * Solvent Red 1 (CI 12150) * Acid Orange 24 (CI 20170) * Acid Red 73 (CI 27290) ลองตรวจดู ซิ ว  า ในยาย อ มผมที่ คุ ณ ใช มี ส ารก อ มะเร็ ง / สารอันตรายเหลานัน้ อยูห รือไม ถามี คุณกําลังเพิม่ ความเสีย่ งการเปน มะเร็งใหตัวเองอยูนะ...จะบอกให สารเคมีกลุม ทีเ่ ปนทีย่ อมรับกันในวงการวิทยาศาสตรวา มีอนั ตราย และมีความเชื่อมโยงกับการเกิดมะเร็งถุงนํ้าดี มะเร็งตอมนํ้าเหลือง และมะเร็งเม็ดเลือดประเภทตางๆ คือ Arylamines. ซึ่ง Arylamines ถูกพิสูจนวากอมะเร็งในสัตวทดลอง Arylamine ตัวหนึ่งที่สําคัญคือ p-phenylenediamine (PPD) ซึง่ พบวาใชกนั อยางแพรหลายในยายอมผม แมในกลุม non-permanent "natural" products เจา Arylamine นี้ เปนทีน่ ยิ มใชเปนสวนผสมของยายอมผมเพราะคุณสมบัตกิ ารติดทนนาน PPD hair dyes มักเปนแบบมี 2 ขวด ขวดหนึ่งมี PPD dye preparation อีกขวดเปน developer หรือ oxidizer ตัว PPD เองเปนสารไรสที ตี่ อ งการ ออกซิเจนทําใหเกิดสี ซึง่ ขณะเปลีย่ นสี ตัวกลางทีก่ าํ ลังถูกออกซิไดสมกั กอ ใหเกิดการแพขนึ้ สวน PPD ทีถ่ กู ออกซิไดซอยางสมบูรณแลวจะไมใชสาร ที่ทําใหเกิดการแพ ดังนั้นคนที่แพ PPD สามารถใสวิกผมที่ยอมจาก PPD ไดอยางปลอดภัย อีกปจจัยของการแพและเกิดมะเร็งคือ การผสม hydrogen peroxide กับ ammonia ซึง่ อาจกอใหเกิดสารกอมะเร็ง ทัง้ ๆ ทีส่ ารทัง้ สองตัวไมใช สารกอมะเร็ง ปจจัยทีส่ ามคือ ยิง่ ยายอมผมสีเขม ยิง่ มีอนั ตรายเพราะมีสว นประกอบ ที่เปนสารเคมีหลากหลายมากขึ้น จึงมีการแนะนําวาใหหลีกเลี่ยง การสัมผัสยายอมผมโดยตรงขณะยอมและพยายามอยาใหถูกหนังศีรษะ “Skin contact with PPD should be prevented in order to avoid the allergic reactions.” ซึ่งเปนไปไดยากมากที่จะไมใหเปอน หนังศีรษะ

งานวิจัยในสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับความเสี่ยงการเกิดมะเร็งใน ถุงนํ้าดี ในกลมผูที่ใชยายอมผมแบบถาวร (permanent hair dyes) เดือนละครัง้ หรือมากกวา ติดตอกันนานหนึง่ ปขนึ้ ไป และกลุม ชางเสริม สวยทีท่ าํ งานและสัมผัสกับยายอมผมมานาน 10 ปขนึ้ ไป พบวา ผูท ใี่ ชยา ยอมผมแบบถาวรติดตอกันนาน 15 ป หรือมากกวา มีความเสีย่ งตอโรค มะเร็งในถุงนํา้ ดีเพิม่ เปน 3 เทา ทีน่ า สนใจสําหรับคนไทย คือ ยายอมผม ยิง่ สีเขม ยิง่ เพิม่ ความเสีย่ ง เนือ่ งจากเฉดสียงิ่ เขมยิง่ มีปริมาณ PPD สูงขึน้ อยางไรก็ตาม ยังมีขอโตแยงผลการวิจัยดังกลาวในเรื่องของความ แตกตางของอัตราการขับสารกอมะเร็งในรางกายของแตละคนและ แตละเผาพันธุ รวมทัง้ มะเร็งในถุงนํา้ ดีมกั แสดงอาการหลังจากไดรบั สาร กอมะเร็งยาวนานถึง 30 ป ตางจากมะเร็งชนิดอื่นที่มักปรากฏอาการ หลังไดรับสารกอมะเร็งติดตอกันเพียง 15-20 ป ผลการวิจยั ในสหรัฐอเมริกาจากหลายสถาบัน พบวา เกิดโรคมะเร็ง ในหนูทดลองทีไ่ ดรบั coal tars ทีใ่ ชในยายอมผมเฉดสีเขม นอกจากนัน้ National Cancer Institute, USA ยังพบวา มีความสัมพันธเชื่อมโยง ระหวางยายอมผมโดยเฉพาะอยางยิง่ กลุม เฉดสีเขมกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่เกี่ยวกับเลือดและตอมนํ้าเหลือง เชน non-Hodgkin's lymphoma และ multiple myeloma นอกจาก PPD และสารตองหามตามที่กลาวขางตนแลว ตัวที่ตอง ระวัง คือ methyl paraben ที่มักใชเปนสารกันหืน และ resorcinol (หรือ Resorcin หรือ m-dihydroxybenzene; 1,3-benzenediol; 1,3-Dihydroxybenzene; 3-Hydroxyphenol; m-hydroquinone; m-benzenediol; 3-hydroxycyclohexadien-1-one) ซึ่งเปน dihydroxybenzene ที่ใชเปนสวนผสมหลักในยายอมผม ซึ่งเมื่อทํา ปฏิกริยากับ hydrogen peroxide จะทําใหเกิดการติดสีคงทน resorcinol ออกฤทธิ์ทางยาเปนสารตานการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา มักใชเปน สวนผสมในยาทาแกสิว รักษาโรคผิวหนัง แชมพูขจัดรังแค ผลิตภัณฑ ที่มีแบรนด Resinol, Vagisil และ Clearasil มี resorcinol เปน องคประกอบหลัก ปจจุบันประเทศในแถบยุโรปกําลังใหความสนใจกัน มากวา resorcinol มีความปลอดภัยตอผูใชหรือไม เพียงใด เนื่องจาก resorcinol เปนสารทีม่ กั ทําใหเกิดการแพยายอมผมในผูใ ช และกําลังเปน ทีส่ นใจหาคําตอบวา resorcinol มีความเชือ่ มโยงกับการเกิดมะเร็งจาก การยอมผมหรือไม นอกจากนั้นยังมีสารพิษตัวอื่นๆ อีกมากมายที่เปนสวนประกอบ ในยายอมผม ไดแก phthalates, cobalt salts, formaldehyde releasing preservatives, lead acetate, nickel salts, 1,4-dioxane, diethanolamine/triethanolamine

อ

านแลว จะยอมผมตอไป ก็ลองๆ หาชนิดทีพ่ อจะลดความเสีย่ ง มะเร็งใหเราไดบาง หรือหาสูตรสมุนไพรที่ปลอดภัยกวา มาลองใชดู เชน เฮนนา บางแหลงขอมูลแนะนําใหดื่มนําสัก 1-1.5 ลิตร หลังยอมผม เปนการชวยลางและขับสารพิษออกจากรางกาย บางก็ แนะนําใหทานสมุนไพรตัวนั้นตัวนี้เปนการแกพิษ ถาสนใจลองหาอานดูได จากหลายๆ websites แตผเู ขียนคิดวา ปลอยใหธรรมชาติเขากําหนดและ ยอมรับสีขาวบนหัว ถือวาเปน highlight ก็แลวกัน

No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

13


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

Structure of hair Follicle

Scanning electron micrographs of hair samples demonstrated damaged cuticle and cortex structures with various severities of changes adjacent to pathological cavities within hair shafts. ภาพจาก Scanning electron microscope (SEM) แสดง เสนผมที่แตกเสียและถูกทําลาย องคประกอบของเสนผม ที่มา: http://www.ijtrichology.com/viewimage.asp?img=I ที่มา: http://www.colourwell.com/index2php?p=24&s= ntJTrichol_2012_4_2_89_96909_u5.jpg 3&taal=0&taal=1

ลักษณะการติดสีของยายอมผมเคมี ที่มา: http://www.back2myroots.co.uk/2012/05/28/haircolouring-dye-shade-and-tone/ ผงเฮนนา ที่มา: http://www.howtomakeyourhairgrowfast.net/wpcontent/uploads/2012/07/henna_20powder.jpg

เอกสารอางอิง http://www.organiccolorsystems.com/dangers-of-resorcinolin-hair-color/ http://www.who.int/ipcs/publications/cicad/cicad71.pdf http://www.manager.co.th/qol/viewnews. aspx?NewsID=9550000015532 http://cancerhelp.cancerresearchuk.org/about-cancer/ cancer-questions/does-hair-dye-cause-cancer ลั ก ษณะการย อ มติ ด สี ข องเฮนน า บนเส น ผม จะเป น ลั ก ษณะ การเคลือบทีผ่ วิ ดานนอกของเสนผม ไมซมึ ลึกเขาไปในเนือ้ เซลลผม ตางกับ http://www.healthiertalk.com/what-your-grey-hair-saysabout-you-0408 การยอมดวยยายอมผมเคมี ทีม่ า: http://www.surviving-hairloss.com/images/henna_ http://www.beautedemaman.com/category/environmentalissues-pregnancy/ hair_dye.jpg 14

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

ผลกระทบ ทางการเกษตร

ที่เกิดจากการใชสารเคมี

ประเทศไทยมี ผ ลผลิ ต ทางการเกษตร มากมายหลายชนิดตามฤดูกาลอยางตอเนื่อง ตลอดป ไมวาจะเปนพืชผัก ผลไม ผลผลิต ดังกลาวใชบริโภคทัง้ ภายในประเทศและสงออก ตางประเทศ การสงออกผลผลิตทาง การเกษตร และอาหารสําเร็จรูปนั้นมีมูลคาที่เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง นํามาซึ่งการใชสารเคมีตางๆ เพื่อ ชวยในการเพิ่มผลผลิตและการรักษาคุณภาพ ของผลิตภัณฑทมี่ ากขึน้ ดวยและหากมีการใชไม ถูกตองและไมเหมาะสม จะทําใหมกี ารปนเปอ น ของสารเคมีในอาหาร ซึง่ มีผลโดยตรงตอผูบ ริโภค นอกจากนี้ผลิตผลดานการเกษตรก็จะไดรับ ผลกระทบจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่ ไมเหมาะสมและถูกตองดวยเชนกัน พิษภัยที่เกิดจากการกินอาหารนั้นมาจาก สาเหตุตางๆ มากมาย การเจ็บปวยที่เกิดขึ้น หลายครั้ ง อาจเกิ ด จากสาเหตุ ร ว มกั น หลาย ประการ การที่จะบงชี้ใหชัดเจนวาการเจ็บปวย เกิดจากการบริโภคหรือไมนั้น หากไมไดรับใน ปริมาณที่มากเกินไป ก็จะทําใหรับรูไมได และ หากการเจ็ บ ป ว ยนั้ น ไม ไ ด เ กิ ด ขึ้ น ทั น ที ห ลั ง รับประทานอาหาร แตเปนการเจ็บปวยแบบ ค อ ยเป น ค อ ยไป จะทํ า ให ค นเรามองข า ม อันตรายนี้ การเกิดสารพิษในอาหาร มีสาเหตุ มาจากพิ ษ ที่ มี อ ยู  ต ามธรรมชาติ ข องอาหาร และพิษที่เกิดจากการปนเปอนในอาหาร ซึ่ง พิษภัยที่เกิดจากการปนเปอนนั้น เกิดจากการ ปนเปอนจากธรรมชาติซึ่งอาจปนเปอนจาก จุลินทรีย หรือโลหะหนักบางชนิดที่มีอยูมาก ในพืน้ ดินบางแหง และเกิดจากการกระทําของ มนุษย รวมทัง้ จากการนําเทคโนโลยีใหมๆ มาใช ในกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการ เกษตร ซึ่งนับวาจะมีแนวโนมที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และไดมีสวนสรางมลภาวะควบคูกันไปดวย สงผลใหมีการแพรกระจายของสารเคมีตางๆ อยางกวางขวาง โดยสารเคมีเหลานัน้ จะเขาไป ปะปนหรือตกคางและสะสมในอาหารอันจะมี ผลกระทบมายังมนุษยในที่สุด

พนมพร วงษปาน ดานการเกษตรในสาขาตางๆ ในปจจุบนั มีการนําสารเคมีทเี่ ปนพิษมาใชกนั อยางแพรหลาย การใชไมถูกตอง การใชในประมาณที่มากเกินกําหนด และการใชอยางไมระมัดระวังยอมเกิด ผลกระทบตอตัวเกษตรกรเองและยังเปนอันตรายตอผูบ ริโภคเปนอยางมาก ดวยสารเคมีเหลานัน้ จะตกคางอยูใ นอาหารซึง่ จะมากหรือนอยขึน้ อยูก บั ปริมาณทีใ่ ชหรือปริมาณทีเ่ กษตรกรใชวา ถูกตอง หรือไม ผลกระทบทีเ่ กิดจากสารเคมีเหลานัน้ นอกจากจะสงผลกระทบโดยตรงผูบ ริโภคแลวยังสง ผลกระทบตอการพัฒนาประเทศในแงเศรษฐกิจและสังคมอีกดวย โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจ เนื่องจากประเทศไทยตองอาศัยรายไดหลักจากการสงออกผลผลิตทางการเกษตรปญหาการ ปนเปอนหรือสารพิษตกคางของวัตถุมีพิษทางการเกษตรที่กลาวมาขางตนนับเปนเรื่องสําคัญ เพราะอาจทําใหสินคาที่มีสารตกคางไมเปนที่ยอมรับของประเทศผูซื้อ และยอมเกิดผลเสียทาง เศรษฐกิจของประเทศชาติโดยตรง

