ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัด เมืองแม่สะเรียง

Page 1

ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัด เมืองแม่สะเรียง

คมสันต์ วงค์ษา



Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 1

ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang


2 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จเยีย่ มราษฎร ณ อ.แม่สะเรี ยง จ.แม่ฮ่องสอน วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๑๖


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 3

เป็ นเมืองขนาดเล็กอดีตชื่อว่า เมืองยวม เป็ นส่ วนหนึ่งของ จังหวัด แม่ฮ่องสอน ซึ่งต�ำแหน่งของ อ�ำเภอ แม่สะเรี ยง ตั้งอยูท่ างตอนใต้ของ จังหวัด แม่ฮ่องสอน แม้วา่ จังหวัด แม่ฮ่องสอน และอ�ำเภอ แม่สะเรี ยง จะก่อ ตั้งขึ้นได้เพียงไม่นานแต่กลับมีความรุ่ งเรื องทางด้านวัฒนธรรมประเพณี เป็ นอย่างมาก เหตุผลคือ แม้นบั ย้อนไปจากสมัยพระเจ้ามโหตรประเทศขึ้นไปจนถึงรัชสมัย ของพญามังรายที่เริ่ มก่อตั้งเชียงใหม่ จะไม่ปรากฏชื่ อของเมือง แม่สะเรี ยง หรื อแม้แต่เมือง แม่ร่องสอนมาก่อน แต่ดินแดนที่เต็มไปด้วยป่ าเขาแห่งนี้ เคยเป็ นดินแดนที่มีความสาคัญทางด้านยุทธศาสตร์ การรบ เป็ นอย่างยิง่ คือ เป็ นเมื อ งที่ คนั่ ระหว่างพม่ ากับล้านนาดิ นแดนแห่ งนี้ จึ งมี ห น้า ที่ เ ปรี ย บ เสมือนกับเป็ นกันชน ของสองอาณาจักร ดังปรากฏหลักฐานในพงศาวดาร โยนกที่ ร ะบุ ถึ ง เมื อ งหน้า ด่ า นสองเมื อ งทางฝั่ ง ตะวัน ตกของล้า นนาที่ ขึ้นตรงกับ เชียงใหม่ คือเมือง ปาย ทางตอนเหนือและเมือง ยวม หรื อ แม่สะเรี ยง ในปั จจุบนั คือตอนใต้ ซึ่งในช่วงเวลานี้กม็ ีการนาเอาไหร่ พล จากเชี ยงใหม่ เข้ามาตั้งบ้านเรื อนอยู่จานวนหนึ่ งเพื่อเป็ นเมื องหน้าด่ าน ปกป้ องดินแดนล้านนา แสดงให้เห็นว่า อ�ำเภอแม่สะเรี ยงเป็ นเมืองที่ มีการ ตั้งรกรากและเริ่ มมีความเจริ ญทางวัฒนธรรมมานาน ตั้งแต่สมัยที่ลา้ นนา ยังมีความรุ่ งเรื อง


4 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 5

การเดินทางของศิลปกรรมไทใหญ่ในพม่า สู่ แม่สะเรียง ล้านนาเป็ นดิ นแดนที่ เปี่ ยมไปด้วยอารยะธรรมขนบธรรมเนี ยม วัฒนธรรมตลอดจนคติความเชื่อต่างๆมากมายและหลากหลายซึ่ งเป็ นไป ตามความหลากหลายของกลุ่มชาติพนั ธ์ในดินแดนล้านนาหนึ่งใน อารยะ ธรรมที่มีความน่าสนใจด้วยลักษณะพิเศษทางศิลปกรรม และมีความเป็ น อัตลักษณ์ ของวัฒนธรรม ซึ่งดังที่ได้กล่าวมานี้ หมายถึง ศิลปกรรมรู ป แบบไทใหญ่ที่มีกลุ่มชาติพนั ธ์ไทใหญ่หรื อชาวไตเป็ นเจ้าของ ซึ่งไทใหญ่ หรื อชาวไตมีการติดต่อกับชนชาวล้านนาเป็ นเวลานานมาแล้วโดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในช่วงสมัยที่พญาเม็งรายที่กระท�ำการขยายอาณาเขตของล้านนา จนจรดเข้าไปถึงเมืองนาน เมืองเชียงตุง เมืองก๋ อง ซึ่งเป็ นเมืองที่ เป็ นถิ่ นฐานของชาวไทใหญ่ซ่ ึ งในภายหลังประชากรชาวไทใหญ่ส่วน หนึ่ งในพื้ นที่ ดัง กล่ าวก็ได้เคลื่ อนย้ายหรื ออพยพเข้า มาตั้งถิ่ น อาศัย ใน พื้ น พี่ อ าเภอแม่ ส ะเรี ย งเนื่ อ งมาจากการเข้า มาท�ำ การค้า ไม้ก ับ อัง กฤษ ในลัก ษณะของแรงงานรวมไปถึ ง เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบในพม่ า รวมไปถึงเมืองก๋ อง ของประเทศ พม่า จึงมีการนาเอาศิลปกรรม วัฒนธรรมขนบประเพณี ของตนอพยพตามมาใช้ในดิ นแดนใหม่ และ ตั้งรกรากเป็ นบรรพบุรุษและเป็ นต้นวัฒนธรรมที่มีอตั ลักษณ์ในอ�ำเภอ แม่สะเรี ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ดังปรากฏให้เห็นในงานสถาปั ตยกรรม วัดไทใหญ่ และศิลปกรรมไทใหญ่ที่ประดับตกแต่งอยูภ่ ายในวัด


