community network forphysical

Page 1

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาเครือขายชุมชนเพื่อกาย จิต สังคม เปนสุข (Development Project of the Community Network for Physical, Mental and Social Happiness)

ผูรับผิดชอบโครงการ อ.ดร.อุนเรือน เล็กนอย หัวหนาโครงการ ดร.อเนกพล เกื้อมา นักวิจัย นางสาวพิชญา สุรพลชัย นักวิจัย นางสาวรัตนา จารุเบญจ นักวิจัย นายเฉลิมวุฒิ นอยโสภา นักวิจัยผูชวย นายอภินันท สวนกูล นักวิจัยผูชวย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

แหลงทุน: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใตโครงการบานนี้มีสุขกําลัง 2 ปงบประมาณ 2554


รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาเครือขายชุมชนเพื่อกาย จิต สังคม เปนสุข (Development Project of the Community Network for Physical, Mental and Social Happiness)

ผูรับผิดชอบโครงการ อ.ดร.อุนเรือน เล็กนอย หัวหนาโครงการ ดร.อเนกพล เกื้อมา นักวิจัย นางสาวพิชญา สุรพลชัย นักวิจัย นางสาวรัตนา จารุเบญจ นักวิจัย นายเฉลิมวุฒิ นอยโสภา นักวิจัยผูชวย นายอภินันท สวนกูล นักวิจัยผูชวย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

แหลงทุน: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใตโครงการบานนี้มีสุขกําลัง 2 ปงบประมาณ 2554


กิตติกรรมประกาศ พลังชุมชน พลังเครือขาย เปนพลังอันยิ่งใหญที่สามารถขับเคลื่อนใหสังคมมีความเปนพลวัตได ท า มกลางสั ง คมป จ จุ บั น ที่ มี ค วามเป น ป จ เจกบุ ค คลสู ง การรวมตั ว จากความแตกต า งระหว า งบุ ค คล กอใหเกิดศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงอันจะนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดีได การรวมพลังในการขับเคลื่อนงานกิจกรรมตางๆ ถือเปนการสรางใหเกิดความตระหนักตอเรื่องของ สวนรวมที่เปนประเด็นสาธารณะใหกับบุคคลและชุมชน ซึ่งพลังชุมชน พลังเครือขายถูกเชื่อวาเปนอีก ทางเลือกทางรอดที่เปนไปไดเพราะมีความสอดคลองกับบริบทของชุมชนอยางแทจริง อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี เปนอีกหนึ่งชุมชน ที่ประชาชน เจาหนาที่หนวยงานของรัฐ เอกชน และผูเกี่ยวของทุกฝายไดรวมกันผลึกความรู ความสามารถ สรางการเรียนรูรวมกันและถายโอนความรูสู สังคมโดยเฉพาะในประเด็นสุขภาพ เพื่อใหผูคนในชุมชนทุกเพศทุกวัยมีสุขภาพกาย ใจ ที่เปนสุข หรือสราง สุขใหเกิดขึ้นในชุมชน เรียกไดวาเกิดคุณูปการยิ่งตอชุมชน มรรคผลที่เกิดขึ้นจากการมีสวนรวมครั้งนี้ยอมไมสัมฤทธิ์ผล หากไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณ จากสํ า นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ภายใต โ ครงการบ า นนี้ มี สุ ข กํ า ลั ง 2 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะผูวิจัยขอขอบคุณในทุกความรวมมือ จากทุกกิจกรรม และทุกเครือขายที่ไดรวมกันสรรสราง ใหชุมชนอําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี เดินทางไปสูจุดหมายในการเปน “เครือขายสุขภาพระดับชุมชน” ที่ พรอมจะเดินหนาและขับเคลื่อนตอไปไดอยางเขมแข็ง คณะผูวิจัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มกราคม 2555


บทคัดยอ

โครงการวิจัยพัฒนาเครือขายชุมชนเพื่อ กาย จิต สังคมเปนสุข มีวัตถุประสงคในการดําเนินงาน 3 ประการ คือ 1)เพื่อพัฒนาใหเกิดเครือขายสุขภาพของชุมชนแกงคอย จังหวัดสระบุรี 2)เพื่อจัดเวทีการ สื่อสารขอมูลสุขภาพและการสรางสุขภาวะที่ดีแบบองครวม (กาย จิต สังคม) ในรูปแบบมหกรรมสุขภาพ 3)เพื่อจัดทําฐานขอมูลสุขภาพและแผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพ (Local Expert Mapping) ของชุมชนแกงคอย ซึ่ง ทายที่สุดแลวจะทําใหเกิดกระบวนเรียนรูในการสรางสุขภาวะที่ดีได การดําเนินโครงการวิจัยใชเทคนิคการ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research: PAR) พื้นที่ดําเนินโครงการ ไดแก อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี ผลการดําเนิ นงาน พบว า ชุมชนให ความสนใจในเรื่องสุขภาพค อนขา งมาก โดยมีผูสมั ครเปน สมาชิกเครือขายสุขภาพ จํานวนทั้งสิ้น 300 คน ซึ่งมีแนวโนมที่จะสามารถพัฒนาเครือขายใหเขมแข็งตอไป ได แตตองอาศัยความคอยเปนคอยไปเนื่องจากชุมชนยังตองการการปรับตัวใหคุนเคยในการทํางานรวมกัน ในการจัดทําฐานขอมูลสุขภาพและแผนที่ผูรูสุขภาพ พบวาในชุมชนมีผูรูดานสุขภาพ (Local

Expert)

จํา นวน 42 คน แบ ง เป น ผู รู ด า นสุ ข ภาพกาย 24 คน สุ ขภาพใจ 5 คน และผูรู ด า นอื่ น (กิ จ กรรมเชื่ อ ม ความสัมพันธในสังคม) 13 คน สําหรับผูรูสวนใหญมีความรูเรื่องของการเปารักษา จํานวน 9 คน รองลงมา คือ ปราชญชาวบานดานสมุนไพร จํานวน 5 คน ทั้งนี้มีขอสังเกตวาแนวโนมปราชญชาวบานและฐานขอมูล สุขภาพชุมชนมีแนวโนมที่จะลดลงและสูญหายเนื่องจากขาดผูสืบทอดความรูดังกลาว และขาดการบันทึก เปนลายลักษณอักษร นอกจากนี้ในการประเมินความพึงพอใจและความรูที่ไดรับจากการจัดงานมหกรรมสุขภาพ พบวา ชุมชนมีความพึงพอใจมากและตองการใหมีการจัดงานแบบนี้อีกในปตอไป เนื่องจากเห็นวาเปนประโยชน สามารถสรางใหเกิดการพึ่งตนเองดานสุขภาพได


Abstract The purposes of this research were to 1) to develop the health community network of Kaeng Khoi Community, Saraburi Province; 2) to organize the stage of communication the health information and creation holistic good well-being the form of health festival; 3) to make the health information base with local expert mapping of Kaeng Khoi Community, finally the leaning process for creation good well-being shall be occurred. The methodology used the Participation Action Research technique (PAR) The area study is Kaeng Khoi, Saraburi Province. The results found that the community interested quite a lot in the health issue. While there were totally 300 applicant members for health network with capability to develop for stronger network further, but this process would be gradually operated since the community requires adjustment for acquaintance for jointly working. Making the health information base with local expert mapping found that in such community are comprised of those 42 local experts, divided into 24 physical local experts, 5 mind local experts and 13 other types of local experts (social interrelationship activity). Most local experts are cultivated on mouth-blowing treatment for 9 persons, the secondary are 5 herbal local philosophers. Anyhow, it is noted that the trend of local philosophers and health information base of the community are being reduced and vanished, since the lack of successors on such knowledge, while the written records are also unmade. In addition, the satisfaction evaluation with knowledge obtained from organizing the health festival found that the community was satisfied so much with their requirement to organize the festival gain for next year. Since it was useful to create self-reliance on their health.


สารบัญ

หนา สวนที่ 1 รายงานฉบับสมบูรณโครงการพัฒนาเครือขายชุมชน เพื่อ กาย จิต สังคม เปนสุข บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงคของโครงการ 1.3 กลุมเปาหมายที่จะไดรับประโยชน 1.4 พื้นที่ดําเนินงาน 1.5 ผลที่เปนรูปธรรมที่คาดวา (เปนไปได) จะเกิดขึ้นจาการดําเนินงาน 1.6 ระยะเวลาและขั้นตอนการดําเนินงาน

1-1 1-1 1-1 1-1 1-2 1-2 1-2

บทที่ 2 กระบวนการและผลการดําเนินงาน 2.1 กระบวนการดําเนินงาน 2.2 ผลการดําเนินงาน 2.2.1 รายงานผลการดําเนินงานมหกรรมสุขภาพ 2.2.2 ฐานขอมูลสุขภาพ 2.2.3 แผนที่ผรู ูเรื่องสุขภาพ 2.2.4 บัญชีรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพ

1-5 1-5 1-8 1-8 1-26 1-63 1-66

บทที่ 3 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 3.1 สรุปและอภิปรายผล 3.1.1 ชุมชนไดฐานขอมูลสุขภาพและแผนที่ปราชญผูรูดานสุขภาพ “กาย จิต สังคม” 3.1.2 ชุมชนไดบัญชีรายชื่อผูสนใจรวมเปน “เครือขายสุขภาพ” 3.1.3 ชุมชนไดรวมในกระบวนการวิจยั เชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมกับโครงการ 3.2 ขอเสนอแนะ

1-88 1-88 1-88 1-89 1-89 1-90

บรรณานุกรม ภาคผนวก

1-92 1-94


สารบัญ (ตอ)

หนา สวนที่ 2 สรุปขาวกิจกรรม/ภาพถายกิจกรรมการจัดงานมหกรรมสุขภาพ 2-1 1.1 สรุปภาพกิจกรรมการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1: สุขภาพกาย สุขภาพใจ เปนสุข 2-2 1.2 สรุปภาพกิจกรรมการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2: การสรางสุขภาวะที่ดี การสราง 2-21 สังคมเปนสุข 1.3 บรรยากาศการออกภาคสนามเพื่อสํารวจผูรูในพื้นที่อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 2-37 สวนที่ 3 รายงานการสรุปติดตาม ตรวจสอบ และประเมินโครงการ 1.1 ผลการดําเนินการจัดมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1: มิติความพึงพอใจ 1.2 ผลการประเมินการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 1.3 การประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวม

3-1 3-2 3-3 3-6


สวนที่ 1 รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาเครือขายชุมชนเพื่อ กาย จิต สังคม เปนสุข


บทที่ 1 บทนํา


บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล แนวคิดเรื่องสุขภาพองครวมหมายถึงสุขภาพที่ครอบคลุมทุกมิติของชีวิต เปนสุขภาวะโดยรวมอัน เกิดจากสุขภาวะทางกาย จิต สังคม ที่มีความเชื่อมโยงกันอยางใกลชิด ยากที่จะแยกออกเปนสวนๆ ได โดย มีฐานความคิดที่วา มนุษยแตละคนนั้นประกอบดวยกายและใจ ขณะเดียวกันก็มิอาจแยกตัวอยูโดดๆ ได หากยังตองมีความสัมพันธกับผูคนเริ่มจากพอแม ญาติพี่นองไปจนถึงผูคนในสังคม ดวยเหตุนี้ กายและใจ ตองสัมพันธกันดวยดี ควบคูไปกับความสัมพันธทางสังคม ถึงจะทําใหชีวิตมีความเจริญงอกงามหรือมี สุขภาพที่ดีได (พระไพศาล วิสาโล ในสุขภาพองครวมกับสุขภาพสังคม Available at www.visalo.org) แนวทางของการสรางใหเกิดกระบวนเรียนรูเพื่อสรางสุขภาวะที่ดี สามารถทําไดโดยการสรางให เกิดเครือขายสุขภาพในชุมชนเพื่อสรางกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในการสรางเสริมสุขภาวะ และ เพื่อเปดพื้นที่การสื่อสารขอมูลดานสุขภาพ แลกเปลี่ยนความรู และประสบการณจากสมาชิกของเครือขาย เพื่อใหสามารถนําความรูและประสบการณที่ไดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันเพื่อการสรางสุขภาวะที่ดี คณะผูวิจัยจากสถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ มีความสนใจที่จะดําเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research-PAR) เพื่อสรางใหเกิดเครือขายสุขภาพในระดับชุมชนของอําเภอแกง คอย จังหวัดสระบุรี ทั้งนี้เพื่อใหเครือขายสุขภาพที่จะเกิดขึ้นนี้เปนกลไกหนึ่งของการสรางเสริมสุขภาวะที่ดี ใหกับสมาชิกของชุมชนแกงคอย 1.2 วัตถุประสงคของโครงการ 1) เพื่อพัฒนาใหเกิดเครือขายสุขภาพของชุมชนแกงคอย จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อจัดเวทีการสื่อสารขอมูลสุขภาพและการสรางสุขภาวะที่ดีแบบองครวม (กาย จิต สังคม) ใน รูปแบบมหกรรมสุขภาพ 3) เพื่อจัดทําฐานขอมูลสุขภาพและแผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพ (Local Expert Mapping) ของชุมชนแกงคอย 1.3 กลุมเปาหมายที่จะไดรับประโยชน กลุมเปาหมายในการดําเนินงานและไดรับประโยชนจากโครงการ ไดแก ประชาชนทุกกลุมใน อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี ที่จะเขารวมเปนสมาชิกเครือขายสุขภาพ (ไมจํากัดจํานวน) ประกอบดวย - ประชาชนทุกกลุม ไดแก เยาวชน ผูสูงอายุ กลุมผูหญิง วัยทํางาน ผูดอยโอกาสตางๆ ผูนํา ชุมชน ปราชญชาวบาน - ผูที่สนใจในประเด็นมิติสุขภาพ การสรางสุขภาวะที่ดีแบบองครวม: กาย จิต สังคม - เจาหนาที่สาธารณสุข (แพทย พยาบาล บุคลากรทางการแพทยและอาสาสมัคร) 1-1


- โรงเรียน (ครู บุคลากรในโรงเรียน นักเรียน) - องคก รหนวยงานตางๆ ที่ มีในพื้นที่ เชน องคก รปกครองสวนท องถิ่น ราชการสวนทองถิ่น / ภูมิภาคจากสวนงานตางๆ ที่มีในพื้นที่ สําหรับกลุมเปาหมายที่จะเขารวมกิจกรรมมหกรรมสุขภาพที่ทางสมาชิกเครือขายจะจัดขึ้นคาด ประมาณจํานวน 150 คน 1.4 พื้นที่ดําเนินงาน อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 1.5 ผลที่เปนรูปธรรมที่คาดวา (เปนไปได) จะเกิดขึ้นจาการดําเนินงาน 1) ไดบัญชีรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพของอําเภอแกงคอย 2) สมาชิกของชุมชนแกงคอยไดแลกเปลี่ยนเรียนรู และประสบการณในเรื่องสุขภาพและการสรางสุข ภาวะที่ดีแบบองครวม: กาย จิต สังคม ผานการเขารวมกิจกรรมมหกรรมสุขภาพ จํานวน 2 ครั้ง 3) ไดฐานขอมูลสุขภาพ/การสรางสุขภาวะที่ดีแบบองครวม (กาย จิต สังคม) อยางเปนระบบ 4) ไดแผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพ (Local Expert Mapping) 1.6 ระยะเวลาและขั้นตอนการดําเนินงาน เดือน ชวงเดือนกุมภาพันธ 2554

ชวงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2554

ชวงเดือนมิถุนายน 2554

กิจกรรม 1) ผู วิ จั ย ค น หาและ/หรื อ พั ฒ นาให เ กิ ด นั ก วิ จั ย ทองถิ่นของโครงการผูวิจัย 2) ผูวิจัยและนักวิจัยทองถิ่นเชิญชวนประชาชน กลุมเปาหมายใหเขารวมเปนสมาชิกเครือขาย สุขภาพของโครงการ ผูวิจัย นักวิจัยทองถิ่น สมาชิกเครือขายสุขภาพ และหนวยงานที่เกี่ยวของรวมคิด รวมปรึกษากัน ในการจัดกิจกรรมมหกรรมครั้งที่ 1 โดยกําหนด ประเด็นหลัก (theme) เปนเรื่องสุขภาพกายและ สุขภาพใจ สมาชิกเครือขายสุขภาพแตละกลุมดําเนินการจัด “มหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1” 1-2


1.6 ระยะเวลาและขั้นตอนการดําเนินงาน (ตอ) เดือน ชวงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2554

ชวงตนเดือนกันยายน 2554

ชวงตนเดือนกันยายน 2554 ชวงปลายกันยายน – ตุลาคม 2554 ชวงเดือนพฤศจิกายน 2554

กิจกรรม ผูวิจัย นักวิจัยทองถิ่นและสมาชิกเครือขายสุขภาพรวมกัน จัดทํา - บัญชีรายชื่อสมาชิกของเครือขาย - ฐานขอมูลสุขภาพโดยจะตรวจสอบความสอดคลอง ถูกตองกับขอมูลความรูแพทยแผนปจจุบัน - จั ด ทํ า แผนที่ ผู รู เ รื่ อ งสุ ข ภาพของชุ ม ชน (Local Experts Mapping) ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น สมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพ และ หนว ยงานที่ เ กี่ย วขอ งรว มคิด ร ว มปรึก ษากัน ในการจั ด กิ จ กรรมมหกรรมครั้ ง ที่ 2 โดยกํ า หนดประเด็ น หลั ก (theme) เปนเรื่องการสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อใหเกิดสุข ภาวะที่ดี กิจกรรมยอยมีประเด็นเกี่ยวกับการดูแลรักษา สิ่งแวดลอม ขยะ น้ํา ปาไม/ปาชุมชน อากาศ การสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน และเรื่องอื่นๆ ที่ชุมชน ใหความสนใจ ช ว งเกิ ด เหตุ ก ารณ น้ํ า ท ว มในอํ า เภอแก ง คอยและ กรุงเทพมหานคร ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น สมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพ และ หนวยงานที่เกี่ยวของรวมคิด รวมปรึกษากัน (ชวงที่ 2) และเตรียมการจัดงานมหกรรมครั้งที่ 2

ชวงเดือนธันวาคม

สมาชิกเครือขายสุขภาพดําเนินการจัด “มหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2” ชวงเดือนธันวาคม 2554 – มกราคม 2555 1) ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น และสมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพ รวมกันเพิ่มเติมขอมูล ดังนี้ - เพิ่มเติมบัญชีรายชื่อสมาชิกของเครือขาย

1-3


1.6 ระยะเวลาและขั้นตอนการดําเนินงาน (ตอ) เดือน กิจกรรม ชวงเดือนธันวาคม 2554 – มกราคม 2555 (ตอ) - เพิ่มเติมฐานขอมูลสุขภาพและจะตรวจสอบความ สอดคลองถูกตองกับขอมูลความรูแผนปจจุบันที่ เกี่ยวของ - เพิ่มเติมแผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพของชุมชน (Local Experts Mapping) 2) ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น และสมาชิ ก เครื อ ข า ย สุขภาพรวมกันจัดทําสรุปบทเรียนการดําเนินงาน ที่ผานมา

1-4


บทที่ 2 กระบวนการและผลการดําเนินงาน


บทที่ 2 กระบวนการและผลการดําเนินงาน

2.1 กระบวนการดําเนินงาน กระบวนการดําเนินงานมีขั้นตอนดังตอไปนี้

ชวงเวลา

กิจกรรม/วิธีการ

กลุมเปาหมายที่ไดรับประโยชนจากโครงการ และผลลัพธ

1) ผูวิจัยคนหาและ/หรือพัฒนาใหเกิดนักวิจัยทองถิ่น ) โครงการได นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น ที่ จ ะทํ า งานใน ของโครงการ พื้นที่ (ก.พ. 54) 2) ผู วิ จั ย และนั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น เชิ ญ ชวนประชาชน ) โครงการไดรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพ กลุ ม เป า หมายให เ ข า ร ว มเป น สมาชิ ก เครื อ ข า ย ระยะที่ 1 สุขภาพของโครงการ เดือนที่ 2-4 ผูวิจัย นักวิจัยทองถิ่น สมาชิกเครือขายสุขภาพและ ) สมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพแต ล ะกลุ ม ได แนวทาง/รายละเอียดที่เหมาะสมสอดคลอง หนวยงานที่เกี่ยวของรวมคิด รวมปรึกษากันในการ (มี . ค.-พ.ค. กับบริบทของกลุมในการจัดมหกรรมสุขภาพ จัดกิจกรรมมหกรรมครั้งที่ 1 โดยกําหนดประเด็น 54) ครั้งที่ 1 หลัก (theme) เปนเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพใจ เดือนที่ 1

เดือนที่ 5 (มิ.ย. 54)

สมาชิกเครือขายสุขภาพแตละกลุมดําเนินการจัด ) สมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพ หน ว ยงานที่ เกี่ยวของและประชาชนทั่วไปไดแลกเปลี่ยน “มหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1” ขอมูล ประสบการณที่เปนประโยชนในการ ดูแลและสรางเสริมสุขภาพกายและใจ จาก การเขารวมกิจกรรมมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1

1-5


ชวงเวลา

กิจกรรม/วิธีการ

เดือนที่ 6-10

1) ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น และสมาชิ ก เครื อ ข า ย สุขภาพรวมกันจัดทํา บัญชีรายชื่อสมาชิกของเครือขาย ฐานขอมูลสุขภาพโดยจะตรวจสอบความ สอดคลองถูกตองกับขอมูลความรูแพทย แผนปจจุบัน จั ด ทํ า แผนที่ ผู รู เ รื่ อ งสุ ข ภาพของชุ ม ชน (Local Experts Mapping) 2) ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น สมาชิ ก เครื อ ข า ย

(ก.ค.-พ.ย. 54) (ระหว า งเดื อ น ก.ย.-ต.ค.54 ชวง เกิดเหตุการณน้ํา ท ว ม ใ น อํ า เ ภ อ แ ก ง ค อ ย แ ล ะ

กลุ ม เป า หมายที่ ไ ด รั บ ประโยชน จ าก โครงการ และผลลัพธ

) รายชื่ อ สมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพเพิ่ ม เติ ม (ระยะที่ 2) ) ไดฐานขอมูลสุขภาพ (ระยะที่ 1 ) ) ไดแผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพของชุมชน (ระยะที่ 1)

ห ยุ ด ก า ร

สมาชิกเครือขายสุขภาพแตละกลุมไดแนวทาง/ สุขภาพ และหนวยงานที่เกี่ยวของรวมคิด รวม รายละเอี ย ดที่ เ หมาะสมและสอดคล อ งกั บ ปรึกษากันในการจัดกิจกรรมมหกรรมครั้งที่ 2 บริบทของกลุมในการจัดมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 โดยกําหนดประเด็น หลัก (theme) เปน เรื่อง

ดํ า เ นิ น ง า น ไ ป

การสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อใหเกิดสุขภาวะ

ระยะหนึ่ง)

ที่ดี กิจกรรมยอยมีประเด็นเกี่ยวกับการดูแล

กรุงเทพมหานคร ทํ า ให โ ครงการฯ

รัก ษาสิ่ ง แวดล อ ม ขยะ น้ํ า ป า ไม / ป า ชุ ม ชน อากาศ การสรา งความเขม แข็ง ใหกับชุม ชน และเรื่องอื่นๆ ที่ชุมชนใหความสนใจ เดือนที่ 11 (ธ.ค. 54)

สมาชิกเครือขายสุขภาพดําเนินการจัด “มหกรรม ) สมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย ว ข อ ง แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป ไ ด สุขภาพครั้งที่ 2” แลกเปลี่ ย นข อ มู ล ประสบการณ ที่ เ ป น ประโยชนในการสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อ ใหเกิดสุขภาวะที่ดีจากการเขารวมกิจกรรม มหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2

1-6


ชวงเวลา

กิจกรรม/วิธีการ

กลุ ม เป า หมายที่ ไ ด รั บ ประโยชน จ าก โครงการ และผลลัพธ

เดือนที่ 12

1) ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น และสมาชิ ก เครื อ ข า ย สุขภาพรวมกันเพิ่มเติมขอมูล ดังนี้ เพิ่มเติมบัญชีรายชื่อสมาชิกของเครือขาย เ พิ่ ม เ ติ ม ฐ า น ข อ มู ล สุ ข ภ า พ แ ล ะ จ ะ ตรวจสอบความสอดคล อ งถู ก ต อ งกั บ ขอมูลความรูแผนปจจุบันที่เกี่ยวของ เพิ่ ม เติม แผนที่ ผูรูเ รื่อ งสุข ภาพของชุ ม ชน (Local Experts Mapping) ผู วิ จั ย นั ก วิ จั ย ท อ งถิ่ น และสมาชิ ก เครื อ ข า ย สุขภาพรวมกันจัดทําสรุปบทเรียนการดําเนินงาน ที่ผานมา

) ได บั ญ ชี ร ายชื่ อ สมาชิ ก ของเครื อ ข า ย สุขภาพที่สมบูรณมากขึ้น (ระยะสุดทาย ) ) ไดฐานขอมูลสุขภาพที่สมบูรณขึ้น (ระยะ สุดทาย ) ) ได แ ผนที่ผูรูเ รื่ อ งของสุ ข ภาพของชุม ชนที่ สมบูรณขึ้น (ระยะสุดทาย )

(ม.ค. 55)

