Energy Crisis:Is Nuclear the Solution?

Page 33

กันยายน - ธันวาคม 2554

33

September - December 2011

หลายๆ อย่าง เช่น ระยะเวลาการก่อสร้างที่ยาวนานเป็นสิบปี ค่าใช้ จ่ายที่เกิดจากการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ เพื่อให้ ได้มาซึ่งใบอนุญาตก่อสร้างและด�ำเนินการ และการจัดการเกี่ยวกับ โครงสร้างพื้นฐานที่จะเชื่อมต่อกับโรงไฟฟ้า ฯลฯ การวางแผนการ ลงทุนในโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จึงเป็นเรื่องที่ซับซ้อน โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เท่าทีม่ มี าทัว่ โลกจึงมักประสบปัญหาเรือ่ ง เวลาก่อสร้างที่ยาวนานและเงินลงทุนที่มากเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้ ด้ วยความไม่แน่นอนต่างๆ เหล่านี้ ท�ำให้นักอุตสาหกรรม นิวเคลียร์เรียกร้องหลักประกันจากรัฐบาลที่จะป้องกันเงินทุนและ สร้างรายได้ที่แน่นอนให้แก่ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ รวมทั้ง ประกันความเสี่ยงจากความเสียหายที่เกิดขึ้นหากมีเหตุฉุกเฉิน ซึ่ง แน่นอนว่าค่าใช้จ่ายต่างๆ เหล่านี้ในที่สุดต้องถูกผลักเป็นภาระของผู้ บริโภคหรือของรัฐบาลเอง จากรายงานผลการศึกษาของส�ำนักงบประมาณแห่งรัฐสภาของ สหรัฐอเมริกา เมือ่ ปี ค.ศ. 2008 พบว่า การก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 75 โรงในช่วงปี ค.ศ. 1966-1986 มีระยะเวลาโดยเฉลี่ย 12 ปีต่อ โรง ประกอบกับการด�ำเนินการตามโครงการที่ซับซ้อนไม่แพ้กัน เริ่ม ตั้งแต่การตระเตรียมกฎหมายและกฎระเบียบในด้านความปลอดภัย และการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การหาพื้นที่เพื่อก่อสร้างโรง ไฟฟ้า การตัดสินใจเรื่องเทคโนโลยีที่จะใช้ การตระเตรียมบุคลากร ในการด�ำเนินงานโรงไฟฟ้าที่ต้องมีความเชี่ยวช�ำนาญเป็นพิเศษ ไป จนถึงการวางแผนป้องกันอุบัติภัยชนิดต่างๆ รวมไปถึงการป้องกัน ภัยจากผู้ก่อการร้าย ด้วยเหตุดังนี้ ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษที่ 1980 อุตสาหกรรมนิวเคลียร์จึงตกต�่ำลง มาจนปัจจุบันการสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ทเี่ ข้าสูร่ ะบบในแต่ละปีมนี อ้ ยมาก โดยในปี 2006 มีโรงไฟฟ้า