6 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

ลั ก ษณะทั่ ว ไปของสถาปั ต ยกรรมไทใหญ่ อิ ท ธิ พ ลพม่ า


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 7

ศาสนสถานรู ปแบบศิ ล ปกรรมไทใหญ่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พลทาง สถาปั ตยกรรมมาจากรู ปแบบสถาปั ตยกรรพระราชวังในเมืองมัณฑะเลย์ โดยแพร่ เข้าสู่ รัฐฉานจึงท�ำให้สถาปั ตยกรรมในรัฐฉานมีลกั ษณะเป็ นแบบ ผสมระหว่างพม่ากับไทใหญ่โดยมีลกั ษณะเด่นที่แสดงถึงความเป็ นศาสน สถานไทใหญ่คืออาคารทรงโรงที่มีหลังคาซ้อนชั้นกันหลายชั้นยกคอสอง สองชั้นและทิ้งชายคาลงมาสามตับลักษณะดังกล่าวนี้ ชาวไทใหญ่เรี ยก ว่า“เจตบุน” ส่ ว นอาคารที่ ย กคอสองสามชั้น และทิ้ ง ชายลงมาสี่ ต ับ จะเรี ยก ลักษณะนี้ ว่า“ยอนแซก”หรื ออี กรู ปแบบหนึ่ งที่ จะท�ำให้สถาปั ตยกรรม ศาสนสถานมีความสู งกว่าการสร้างแบบยกคอสองคือการท�ำหลังคาทรง พญาธาตุที่มีลกั ษณะการซ้อนชั้นของหลังคาจ�ำนวนห้าหรื อเจ็ดชั้นซึ่ งใน การที่จะสร้างสถาปั ตยกรรมในรู ปแบบใดขึ้นอยูก่ บั ระดับความสาคัญของ ตัวอาคาร นอกจากรู ปทรงของสถาปัตยกรรมทรงโรง ที่แสดงความเป็ นศาสนสถานรู ปแบบศิ ลปกรรมไทใหญ่ แล้วการประดับตกแต่ งหลังคาก็เป็ น ส่ ว นที่ ส าคัญ เช่ น กัน คื อ สร้ า งความสวยงามและความอลัง การเสมื อ น เป็ นเขตสวรรค์สาหรั บพระพุทธเจ้าซึ่ งแต่เดิ มจะใช้ไม้เป็ นวัสดุหลักใน การนามาประดับตกแต่งหลังคาด้วยเทคนิ คการฉลุลายที่ ส่วนใหญ่เน้น ลวดลายพรรณพฤกษาหรื อเครื อเถาฉลุอย่างละเอียดแต่ในปั จจุบนั เปลี่ยน มาใช้แผ่นโลหะประเภท สังกะสี หรื อ ดีบุก รี ดให้เป็ นแผ่นแล้วจึงฉลุเป็ น ลวดลายอย่างวิจิตรงดงามและในส่ วนของการประดับตกแต่งชายคามีท้ งั ส่ วนที่อยูเ่ หนือเชิงชาย เรี ยกว่า ปานตอง