) ไดขอสรุปบทเรียนการดําเนินงานที่ผานมา ซึ่งจะเปนประโยชนในการนําไปประยุกตใช ในกิจกรรมการขับเคลื่อนงานดานสุขภาพ ของเครือขายตอไปไดในอนาคต ) เ ค รื อ ข า ย สุ ข ภ า พ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด รั บ ประสบการณใ นการทํ า งานจากการเปน เจ า ภาพจั ด งานมหกรรมสุ ข ภาพและมี ความพรอมที่จะขับเคลื่อนงานดานสุขภาพ ของเครือขายตอไปไดในอนาคต

1-7


2.2 ผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานใน 3 ประเด็น ประกอบดวย 1) รายงานผลการจัดงานมหกรรมสุขภาพ 2 2) ฐานขอมูลสุขภาพ 3) แผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพ 4) บัญชีรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพ

ครั้ง

2.2.1 รายงานผลการดําเนินงานมหกรรมสุขภาพ 1) รายงานผลการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1: สุขภาพกาย สุขภาพใจ เปนสุข (1) การเตรียมการ ในการจั ดงานมหกรรมสุขภาพครั้ง ที่ 1 ไดมีการประชุมเตรี ยมการกั บนัก วิจั ย ทอ งถิ่ นของ โครงการฯ จํานวน 3 ครั้ง ดังนี้ (1.1) การประชุมครั้งที่ 1 (วันที่ 29 มี.ค. 2554) วัตถุประสงคการประชุม 1) เพื่อชี้แจงสาระสําคัญโดยสรุปของโครงการฯ 2) เพื่อเปดเวทีสําหรับการระดมความคิดเห็นตอแนวทางการจัดงาน มหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1 ผลการประชุม ที่ประชุมเห็นวา ในงานมหกรรมสุขภาพควรมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้งกิจกรรมการแสดงการ สาธิตตางๆ บนเวที มีบูธนิทรรศการบริเวณรอบสถานที่จัดงาน มีบูธสินคาสุขภาพ โดยมีรายละเอียดตางๆ ดังนี้ บูท ที่คาดวาจะมี ประกอบดวย 1) บูทขายสินคาสุขภาพ เชน ผักอินทรีย ผักปลอดสารพิษ สินคา OTOP เพื่อสุขภาพ 2) บูทประกวดอาหารสุขภาพ โดยจะใหทุกตําบลสงเขาประกวดและจะตอง นําเสนอสรรพคุณดานสุขภาพของอาหารดวย มีการมอบเกียรติบัตรใหกับผูชนะเลิศ ซึ่งขอความอนุเคราะห เกียรติบัตรจากทานสาธารณสุขอําเภอแกงคอย กิจกรรมบนเวที ที่คาดวานาจะมี ประกอบดวย 1) ประกวดเตนฮูลาฮูป 2) แขงขันตอบคําถาม สุขภาพ มีการมอบเกียรติบัตรใหกับผูชนะเลิศ ซึ่งขอความอนุเคราะหเกียรติบัตรจากทานสาธารณสุขอําเภอ แกงคอย พรอมของที่ระลึก 3) บรรยายใหความรูดานสุขภาพในกลุมวัยรุน เชน อาจารยนคร จากโรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย หรืออื่นๆ 4) เวทีกินอยูอยางไรใหอายุยืน 100 ป โดยเชิญผูที่มีอายุยืนในพื้นที่มาเลา ประสบการณการใชชีวิต (อายุมากกวา 90 ปขึ้นไป) ประสานกับ รพ.สต.หินซอน รพ.สต.สองคอน รพ.สต. หวยแหง และ 5) เวทีหมอสมุนไพร-แพทยทางเลือก โดยเชิญผูมีความรูดานสมุนไพรในพื้นที่มาใหความรู ประสานกับนักวิจัยทองถิ่นตําบลหินซอน สําหรับสถานที่จัดกิจกรรมงานมหกรรมสุขภาพ สรุปวาจะจัดที่โรงเรียนเทศบาลพัฒนา ซึ่ง ชวงเวลาจัดกิจกรรมนั้น จะจัดในสัปดาหที่ 2 ของเดือนมิถุนายน ใชเวลาจัดกิจกรรม 1 วัน ยกเวนวันเสารอาทิตย โดยการประชุมครั้งตอไป กําหนดไวเปนวันที่ 4 พ.ค. 2554 1-8


(1.2) การประชุมครั้งที่ 2 (วันที่ 4 พ.ค. 2554) วัตถุประสงค เพื่อรวมกันวางแผนการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1 และรายงานผลการ ติดตอประสานงาน ผลการประชุม ประเด็นการประชุมประกอบดวย 3 ประเด็นหลัก คือ การจัดบูธนิทรรศการ กิจกรรมบนเวที และสวนอื่นๆ ของการเตรียมจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1 โดยมีรายละเอียดโดยสรุปในที่ประชุมตอไปนี้ บูธนิทรรศการ แบงออกเปน 1. บูธนิทรรศการความรูดานสุขภาพดานสุขภาพกายและสุขภาพใจ ความเห็นที่ประชุม: บูธนี้จะแบงพื้นที่รับผิดชอบ ออกเปน 4 โซน และจะสรุปใหชัดเจนในการ ประชุมครั้งตอไป 2. บูธเมนูสุขภาพในแบบอาหารจานเดียว ความเห็นที่ประชุม: บูธนี้จะแบงออกเปน 4 โซน โซนละ 2 เมนู โดยอําเภอแกงคอยมีทั้งหมด 14 ตําบล สําหรับภาชนะใสอาหารทางทีมแกงคอยจะจัดหามาเอง และจะ สรุปใหชัดเจนในการประชุมครั้งตอไป 3. บูธศิลปะบําบัดใจใหมีสุข ความเห็นที่ประชุม: ทางสถาบันวิจยั สังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รับผิดชอบดําเนินการ 4. บูธนิทรรศการความรูจากปราชญชาวบาน/หมอพืน้ บาน/ผูรูเรื่องสุขภาพกายและใจ ความเห็นที่ประชุม: ทีมแกงคอยจะเปนผูต ิดตอประสานให และจะใหสรุปชัดเจนในการ ประชุมครั้งตอไป โดยมีทที่ ราบอยู 3 ทาน คือ - ตําบลหวยแหง มีผูเชีย่ วชาญการทําน้าํ มันงา (ลุงหมาน) 1 ทาน - ตําบลตาลเดี่ยว มีผูเชีย่ วชาญจับเสน 1 ทาน - ตําบลหินซอน มีผูเชี่ยวชาญการทําลูกประคบ 1 ทาน 5. บูธสินคาสุขภาพ ความเห็นที่ประชุม: ทีมแกงคอยจะไปประสานดูวาจะมีใครมาขายไดบาง แลวมาสรุปในการ ประชุ ม ครั้ ง ต อ ไป โดยบู ธ สิ น ค า นี้ จ ะมี เ ต น ท จั ด ไว ใ ห อ ยู ข า งนอกศาลา ประชาคม ตรงประตูทางเขางาน เวทีกิจกรรม 1. กินอยูอยางไรใหอายุยืน 100 ป ความเห็นที่ประชุม: ทีมแกงคอยจะรับไปประสานงาน และมาสรุปในที่ประชุมครั้งตอไป 2. พูดเรื่องเพศอยางไรกับลูกใหไดผล

1-9


ความเห็นที่ประชุม:

ทีมจุฬาฯ เปนผูดําเนินการ โดยจะเชิญทีมงาน อ.นคร สันธิโยธิน (อาจารยเสมาทองคําและมีประสบการณการสอนเรื่องเพศที่มีชื่อเสียง) จากโรงเรียนสวนกุหลาบมาเปนวิทยากร 3. วิธีรับมือกับความเครียด ความเห็นที่ประชุม: ทีมจุฬาฯ เปนผูดําเนินการ โดยจะติดตอชมรมหัวเราะบําบัดแหงประเทศไทย 4. ประกวดเตนฮูลาฮูปอดทน ความเห็นที่ประชุม: มีปญหาเรื่องเกณฑในการตัดสิน อาจจะเปลี่ยนเปนการสาธิตการทําชี่กง หรือรําไทยของผูสูงอายุ (ต.หนองผักบุง) ประเด็นนี้จะรวมตกลงกันในการ ประชุมคราวหนา 5. พิธีกรบนเวที 2 คน ความเห็นที่ประชุม: ทีมแกงคอยจะชวยดําเนินการหาให แลวสรุปในที่ประชุมครั้งตอไป ประเด็นความเห็นอืน่ ๆ - ควรเชิญนายอําเภอเปดงานบนเวที - น้ําดื่ม ควรจะสั่งที่ อําเภอแกงคอย และรวมกันแสดงความคิดเห็นกันอีกครั้งในคราวหนา วาจะใชกันประมาณเทาไหร - เครื่องเสียง โตะ เกาอี้ ทีมแกงคอย โดยคุณพจนจะเปนผูด ูแล สวนอุปกรณอื่นๆ ที่ใชในการ จัดงานจะรวมกันแสดงความคิดเห็นอีกครั้งในการประชุมคราวหนา - ใบสมั ค รสมาชิ ก เครื อ ข า ยสุ ข ภาพให เ พิ่ ม เรื่ อ งหมู ซอยลงในใบสมั ค ร เพราะบางครั้ ง ชาวบานเขียนไมถูก และใหทีมจุฬาฯ นํามาในการประชุมคราวหนา 2,000 ชุด เพื่อ ดํ า เนิ น การนํา ไปให คนในพื้น ที่ส มัค รต อ ไป โดยการสมั ค รนั้ น จะใช ความสมั ค รใจของ ผูสมัครเอง - สถานที่จัดงานใชศาลาประชาคม อําเภอแกงคอย โดยจะจัดงานในวันอังคารที่ 7 มิ.ย. 2554 และเรื่องจองศาลาประชาคม ใหทมี จุฬาฯ เปนผูจดั เตรียมเอกสาร โดยทีมแกงคอย จะเปนผูประสานงาน สําหรับการประชุมครั้งตอไปถูกกําหนดใหเปนวันที่ 25 พ.ค. 2554 เวลา 13.00 น. ณ หอง ประชุมสาธารณสุขอําเภอแกงคอย (1.3) การประชุมครั้งที่ 3 (วันที่ 25 พ.ค. 2554) วัตถุประสงค เพื่อสรุปแผนการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1 ผลการประชุม

1-10


1. บูธนิทรรศการ/การสาธิต ประกอบดวย 1.1 บูธนิทรรศการความรูดานสุขภาพกายและสุขภาพใจที่มีความนาสนใจหรือเปน ประเด็นที่อยูในกระแสหรือคนในพื้นที่ตองการที่จะรู โดยจัดกิจกรรมแบงเปนโซนตางๆ ดังนี้ โซนที่ 1 นิทรรศการความดันกับStroke (ผูประสานงาน คุณสุริยา เอกสุทธิ์) โซนที่ 2 นิทรรศการสุขภาพดีวิถีไทยและหลักดูแลสุขภาพตามแบบวิถีพุทธ (หมอเขียว) การใช ผักสมุนไพรพื้นบานมาปรับภาวะรอนเย็นของสุขภาพและยา 9 เม็ด การลางพิษ ขูด พิษ โยคะ (ผูประสานงาน คุณชัญญา เพ็งสุมา) โซนที่ 3 นิทรรศการพืชสมุนไพร (ผูประสานงานคุณชูศรี วิชาชัย)) โซนที่ 4 นิทรรศการดูแลผูสูงอายุแบบครบวงจร ประกอบไปดวยอาหาร การออกกําลังกาย และการดูแลสุขภาพ (ผูประสานงาน คุณประวิต จักรพล) โซนที่ 5 นิทรรศการนวดแผนไทยใหบริการฟรีสําหรับผูรวมงาน (ประสานงานกับคุณมะลิ สอวิเศษ) 1.2 บูธนิทรรศการความรูจากปราชญชาวบาน/หมอพื้นบาน/ผูรูเรื่องสุขภาพกายและ สุขภาพใจ โดยจัดกิจกรรมแบงเปน ดังนี้ - ลูกประคบ (ประสานงานคุณอานนท จากตําบลหินซอน) - น้ํามันงา (ประสานงานคุณธวัชชัย จากตําบลหวยแหง) - นวดคลายเสน/นวดแผนไทย (ประสานงานคุณจันทภา จากตําบลตาลเดี่ยว) 1.3 บูธสินคาสุขภาพ บูธนี้จะเปนการเปดโอกาสใหคนในพื้นที่ที่มีสินคาสุขภาพมาขาย เชน ผักปลอดสารพิษ ผักพื้นบาน ลูกประคบ ขาวกลอง เปนตน โดยแบงเปน ดังนี้ - การจําหนายเห็ด (ประสานงานคุณลี้) - การจําหนายลูกประคบ (ประสานงานคุณอานนท จากตําบลหินซอน) - การจําหนายเตาเศรษฐกิจ (ประสานงานคุณอานนท จากตําบลหินซอน) - การจําหนายผักปลอดสารพิษ (ประสานงานคุณชูศรี หรือคุณอรสา สวยวิเศษ) 1.4 บูธระบายสี ระบายใจ เปนแนวคิดของการใชศิลปะมาพัฒนาความคิดสรางสรรค โดยเนนพัฒนาใน 4 ดาน 1) ความคิดริเริ่ม 2) ความคลองแคลว 3) ความยืดหยุน 4) ความละเอียดลออ ใหกับเยาวชนผานกิจกรรมการจัดระบายสีตุกตาปูนปาสเตอร โดยจัดกิจกรรมแบงเปน ดังนี้ - ศิลปะบําบัดผานการระบายสีตุกตาปูนปาสเตอร/การระบายสีภาพบนถุงผา - ศิลปะบําบัดผานการทําโมบายจากลูกปดและเปลือกหอย - ศิลปะบําบัดผานการทําพวงกุญแจ/ที่หอยโทรศัพท - บอรดนิทรรศการความรูเรื่องศิลปะบําบัด

1-11


- การรับสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพฯ และการทําสํารวจเพื่อประเมินผลการจัดงานฯ รับผิดชอบโดยทีมจุฬา 2. กิจกรรมบนเวที 2.1 กินอยูอยางไรใหอายุยืน 100 ป เปนเวทีที่เชิญผูสูงอายุ (ที่มีอายุ 90 ปขึ้นไป) มา แนะนํา/บอกเคล็ดลับที่ทําใหมีอายุยืนยาว (ผูประสานงาน คุณอานนท ตําบลหินซอน) ความกาวหนาการเตรียมงาน - ไดผูสูงอายุจํานวน 2 คน เปนคูสามีภรรยาอายุ 93 และ 94 ป - ผูดําเนินรายการของกิจกรรม ไดแก คุณมะลิ สอวิเศษ และเพิ่มเติมอีก 1 ทาน 2.2 วิธีรับมือกับความเครียด เนนการพูดคุยเสนอแนวทางการรับมือกับปญหาตางๆ ที่ดู ไมมีทางออก/ความกังวลใจตางๆ (ผูประสานงาน สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) ความกาวหนาการเตรียมงาน - ไดประสานงานผาน อาจารยกสานติ์ วณิชชานนท ประธานชมรมหัวเราะบําบัดแหง ประเทศไทย เรียบรอยแลวและอาจารยยินดีมารับดําเนินการ 2.3 พูดเรื่องเพศอยางไรกับลูกใหไดผล เปนเวทีที่เชิญอาจารยนคร จากโรงเรียนสวน กุหลาบมาใหเคล็ดลับกับผูปกครอง คุณครูและเยาวชนในการปองกันความเสี่ยง/การรับมือหรือดูแลตัวเอง ใหรอดพนตอการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร ผูประสานงาน สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ความกาวหนาการเตรียมงาน - ไดประสานงานผาน อาจารยนคร สันธิโยธิน เรียบรอยแลวและอาจารยยินดีมารับ ดําเนินการ การจําหนายสินคาสุขภาพ โดยกลุมแมบานในอําเภอแกงคอย จํานวน 6 กลุม (สถาบันฯ รับ ดําเนินการ) และกิจกรรมตางๆ สามารถปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสม 3. วันเวลาและสถานที่ดําเนินการ กําหนดจัดมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1 ในวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2554 ณ ศาลาประชาคม อ.แกงคอย จ.สระบุรี เวลา 08.30-15.30 น. โดยบูธทั้งหมดจะอยูภายในพื้นที่ศาลาประชาคมทั้งหมด (2) การจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1: สุขภาพกาย สุขภาพใจ เปนสุข ในการเตรี ย มงานที่ ผ า นมาทั้ ง หมด ได ส รุ ป ให มี ก ารจัด งานมหกรรมสุ ข ภาพขึ้ น ในวั น ที่ 7 มิถุนายน 2554 ณ ศาลาประชาคม อําเภอแกงคอย จ.สระบุรี โดยเนื้อหาสาระตางๆ ของการจัดงานมี รายละเอียด ดังนี้ (1.1) กิจกรรมบนเวที ประกอบไปดวย ก) กิจกรรมวิธีรับมือกับความเครียด (หัวเราะบําบัด) 1-12


ดําเนินรายการ โดย อ.กสานติ์ วณิชชานนท ประธานชมรมหัวเราะบําบัด โดยการ บรรยายประกอบกับการสาธิตและฝกทาหัวเราะหลายๆ ทา ซึ่งในแตละทาจะชวยบําบัดระบบการทํางานใน รางกายแตกตางกันออกไป เคล็ดลับในการหัวเราะบําบัด หากตองการใหการหัวเราะไดผลดียิ่งขึ้น ควรเปลงเสียงหัวเราะ เพื่อเคลื่อนไหวอวัยวะ ภายใน 4 สวนดวยการเปลงเสียงตางๆ กัน คือ เสียง "โอ" ทําใหภายในทองขยับ เสียง"อา"ทําใหอกขยับขยาย เสียง "อู" เสียง "เอ" ทํา ใหลําคอเปดโลง และชวยบริหารใบหนา ขั้นตอนเริ่มจากหายใจเขาลึกๆ กลั้นไวสักครู เปลงเสียงเปนจังหวะ เชน โอ โอ โอ โอ ยาวๆ จนกวาจะหมดอากาศที่เก็บไว สูดหายใจเขาใหม หัวเราะเสียงละ 3 ครั้ง เมื่อออก เสียงเปนจังหวะแลวใหบริหารรางกายไปดวย เริ่มจากเสียง "โอ" ใหย่ําเทาอยูกับที่ เสียง "อา" ใหยกแขนขึ้น สูงๆ แลวโบกไปมา เสียง "อู" ใหสายเอวทาฮูลาฮูบ เสียง "เอ" ใหหมุนหัวไหล โดยทําทาเหลานี้ในระหวางที่ หัวเราะดวย ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - ระบบสมองดี การหัวเราะจะไปกระตุนระบบทํางานของสมอง ใหหลั่งสารความสุข หรือเอ็นดอรฟน เมื่อสมองถูกกระตุน ทําใหมีความคิดทางบวกสรางสรรคมีผลให รางกายและจิตใจพื้นฟูอยางรวดเร็ว - ระบบหายใจดี ระหวาง หัวเราะจะเกิดจังหวะการหายใจ การกลั้นหายใจ และการ หายใจยาว ๆ ทําใหรางกายไดรับออกซิเจนมากขึ้น มีการฟอกเลือดดี ชวยฆาเชื้อ โรคและปองกันโรคทางเดินหายใจ โรคความดันโรคหัวใจ และโรคปอดไดอีกดวย - ระบบยอยและขับถายดี ในระหวางการหัวเราะจะเปนการออกกําลังอวัยวะสวนทอง กระเพาะ ลําไส ไดเปนอยางดี - ระบบพักผอนและผิวพรรณดี หัวเราะชวยคลายเครียด เสนประสาทกลามเนื้อบน ใบหนา ยืดหยุน ชวยใหหลับสนิท - ระบบภูมิคุมกันดี การหัวเราะชวยใหรางกายทํางานเปนระบบ ชวยทําลายอนุมูล อิสระที่เปนตัวการสําคัญของการผิดปกติในเซลลของรางกาย อันเปนสาเหตุของ โรคมะเร็ง นักวิจัยพบวาเสียงหัวเราะสรางความแข็งแรงใหกับระบบภูมิคุมกันของ รางกาย ไดเปนอยางดี ข) กิจกรรมพูดเรือ่ งเพศอยางไรกับลูกใหไดผล ดํ า เนิ น รายการ โดย อาจารย น คร สั น ธิ โ ยธิ น อาจารย เ ป น ที่ ป รึ ก ษาแนะแนวห อ ง “กุหลาบขาว” โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และ อาจารยจรูญรัตน สุวรรณภูสิทธ ที่ปรึกษาโรงเรียน นานาชาติโรสแมรี่อะคาเดมี่ โดยการบรรยาย การใชสื่อการสอนในหลายรูปแบบ เชน แผนพับ หนังสือ 1-13


เคล็ดลับในการสอนเพศศึกษา คือการสอนและการใหขอมูล เตรียมความพรอมในวิธีคิดใหเด็ก เพื่อเตือนสติเด็ก เปด โอกาสใหเด็กไดพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พรอมทั้งสรางกําลังใจในกรณีที่เคยผิดพลาด สรางสรรค คําพูดที่คิดถึงความรูสึกความรูสึกของเด็กโดยไมซ้ําเติม ไมตอกย้ํา สอนใหเด็กคิดในทางที่ดี โดยบทเรียนที่ จะเขาไปสกัดพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควรคือจะเนนการรักนวลสงวนตัว เพื่อใหเขารูทุกอยาง กอนตัดสินใจวาจะรักนวลสงวนตัวหรือไม ซึ่งจุดนี้ถือวาเปนชวงการปฏิเสธการมีเซ็กส แตหากเด็กมีเซ็กส แลวก็จะตองมีเซ็กสที่ปลอดภัย หรือเซฟเซ็กส ที่มา: อ.นคร สันธิโยธิน เรื่อง วาเลนไทนนี้ "วัยโจ" ตั้งสติเรื่อง "เซ็กสๆ" ดวยเพศสัมพันธ "หวางหู" Available at http://www.matichon.co.th/index/news_detail.php?newsid=1297666931&grpid เนื้อหาของกิจกรรม - ความรูเรื่องเพศ ตามวัยและพัฒนาการทางเพศ ตั้งแตรางกาย การเปลี่ยนแปลงไป ตามวัย และจิตใจสังคม ของทั้งตนเอง และเรียนรูเรื่องความแตกตางระหวางเพศ ตรงขาม - เอกลักษณทางเพศของตนเอง ไดแก การรับรูเพศตนเอง(core gender) บทบาท ทางเพศและพฤติกรรมทางเพศ(gender role) มีความพึงพอใจทางเพศหรือ ความรูสึกทางเพศตอเพศตรงขามหรือตอเพศเดียวกัน(sexual orientation) - พฤติกรรมการรักษาสุขภาพทางเพศ(sexual health) รูจักรางกายและอวัยวะเพศ ของตนเอง ดูแลรักษาทําความสะอาด ปองกันการบาดเจ็บ การติดเชื้อ การถูก ลวงเกินละเมิดทางเพศ การปองกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ - ทั ก ษะในการสร า งความสั ม พั น ธ กั บ เพศตรงข า ม การเลื อ กคู ค รอง การรั ก ษา ความสัมพันธใหยาวนาน แกไขปญหาตางๆในชีวิตรวมกัน ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรมตอครู อาจารยและผูปกครอง - ไดเห็นตัวอยางและแบบอยางการพูดคุยเรื่องเพศกับลูกที่ไดผล - ไดเปดโลกทัศนใหมในการพูดและสอนเรื่องเพศกับบุตรหลาน นักเรียนและเยาวชน - ไดฝกและพัฒนาทักษะการคิดเรื่องเพศศึกษาที่ถูกตอง ประโยชนที่ไดจากกิจกรรมตอเยาวชนและนักเรียน - เยาวชนไดเรียนรูเรื่องเพศอยางเปนระบบและถูกตองตามหลักวิชาการ