ใหม่เข้ามาสู่ระบบ 2 โรง ปี ค.ศ. 2007 มีเพียง 3 โรง ในปี ค.ศ. 2008 ไม่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เข้าสู่ระบบแม้แต่โรงเดียว ฉะนั้นการโฆษณาว่า ทั่วโลกมุ่งสู่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จึงเป็นการ โฆษณาที่เกินจริง และประเด็นส�ำคัญที่สุดเรื่องนี้กลับไม่ค่อยถูกพูด ถึงในเมืองไทย ดร.เดชรัต แสดงความเห็นจากข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยรวม ประเด็นเรื่องแผนพีดีพี 2010 ที่คาดการณ์การใช้ไฟฟ้าสูงจริงว่า โครงการโรงไฟฟ้าของเอกชนหรือ IPP (Independent Power Producers) โรงไฟฟ้าถ่านหิน ของ กฟผ. และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ สามารถ ยกเลิกหรือเลือ่ นออกจากแผนพีดพี ี 2010 ได้เลย เพราะความต้องการ ไฟฟ้าสูงสุดลดลง และก�ำลังการผลิตไฟฟ้าส�ำรองของระบบยังคงสูง กว่าร้อยละ 15 ซึ่งเป็นเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนดไว้อยู่ดี ซึ่งอีกไม่เกิน 20 ปี พลังงานหมุนเวียนจะถูกกว่าพลังงานนิวเคลียร์ รัฐควรส่งเสริม และสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียนให้มากขึน้ เช่น การใช้พลังงาน แสงอาทิตย์และพลังงานลม ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพผลิตกระแส ไฟฟ้าได้ถึง 1.2 หมื่นเมกะวัตต์ ท�ำให้ไม่ต้องพึ่งพาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ปัจจุบนั ตามแผนอนุรกั ษ์พลังงานทีต่ งั้ เป้าจะลดการใช้พลังงาน ลงให้ได้ 20% ทีเ่ พิง่ ออกมา แค่สง่ เสริมให้กลุม่ ผูใ้ ช้ไฟฟ้าสูงสุดคือภาค อุตสาหกรรม 50% อาคารพาณิชย์ 25% และภาคครัวเรือน 25% โดยทุกฝ่ายสามารถลดการใช้ไฟฟ้าได้ 10% ก็ไม่จ�ำเป็นต้องสร้าง โรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ ล่าสุดยังพบว่า มีผผู้ ลิตรายเล็กและรายเล็กมากยืน่ ข้อ เสนอเพือ่ ขายไฟฟ้าเข้าระบบอีกหลายพันเมกะวัตต์ ฉะนัน้ ไม่ตอ้ งกังวล ว่าเราจะมีไฟฟ้าไม่พอส�ำหรับการเติบโตในอนาคต ดังนั้น ในช่วงการ เปลี่ยนผ่านสู่ยุคพลังงานหมุนเวียน เราควรลดการใช้พลังงานลงและ เพิ่มการใช้พลังงานหมุนเวียนให้มากขึ้น

production, fuelled by nuclear energy, stood between 8.3 and 11.1 cents a kilowatt-hour (kWh), or about 2.9 and 3.9 baht a kWh. However, a researcher of the centre later adjusted the numbers to between 12 and 17 cents a kWh (4.2 and 6 baht a kWh). This excluded the expenses of nuclear waste management. When nuclear waste is included, cost has to be adjusted. According to the centre, if the waste is taken for storage at the Yucca Mountain in Nevada, it will cost US$96.2 billion (3.4 trillion baht), a 38% increase from the initial estimate. However, the nuclear waste repository project at Yucca site has been stalled due to the strong opposition from experts and local people. Since 2006, the high construction costs of nuclear power plants are a major reason for the declining trend of their numbers, Decharut says. That year, there were only two plants; the numbers were put at three in the following year, but in 2008 there were none. Meanwhile, there has been an increase in the use of renewable energy sources such as sun and wind. Even the solar cell technology looked set to have a brighter future despite its high cost. The advertisements that the world is moving towards nuclear technology are thus exaggerated, Decharut says. However, in Thailand, the problems inherent in the construction of nuclear power plants have been rarely communicated to the public.

Decharut is not convinced by the Energy Ministry’s claim that the cost of electricity produced by a nuclear power plant is cheaper than other types of power plants. The ministry estimates that a 1,000-MW nuclear power plant incurs an electricity cost of only 150 billion baht. However, he says, this is not a precise figure because even the United States is not confident in estimating the costs of nuclear power plants. The US nuclear power plants so far have chalked up more electricity production costs than initially estimated. On top of that there are the expenses of public information campaigns. With such unpredictable expenses, some nuclear plants even had to cut short construction. Another “cost” that may surface when considering the building of a nuclear power plant in Thailand lies in the non-transparency of projects, Decharut says. Mega projects in Thailand are renowned for being steeped in corruption. Moreover, in the international context, Thailand is far from meeting requirements for building nuclear power plants. The government’s decision to delay its nuclear power plant plan for another three years seems to be a response to the International Atomic Energy Agency which says “Thailand is not ready in many areas,” notes Decharut. Reflecting on the PDP 2010, Decharut suggests the

มั่นคง สะอาด ถูก... ข้ออ้างที่ฟังไม่ขึ้น? Security, Clean, Cheap… A Shaky Line of Reasoning?

VA.indd 33

1/27/12 11:32 AM


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.