8 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

นอกจากรู ปทรงของสถาปั ตยกรรมทรงโรงและลักษณะหลังคาซ้อน ชั้นแบบต่างๆที่แสดงความเป็ นศาสนสถานรู ปแบบศิลปกรรมไทใหญ่แล้ว การประดับตกแต่งหลังคาก็เป็ นส่ วนที่สำ� คัญเช่นกันคือสร้างความสวยงาม และความอลังการเสมื อนเป็ นเขตสวรรค์ส�ำหรั บพระพุทธเจ้าซึ่ งแต่เดิ ม จะใช้ไ ม้เ ป็ นวัส ดุ ห ลัก ในการน�ำ มาประดับ ตกแต่ ง หลัง คาด้ว ยเทคนิ ค การฉลุลาย ที่ส่วนใหญ่เน้นลวดลายพรรณพฤกษาหรื อเครื อเถาฉลุอย่าง ละเอียดแต่ในปั จจุบนั เปลี่ยนมาใช้แผ่นโลหะประเภท สังกะสี หรื อ ดีบุก รี ดให้เป็ นแผ่นแล้วจึ งฉลุเป็ นลวดลายอย่างวิจิตรงดงามและในส่ วนของ การประดับตกแต่งชายคามีท้ งั ส่ วนที่อยูเ่ หนือเชิงชาย เรี ยกว่า ปานตอง


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 9

ปานตอง พอง ปานซอย

ส่ วนที่ ครอบเชิ งชายในลักษณะนู นออกมาเป็ นครึ่ งวงกลมเรี ยกว่า พอง และส่ วนถัดจากพอง ห้อยลงมาใต้ชายคามีชื่อเรี ยกว่า ปานซอย และ บริ เ วณมุ ม ที่ เ ป็ นจุ ด บรรจบของชายคาแต่ ล ะมุ ม ท�ำ เป็ นปี กประกบกัน เรี ยกว่า กะหลุ่มต่อง ซึ่งรู ปแบบสถาปั ตยกรรมศาสนสถานในกลุ่มของ ชนชาวไทใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนและอ�ำเภอแม่สะเรี ยงมักผสมผสาน ระหว่างรู ปแบบสถาปัตยกรรมพม่าเข้ากับรู ปแบบของไทใหญ่ ส่ วนหลังคาที่เป็ นทรงพญาธาตุนอกจากจะประดับด้วยลวดลายฉลุ ดังกล่าวแล้ว ยังประดับด้วยฉัตรโลหะสี ทองที่มีจำ� นวนชั้นตั้งแต่สามชั้น ห้าชั้นหรื อเจ็ดชั้นขึ้นอยูก่ บั ความส�ำคัญหรื อสถานะของอาคาร


10 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

อาคารเสนาสนะในวัดไทใหญ่อิทธิพลพม่า


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 11

โดยส่ วนใหญ่แล้ววัดไทใหญ่จะประกอบไปด้วยสถาปั ตยกรรมที่ ส�ำคัญภายในวัด ได้แก่โบสถ์ เจดีย ์ และวิหาร ซึ่งใน บางครั้งวัดไทใหญ่ โบสถ์กไ็ ม่มีความจ�ำเป็ นมากนัก วัดบาง วัดจึงมีเพียง วิหารและเจดียเ์ ท่านั้น ซึ่งตัววิหารของวัดไทใหญ่ อาคารมีหน้าที่การใช้งานอย่างเอนกประสงค์ โดยเป็ นทั้งวิหาร ศาลา การเปรี ยญ กุฏิ โรงครัว หอฉัน และเป็ นเสมือนคลัง เก็บความรู ้และ ภูมิปัญญาและโรงเรี ยนสาหรับส่ างลองในขณะเดียวกัน ตัววิหารเป็ นอาคารทรงโรงรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ น โถงโล่ ง โดยพื้ น ที่ ถู ก จัด แบ่ ง ไว้เ ป็ นสั ด ส่ ว นโดยแบ่ ง จากวัต ถุ ป ระสงค์ ของพื้ น ที่ แ ละกั้ นฝาผนั ง และยกพื้ น สู ง ตามระดั บ ความส� ำ คั ญ ของ พื้ น ที่ แ ต่ ล ะส่ วนยกตั ว อย่ า งส่ วนที่ ก้ ั นฝาผนั ง เพื่ อ ความปลอดภั ย ได้แก่ ส่ วนที่เก็บของส�ำคัญ กุฏิ กับ ปิ ยะกุฏิ นอกเหนือจากนั้นจะใช้สอย พื้นที่ บริ เวณเดี ยวกันแต่ จะแยกการใช้งานด้วยการแยกระดับพื้ นส่ วนที่ ส�ำคัญที่ สุดได้แก่ ส่วนที่ ประดิ ษฐานพระพุทธรู ปจะยกพื้นในระดับที่ สูง ที่ สุดและในส่ วนที่ ประดิ ษฐานพระพุทธรู ปนี้ หลังคาในต�ำแหน่ งนี้ จะถูก ท�ำให้มีความสู งเพื่อเน้นความส�ำคัญของบริ เวณเรี ยกตาแหน่งนี้วา่ “ข่าปาน” นอกจากการยกระดับพื้นและความสู งของหลังคาที่ มีความพิเศษแล้วใน ส่ วนของ “ข่าปาน” ยังเป็ นพื้นที่ที่ประดิษฐ์ลวดลายตกแต่งอย่างงดงาม เป็ นพิเศษ ระดับพื้นที่ที่มีสาคัญรองลงมาก็คือพื้นที่ สังฆกรรมของสงฆ์ ที่มีระดับพื้นที่สูงรองลงมาจากข่าปาน รองจากพื้นที่ สังฆกรรมของสงฆ์ ก็จะเป็ นกุฏิเจ้าอาวาสและพระลูกวัดตามล�ำดับและพื้นที่ ที่มีความส�ำคัญ น้อยที่สุดจะไม่ได้ถูกยกระดับคือเป็ นระดับต�่ำสุ ดคือพื้นที่สำ� หรับฆราวาส ใช้สอยในโอกาสที่มีพิธีทางพุทธศาสนาและท�ำบุญ