1-14


- เป ด โอกาสให เ ยาวชนได กล า คิ ด กล า ถาม กล า แสดงออกต อ ความสงสั ย เรื่ อ ง เพศศึกษา ค) กิจกรรมกินอยูอยางไรใหอายุยนื 100 ป วิทยากรผูดําเนินรายการ โดย นางมะลิ สอวิเศษ นักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาล แกงคอย และ นาง ชูศรี วิชาชัย หัวหนาสาธารณสุขอําเภอแกงคอย โดยเชิญคูสามีภรรยาผูสูงอายุ 2 ทาน คือ นาย สําอาง พานนอย อายุ 94 และนางจรูญ พานนอย อายุ 93 ป ชาวอําเภอแกงคอย มาพูดคุยถึง เรื่องราวการดําเนินชีวิตความเปนอยู แนะนําและเลาถึงเคล็ดลับที่ทําใหมีอายุยืนยาว และมีสุขภาพดี เคล็ดลับในการกินอยูใหมีอายุยืนและสุขภาพดี เคล็ดลับการกินอยูใหมีอายุยืนและสุขภาพดีในกรณีนี้ คือการใชชีวิตและกินอยูอยาง เรียบงาย กินกินอาหารพวกธัญพืช ผลไมสด ผักสดโดยเฉพาะผักพื้นบาน ระมัดระวังอาหารประเภท ไขมัน น้ําตาล และงดอาหารประเภทน้ําอัดลม แอลกอฮอล ชา น้ําหวาน หลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารตกคางโดยการ ทําสวนครัวปลูกผักไวทานเอง ตลอดจนการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ ในกรณีนี้ เคล็ดลับคือดูแลสวน และหมั่นดูแลบานดวยตนเองซึ่งเปนการออกกําลังไปในตัว สวนในดานสุขภาพใจเคล็ดลับคือการไปวัด ทําบุญเปนประจําเพื่อใหเกิดความสงบและสบายใจชวยใหสุขภาพจิตดี ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เรี ย นรู ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต และการปรั บ ตั ว ในวั ย สู ง อายุ เ พื่ อ ให มี สุ ข ภาพกายและ สุขภาพจิตที่ดี - เรียนรูวิธีการใชชีวิตและการกินอยูอยางเรียบงายตามวิถีไทยเพื่อใหมีอายุยืนยาว ง) กิจกรรม รําสาว 90 วิทยากรผูดําเนินรายการโดย นางมะลิ สอวิเศษ นักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาล แกงคอย และ นาง ชูศรี วิชาชัย หัวหนาสาธารณะสุขอําเภอแกงคอย สาธิตกิจกรรมโดยกลุมชมรมแอโรบิค รําไทยประยุกต ชาวทับกวาง ชวงอายุตั้งแต 60-75 ป จํานวน 18 ทาน กิจกรรมเปนการออกกําลังกาย ประกอบดนตรีซึ่งมีการดัดแปลงทาทางและการเคลื่อนไหวใหเหมาะกับการออกกําลังของผูสูงอายุ เคล็ดลับในการออกกําลังกายในผูสูงอายุ การออกกําลังกายที่เหมาะสมของผูสูงอายุนั้น ควรมีการประเมินความสามารถและ สภาพรางกายของผูสูงอายุแตละคนกอน เชน บางคนที่มีโรคประจําตัว เชน เบาหวาน โรคหัวใจ ควรปรึกษา แพทย ว า ควรออกกํ า ลั ง กายประเภทใด และมากน อ ยเพี ย งใด การเริ่ ม ออกกํ า ลั ง กายนั้ น ควรเริ่ ม จาก การศึกษาหลักการใหถูกตองกอน แลวคอย ๆ เริ่ม ไมควรหักโหมมากในครั้งแรก ๆ เพื่อเปนการปรับสภาพ รางกายกอน การออกกําลังกายที่ดี ควรเปนการออกกําลังกายที่ตอเนื่องไมใชหักโหมทําเปนครั้งคราว ควร เริ่มจากการอุนรางกาย ประมาณ 5-10 นาที ออกกําลังกาย 15-20 นาที และจบดวยการผอนคลาย ในการ 1-15


ที่มา: การออกกําลังกายในผูสูงอายุ Available at http://www.scc.ac.th/ index/student_web/1_48/elderly_club/aokkrulungkai001.html ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - ชวยใหระบบไหลเวียนของเลือดในผูสูงอายุทํางานไดดี โดยเลือดเลี้ยงสวนตาง ๆ ได มากขึ้น ปองกันโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตต่ํา มีภูมิตานทานของรางกายดีขึ้น และ ปองกันโรคตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน โรคอวน โรคขอเสื่อม - ชวยในการควบคุมน้ําหนัก การทรงตัว และทําใหเคลื่อนไหวคลองแคลวขึ้น - ชวยใหระบบขับถายทํางานไดดีขึ้น - ชวยลดความเครียด และทําใหการนอนหลับพักผอนดีขึ้น (1.2) บูธนิทรรศการ บูธสาธิตจากปราชญชาวบาน และบูธจําหนายสินคาเพื่อสุขภาพ ซึ่งมีรายละเอียดของแตละบูธดังตอไปนี้ คือ ก) บูธสาธิตจากปราชญชาวบาน ประกอบดวย - บูธสาธิตการทําลูกประคบ โดยลุงบุญสง โสภา จากตําบลหินซอน - บูธสาธิตการทําน้ํามันงา โดยคุณลุงสมาน ยะธาตุ จากตําบลหวยแหง - บูธสาธิตและบริการนวดแผนไทย จากทีมงานโรงพยาบาลแกงคอย - บูธสาธิตการทําผลิตภัณฑสมุนไพร โดยคุณวันเพ็ญ ปานมณี จากตําบลหินซอน ข) บูธจําหนายสินคาเพื่อสุขภาพ ประกอบดวย - บูธจําหนายผักปลอดสารพิษ จากศูนยไรที่พึ่งคนทับกวาง - บูธจําหนายเตาเศรษฐกิจและน้ํามันมะพราว โดยคุณอภิเชษฐ ตนเกตุ จากตําบล หินซอน - บูธจําหนายผลิตภัณฑจากกลอย เชน สบูกลอย ครีมทาหนาจากกลอย เปนตน โดย คุณรัชชา ทันวรักษกิจ จากตําบลหวยแหง - บูธจําหนายถั่วทอดสมุนไพร กระเทียมทอด หอมทอด โดยคุณสมใจ มีเจตนา จาก ตําบลทับกวาง - บูธจําหนายเห็ด โดยคุณชนธร วงศวรรณา จากตําบลสองคอน ค) บูธนิทรรศการ ประกอบดวย - บู ธ นิ ท รรศการศิ ล ปะบํ า บั ด ใจให เ ป น สุ ข จากสถาบั น วิ จั ย สั ง คม จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย โดยภายในบูธจะมีตุกตาปูนปลาสเตอรใหเด็กๆ ไดระบายสี มีสรอย

1-16


- บูธ/บอรดนิทรรศการความรู (ศิลปะบําบัดและหัวเราะบําบัด ผักพื้นบาน การแพทย ทางเลื อ ก ประโยชน ข องงา ประโยชน ข องการดื่ ม น้ํ า และชาเขี ย ว น้ํ า กั บ การ รับประทานยา การปฏิบัติตัวเมื่อปวยเปนโรคเอดส ความเครียดและไมเกรน การ รับประทานอาหารตามกรุปเลือด และความรูเกี่ยวกับยาดอง เปนตน) - บูธนิทรรศการความดันกับStroke จากทีมงานในเขตพื้นที่โรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบล 4 แหง ไดแก รพ.สต.ชะอม รพ.สต.หวยแหง รพ.สต.ทามะปราง และ รพ.สต.หนองสองหอง ภายในบูธจะมีการตรวจวัดความดันใหฟรีและอธิบายให ความรูสาเหตุของการมีความดันในชวงตางๆ พรอมทั้งอาสาสมัครสาธารณสุขใน ชุมชน (อสม.) เปนผูใหความรูเพิ่มเติม - บูธนิทรรศการสุขภาพดีวิถีไทยและหลักดูแลสุขภาพตามแบบวิถีพุทธ จากทีมงานใน เขตพื้นที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 5 แหง ไดแก รพ.สต.ตาลเดี่ยว รพ.สต. เตาปูน รพ.สต.สองคอน รพ.สต.พระบาทนอย และรพ.สต.บานธาตุ ภายในบูธจะมี การอธิบายหลักการดูแลสุขภาพที่ดี พรอมทั้งยกตัวอยางอาหารเมนูสุขภาพ เชน อาหารชีวจิต พรอมทั้งอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน (อสม.) เปนผูใหความรู เพิ่มเติม - บูธ นิท รรศการนิทรรศการพื ชสมุ น ไพร จากเครือขา ยสุขภาพ ภู เ ขาเขีย วรว มกั บ ทีมงานในเขตพื้นที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 5 แหง ไดแก รพ.สต.ทับกวาง รพ.สต.หนองผักบุง รพ.สต.ดอนจาน รพ.สต.ชําผักแพว และรพ.สต.โปงกอนเสา ภายในบูธจะมีบอรดนิทรรศการใหความรูในเรื่องพืชผักสมุนไพรตาง พรอมทั้งมี ตัวอยางนํามาแสดง พรอมทั้งอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน (อสม.) เปนผูให ความรูเพิ่มเติม - บูธนิทรรศการการดูแลผูสูงอายุอยางครบวงจร จากทีมงานในเขตพื้นที่โรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบล 5 แหง ไดแก รพ.สต.หินซอน รพ.สต.บานปา รพ.สต.ทาคลอ รพ.สต.ทาตูม และรพ.สต.หาดสองแคว 4 ภายในบูธจะมีบอรดใหความรูในเรื่อง หลักการดูแลผูสูงอายุ 11 อ. พรอมทั้งอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน (อสม.) เปน ผูใหความรูเพิ่มเติม

1-17


2) รายงานผลการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2: การสรางสุขภาพที่ดีและการสราง สังคมเปนสุข (1) การเตรียมการ ในการจั ดงานมหกรรมสุ ขภาพครั้ง ที่ 2 ไดมีการประชุมเตรี ยมการกั บนัก วิจั ย ทอ งถิ่ นของ โครงการฯ จํานวน 2 ครั้ง ดังนี้ (1.1) การประชุมครั้งที่ 1 (วันที่ 11 พ.ย. 2554) วัตถุประสงคการประชุม 1) เพื่อชี้แจงสาระสําคัญและกระบวนการทํางานของโครงการฯกับ คณะกํานันและผูใหญบาน 2) เพื่อเปดเวทีสําหรับการระดมความคิดเห็นตอแนวทางการจัดงาน มหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2

ผลการประชุม ที่ประชุมไดมีการระดมความคิดเห็น จากคณะผูใหญบาน กํานันและสารวัตรกํานัน เกี่ยวกับ รายชื่อผูรูและปราชญชาวบานที่อยูในพื้นที่อําเภอแกงคอย โดยทําการรวบรวมขอมูลและรายชื่อผูรูผานผูนํา ของแตละตําบล และในสวนการจัดงานงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 ที่ประชุมเห็นวาในงานมหกรรมสุขภาพ ควรมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้ งกิจกรรมการแสดงการสาธิตตางๆ บนเวที มีบูธนิ ทรรศการบริเวณรอบ สถานที่จัดงาน มีบูธสินนิทรรศการและคาสุขภาพ โดยมีรายละเอียดตางๆ ดังนี้ 1. นิทรรศการธนาคารขยะสรางรายไดชุมชน โดยโรงเรียนวัดบุรีการาม 2. นิทรรศการการจักสานและการทําการสาธิตเตาหูนมสด โดยโรงเรียนวัดหวยคงคาวราวาส 3. นิทรรศการการเดินปาศึกษาธรรมชาติตามเสนทางเดินปา โดยสถานีพัฒนาและสงเสริม การอนุรักษสัตวปาสระบุรี 4. นิทรรศการปาชุมชน โดย อ.สฤษดิ์ จิตนอก โรงเรียนวัดพระพุทธบาทนอยมิตรภาพที่ 69 5. นิทรรศการการทําน้ําหมักชีวภาพจากหนอกลวย ไข และปลา โดยคุณวันเพ็ญ ปานมณี 6. นิทรรศการการทําเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยคุณสมาน ยะธาตุ 7. นิทรรศการสมุนไพรสปา โดยคุณประยุพร ภูเลาสิงห 8. นิทรรศการนวดแผนไทยและสมุนไพรทําลูกประคบ โดยคุณสําอาง พรหมโสภา 9. นิทรรศการ สาธิตการทําพรมเช็ดเทา โดยคุณน้ําทิพย กึ้งการจร 10. นิทรรศการสมุนไพรพึ่งพาตนเอง โดยคุณบุญสืบ พันธประเสริฐ สําหรับสถานที่จัดกิจกรรมงานมหกรรมสุขภาพรั้งที่ 2 สรุปวาจะจัดที่โรงเรียนวัดหวยคงคาวรา วาส โดยกําหนดการจัดงานไวเปนวันที่ 23 ธ.ค. 2554 1-18


(1.2) การประชุมครั้งที่ 2 (วันที่ 7 ธ.ค. 2554) วัตถุประสงค เพื่อหารือวางแผนการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 และสํารวจสถานที่จัดงาน ผลการประชุม ประเด็นการประชุมประกอบดวย 3 ประเด็นหลัก คือ สถานที่จัดบูธนิทรรศการ กิจกรรมบนเวที และสวนอื่นๆ ของการเตรียมจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 โดยมีรายละเอียดโดยสรุปในที่ประชุมตอไปนี้ ประเด็นที่ 1 บูธนิทรรศการ แบงออกเปน 2 รูปแบบ ก) บูธนิทรรศการความรูในการสรางสังคมที่เปนสุข โซนนี้จะแบงออกเปน 4 บูธ เปนพื้นที่สําหรับการศึกษาและการสรางองคความรูในการ สรางสังคมที่ดีใหกับผูรวมงาน โดยเปนโซนของ นิทรรศการธนาคารขยะสรางรายไดชุมชน นิทรรศการการ เดินปาศึกษาธรรมชาติตามเสนทางเดินปา นิทรรศการปาชุมชน และนิทรรศการการทําเกษตรตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง ข) บูธนิทรรศการความรูในการสรางสุขภาวะที่ดี โซนนี้จะแบงออกเปน 6 บูธ เปนพื้นที่สําหรับการศึกษาและการสาธิตในการสรางสุข ภาวะที่ ดีใ ห กับ ชุ ม ชนจากผลิ ต ภั ณ ฑ ตา งๆ อั น เป น ความรู ข องคนในชุ ม ชนเองทั้ ง สิ้ น โดยเป น โซนของ นิทรรศการการจักสานและการทําการสาธิตเตาหูนมสด นิทรรศการการทําน้ําสกัดชีวภาพจากหนอกลวย ไข และปลา นิทรรศการสมุนไพรสปา นิทรรศการนวดแผนไทยและสมุนไพรทําลูกประคบ นิทรรศการ สาธิต การทําพรมเช็ดเทาและนิทรรศการสมุนไพรพึ่งพาตนเอง ประเด็นที่ 2 เวทีกจิ กรรม ผลการประชุม การแสดงจะอยูในสวนของการแสดงเปดงาน ดําเนินการฝกซอมและควบคุมแสดงโดย อ. ป ยะพงษ แวนสุวรรณ อาจารยประจําโรงเรียนวัดหวยคงหวยคงคาวราวาส ใชนักเรียนชายหญิงในการแสดง รวมทั้งสิ้น 8 คน โดยเปนชาย 4 คน และหญิง 4 คน ทําการฝกซอมทั้งสิ้นเปนเวลา 2 อาทิตย ในส ว นเวทีการแสดงและซุม ประธานในพิธีรับผิดชอบดูแลโดย อ. ปย ะพงษ แว น สุ วรรณ อาจารย ป ระจํ า โรงเรี ย นวั ด ห ว ยคงห ว ยคงคาวราวาสและที ม วิ จั ย สถาบั น วิ จั ย สั ง คม จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัยเปนผูดําเนินการ ประเด็นที่ 3 ประเด็นปลีกยอยอื่นๆ - ประธานในพิธเี ปดงาน เรียนเชิญ ทานสรวัตต แสนปญญา ปลัดอาวุโสอําเภอแกงคอยเปน ประธานในพิธี - น้ําดื่ม และอาหารสําหรับงาน รับผิดชอบดูแลโดย คุณน้ําทิพย กึง้ การจร สารวัตรกํานัน ตําบลหวยแหง 1-19


- เครื่องเสียง โตะ เกาอี้ ที่ใชในการจัดงานนิทรรศการรับผิดชอบดูแล โดยนายศรพิบูลย กิ่ง กาน ผูใหญบา นหมู 11 ตําบลหวยแหง - สวนอุปกรณอนื่ ๆ ที่ใชในการจัดงานในซุมประธานและอุปกรณสําหรับจัดทําเวทีไดรบั ความอนุเคราะหโดยโรงเรียนวัดหวยคงคาวราวาส - ใบสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพใหทีมวิจัยสถาบันวิจยั สังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนผูดําเนินการ - สถานที่จัดงานใชลานกวางบริเวณโรงเรียนวัดหวยคงคาวราวาส - กําหนดจัดมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 ในวันที่ 23 ธ.ค. พ.ศ. 2555 ณ โรงเรียนวัดหวยคงคาว ราวาท ต. หวยแหง อ.แกงคอย จ.สระบุรี เวลา 09.00-16.00 น. (2) การจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 : การสรางสุขภาวะที่ดีและการสรางสังคม เปนสุข ในการเตรียมงานที่ผานมาทั้งหมด ไดสรุปใหมีการจัดงานมหกรรมสุขภาพขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม 2554 ณ โรงเรียนวัดหวยคงคาวราวาท ต. หวยแหง อําเภอแกงคอย จ.สระบุรี โดยเนื้อหาสาระ ตางๆ ของการจัดงานมีรายละเอียด ดังนี้ งานนิทรรศการ ประกอบไปดวย (2.1) นิทรรศการธนาคารขยะสรางรายไดชุมชน โครงการธนาคารขยะสรางรายไดชุมชน เปนโครงการที่โรงเรียนวัดบุรีการามรวมกับบริษัทเบต เตอร เวิลด กรีน จํากัด (มหาชน) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาองคกรเยาวชนใหมีจิตสํานึก ในการจัดการ ขยะอยางยั่งยืนและรักษาสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน อีกทั้งยังเปนการชวยลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น โดยผลพลอยไดจากการคัดแยกขยะจะนํามาตั้งเปนกองทุนสนับสนุนการศึกษาของเด็กนักเรียน เนื้อหาของกิจกรรม ในงานนิทรรศการมีการสาธิตการคัดแยกขยะ บอรดขอมูลความรูเกี่ยวกับธนาคารขยะ การรับ สมัครสมาชิกธนาคารธนาคารขยะ คําถามและคําตอบเกี่ยวกับการจัดการขยะ การทําเสือชูชีพจากกลอง นม แผนพับความรูเกี่ยวกับธนาคารขยะ และดอกไมประดิษฐจากขยะเหลือใชโดยบูธนี้จะมีกิจกรรมใหเด็ก ไดลองทําดอกไมประดิษฐดวยตัวเอง ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อพัฒนาองคกรเยาวชน ใหมีจิตสํานึกในการกําจัดขยะ และการรักษาสิ่งแวดลอม ภายใน โรงเรียน - เพื่อเปนการชวยลดขยะมูลฝอยและเสริมสรางความรูใหกับเยาวชนในเรื่องการคัดแยกขยะ ที่ถูกตองและเหมาะสม 1-20


- เพื่ อ นํ า ผลพลอยได จ ากการคั ด แยกขยะมาตั้ ง เป น กองทุ น สนั บ สนุ น การศึ ก ษาของเด็ ก นักเรียน - เพื่อเปนการสรางรูปแบบการกําจัดขยะมูลฝอยโดยมีเยาวชนมีสวนรวมในการดําเนินการ (2.2) นิทรรศการการจักสานและการทําการสาธิตเตาหูนมสด งานจักสานตะกราพลาสติกและเตาหูนมสด เปนโครงงานเพื่อสงเสริมทักษะทางวิชาชีพแก เด็ก นัก เรีย นของโรงเรี ย นวั ดหว ยคงคาวราวาส ควบคุม การฝ ก สอนโดยอาจารย ละออศรี พลนํา โดย ผลิตภัณฑที่เกิดจากโครงการจะนําจัดจําหนายตามงานเทศกาลตางๆ รวมถึงผูปกครองเด็กนักเรียนที่มี ความสนใจในตัวผลิตภัณฑรายไดทั้งหมดเขากองทุนสวนกลางของโรงเรียนเพื่อสนับสนุนอุปกรณการเรียน ของเด็กนักเรียนที่เขารวมโครงการ เนื้อหาของกิจกรรม ในงานนิทรรศการมีการสาธิตและการสอนทําตะกราจักสานจากพลาสติก ตลอดจนมีการนํา ผลงานจักสานของเด็กนักเรียนมาแสดงใหชมและจัดจําหนาย ในสวนของเตาหูนมสด มีบอรดนิทรรศการ และเอกสารสาธิตวิธีการผลิตรวมถึงทางโรงเรียนไดนําเตาหูนมสดมาจําหนายและแจกใหชิมในงานดวย ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อเปนการสงเสริมใหเด็กนักเรียนไดใชเวลาวางที่เปนประโยชน - เพื่อเปนการสรางทักษะพื้นฐานทางวิชาชีพที่เปนประโยชนแกเด็กนักเรียน (2.3) นิทรรศการการเดินปาศึกษาธรรมชาติตามเสนทางเดินปา นิทรรศการการเดินปาศึกษาธรรมชาติตามเสนทางเดินปา ดูแลและรับผิดชอบโดย สถานี พัฒนาและสงเสริมการอนุรักษสัตวปา หรือชื่อที่ประชาชนทั่วไปคุนเคยแตเดิมวา “ศูนยศึกษาธรรมชาติและ สัตวปา” โดยศูนยเปนพื้นที่ธรรมชาติที่อยูในความดูแลของสวนสงเสริมและเผยแพร สํานักอนุรักษสัตวปา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เกิดจากความตองการของรัฐ ที่ตองการหาพื้นที่ปาธรรมชาติที่ สมบูรณ มีความสวยงามหรือโดดเดนทางธรรมชาติ มีขนาดไมกวางขวางนัก อยูใกลกับแหลงชุมชนเพื่อเปน ตัวแทนของปาผืนใหญที่เหลือนอยซึ่งรัฐจําเปนตองปกปองไวมิใหเกิดการรบกวนสมดุลธรรมชาติ เนื้อหาของกิจกรรม ในงานนิทรรศการจะประกอบดวย บอรดนําเสนอความรูการแนะนําสถานีพัฒนาและสงเสริม การอนุรักษสัตวปาสระบุรี ภาพกิจกรรมคายอนุรักษ บอรดความรูสัตวปาสงวนของประเทศไทย บอรด ความรูสัตวปาคุมครองประเภทตางๆ โครงการคายเยาวชนอนุรักษสัตวปา บอรดความรูการอนุรักษสัตวปา ในเมืองไทย บอรดความรูปาไมในประเทศไทย บอรดความรูการคาสัตวปาผิดกฎหมาย บูธแสดงอุปกรณ เดินปาและสัตวปาสตาฟ โดยแตละบอรดจะมีวิทยากรคอยใหความรูแกผูเขาชม

1-21


ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อสรางจิตสํานึกที่ดีในการหวงแหนและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ปาไมและสัตวปา - เพื่อเพิ่มศักยภาพและองคความรูของเด็กในเรื่องปาไมและสัตวปาในประเทศไทย (2.4) นิทรรศการปาชุมชน นิทรรศการปาชุมชน ดูแลและรับผิดชอบโดย อ.สฤษดิ์ จิตนอก อาจารยโรงเรียนวัดพระพุทธ บาทนอยมิตรภาพที่ 69 และปจจุบันยังรับหนาที่ผูดูแลและประสานงานศูนยศึกษาธรรมชาติระบบนิเวศเขา หินปูนและปาชุมชนเขาพระพุทธบาทนอย ตําบลแกงคอยจังหวัดสระบุรี โดยศูนยศึกษาธรรมชาติระบบ นิเวศเขาหินปูนเปนหนวยงานที่ทํางานรวมกันระหวาง ชุมชน วัด และโรงเรียน ประสานหนวยงานราชการ บริษัทเอกชน เพื่อประชาสัมพันธการทํางานของชุมชน นอกจากนั้นยังทําหนาที่สงเสริมใหเกิดอาชีพใน ชุมชนคือการเปลี่ยนการทําไรขาวโพดเปนสวนมะมวงเพื่อการสงออก ตลอดจนขยายเครือขายปาชุมชนเขา พระพุทธบาทนอย ไปสูเขาโปงและเขาวง เนื้อหาของกิจกรรม ในงานนิทรรศการจะประกอบดวย บอรดนําเสนอความรูเรื่องสมุนไพรและสรรพคุณ บอรด แสดงเมนูอาหารพื้นบานและวิธีการประกอบอาหารจากสมุนไพร ผักและผลไมที่ไดจากปา เชน น้ําพริก ผัก ปาชายเลน ลาบปา เห็ดปลวก แจว เห็ดตะไค ใบทํามัง ผักหวานปา น้ํามะเฟอง น้ํามะไฟ วุนหมานอย แกง หนอไม แกงสมผักขาว แกงผักพอคาบอนแบว แกงกบปาแวนอูด เปนตน บอรดความรูเกี่ยวกับศูนยศึกษา ธรรมชาติระบบนิเวศเขาหินปูนปาชุมชนพระพุทธบาทนอย และบอรดแสดงกิจกรรมของศูนยปาชุมชนพระ พุทธบาทนอย ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อเสริมสรางองคความรูของเด็กเกี่ยวกับระบบนิเวศวิทยาเขาหินปูน - เพื่อเสริมสรางองคความรูของเด็กในเรื่องสมุนไพรและอาหารพื้นบานของชุมชน (2.5) นิทรรศการการทําน้ําหมักชีวภาพจากหนอกลวย ไข และปลา น้ํ า หมั ก ชี ว ภาพสู ต รหน อ กล ว ย ไข และปลา ซึ่ ง เป น สู ต รที่ ไ ปเพิ่ ม จุ ลิ น ทรี ย ใ นกลุ ม ที่ ต รึ ง ไนโตรเจนจากอากาศ (Nitrogen fixing microorganisms) ทําหนาที่ตรึงกาซไนโตรเจนจากอากาศ เพื่อให ดินผลิตสารที่เปนประโยชนตอการเจริญเติบโตของพืช เชน โปรตีน (Protein) กรดอินทรีย (Organic acids) กรดไขมัน (Fatty acids) แปง (Starch หรือ Carbohydrates) ฮอรโมน (Hormones) วิตามิน (Vitamins) เปนตน ซึ่งเปนการเพิ่มสารอาหารในดิน รวมถึงเพิ่มกลุมจุลินทรียที่ใชในการหมัก (Zynogumic หรือ Fermented microorganisms) ทําหนาที่เปนตัวกระตุนใหตานทานโรค (Diseases resistant) เขาสูวงจร การยอยสลายไดดี ชวยลดการพังทลายของดิน ปองกันโรคและแมลงศัตรูพืชบางชนิดของพืชและสัตว ที่มา: “น้ําหมักชีวภาพ” Available at http://www.kasedtakon.com/EM