สารเคมีกําจัดศัตรูพืชเขาสูรางกายไดอยางไร 1. ทางผิวหนัง สารเคมีกําจัดศัตรูพืชจะเขาสูรางกายผานทางผิวหนังโดยตรง เชน เกษตรกร สัมผัสกับพืชผลที่เพิ่งจะฉีดพนสารเคมีกําจัดศัตรูพืช สารเคมีกําจัดศัตรูพืชสัมผัสผิวหนัง หรือ เสื้อผาที่เปยกชุมดวยสารเคมีกําจัดศัตรูพืช เกษตรกรผสมสารเคมีกําจัดศัตรูพืชดวยมือเปลา สมาชิกในครอบครัวซักเสื้อผาที่ปนเปอนสารเคมีกําจัดศัตรูพืช 2. ทางการหายใจ เกษตรกรที่ฉีดพนสารเคมีกําจัดศัตรูพืช หรือผูคนที่อยูใกลกับผูฉีดพน สารเคมีกําจัดศัตรูพืชจะไดรับสารเคมีกําจัดศัตรูพืชผานทางการหายใจไดงายที่สุด โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ที่อันตรายที่สุดคือสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่ไมมีกลิ่น เพราะเกษตรกรจะไมรูสึกตัวเลยวาได สูดดมสารเคมีกําจัดศัตรูพืชเขาไป 3. การกลืนกิน เกิดขึ้นไดเมื่อคนเราดื่มกินสารพิษโดยบังเอิญหรือโดยเจตนา เมื่อคนเรากิน อาหารหรือดื่มนํ้าที่ปนเปอนสารเคมีกําจัดศัตรูพืชเขาไป No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

15


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

4. ไพรีทรอยต สรางความระคายเคืองตอตา ผิวหนัง และทางเดิน หายใจ หากไดรบั สารเคมีในภาวะปกติ จะชา เจ็บคอ หายใจถี่ แสบจมูก คอแหง และคัน หากเขาสูระบบการยอยอาหาร จะหมดสติ/ช็อก เกร็ง ชัก หากไดรับสารเคมีในปริมาณสูง จะอาเจียน หนังตากระตุก ทองรวง เดินโซเซ นํ้าลายไหลผิดปกติ และหงุดหงิด 5. ไธโอคารบาเมต สงผลลักษณะเดียวกับไพรีธรอยด กลาวคือ สรางความระคายเคืองตอผิวหนัง ตา และระบบการหายใจ โดยจะมี อาการตางๆ เชน คอแหง แสบจมูก เจ็บคอ ไอ เคืองตา ตาแดง คัน ผิวหนัง ตกสะเก็ด ผื่นแดง เปนตน 6. พาราควอท เปนสารกําจัดวัชพืช เปนพิษอยางมากตอผิวหนังและ เยื่อบุ ซึ่งอยูในปาก จมูกและตา ทําให ผิวหนังแหง แตก พุพอง เปนผื่นแดง แผลมีหนอง เล็บซีด เล็บหลุด หักงาย ไอ เจ็บคอ เลือดกําเดาไหล เยื่อบุ ตาอักเสบ และตาบอด หากเขาสูร ะบบการไหลเวียนของโลหิต ผานทาง ผิวหนังหรือบาดแผล จะสงผลรุนแรงตอการทํางานของอวัยวะสําคัญ ภายในรางกาย เชน ตับ และไต ทําใหตับวาย และไตวายได

ปจจัยที่ทําใหสารเคมีมีผลตอสุขภาพของคน

ปจจัยที่มีความเสี่ยงของสุขภาพของคนอันดับตนๆ คือ 1. เกษตรกรใชสารเคมีชนิดที่มีพิษรายแรงยิ่งและมีพิษรายแรงมาก ซึง่ มีความเสีย่ งสูงทําใหเกิดการเจ็บปวยแกเกษตรกรทีใ่ ชสารพิษ โดยเฉพาะ สารทั้งสองกลุมดังกลาว 2. การผสมสารเคมีหลายชนิดฉีดพนในครั้งเดียว ซึ่งเปนลักษณะ ที่ทําใหเกิดความเขมขนสูง เกิดการแปรสภาพโครงสรางของสารเคมี เมื่อเกิดการเจ็บปวยแพทยไมสามารถรักษาคนไขไดเนื่องจากไมมียา รักษาโดยตรง ทําใหคนไขมีโอกาสเสียชีวิตสูง 3. ความถี่ของการฉีดพนสารเคมี หมายถึง จํานวนครั้งที่เกษตรกร ฉีดพน เมือ่ ฉีดพนบอยโอกาสทีจ่ ะสัมผัสสารเคมีกเ็ ปนไปตามจํานวนครัง้ ที่ฉีดพน ทําใหผูฉีดพนไดรับสารเคมีในปริมาณที่มากและสะสมใน รางกายและผลผลิต 4. การสัมผัสสารเคมีของรางกายผูฉีดพน หากผูฉีดพนสารเคมีไมมี การปองกัน หรือเสือ้ ผาทีส่ วมใสเปยกสารเคมี จะมีความเสีย่ งสูง ทัง้ นีเ้ พราะ สารเคมีปอ งกันและกําจัดศัตรูพชื ถูกผลิตมาใหทาํ ลายแมลงโดยการทะลุ ทะลวง หรือดูดซึมเขาทางผิวหนังของแมลง รวมทัง้ ใหแมลงกินแลวตาย ดังนั้น ผิวหนังของคนซึ่งมีความออนนุมกวาผิวหนังของแมลงจึงงาย ตอการดูดซึมเขาไปทางตอมเหงื่อ นอกเหนือจากการสูดละอองเขาทาง จมูกโดยตรง จึงทําใหมีความเสี่ยงและอันตรายมากกวาแมลงมาก 5. พฤติกรรมการเก็บสารเคมี และทําลายภาชนะบรรจุไมถูกตอง ทําใหอันตรายตอผูอยูอาศัย โดยเฉพาะเด็กๆ และสัตวเลี้ยง ขอปฏิบัติสําหรับเกษตรกรหรือผูที่ใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช เกษตรกรหรือผูท ใี่ ชสารเคมีปอ งกันกําจัดศัตรูพชื ถือวาเปนผูท สี่ มั ผัส สารเคมีโดยตรง เนือ่ งจากเปนผูท ที่ าํ การฉีดพนสารเคมี ดังนัน้ เพือ่ ใหเกิด ความปลอดภัยกับตัวผูใ ชเอง ควรมีปฏิบตั ติ ามคําแนะนําอยางเครงครัด ดังนี้ 1. กอนทําการฉีดพนควรสวมเสือ้ ผาใหมดิ ชิด เชน สวมเสือ้ แขนยาว กางเกงขายาว ปดปาก ปดจมูก สวมถุงมือ รองเทาบูท เพือ่ ปองกันสารเคมี 2. อยาฉีดพนสารเคมีในขณะที่มีลมแรง หรือฝนตก 3. ขณะทําการฉีดพนสารเคมี ควรยืนอยูเหนือลมเสมอเพื่อปองกัน สารเคมีพัดเขาหาตัวเอง 16

www.deqp.go.th No. 21 October 2012

4. เก็บภาชนะบรรจุที่ใชหมดแลวไปทําลายอยางปลอดภัย 5. ควร ลางมือ ลางตัว อาบนํ้า กอนถอดเสื้อผาออกและใหรีบซัก เสื้อผาที่ใสฉีดพนสารเคมีโดยเร็ว ขอปฏิบัติสําหรับประชาชนในการบริโภคพืชผักผลไม เพือ่ ใหเกิดความปลอดภัยตอการบริโภคผัก ผลไม ประชาชนทีซ่ อื้ ผัก หรือผลไมมาจากตลาด ควรลางผักหรือผลไมใหสะอาดกอน เพื่อไมให มีสารพิษตกคาง ซึ่งมีวิธีการดังนี้ 1. ลางผักหรือผลไมดวยนํ้าสะอาดหลายๆ ครั้ง เพื่อชะลางสารเคมี กําจัดศัตรูพืช ซึ่งตกคางอยูบนผิวของผักหรือผลไมใหหมดไป 2. แชผักหรือผลไมในนํ้ายาลางผัก แลวลางนํ้ายาใหหมดดวย นํ้าสะอาดหลายๆ ครั้ง 3. ผักหรือผลไมทปี่ อกเปลือกได ควรลางดวยนํา้ ใหสะอาดกอนปอกเปลือก 4. การตมผักแลวเทนํ้าทิ้งไปจะชวยลดปริมาณยาฆาแมลงในผักลง ไดบาง

เอกสารอางอิง กรมควบคุมมลพิษ. (2555). พิษภัยของสารเคมีทางการเกษตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://webhost.cpd.go.th/nikomcbd/ download/1.%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0 %B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B 8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0% B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8 %B5%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81 %E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E 0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3.pdf. 10 กันยายน 2555 ภัทรานิษฐ เปลี่ยนไธสง. (2555). มหันตภัยจากสารเคมีปองกันกําจัด ศัตรูพชื . กรมควบคุมมลพิษ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://wqm. pcd.go.th/water/images/stories/agriculture/pr/toxiceffects. pdf. 24 กันยายน 2555 ศักดา ศรีนิเวศน. (2555). ผลกระทบของสารเคมีที่มีตอสุขภาพ. กรมสงเสริมการเกษตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://previously. doae.go.th/report/sukda/pol/page01.html. 24 กันยายน 2555.


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

จากแหลงนํ้าดิบที่ปนเปอน

“สู

นํ้าดื่ม กับสุขภาพ ที่ไมควรมองขาม”

นันทธีรา ศรีบุรินทร ศิริลักษณ สุคะตะ

“นํ้าคือชีวิต”

พระราชดํ า รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2529 แสดงใหเห็นวาพระองค ทรงใหความสําคัญกับทรัพยากรนํ้าเปนอยางยิ่ง เนื่องจากนํ้าเปนสิ่งสําคัญตอการดําเนินชีวิต ของมนุษย มนุษยจะขาดนํ้าไมได ถึงแมวานํ้าจะมีวันหมดไป แตนํ้าที่สะอาด และมีคุณภาพที่ดี กําลังจะหาไดยาก ดวยอัตราการเพิม่ ขึน้ ของประชากร อีกทัง้ อัตราการปลอยสารเคมีออกสูส งิ่ แวดลอม ไมเวนในแตละวัน ปญหาที่เกิดขึ้นเหลานี้ สงผลใหแนวโนมปญหาการขาดแคลนนํ้าดื่มที่สะอาด อาจจะทวีความรุนแรงขึ้นในอนาคตอยางนาเปนหวง ซึ่งจะเห็นไดจากขาวการลักลอบทิ้งกาก อุตสาหกรรมทีน่ คิ มอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ ทําใหชาวบานลมปวยโดยไมทราบ สาเหตุ ทั้งนี้กรีนพีซไดเขามาตรวจสอบ พบโลหะหนักอันตรายและสารอินทรียระเหยกอมะเร็ง หลายชนิดปนเปอนในพื้นที่ลักลอบทิ้งสารเคมีและนํ้าเสียอุตสาหกรรมจากนิคมอุตสาหกรรม บางปู (หนังสือพิมพแนวหนา : 5 กรกฎาคม 2555) และในสหรัฐอเมริกา พบวามีสงิ่ ตางๆ ปนเปอ น ในนํ้าดื่มมากกวา 2,100 ชนิด มี 190 ชนิด ที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และ 97 ชนิด เปนสาร กอมะเร็ง (ศ.ดร.นพ.สมศักดิ์, 2549) โดยการปนเปอนดังกลาวจะสงผลกระทบตอประชาชน ผานการอุปโภคและบริโภคนํ้าดื่มที่ไดรับการปนเปอน และจะเปนอันตรายอยางยิ่งตอสุขภาพ ของประชาชน

การลักลอบทิ้งสารเคมีชนิดโลหะหนักและสารอินทรียระเหยงาย ที่มา : http://www.toonne.com/news.php?idpage=4037:

สารอินทรียระเหย (Volatile organic compound : VOCs) ประกอบดวยอะตอม ของคาร บ อนและไฮโดรเจน และอาจมี ออกซิเจน หรือธาตุฮาโลเจน เชน คลอรีน โบรมีน รวมอยูดวย สามารถระเหยกลายเปน ไอในอากาศไดงา ยทีอ่ ณ ุ หภูมแิ ละความดันปกติ ไอสารเหลานี้สามารถจะเปลี่ยนรูปกลับเปน ของเหลวหรือของแข็งตามสภาวะเดิมได โดย การเพิม่ อุณหภูมหิ รือลดความดัน นอกจากนัน้ สาร VOCs ยังจัดอยูในกลุมของสารกอมะเร็ง ที่มีความคงทนในสิ่งแวดลอม ซึ่งกิจกรรมตางๆ ของมนุษย เปนแหลงกําเนิดที่สําคัญของสาร VOCs และเปนสาเหตุหลักของการปนเปอน สาร VOCs ในนํ้าใตดิน กลาวคือบอยครั้ง ที่มีการรายงานการปนเปอนสาร VOCs ใน นํ้าใตดิน ซึ่งเปนแหลงนํ้าดิบที่สําคัญในการ ผลิตนํ้าดื่ม ดังการรายงานของกรมสงเสริม คุณภาพสิง่ แวดลอม เมือ่ ป พ.ศ. 2552 ตรวจพบ การปนเปอนสารกลุม VOCs ในพื้นที่นิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง และยัง

No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

17


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

พบการปนเปอ นดังกลาวในบอนํา้ ใตดนิ ของชาวบาน รวมถึงมีการรายงานวามีการปนเปอ น ของสารไตรคลอโรเอทธิลีน (TCE) และสารเตรตะคลอโรเอทธิลีน (PCE) ในดินและนํ้า ใตดินในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลําพูน (มีศักดิ์และคณะ , 2547) นอกจากนั้นยังมีการรายงานของกรมควบคุมมลพิษ ป พ.ศ. 2554 รายงานวา มีการปนเปอนของสารกลุม VOCs บริเวณตําบลกลางดง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา และมีการรายงานวาบอยครัง้ ทีพ่ บการปนเปอ นของ สารกลุม VOCs เชน คารบอนเตตระคลอไรด (CCl4) ในนํ้าประปา ที่เกิดจากการใชคลอรีนในการฆาเชื้อโรค (ศูนยขอมูลพิษวิทยา, กระทรวงสาธารณสุข) ซึง่ การปนเปอ นของแหลงนํา้ ดิบทีส่ าํ คัญ เหลานีอ้ าจจะสงผลใหเกิดการปนเปอ นของสารกลุม VOCs ในนํ้าดื่มที่ผลิตจากบริเวณดังกลาว ที่มีความสัมพันธ เชือ่ มโยงกับสุขภาพของประชาชนในพืน้ ทีโ่ ดยตรง