12 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

วัดที่ปรากฏศิลปกรรมตกแต่งแบบไทใหญ่

ในอ�ำเภอ แม่สะเรียง


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 13

วัดศรีบุญเรือง

วัดศรี บุญเรื อง เป็ นวัดเก่าแก่ ของอ�ำเภอแม่สะเรี ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อยู่ ติดกับวัดจองสูง มีพ้นื ที่ไม่มากนัก สร้างแบบศิลปะพม่าผสมไทยใหญ่ สร้างประมาณ พ.ศ. ๒๔๕0 เดิมชื่อว่าวัดจองหมากแจง ภาษาไทยใหญ่ แปลว่าต้นมะขาม วัดศรี บุญเรื องสร้างโดย คหบดี ที่ได้กำ� ไรจากการค้าขาย ชายแดนสร้างเป็ นพุทธบูชา ลักษณะเด่นของวัดคือ มีรูปแบบสถาปั ตยกรรม แบบไทใหญ่ พม่า และ มอญและโดดเด่นด้วยความสวยงามของศิลปะแบบ ไทยใหญ่ คือหลังคาซ้อนกันเป็ นชั้น ประดับสังกะสี และลายแกะสลักไม้ ลวดลายละเอียด เป็ นหลังคาจองขนาดใหญ่ ๓ จองติดกัน และศิลปกรรม ประดับตกแต่งแบบไทใหญ่ อาคารเสนาสนะส� ำ คัญ ที่ ป รากฏการประดับ ตกแต่ ง ได้แ ก่ ศ าลา การเปรี ยญที่มีโครงสร้างหลังคาของวัด ศรี บุญเรื องเป็ นโครงสร้างไม้และ มุงด้วยวัสดุกระเบื้องใยหิ นและโลหะสังกะสี และตกแต่งด้วยไม้ฉลุ ลักษณะ หลังคาเป็ นหลังคาซ้อนชั้นทรง พญาธาตุ สามชั้นและสามยอดโดยมีสอง กลุ่มหลังคา ได้แก่กลุ่มหลังคาอาคาร และกลุ่มหลังคาของมุขที่ยกออกมา ข้างหน้า โดยลักษณะของยอดปราสาททั้งสาม มีลกั ษณะเดียวกันคือ ชั้นแรก ของปราสาทมีลกั ษณะเป็ น จตุรมุข ที่ยกขึ้นมาจากหลังคาชั้นล่างสุ ด ชั้นที่ สองก็เช่นเดียวกัน ชั้นที่สามเป็ นชั้นยอดสุ ดเป็ นทรงแหลมปลายยอกแต่ละ ยอดประดับด้วยฉัตรโลหะ