1-22


เนื้อหาของกิจกรรม นิทรรศการการทําน้ําหมักชีวภาพจากหนอกลวย ไข และปลา ดูแลและรับผิดชอบโดยคุณวัน เพ็ญ ปานมณี ในบูธนิทรรศการจะมีผลิตภัณฑตัวอยางและการสาธิตการทําน้ําหมักชีวภาพ โดยน้ําหมัก ชีวภาพสูตรนี้ใชหนอกลวยเปนสวนประกอบหลัก การสาธิตการใชฮอรโมนปลาเพื่อการบํารุงดิน และการใช ฮอรโมนจากไขเพื่อการบํารุงดอกและผลแกในการปลูกพืช นอกจากนี้ยังมีการสาธิตผลิตภัณฑทําความ สะอาดจากธรรมชาติ อันไกแก สบูเหลวสมุนไพร ผลิตภัณฑซักผาจากมะละกอปลอดสรพิษ และน้ํายาสระ ผมจากสมุนไพร ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อเสริมสรางองคความรูแกเด็กนักเรียนและบุคคลทั่วไปเกี่ยวกระบวนการทําหมักชีวภาพ และการทําเกษตรอินทรียอยางมีประสิทธิภาพโดยไมพึ่งพาสารเคมี - เพื่อสงเสริมใหมีการนําสมุนไพรและผลไมมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน (2.6) นิทรรศการการทําเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยคุณสมาน ยะธาตุ คุณสมาน ยะธาตุ จัดเปนปราชญชุมชนที่มีความสําคัญในพื้นที่ทานหนึ่งโดยปจจุบันทําหนาที่ ประธานกลุมชาวนาอําเภอหวยแหง มีความเชี่ยวชาญดานการทําเกษตรผสมมาเปนเวลานาน โดยยึดหลัก เกษตรทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง และการทําเกษตรปลอดสารพิษ ทั้งยังเปดบาน เปนศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง แกชาวตําบลหวยแหงและพื้นที่ใกลเคียง เนื้อหาของกิจกรรม ในนิทรรศการจะประกอบดวยการ บูธการเรียนรูการทําจุลินทรียกอนบําบัดน้ําเสียหรือ EM (effective microorganism) ซึ่งประกอบดวยบอรดความรูและวิธีการทําจุลินทรียกอนบําบัดน้ําเสียพรอม ตัวอยางจุลินทรียกอนที่ทําสําเร็จแลวมาสาธิตใหชม บูธเรียนรูการทําบัญชีครัวเรือนตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการนําสินคาปลอดสารพิษมาสาธิตและจําหนาย คือ ถั่วเขียวปลอดสารพิษ และน้ํามันงาบริสุทธิ์ 100 % ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อเสริมสรางองคความรูแกเด็กนักเรียนและบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับหลักการทําเกษตรทฤษฎี ใหมตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง - เพื่อเสริมสรางองคความรูในการทําบัญชีครัวเรือนแกเด็กนักเรียนและบุคคลทั่วไป - เพื่อสรางกระบวนการเรียนรูวิธีการทําจุลินทรียกอนบําบัดน้ําเสีย

1-23


(2.7) นิทรรศการสมุนไพรสปา เนื้อหาของกิจกรรม การสาธิตสมุนสมุนไพรสปาดูแลและรับผิดชอบโดยคุณประยุพร ภูเลาสิงห สารวัตรกํานัน ตําบลหวยแหง โดยในนิทรรศการจะประกอบดวยการ บูธการสาธิตการใชสมุนไพรเพื่อผอนคลายสุขภาพ โดยการนวดดวยสมุนไพรเพื่อผอนคลาย บูธการสาธิตและจําหนายผลิตภัณฑบาลมที่ผลิตจากธรรมชาติ เพื่อรักษาอาการผิวแตกและโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา โดยใชสมุนไพรเชน เชน ขมิ้นชัน อบเชย กานพลู น้ํามันงาและน้ําผึ้ง ตลอดจนการใหความรูเกี่ยวกับสมุนไพรที่ใชในการรักษาโรคผิวหนัง ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อใหเด็กนักเรียนและผูเขาชมงานไดรับความรูเกี่ยวกับการใชสมุนไพรเพื่อรักษาโรคผิวหนัง - เพื่อใหผูเขาชมไดรูสึกผอนคลายจากการนวดดวยสมุนไพร (2.8) นิทรรศการนวดแผนไทยและสมุนไพรทําลูกประคบ เนื้อหาของกิจกรรม การสาธิตนวดแผนไทยและสมุนไพรทําลูกประคบ ดูแลและรับผิดชอบโดยคุณสําอาง พรมโสภา โดยในบูธจะประกอบดวยการ ตัวอยางลูกประคบจากสมุนไพรชนิดตางๆ การสาธิตการนวดและการ ใชสมุนไพรลูกประคบไปควบคูกับการนวดพรอมบรรยายใหความรูเกี่ยวกับสมุนไพรที่ใชและวิธีการนวด ตามแบบแผนโบราญ ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อใหผูเขาชมไดรูสึกผอนคลายจากการนวดดวยสมุนไพรลูกประคบ - เพื่อใหเด็กนักเรียนและผูเขาชมงานไดรับความรูเกี่ยวกับการใชสมุนไพรลูกประคบและการ นวดแผนโบราณ (2.9) นิทรรศการ สาธิตการทําพรมเช็ดเทา เนื้อหาของกิจกรรม บูธการสาธิตการทําพรมเช็ดเทาดูแลและรับผิดชอบคุณน้ําทิพย กึ้งการจร ซึ่งปจจุบันทําหนาที่ ผู ช ว ยผู ใ หญ บ า น หมู 11 ตํ า บลห ว ยแห ง อํ า เภอแก ง คอยจั ง หวั ด สระบุ รี โดยในบู ธ นิ ท รรศการจะ ประกอบดวยการสาธิต และการสอนการทําพรมเช็ดเทาในลวดลายตางๆตลอดจนการงานหัตถกรรมอื่นๆ เชน การทําโมบาย และการถักกระเปา เพื่อเปนการสรางความเพลิดเพลินและฝกทักษะอาชีพใหกับเด็ก นักเรียนและผูเขาชมงาน ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อเปนการสงเสริมใหเด็กนักเรียนไดใชเวลาวางที่เปนประโยชน - เพื่อเปนการสรางทักษะพื้นฐานทางวิชาชีพที่เปนประโยชนแกเด็กนักเรียน

1-24


(2.10) นิทรรศการสมุนไพรพึ่งพาตนเอง โดยคุณบุญสืบ พันธประเสริฐ การสาธิตสมุนสมุนไพรพึ่งพาตนเอง ดูแลและรับผิดชอบโดย คุณบุญสืบ พันธประเสริฐและ คุณสม พันธประเสริฐ ซึ่งจัดเปนปราชญชาวบานที่มีความชํานาญและประสบการณในการประยุกตใชและ ทําผลิตภัณฑสมุนไพรเพื่อสุขภาพหลากหลายชนิด ปจจุบันทําหนาที่อบรมการใช และเผยแพรความรู เกี่ยวกับสมุนไพรใหกับโรงเรียนในพื้นที่ตลอดจนบุคคลที่สนใจเรื่องสมุนไพร เนื้อหาของกิจกรรม ในบูธประกอบดวยการ บอรดนิทรรศการความรูเกี่ยวกับลักษณะเดนและสรรพคุณของ สมุนไพรชนิดตางๆ ที่ไดผูสาธิตไดทําการศึกษาอยูในปจจุบัน อันไดแก มะขามปอม ฟาทะลายโจร มะรุม วานกาบหอย ไมยราบ ไพล ลูกยอและกระชาย บูธการสาธิตการทําน้ําสมุนไพร คือน้ํากระชายและน้ําวาน กาบหอยโดยผูสาธิตอธิบายวิธีการทําและยังนําผลิตภัณฑมาใหผูเขางานไดชิมดวย บูธการสาธิตการทํา แคปซูลสมุนไพรฟาทะลายโจรและมะรุม นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑสมุนไพรตางๆใหไดชิมและจําหนาย ไดแก น้ําหมักลูกยอ ขาวหมาก น้ําหมักมะขามปอม และน้ํามันหอมระเหยสมุนไพร ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม - เพื่อเสริมสรางองคความรูในการดูแลสุขภาพโดยใชสมุนไพรพื้นฐานแทนยาปฏิชีวนะ - เพื่ อ ส ง เสริ ม องค ค วามรู ใ นเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ประโยชน ข องสมุ น ไพรพื้ น บ า นชนิ ด ทั้ ง ในด า น สรรพคุณและวิธีการนําสมุนไพรมาใชอยางถูกตอง

1-25


2.2.2 ฐานขอมูลสุขภาพ จากการรวบรวมขอมูลเพื่อจัดทําฐานขอมูลในพื้นที่อําเภอแกงคอย จ.สระบุรี ไดผลการศึกษา รวบรวม ดังนี้ ตารางที่ 2.1 แสดงฐานขอมูลสุขภาพในอําเภอแกงคอย โดยจําแนกได ดังนี้ 1. สุขภาพกาย ลําดับที่ 1.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายสม พันธประเสริฐ บานเลขที่ 3 ม.1 ต.ทามะปราง เบอรติดตอ 086-7652232

ประเด็นความรู ปราชญชาวบาน (ดานสมุนไพร) ความรูดานสุขภาพ : มะรุมแคปซูล วัสดุ อุปกรณ : 1. ใบมะรุมตากแหง 2. เตาแกสหรือเตาถาน 3. ถาดใบใหญ 4. แคปซูลสําหรับบรรจุยา 5. เครื่องบด วิธีการ : เริ่มจากการคัดใบมะรุมโดยคัดเฉพาะที่เปนยอดออนและมีสีเขียว เทานั้น แลวนํามาทําความสะอาด ตอจากนั้นนํามาตากใหแหงในภาชนะขนาด ใหญเปนเวลาประมาณ 1-2 วันหรือจนกวาจะแหงดี แลวจึงนํามาคั่วในกระทะ รอนเพื่อไลความชื้นที่เหลือและฆาเชื้อ จากนั้นนําใบมะรุมที่คั่วจนแหงแลวมาเขา เครื่องบดโดยบดใหเปนผงเล็กที่สุด แลวจึงนํามาบรรจุในแคปซูล การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ สารอาหารตางมักพบที่ในมะรุมเปนสวนใหญ โดยใบมะรุม 100 กรัมมีสารอาหารดังนี้ - พลังงาน 26 แคลอรี - โปรตีน 6.7 กรัม (2 เทาของนม) - ไขมัน 0.1 กรัม - ใยอาหาร 4.8 กรัม - คารโบไฮเดรต 3.7 กรัม - วิตามินเอ 6,780 ไมโครกรัม (3 เทาของแครอต) - วิตามินซี 220 มิลลิกรัม (7 เทาของสม) - แคโรทีน 110 ไมโครกรัม - แคลเซียม 450 มิลลิกรัม (เกิน 3 เทาของนม) - ฟอสฟอรัส 110 มิลลิกรัม - เหล็ก 0.18 มิลลิกรัม - แมกนีเซียม 28 มิลลิกรัม - โพแทสเซียม 259 มิลลิกรัม (3 เทาของกลวย) ที่มา: “มะรุม ลดไขมันปองกันมะเร็ง” Available at http://www.doctor.or.th/ node/1245

1-26


ลําดับที่ 1.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายสม พันธประเสริฐ (ตอ) บานเลขที่ 3 ม.1 ต.ทามะปราง เบอรติดตอ 086-7652232

ประเด็นความรู สารชะลอความแกและบํารุงสายตา กลาวกันวามะรุมมีฤทธิ์ชะลอความแก เนื่องจากยังไมพบรายงานการ วิจัย เกี่ ยวกั บมะรุมในดานนี้ คาดวาเปนการสรุปเนื่องจากมะรุมมีสารฟลาโว นอยดสําคัญคือ รูทินและเควอเซทิน (rutin และ quercetin) สารลูทีนและกรด แคฟฟโอลิลควินิก (lutein และcaffeoylquinic acids) ซึ่งตานอนุมูลอิสระ ดูแล อวัยวะตางๆ ไดแก จอประสาทตา ตับ และหลอดเลือดจากการเสื่อมสภาพตาม อายุ การกินสารตานอนุมูลอิสระชะลอการเสื่อมสภาพของเซลลในรางกายได สารปองกันมะเร็ง สารเบนซิลไทโอไซยาเนต (Benzyl thiocyanate glycocin) ไกลโค ไซดชนิดหนึ่งและสารไนอาซิไมซิน (niazimicin) จากมะรุมสามารถตานการเกิด มะเร็งที่ถูกกระตุนโดยสารฟอรมอลเอสเทอรในเซลลมะเร็งเม็ดเลือดขาวได การ ทดลองในหนูทดลองพบวาหนูที่ไดรับฝกมะรุมเปนอาหารเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง จากการกระตุนนอยกวากลุมทดลอง ที่มา: “มะรุม ลดไขมันปองกันมะเร็ง” Available at http://www.doctor.or.th/ node/1245 ลดไขมันและคอเลสเทอรอล มี ก ารศึ ก ษาพบว า ว า การกิ น มะรุ ม มี ผ ลลดไขมั น ในร า งกาย โดย ประเทศอินเดียมีการใชใบมะรุมลดไขมันในคนที่มีโรคอวนมาแตเดิม การศึกษา การกินสารสกัดใบมะรุมในหนูที่กินอาหารไขมันสูงมีปริมาณคอเลสเทอรอลใน เลื อ ดลดลงอย า งมี นั ย สํ าคั ญ เที ย บกั บ กลุ ม ควบคุ ม นอกจากนี้ ก ลุ ม ทดลองมี ปริมาณไขมันในตับและไตลดลง สรุปวาการใหใบมะรุมเพื่อลดปริมาณไขมัน ทางการแพทยอินเดียสามารถวัดผลไดในเชิงวิทยาศาสตรจริง ที่มา: “พุทธรักษาสมุนไพร” Available at http://www.puttaraksa.108thai. com/ ขอสังเกต รศ.ดร.นพมาศ สุนทรเจริญนนท อาจารยประจําคณะ เภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล กลาวไววา ในปจจุบันงานวิจัยดานมะรุมทาง วิทยาศาสตรมีคอนขางนอย หากเทียบกับสมุนไพรที่อยูในกระแสนิยมตัวกอนๆ นี้ และแมวาจะมีบาง ก็อยูในระดับของการทดลองกับหนู และมีขอมูลดานลบ แจงไวเชนกัน เชน มะรุมมีโปรตีนสูง และเปนโปรตีนที่เกาะกันเปนกอน จะไม เหมาะกั บ ผู ป ว ยบางโรค รวมถึ ง ต อ ผู ป ว ยด ว ยโรคเลื อ ดบางชนิ ด ก็ ไ ม ค วร รับประทาน เนื่องจากในมะรุมมีสารบางชนิดที่เปนพิษตอผูปวยโรคดังกลาว ที่มา: “มะรุม พืชสมุนไพร แตไมใชยาวิเศษ” Available at http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/news/9239 ความรูดานสุขภาพ : ฟาทะลายโจรแคปซูล วัสดุ อุปกรณ : 1. ใบฟาทะลายโจร 2. เตาแกสหรือเตาถาน 3. ถาดใบใหญ 4. แคปซูลสําหรับบรรจุยา 5. เครื่องบด วิธีการ : เริ่มจากการคัดใบฟาทะลายโจรที่มีสีเขียวเขม โดยจะเก็บในชวงที่ตน ฟาทะลายโจรใกลออกดอก แลวนํามาทําความสะอาด ตอจากนั้นนํามาตากให

1-27


ลําดับที่ 1.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายสม พันธประเสริฐ (ตอ) บานเลขที่ 3 ม.1 ต.ทามะปราง เบอรติดตอ 086-7652232

ประเด็นความรู แหงในภาชนะขนาดใหญเปนเวลาประมาณ 1-2 วันหรือจนกวาจะแหงดี แลวจึง นํ า มาคั่ ว ในกระทะร อ นเพื่ อ ไล ค วามชื้ น ที่ เ หลื อ และฆ า เชื้ อ จากนั้ น นํ า ใบฟ า ทะลายโจรที่คั่วจนแหงแลวมาเขาเครื่องบดโดยบดใหเปนผงเล็กที่สุด แลวจึง นํามาบรรจุในแคปซูลเพื่อจําหนาย สรรพคุณของสมุนไพรทีใ่ ช - แกไขทั่ว ๆ ไป เชน ไขหวัด ไขหวัดใหญ - ระงับอาการอักเสบ พวกไอ เจ็บคอ คออักเสบ ตอมทอนซิล หลอดลมอักเสบ ขับเสมหะ รักษาโรคผิวหนังฝ - แกติดเชื้อ พวกทําใหปวดทอง ทองเสีย บิด และแกกระเพาะลําไส อักเสบ - เปนยาขมเจริญอาหาร การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ ใบฟาทะลายโจร มีสารเคมีประกอบอยูหลายประเภท แตที่เปน สาระสําคัญในการออกฤทธิ์ คือ สารกลุม Lactone คือ - สารแอดโดรกราโฟไลด (andrographolide) - สารนีโอแอนโดรกราโฟไลด (neo-andrographolide) - 14-ดีออกซี่แอนโดรกราโฟไลด (14-deoxy-andrographolide) จากการศึ ก ษาวิ จั ย ของโรงพยาบาลบํา ราศนราดู ร ถึ ง ฤทธิ์ ใ นการ รักษาโรคอุ จจาระรวงและบิ ด แบคทีเรี ย เปรี ยบเทียบกั บ ยาปฏิ ชีวนะเตตรา ซัยคลิน ในผูปวย 200 ราย อายุระหวาง 16-55 ป ไดมีการเปรียบเทียบ ระยะเวลาที่ถายอุจจาระเหลว จํานวนอุจจาระเหลว น้ําเกลือที่ใหทดแทนระหวาง ฟาทะลายโจรกับเตตราซัยคลิน พบวาสมุนไพรฟาทะลายโจร ลดจํานวนอุจจาระ รวงและจํานวนน้ําเกลือที่ใหทดแทนอยางนาพอใจ แมวาจากการทดสอบทาง สถิติ จะไมมีความแตกตางโดยในสําคัญก็ตาม สวนการลดเชื้ออหิวาตกโรคใน อุจจาระ ฟาทะลายโจรไมไดผลดีเทาเตตราซัยคลิน นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาล ชุมชนบางแห ง ได ใ ช ฟ าทะลายโจรรั กษาอาการเจ็ บคอได ผ ลดี อี ก ด วย มีฤ ทธิ์ เชนเดียวกับเพ็นนิซิลินเมื่อเทียบกับยาแผนปจจุบัน ที่มา: “สรรพคุณ...สมุนไพร” Available at http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_200.htm ขอสังเกต - สารแอนโดรกราโฟไลด (Andrographolide) สารในตนฟาทะลาย โจร ละลายในแอลกอฮอลไดดีมาก ละลายในน้ําไดนอย ดังนั้นยาทิงเจอร หรือ ยาดองเหลาฟาทะลายโจร จึงมีฤทธิ์แรงที่สุด ยาชงมีฤทธิ์แรงรองลงมา ยาเม็ดมี ฤทธิ์ออนที่สุด - บางคนรั บประทาน ยาฟาทะลายโจร จะเกิดอาการปวดทอ ง ท อ งเสี ย ปวดเอว เวี ย นหั ว แสดงว า เกิ ด อาการแพ ให ห ยุ ด ใช หรื อ ลดขนาด รับประทานลง - หามรับประทานเกิน 7 วัน ที่มา: “สรรพคุณ...สมุนไพร” Available at http://www.rspg.or.th/plants_data/ herbs/herbs_200.htm

1-28


ลําดับที่ 2.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นาย บุญสืบ พันธประเสริฐ บานเลขที่ 3 หมู 1 ตําบลทามะปราง เบอรติดตอ 086-7551160

ประเด็นความรู ปราชญชาวบาน (ดานสมุนไพร) ความรูดานสุขภาพ : ชาไมยราบ วัสดุ อุปกรณ : 1. ไมยราบ ทั้งสวน ตน ราก และใบ 2. เตาแกสหรือเตาถาน 3. ถาดใบใหญ 4. เครื่องบด วิธีการ : เริ่มจากการคัดตนไมยราบ แลวนํามาทําความสะอาด โดยคัดทั้งตน ใบ และราก ตอจากนั้นนํามาตากใหแหงในภาชนะขนาดใหญเปนเวลาประมาณ 12 วันหรือจนกวาจะแหงดี แลวจึงนํามาคั่วในกระทะรอนเพื่อไลความชื้นที่เหลือ และฆ า เชื้ อ จากนั้ น นํ า ไมยราบที่ คั่ ว จนแห ง แล ว มาเข า เครื่ อ งบดโดยป น พอประมาณ แลวบรรจุใสภาชนะสําหรับใสชา การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ สรรพคุณของสมุนไพรทีใ่ ช - ราก แกไอ ขับเสมหะ แกหลอดลมอักเสบเรื้อรัง แกระบบการยอย อาหารของเด็กไมดี บํารุงกระเพาะอาหาร ทําใหตาสวาง ระงับประสาท แกบิด ขับปสสาวะ รักษาโรคปวดเวลามีประจําเดือน ถาไขขนาดสูงมากๆจะเกิดอาการ คลื่นไส อาเจียน แกริดสีดวงทวาร รสขมเล็กนอย ฝาด ปวดขอ กระเพาะอาหาร อักเสบเรื้อรัง - ตน ขับปสสาวะ แกไตพิการ แกทางเดินปสสาวะอักเสบ ขับระดูขาว ขับโลหิต - ใบ แกเริม งูสวัด โรคพุพอง ไฟลามปา - ตน ขับปสสาวะแกไตพิการ แกทางเดินปสสาวะอักเสบ ขับระดูขาว แกไขออกหัด แกนอนไมหลับ แกกระเพาะอาหารอักเสบ สงบประสาท แกลําไส อักเสบ แกเด็กเปนตานขโมย แกผื่นคัน แกตาบวมเจ็บ ที่มา: “สรรพคุณของไมยราบ” Available at http://student.swu.ac.th ขอสังเกต ร ศ . พ ร อ ม จิ ต ต ศ ร ลั ม ภ ร อ ง ค ณ บ ดี ค ณ ะ เ ภ สั ช ศ า ส ต ร มหาวิท ยาลั ยมหิดล ใหขอแนะนํ าในไว วา การดื่ มชาไมยราบ ไม ควรดื่มมาก เกิ น ไป เพราะมี ฤ ทธิ์ ใ นการขั บป ส สาวะ ระบุ หากดื่ม มาก จะทํ าให มีก ารขั บ ป ส สาวะออกมากเกิ น ไป จะทํ า ให ความดั น โลหิ ต ลดลง เกลื อ แร ห ายไปจาก รางกาย โดยเฉพาะโพแทสเซียมหากถูกขับออกไปมาก อาจทําใหเปนโรคทาง ระบบประสาทได ชี้ควรศึกษาอยางละเอียดกอนนํามากินเปนอาหาร ที่มา: “เตือนไมควรดื่มชาไมยราบ” Available at http://202.143.141.162/web _offline/samunpai/view.php-345.htm ความรูดานสุขภาพ: น้ําหมักมะขามปอม วัสดุ อุปกรณ: 1.มะขามปอม 2. น้ําผึ้ง 3. ภาชนะสําหรับหมักดอง (ควรเปนแกว) 4. นมเปรี้ยว 5. น้ําสะอาด

1-29


ลําดับที่ 2.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นาย บุญสืบ พันธประเสริฐ (ตอ) บานเลขที่ 3 หมู 1 ตําบลทามะปราง เบอรติดตอ 086-7551160