มาตรฐานคุ ณ ภาพนํ้ า ใต ดิ น (เพื่ อ การ บริโภค) สําหรับสาร VOCs เปนระดับสาร อินทรียระเหยงายที่กําหนดขึ้นเพื่อปกปอง สุขภาพจากการบริโภคตลอดชวงชีวิต โดย กําหนดขึ้นมาจากระดับความเขมขนสูงสุดที่ พบวาที่ไมกอใหเกิดผลกระทบ (no-effect level) ที่ เ ป น พิ ษ /อั น ตรายต อ สั ต ว ท ดลอง และลดให ตํ่ า ลงไปอี ก โดยการคู ณ ค า ป จ จั ย เพื่อความปลอดภัยซึ่งอาจเริ่ม ตั้งแต 1/10 ถึง 1/1000 ขึ้นกับความนาเชื่อถือของขอมูลทาง วิทยาศาสตร กรณีทพี่ บวาสารอินทรียร ะเหยงาย ในนํ้าใตดินนอยกวาคามาตรฐานนํ้าใตดินเพื่อ การบริ โ ภค (Maximum Contaminant Level: MCLs) ถือวานํ้ามีความปลอดภัยเพียง พอ สําหรับดื่ม “แตสําหรับสารกอมะเร็งซึ่ง ถือวาไมมคี า ตํา่ สุดทีป่ ลอดภัย” (ประยงคและ ไมตรี, 2544) แตทายที่สุดแลว นํ้าดื่มยอมเปน ปจจัย 4 ซึ่งมนุษยขาดไมได ดังนั้น ทางแก ที่ดีที่สุดในตอนนี้ก็คือ สรางจิตสํานึกที่ดีใหกับ ทุ ก คน โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ผู  ป ระกอบการ อุตสาหกรรมในการดูแลแหลงนํา้ ดิบ และสราง ความเชือ่ มัน่ ในแหลงนํา้ ดิบทีป่ ราศจากการปนเปอ น ได ดังคําขวัญที่วา “โลกสวยดวยมือเรา” 18

www.deqp.go.th No. 21 October 2012

เอกสารอางอิง กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. (2554). รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาความเหมาะสมและติดตั้ง ระบบบําบัดการยอยสลายสารอินทรียร ะเหยในนํา้ ใตดนิ และแบบจําลองการเคลือ่ นทีข่ องมวลสารในชัน้ ดิน อุมนํ้าและไมอุมนํ้า. แฟรดาห มาเหล็ม พีรพงษ สุนทรเดชะ สีหนาถ ชาญณรงค และออนจันทร โคตรพงษ. (2550). โครงการศึกษา การปนเปอ นของสารประกอบอินทรียร ะเหยงายในนํา้ ใตดนิ บริเวณนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลําพูน. ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย สีหนาถ ชาญณรงค พีรพงษ สุนทรเดชะ วาลิกา เศวตโยธิน และจีรนันท พันธจักร (2544). การปนเปอนของสาร Chlorinated Ethylene ในดินและนํ้าใตดิน และกรณีศึกษาของประเทศไทย. ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. สจริต คูณธนกุลวงและคณะ. (2549). โครงการศึกษาวิจยั การประเมินความเสีย่ งของการปนเปอ นของสารเคมี ในนํา้ ใตดนิ บริเวณ ต.กลางดง อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา. คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. John S. Zogorski, Janet M. Carter, Tamara Ivahnenko, Wayne W. Lapham, Michael J. Moran, Barbara L. Rowe, Paul J. Squillace, and Patricia L. Toccalino. (2006). The Quality of Our Nation’s Waters Volatile Organic Compounds in the Nation’s Ground Water and Drinking-Water Supply Wells.


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

ซ(Waste from Electrical

ากผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า

และอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส

and Electronic Equipments: WEEE) พีรายุ หงษกําเนิด

ากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (Waste from Electrical and Electronic Equipments: WEEE) หมายถึง1 ซากเครื่องใชหรืออุปกรณซึ่งใชกระแสไฟฟาหรือสนามแมเหล็กในการ ทํางานที่ไมไดตามมาตรฐาน (off-spec) หรือหมดอายุการใชงาน หรือ ลาสมัย ซึ่งแบงเปน 10 ประเภท ไดแก เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ นครั ว เรื อ น ขนาดใหญ เชน ตูเย็น เครื่องทําความเย็น เครื่องซักผา เครื่องลางจาน ฯลฯ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสในครัวเรือนขนาดเล็ก เชน เครื่องดูดฝุน เตารีด เครื่องปงขนมปง มีดโกนไฟฟา ฯลฯ

อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน คอมพิวเตอร เมนเฟรม โนตบุค เครื่องสแกนภาพ เครื่องโทรสาร/โทรศัพท โทรศัพท เคลื่อนที่ ฯลฯ เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสําหรับผูบริโภค เชน วิทยุ โทรทัศน กลองถายรูป และเครื่องบันทึกภาพและ เสียง เครื่องดนตรีที่ใชไฟฟา ฯลฯ

อุปกรณใหแสงสวาง เชน หลอดไฟฟลูออเรสเซนต หลอด โซเดียม ฯลฯ ระบบอุปกรณเครื่องมือการแพทย

เครื่องมือวัดหรือควบคุมตางๆ เชน เครื่องจับควัน เครื่อง ควบคุมอุณหภูมิ ฯลฯ ของเลน เชน เกมสบอยส ของเลนทีใ่ ชไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ เครื่องมือไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เชน สวาน เลื่อยไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ เครือ่ งจําหนายสินคาอัตโนมัติ เชน เครือ่ งจําหนายเครือ่ ง ดื่มอัตโนมัติ ฯลฯ

No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

19


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

ผลการสํารวจขอมูลปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑที่กอใหเกิดของเสียประเภทเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสภายในประเทศไทย ในป พ.ศ.2550 พบวา เครื่องปรับอากาศมีปริมาณการบริโภคมากที่สุด คือ 86,685 ตัน รองลงมาไดแก โทรทัศน เครื่องบันทึกภาพและเสียง เครื่องซักผาและตูเย็น เทากับ 84,188 ตัน 64,653 ตัน 39,717 ตัน และ 39,520 ตัน ตามลําดับ (ภาพที่ 1) โดยในปเดียวกันพบวาแหลงกําเนิด ซากผลิตภัณฑเครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสมาจากชุมชนมากทีส่ ดุ ประมาณ 308,844.72 ตัน สวนใหญอยูใ นเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ซึ่งมีประมาณเทากับ 108,168.84 ตัน รองลงมาไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (57,715.82 ตัน) ภาคใต (40,664.19 ตัน) ภาคกลาง (31,019.87 ตัน) ภาคตะวันออก (30,762.76 ตัน) ภาคเหนือ (26,714.82 ตัน) และภาคตะวันตก (13,798.42 ตัน) ตามลําดับ 2

ปริมาณ (ตัน)

ภาพที่ 1 ปริ ม าณ ซากผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ ง ใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส จ าก ชุมชนในป พ.ศ. 2550 ที่ ม า: กรมควบคุ ม มลพิษ (2551, หนา 33)

นท องถ ่ี ายร ูปด ิจิต อล

กล

ทเค ลื่อ

อร โทร

ศัพ

มพ ิวเต

็น ตูเย

ักผ า ื่องซ

เคร

คอ

ึกภ

าพแ

ละเ

สียง

ทัศ น โทร

ันท เคร

ื่องบ

เคร

ื่องป

รับ

อาก าศ

100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0

การคาดการณปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส องคการสหประชาชาติหรือ UN คาดการณวา ในอนาคตอันใกลปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสทั้งโลก จะเพิ่มขึ้นรวม 40 ลานตันตอป หรือเทียบไดกับปริมาณขยะในรถบรรทุกที่นํามาเรียงตอกันเปนความยาวถึงครึ่งรอบโลก ที่เปนเชนนี้เพราะ ความตองการในการใชงานผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ราคาของผลิตภัณฑประเภทนี้ถูกลงและ เทคโนโลยีมกี ารพัฒนาอยางรวดเร็วทําใหมผี ลิตภัณฑรนุ ใหม ทดแทนในตลาดอยางรวดเร็วและตอเนือ่ ง เกิดรูปแบบการตลาดเปลีย่ นแปลงจากการ ซอมผลิตภัณฑที่ชํารุดเพื่อนําไปใชใหมมาเปนการทิ้งซากผลิตภัณฑที่ชํารุดหรือทิ้งเนื่องจากผลิตภัณฑตกรุน แลวหันมาซื้อผลิตภัณฑใหมทดแทน เหลานี้ลวนเปนปจจัยที่กระตุนใหซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้นอยางไมรูจบ3 สําหรับประเทศไทยไดมีการคาดการณปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในระหวางป พ.ศ. 2551 – 2560 พบวามีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นทุกปในทุกภูมิภาค ดังขอมูลที่แสดงใหเห็นในภาพที่ 2 ปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส (ตัน-ป) 160,000 140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0

ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต กรุงเทพและปริมณฑล ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 ป พ.ศ.

ภาพที่ 2 การคาดการณปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (ป พ.ศ. 2551-2560) 20

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

การจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในประเทศไทย สําหรับประเทศไทยยังขาดการจัดการซากผลิตภัณฑเครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส ทีม่ คี วามเหมาะสมและเปนระบบ เนือ่ งจาก ยังไมมีการรวบรวม การคัดแยก การรีไซเคิล และการกําจัดที่ถูกตอง อีกทั้งยังขาดแคลนบุคลากรผูชํานาญการและองคความรูหรือเทคโนโลยี การจัดการทีเ่ หมาะสมทําใหปริมาณซากผลิตภัณฑ สวนใหญถกู ทิง้ รวมไปกับขยะมูลฝอยของชุมชน การฝงกลบในพืน้ ทีไ่ มไดรบั การออกแบบหลุมฝงกลบ ไวเพื่อรองรับของเสียอันตราย นอกจากนี้ยังพบวามีการลักลอบทิ้งซากผลิตภัณฑ ในที่สาธารณะตางๆ อันกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพอนามัย ของมนุษยและสิ่งแวดลอมตามมา ดวยเหตุนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยกรมควบคุมมลพิษ (2551)4 จึงไดพัฒนาแนวทาง การจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการขึ้น โดยมีสาระสําคัญที่จะมุงเนนใหมีการจัดการซากผลิตภัณฑ เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง ดังนี้

1

การใชหลักการเชิงปองกัน (Precautionary Principle) และหลักผูกอมลพิษเปนผูจาย (Polluter Pays Principle) โดยผูผลิต และผูนําเขาผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสตอ งรวมกันรับผิดชอบ ในการจัดการซากผลิตภัณฑ ดวยการจาย คาธรรมเนียมหรือภาษีผลิตภัณฑ สําหรับ นําไปจายในการซื้อซากผลิตภัณฑ คืนจาก ผูบริโภคและจัดการซากผลิตภัณฑ อยาง ถูกตองตามหลักวิชาการ เพื่อลดการเกิด ซากผลิ ต ภั ณ ฑ และการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ภายในประเทศไทยโดยใชวตั ถุดบิ ทีส่ ามารถ นํากลับมาใชซํ้าหรือหมุนเวียนใชใหม และ ลดการนําเขาผลิตภัณฑที่มีคุณภาพตํ่าเพื่อ ลดปริมาณการเกิดของเสีย และสงเสริม การผลิตผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม (Green Product)

3

การสรางกลไกทางเศรษฐศาสตรและการ เงินการคลัง รวมทัง้ กลไกตลาด สําหรับเปน แรงจูงใจหรือแรงกระตุน ในการจัดการซาก ผลิตภัณฑ โดยกําหนดใหมีกองทุน องคกร บริหารจัดการกองทุน และระบบการรับซือ้ ซากผลิตภัณฑ คืนจากผูบริโภค ซึ่งทําให เกิดการคัดแยกและรวบรวมซากผลิตภัณฑ จากขยะมูลฝอยทั่วไป การสงเสริมการแยก ชิ้นสวนของซากผลิตภัณฑอยางถูกตอง และการขายซากผลิตภัณฑที่มีมูลคาใหแก โรงงานรีไซเคิลหรือโรงงานที่มีการนําซาก ผลิตภัณฑไปใชซํ้า หมุนเวียนใชประโยชน หรือบําบัดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ

2

การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง กฎระเบี ย บเพื่ อ ลด ปริมาณของเสียจากซากผลิตภัณฑเครื่องใช ไฟฟา และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสภายใน ประเทศ และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข ง ขั น และลดป ญ หาการกี ด กั น ทางการคาระหวางประเทศ โดยการแกไข ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบที่มีอยูแลว ใหรองรับการใชวัสดุที่สามารถนําเขามา ใชซํ้าหรือหมุนเวียนใชใหมได ตลอดจน การลดของเสียอันตรายในผลิตภัณฑทงั้ ทีผ่ ลิต ภายในประเทศและทีน่ าํ เขาจากตางประเทศ รวมทั้งการกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ

5

ในระยะแรกใหสรางระบบบริหารจัดการ ซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส ในรูปโครงการนํารองใน เขตพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพและมีความพรอม ในการดําเนินการโดยใหเอกชนเขามามี สวนรวมในการดําเนินการ สวนในระยะยาว จะต อ งมี ก ฎหมายซึ่ ง ครอบคลุ ม เนื้ อ หา เรื่องการกําหนดความรับผิดชอบในการ จัดการซากผลิตภัณฑ การจัดเก็บคาเนียม หรือภาษีผลิตภัณฑจากผูผลิตและผูนําเขา มาใชสนับสนุนระบบการจัดการซากผลิตภัณฑ โดยกํ า หนดให มี ก องทุ น เพื่ อ เก็ บ รั ก ษา และจัดสรรเงินที่จัดเก็บมาได การสราง ระบบการรั บ ซื้ อ ซากและการจั ด การ ซากผลิตภัณฑ โดยอาศัยมาตรการทาง เศรษฐศาสตรผา นทางกองทุน การกําหนด บทบาทองคกรการบริหารจัดการทั้งระดับ ประเทศและทองถิ่น ทั้งนี้ ตองไมกาวลวง กฎหมายเดิมที่มีอยูแลว