14 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

การประดับตกแต่งหลังคาวัดศรีบุญเรือง


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 15

ก า ร ต ก แ ต่ ง สั น ห ลั ง ค า ใ ช้ ลายไม้ฉ ลุ ก้า นขดเดิ น ลายตลอดทั้ง สั น หลัง คาในทุ ก ชั้ นโดยลายของ สันหลังคาจะไปบรรจบกับลายของ หน้า จั่ว ทางด้า นหลัง ลัก ษณะพิ เ ศษ ของการประดับ ตกหลัง คาพิเศษคื อ การประดับ ลายกรอบของผนัง ตาม รู ปทรงของผนังและกรอบสี่ เหลี่ ยม ย่อมุม ประดับด้วยลายไม้ฉลุพรรณ พฤกษา ส่ วนภายในศาลาการเปรี ยญมี การประดับด้วยโก่งคิ้วที่สร้างจากไม้ การประดับหลังคาทรงปราสาท สัก สลักเป็ นลวดลายพรรณพฤกษาที่ ทั้งสามยอดมีลกั ษณะเหมือนกันรวม ห้อยย้อยสมจริ งอิทธิพลพม่า ถึ งอุโบสถของวัดศรี บุญเรื องก็มีการ ตกแต่ ง ในลัก ษณะเดี ย วกัน คื อ มี ก าร ตกแต่ ง หน้ า จั่ว ของวัด ศรี บุ ญ เรื อง ประดับด้วยไม้ฉลุเป็ นลวดลายพรรณ พฤกษาเดิ น ลายบนสั น จั่ว โดยแกน กลางของจัว่ เป็ นรู ปก้านดอกที่ ปลาย เป็ นดอกบั ว ด้ า นล่ า งของจั่ ว เป็ น ชายคาที่เดินลายพรรณพฤกษาอีกเช่น เดี ยวกันปลายสุ ดของชายคาประดับ ด้วย กะหลุ่มต่อง บริ เวณมุมของชายคา จัว่ ที่ต่อกับลวดลายตกแต่งหน้าจัว่


16 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

เจดีย์ทรงพม่า วัดจองสูง


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 17

วัดจองสูง

วัดจองสูง สร้างขึ้นเมื่อปี พุทธศักราช ๒๓๘๑ ในลักษณะของส�ำนักสงฆ์ โดยมีเจ้าอาวาสเป็ นพระไทใหญ่ ปกครองโดยนิกายไทใหญ่ ต่อมาในปี พุทธศักราช ๒๔๒๑ เมืองยวม (แม่สะเรี ยง) ได้โดนไฟไหม้ครั้งใหญ่ และ สานักสงฆ์แห่ งนี้ ก็ได้รับความเสี ยหายไปด้วยบรรดาชาวบ้านญาติ โยม เวียงยวมหลวงจึงได้รวบรวมปั จจัยสร้างใหม่ควบคุมการก่อสร้างโดยพระอาจารย์ ส่ างคา และมี่สล่า พ่อเฒ่าน้อยเป็ นสล่าสร้าง และแล้วเสร็ จในปี พุทธศักราช ๒๓๓๙ และเรี ยกว่าวัดจองสูงตั้งแต่น้ นั มา พระเจดียท์ รงเครื่ อง แบบไทใหญ่สามองค์ พระเจดียอ์ งค์ตะวันตก สร้างขึ้นในสมัยต้นรัชกาลที่ 6 พระเจดียอ์ งค์กลางไม่ปรากฏว่าสร้างในสมัยใด เดิมทีเป็ นพระเจดียท์ ี่เก่า เหลือแค่ครึ่ งองค์ และมีผอบทองรู ปเต่าบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุอยูข่ า้ งใน ภายหลังได้ทาการบูรณะใหม่จนเสร็ จในปี พ.ศ.2499