ประเด็นความรู วิธีการ : เริ่มจากการนํามะขามปอม ประมาณ 3 กิโลกรัม มาทุบใหแตกเปนชิ้น เล็ ก ๆ ผสมกั บ น้ํ า ผึ้ ง 2 ขวด (ขวดเหล า ปริ ม าตร 640 มิ ล ลิ ลิ ต ร) แล ว หมั ก เป น ระยะเวลา 15 วัน เมื่อครบกําหนดนําน้ําหมักที่ไดมาผสมนมเปรี้ยว 2 ขวด (ขวด ปริมาตร 80 มิลลิลิตร)หรืออาจใชขาวหมากในปริมาตรที่เทากันก็ได และเติมน้ํา สะอาดอีก 3 ลิตร หมักไว 3 เดือน จะไดน้ําหมักมะขามปอมปริมาตร 4-5 ลิตร สรรพคุณของสมุนไพรทีใ่ ช - ผลมะขามปอมมีสรรพคุณแกไอ ละลายเสมหะ กระตุนน้ําลาย แกเจ็บ คอ คอแหง คอตีบ - ใบมะขามปอม แกโรคผิวหนัง ผื่นคัน แผลมีหนองเรื้อรัง บิดจาก แบคทีเรีย - เปลือกมะขามปอม รักษาบาดแผล แผลฟกช้ํา บิด ราก แกรอนใน ทองเสีย ลดความดัน รักษาโรคเรื้อน - ปมที่กานมะขามปอม แกปวดกระเพาะอาหาร ปวดทองนอย ปวด เมื่อยในกระดูก ปวดฟน ไอ ไสเลื่อน ที่มา: “มะขามปอมวิตามินซี...และแทนนินสูง” Available at http://www.oknation.net/blog/diamond/2009/07/21/entry-1 การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ สําหรับมะขามปอมจัดเปนพืชที่มีวิตามินซีและแทนนินสูง โดยปริมาณ วิตามินซีในแตละตนจะแตกตางกันออกไป อยางไรก็ตามวิตามินซีจากมะขามปอม มีประสิทธิภาพสูงกวา วิตามินซีสังเคราะหประมาณ 12 เทา วิตามินซีสามารถทํา หนาที่จับอนุมูลอิสระในเซลลที่เปนของเหลว ปองกันเซลลจากการถูกอนุมูลอิสระ ทําลาย โดยอนุมูลอิสระทําปฏิกิริยาภายในรางกายไดมากมาย เชน กอใหเกิดการ อักเสบ การทําลายเนื้อเยื่อ เกิดตอกระจกใน ผูสูงอายุ เนื้องอก มะเร็ง โรคหัวใจ และหลอดเลือด สําหรับแทนนินมีทุกสวนของลําตนมะขามปอม แทนนินในมะขาม ปอมเปนสาระสําคัญเปนยารักษาโรคตาง ๆ เชน โรคในระบบหายใจ ระบบทางเดิน อาหาร แผลในลําไส ลดไขมันและน้ําตาลในเลือด กระตุนการไหลเวียนของโลหิต ที่มา: “มะขามปอมวิตามินซี...และแทนนินสูง” Available at http://www.oknation.net/blog/diamond/2009/07/21/entry-1 ความรูดานสุขภาพ : น้ํากระชายปน วัสดุ อุปกรณ : 1. กระชาย 2. น้ําผึ้ง 3. น้ําสะอาด 4. เครื่องปน 5. ผาขาวบาง วิธีการ : นํากระชายมาลางใหสะอาด หลังจากนั้นหั่นเปนชิ้นเล็กๆ แลวนํามาเขา เครื่องปน โดยผสมเขากับน้ําตมสุกในอัตราสวน 1:1 เมื่อปนไดที่แลวนํามาน้ํา กระชายปนมากรองเอากากออกดวยผาขาวบาง หลังจากนั้นเติมน้ําผึ้งแลวแตชอบ

1-30


ลําดับที่ 2.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นาย บุญสืบ พันธประเสริฐ (ตอ) บานเลขที่ 3 หมู 1 ตําบลทามะปราง เบอรติดตอ 086-7551160

ประเด็นความรู สรรพคุณของสมุนไพรทีใ่ ช 1. บํารุงกระดูก (เพราะมีแคลเซียมสูง) 2. บํารุงสมอง เพราะทําใหเลือดเลี้ยงสมองสวนกลางดีขึ้น 3. ปรับสมดุลของฮอรโมน 4. ปรับสมดุลของความดันโลหิต(ความดันโลหิตที่สูงจะลดลง ความดัน โลหิตที่ต่ําจะสูงขึ้น) 5. แกโรคไต ทําใหไตทํางานดีขึ้น 6. ปองกันไทรอยดเปนพิษ 7. บํารุงมดลูก 8. แกปญหาผมหงอก ผมรวง 9. อาการกระเพราะปสสาวะเกร็ง(กรณีนี้อาจใชเม็ดบัวตมกิน) 10. ควบคุมไมใหตอมลูกหมากโต 11. แกปญหาใสเลื่อน ที่มา: “น้ํากระชายมีประโยชนมากมายมหาศาล” Available at http://www.pantown.com/board.php?id=10764&area=4&name=board11&topic= 138&action=view

การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ กระชายเปนพืชที่ประกอบดวยน้ํามันหอมระเหย ในรากและเหงา กระชาย ไดแก ไพนีน (pinene), แคมฟน (camphene), ทูจีน (thujene), ไลโมนีน (limonene) และ กานบูร นอกจากนี้ยังมีสารอาหารที่มีคุณคาหลายอยางเชน แคลเซียม เหล็ก เกลือแร และวิตามินตาง ๆ ที่มา: “กระชาย” Available at http://www.tungsong.com/samunpai/drug/2_Krachay/krachay.html ความรูดานสุขภาพ : น้ําวานกาบหอย วัสดุ อุปกรณ: 1. วานกาบหอย 2. น้ําผึ้งหรือน้ําตาล 3. น้ําสะอาด 4. เครื่องปน 5. หมอตมน้ํา 6. ผาขาวบาง วิธีการ : นําวานกาบหอยมาลางใหสะอาดแลวนําไปตมในในน้ําเดือด โดยใชวาน กาบหอย 1 กอ ตอน้ํา 5 ลิตร ตมจนน้ําเดือดแลวทิ้งไวประมาณ 3 นาที แลวคอย กรองเอาน้ําออก รอใหเย็นแลวปรุงรสดวยน้ําตาลหรือน้ําผึ้งตามชอบใจ ใชเปน เครื่องดื่มแกกระหาย สรรพคุณของสมุนไพรทีใ่ ช - ใบ แกรอนใน กระหายน้ํา แกไอ อาเจียนเปนโลหิต แกฟกช้ําภายใน เนื่องจากพลัดตกจากที่สูงหรือหกลมฟาดถูกของแข็ง แกบิด ถายเปนเลือด แก ปสสาวะเปนเลือด - ดอก รสชุมเย็น ตมกับเนื้อหมูรับประทาน ใชขับเสมหะ แกไอแหงๆ แก อาเจียนเปนโลหิต เลือดกําเดาออก หามเลือด แกปสสาวะเปนเลือด แกไอเปน เลือด แกบิดถายเปนเลือด

1-31


ลําดับที่ 2.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นาย บุญสืบ พันธประเสริฐ (ตอ) บานเลขที่ 3 หมู 1 ตําบลทามะปราง เบอรติดตอ 086-7551160

ประเด็นความรู นอกจากนั้นยังพบวาสวนที่สกัดจากทั้งตนของพืชนี้มีฤทธิ์ฆาเชื้อสแตฟฟลโล คอคคัส (Stepphyllococcus aureus) และอีโคไล (Escherichia coli) ได ที่มา: “วานกาบหอย” Available at http://www.doctor.or.th/node/5364

3.

นางสายพิน มีทา บานเลขที่ 224/4 หมู 9 ต.ทับกวาง เบอรติดตอ 081-7579403

ปราชญชาวบานดานสมุนไพร การใชสมุนไพรไทย 1. ไพล วิธีการใช: นําสวนที่เปนเหงามาประมาณ 2 ขีด ผสมกับเกลือ 1 ชอนชา แลว นํามาตํา สรรพคุณ: รักษาแผลฟกช้ํา 2. ฟาทะลายโจร วิธีการใช: นําใบมา 7-8 ใบ แลวนํามาทานสด สรรพคุณ: แกไขตัวรอน 3. มะเกลือ วิธีการใช: นําลูกมะเกลือดิบ ประมาณ 6-7 ลูก คั้นเอาแตน้ําผสมกับหัวกระทิ 2 ชอนโตะ เสร็จแลวนํามาดื่ม สรรพคุณ: ใชดื่มขับพยาธิ 4. ไทรงอ วิธีการใช: นําทั้งใบและตนมาหนึ่งกํามือผสมกับเกลือเล็กนอย (2 หยิบมือ พอ เค็ม) เสร็จแลวนํามารับประทาน พยายามเคี้ยวกอนกลืนจะได ประโยชนมากที่สุด สรรพคุณ: แกเจ็บคอ 5. ใบสะอึก วิธีการใช: ใชทั้งตนและใบ ตําใสเหลาขาวพอเปยก แลวนํามาทาบริเวณที่เปน งูสวัด (ถาเปนมากใชมาก) สรรพคุณ: แกโรคงูสวัด 6. ทองพันชั่ง วิธีการใช: นําใบมาตําผสมกับน้ํา (ปริมาณขึ้นอยูกับวัตถุประสงคการใช) เสร็จ แลวนําไปพอกศีรษะ สรรพคุณ: แกผมรวง และโรคชันตุ (ผสมน้ําแคพอแฉะ) 7. ตนลูกใตใบ วิธีการใช: นํามาทั้งตน ราก และใบ รวบมาประมาณ 1 กํามือ และนํามาตมกับ น้ําปริมาณ 10 แกว ตมนานจนน้ําลดลงเหลือ ประมาณครึ่งหนึ่งของ น้ําที่มีอยูเดิม เสร็จแลวนํามาดื่ม สรรพคุณ: แกไขทับระดู 8. เสลดพังพอน วิธีการใช: นําใบมาตํา แลวทาบริเวณที่ถูกแมลงกัด ตอย สรรพคุณ: ใชถอนพิษตะขาบและแมงปอง 9. ใบพลู (ที่ใชสําหรับทานกับหมาก) วิธีการใช: นําใบชะพลูมาตํา แลวนํามาทาบริเวณผิวหนัง สรรพคุณ: แกอาการเปนพดผื่นหรือลมพิษ

1-32


ลําดับที่ 3.

4.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางสายพิน มีทา (ตอ) บานเลขที่ 224/4 หมู 9 ต.ทับกวาง เบอรติดตอ 081-7579403

นางจรูญ จันทดรอบ บานเลขที่ 98/1 ม.8 ต.บานปา เบอรติดตอ 087-4002891

ประเด็นความรู 10. ใบสาบเสือ วิธีการใช: นําใบมาต่ํา แลวใชปดบริเวณแผลที่ถูกมีดบาด สรรพคุณ: ใชหามเลือด 11. ตะไคร วิธีการใช: นําตะไครมา 4-5 ตน มาตมกับน้ําขนาดปริมาณ 3 แกว เสร็จแลว นํามาดื่ม สรรพคุณ: ชวยในเรื่องของการขับปสสาวะ ปราชญชาวบาน (ดานสมุนไพร) ความรูดานสุขภาพ : น้ํากระชายสมุนไพร วัสดุ อุปกรณ: 1. กระชาย 2. น้ําผึ้ง 3. น้ําสะอาด 4. น้ําใบยานาง 5. เครื่องปน 6. ผาขาวบาง วิธีการ : นํากระชายมาลางใหสะอาด หลังจากนั้นหั่นเปนชิ้นเล็กๆ แลวนํามาเขา เครื่องปน โดยผสมเขากับน้ําตมสุก เมื่อปนไดที่แลวนํามาน้ํากระชายปนมากรอง เอากากออกดวยผาขาวบางหลังจากนั้นนํามาผสมน้ําผึ้งและน้ําตมใบยานาง สรรพคุณของสมุนไพรทีใ่ ช 1. บํารุงกระดูก (เพราะมีแคลเซียมสูง) 2. บํารุงสมอง เพราะทําใหเลือดเลี้ยงสมองสวนกลางดีขึ้น 3. ปรับสมดุลของฮอรโมน 4. ปรับสมดุลของความดันโลหิต(ความดันโลหิตที่สูงจะลดลง ความดันโลหิตที่ต่ํา จะสูงขึ้น) 5. แกโรคไต ทําใหไตทํางานดีขึ้น 6. ปองกันไทรอยดเปนพิษ 7. บํารุงมดลูก 8. แกปญหาผมหงอก ผมรวง 9. อาการกระเพราะปสสาวะเกร็ง (กรณีนี้อาจใชเม็ดบัวตมกิน) 10. ควบคุมไมใหตอมลูกหมากโต 11. แกปญหาไสเลื่อน ที่มา: “น้ํากระชายมีประโยชนมากมายมหาศาล” Available at http://www.pantown.com/ board.php?id=10764&area=4&name=board11&topic=138&action=view ความรูดานสุขภาพ : เหงากระชายดองน้ําผึ้ง วัสดุ อุปกรณ : 1. เหงากระชาย 2. น้ําผึ้ง 3. น้ําสะอาด 4. โหลสําหรับดอง

1-33


ลําดับที่ 4.

5.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางจรูญ จันทดรอบ (ตอ) บานเลขที่ 98/1 ม.8 ต.บานปา เบอรติดตอ 087-4002891

นายพงพัฒน นิลชาติ บานเลขที่ 74/1 หมู 10 ตําบลสองคอน เบอรติดตอ 081-9913551

ประเด็นความรู วิ ธี ก าร : นํ า เหง า กระชายมาลา งให ส ะอาด ปอกเปลื อ กออกแล วหั่ น เป น ชิ้ น เทาๆกัน จากนั้นนําเหงากระชายมาดองตามสูตรเฉพาะเปนเวลา 2 อาทิตย แลว นําออกมามาผึ่งแลวเปลี่ยนน้ําดอง ทําเชนนี้ 2-3 ครั้ง หลังจากนั้นจึงนํามาผึ่งให แหง แลวบรรจุขายในน้ําผึ้งแท การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ - กระชายเปนพืชที่ประกอบดวยน้ํามันหอมระเหย ในรากและเหงา กระชาย ไดแก ไพนีน (pinene), แคมฟน (camphene), ทูจีน (thujene), ไล โมนีน (limonene) และ กานบูร นอกจากนี้ยังมีสารอาหารที่มีคุณคาหลาย อยางเชน แคลเซียม เหล็ก เกลือแร และวิตามินตาง ๆ ที่มา: “กระชาย” Available at http://www.tungsong.com/samunpai/drug/2_Krachay/krachay.html - รากและเหง า กระชายมี น้ํ า มั น หอมระเหยซึ่ ง ประกอบด ว ยสาร ไพนี น แคมฟ น เมอร ซี น ไลโมนี น บอร นี อ อลและการบู ร เหง า และรากของ กระชายมีรสเผ็ดรอนขม หมอยาพื้นบานในประเทศไทยใชเหงา และรากของ กระชายแก ป วดมวนในท อ ง แก ท อ งอื ด เฟ อ แก ล มจุ ก เสี ย ด แก โ รคกระเพาะ รักษาแผลในปาก แกตกขาว กลาก เกลื้อน ใชเมื่อมีอาการปวดขอเขา ใชเปนยา อายุวัฒนะ บํารุงกําลัง และใชบําบัดโรคกามตายดานอีกดวย ที่มา: “กระชาย” Available at http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ กระชาย - ใบยานาง เปนสมุนไพรที่สามารถใชลดความอวน ชวยแก โรคเบาหวาน ความดัน หัวใจ บรรเทาอาการภูมิแพ รอนใน ไซนัสจมูกตัน ไม เกรน ริดสีดวงทวาร ปอดรอนนอนกรน กรดไหลยอนและชวยปองกันโรคมะเร็ง ปราชญชาวบาน (ดานสมุนไพร) ความรูดานสุขภาพ : น้ํามันสกัดธรรมชาติ วัสดุ อุปกรณ : 1. เมล็ดธัญพืช อันไดแก รําขาว และงา 2. เครื่องบีบอัด 3. กระดาษกรองน้ํามัน 4. หมอตมน้ําสแตนเลส 5. ปมสุญญากาศ วิธีการ 1. น้ํามันงา เริ่มตนจากการคัดเมล็ดงาขาวสายพันธุซีพลัส นํามาลางน้ําเพื่อ คัดเมล็ดที่เสียและเอาคราบดินออก โดยเม็ดที่เสียจะลอยน้ํา เมื่อคัดเมล็ดได แลวนําเมล็ดงามาตากใหแหงโดยใชแรงลม หลังจากนั้นนําเมล็ดงาที่ไดมา เขาเครื่องบีบอัดเพื่อรีดน้ํามันออกมา เมื่อไดน้ํามันงาแลวนําน้ํามันมากรอง ดวยกระดาษกรองน้ํามัน และใหอยูในอุณหภูมิหอง เมื่อกรองเสร็จแลวนํา น้ํามันมาไลความชื้นออกโดยการตมในหมอสแตนเลสที่อุณหภูมิ 40 องศา เซลเซียส ใหไอน้ําระเหยออกแลวดูดไอน้ําออกดวยปมสูญญากาศ แลวจึง นํามาบรรจุภาชนะโดยไมใชวัตถุกันเสีย

1-34


ลําดับที่ 5.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายพงพัฒน นิลชาติ (ตอ) บานเลขที่ 74/1 หมู 10 ตําบลสองคอน เบอรติดตอ 081-9913551

ประเด็นความรู 2. น้ํามันรําขาว คัดจากรําขาวที่ผานโรงสีไมเกิน 8 ชั่วโมง เพื่อรักษาคุณคาของ สารอาหารในเมล็ดรําขาว แลวจึงนํามาเขากระบวนการบีบอัดใหไดน้ํามันรํา ขาวแลวนําน้ํามันมากรองดวยกระดาษกรองน้ํามันที่อุณหภูมิหอง เมื่อกรองเสร็จ แล วนํ าน้ํ ามันมาไล ความชื้ นออกโดยการต ม ในหม อสแตนเลสที่ อุณ หภู มิ 40 องศาเซลเซียส ใหไอน้ําระเหยออกแลวดูดไอน้ําออกดวยปมสูญญากาศ แลวจึง นํามาบรรจุภาชนะโดยไมใชวัตถุกันเสีย ขอสังเกต 1. การนําเมล็ดงามาลางน้ําจะทําใหสูญเสียเมล็ดที่จะใชในการผลิตถึงรอยละ 20 แตจะเปนการคัดเมล็ดที่มีคุณภาพและในกระบวนการผลิตจะไดน้ํามันงา ที่มีสีสวย 2. การใหน้ํามันงาผานกระบวนการความรอนใหนอยที่สดุ เพื่อเปนการรักษากลิ่น และคุณภาพของน้าํ มัน 3. การใชน้ํามันรําขาวที่ผานโรงสีมาไมเกิน 8 ชั่วโมง เพื่อรักษาคุณคาทาง สารอาหารในรําขาวใหไดมากที่สุดกอนเขากระบวนการผลิต การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ งาขาวพั น ธุ ซี พ ลั ส เป น สายพั น ธุ ข องโครงการปรั บ ปรุ ง พั น ธุ ง า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มี ลักษณะฝ กชะลอการแตกหลัง สุ กแก ลัก ษณะ ประจําพันธุใหเปอรเซ็นตน้ํามันที่ 48.66 เปอรเซ็นต ใหสารเซซามิน (sesamin) 3,949.91 มก./กก. เซซาโมลิน (sesamolin) 2,985.40 มก./กก. วิตามิน อี (vitamin E) 211.84 มก./กก ที่มา: “งาพันธุดีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร” Available at http://www.rdi.ku.ac.th/kasetresearch53/group06/jindarat_ vee01/index_01.html - น้ํามันรําขาวดิบ เปนน้ํามันที่สกัดมาจากรําขาว มีสารตานอนุมูล สรรพคุณของสมุนไพรทีใ่ ช - งาเปนพืชอาหารที่มีคุณภาพดีหลายอยาง เมล็ดงาประกอบดวย โปรตีน คารโบไฮเดรต น้ํามัน สารใยอาหาร ธาตุอาหารและวิตามินตางๆ เชน แคลเซียม วิตามินบี 1 และ บี 2 เปนตน ในน้ํามันงาซึ่งเปนน้ํามันคุณภาพดี มี กรดไขมั น ไม อิ่ ม ตั ว สู ง และมี ส ารต า นอนุ มู ล อิ ส ระสู ง ด ว ย คื อ สารเซซามิ น (Sesamin) และสารเซซาโมลิน (Sesamolin) และวิตามินอี ที่มา: “งา ของดีมีประโยชน” Available at http://www.cri.or.th/en/20100504 .php - น้ํามันรําขาว มีสรรพคุณชวยใหผิวยืดหยุน ลดจุดดางดํา ลดริ้วรอย เปนสารตอตานสารอนุมูลอิสระ ชวยชะลอวัย ตานการอักเสบ ลดคอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด ปกปองและลดการตีบตันของหลอดเลือด ตลอดจนมีสารชวย สรางและซอมแซมเซลลผิวและเซลลประสาทสมอง ชวยเสริมความจําและยัง เพิ่มการทํางานของระบบฮอรโมน ที่มา: “มหัศจรรยแหงน้ํามันรําขาว” Available at http://www.น้ํามันรําขาว. com/

1-35


ลําดับที่ 5.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายพงพัฒน นิลชาติ (ตอ) บานเลขที่ 74/1 หมู 10 ตําบลสองคอน เบอรติดตอ 081-9913551

ประเด็นความรู อิสระ เชน วิตามินอี ในกลุมโทโคฟรอลประมาณ 19-40% และกลุมโทโคไตรอี นอล 51-81% และโอรีซานอล (Oryzanol) ซึ่งสามารถตานอนุมูลอิสระไดดีกวา วิตามินอีถึง 6 เทา มีกรดไขมันอิ่มตัว 18% กรดไขมันไมอิ่มตัวเชิงเดี่ยว 45% กรดไขมั น ไม อิ่ ม ตั ว เชิ ง ซ อ น 37% น้ํ า มั น รํ าข า วเหมาะสํ าหรั บ ผู ที่ ตอ งการลด คอเลสเตอรอลที่ไมดี (LDL-C) เปน น้ํามันที่ไดจากกระบวนการพิเศษในการสกัด เอาสารที่มีประโยชนนานาชนิด ซึ่งมีอยูในเยื่อหุมเมล็ดขาว ที่มา: “มหัศจรรยแหงน้ํามันรําขาว” Available at http://www.น้ํามันรําขาว.

6.

นายบุญสง โสภา บานเลขที่ 20 หมู 5 ต.หินซอน เบอรติดตอ 087-1167665

com/ การทําลูกประคบ ความรูความสามารถเกี่ยวกับการทําลูกประคบ: วัสดุอุปกรณและวิธีการทําลูกประคบ - อุปกรณที่ใชในการทําลูกประคบ ไดแก ผาขาวและดายขาวธรรมดา ใชสําหรับมัดลูกประคบ (เสนใหญ) เนื่องจากเวลาพันจะไดไมเจ็บมือ - ตัวยาที่ใชทําลูกประคบ ไดแก ไพล ขมิ้น เถาเอ็นออน (ลักษณะเปน เครือ) สมปอย (ยอดแดงๆ รสเปรี้ยว) ตะไครหอม ใบมะกรูดหรือลูก มะกรูดหิน (ยิ่งสดยิ่งดี) ใบละหุงแดง ใบพลับพลึง เกลือ พิมเสน การบูร - อัตราสวนของตัวยาลูกประคบ • ไพล 50 กรัม • ขมิ้น 30 กรัม • เถาเอ็นออน 20 กรัม • สมปอย 50 กรัม • ตะไครหอม 30 กรัม • ใบหรือผิวมะกรูด 30 กรัม (หรือใชผสมกันก็ได) • ใบละหุงแดง 30 กรัม (หามใชกับสตรีมีครรภ) • ใบพลับพลึง 20 กรัม (หามใชกับสตรีมีครรภ) • เกลือ 30 กรัม หรือ 1 ชอนชา • พิมเสน 20 กรัม • การบูร 20 กรัม • ใบมะขาม 30 กรัม วิธีการทําลูกประคบ - นําตัวยาสมุนไพรขางตนมาโขลก (ไมตองละเอียดมาก ถาละเอียด มากกลิ่นจะหมดสภาพเร็ว) หอดวยผาขาวใชตัวยา ขนาด 400 กรัม (ซึ่งจะใชได 7-8 ครั้ง) วิธีใช: ใชนวดแขน ขา ขอ หลัง ฝาเทา สะโพก คอ หรือบริเวณที่ปวดเมื่อย กระดูกทับเสนโดยนํามาประคบตามสวนดังกลาวนานประมาณ 10-20 นาที (แต ทั้งนี้จะใชเวลาเทาใดก็ได ขึ้นอยูกับความรูสึกของผูประคบ)

1-36


ลําดับที่ 6.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายบุญสง โสภา (ตอ) บานเลขที่ 20 หมู 5 ต.หินซอน เบอรติดตอ 087-1167665

7.

นางระเบียบ ปราการ บานเลขที่ 31/2 ม.1 ต.หวยแหง เบอรติดตอ 089-2424076

8.

นางมาลี คํามี บานเลขที่ 26 ม.6 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 089-0818209

ประเด็นความรู วิธีการเก็บรักษาลูกประคบและการนํามาใชครั้งตอไป 1) ปลอยทิ้งไวใหเย็น 2) นํามาใสถุงแลวปดใหสนิท 3) นําไปแชตูเย็น และ 4)เมื่อตองการใชใหมใหนํากลับมานึง่ อีกครั้ง ประมาณ 10-15 นาที ทั้งนี้ ลูกประคบจะใชไดนานเทาใดนั้นใหพิจารณาจากกลิ่นหากกลิ่นหมดแสดง วายาหมดฤทธิ์หรือมีประสิทธิภาพลดลง ควรเปลี่ยนลูกประคบใหม ขอควรทราบ - ลูกประคบหากนํามาตากแหงจะทําใหคุณภาพลูกประคบจะลดลง นอกจากนี้ ควรขยับเชือกใหแนนทุกครั้งกอนนําไปนึ่งเพือ่ ปองกัน ไมใหลูกประคบลดประสิทธิภาพลง ประโยชนของลูกประคบ - แกปวดเมื่อยตามขอ เอ็น - แกเคล็ดขัดยอก เชน จากการหกลม - ลดอาการบวมจากแมลงกัดตอย สรรพคุณของสมุนไพรบางตัวในลูกประคบ - สมปอย: บํารุงผิว แกปวดเมื่อย แกความดันและโรคผิวหนัง - ไพล: แกปวด แกบวม ช้ําใน ไขมันอุดตันในเสนเลือด ใบพลับพลึง: ใสมากๆ จะชวยเคลือบผิวหนัง ทําใหกลิ่นติดนาน การทําลูกประคบ วัสดุอุปกรณ - อุปกรณที่ใชในการทําลูกประคบ ไดแก ผาดิบสีขาวและดายสีขาว เสนใหญ (ดายที่ใชมัดกลองไปรษณีย) ครกกับสาก หมอนึ่งหรือ กระทะไฟฟาที่สามารถนึ่งได - ตั ว ยาที่ ใ ช ทํ า ลู ก ประคบ ได แ ก ไพล ขมิ้ น ตะไคร ใบมะขาม ใบ สมปอย ผิวมะกรูด การบูร พิมเสน เกลือ - อัตราสวนของตัวยาลูกประคบตอลูกประคบ 2 ลูก • ไพล 150 กรัม • ขมิ้น 120 กรัม • ตะไคร 150 กรัม • ใบมะขาม 150 กรัม • ใบสมปอย 150 กรัม • ผิวมะกรูด ใชมะกรูด 2 ผล • การบูร 20 กรัม • พิมเสน 20 กรัม วิธีการทําลูกประคบ: นําตัวยาสมุนไพรขางตนมาโขลก หอดวยผาขาว วิธีใช: ใชนวดตามรางกายในสวนที่ปวดเมื่อย.เนื่องจากการทํางาน การนวดไทย ประวัติความเปนมา คุณมาลีไดวิชาความรูมาจากการไปฝกอบรมการนวด เปนเวลา 100 ชม. ที่กศน.อําเภอแกงคอย ความรูเรื่องการนวดที่ได คือ การนวดแบบเชลยศักดิ์

1-37


ลําดับที่ 8.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางมาลี คํามี (ตอ) บานเลขที่ 26 ม.6 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 089-0818209

9.