6 4

การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ โดยการวิจัยและพัฒนาการออกแบบ และ ปรับปรุงกระบวนการผลิตผลิตภัณฑเครือ่ งใช ไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทเี่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม (Eco Design) และเปนไป ตามขอกําหนดของคูคา

การสงเสริมสนับสนุนอืน่ ๆ เชน การเสริมสราง ขีดความสามารถขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น ในการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่อง ใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสจาก ชุ ม ชน โดยคํ า นึ ง ถึ ง สุ ข ภาพอนามั ย ของ ประชาชนและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น การ ศึกษาวิจยั การออกแบบผลิตภัณฑเชิงนิเวศน การรณรงคประชาสัมพันธการสนับสนุน การเลือกซื้อผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ อุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม ฯลฯ

ะนั้นเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว จึงกําหนดยุทธศาสตรการจัดการ ซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการที่จะสามารถ รองรับการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในวงจรการจัดการ WEEE ตั้งแตจุดกําเนิดจนถึงการกําจัด ขั้นสุดทาย ซึ่งประกอบดวยยุทธศาสตรยอย 5 ดาน ดังนี้ No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

21


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

ยุทธศาสตรที่ 1 การพั ฒ นาเทคโนโลยี และวิ ธี ก ารที่ เหมาะสมในการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่อง ใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละ สรุปการปองกันตั้งแตตนทางและการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ การผลิตผลิตภัณฑเครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณ อุปกรณอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การปองกันตั้งแตตนทางและการจัดการ E-waste ที่เกิดขึ้น สามารถทําไดดวยหลัก 3R คือ ยุทธศาสตรที่ 2 การลด (Reduce) การใชซํ้า (Reuse) และการรีไซเคิล (Recycle) การเสริ ม สร า งขี ด ความสามารถ การลด (Reduce) หมายถึง ลดการบริโภคตั้งแตแรก ไมซื้อของฟุมเฟอยและหากจําเปน กระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของ ตองซือ้ ใหเลือกผลิตภัณฑทปี่ ลอดภัยไมมสี ารอันตรายหรือมีในปริมาณทีต่ าํ่ ประหยัดพลังงานและ ทุ ก ภาคส ว นในการจั ด การซากผลิ ต ภั ณ ฑ สามารถรีไซเคิลไดงา ยเมือ่ ผลิตภัณฑกลายเปนซาก โดยอาจพิจารณาเลือกซือ้ สินคาทีม่ ฉี ลาก มอก. เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส หรือฉลากเขียว หรือฉลากสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรที่ 3 การใชซํ้า (Reuse) เปนการชวยยืดอายุการใชงานผลิตภัณฑ โดยอาจซอมแซม (Repair) การเสริมสรางประสิทธิภาพการบังคับ หรือปรับปรุงใหทันสมัย (Upgrade) โดยระมัดระวังไมใหสารอันตรายจากชิ้นสวนเกาปนเปอนสู ใชกฎหมายและพัฒนาระบบกฎหมายที่เอื้อ สิ่งแวดลอม อํานวยตอการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใช การรีไซเคิล E-waste ที่มีผูรับซื้อคืนควรพิจารณาความสามารถในการจัดการหรือรีไซเคิล ไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส E-waste อยางถูกตองปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม จึงควรพิจารณาขายใหเฉพาะผูประกอบการที่ ยุทธศาสตรที่ 4 ขึน้ ทะเบียนและไดรบั อนุญาตจากหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ และหากเปน E-waste ทีไ่ มมกี ารรับซือ้ คืน การใชมาตรการทางการเงิน การคลัง ควรแยกทิ้งออกจากขยะทั่วไป เพื่อใหหนวยงานทองถิ่นนําไปกําจัดหรือรีไซเคิล และสงเสริมการลงทุนเพื่อสนับสนุนการผลิต แมวาซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสามารถนําเขาสูกระบวนการ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ เพื่อใหไดทรัพยากรกลับมาใชใหม ไมวาจะเปนพลาสติก เหล็ก ทองแดง หรือแมแตทองคําในแผง อิเล็กทรอนิกสที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและ วงจร ซึ่งชิ้นสวนเหลานี้ลวนมีมูลคา แตหากมีการคัดแยกชิ้นสวนที่ไมถูกวิธีหรือผูแยกขาดความรู การจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ ในการแยกชิน้ สวน หรือทีเ่ รียกวา “สุกเอาเผากิน” เพือ่ เอาวัสดุมมี ลู คา สรางรายไดเปนกอบเปนกํา อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ใหแกเจาของกิจการแยกชิ้นสวนของซากผลิตภัณฑ เนื่องดวยมีตนทุนตํ่า (นับเฉพาะตนทุนของ ยุทธศาสตรที่ 5 เอกชน ไมรวมตนทุนของสังคมดานสุขภาวะและดานสิ่งแวดลอม) อาทิเชน การเผาชิ้นสวนเพื่อ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการซาก แยกเอาวัสดุมีคา เชน การเผาสายไฟ เพื่อเอาทองแดง การเผาชิ้นสวนพลาสติกใหเหลือแตนอต ผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนโลหะ การเผายางรถยนตเพื่อเอาเสนลวด เปนตน การเผาชิ้นสวนของซากผลิตภัณฑ ดังกลาว อยางมีประสิทธิภาพและครบวงจร สงผลใหเกิดสารเคมีที่มีพิษฟุงกระจายไปในชั้นบรรยากาศ อันไดแก กาซซัลเฟอรไดออกไซด คารบอนมอนออกไซด สารอินทรียระเหยงาย โลหะหนักและสารไดออกซินและฟูรัน ซึ่งเปนสาร กอมะเร็งที่รายแรง นอกจากนี้การใชนํ้ากรดกัดแผงวงจรแลวใชปรอทจับกับทองสามารถสกัดทอง ไดรอยละ 30 ของปริมาณทองที่มีอยูในแผงวงจร ในขณะที่ทองอีกกวารอยละ 70 และโลหะมีคาอื่นๆ จะถูกทิ้งไปกับนํ้ากรดดวยการเทลงพื้นดิน หรือจัดเก็บนํ้ากรดดังกลาวไมถูกวิธี การคัดแยกชิ้นสวน ที่ ไ ม ถู ก วิ ธี ข  า งต น เป น สาเหตุ ทํ า ให ส ารพิ ษ ต า งๆ เข า สู  ร  า งกายได โ ดยตรงหรื อ ปนเป  อ นใน ระบบนิเวศ ซึ่งสุดทายก็จะยอนกลับมาทํารายสิ่งมีชีวิตผานหวงโซอาหาร ดิน นํ้าและอากาศ โดยผูที่ไดรับผลกระทบมากที่สุดก็คือคนงานและลูกหลานที่อยูอาศัยในชุมชนใกลกับแหลงคัดแยก ชิ้นสวนซากเหลานั้นนั่นเอง

เอกสารอางอิง 1. พรรรัตน เพชรภักดี และกฤษฎา จันทรเสนา. (2551). เทคโนโลยีการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส. สถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย. หนา 1. 2. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม. (2551). รายงานสถานการณมลพิษของประเทศไทย, ฉบับคณะกรรมการ สิ่งแวดลอมแหงชาติรับทราบ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 [ออนไลน] เขาถึงไดจาก http://www.pcd.go.th/download/pollution. cfm?task=s22 สิงหาคม 2555. 3. . (2550.) คูมือการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ไทยเอฟเฟคทสตูดิโอ. 4. . (2551). ยุทธศาสตรการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการ, ฉบับที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_battery.htm. 17 ธันวาคม 2554. 5. สุจิตรา วาสนาดํารงดี และ ปเนต มโนมัยวิบูลย. (2555). ชุดความรู เรื่องการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส (E-waste). [ออนไลน] เขาถึงไดจาก www.ehwm.chula.ac.th/e-wate.../e-wate_management_1.pdf 20 กุมภาพันธ 2555. 22

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

เซลล

แสงอาทิตย (Solar Cell)

พลังงานสะอาดเพื่อสิ่งแวดลอม ประภัสสร มีเคลือบ เซลลแสงอาทิตยที่ทําจากสาร กึ่งตัวนําประเภทซิลิคอน แบบผลึกเดี่ยว (Single Crystal) แบบผลึกรวม (Poly Crystal) แบบอะมอรฟส (Amorphous)

ประเภทของเซลลแสงอาทิตย 1. กลุม เซลลแสงอาทิตยทที่ าํ จากสารกึง่ ตัวนําประเภทซิลคิ อน จะแบง ตามลักษณะของผลึกที่เกิดขึ้น คือ แบบที่เปน รูปผลึก (Crystal) และ แบบที่ไมเปนรูปผลึก (Amorphous) แบบที่เปนรูปผลึก จะแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอน (Single Crystalline Silicon Solar Cell) และชนิดผลึกรวมซิลคิ อน (Poly Crystalline Silicon Solar Cell) แบบทีไ่ มเปนรูปผลึก คือ ชนิดฟลม บางอะมอรฟส ซิลคิ อน (Amorphous Silicon Solar Cell) 2. กลุมเซลลแสงอาทิตยที่ทําจากสารประกอบที่ไมใชซิลิคอน ซึง่ ประเภทนี้ จะเปนเซลลแสงอาทิตยทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูงถึง 25% ขึน้ ไป แตมีราคาสูงมาก ไมนิยมนํามาใชบนพื้นโลก จึงใชงานสําหรับดาวเทียม และระบบรวมแสงเปนสวนใหญ แตการพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหม จะทําใหมรี าคาถูกลง และนํามาใชมากขึน้ ในอนาคต (ปจจุบนั นํามาใชเพียง 7% ของปริมาณที่มีใชทั้งหมด) แรงเคลื่อนไฟฟาที่ผลิตขึ้นจากเซลลแสงอาทิตยเพียงเซลลเดียว จะมีคาตํ่ามาก การนํามาใชงานจะตองนําเซลลหลายๆ เซลล มาตอกัน แบบอนุกรมเพื่อเพิ่มคาแรงเคลื่อนไฟฟาใหสูงขึ้น เซลลที่นํามาตอกัน ในจํานวนและขนาดที่เหมาะสมเรียกวา แผงเซลลแสงอาทิตย (Solar Module หรือ Solar Panel) การทําเซลลแสงอาทิตยใหเปนแผงเพื่อความสะดวกในการนําไป ใชงาน ดานหนาของแผงเซลล ประกอบดวย แผนกระจกที่ มีสวนผสม ของเหล็กตํา่ ซึง่ มีคณ ุ สมบัตใิ นการยอมใหแสงผานไดดี และยังเปนเกราะ ปองกันแผนเซลลอกี ดวย แผงเซลลจะตองมีการปองกันความชืน้ ทีด่ มี าก เพราะจะตองอยูก ลางแดดกลางฝนเปนเวลายาวนาน ในการประกอบจะ ตองใชวสั ดุทมี่ คี วามคงทนและปองกันความชืน้ ทีด่ ี เชน ซิลโิ คนและ อีวเี อ (Ethelele Vinyl Acetate) เปนตน เพื่อเปนการปองกันแผนกระจก ดานบนของแผงเซลล จึงตองมีการทํากรอบดวยวัสดุทมี่ คี วามแข็งแรงแต บางครั้งก็ไมมีความจําเปน ถามีการเสริมความแข็งแรงของแผนกระจก ใหเพียงพอ ซึง่ ก็สามารถทดแทนการทํากรอบไดเชนกัน ดังนัน้ แผงเซลล จึงมีลักษณะเปนแผนเรียบ (laminate) ซึ่งสะดวกในการติดตั้ง

สวนประกอบของเซลลแสงอาทิตย

คุณสมบัติและตัวแปรที่สําคัญของเซลลแสงอาทิตย 1. ความเขมของแสง กระแสไฟ (Current) จะเปนสัดสวนโดยตรงกับความเขมของแสง หมายความวาเมือ่ ความเขมของแสงสูง กระแสทีไ่ ดจากเซลลแสงอาทิตย ก็จะสูงขึน้ ความเขมของแสงทีใ่ ชวดั เปนมาตรฐานคือ ความเขมของแสง ทีว่ ดั บนพืน้ โลกในสภาพอากาศปลอดโปรง ปราศจากเมฆหมอกและวัด ที่ระดับนํ้าทะเลในสภาพที่แสงอาทิตยตั้งฉากกับพื้นโลก ซึ่งความเขม ของแสงจะมีคาเทากับ 100 เมกะวัตต ตอ ตารางเซนติเมตร หรือ 1,000 วัตต ตอ ตารางเมตร 2. อุณหภูมิ ในขณะที่แรงดันไฟฟา (โวลต) จะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งโดย เฉลีย่ แลวทุกๆ 1 องศาทีเ่ พิม่ ขึน้ จะทําใหแรงดันไฟฟาลดลง 0.5% และ ในกรณีของแผงเซลลแสงอาทิตยมาตรฐานที่ใชกําหนดประสิทธิภาพ ของแผงแสงอาทิตยคือ ณ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส สรุปไดวา เมื่อ อุณหภูมิสูงขึ้น แรงดันไฟฟาก็จะลดลง ซึ่งมีผลทําใหกําลังไฟฟาสูงสุดของ แผงแสงอาทิตยลดลงดวย No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

23


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

ดังนัน้ กอนทีผ่ ใู ชจะเลือกใชแผงแสงอาทิตยจะตองคํานึงถึงคุณสมบัตขิ องแผงทีร่ ะบุไวในแผงแตละชนิดดวยวา ใชมาตรฐานอะไร หรือมาตรฐาน ที่ใชวัดแตกตางกันหรือไม ผูที่จะใชแผงตองคํานึงถึงขอกําหนดในการเลือกใชแผงแตละชนิด เชน แผงชนิดหนึ่งระบุวา ใหกําลังไฟฟาสูงสุดได 80 วัตต ที่ความเขมแสง 1,200 วัตต ตอ ตารางเมตร ณ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส

แนวโนมการใชเซลลแสงอาทิตยในอนาคต

ดานเทคโนโลยี จะมุงเนนไปทางฟลมบางมากขึ้น เนื่องจากตนทุนวัสดุจะถูกกวา และไมตองแยงตลาดกับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอื่นๆ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร ซึ่งตองใช Crystalline Silicon เปนหลัก ดานการตลาด ตลาดใหมสาํ หรับเซลลแสงอาทิตยโดยทัว่ ไปนาจะเปนในกลุม ประเทศทีก่ าํ ลังพัฒนา เพราะยังมีระบบไฟฟาชนบททีต่ อ งพัฒนา อีกจํานวนมาก แตมีขอจํากัดที่ตองอาศัยการลงทุนจากตางประเทศเปนหลัก ดังนั้นหากรัฐยังคงเปนเจาของกิจการไฟฟา และยังตองรับผิดชอบ ระบบไฟฟาในชนบทในหลายกรณี การเลือกใชระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย เพือ่ ขยายระบบจําหนายไปสูช นบทจะเปนทางเลือกทีด่ กี วา ระบบสายสง สําหรับตลาดเซลลแสงอาทิตยของประเทศไทยในอนาคต มีการเติบโตมากขึ้น ทั้งในดานผูใชและผูประกอบการซึ่งจากผลผลสําเร็จของ โครงการตางๆ ทีผ่ า นมา นักวิชาการไทยไดมโี อกาสเพิม่ ประสบการณมากขึน้ ทัง้ ในเรือ่ งการติดตัง้ ใชงานและการพัฒนาระบบ ดวยตนเอง ตลอดจน ความรวมมือที่เขมแข็งของกลุมนักวิชาการพลังงานแสงอาทิตยทั้งในประเทศและตางประเทศ จึงทําใหเชื่อมั่นไดวาหากนโยบายจากภาครัฐ ยังคงมีความชัดเจน และใหการสนับสนุนอยางจริงจัง โดยเฉพาะกรณีไฟฟาชนบท (Off Grid) ซึ่งเปนพื้นที่ทุรกันดาร และไมมีสายไฟฟาเขาถึง ยังมีอยูเปนจํานวนมากในทุกภูมิภาคของประเทศไทย จึงเปนเรื่องที่เปนไปไดไมยาก ในการกาวไปสูการดําเนินธุรกิจเซลลแสงอาทิตยในระดับ อุตสาหกรรมทําใหประเทศไทยเปนที่สนใจ ของนักลงทุนตางประเทศ ที่จะเขามาทําตลาดของไทยใหเติบโตขึ้น

การประยุกตใชงานเซลลแสงอาทิตยในดานตางๆ

การนําพลังงานแสงอาทิตยซึ่งเปนพลังงานจากธรรมชาติมาทดแทนพลังงานรูปแบบอื่นๆ สามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนอยางมากมาย ในการดํารงชีวิต รวมถึงไมเปนการทําลายสิ่งแวดลอม บานพักอาศัย

ระบบแสงสวางภายในบาน ระบบแสงสวางนอกบาน (ไฟสนาม ไฟโรงจอดรถ และโคมไฟรั้วบาน ฯลฯ) อุปกรณไฟฟาชนิดตางๆ ระบบเปด-ปดประตูบาน ระบบรักษาความปลอดภัย เครื่องสูบนํ้า และเครื่องกรองนํ้า ฯลฯ

ระบบสูบนํ้า ระบบแสงสวาง ระบบประจุ แบตเตอรี่ ทําการเกษตร เลี้ยงสัตว อนามัย

อุปโภค สาธารณูปโภค ฟารมเลี้ยงสัตว เพาะปลูก ทําสวน-ไร เหมืองแร และชลประทาน ฯลฯ

โคมไฟปายรถเมล ตูโทรศัพท ปายประกาศ สถานที่จอดรถ แสงสวางภายนอกอาคาร และไฟถนนสาธารณะ ฯลฯ ไฟสํารองไวใชยามฉุกเฉิน ศูนยประจุแบตเตอรี่ประจําหมูบานในชนบทที่ไมมีไฟฟาใช แหลงจายไฟสําหรับใชในครัวเรือนและระบบ แสงสวางในพื้นที่หางไกล ฯลฯ ระบบสูบนํ้า พัดลมอบผลผลิตทางการเกษตร และเครื่องนวดขาว ฯลฯ ระบบสูบนํ้า ระบบเติมออกซิเจนในบอนํ้า (บอกุงและบอปลา) และแสงไฟดักจับแมลง ฯลฯ ตูเย็น/กลองทําความเย็นเพื่อเก็บยาและวัคซีน อุปกรณไฟฟาทางการแพทย สําหรับหนวยอนามัย หนวยแพทยเคลื่อนที่ และสถานี อนามัย ฯลฯ สัญญาณเตือนทางอากาศ ไฟนํารองทางขึ้น-ลงเครื่องบิน ไฟประภาคาร ไฟนํารองเดินเรือ ไฟสัญญาณขามถนน สัญญาณจราจร คมนาคม โคมไฟถนน และโทรศัพทฉุกเฉิน ฯลฯ สถานีทวนสัญญาณไมโครเวฟ อุปกรณโทรคมนาคม อุปกรณสื่อสารแบบพกพา (วิทยุสนามของหนวยงานบริการและทหาร) และ สื่อสาร สถานีตรวจสอบอากาศ ฯลฯ บันเทิงและพักผอน แหลงจายไฟฟาสําหรับบานพักตากอากาศในพื้นที่หางไกล ระบบประจุแบตเตอรี่แบบพกพาติดตัวไปได และอุปกรณไฟฟาที่ให ความบันเทิง ฯลฯ หยอนใจ ภูเขา เกาะ ปาลึก และพื้นที่สายสงการไฟฟาเขาไมถึง ฯลฯ พื้นที่หางไกล ดาวเทียม อวกาศ

เอกสารอางอิง กองพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน ฝ า ยแผนงานพั ฒ นาโรงไฟฟ า การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (2555). เซลล แ สงอาทิ ต ย (Solar Cell). [ออนไลน ] . เขาถึงไดจาก http://www2.egat.co.th/re/solarcell/solarcell.htm. 9 สิงหาคม 2555. ชาย ชี ว ะเกตุ แ ละชนานั ญ บั ว เขี ย ว. (2555). การผลิ ต ไฟฟ า โดยเซลล แ สงอาทิ ต ย . [ออนไลน ] . เข า ถึ ง ได จ าก http://www.eppo.go.th/vrs/ VRS49-09-Solar.html. 31 สิงหาคม 2555. บริษทั ลีโอนิคส จํากัด. (2555). การผลิตไฟฟาโดยเซลลแสงอาทิตย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/solar_knowledge. php. 3 กันยายน 2555. แหลงพลังงานหมุนเวียน หรือพลังงานทดแทน. .[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www2.udru.ac.th/~sci102/Data/Unit4/Unit43.htm. 3 กันยายน 2555. 24

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ในการทํางานในโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว

ป

(SHE)

จันทิราพร ทั่งสุวรรณ บุญจง ขาวสิทธิวงษ

จจุบันการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานและประชาชนในชุมชน ใกลเคียงได ภาครัฐไดใหความสําคัญกับการจัดการมลพิษและบริหารความปลอดภัยเปนอยางยิ่ง แตละหนวยงานที่เกี่ยวของได พยายามใหผูประกอบการจัดใหมีบุคลากรที่มีความรูเฉพาะดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยของโรงงาน เชน กระทรวงแรงงานไดกําหนด ให โรงงานต อ งจั ด ให มี เจ า หน า ที่ ค วามปลอดภั ย (จป) ประจํ า โรงงาน ตามกฎกระทรวงกํ า หนดมาตรฐานในการบริ ห ารและจั ด การ ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ. 2549 (บุญจง ขาวสิทธิวงษ, 2552:354) การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) สามารถชวยปองกันการบาดเจ็บและเจ็บปวยของคนงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โรงงานผลิตนํา้ มันจากยางรถยนตเกาไมใชแลวสหกรณการเกษตร วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ไดเล็งเห็นวาพลังงานเปนสิ่งจําเปนดาน พืน้ ฐานของชีวติ พลังงานสวนใหญทใี่ ชกนั ในปจจุบนั จะเปนพลังงานชนิด สิน้ เปลือง และพลังงานของประเทศไทยนับวันจะมีราคาเพิม่ สูงขึน้ ซึง่ เปน ตนทุนหลักในการผลิตของสมาชิกสหกรณซึ่งสวนใหญเปนเกษตรกร ที่คอนขางยากจน จึงไดมีความคิดที่จะผลิตพลังงานเองและราคาถูกที่ สามารถนํามาทดแทนเชื้อเพลิงสิ้นเปลืองที่นําเขามาจากตางประเทศ ซึ่งเปนวิธีการจัดการพลังงานระดับชุมชนขนาดเล็กที่มีความมั่นคงและ ชวยประเทศชาติลดการนําเขานํา้ มัน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภายในชุมชน (สหกรณการเกษตรวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร, 2554) จากการกอตั้งโรงงาน ดังกลาว ลูกจางในโรงงานฯ ก็มีโอกาสที่จะ สัมผัสมลพิษขณะปฏิบัติงานได เชน อนุภาคฝุนจากเตาเผา ไอระเหย จากการกลั่นนํ้ามัน กาซ ละออง หรือควัน ที่ฟุงกระจายในบรรยากาศ

ขณะปฏิบตั งิ าน นอกจากนีก้ ระบวนการผลิตภายในโรงงานผลิตเชือ้ เพลิง จากยางรถยนตเกา ยังมีอันตรายอื่นๆ แฝงอยูอีกมาก เชน เสียงดังจาก การทํางานของเครื่องจักร อุณหภูมิความรอนจากเตาเผายางรถยนต เกา เปนตน ทีส่ าํ คัญลูกจางอาจจะมีพฤติกรรมการทํางานทีไ่ มปลอดภัย (Unsafe act) รวมทัง้ มีทา ทางการทํางานทีไ่ มถกู ตอง หรือทํางานซํา้ ๆ ซากๆ (Ergonomic problem) ก็จะมีโอกาสไดรบั อันตรายจากการปฏิบตั งิ านได เชนเดียวกัน ซึ่งหากลูกจางไมไดสวมอุปกรณปองกันอันตรายที่ถูกตอง และไมมรี ะบบการควบคุมสภาพแวดลอมทีเ่ หมาะสม ลูกจางจะมีโอกาส ไดรับอันตรายจากสภาพแวดลอมในการทํางานมากขึ้น การวิจัยนี้ จึงตองการตอบโจทยวา การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิง่ แวดลอมในการทํางาน (SHE) ของโรงงานทีศ่ กึ ษามีสถานภาพอยางไร มีปญหาและอุปสรรคประการใดบาง และจะมีแนวทางการพัฒนาใหดี ยิ่งขึ้นไดอยางไรในอนาคต No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

25


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา ผลการวิเคราะหขอมูล

ลักษณะสภาพแวดลอมของโรงงานที่อาจ เปนอันตราย (Unsafe Condition) การจัดการ ดานสภาพแวดลอมในการทํางานยังคงมีการ จัดการที่ยังไมดีเทาที่ควรแตยังพอรับไดเพราะ โรงงานกํ า ลั ง มี ก ารพั ฒ นาไปในทางที่ ดี ขึ้ น ในดานความสะอาด พบวา โรงงานผลิตนํ้ามัน จากยางรถยนตเกาไมใชแลวซึง่ ใชฟน และเศษไม เปนเชื้อเพลิงสําหรับการเผาไหมจะมีฝุนละออง ที่เกิดจากกระบวนการเผาไหม ซึ่งฝุนละออง ทีเ่ กิดขึน้ จากการตรวจวัดมลพิษทางอากาศ ยังอยู ภาพที่ 1 ลักษณะโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว ในเกณฑมาตรฐาน ลักษณะบุคคลและพฤติกรรมการทํางาน กรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัย ของลูกจางที่อาจเสี่ยงตออุบัติเหตุและโรคที่ เกิดจากการทํางาน (Unsafe Act.) นายจางใหความสําคัญดานสุขภาพของ ปญหาความปลอดภัย อาชีวอนามัย กลไกและกระบวนการจั ด การ พนักงานดีพอสมควรและมีกฎระเบียบในการ ลักษณะการทํางานของคนงาน อาชีว อนามัย ความปลอดภัย - วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านภายใน และสิ่งแวดลอม ทํางานที่ทําใหลูกจางทํางานอยางปลอดภัย มีการ - ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ และสิ่งแวดลอมในการทํางาน โรงงาน - นโยบายและการวางแผน - การใช อุ ป กรณ ป  อ งกั น ส ว น SHE ดําเนินการดานสงเสริมสุขภาพ และควบคุม - มลพิษดานสิ่งแวดลอมและ - การนําไปปฏิบัติ บุคคล พฤติกรรมการใชอปุ กรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคล - การจัดทําระบบ BSC เพื่อนํา แนวทางการปองกัน ของลูกจาง ไดแกหมวกนิรภัย หนากากกันฝุน มาประยุกตใชภายในโรงงานฯ และกลิน่ ถุงมือปองกันความรอน จากการสังเกต การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) พบวาลูกจางสวนใหญใสอปุ กรณปอ งกันสวนบุคคล ของคนงานในโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว เมื่ อ เข า สู  ภ ายในโรงงาน และให มี ก ารตรวจ สุขภาพประจําปแกลกู จางทุกคน มีการฝกอบรม ปญหา/อุปสรรคในการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย ด า นความปลอดภั ย และอาชี ว อนามั ย ในการ และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) ทํางาน พรอมทั้งฝกอบรมการปองกันการเกิด แนวทางการพัฒนาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย อัคคีภยั ในโรงงานทุกป แตยงั ขาดบุคลากรทางดาน และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) ความปลอดภัย (เจาหนาทีค่ วามปลอดภัยในการ ทํางาน จป) ประจําโรงงาน สถานภาพการจัดการ SHE ลูกจางยังไมมีความรู ความเขาใจในดาน การจัดการระบบ SHE เทาที่ควร แตลูกจาง ยินดีใหความรวมมือกับนายจางในการนําระบบ การบริหารจัดการ SHE เขามาใช นายจางไดมี ความคิดที่จะใหความรู ความเขาใจในเรื่องของ สภาพการจัดการ SHE แกลกู จาง ซึง่ ตองอธิบาย ใหลูกจางเขาใจไดงาย ชัดเจน ไมซํ้าซอน และ ตองใหความรูค วามเขาใจในเรือ่ ง SHE ประโยชน และโทษที่ จ ะได รั บ หากไม ป ฏิ บั ติ ห รื อ ละเลย การปองกันตนเองจากการทํางาน และนายจาง มีแผนการกําหนดนโยบายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดลอม ในอนาคตตอไป เพือ่ ลดอุบตั เิ หตุ อุบตั กิ ารณ โรคจากการทํางาน และความสูญเสีย ตอชีวิต ทรัพยสิน และสภาพแวดลอม พรอมทั้ง มีแผนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ SHE ใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง ภาพที่ 2 ลักษณะสภาพแวดลอมของโรงงาน 26