18 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

ลวดลายประดับตกแต่ง อาคารเสนาสนะ วัดจองสูง

ลวดลายประดับฐานชุกชีของพระประธาน

ฐานชุ ก ชี ข องพระประธานประกอบไปด้ว ยลวดลายดอกไม้แ ละลาย ใบไม้ที่เกิ ดจากเทคนิ คการประดับกระจกสี ซ่ ึ งมี ลกั ษณะตรงตามแบบ ลวดลายที่ ใ ช้ป ระดับ ตกแต่ ง ในศิ ล ปกรรมไทใหญ่ อิ ท ธิ พ ลพม่ า ที่ มี ลักษณะประกอบกันเป็ นลายเครื อเถาหรื อเป็ นลายดอกเดี่ยวซึ่ งลวดลาย ดอกไม้น้ นั บางส่ วนเป็ นลวดลายดอกไม้แบบล้านนาและแบบตะวันตก ผสมพม่า ลายดอกไม้มีรากฐานมาจากรู ปแบบดอกไม้ ซึ่งมีปรากฏใน งานศิ ลปะแบบตะวันตกลวดลายดอกไม้น้ ันมี ส่วนประกอบของก้าน ใบ และดอก ลักษณะของลวดลายดอกไม้มีท้ งั แบบที่เป็ นดอกไม้เลียน แบบธรรมชาติ ลวดลายดอกไม้แบบทรงกลม ลวดลายดอกไม้แบบ ทรงเรขาคณิ ต ลวดลายดอกไม้แบบลายกนก และลวดลายดอกไม้แบบ ประดิษฐ์


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 19

ลวดลายประดับอาสนะด้านหลังพระประทาน

ลวดลายประดับอาสนะหลังพระประทาน สร้างลวดลายด้วยเทคนิคปูน ปั้ นเขียนสี และประดับกระจกสี ซ่ ึงลวดลายของปูนปั้ นส่ วนใหญ่ประกอบ ไปด้ว ยลายพรรณพฤกษาก้า นขดซึ่ ง ลัก ษณะเด่ น ของก้า นขดนี้ แสดง ให้เห็นช่อลายใบตามแบบศิลปะพม่า และ ยังประกอบด้วยการประดับ กระจกรู ปดอกไม้ทรงเรขาคณิ ตและดอกไม้กลมบัวหัวเสาประดับกระจก


20 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

มณฑปประดิษฐานพระนอน

มณฑปไม้จ �ำ หลัก ประดิ ษ ฐานพระนอนภายในศาลาการเปรี ย ญที่ มี ลักษณะหลังคาซ้อนชั้นเลียนแบบ สถาปัตยกรรม รู ปแบบศิลปกรรมพม่า ที่เป็ นอาคารทรงปราสาท ซ้อนชั้นที่เรี ยกว่า หลังคาทรงพญาธาตุ มณฑป หลังนี้ มีลกั ษณะเป็ นหลังคาแบบจัตุรมุขยกคอสองและมี การยกจัว่ อี ก หนึ่ งชั้นและมีการประดับลวดลายไม้ฉลุตลอดทั้งหลังลวดลายประดับ มณฑปทั้ง หลัง เป็ นลวดลายที่ เ กิ ด จากการฉลุ แ ละการขาหลัก ไม้เ ป็ น พรรณพฤกษาโดยบริ เวณเชิงชายของมณฑป ส่ วน ด้านล่างหรื อที่เรี ยก ว่าปานซอยเป็ นลายพรรณพฤกษาที่ห้อยในลักษณะอุบะพวงสดมีความ สมจริ งคือดอกและใบมีลกั ษณะห้อยลงมาจริ งๆ ลักษณะของดอกเรี ยว แหลมคล้ายกับดอกบัวขาบ หรื อคล้ายกับใบแหลม


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 21

ลวดลายประดับหัวเสาและเพดาน

ลวดลายประดับหัวเสาของศาลาการเปรี ยญของวัดจองสู งมีลกั ษณะเป็ น ไม้จำ� หลักเป็ นกลีบบัวซ้อนกันสามชั้น และการตกแต่งเพดานส่ วนหนึ่ง ที่ เป็ นบริ เวณเฉพาะเป็ นลักษณะกรอบสี่ เหลี่ ยมย่อมุมตรงกลางมี ดาว เพดานเป็ นไม้จาหลักป็ นดาววงกลมที่มีแฉกโดยมีลกั ษณะเป็ นสามชั้น ทั้งสี่ มุมของกรอบมีดอกไม้กลมหรื อดาวดวงเล็กประดับอยู่


22 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

มณฑปทิศตะวันออก วัดจองสูง


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 23

การประดับตกแต่งภายนอกมณฑป

การประดับตกแต่งภายนอกอาคารที่ประกอบไปด้วยเสาหลอก ที่ขนาบ ซุ ้มประตูหลอกหัวเสาและตีนเสามีการประดับลายปูนปั้ นเป็ นรู กลีบบัว หงายเขียนสี ชมพูและสี นา้ เงิน ซุม้ ประตูหลอกด้านบนมีลกั ษณะเป็ นซุม้ โค้งครึ่ งวงกลม ที่มีลวดลายพรรณพฤกษาเป็ น ลายใบไม้ เรี ยงโค้งตาม ความโค้งของซุม้ ในชั้นลายด้านในและถัดออกไปเป็ นลายก้านขดใบกาบ ปลายแหลม