นางฉลอม เริ่มพานิชย บานเลขที่ 4 ม.2 ต.หวยแหง เบอรติดตอ 089-9343775

10.

นางสําอาง พรมโสภา บานเลขที่ 23/1 ม.11 ต.หวยแหง เบอรติดตอ 085-1278079

ประเด็นความรู ขั้นตอนและวิธีการ 1. นวดไลเสนเอ็นไปเรื่อยๆ โดยนวดจากเทาไลไปถึงศีรษะ 2. และถานวดแลวผูถูกนวดรูสึกวาตรงไหนมีอาการเจ็บหรือวาเสนมี ลักษณะแข็งๆ ก็จะนวดเนนบริเวณนั้น 3. การนวดแตละครั้งจะใชเวลาประมาณ 2 ชม. หมายเหตุ: การนวดแตละครั้งสวนใหญจะหายหลังจากการนวดเสร็จแตถาไม หายใหมานวดใหมหลังจากการนวดครั้งนั้น 1 อาทิตย ประโยชนจากการนวด: ชวยแกอาการปวดเมื่อย การนวดไทย ความรูความสามารถเรื่องการนวด: สามารถนวดได 3 แบบ คือ นวดประคบ นวดฝาเทา นวดน้ํามัน โดยการนวดสามารถนวดไดทุกสวนของรางกาย - นวดประคบ อุปกรณที่ใช คือ ลูกประคบ หาซื้อไดตามทองตลาด แต จะไมสดเทาทําเอง วัสดุหลักๆ ของตัวยาที่ใชในการทําลูกประคบ เชน ไพล ขมิ้นหัว ใบมะขาม ขา ตะไคร ใบสมปอย ใบมะกรูด ผิว มะกรูด การบูร พิมเสน และอื่นๆ ที่เปนสมุนไพรไทยขึ้นอยูกับสูตร ของแตละคน - นวดฝาเทา อุปกรณที่ใช คือ ผาเช็ดเทา และไมสําหรับวางพาดขา - นวดน้ํามัน อุปกรณที่ใช คือ น้ํามันซึ่งหาซื้อไดตามทองตลาดซึ่งจะมี จะมีสรรพคุณแตกตางกัน - ทาที่ใชในการนวด ประกอบดวย ทาฤๅษีดัดตน ทาราชสํานัก และทา เชลยศักดิ์ ประโยชนของการนวด - นวดประคบ นวดไดทุกสวนของรางกาย ชวยเรื่องคลายเสนและระบบ หมุนเวียนเลือด เนนแกปวด แกเมื่อย - นวดฝาเทา ชวยเรื่องระบบหมุนเวียนเลือด - นวดน้ํามัน นวดไดทุกสวนของรางกาย ชวยเรื่องของผิวพรรณและ การผอนคลาย เนนเรื่องผิวพรรณใหดูสวยงามเตงตรึง การนวดไทย ความรูความสามารถเรื่องการนวด: สามารถนวดได 2 แบบ คือ นวดทาราช สํานัก และนวดทาเชลยศักดิ์ โดยการนวดสามารถนวดไดทุกสวนของรางกาย อุปกรณที่ใชสําหรับการนวด: เตียง เสื้อผาสําหรับเปลี่ยนหลังนวดเสร็จ สําหรับน้ํามัน ลูกประคบจะใชหรือไมใชก็ไดขึ้นอยูกับอาการหรือความตองการ ของผูนวด ประโยชนของการนวด - การนวดแบบราชสํานัก เปนการนวดเพื่อแกอาการปวดตามจุดตางๆ หรือเสนพลิก - การนวดแบบเชลยศักดิ์ เปนการนวดเพื่อผอนคลาย ปวดเมื่อยตาม เนื้อตัวเนื่องจากการทํางาน หมายเหตุ: สําหรับเวลาที่ใชสําหรับการนวดนั้นขึ้นอยูกับความตองการของผูนวด โดยปกติจะตองใชเวลานวดประมาณ 1 ชม. ครึ่ง แตถาเรงดวนจะใชเวลา ประมาณ 1 ชม.

1-38


ลําดับที่ 11.

12.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางสมปอง สุวรรณสิงห บานเลขที่ 59/3 ม.9 ต.ชําผักแพว เบอรติดตอ 084-9404243

นายทองใบ อภัยภักดิ์ดี บานเลขที่ 107 ม.2 ต.ตาลเดี่ยว เบอรติดตอ 036-246370

ประเด็นความรู แพทยประจําตําบล มีความรูในการปฐมพยาบาลเบื้องตน มีหนาที่ดูแลและใหคําแนะนําเรื่อง สุขภาพในตําบล และสามารถฉีดวัคซีนได อุปกรณที่ใชประจํา คือ เครื่องวัด ความดัน และเครื่องชั่งน้ําหนัก นอกจากนี้เปนที่รูจักของคนในพื้นที่ตําบลชําผัก แพว และใหความเกรงใจ แพทยประจําตําบลมีวาระการดํารงตําแหนงจนถึงอายุ 60 ป โดยตําแหนง นี้ 1 ตําบล จะมีเพียง 1 คนเทานั้น ซึ่งเปนการคัดเลือกจากผูใหญบานในตําบล และตองผานการเปนอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ลักษณะการทํางาน ทํางานรวมกับกํานันและผูใหญบาน โดยเนนดูแลรับผิดชอบเรื่องสุขภาพ หมอชาวบาน การนวดจับจุด ลุงทองใบ เรียนรูวิธีการนวดมาจากพระยาสุนทรธรรมธาดา และเริ่มเรียน มาตั้งแตอายุได 8 ขวบ โดยปจจุบันคุณลุงมีอายุ 86 ป ขั้นตอนและวิธกี าร 1. จุดที่ใชสําหรับการนวดมีดวยกันทั้งหมด 14 จุด ประกอบไปดวย ประกอบดวย ตนคอ 2 จุด (ซาย-ขวา) ไหล 2 จุด (ซาย-ขวา) เอว 2 จุด (ซาย-ขวา) กนกบ 2 จุด (ซาย-ขวา) หลัง 2 จุด (ซาย-ขวา) โดน ขา 2 จุด (ซาย-ขวา) และนอง 2 จุด (ซาย-ขวา) 2. กอนที่จะทําการนวดจะตองถามกอนวา ”เปนอะไร และไปทําอะไร มาถึงไดเปน” แลวลองยกอวัยวะสวนตางๆ ของรางกายดู สวนไหน ที่รูสึกเจ็บก็จะไปนวดสวนนั้น และนวดเบาๆ ไปเรื่อย จุดละ ประมาณ 20 นาที โดยใชเวลานวดทั้งหมดโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ชั่วโมงตอครั้ง 3. หลังจากนวดเสร็จแลวประมาณ 2 วันใหกลับมานวดใหมอีกครั้ง จนกวาจะหายปวดหรือเคือง การนวดโดยใชความรอน อุปกรณที่ใช 1. ขวดแกว 1 ขวด 2.น้ํารอน 3. กรวยสําหรับใสน้ํา และ 4.ผา (สําหรับสวมขวด) ขั้นตอนและวิธกี ารนวด 1. นําน้ํารอนที่ไดจากการตมจนเดือด มาใสขวดดวยกรวย (ระหวาง กานกรวยกับปากขวดควรมีชองอากาศนิดนึงเพื่อไมใหนา้ํ ลนออกใน ขณะที่เทน้ํารอน) โดยใหระดับน้ําเลยคอขวดประมาณ 1 นิ้ว (น้ําที่ อยูในขวดจะมาลักษณะอุนพอดี 2. เสร็จแลวปดฝาขวดใหแนน สวมดวยผาที่มีลักษณะนุม และนําไป วางบริเวณที่มีอาการปวดเมื่อยเพราะความรอนจะทําใหเสนที่มี อาการตรึงนั้นคลายตัว ประโยชนของการนวด รักษาอาการปวดเมื่อยตามรางกาย

1-39


ลําดับที่ 12.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายทองใบ อภัยภักดิ์ดี (ตอ) บานเลขที่ 107 ม.2 ต.ตาลเดี่ยว เบอรติดตอ 036-246370

ประเด็นความรู ความสามารถพิเศษอื่นๆ 1. มีปรัชญาและเรียนรูที่จะอยูกับธรรมชาติ เชน มีวิธีความเครียดโดยการรองเพลง เพราะเห็นวาถา เครียดจะทําใหเกิดโรคสมองเสื่อม

13.

นางบุศรา ธรรมศร บานเลขที่ 10/1 ม.9 ต.ทาคลอ เบอรติดตอ 086-1211969

14.

นางไพฑูรย คิดที บานเลขที่ 91/1 ม.8 ต.บานปา เบอรติดตอ 036-246772

หมอนที่ใชนอนจะทําเปนสองทอนเพือ่ ปองกันการทับหู เพราะเชื่อวาการทับหูจะทําใหสุขภาพไมดี

2. เปนนักพูด 3. เปนที่ปรึกษาในเรื่องการทําธุรกิจใหกับชาวบาน ทํานายดวงชะตาจาการดู วัน เดือน ป เกิด หมอบาน คุณบุศราสามารถปฏิบัติงานชวยเหลือชาวบานดานสุขภาพ เชน ชวยลาง แผลและทําแผลใหชาวบานในชุมชน แนะนําการออกกําลังกาย ตรวจวัดความ ดันและตรวจวัดเบาหวานเพื่อคัดกรองกลุมเสี่ยง โดยเคยเขาฝกอบรมการปฐม พยาบาลเบื้องตนโดยลงพื้นที่ตําบลทาคลอทั้งตําบลซึ่งเปนโครงการนํารองของ หมูที่ 10 กับ หมูที่ 9 การลงพื้นที่นั้นจะไปอาทิตยละ 1 ครั้ง แลวแตโอกาส โดยไป พรอมกับทีมแพทยของโรงพยาบาลอําเภอแกงคอย อุปกรณที่ใชในการดําเนินงาน: ชุดอุปกรณชวยเหลือผูปวย ประกอบดวย เครื่องวัดความดัน ที่เจาะเลือด และแผนตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือด ปรอทวัดไข คาดัชนีมวลกาย เครื่องชั่ง น้ําหนัก ซึ่งอุปกรณเหลานี้ไดรับการสนับสนุนจากนายก อบจ. และในแตละเดือน จะตองทํารายงานการประเมินสุขภาพของคนในชุมชนสงไปที่องคการบริหาร สวนจังหวัดเพื่อจะไดประเมินวาอุปกรณที่สงใหไปไดใชประโยชนมากหรือนอย อย า งไร นอกจากนี้ คุ ณ บุ ศ รายั ง เป น อาสาสมั ค รป อ งกั น ภั ย ฝ า ยพลเรื อ น รับผิดชอบดูแลรักษาความปลอดภัยในหมูบานและสมาชิกกลุมสตรีตําบลทา คลอ รับผิดชอบการทําดอกไม ผาใยบัว ดอกไมจันทนสงกลุมเพื่อจําหนายที่ อําเภอแกงคอย หมอบานและนักจิตอาสาในชุมชน หนาที่รับผิดชอบ 1. คัดกรองโรคในหมูบาน 2. ดูแลเด็กและคนสูงอายุในหมูบาน 3. แนะนําเรื่องการดูแลสุขภาพของคนในหมูบาน ความรูเรื่องการใชอุปกรณ 1. อุปกรณวัดความดัน 2. อุปกรณเจาะเลือดเพื่อวัดระดับน้ําตาลในเลือด ลักษณะงาน: เมื่อคัดกรองบุคคลกลุมเสี่ยงทางดานสุขภาพไดแลว ก็จะแนะนํา ใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ถาเสี่ยงมากๆ ก็จะแนะนําใหไป พบแพทยเพื่อรับการรักษาตอไป

1-40


ลําดับที่ 15.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางนันทา ศิริมา รพ.สต.บานปา/ ที่อยูปจจุบัน บานเลขที่ 59/17 ม.5 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 086-8041966

16.

นายทวัช สุขมาก บานเลขที่ 306 ม.8 ต.ชะอม เบอรติดตอ 0819461372, 0860318442

ประเด็นความรู นักคิดนวัตกรรมดานสุขภาพ รางวัลที่ไดรับ 1. นวัตกรรมสิ่งประดิษฐใหมในเรื่องของการแปรคาความดันโลหิตและ ระดับน้ําตาลในเลือด ป 2552 2. รางวัลนวัตกรรมเดนโรคไมติดตอ รางวัลที่ 1 ของจังหวัดสระบุรี ป 2554 ผลงานที่ผานมา: 1. โครงการหมอบาน 2. คูมือ การคัดกรองสุขภาพดวยหมอบาน 3. คูมือนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ Circle health วัตถุประสงคโครงการ: 1. เพื่อคนหาผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อลดอัตราการตายในผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อใหอาสาสมัครสาธารณสุขมีศักยภาพในการเปนหมอบาน หมูบานละ 5 คน จํานวน 11 หมูบาน รวมทั้งสิ้น 55 คน ความเปนมา : สถานีอนามัยตําบลบานปา มีพื้นที่รับผิดชอบ 11 หมูบาน ซึ่งในการ ดําเนินงานที่ผานมาในการตรวจคัดกรองเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิต สูงของพื้นที่ที่รับผิดชอบ ไมสามารถคัดกรองโดยเจาหนาที่สถานีอนามัยไดทั้งหมด เนื่องจากการประกอบอาชีพของกลุมเปาหมายทําใหไมสามารถมารับบริการที่สถานี อนามัยได สถานีอนามัยจึงไดจัดใหมีอาสาสมัครโดยออกคัดกรองผูปวยตาม หมูบาน โดยการวัดความดันโลหิตและเจาะเลือดหาระดับน้ําตาล แตจากการ ปฏิบัติงานของอาสาสมัครพบวาไมสามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตองแมไดรับการ อบรมเบื้องตนมาแลว ตลอดจนปญหาอุปกรณการตรวจคัดกรองไมเพียงพอจึงเปน ที่มาของโครงการดังกลาว หมอเปารักษา ความสามารถในการรักษา ไดแก ไฟลามทุง ขยุมตีนหมี เริมเปนที่ปาก วัสดุอุปกรณ: 1.รากสมุนไพร 2. เหลาขาว 3. ฝาละมี 4. น้ํารอน วิธีการรักษา 1. เอาน้ํารอนลางฝาละมี 2. นําตัวยาที่ไดจากรากสมุนไพรฝนกับฝาละมีและเติมเหลาขาวลงไปพอให มันละลายเขากัน 3. เสร็จแลวเอาตัวยามาปายบริเวณที่เปนแผล (ระหวางที่ปายยาจะมีการ ทองคาถาไปดวย) 4. หลังจากทองคาถาเสร็จจะเปา 3 ครั้ง หมายเหตุ: การรักษาแตละครั้งจะตองมีคาครูในการรักษา ซึ่งประกอบไปดวย เงิน 24 บาท กลวย 1 หวี และขาวสาร 1 ขัน (ขนาดเล็กหรือใหญก็ได) ทั้งหมดนี้นําใสผานมา และจะใหคาครูตอเมื่อรักษาแลวหายเทานั้น

1-41


ลําดับที่ 16.

17.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายทวัช สุขมาก (ตอ) บานเลขที่ 306 ม.8 ต.ชะอม เบอรติดตอ 0819461372, 0860318442

นาย ยัง รักษาธ หมู 10 ตําบลชะอม เบอรติดตอ 089-0990226

ประเด็นความรู การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของเหลา : สุรา คือ แอลกอฮอลที่กลั่นไดจากน้ําสาที่ หมักดวยวัตถุดิบประเภทแปง น้ําตาลหรือกากน้ําตาล ซึ่งเปนแอลกอฮอลชนิดเอทา นอล หรือ เอทธิล แอลกอฮอล เปนแอลกอฮอลที่มีประโยชนใชในวงการแพทยและ วิทยาศาสตรอยางกวางขวาง ทั้งใชเปนสวนผสมในการผลิตยา ทําเปนยาฆาเชื้อ สารทําละลายในปฏิกิริยาเคมีตางๆ กลั่นเปนเหลา ขอสังเกต เครื่องดื่มที่มีเอทิลแอลกอฮอลผสมอยูปริมาณไมเกิน 60 ดีกรี จะถือวา อยูในเกณฑที่คนสามารถใชดื่มได แตแอลกอฮอลที่จะใชไดในการฆาเชื้อ ควรเปน แอลกอฮอล ที่ มีความเข มข น 60-80% จึงสามารถฆาเชื้อ แบคที เรี ย สวนใหญ ไ ด (เชื้อวัณโรคได เชื้อราและไวรัสไดบางชนิด) ในทางการแพทยจะใชแอลกอฮอลใน การฆาเชื้อที่เกี่ยวกับแผล เพราะเชื้อเหลานั้นมักจะเปนพวกแบคทีเรีย ดังนั้นในการ ลางแผลจึงควรใชแอลกอฮอลสําหรับลางแผลตามคําแนะนําของแพทย ที่มา: “แอลกอฮอล” Available at http://www.vcharkarn.com/ article/41018 หมอเปารักษา การเปา คือ การรักษาโรคดวยกรรมวิธีพื้นบาน ในกรณีนี้เชื่อวาการเปาดวย สมุนไพรและพิธีกรรมโบราณสามารถบรรเทาอาการปวยดวยโรค มะเร็ง เบาหวาน อัมพาต ใหดีขึ้นได วัสดุ อุปกรณ : 1. วานไพล 2. น้ําเปลาหรือเหลาขาว 3. พานไหวครู 4. ดอกไม ธูป เทียน หมากพลู 5. คาไหวครู 24 บาท วิธีการ เปาดวยน้ําเปลาหรือเหลาขาว เวลาเปาจะตองทองคาถากอน การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของเหลา : สุรา คือ แอลกอฮอลที่กลั่นไดจากน้ําสาที่ หมักดวยวัตถุดิบประเภทแปง น้ําตาลหรือกากน้ําตาล ซึ่งเปนแอลกอฮอลชนิดเอทา นอล หรือ เอทธิล แอลกอฮอล เปนแอลกอฮอลที่มีประโยชนใชในวงการแพทยและ วิทยาศาสตรอยางกวางขวาง ทั้งใชเปนสวนผสมในการผลิตยา ทําเปนยาฆาเชื้อ สารทําละลายในปฏิกิริยาเคมีตางๆ กลั่นเปนเหลา ขอสังเกต เครื่องดื่มที่มีเอทิลแอลกอฮอลผสมอยูปริมาณไมเกิน 60 ดีกรี จะถือวา อยูในเกณฑที่คนสามารถใชดื่มได แตแอลกอฮอลที่จะใชไดในการฆาเชื้อ ควรเปน แอลกอฮอล ที่ มีความเข มข น 60-80% จึงสามารถฆาเชื้อ แบคที เรี ย สวนใหญ ไ ด (เชื้อวัณโรคได เชื้อราและไวรัสไดบางชนิด) ในทางการแพทยจะใชแอลกอฮอลใน การฆาเชื้อที่เกี่ยวกับแผล เพราะเชื้อเหลานั้นมักจะเปนพวกแบคทีเรีย ดังนั้นในการ ลางแผลจึงควรใชแอลกอฮอลสําหรับลางแผลตามคําแนะนําของแพทย ที่มา: “แอลกอฮอล” Available at http://www.vcharkarn.com/ article/41018

1-42


ลําดับที่ 18.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายสมชาติ พึ่งทรัพย บานเลขที่ 107 ม.2 ต.ชะอม เบอรติดตอ 081-2913906

19.

นายเฉลิม อุนจิตร บานเลขที่ 18 ม.1 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 082-2386885

20.

นายจําลอง บัวขํา บานเลขที่ 50 ม.1 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 089-4144402

ประเด็นความรู หมอเปารักษา มีความรูในการเปารักษางูสวัดและโรคตาแดง การรักษางูสวัด พนแผลดวยหมากโดยเวลาพนจะหันหนาไปทางทิศตะวันตกนอกชายคา บาน พนใสแผล 3 ครั้ง การรักษาโรคตาแดง จะใชวิธีพนดวยน้ํา หมายเหตุ เมื่อหายจากโรคที่ทําการรักษาทุกครั้ง จะตองมาทําพิธีขวัญขาวประกอบไป ดวย เงิน 1 สลึง กลวย 1 หวี ขาวสารใสขัน (ขันจอก) 1 ขัน ขัน 5ดอกไมธูปเทียน หมอเปารักษา สามารถรักษาดับอาการเจ็บปวดและรักษาโรคงูสวัด การรักษาโรคงูสวัด รักษาดวยวิธีการเปาดับพิษ โดยการใชเหลาขาวในการพนเปา ตองเปาให ครบ 3 ครั้งจึงจะถือวาเปนการรักษาที่เสร็จสิ้น หมายเหตุ: เมื่อรักษาจนหายดีแลว ผูปวยจะตองมาทําพิธีคว่ําขันกับหมอ การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของเหลา : สุรา คือ แอลกอฮอลที่กลั่นไดจากน้ําสาที่ หมักดวยวัตถุดิบประเภทแปง น้ําตาลหรือกากน้ําตาล ซึ่งเปนแอลกอฮอลชนิดเอ ทานอล หรือ เอทธิล แอลกอฮอล เปนแอลกอฮอลที่มีประโยชนใชในวงการแพทย และวิทยาศาสตรอยางกวางขวาง ทั้งใชเปนสวนผสมในการผลิตยา ทําเปนยาฆา เชื้อ สารทําละลายในปฏิกิริยาเคมีตางๆ กลั่นเปนเหลา ขอสังเกต เครื่องดื่มที่มีเอทิลแอลกอฮอลผสมอยูปริมาณไมเกิน 60 ดีกรี จะถือวา อยูในเกณฑที่คนสามารถใชดื่มได แตแอลกอฮอลที่จะใชไดในการฆาเชื้อ ควรเปน แอลกอฮอลที่มีความเขมขน 60-80% จึงสามารถฆาเชื้อแบคทีเรียสวนใหญได (เชื้อวัณโรคได เชื้อราและไวรัสไดบางชนิด) ในทางการแพทยจะใชแอลกอฮอลใน การฆาเชื้อที่เกี่ยวกับแผล เพราะเชื้อเหลานั้นมักจะเปนพวกแบคทีเรีย ดังนั้นใน การลางแผลจึงควรใชแอลกอฮอลสําหรับลางแผลตามคําแนะนําของแพทย ที่มา: “แอลกอฮอล” Available at http://www.vcharkarn.com/ article/41018 หมอเปารักษา สามารถรักษาอาการผื่นคัน งูสวัด แมงปอง ตะขาบ และงูกัด การรักษาอาการผื่นคัน วัสดุอุปกรณ: ใชเหลาขาวอยางเดียว วิธีการรักษา: ทองบทสวด เสร็จแลวอมเหลาขาวและเปาไปบริเวณที่มีผื่นคัน การรักษาอาการงูสวัด วัสดุอุปกรณ: ใชเหลาขาวและน้ําสะอาด วิธีการรักษา: ทองบทสวด เสร็จแลวอมน้ําสะอาดและเปาตรงบริเวณที่เปนงูสวัด หลังจากนั้นนําเหลาขาวมาลางบริเวณที่เปา การรักษาอาการแมงปอง ตะขาบ และงูกัด วัสดุอุปกรณ: ใชเหลาขาวกับวานงู

1-43


ลําดับที่ 20.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายจําลอง บัวขํา (ตอ) บานเลขที่ 50 ม.1 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 089-4144402

21.