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

กลไกและกระบวนการในการจัดการ SHE โรงงานฯ มีการเตรียมความพรอมที่จะนําระบบ SHE เขามาใช กําหนดการบริหารจัดการภายในโรงงานฯ พรอมทั้งกําหนดทิศทาง การจัดทําเรื่อง SHE ซึ่งจะตองชัดเจนและสอดคลองกับลักษณะของ โรงงานฯ นอกจากนีต้ อ งใหลกู จางเขามามีสว นรวมในการวางกลไกและ กระบวนการจัดการ SHE ของ โรงงานฯ ดวย ผลกระทบสิ่งแวดลอมตอคนในชุมชนใกลเคียงโรงงาน จากกระบวนการผลิตของโรงงานยังไมกอใหเกิดมลพิษที่สงผล กระทบตอชุมชนใกลเคียง เนื่องจากโรงงานฯ อยูหางจากแหลงชุมชน พอสมควร ทางโรงงานฯ มีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ สิ่งแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมอยาง สมํา่ เสมอ และหากการบําบัดมลพิษจากกระบวนการผลิตเริม่ กอใหเกิด มลพิ ษ ต อ งรี บ ดํ า เนิ น การแก ไขปรั บ ปรุ ง ระบบบํ า บั ด มลพิ ษ ให มี ประสิทธิภาพในการบําบัดมลพิษอยางสมํ่าเสมอ แนวทางในการพัฒนา SHE ของโรงงาน ตองมีการใหความรู และจัดฝกอบรมแกนายจาง ลูกจางและผูที่เกี่ยวของไดเขาใจในเรื่อง การพัฒนา SHE และควรมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน (จป.) ประจําโรงงาน พรอมเฝาระวังทางดานสิง่ แวดลอม และดานความ ปลอดภัยในการทํางาน และเมือ่ เกิดปญหาดานมลพิษตองรีบดําเนินการ แกไขโดยทันที พรอมทัง้ ตองมีการพัฒนา SHE อยางตอเนือ่ งใหเหมาะสม กับกระบวนการผลิตและการดําเนินงานภายในโรงงานฯ ใหมีความ ทันสมัยอยูเสมอ การมีสวนรวมของประชาชนลักษณะตางๆ เชน การไดงานทํา ในโรงงาน รวมทํากิจกรรมเปนครั้งคราวและการนํายางรถยนตเกามา ขายใหแกโรงงาน ชาวบานบริเวณใกลเคียงโรงงานจะสามารถสรางรายได จากการนํายางรถยนตเกามาขายใหแกโรงงาน ลูกหลานของสมาชิกและ ชุมชนไดมงี านทําเพิม่ ขึน้ และสมาชิกสหกรณมรี ายไดจากเงินปนผลมากขึน้ อีกทัง้ ชุมชนก็ไดรบั เงินสนับสนุนในการทํากิจกรรมตางๆ ของชุมชนจาก โรงงาน เปดใหบคุ คลภายนอกเขาเยีย่ มชมโรงงานฯ เพือ่ ศึกษาดูงานขัน้ ตอน กระบวนการผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิง โรงงานไดใหความสนใจและรับผิดชอบเกี่ยวกับผลกระทบของ มลพิษตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของคนในชุมชนอยางไร ไดมีการ เปดโรงงานใหชาวบานใกลเคียงหรือผูที่สนใจไดเขามาดูกระบวนการ การผลิตภายในโรงงาน เพื่อใหเกิดความแนใจในกระบวนการผลิตวา ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม สุขภาพและความเปนอยู ของชาวบาน ในบริเวณใกลเคียง นอกจากนี้ชาวบานในชุมชนใกลเคียงไดขอใหทาง สหกรณไดปฏิบัติตามคํามั่นสัญญาครั้งที่ไดทําประชาคมกับชาวบานวา ถ า ปรากฏว า โรงงานส ง ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มและชุ ม ชนได รั บ ความเดือดรอนทางโรงงานจะหยุดดําเนินการเพื่อแกไขปรับปรุงใหได มาตรฐานตามที่ทางราชการกําหนด แตถาไมสามารถปรับปรุงแกไขให ดีขึ้นได ตองปดกิจการทันที ชุมชนและโรงงานจะอยูรวมกันอยางสันติและยั่งยืนไดโดย ผูบ ริหารโรงงานและสหกรณ ตองใหความสําคัญในดานสิง่ แวดลอมและ สุขภาพ ของประชากรในชุมชน ควรใหประชาชนในชุมชนมีสวนรวม ในการเขาตรวจสอบดานมลพิษของโรงงาน อีกทั้งโรงงานและชุมชน ควรใหความเอื้ออาทรเกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน ไดแก โรงงานผลิตเชื้อเพลิงเกา จากยางรถยนตไมใชแลว เปนโครงการที่นําวัสดุทิ้งแลวมาผลิตเปน

ภาพที่ 3 การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ พลังงานทดแทนและชวยรักษาสิง่ แวดลอม ซึง่ สามารถผลิตนํา้ มันเชือ้ เพลิง พอเพียงแกเกษตรกร ที่เปนสมาชิกของสหกรณได เปนวิธีการจัดการ พลังงานระดับชุมชนขนาดเล็กที่มีความมั่นคงและยั่งยืน นอกจากนี้ ชุมชนยังสามารถสรางรายไดจากการนํายางรถยนตเกาไมใชแลวมาขาย ใหแกโรงงานเพื่อเปนวัตถุดิบในการผลิต และเปนการสรางงานใหลูก หลานในชุมชนมีงานทํา โรงงานควรใหการสนับสนุนงบประมาณในการ จัดทํากิจกรรมตางๆ ของชุมชนอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง

ผลดี/ผลเสียของการมีโรงงานผลิตนํ้ามันจาก ยางรถยนตเกาไมใชแลว ผลดี คือ สามารถผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิงที่พอเพียงสําหรับกลุม เกษตรกรที่เปนสมาชิกของสหกรณ เปนวิธีการจัดการพลังงานระดับ ชุมชนขนาดเล็กที่มีความมั่นคงและลดการนําเขานํ้ามันเชื้อเพลิงจาก แหลงอื่น ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน เปนการลด ตนทุนในการผลิตดานการเกษตรของสมาชิกสหกรณและเกษตรกรใน ชุมชนและทําใหชาวบานในชุมชนมีงานทําและมีรายได ลดปญหาดาน การกําจัดทําลายขยะในชุมชน ผลเสีย คือ หากมีการขยายขนาดของโรงงานฯ ชาวบานกลัว ผลกระทบจากกระบวนการผลิตทีอ่ าจเกิดปญหามลพิษดานตางๆ ซึง่ จะ สงผลตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ ถาไมมีการจัดการสิ่งแวดลอมภายใน และภายนอกโรงงานใหมคี วามเหมาะสม และมีแนวทางการแกไข คือให ทางผูบริหารโรงงานและทางสหกรณ มีการปองกันและแจงชุมชน หากกระบวนการผลิตของโรงงานเกิดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและสุขภาพ ของประชากรในชุมชนและตองการใหโรงงานเห็นความสําคัญในเรือ่ งนี้ มากที่สุด นอกจากนี้โรงงานตองมีระบบบําบัดมลพิษที่มีประสิทธิภาพ ตองมีการบํารุงรักษาอยางสมํ่าเสมอ เพื่อปองกันมลพิษไมใหรั่วไหล ออกสูภายนอกโรงงานและควรมีการตรวจวัดมลพิษเปนประจําทุกป

No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

27


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

Safety Health and Environment

สรุป

28

“การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) ใน โรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการ SHE ของโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลวและมลพิษที่อาจสงผลกระทบตอคนในชุมชน รวมทัง้ กลไกและกระบวนการ SHE ของนายจาง กลุม ทีท่ าํ การวิจยั ครัง้ นีค้ อื นายจาง ลูกจาง คนในชุมชน ใกลเคียงโรงงานและเจาหนาที่ทองถิ่น ซึ่งสามารถสรุปผลได ดังนี้ 1. ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย นายจางและลูกจางในโรงงาน ยังขาดความรูค วามเขาใจในกระบวนการจัดการ SHE เนือ่ งจาก ใหความสําคัญในกระบวนการผลิตเชือ้ เพลิงของโรงงานมากกวา และลูกจางยังไมมคี วามเขาใจใน เรื่องการจัดการ SHE เทาที่ควร ในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเปนการปฏิบัติตาม กฎระเบียบที่ทางโรงงานกําหนดไว แตขาดความเขาใจอยางแทจริง การพัฒนาการจัดการ SHE และการสงเสริมการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และทางโรงงานมีนโยบายที่จะใหมี การจัดฝกอบรมเกีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย เปนประจําทุกปเพือ่ ปลูกฝงความเชือ่ คานิยม และทัศนคติเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยใหถูกตอง นอกจากนี้ ไดสนับสนุนใหเกิด การเปลีย่ นแปลงทางความคิดทัง้ วิธกี ารคิดการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งความปลอดภัย อาชีวอนามัยใหถกู ตอง ดีขนึ้ รวมทัง้ การรับรู และความรูเ กีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยประกอบกันไป เพือ่ ใหลกู จาง ตระหนักถึงความสําคัญของกระบวนการจัดการ SHE ซึง่ กอใหเกิดประโยชนแกตวั ของลูกจางเอง 2. ดานสิ่งแวดลอม กระบวนการผลิตยางรถยนต จะมีเศษยางเหลือทิง้ โดยวิธกี ารกําจัดเศษยางเหลานีค้ อื การเผา ซึ่งปลอยกาซที่ทําลายสิ่งแวดลอม หากมีวิธีการกําจัดเศษยางที่ถูกตองจะชวยลดคาใชจายในการ กําจัดใหกบั อุตสาหกรรม และไมกอ ใหเกิดปญหาตอสิง่ แวดลอม ทางสหกรณการเกษตรวานรนิวาส ไดเล็งเห็นถึงปริมาณขยะจากยางรถยนตทเี่ พิม่ มากขึน้ ในแตละป จึงไดกอ ตัง้ โรงงานผลิตเชือ้ เพลิง จากยางรถยนตเกาทีไ่ มใชแลวขึน้ และโรงงานฯ ไดตระหนักถึงปญหาดานสิง่ แวดลอมทีอ่ าจเกิดขึน้ จากกระบวนการผลิต จึงไดมีการตรวจวัดปญหามลพิษดานสิ่งแวดลอม ไดแก ตรวจสอบคุณภาพ อากาศในบรรยากาศของโรงงานตรวจสอบคุณภาพอากาศในพื้นที่ทํางานของโรงงานตรวจสอบ ระดับเสียงในพื้นที่ทํางานของโรงงานตรวจสอบระดับเสียงทั่วไปของโรงงานตรวจสอบคุณภาพ นํ้าทิ้งของโรงงาน ตรวจสอบขี้เถาจากการเผายางรถยนตของโรงงาน เพื่อนําขอมูลมาใชในการ ปรับปรุง และพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพสิง่ แวดลอม ผลการตรวจวัดมีคา อยูใ นเกณฑมาตรฐาน ทั้งหมด ซึ่งเปนการสรางความมั่นใจแกชาวบานในชุมชนใกลเคียงโรงงานฯ วากระบวนการผลิต เชือ้ เพลิงจากยางรถยนตเกาไมใชแลวไมกอ ใหเกิดมลพิษทีส่ ง ผลกระทบตอสุขภาพและสิง่ แวดลอม ของชาวบานในชุมชน อีกทั้งทางโรงงานฯไดเปดโอกาสใหผูที่สนใจในกระบวนการผลิตและ การจัดการดานสิ่งแวดลอมของโรงงานฯไดเขาเยี่ยมชมภายในโรงงานฯ เพื่อสรางความนาเชื่อถือ และความมั่นใจ 3. ดานการวิเคราะห Balanced Scorecard (BSC) การนํามาประยุกตใชรว มกับการจัดการ SHE ภายในโรงงานฯ จะทําใหทราบถึงประสิทธิภาพ และขั้นตอนในกระบวนการผลิต สงผลกระทบดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม อยางไรบาง เพื่อนําไปสูแนวทางการแกไขปรับปรุงไปในทางที่ดีขึ้น อีกทั้งเปนการแกไขปญหาที่ ตรงจุด ทําใหการจัดการดาน SHE ภายในโรงงานฯ มีประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ การทําความเขาใจ ของคนงานใหมคี วามเขาใจตรงกัน และเปนการสรางแนวทางการจัดการ SHE รวมกันภายในโรงงานฯ จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ พบวาการพัฒนาการจัดการ SHE และการสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ของโรงงานฯ ยังไมมีการพัฒนาและการจัดการที่ถูกตอง เนื่องจาก ไดเนนแตประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ ในการควบคุมใหเปน โรงงานฯ ที่ไมมีอันตรายหรือเอื้อตอความปลอดภัย ควรปลูกฝงความเชื่อ คานิยม และทัศนคติ เกี่ยวกับความปลอดภัยใหถูกตอง นอกจากนี้ควรไดรับการสนับสนุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง ความคิด ทั้งวิธีการคิดการปฏิบัติในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอมใหถูกตอง ยิ่งขึ้น เพื่อใหลูกจางตระหนักถึงความสําคัญของกระบวนการจัดการ SHE ซึ่งกอใหเกิดประโยชน แกตัวของลูกจางเอง

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

กับการสงเสริมการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมอยางมีสวนรวม

จินดารัตน เรืองโชติวิทย

ามที่ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ในฐานะที่เปนหนวยงานหลักดานการวิจัย และ พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการปองกันและควบคุมมลพิษ รวมทั้ง การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ไดตระหนักถึงความสําคัญของ การมีสวนรวมในการศึกษาวิจัยทางวิชาการของหนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ ทั้งจากหนวยงานภาครัฐ เอกชน รัฐวิสาหกิจ องคกรเอกชน ชุมชน และประชาชน ซึ่งเปนไปตามนโยบายของรัฐบาลที่ไดใหความสําคัญกับการสงเสริมและสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน และภาคี ที่เกี่ยวของ มีสวนรวมในการวิจัยและพัฒนา เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลงานวิจัยที่จะนําไปสูการพัฒนาเทคโนโลยีหรือองคความรู เพื่อการสงเสริมและ รักษาคุณภาพสิง่ แวดลอม การปองกัน และควบคุมมลพิษ ตลอดจนการบําบัดฟน ฟูคณ ุ ภาพสิง่ แวดลอมของประเทศ ดังนัน้ กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม จึงไดเห็นความสําคัญของการสรางเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมขึ้น เพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการศึกษาวิจัย ดานสิ่งแวดลอม โดยมุงเนนการสงเสริมการมีสวนรวมในการศึกษาวิจัยทางวิชาการของนักวิจัยจากหนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ ซึ่งปจจุบันมี สมาชิกเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม จํานวนประมาณ 700 คน กระจายอยูทั่วประเทศ กิจกรรมหลักในการขับเคลื่อนการดําเนินงานของ เครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ประกอบดวย 2 กิจกรรมหลัก ไดแก การจัดทําโครงการสงเสริมการศึกษาวิจยั แบบบูรณาการ ภายใตเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม เพือ่ ใหสมาชิกเครือขายไดมโี อกาสศึกษาวิจยั รวมกัน ตัง้ แตกระบวนการศึกษาวิจยั ไปจนถึงการนําผลงานวิจยั ไปใชประโยชน และการ จัดทําเวทีแลกเปลียนเรียนรูงานวิจัย ภายใตเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม เพื่อใหสมาชิกเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู ขอมูลทางวิชาการ และประสบการณตางๆ ซึ่งกันและกัน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ไดขับเคลื่อนการดําเนินกิจกรรมภายใตเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมใน 2 กิจกรรมหลักอยางตอเนื่อง มาตัง้ แตป พ.ศ. 2553 ซึง่ ในป พ.ศ. 2555 การดําเนินโครงการพัฒนาและสงเสริมความรวมมือเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ประกอบดวย โครงการ วิจัยที่ไดจากการคัดเลือกขอเสนอโครงการวิจัยที่มีผูแจงความประสงคสงเขารวมศึกษาภายใตโครงการดังกลาว จํานวน 5 โครงการ ไดแก 1. โครงการศึกษาแนวทางการจัดการนํ้าเสียจากกิจกรรมฆาสัตว โดยการมีสวนรวมของชุมชน: กรณีศึกษาบานชะไว อําเภอไชโย จังหวัด อางทอง โดย นางอรอนงค อุทัยหงษ ตําแหนงนักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ สังกัดสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษารูปแบบการบําบัดนํ้าเสียที่เหมาะสมกับพื้นที่และสอดคลองกับความตองการของชุมชน โดยการศึกษาพฤติกรรมและการมีสวนรวม ของชุมชนที่มีผลตอการจัดการนํ้าเสียที่แหลงกําเนิด และนําผลการศึกษาใชเปนแนวทางการจัดการนํ้าเสียจากกิจการฆาสัตวในชุมชนโดยการมี สวนรวมของประชาชน No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

29


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

2. โครงการเรือ่ ง การศึกษาเพือ่ จัดทําโครงการนํารองชุมชนตนแบบการเรียนรูแ นวทาง การใชวัสดุทางเลือกในการกอสรางอาคาร กรณีศึกษากระบวนการใชวัสดุดินและวัสดุเหลือใช จากการเกษตรในการกอสรางอาคารชุมชนบานปรางคเกา ตําบลบานหัน อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา โดย นายนราธิป ทับทัน ตําแหนงอาจารย สังกัดสาขาวิชาเทคโนโลยี สถาปตยกรรม คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ พัฒนากระบวนการกอสราง อาคารดวยอิฐดินโดยใชทรัพยากรในทองถิน่ เพือ่ ใหไดแนวทางการใชวสั ดุทางเลือกทีเ่ หมาะสม กับการใชงานในพื้นที่ โดยมีกระบวนการผลิตและกอสรางที่ไมซับซอน และใชตนทุนในการ ผลิตตํ่า และเปรียบเทียบอิฐดินที่ผลิตจากวัสดุทองถิ่นชนิดตางๆ กับวัสดุอุตสาหกรรม เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ในการพึง่ พาตนเองของชุมชนและเปนแนวทางในการเลือกใชงานตอไป 3. โครงการศึกษาการปรับตัวของวิถีชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศในพื้นที่ลุมนํ้าชี: กรณีศึกษาลุมนํ้าสาขาลํานํ้าชีสวนที่ 2 โดย นายชัยรัตน ศรีโนนทอง ตําแหนงนักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สังกัดสํานักงานทรัพยากรนํ้าภาค โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานภาพ สถานการณปจจุบันของวิถีชุมชน กลุมเสี่ยง กลุมเปราะบาง ของชุมชนที่เกิดจาก สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการศึกษา รูปแบบ วิธี การ กระบวนการปรับตัวของชุมชนและครัวเรือนและถอดบทเรียนบุคคล ตนแบบในการปรับตัวจากการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ ในพืน้ ทีล่ มุ นํา้ สาขาลํานํ้าชีสวนที่ ๒ บานนาฮี หมู ๙ ตําบลศรีสําราญ อําเภอคอนสวรรค จังหวัดชัยภูมิ 4. โครงการเรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะแบบ ครบวงจร โดย นายธนาวุธ โนราช ตําแหนงนักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ สังกัดสํานักงานสิง่ แวดลอมภาคที่ 10 โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ ใหทราบสถานการณ และความรุนแรงของมลพิษทางอากาศในสวนของฝุนละอองจากการเผาขยะ และกระตุนใหประชาชนและชุมชนไดตระหนักและรับรูถึงความจําเปนในการ คัดแยกขยะ และการใชประโยชนจากขยะมูลฝอย เพื่อเปนการลดปริมาณขยะ จากแหลงกําเนิด และลดภาระการกําจัดขยะที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการลด ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการกําจัดขยะ

5. โครงการศึกษารูปแบบการจัดการปาชุมชนในการอนุรักษแหลงอาหารเพื่อการบริโภคอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาปาแดนสงฆ ตําบลสํานัก ตะครอ อําเภอเทพารักษ จังหวัดนครราชสีมา โดย นายกอง เค็มกระโทก ตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สังกัดสํานักงานสาธารณสุข จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหารูปแบบการจัดการปาชุมชนในการอนุรักษแหลงอาหารเพื่อการบริโภคอยางยั่งยืน โดยการศึกษา บริบทของปาแดนสงฆ และชุมชนที่อาศัยอยูรอบบริเวณปาแดนสงฆ ตลอดจนสถานการณ การใชประโยชนจากปาแดนสงฆของชุมชนรอบปา 30

www.deqp.go.th No. 21 October 2012


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

ทัง้ นี้ รูปแบบการดําเนินโครงการวิจยั ภายใตโครงการพัฒนาและสงเสริมความรวมมือเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ทีใ่ ชในการดําเนินโครงการ ดังกลาว ในระยะเวลา 3 ปที่ผานมา พบวามีสวนชวยในการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมของภาคีเครือขายที่เกี่ยวของได เปนอยางดี และมีสวนกระตุนใหหนวยงานที่เกี่ยวของใหความสนใจและใหความสําคัญของการศึกษาวิจัย เพื่อที่จะไดมาซึ่งขอมูลที่สามารถนําไป ใชในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในพื้นที่ไดอยางแทจริง สําหรับการจัดทําโครงการจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูง านวิจยั ดานสิง่ แวดลอม ภายใตเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ในป พ.ศ. 2555 ประกอบดวย การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู จํานวน 3 หัวขอ ดังนี้ 1. หัวขอ หมอกควัน ไฟปา และการเผาในทีโ่ ลง ไดจดั ขึน้ เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 ณ จังหวัดเชียงใหม มีผูเขารวมเวที ทั้งหมด จํานวน 120 คน วิทยากรที่เปนผูนําเสนอองคความรู ประกอบดวย นายอภิวัฒน คุณารักษ ผูอํานวยการสํานักงาน สิ่งแวดลอมภาคที่ 1 รศ.ดร.นพ.พงศเทพ วิวรรธนะเดช หัวหนา ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม นายแพทยจรัส สิงหแกว ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลสารภี นายสันตณรงค วีระชาติ ผูใหญบานปาจั่น อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ดร.หทัยรัตน การีเวทย ศูนยวิจัยและฝกอบรม ด า นสิ่ ง แวดล อ ม ผศ.ดร.สมพร จั น ทระ คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และนายสุรศักดิ์ นุมมีศรี มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม 2. หั ว ข อ การปรั บ ตั ว ของชุ ม ชนเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศโลก ไดจัดขึ้น เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ณ จังหวัด ขอนแกน มีผูเขารวมเวทีทั้งหมด จํานวน 90 คน วิทยากรที่เปนผูนําเสนอ องค ค วามรู  ป ระกอบด ว ย ดร.อั ศ มน ลิ่ ม สกุ ล ศู น ย วิ จั ย และฝ ก อบรม ดานสิ่งแวดลอม ดร.วิเชียร เกิดสุข สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ขอนแกน ผศ.ดร.เกริก ปนเหนงเพ็ชร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน นายหาญชัย นนทะแสน นายกเทศมนตรีตําบลโนนทอง นายรัฐพล พิทักษเทพสมบัติ องคการกองทุนสัตวปาโลกสากล (WWF) ประเทศไทย 3. หัวขอการฟน ฟูนาํ้ ใตดนิ และดินทีป่ นเปอ นสารอันตราย ไดจดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2555 ณ จังหวัดพิษณุโลก มีผเู ขารวม เวทีทั้งหมดจํานวน 150 วิทยากรที่เปนผูนําเสนอองคความรู ประกอบดวย ดร.แฟรดาซ มาเหล็ม และนายพีรพงษ สุนทรเดชะ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ดร.วิสาข สุพรรณไพบูลย คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยนเรศวร นายสมาน แสงสวาง ตัวแทนผูไดรับผลกระทบจากการปนเปอนสารอันตรายในพื้นที่ จังหวัดพิจติ ร นายญาณพัฒน ไพรมีทรัพย ตัวแทนผูไ ดรบั ผลกระทบ จากการปนเปอ นสารอันตรายในพืน้ ทีจ่ งั หวัดตาก นางอารมณ คําจริง และนายวิม สารณชาวนา ตัวแทนผูไ ดรบั ผลกระทบจากการปนเปอ น สารอันตรายในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และนายอาวีระ ภัคมาตร สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 3 จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งทานที่สนใจขอมูลการสรุปองคความรู และขอสรุปที่ไดจากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูทั้ง 3 หัวขอดังกลาว สามารถดาวนโหลดขอมูล ไดที่ www.deqp.go.th/website/20/ ทั้งนี้ สมาชิกเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม หรือนักวิจัยจากภาคีเครือขายตางๆที่เกี่ยวของ สามารถใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะตอการดําเนิน โครงการวิจัยภายใตโครงการพัฒนาและสงเสริมความรวมมือเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม หรือโครงการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูงานวิจัย ดานสิ่งแวดลอม ไดที่ สวนความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม หรือที่ e-mail : jindaratr@ hotmail.com เพื่อใหการสงเสริมการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมอยางมีสวนรวมของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมสามารถขับเคลื่อนใหเกิด การมีสว นรวมในการศึกษาวิจยั อยางแทจริง และขอมูลทีไ่ ดจากการศึกษาวิจยั สามารถนําไปใชในการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมไดอยางเปนรูปธรรม มากยิ่งขึ้น No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

31


GREEN RESEARCH

พึ่งพาธรรมชาติ

ชีวภาพ-ชีวมวล-ความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ สู การจัดตั้งสังคม

Satoyama

จุฑาธิป อยูเย็น

(Satoyama Initiative)

นั

บจากมหาอุทกภัยป 2554 เกิดนํา้ ทวมครัง้ ใหญ ในประเทศไทย สภาพการเปลีย่ นแปลงของง สภาวะภูมิอากาศโลก และภัยพิบัติในทั่วโลก ประชาชนเริ่มตระหนักและหันกลับมามองถึง สาเหตุและวิธีการปองกัน แกไขปญหา สิ่งสําคัญคือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ถู ก ทํ า ลายอย า งรุ น แรงเพื่ อ การใช ป ระโยชน ข องมนุ ษ ย ช าติ อ ย า งไร ขี ด จํ า กั ด เป น ผลใหห ความหลากหลายทางชีวภาพลดลงอยางรุนแรง เปนที่ทราบกันดีวากลจักรของโลกควบคุม ดวยสิ่งมีชีวิต เมื่อสมดุลชีวภาพถูกทําลาย สมดุลของโลกก็ถูกทําลายเชนกัน สงผลตอชีวิต ของมนุษยตกอยูในอันตรายจากการเสียสมดุลนั่นเอง กอนอื่นเรามาทําความเขาใจ คําศัพท/ นิยามที่เกี่ยวของ/เกี่ยวเนื่องดวยสิ่งมีชีวิตกันกอน

ชีวภาพ หมายถึง เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต นักชีววิทยาจําแนกสิ่งมีชีวิตเปน 5 กลุมใหญ หรือ อาณาจักร รายละเอียดปรากฏตามม แผนภูมิดานลาง

สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้มีจํานวนระหวาง 2 - 30 ลานสปชสี  โดยทีบ่ นั ทึกอยางเปนทางการ แลว 1.4 ลาน สปชีสแบงออกเปนกลุมใหญๆ 5 อาณาจักร ดังนี้ 1. อาณาจั ก รโมเนอรา (Kingdom Monera) ประกอบดวยจุลนิ ทรียพ วกโพรคาริโอต ในกลุมนี้ ไดแก แบคทีเรียและสาหรายสีเขียว แกมนํ้าเงิน (blue green algae) มีสมาชิก ประมาณ 6,000 สปชีส 2. อาณาจั ก รโพรติ ส ตา (Kingdom Protista) เปนอาณาจักรของยูคาริโอตเซลเดีย่ ว มีสมาชิกประมาณ 60,000 สปชสี  เซลลถกู พัฒนา ใหมนี วิ เคลียสหอหุม โครโมโซม และสรางอวัยวะ ซึ่งทําหนาที่เฉพาะทาง ไดแก คลอโรพลาสต ซึ่งมีหนาที่สังเคราะหอาหารดวยแสง โดยการ เปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซดใหเปนอาหาร และคายกาซออกซิเจน ไมโทคอนเดรียน มีหนาที่ นํากาซออกซิเจนมาเผาผลาญอาหารใหเกิด พลังงานและคายกาซคารบอนไดออกไซดออกมา ซึง่ วิวฒ ั นาการในยุคตอมาไดแยกเปน พืช เห็ดรา และสัตว สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพติสตา ไดแก สาหราย โปรตัวซัว แพลงตอน 3. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) มีสมาชิกประมาณ 250,000 สปชีส 4. อาณาจักรเห็ดรา (Kingdom Fungi) มีสมาชิกประมาณ 70,000 สปชีส 5. อาณาจักรสัตว (Kingdom Animalia) มีสมาชิกประมาณ 1,000,000 สปชีส

ค ภาพที่ 1 แสดงอาณาจักรสิ่งมีชีวิต แบงเปน 5 อาณาจักร 32

www.deqp.go.th No. 21 October 2012

วามหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity; Biological diversity) หมายถึง การมี สิง่ มีชวี ติ นานาชนิดพันธุอ ยูร ว มกันในสถานทีห่ นึง่ หรือเรียกวาระบบนิเวศ สิง่ มีชวี ติ หลายชนิดพันธุ อยูร ว มกันในรูปแบบตางๆ กัน โดยการจัดสรร ของธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ระดับ คือ 1. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ (species diversity) 2. ความหลากหลาย ทางพั นธุ ก รรม (genetic diversity) และ 3. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา (ecosystem diversity)


GREEN RESEARCH

พึ่งพาธรรมชาติ

พลังงานชีวภาพ หรือ พลังงานชีวมวล ทรัพยากรชีวมวล คือมวลสารของสิง่ มีชวี ติ ไดแก พืชพรรณ ปาไม ผลผลิตการเกษตร และของเหลือ จากการแปรรูปสินคาเกษตร เชน แกลบ ฟางขาว ชานออย กะลาปาลม กะลามะพราว หรือของเสีย อินทรียจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร ฯลฯ รวมทั้งมูลสัตว เชน ไก หมู วัว เปนตน ทรัพยากรที่นาสนใจ ในการนํามาพัฒนาเปนพลังงานในอนาคตก็คอื กากของเหลือทางการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร รวมถึงมูลสัตวตา งๆ เนือ่ งจากหางายและราคาถูก พลังงานชีวภาพ (พลังงานชีวมวล) ใชวสั ดุอนิ ทรียเ หลานี้ เปนเชือ้ เพลิง โดยใชเทคโนโลยี เชน การสะสมกาซ การเปลีย่ นเปนกาซ (การเปลีย่ นแปลงวัสดุแข็งเปนกาซ) การเผาไหม และการยอยสลาย (สําหรับของเสียเปยก) เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotecnology) เปนความรู และวิชาการที่นําสิ่งมีชีวิต และ/หรือผลผลิตจาก สิง่ มีชวี ติ มาใช และ/หรือมาประยุกตโดยการเติมแตงหรือปรับเปลีย่ นเพือ่ นํามาใชประโยชน ตัวอยางการใช เทคโนโลยีชีวภาพ ไดแก การขยายและการปรับปรุงพันธุสิ่งมีชีวิต การนําผลผลิตจากสิ่งมีชีวิตไปแปรรูป เปนอาหารหรือยา การแปรรูปผลผลิตในระดับโรงงาน การใชจุลินทรียที่เหมาะสมในการบําบัดนํ้าเสีย การนําของเหลือใช ของเสียไปใชประโยชน เชน การทําปุยชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพที่มีประโยชน ไดแก การตัดตอยีน (genetic engineering) เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) เทคโนโลยี โมเลกุลเครื่องหมาย (molecular markers)

ความหลากหลายทางชีวภาพสําคัญอยางไร ความหลากหลายทางชีวภาพระหวางสายพันธุ ทีเ่ ห็นไดชดั เจนทีส่ ดุ คือ ความแตกตางระหวางพันธุพ ชื และสัตวตา งๆ ทีใ่ ชในการเกษตร ความแตกตางหลากหลาย ระหวางสายพันธุ ทําใหสามารถเลือกบริโภคพันธุพืช ตางๆ เปนอาหารเลีย้ งชีวติ มนุษย ความแตกตางทีม่ อี ยู ในสายพันธุต า งๆ ยังชวยใหเกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ ตางๆ เพื่อการเกษตรกรรมที่เหมาะสมได เปนตน ความหลากหลายระหว า งชนิ ด พั น ธุ  พื้ น ที่ ธรรมชาติเปนแหลงที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกตาง หลากหลาย มนุษยไดนําเอาสิ่งมีชีวิตมาใชประโยชน ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม นอยกวารอยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเปนจริงพบวามนุษย ไดใชพืชเปนอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชที่มีทอ ลําเลียง (vascular plant) ที่มีอยูทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณรอยละ 25 ของพืชที่มี ทอลําเลียงนี้สามารถนํามาบริโภคได สําหรับชนิดพันธุ สัตวนั้น มนุษยไดนําเอาสัตวเลี้ยงมาเพื่อใชประโยชน เพียง 30 ชนิด จากสัตวที่มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มี ในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP, 1995) ความหลากหลายระหวางระบบนิเวศ เปนความ แตกตางระหวางระบบนิเวศประเภทตางๆ เชน ปาดงดิบ ทุงหญา ปาชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศทีม่ นุษยสรางขึน้ เชน ทุงนา อางเก็บนํ้า หรือแมกระทั่งชุมชนเมืองเพื่อการ อยูอาศัย ในระบบนิเวศเหลานี้ สิ่งมีชีวิตก็ตางชนิดกัน และมีโครงสรางหนาที่ในระบบนิเวศแตกตางกัน

ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย ประเทศไทยเปนประเทศที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่อุดมสมบูรณดวยความหลากหลายทาง ชีวภาพ ตั้งแตอดีตจวบจนปจจุบัน ความหลากหลายทางชีวภาพไดคํ้าจุนใหวิถีชีวิตของ คนไทยดําเนินไปโดยสมบูรณพนู สุข ความหลากหลายทางชีวภาพทําใหอาหารไทยมีความ หลากหลาย ในรูปแบบ กลิ่น และรส ความหลากหลายทางชีวภาพปรากฏในสมุนไพร ยาพืน้ บาน ทัง้ ทีใ่ ชรกั ษาโรคภัยไขเจ็บ และใชบาํ รุงรักษาสุขภาพอนามัย ความหลากหลาย ทางชีวภาพยังทําใหคนไทยไมขาดเครือ่ งใชไมสอยทีจ่ าํ เปนสําหรับการดํารงชีวติ นอกจากนี้ ความหลากหลายทางชีวภาพยังสะทอนในประเพณีไทยที่งดงามยังคงสืบทอดมาจน ปจจุบัน ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยสามารถแบงไดเปน 1. ความหลากหลายทางชีวภาพในวัฒนธรรมและประเพณีไทย 2. ความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งแวดลอม ไดแก ปาดิบชนิดตางๆ ปาดงดิบ ปาชายเลน บึง พรุ ทะเลสาบ ทะเล ฯลฯ 3. ความหลากหลายทางชีวภาพในยาและการรักษาโรค ประเทศไทยมีพืชสมุนไพรที่เคยใชผลิตเปนยาแผนโบราณกวา 1,000 ชนิด การแพทยพนื้ บานและการใชพชื สมุนไพรไดสบื ทอดและสัง่ สมอยูใ นสังคมไทยนานนับพันป คนไทยทัว่ ไปมีความรูพ นื้ บานในการรักษาโรคและอาการตางๆ สมุนไพรทีใ่ ชมากในตํารับ ยาสมุนไพรไทย เชน เหงาขิง (Zingiber officinale Roscoe) เปราะหอม (Kaempferia galaga L.) รากระยอม (Rauvolfia serpentina Benth. ex Kurz) เมล็ดพุงทะลาย (Scaphium macropodum Beaumee) เกสรบัวหลวง(Nelumbo nuciferaGaertn.) เปนตน No. 21 October 2012 www.deqp.go.th

33


GREEN RESEARCH

พึ่งพาธรรมชาติ

ดังนัน้ หากชีวภาพยิง่ คงความหลากหลายของชนิดพันธุแ ละระบบนิเวศมากเทาใดก็เปนแหลงการันตีถงึ ความอุดมสมบูรณและความมัน่ คงของ มวลมนุษยชาติเทานั้น แตในภาวะปจจุบันพบวามีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางรุนแรงจากการพัฒนาโดยไมคํานึงถึงการทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพเปนประเด็นทีน่ า วิตกอยางยิง่ เนือ่ งจากความหลากหลายทางชีวภาพ เปนรากฐานบนบทบาทหนาทีข่ องระบบนิเวศ ซึง่ ชวยสนับสนุนการดํารงอยูข องสังคมมนุษย การลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพอยางตอเนือ่ ง จะสงผลสะทอนอยางมีนัยสําคัญตอความเปนอยูของมนุษย จากการประชุมวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพของสหประชาชาติหรือ COP 10 ณ เมืองนาโกยา ประเทศญี่ปุน ไดมีการเสนอ แผนกลยุทธไอจิ (The Strategic Plan, 2011-2020; Aichi Target) ซึ่งประเทศสมาชิกรวมกันเห็นชอบกับแผนกลยุทธฉบับปรับปรุงโดย วางแนวทางและตัง้ เปาหมายเพือ่ ใหนานาประเทศ มีแนวทางทีช่ ดั เจนและเปนรูปธรรมในการดําเนินงานเพือ่ ใหบรรลุถงึ วัตถุประสงคในการอนุรกั ษ และการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยัง่ ยืน และลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางมีนยั สําคัญ (สิรกิ ลุ บรรพพงศ, 2554) และมีขอตกลงในเรื่อง "Satoyama Initiative" หรือการริเริ่มทางภูมิทัศน ซาโตยามา เพื่อเสริมสรางความตระหนักถึงความสําคัญ และลดการสูญเสีย พื้นที่ภูมิทัศนซาโตยามา ภู มิ ทั ศ น Satoyama เป น ชื่ อ เรี ย ก ภู มิ ทั ศ น ใ นภาษาญี่ ปุ  น มี ก ารริ เริ่ ม ศึ ก ษา ครั้ ง แรกสื บ เนื่ อ งจากกระทรวงสิ่ ง แวดล อ ม ประเทศญี่ปุน และสถาบันการศึกษาชั้นสูงของ มหาวิทยาลัยแหงสหประชาชาติ (UNU-IAS) รวมกับสํานักเลขาธิการอนุสัญญาวาดวยความ หลากหลายทางชีวภาพไดรวบรวมระบบนิเวศ จากหลายแหงที่ใหความสําคัญกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ระบบนิเวศนั้น ประกอบดวยถิ่นฐานหลายประเภทอยูรวมกัน อยางกลมกลืนและเกื้อหนุนกัน เชน พื้นที่ เกษตรกรรม ปาไม พื้นที่หากินของปศุสัตว พื้นที่แหลงนํ้าตื้น และอางเก็บนํ้า จนถึงการ ตั้งถิ่นฐานของมนุษยในระบบ สําหรับภูมิทัศน คลายคลึงกันนีก้ ม็ ปี รากฏในหลายประเทศทัว่ โลก และแตละประเทศก็มีชื่อเรียกของตัวเอง อาจกลาวไดวาการศึกษาภูมิทัศนสังคม “Satoyama initiative” เปนกลไกหนึง่ ของการ รวมมือระหวางนานาชาติ เพื่อศึกษากิจกรรม ภายในสังคมซึ่งรวมถึงการเก็บรวบรวมขอมูล และการสังเคราะหระบบนิเวศที่คัดเลือก การ ทําวิจัยหลากหลายในรูปของการใชทรัพยากร ชีวภาพอยางยั่งยืน และสนับสนุนโครงการ ของการมีจิตสํานึกและกิจกรรมของชุมชนที่ คุม ครองธรรมชาติ รวมถึงการสนับสนุนองคกร ที่เกี่ยวของ และรัฐบาลมีสวนรวมในการเปน สมาชิกในการหาแนวทางคุม ครองระบบนิเวศนัน้ ๆ Satoyama สามารถสรุปความหมายไดวา เปนการจัดการระบบนิเวศปา ปาหญา แปลง เพาะปลูก แหลงนํ้า และการตั้งถิ่นฐานภายใน ระบบนิ เวศอย า งเกื้ อ กู ล ต อ ธรรมชาติ เป น ประเพณีสบื ทอดภูมปิ ญ  ญากันมาหลายชัว่ อายุ โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากรชีวภาพอยางยัง่ ยืน เพื่อรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ

34

www.deqp.go.th No. 21 October 2012

การศึกษาภูมิทัศนสังคม “Satoyama intiative” ของแต ล ะประเทศเป น กลวิ ธี ที่จะชวยรักษาระบบนิเวศที่อุดมดวยความ หลากหลายทางชี ว ภาพ มี ก ารถ า ยทอด ภูมิปญญาในการอยูรวมกับธรรมชาติอยาง ยั่งยืนหลายรอยปใหอยูคูโลกนี้ตอไป

ภาพที่ 2 แสดงตัวอยางของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพในแบบตางๆ

เอกสารอางอิง สิริกุล บรรพพงศ. (2554). แผนกลยุทธไอจิ (The strategic plan, 2011-2020); Aichi Target). สํานักความหลากหลายทางชีวภาพ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. Postlehwait, J.H. & Hopson,J.I. (1995). The Nature of Life International Edition, USA, McGraw Hill Inc, UNEP. (1995). State of the Environment and Policy Retrospective: 1972-2002. United Nation.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.