24 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

ลายปูนปั้นรูปบุคคล ประดับมณฑป ลายเทวดาหรื อ ลายเทพแบบ พม่ า “นั ต อะเซา”เป็ นลวดลายที่ มี ลักษณะเป็ นตัวเทวดาแบบพม่าเป็ น ลวดลายที่ได้รับอิทธิ พลมาจากความ นิยมแบบตะวันตก


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 25

ลายปูนปั้นรูปบุคคล ประดับมณฑป แม่แบบของลวดลายตัวเทวดา ที่ปรากฏนั้นได้มีแม่แบบมาจากการ สร้างหุ่นชักแบบพม่า ซึ่งพม่าถือว่า หุ่ นละครชักนี้ เป็ นศิ ลปะชั้นสู งของ พม่าที่นามาสู่ การสร้างงานศิลปะแข นงอื่นๆอีกมากมาย โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเป็ นแม่แบบให้แก่ท่าฟ้ อนราหรื อ นาฏลีลาแบบพม่า ชาวพม่าเรี ยกหุ่น นี้วา่ “โยะเต” นอกจากนั้นยังมีสิงห์ หน้าคนที่เรี ยกว่ามนุษสี ห์จากต�ำนาน พม่าเชื่ อว่าเป็ นเทพที่ กระท�ำผิดและ ถูกสาปให้เป็ นสิ งห์ครึ่ งคน เฝ้ าศาสน สถาน


26 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

ภายในมณฑป

ภายในมณฑปเป็ นที่ประดิษฐานของพระพุทธรู ปทั้งหมดห้าองค์โดยมีการ วัดเรี ยงพระพุทธรู ปสี่ องค์ปาง มารวิชยั ตั้งขนาบพระพุทธรู ปองค์เล็กที่ ประดิษฐานอยูใ่ นคูหาต�ำแหน่งประธานของมณฑป พระพุทธรู ปที่ต้ งั ขนาบ พระประธานในคูหามีลกั ษณะศิลปกรรมไทใหญ่อิทธิพลพม่า ประดิษฐานอยู่ บนฐานชุกชีที่มีการประดับกระจกสี และเดินเส้นด้วยจุดไข่ปลาอย่างสวยงาม คูหาของพระประธานมีลกั ษณะเป็ นคูหาสี่ เหลี่ยมที่ปลายด้านบนบานออก เล็กน้อยและประดับตกแต่งด้วยลวดลายปูปปั้ นจ�ำลองสถาปั ตยกรรมขนาด เล็ก จากลักษณะของการจัดวางของพระพุทธรู ปทั้งห้าพระองค์โดยให้ความ ส�ำคัญกับพระพุทธรู ปองค์เล็กที่ ประดิ ษฐานอยู่ในคูหาคล้ายสถูปน่ าจะมี ความเกี่ยวข้องกับความเชื่อเรื่ องพระเจ้าห้าพระองค์ใน ภัทรกัปล์ อันได้แก่ พระกกุสนั โธ พระโกนาคมโน พระกัสสะโป พระโคตโม พระศรี อริ ยเมต ไตยโยซึ่งน่าจะได้แก่พระประธานในคูหา ซึ่งตามตานานแล้ว พระศรี อริ ย เมตไตย สถิตอยูภ่ ายในสถูปเพื่อรอการมาประสูติเมื่อโลกถึงกาลเดือดร้อน ยามกลียคุ ซุม้ ด้านหลังพระพุทธรู ปทั้งสี่ องค์ประกอบไปด้วย ปูนปั้ นรู ปเสาที่ ปั้ นติดกับผนัง หัวเสามีลกั ษณะเป็ นกลีบบัวบานซ้อนกันสองชั้น ลักษณะของ ซุ ้มนี้ มีลกั ษณะเป็ นซุ ้มจัว่ ยอดแหลมซึ่ งน่ าจะมาจากแนวคิดคือการจ�ำลอง สถาปัตยกรรม ลวดลายประดับซุม้ ก็มีลกั ษณะการประดับเดินลายก้านขดใบ กาบไล่ข้ ึนมากลางหน้าจัว่ และมีแกนเป็ นก้านดอกและลายก้านขดใบกาบ นี้ ลงมาพันถึงกลางเสา และเป็ นแบบเดียวกันนี้ท้ งั สี่ องค์ ฐานชุกชีประดับด้วย เทคนิคประดับกระจกสี เป็ นดอกไม้ และ กลีบบัวคว�่ำ บัวหงาย และเทคนิค ปั้ นปูนประกอบ