นายใหม มาทะ บานเลขที่ 7/4 ม.1 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 090-0960247

ประเด็นความรู วิธีการรักษา: นําวานงูที่ไดไปฝนกับเหลา ทาบริเวณที่ถูกสัตวมีพิษกัด เสร็จแลว ทองบทสวดและเปาดวยลมบริเวณที่ถูกสัตวมีพิษกัด หมายเหตุ: ผูที่รักษาหายจะตองมาทําขันธ 5 ให เพราะมีความเชื่อวาถาไมทําจะ ทําใหบุคคลที่ทําการรักษามีอาการปวย ขันธ 5 ประกอบดวย คาครู 12 บาท ธูป 3 ดอก ดอกไม ใชเทียน 2 เลม ใหญ 1 เลม เล็ก 1 เลม การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของเหลา : สุรา คือ แอลกอฮอลที่กลั่นไดจากน้ําสาที่ หมักดวยวัตถุดิบประเภทแปง น้ําตาลหรือกากน้ําตาล ซึ่งเปนแอลกอฮอลชนิดเอ ทานอล หรื อ เอทธิ ล แอลกอฮอล เป นแอลกอฮอลที่ มีประโยชน ใ ช ในวงการ แพทยและวิทยาศาสตรอยางกวางขวาง ทั้งใชเปนสวนผสมในการผลิตยา ทํา เปนยาฆาเชื้อ สารทําละลายในปฏิกิริยาเคมีตางๆ กลั่นเปนเหลา ขอสังเกต เครื่องดื่มที่มีเอทิลแอลกอฮอลผสมอยูปริมาณไมเกิน 60 ดีกรี จะถือ วาอยูในเกณฑที่คนสามารถใชดื่มได แตแอลกอฮอลที่จะใชไดในการฆาเชื้อ ควร เปนแอลกอฮอลที่มีความเขมขน 60-80% จึงสามารถฆาเชื้อแบคทีเรียสวนใหญ ได (เชื้อวัณโรคได เชื้อราและไวรัสไดบางชนิด) ในทางการแพทยจะใช แอลกอฮอลในการฆาเชื้อที่เกี่ยวกับแผล เพราะเชื้อเหลานั้นมักจะเปนพวก แบคที เ รี ย ดั ง นั้ น ในการล า งแผลจึ ง ควรใช แ อลกอฮอล สํ า หรั บ ล า งแผลตาม คําแนะนําของแพทย ที่มา: “แอลกอฮอล” Available at http://www.vcharkarn.com/ article/41018 หมอเปารักษา สามารถรักษาโรคปวดเมื่อย เริม และไฟลามทุง การรักษาอาการปวดเมื่อย วัสดุอุปกรณ: ใชเหลาขาว ขั้นตอนและวิธีการ 1. ทองบทสวดและอมเหลา 2. หลังจากนั้นพนไปตรงสวนที่ปวดเมื่อย หมายเหตุ: หลังจากหายแลวจะตองมาทําขันธ 5 ซึ่งประกอบดวย ธูป 3 ดอก เทียน 3 เลม ดอกไมสีขาว (อะไรก็ได) เงิน 24 บาท บุหรี่ 1 ซอง การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของเหลา : สุรา คือ แอลกอฮอลที่กลั่นไดจากน้ําสาที่ หมักดวยวัตถุดิบประเภทแปง น้ําตาลหรือกากน้ําตาล ซึ่งเปนแอลกอฮอลชนิดเอ ทานอล หรื อ เอทธิ ล แอลกอฮอล เป นแอลกอฮอลที่ มีประโยชน ใ ช ในวงการ แพทยและวิทยาศาสตรอยางกวางขวาง ทั้งใชเปนสวนผสมในการผลิตยา ทํา เปนยาฆาเชื้อ สารทําละลายในปฏิกิริยาเคมีตางๆ กลั่นเปนเหลา ขอสังเกต เครื่องดื่มที่มีเอทิลแอลกอฮอลผสมอยูปริมาณไมเกิน 60 ดีกรี จะถือ วาอยูในเกณฑที่คนสามารถใชดื่มได แตแอลกอฮอลที่จะใชไดในการฆาเชื้อ ควร เปนแอลกอฮอลที่มีความเขมขน 60-80% จึงสามารถฆาเชื้อแบคทีเรียสวนใหญ ได (เชื้อวัณโรคได เชื้อราและไวรัสไดบางชนิด) ในทางการแพทยจะใช แอลกอฮอลในการฆาเชื้อที่เกี่ยวกับแผล เพราะเชื้อเหลานั้นมักจะเปนพวก

1-44


ลําดับที่ 21.

22.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายใหม มาทะ (ตอ) บานเลขที่ 7/4 ม.1 ต.เตาปูน เบอรติดตอ 090-0960247 นายทั่ง ระวังสําโรง บานเลขที่ 409 ม.9 ต.ทับกวาง เบอรติดตอ 084-3563952

ประเด็นความรู แบคที เ รี ย ดั ง นั้ น ในการล า งแผลจึ ง ควรใช แ อลกอฮอล สํ า หรั บ ล า งแผลตาม คําแนะนําของแพทย ที่มา: “แอลกอฮอล” Available at http://www.vcharkarn.com/ article/41018 หมอเปารักษา การเปาดับพิษไฟ เปาดับพิษไฟ คือ การรักษาโรคดวยกรรมวิธีพื้นบาน โดยรักษาผูปวย จากแผลไฟไหม น้ํารอนลวก โดยเปาดับพิษ โดยใช เหลาพนใสแผล หรือขาวสาร ผสมเกลือโรยแผล แลวใชบทสวดตามความเชื่อพื้นบาน วัสดุอุปกรณ: 1. เหลาขาว 2.ขาวสาร เกลือ(จะใชเหลาอยางเดียวหรือ ขาวสารผสมเกลือก็ ได) 3.พานไหวครู (พานดอกไม ธูป เทียน หมากพลู บุหรี่ เหลา) 4.คาไหวครู 124 บาท วิธีการ: เริ่มจากการไหวครูพรอมบทสวดตามความเชื่อทางพิธีกรรม จากนั้น หมอจะอมเหลาขาว แลวพนใสแผล [จากนั้นอาจมีใชเกลือกับขาวสารโรยใส แผล] โดยความเชื่อที่วา เหลา เกลือขาวสาร และการสวดคาถาสามารถรักษา แผลจากการโดน ไฟไหม น้ํารอนลวกได ระยะเวลาการรักษาจะตองทําติดตอกัน 3 ครั้งตอวัน (ตามความเชื่อแลวนิยมเปาพิษในตอนเย็นเนื่องจากการทําพิธีตอน อากาศเย็นจะทําใหแผลหายเร็วขึ้น) การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของเกลือ : เกลือมีผลตอจุลินทรียทั้งทางตรงและ ทางออม โดยกลไกการออกฤทธิ์ของเกลือตอจุลินทรียมีดังนี้ - ทําใหเกิดแรงดันออสโมซีส เปนผลใหเซลลจุลินทรียเกิดการแตกหรือ พลาสโมไลซิ ส ทํ า ให จุลิ น ทรี ย ต ายหรือ ชะงั ก การเจริ ญ เติ บ โตและ ปลอยเอนไซม ออกมาสูน้ําเกลือ - การแตกตัวของโซเดียมคลอไรด (NaCI) เปนโซเดียมอิออน (Na+) และคลอไรดอิออน (CI–) เปนอันตรายตอจุลินทรียที่ออนแอตออิออน ชนิดนั้น ๆ โดย Na+ ซึ่ง มีประจุบวกจะไปทําปฏิ กิริยากับอิ ออนที่ มี ประจุลบในโปรโตพลาสซึมของเซลล ทําใหจุลินทรียตายได สวน CI– ที่มีประจุลบจะไปรวมตัวกับสารที่มีผลยับยั้งตอกระบวนทางชีวเคมี (metabolism) ของจุลินทรีย - ขัดขวางการทํางานของเอนไซมที่ยอยโปรตีนของจุลินทรีย - ลดการละลายของออกซิเจนในอาหาร ทําใหเกิดสภาพที่คอนขางไร อากาศเปนเหตุใหเกิดแกสคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนอันตรายตอ จุลินทรียสวนใหญ ที่มา: “เกลือกับจุลินทรีย” Available at http://www.paktho.ac.th /index science_new/file1/11-24.htm

1-45


ลําดับที่ 22.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายทั่ง ระวังสําโรง (ตอ) บานเลขที่ 409 ม.9 ต.ทับกวาง เบอรติดตอ 084-3563952

23.

นายสมหมาย แสงชาติ บานเลขที่ 85 ม.3 ต.สองคอน เบอรติดตอ 089-7455568

ประเด็นความรู คุณสมบัติและสรรพคุณของเหลา : สุรา คือ แอลกอฮอลที่กลั่นไดจากน้ําสาที่ หมักดวยวัตถุดิบประเภทแปง น้ําตาลหรือกากน้ําตาล ซึ่งเปนแอลกอฮอลชนิดเอ ทานอล หรื อ เอทธิ ล แอลกอฮอล เป นแอลกอฮอลที่ มีประโยชน ใ ช ในวงการ แพทยและวิทยาศาสตรอยางกวางขวาง ทั้งใชเปนสวนผสมในการผลิตยา ทํา เปนยาฆาเชื้อ สารทําละลายในปฏิกิริยาเคมีตางๆ กลั่นเปนเหลา ขอสังเกต เครื่องดื่มที่มีเอทิลแอลกอฮอลผสมอยูปริมาณไมเกิน 60 ดีกรี จะถือ วาอยูในเกณฑที่คนสามารถใชดื่มได แตแอลกอฮอลที่จะใชไดในการฆาเชื้อ ควร เปนแอลกอฮอลที่มีความเขมขน 60-80% จึงสามารถฆาเชื้อแบคทีเรียสวนใหญ ได (เชื้อวัณโรคได เชื้อราและไวรัสไดบางชนิด) ในทางการแพทยจะใช แอลกอฮอลในการฆาเชื้อที่เกี่ยวกับแผล เพราะเชื้อเหลานั้นมักจะเปนพวก แบคที เ รี ย ดั ง นั้ น ในการล า งแผลจึ ง ควรใช แ อลกอฮอล สํ า หรั บ ล า งแผลตาม คําแนะนําของแพทย ที่มา: “แอลกอฮอล” Available at http://www.vcharkarn.com/ article/41018 หมอเปารักษา ความรูความสามารถเรื่องยาสมุนไพร (หมอพิธีกรรม): ปรุงยาสมุนไพรรักษาโรคริดสีดวงทวาร และโพรงจมูก วัสดุอุปกรณทใี่ ช: 1. รากมะรุม น้ําหนัก 5 บาท* 2. เปลือกมะคาแต น้ําหนัก 5 บาท* 3. รากกะทกรก น้ําหนัก 5 บาท* 4. ไมกางปลา น้ําหนัก 5 บาท* 5. รากตะโกนา น้ําหนัก 5 บาท* 6. หัวยาขาวเย็น น้ําหนัก 5 บาท* 7. พิมเสน (เกร็ด) น้ําหนัก 5 บาท* 8. น้ําสะอาด 9. หมอดิน 1 ใบ 10. ผาขาว (ฝาย) 1 ผืน 11. สายสิญจน 1 เสน (ความยาวพอสําหรับมัดปากหมอ) 12. ธูป 5 ดอก หมายเหตุ: 1. * 1 บาท = 15 กรัม 2. สมุนไพรสามารถหาซื้อไดตามรานขายยาสมุนไพร ขั้นตอนวิธีการทํา 1. นําตัวยาทั้งหมด หั่นเล็กนอย ใสลงในหมอยา 2. หลังจากนั้นเติมน้ําสะอาดลงไปพอทวมตัวยา 3. ปดหมอดวยผาขาวและพันปากหมอดวยสายสิญจน 4. วางธูป 5 ดอก พรอมทั้งปลุกเสกยา และคาถาควบคุมยา (นโม พุทธายะ ยะธา พุทธโมนะ) 5 จบ 5. เสร็จแลวนําหมอยาไปตมจนน้ําเดือด การรับประทาน นําน้ําที่ไดจากหมอยามาดื่ม ทานวันละ 2 ครั้ง ครั้งละประมาณ 1 ถวยกาแฟ เชา-เย็น กอนอาหาร จนกวาจะหาย (ตามประสบการณที่เคยรักษา ไมเกิน 2 หมอ)

1-46


ลําดับที่ 23.

24.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายสมหมาย แสงชาติ (ตอ) บานเลขที่ 85 ม.3 ต.สองคอน เบอรติดตอ 089-7455568

นางเสนห ออนคา บานเลขที่ 36 ม.1 ตําบลหวยแหง เบอรติดตอ -

ประเด็นความรู หมายเหตุ: 1. หมอที่ 2 และหมอถัดไป สามารถใชตัวยาเดิมที่ตมแลวไดจนกวา ตัวยาจะจืดหรือไมมีรสชาติ) 2. ชวงระหวางรักษาอาการหามทานเหลา หามทานอาหารทะเล หาม ทานของแสลง และเนื้อสัตวดิบตางๆ นอกจากนี้นายสมหมาย แสงชาติ ยังมีความรูเกี่ยวกับการเปาคางทูม การเปา ตาแดง และวิธีการรักษาอาการปวดตางๆ ตามรางกาย แตเนื่องจากการรักษา ดังกลาวมีครูบาอาจารยที่สืบทอดกันมายาวนานจึงไมสามารถเผยแพรความรู หรือวิธีการรักษาได หมอเปารักษา การเปา คือ การรักษาโรคดวยกรรมวิธีพื้นบาน ในกรณีนี้เชื่อวาการ เปาดวยสมุนไพรและพิธีกรรมโบราณสามารถรักษาโรคไฟลามทุง และโรคงูสวัด ได วัสดุ อุปกรณ: 1. วานไพล 2. น้ําเปลาหรือเหลาขาว 3. พานไหวครู 4. ดอกไม ธูป เทียน หมากพลู 5. คาไหวครู 24 บาท วิธีการ : เริ่มจากการไหวครูและบทสวดมนตตามความเชื่อทางพิธีกรรม จากนั้น ใชวานไพรตําผสมกับเหลาขาวแลวอมไวในปาก กอนจะสวดคาถาตามความเชื่อ แลวพนใสบริเวณที่ทําการรักษา โดยความเชื่อที่วา วานไพลเปนวานที่มีอานุภาพ ในทางคงกระพันชาตรี ใชกินหรือเคี้ยวเพื่อเปารักษาโรคไดโดยระยะเวลาการ รักษาจะตองทําติดตอกัน 3 วัน การตรวจสอบขอมูลทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของวานไพล - เปนยาแกทองขึ้น ทองอืดเฟอ ขับลม - แกบิด ทองเดิน ขับประจําเดือนสตรี ทาแกฟกบวม แกผื่นคัน - เปนยารักษาหืด - ใชตมน้ําอาบหลังคลอด ในสมัยโบราณนิยมโขลกไพลใหเหลว ชโลมตัวเด็กแรกเกิด นัยวาเปน การปองกันเชื้อโรคอันจะเกิดบนผิวหนัง มักใชควบคูกับขมิ้นผง ผูตองโทษทัณฑ ถูกเฆี่ยนหลังดวยหวายหนังแตกปริแยกขึ้นเปนแนว วิธีปฐมพยาบาลสมัยกอน ได อ าศั ย ไพลขาวโขลกจนแหลกป ายทา ระงั บ ความเจ็ บ ปวดอั น เกิ ด จากพิ ษ บาดแผล และชวยรักษาและใหหายเร็ว ที่มา: “วานสมุนไพร” Available at http://tonic001.blogspot.com/2010/09/ blog-post_3834.html

1-47


2. สุขภาพใจ ลําดับที่ 1.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายเพชร ก่ํามะเริง บานเลขที่ 275 ม.10 ต.ชะอม เบอรติดตอ 089-8175732

2.

นายบุญเพียง สุขสารี บานเลขที่ 113 ม.9 ต.ชําผักแพว เบอรติดตอ 087-1189115

3.

ผูใหญวิชิต ก่ํามะเริง (เบิ้ม) บานเลขที่ 85/1 ม.7 ต.ชําผักแพว เบอรติดตอ 089-9868632

ประเด็นความรู ศิลปะการตีมีด (จากเหล็กแหนบ) ลุงเพชรรับตีมีดจากเหล็กแหนบควบคูไปกับการประกอบอาชีพขุดไมลอม ขั้นตอนและวิธีการ 1. นําเหล็กแหนบซื้อมา กิโลกรัมละ 30 บาท หรือจากเหล็กจากเศษ รถยนตที่ไมใชแลว ตัดเปนชิ้นๆ ตอนตัดเหล็กใชอุปกรณที่เรียกวา “สกัด” ในการตัดเหล็ก 2. ตีดวยมือแบบโบราณ ขึ้นรูปเปนคู 3. ลับคมดวยเครื่องเจีย เสร็จแลวชุบน้ําธรรมดา และใสดาม 4. มีดหนึ่งเลมใชเวลาทําประมาณ 2 ชั่วโมง ลักษณะเดนของมีด 1. คม 2. ทนทานตอการใชงาน 3. งานประณีต ศิลปะการเลนคนตรีพิณแคนประยุกต ประวัติความเปนมา เปนวงดนตรีแนวอีสาน ตั้งขึ้นมาเพื่อเลนภายในครอบครัวที่สืบทอดกันมา โดยมีชื่อวงวา “ศตพล มิวสิค” และเปนวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีครบสมบูรณมาก ที่สุดอั น ดั บตน ๆ ของอํ าเภอแก ง คอย ซึ่ งเครื่องดนตรีประจํ าวงประกอบไปด วย กลองชุด พิณ คียบอรด แซค ทรัมเปต กีตาร กีตารเบส ฉิ่ง และฉาบ เปนตน วัตถุประสงคของการตั้งวงดนตรี 1. ตองการอนุรักษศิลปะการเลนดนตรีแบบนี้เอาไว โดยเฉพาะการเลน พิณ 2. เปนสถานที่สําหรับสอนดนตรีสําหรับผูที่สนใจ (โดยไมคิดคาใชจาย) 3. ตองการฝกลูกหลานใชเวลาวางใหเปนประโยชน 4. เปนการกลอมเกลาจิตใจแกผูไดเลนดนตรี กิจกรรมภายในวงดนตรี 1. รับเลนดนตรีตามงานตางๆ ในทองที่ เชน งานมงคล แหกระถิน แหนาค แหผาปา เปนตน 2. เปดสอนแกเยาวชนผูสนใจ ปจจุบันยังไมคอยมีคนสนใจ ศิลปะการตีมีด (จากเหล็กแหนบ) การตีมีดเหล็กแหนบ ตีแบบโบราณ ขั้นตอนและวิธีการ 1. นําเหล็กแหนบซื้อมา กิโลกรัมละ 30 บาท หรือจากเหล็กจากเศษ รถยนตที่ไมใชแลว ตัดเปนชิ้นๆ ตอนตัดเหล็กใชอุปกรณที่เรียกวา “สกัด” ในการตัดเหล็ก 2. ตีดวยมือแบบโบราณ ขึ้นรูปเปนคู 3. ลับคมดวยเครื่องเจีย เสร็จแลวชุบน้ําธรรมดา และใสดาม 4. มีดหนึ่งเลมใชเวลาทําประมาณ 2 ชั่วโมง

1-48


ลําดับที่ 3.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ ผูใหญวิชิต ก่ํามะเริง (เบิ้ม) บานเลขที่ 85/1 ม.7 ต.ชําผักแพว เบอรติดตอ 089-9868632

4.

นางทองคํา บุตรดี บานเลขที่ 4 หมูที่ 11 ต.ทาคลอ เบอรติดตอ 036-226131, 089-2152789, 086-1337113

5.

นางคําพัน แดงใจ บานเลขที่ 4 ม.11 ต.หวยแหง เบอรติดตอ -

ประเด็นความรู ลักษณะเดนของมีด 1. คม 2. ทนทานตอการใชงาน 3. งานประณีต หมายเหตุ: การจะเปนลูกศิษย ตองเสียคาครู โดยอุปกรณมีดังนี้ คือ ไหวกับเตา ใหญ หัวหมู และธูป 9 ดอก ศิลปหัตถกรรม ประธานกลุมหัตกรรม (สานตะกรา เสื้อคลุม) การสานตะกรา อุปกรณที่ใช: 1. เชือกสี/มัดฟาง 2. โครงเหล็กตะกรา 3. กรรไกร 4. มีด 5. เข็มใหญ (ไวรอยกระดูกงู) วิธีการ: เปนการคิดดัดแปลงเอง โดยเริ่มจากการถักผาเช็ดหนา แลวประยุกตมา เปนการสานตะกรา โดยถาบุคคลใดตองการจะเรียนรูใหมาเรียนไดกับปาทองคํา ถักเสื้อ อุปกรณที่ใช 1. ดายไวนัส 2. เข็มถักโครเชต วิธีการ: ประยุกตจาการถักโครเชตทั่วไปมาเปนการถักเสื้อโดยใชเชือกไวนัส ( ซึ่ง ปจจุบันไมทําแลว เพราะใชเวลาคอนขางนานและรางกายไมเอื้ออํานวย) แตหาก มีคนสืบทอดตอก็จะทําใหความรูชุดนี้ไมสูญหาย ศิลปหัตถกรรมการจักสาน ประวัติความเปนมา เริ่มทําจักสานเปนตั้งแตอายุ 13 ป เรียนรูมาจากพอแม ผลิตไวใชเองใน ครัวเรือน ใชไมไผสีสุก สิ่งที่ลุงคําพันทํามีอยูหลายอยาง ไดแก กระบุง ไสดักปลา ตะคองใสปลา กระดง สุมไก ถาดและโตะ วัสดุอุปกรณ 1. มีดหัวขอ 2. เลื่อยลันดา 3. คอน 4. ดินสอ 5. ฉากจักหนาไม 6. กระดาษทราย 7. กบใสไม เทคนิคและวิธีการทํา คุณลุงใชเทคนิคสวนตัวซึ่งไดรับการถายทอดมาจากพอแม (ปจจุบันไมมีผูมารับสืบทอดตอ เนื่องจากคนที่มาเรียนขาดความอดทน) วิธีการทําถาดผลไม (ออกแบบเอง) 1. ตัดทอนไมตามรูปทรงที่ตองการ 2. นํามาประกอบเปนฐานโดยใชตะปูเปนตัวตอกใหติดกัน 3. ใชสวานเจาะและไสใหเรียบเสมอกัน

1-49


ลําดับที่ 5.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางคําพัน แดงใจ (ตอ) บานเลขที่ 4 ม.11 ต.หวยแหง เบอรติดตอ -

ประเด็นความรู 4. ขัดดวยกระดาษทรายอีกรอบใหเรียบไมมีเสี่ยน ทาสีเพื่อปองกันแมลง เจาะ 5. สานดวยไมไผที่เตรียมไวตามรูปทรงที่ไดออกแบบไว การทํากระบุง ไสดักปลา ตะตองไสปลา กระดง สุมไก และถาดใสกับขาว วิธีทํา ออกแบบเองและวาดแบบบนไม ตัดทอนไมใหไดรูปทรงตามตองการ เสร็จ แลวจึงมาประกอบเปนฐานไมไวและขึ้นรูปดวยไมไผที่เตรียมไว

3. กิจกรรมเชื่อมความสัมพันธในสังคม ลําดับที่ 1.

2.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายทองหลอ สุขวันดี บานเลขที่ 20/1 ม.3 ต.ตาลเดี่ยว เบอรติดตอ -

นาย หาญ จิ๋วศรีสวัสดิ์ บานเลขที่ 67 หมู 1 ตําบลหวยแหง เบอรติดตอ 084-9029112

ประเด็นความรู การทําเกษตรอินทรีย พืชผักที่ปลูกในพื้นที่ ไดแก กะเพราะ บวบ แมงลัก โหระพา คะนา และกวางตุง โดยปลูกตามฤดูกาลเนื่องจากไมมีการใชสารเคมี ความรูหลักในการทําเกษตรอินทรีย การทําปุยหมักใชเองพรอมกับประสบการณในการทําเกษตรมาตลอดชั่ว อายุ การทําปุยหมัก วัสดุอุปกรณที่ใชในการทําปุยหมัก 1. เศษหญา ประมาณ 100 กิโลกรัม 2. รําออน 5 กิโลกรัม 3. ปูนขาว 2 กิโลกรัม 4. พด. 11 (จุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจน ของกรม พัฒนาที่ดิน) 1 ซอง 5. น้ําสะอาด 5 ลิตร ขั้นตอนการทําปุยอินทรียใชเอง 1. นําเศษหญามากองรวมใหเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา 2. ใสปูนขาวพรอมกับรําออนลงไปในกองหนาหญาที่เราเตรียมไว หมัก 3. นํา พด. 11 ผสมกับน้ําและราดลงไปบนกองปุยหมักใหทั่ว 4. หมักนาน 6-7 เดือน (หรืออยางนอยควรจะ 6 เดือน ถึงจะสามารถ นํามาใชได) การทําปุยหมัก วัสดุ อุปกรณ: 1. ขี้วัว 2. ขี้ไก 3. กากน้ําตาล 4. รําขาว 5. ปุยยูเรีย 6. พด.1

1-50


ลําดับที่ 2.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นาย หาญ จิ๋วศรีสวัสดิ์ (ตอ) บานเลขที่ 67 หมู 1 ตําบลหวยแหง เบอรติดตอ 084-9029112

ประเด็นความรู วิธีการ : สําหรับปุย 100 กิโลกรัมมีอัตราสวนคือ ใชมูลวัวและมูลไกในอัตรา ขี้ไก 35 กิโลกรัม ขี้วัว 35 กิโลกรัม กากน้ําตาล 10 กิโลกรัม รําขาว 20 กิโลกรัม ปุยยู เรีย 500 กรัม และผสมสารเรง พด.1 โดยใชอัตราสวน พด.1 ผสมในน้ํา 20 ลิตร แลวทิ้งไว 10-15 นาที แลวจึงราดใหทั่วกองปุยหมักพอประมาณ ในการหมักปุย ควรหมักในที่โลง หรือที่มีเต็นทกําบังฝน คลุมกองปุยหมักดวยผาใบ โดยจะทํา การหมักไวประมาณ 6 เดือน แลวจึงนํามาตากใหแหง แลวจึงบรรจุกระสอบแลว นําไปใช ประโยชนของปุยหมัก - ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน ทําใหดินรวนซุย การระบาย อากาศ และการอุมน้ําของดินดีขึ้น รากพืชแพรกระจายไดดี - เปนแหลงธาตุอาหารพืชทั้งธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และจุล ธาตุ - ดูดยึดและเปนแหลงเก็บธาตุอาหารในดินไมใหถูกชะลางสูญเสียไป ไดงาย และปลดปลอยออกมาใหพืชใชประโยชนทีละนอยตลอดฤดูปลูก - เพิ่มความตานทานตอการเปลี่ยนแปลงความเปนกรดเปนดางของ ดิน - เพิ่ ม แหล ง อาหารของจุ ลิ น ทรี ย ดิ น ทํ า ให ป ริ ม าณและกิ จ กรรม จุลินทรียที่เปนประโยชนในดินเพิ่มขึ้น ที่มา: “สารเรงซุปเปอร พด. 1” Available at http://www.ldd.go.th/menu_5 wonder/pd_1.html การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ พด.1 เปนกลุ มจุลินทรี ยที่มีประสิทธิภาพสู งในการยอยสลายวัส ดุ เหลือใชจากการเกษตร และอุตสาหกรรมแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตรเพื่อผลิต ปุยหมักในเวลารวดเร็วและมีคุณภาพสูงขึ้น ประกอบดวยเชื้อรา และแอคติโนมัย ซีสที่ยอยสารประกอบเซลลูโลส และแบคทีเรียที่ยอยไขมัน ที่มา: “สารเรงซุปเปอร พด. 1” Available at http://www.ldd.go.th/menu_5 wonder/pd_1.html การทําน้ําหมักชีวภาพ วัสดุ อุปกรณ : 1. ฟกทอง 2. ขนุน 3. มะมวง 4. กากน้ําตาล 5. ถังหมัก ปริมาตร 50 ลิตร 6. พด.2 วิธีการ : สําหรับการหมักน้ําหมักชีวภาพในถังปริมาตร 50 ลิตร มีอัตราสวนคือ ใชฟกทอง 10 กิโลกรัม ขนุน 10 กิโลกรัม มะมวง 10 กิโลกรัม กากน้ําตาล 1 กิโลกรัม น้ํา 5 ลิตร สารเรง พด.2 ประมาณ 1 ซอง หมักไวประมาณ 3-6 เดือนจึง นํามาใช

1-51


ลําดับที่ 2.