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 27

ภายในมณทฑป และ ลักษณะการประดับฐานชุกชี


28 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง

ลวดลายประดับที่ปรากฏบนเจดีย์ทรงพม่าองค์ทิศตะวันออก จากส่ ว นยอดของเจดี ย ล์ งมาใต้ข องปลี ย อดปรากฏลวดลายปู น ปั้ นที่ มี ลักษณะเป็ นกลี บซ้อนชั้นสองชั้นและสับหว่างกันอย่างสม�่ำเสมอแต่ละ กลีบมีลกั ษณะลายสามชั้น ปลายกลีบบิดออกเล็กน้อย รองรับปลียอดของ เจดียอ์ ยู่ ถัดลงมาเป็ นกลีบลักษณะเดียวกันแต่อยูใ่ นลักษณะคว่า ตรงกลาง ระหว่างชั้นกลีบคว�่ำและหงาย เป็ นเม็ดกลมเรี ยงโดยรอบแบบจุดไข่ปลา คนพม่าเรี ยกว่า ยเว ลวง ตาน แปลว่า แถวของดวงแก้วและเรี ยกรวมทั้ง ส่ วนที่เป็ นกลีบซ้อนชั้นนี้วา่ จ่า หรื อ บัว นัน่ เอง ถัดลงมาเป็ นปล้องไฉน ที่ มีลกั ษณะเป็ นข้อๆซ้อนกันแบบปล้องไฉนในเจดี ยล์ งั กาแต่มีลกั ษณะ คอดตรงกลาง ถัดลงมา ใต้องค์ระฆัง ปรากฏลวดลายกลีบดอกบัวใน ลักษณะเดียวกันกับบัวหงายที่รองปลียอดอยู่ แต่มีความแตกต่างกันคือ บัว ที่รององค์ระฆังมีเพียงชั้นเดียวและกลีบสั้นกว่า แถบลายบัวหงายนี้ เดิน ลาย รอบทั้งปาก องค์ระฆัง และยังปรากฏลวดลายการตกแต่งอยูท่ ี่ ไส้ป่าโอ้ หรื อ หม้อน�้ำในแต่ละมุมชั้นที่สองเป็ นลายกลีบบัวและลายใบไม้ในศิลปะ พม่าและเจดียร์ ายองค์เล็กก็ปรากฏลวดลายรู ปแบบเดียวกัน ที่แตกต่างก็จะ มีเพียงเจดียท์ ี่ประดิษฐานประพุทธรู ป ที่จาลองแบบจากเจดียท์ รงพญาธาตุ จึงมีการประดับหลังคา ด้วยจัว่ และหมอกมุขซึ่งก็เป็ นลายประเภทใบไม้ และก้านขดเช่นกันแต่ ลวดลายไม่มีความชัดเจนนัก


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 29


30 ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัดเมืองแม่สะเรียง


Ornamental Motifs Of Shan Temple in Mae Sariang 31

ลวดลายประดับตกแต่งที่ปรากฏบนเจดีย์ทรงพม่า องค์ทิศตะวันตกวัดจองสูง

นอกจากจะมีการประดับตกแต่งในรู ปแบบลวดลายเดียวกันกับองค์ทางทิศ ตะวันออกแล้วยังมีลวดลายที่เพิ่มเติมที่ไม่ปรากฏบนเจดียอ์ งค์ตะวันออก ได้แก่ องค์ระฆัง มีลวดบัวที่มีลาย บากแข้งสิ งห์ และส่ วนบนขององค์ระฆัง เป็ นกระจังคว�่ำ


ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัด เมืองแม่สะเรียง คมสันต์ วงค์ษา รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 530310104 ภาษาไทย © 2556 ภาควิชาศิลปะไทย คณะ วิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งแรก กรกฎาคม พ.ศ. 2556 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตร ศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบโดย คมสันต์ วงค์ษา



ลายไต เสน่ห์ศิลป์ประดับวัด เมืองแม่สะเรียง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.