3.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นาย หาญ จิ๋วศรีสวัสดิ์ (ตอ) บานเลขที่ 67 หมู 1 ตําบลหวยแหง เบอรติดตอ 084-9029112

นางรัชนี เทพภักดี บานเลขที่ 36/3 ม.3 ถ.สุดบรรทัด ต.ตาล เดี่ยว เบอรติดตอ 085-3848125

ประเด็นความรู ประโยชนของน้ําหมักชีวภาพ - สงเสริมการเจริญเติบโตของพืช โดยพบวาปุยอินทรียน้ํามีฮอรโมน และกรดอินทรียหลายชนิด เชน ออกซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน กรดแลคติก กรดอะซิติก กรดอะมิโน และกรดฮิวมิก - กระตุนการงอกของเมล็ด - เพิ่มการยอยสลายตอซังพืช การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ พด.2 คือเชื้อจุลินทรียที่มีคุณสมบัติในการยอยสลายวัสดุการเกษตร ในลักษณะสด อวบน้ํา หรือ มีความชื้น สูง เพื่ อผลิ ตปุยอิ นทรี ยน้ํ า โดยดําเนิ น กิจกรรมทั้งในสภาพที่ไมมีอากาศและมีอากาศ ประกอบดวยจุลินทรีย 5 ประเภท ดั ง นี้ ยี ส ต ที่ ผ ลิ ต แอลกอฮอล แ ละกรดอิ น ทรี ย แบคที เ รี ย ผลิ ต กรดแลคติ ก แบคทีเรียยอยสลายโปรตีน แบคทีเรียยอยสลายไขมัน แบคทีเรียละลายอนินทรีย ฟอสฟอรัส ที่มา: “สารเรงซุปเปอร พด. 2” Available at http://www.ldd.go.th/menu_5 wonder/pd_2.html หมอดินอาสา ประวัติ เมื่อกอนเคยเปนอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) และไดถูก ทาบทามใหไปฝกอบรมกับกรมพัฒนาที่ดินจนไดกลายมาเปนหมอดินอาสา ความรูความสามารถ 1. รูขั้นตอนการนําดินไปตรวจ 2. รูจักการทําน้ําหมักชีวภาพ 3. สามารถใหคําแนะนําการใชที่ดินอยางถูกวิธีแกเกษตรกร ตัวอยางความรู การเก็บตัวอยางดิน ขัน้ ตอนการเก็บตัวอยางดิน 1. นําดินขั้นบนไปตากแหง และบดใหมีขนาดเล็กพอรอนได 2. รอนดินใหไดประมาณ 100 กรัม 3. บรรจุถุงพรอมนําไปตรวจ ประโยชนของการเก็บตัวอยางดินไปตรวจ 1. สามารถนําไปตรวจวัดธาตุอาหารในดินไดอยางถูกตองแมนยํา 2. สามารถวางแผนในการจัดการดินได การทําปุยน้ําหมักชีวภาพ วัสดุอุปกรณหลักที่ตองใช 1. ถัง ขนาด 200 ลิตร 1 ใบ 2. กากน้ําตาลหรือน้ําตาลทรายแดง 20 กิโลกรัม 3. พด. 2 (สําหรับสูตรผัก) 1 ซอง 4. วัสดุที่ใชในการหมัก เชน เศษอาหาร เศษพืช เปนตน

1-52


ลําดับที่ 4.

5.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายพัน นุชกระแสร บานเลขที่ 19/1 ม.3 ต.ตาลเดี่ยว เบอรติดตอ 089-8050789

นายขุน โคตะสูต บานเลขที่ 72 ม.1 ต.หวยแหง เบอรติดตอ 081-28690045

ประเด็นความรู การเพาะเห็ดนางรมปลอดสารพิษ วัสดุอุปกรณ 1. กอนเชื้อเห็ดนางรม จํานวนกอนเชื้อขึ้นอยูกับขนาดของโรงเรือนและ ทุนทรัพยของผูเพาะเอง 2. โรงเรือนที่คอนขางอับอากาศเพื่อใหสามารถรักษาความชื้นไดดี แต สามารถระบายอากาศไดโดยประตูทางเขา-ออก 3. สายยางรถน้ําพรอมฝกบัว (ขึ้นอยูกับแตละคนจะประยุกตใช) และ ระบบน้ํา เทคนิคการเพาะเห็ดในถุง 1. ชวงระยะบมกอนเชื้อ ควรมีการระบายอากาศ หนาหนาวควรปด โรงเรือน หนารอนควรเปดประตูเพื่อระบายอากาศ 1. ชวงเปดดอกควรรดน้ําใหมีความชื้นสม่ําเสมอ และเมื่อเริ่มออกดอก นอยลงแลวใหกรีดปากถุงเพื่อเพิ่มพื้นที่การออกดอกและขยาย ระยะเวลาการใหดอกมากขึ้นแตดอกจะมีขนาดเล็กลง นอกจากนี้กอนเชื้อเห็ดที่ใหผลผลิตเต็มที่แลว (ไมคอยออกดอกแลวหรือไมคอย ใหผลผลิตแลว) สามารถนํามาเพาะเห็ดฟางตอได โดยการเอาเศษขี้เลื่อยจาก การเพาะเห็ดในถุงมาคลุกกับฟางและเชื้อเห็ดฟางแลวเอาพลาสติกคลุม และ ดูแลรักษาตามขั้นตอนการเพาะเห็ดฟางทั่วไป อาสาปศุสัตว ประวัติความเปนมา ลุงขุนไดอบรมการเปนอาสาปศุสัตวจากศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวทับ กวางและศูนยวิจัยอาหารสัตวชัยนาท เมื่อผานการอบรมแลวจึงไดมาทําหนาที่ เปนอาสาปศุสัตว โดยทําหนาที่ดูแลและรักษาอาการปวยของวัว กระบือ รวมถึง การทําคลอดและทําหมันดวย วิธีการทําหมันวัว ใชครีบหนีบ (Burdizzo) บริเวณขั้วของถุงหุมอัณฑะ (จะอยูเหนือบริเวณ ลูกอัณฑะ) คางไวประมาณ 3 นาที และนําทิงเจอรไปทาบริเวณทอนําอสุจิที่หนีบ แล วเล็ ก น อ ย หลั ง จากนั้ นประมาณ 7 วั น ลู ก อัณ ฑะจะแฟบลง เสร็ จแล วทํ า ลักษณะแบบเดิมอีกขางหนึ่ง หมายเหตุ: กอนทําการรักษาควรนําเชือกมัดขากันวัวถีบทุกครั้ง วิธีการรักษาโรคไขหลังแข็งของวัว (ไมกินหญา) ฉีดยาดวย Oxytetracydine (Oxycline) วิธีการรักษาโรคทองเสีย ฉีดดวย Tylosin วิธีแกไข ฉีดดวย Novapyrone วิธีฆาพยาธิในตับ และพยาธิผิวหนัง ฉีพดวย Ivermecvet วิธีฆาพยาธิไสเดือน สําหรับลูกควายอายุ 1 เดือน ฉีดดวย Pamizole วิธีรักษาอาการมดลูกอักเสบ เปนแผล ฝ หนอง ฉีดดวย Kanamycin Injection (Kanamycin sulfateX

1-53


ลําดับที่ 5.

6.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายขุน โคตะสูต (ตอ) บานเลขที่ 72 ม.1 ต.หวยแหง เบอรติดตอ 081-28690045 นางสาววันเพ็ญ ปานมณี บานเลขที่ 22/2 หมู 6 ต.หินซอน เบอรติดตอ 089-0885137

ประเด็นความรู การบํารุงน้ํานม สําหรับวัวควายทอง คลอดลูกใหม ฉีดดวย Biocatalin หมายเหตุ: วิธีการฉีดยาจะฉีดเขาบริเวณกลามเนื้อ และปริมาณยาที่ใช 10 ซีซี ตอน้ําหนักวัวหรือกระบือ 100 กิโลกรัม การทําผลิตภัณฑสมุนไพร 1. สบูเหลวสมุนไพร สวนผสม - AD25 1 กิโลกรัม - น้ําสมุนไพร 5 กิโลกรัม - มุก 100 กิโลกรัม - ผงฟอง 50 กิโลกรัม - กลิ่น 1 ออนซ - เกลือ (ปรุงทิพย) 5 กิโลกรัม - สีผสมอาหาร (ตามความพอใจ) วิธีทํา เท AD25 ลงในภาชนะเติมเกลือกวนไปทางเดียวกันเติมน้ําสมุนไพรจนหมด ใสผงฟอง มุก กลิ่น สี ทิ้งไวใหฟองยุบ ตักใสขวด วิธีทําน้ําสมุนไพรสําหรับใชทําสบูเหลว • นําสมุนไพรสด ซึ่งไดแก ขมิ้น (เหงา) ไพล (เหงา) ขา เหลือง (เหงา) เปลือกผลทับทิมหรือใบทับทิม ใบชุมเห็ด เทศ น้ํามะขามเปยก และใบฝรั่ง (วัสดุที่ใชอาจจะหั่น หรือไมหั่นก็ได) ใสรวมกันใหได (ถาใชวัสดุแหงใช 1 กิโลกรัม) ประมาณ 5 ขีด โดยเฉลี่ยสัดสวนใหเทาๆ กันใน แตละชนิด ลงในหมอตม • ใสน้ํา 5 กิโลกรัม หรือประมาณ 5 ลิตร ลงในหมอตมที่มี สมุนไพรอยู ตมนาน 20 -30 นาที พอใหวัสดุที่ใสลงไปสุก กรองเอากากออก ทิ้งใหเย็นแลวนํามาใช สรรพคุณของสมุนไพรที่ใช • ขมิ้น: ฆาเชื้อแบคทีเรีย ขัดผิว และทําใหผิวผอง • ไพล: ฆาเชื้อแบคทีเรีย ขัดผิว และทําใหผิวผอง • ขาเหลือง: ฆาเชื้อแบคทีเรีย ขัดผิว • เปลือกทับทิมหรือใบทับทิม: ยับบั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย • ใบฝรั่ง: ฆาเชื้อแบคทีเรีย ทําใหผิวสะอาดและใส • ใบชุมเห็ดเทศ: ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย แก โรคผิวหนัง โรคชันตุ โรคกลากเกลื้อน • น้ํามะขามเปยก: ขัดคราบไคล ยับยั้งการเกิดสะเก็ดเงิน

1-54


ลําดับที่ 6.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางสาววันเพ็ญ ปานมณี (ตอ) บานเลขที่ 22/2 หมู 6 ต.หินซอน เบอรติดตอ 089-0885137

ประเด็นความรู 2. ยาสระผมสมุนไพร สวนผสม - N.8000 1 กิโลกรัม - เกลือ (ปรุงทิพย) ½ กิโลกรัม - น้ําสมุนไพรสําหรับบํารุงหนังศีรษะและบํารุงเสนผม 5 กิโลกรัม - ผงฟอง 1 ขีด - กลิ่น 1 ออนซ - สีผสมอาหาร (ตามความพอใจ) วิธีทํา เท N.8000 ลงในภาชนะที่จะกวน เติมเกลือ กวนไปทางเดียวกันเติม น้ําสมุนไพรลงไปจนหมด เติมผงฟอง กลิ่น สี ทิ้งไวใหฟองยุบ ตักใสขวด วิธีทําน้ําสมุนไพรสําหรับใชทํายาสระผม • นําสมุนไพรสด ซึ่งไดแก ใบขี้เหล็ก ผักปรัง ผลมะกรูด (ทั้ง ลูกไมตองหั่น) ดอกอัญชัน และรําขาว (ไมมีก็ได) ใส รวมกันใหได ประมาณ 5 ขีด โดยเฉลี่ยสัดสวนใหเทาๆ กันในแตละชนิด (สําหรับผลมะกรูดสามารถใสเกินได) • ใสน้ํา 5 กิโลกรัม หรือประมาณ 5 ลิตร ลงในหมอตมที่มี สมุนไพรอยู ตมนาน 20 -30 นาที พอใหวัสดุที่ใสลงไปสุก กรองเอากากออก ทิ้งใหเย็นแลวนํามาใช หมายเหตุ: สวนผสมของน้ําสมุนไพร อาจใสน้ําใบหญานางคั่นลงไป 3 ขีด เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพสรรพคุณของยาสระผมได แตไมเหมาะสําหรับคนที่ยอมผม เพราะสารในใบยานางจะมีฤทธิ์กัดสีผมที่ยอมได สรรพคุณของสมุนไพรที่ใช • ใบขี้เหล็ก: ทําใหผมดํา • ยอดผักปรัง: ทําใหผมลื่น ไมพันกัน • ลูกมะกรูด: ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ชวยขจัดรังแค และการ เกิดชันตุ • อัญชัน: บํารุงรากผม ทําใหรากผมแข็งแรง • รําขาว: ทําใหผมไมพันกัน • ใบยานาง: ชวยทําใหผมดก ดํา ไมรวงงาย 3. น้ํายาลางจาน (เอนกประสงค) สวนผสม - N.70 1 กิโลกรัม - น้ํามะกรูดตม 2 กิโลกรัม - ผงฟอง 1 ขีด - กลิ่น 1 ออนซ - สีผสมอาหาร (ตามความพอใจ) - น้ําสะอาด 6-8 ลิตร - เกลือ (ปรุงทิพย) ½ กิโลกรัม

1-55


ลําดับที่ 6.

7.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางสาววันเพ็ญ ปานมณี (ตอ) บานเลขที่ 22/2 หมู 6 ต.หินซอน เบอรติดตอ 089-0885137

นายสมาน ยะธาตุ บานเลขที่ 61 ม.2 ต.หวยแหง เบอรติดตอ 081-0143762

ประเด็นความรู วิธีทํา เท N.70 ลงในภาชนะที่จะกวน เติมเกลือ กวนไปทางเดียวกันเติมน้ํา มะกรูดตมลงไปจนหมด เติมผงฟอง กลิ่น น้ําสะอาด สีผสมอาหาร ทิ้งไวใหฟอง ยุบ ตักใสขวด วิธีทําน้ํามะกรูดตม นําลูกมะกรูดมาผาซีก (ยิ่งหลายซีกยิ่งดี) 2 กิโลกรัมครึ่ง ใสลงในหมอตม • ใสน้ํา 2 กิโลกรัมหรือประมาณ 2 ลิตร ตมนาน 20-30 นาที พอใหผลมะกรูดสุกหรือเปอย กรองเอากากออก ทิ้งใหเย็น แลวนํามาใช สรรพคุณของสมุนไพรที่ใช • ผลมะกรูด: ชวยขจัดคราบและกลิ่น สําหรับมะนาวไมมี คุณสมบัตินี้แตผลมะนาวชวยเรื่องการถนอมผิว 4. น้ํายาซักผาจากมะละกอ สวนผสม - N.70 1 กิโลกรัม - น้ํามะละกอตม 2 กิโลกรัม - ผงฟอง 1 ขีด - กลิ่น 1 ออนซ - สีผสมอาหาร (ตามความพอใจ) - น้ําสะอาด 6-8 ลิตร - เกลือ (ปรุงทิพย) ½ กิโลกรัม วิธีทํา เท N.70 ลงในภาชนะที่จะกวน เติมเกลือ กวนไปทางเดียวกันเติมน้ํา มะละกอตมสลับกับน้ําสะอาดจนหมด เติมผงฟอง กลิ่น สีผสมอาหาร ทิ้งไวให ฟองยุบ ตักใสขวด วิธีทําน้ํามะละกอตม นํามะละกอดิบมาปอกเปลือกและหั่นเปนชิ้นเล็กๆ (ยิ่งหลายซีกยิ่งดี) 2 กิโลกรัม ครึ่ง ใสลงในหมอตม • ใสน้ํา 2 กิโลกรัมหรือประมาณ 2 ลิตร ตมนาน 20-30 นาที พอใหผลมะละกอสุกหรือนิ่ม กรองเอากากออก ทิ้งใหเย็น แลวนํามาใช สรรพคุณของสมุนไพรที่ใช • มะละกอดิบ: ชวยทําใหผาฟู นุม ถนอมเสนใย และกําจัด คราบสกปรก ขอควรทราบ: เนื่องจากผลิตภัณฑทั้งหมดไมมีการใชสารกันบูด เพราะฉะนั้น ผลิตภัณฑแตละชนิดจะอยูไดไมเกิน 2 เดือน การทําพิมเสนน้ําและน้ํามันงา: พิมเสนน้ํา (ไพลดํา) วัสดุอุปกรณทใี่ ช - ไพลดําตากแหงและบดเปนผง 30 กรัม - เมนทอล 200 กรัม

1-56


ลําดับที่ 7.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นายสมาน ยะธาตุ (ตอ) บานเลขที่ 61 ม.2 ต.หวยแหง เบอรติดตอ 081-0143762

ประเด็นความรู - พิมเสน 50 กรัม - การบูร 50 กรัม - ขวดแกว (แบบที่ใส โอวันติล/กาแฟ) 1 ขวด ขั้นตอนวิธีการทํา - นําเมนทอล 200 กรัม ใสในขวด เสร็จแลวเขยาใหเมนทอลเปลี่ยน จากของแข็งกลายเปนของเหลว - ตอจากนั้นใหใสการบูรลงไปในขวดที่มีเมนทอลอยูแลวก็เขยาให กลายเปนของเหลวเชนเดิม - เสร็จแลวจึงใสพิมเสนลงไปเขยาใหเขากันจนกลายเปนของเหลว ทั้งหมด ซึ่งของเหลวที่ไดจะเรียกวา “พิมเสนน้ํา” - สุดทายนําพิมเสนน้ําผสมกับผงไพลที่เตรียมไว คนใหเขากัน ปลอย ทิ้งไว ประมาณ 1 อาทิตย จะตกตะกอน แลวนําสวนน้ําใสๆ บรรจุใส ขวดและนําไปใชตอไป วิธีการใชและสรรพคุณ - ใชสูดดมแกคัดจมูก แกวิงเวียนศีรษะ - ใชทาบริเวณที่มีแมลงสัตวกัดตอย ลดอาการปวด บวม - ใชทาแกอาการคันตามผิวหนัง ขอควรทราบ - น้ําพิมเสนที่ไดจะเปนน้ําพิมเสนแท 100% - ตะกอนที่ไดอยานําไปทิ้ง สามารถใชได โดยมีสรรพคุณเชนเดียวกับ แบบน้ําแตมีความเขมขนของตัวยามากกวา น้ํามันงา วัสดุอุปกรณทใี่ ช - เครื่องรีดน้ํามัน หาซื้อไดตามทองตลาด หรือใชวิธีรีดแบบสมัยกอน ซึ่งมีอุปกรณที่ใช คือ ผาขาวบาง เชือกไนลอน ครก - เมล็ดงา ประมาณ 1 กิโลกรัม ขั้นตอนและวิธีการทํา กรณีมีเครื่องรีดน้าํ มัน: นําเมล็ดงาดิบใสเครื่อง เสร็จแลวเครื่องจะกลั่น น้ํามันออกมา เมล็ดงา 1 กิโลกรัม ไดน้ํามันงาดิบ ประมาณ 250 กรัม กรณีไมมีเครื่องรีดน้ํามัน: นํางาดิบมาตําในครก แลวนําไปใสลงในผาขาว บาง หลังจากนั้นรีดน้ํามันออกมาดวยเชือก ซึ่งงา ดิบ 1 กิโลกรัม จะไดน้ํามันงาดิบ ประมาณ 1-2 ชอนโตะ วิธีการใชและสรรพคุณ - ดื่มน้ํามันงาดิบทุกวันกอนนอน วันละ 1 ชอนชา จะชวยลดไขมันใน เสนเลือด ทําใหเลือดไหลเวียนดี ตานอนุมูลอิสระได นําน้ํามันงาดิบมานวดตัว ชวยทําใหผิวชุมชื้น ทําใหกระดูกแข็งแรง

1-57


ลําดับที่ 8.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางรัศมี ราชวงษ กลุมแมบานนาดี บานเลขที่ 60 หมู 2 ตําบลหวยแหง เบอรติดตอ 081-3652263

ประเด็นความรู การทําน้ํามันงาและผลิตภัณฑพื้นบาน น้ํามันงา วัสดุ อุปกรณ: 1. งาดํา หรือ งาขาว 2. เครื่องบีบอัดเมล็ดงา 3. ขวดบรรจุน้ํามัน (ขนาดใดก็ได) วิธีการ ในการผลิตน้ํามันงา แบงผลิตภัณฑอออกเปน 2 ประเภท คือ น้ํามันงาดําและ น้ํามันงาขาว โดยนําเมล็ดงาผานเขาเครื่องบีบอัดเพื่อใหไดน้ํามัน หลังจากนั้นนํา น้ํามันไปตกตะกอน แลวสวนที่ใสของน้ํามันมาบรรจุขวด การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ งาจัดเปนพืชไรน้ํามันที่เสริมรายไดใหเกษตรกร เนื่องจากลงทุนต่ํา ใช เวลาปลูกสั้น และทนแลงไดดี มีตลาดกวางขวาง และราคาดี เกษตรกรนิยมปลูก งากอนหรือหลังพืชหลัก งาจึงเปนพืชที่นิยมในระบบการปลูกพืช งาถูกใชเปน อาหารเพื่อสุขภาพเนื่องจากเมล็ดงามีคุณคาทางโภชนาการสูง ที่มา: “งา” Available at http://it.doa.go.th/vichakan/news.php?newsid=21 คุณสมบัติของน้ํามันงา เมล็ดงา ประกอบดวยน้ํามันระหวาง 46.4 – 52.0% มีโปรตีน 19.8 – 24.2% ซึ่งมีสัดสวนดี จึงเปนอาหารที่ดี มีสารมีไธโอนีนและทริพโทแฟนสูง มีแค ลเซี่ยม โปรแตสเซี่ยมฟอสฟอรัส วิตามินบี และเหล็ก น้ํามันงาที่ดีไดมาจากการ หีบ โดยไมใชความรอน น้ํามันงาชนิดนี้ไดรับความนิยมอยางสูง เพราะไมมีการ เปลี่ยนแปลงดานโครงสรางของโมเลกุลน้ํามัน และไมมีสารเคมีตกคาง น้ํามันงา มีกรดไขมันไมอิ่มตัวชนิดหลายตําแหนง (Polyunsaturated fatty acids) ระหวาง 40.9 – 42.0% และชนิดไมอิ่มตัวตําแหนงเดียว (Monounsaturated fatty acids) ระหวาง 42.5 – 43.3% ซึ่งชนิดหลังนี้ เชื่อวาชวยปองกันหลอดเลือด แดงแข็งและโรคหัวใจ ที่มา: “งา” Available at. http://www.php?lay=show&ac=article&Id= 538680763 สรรพคุณของน้ํามันงา - ชวยขยายหลอดเลือด - ชวยลดความดันโลหิต - ปองกันเกล็ดเลือด เกาะกันเปนลิ่ม ถาเกาะกันมากอาจอุดตันหลอด เลือดเล็กๆได • ถาอุดตันหลอดเลือดหัวใจ ก็จะเปนโรคหลอดเลือดหัวใจ ตีบตัน กลามเนื้อหัวใจขาดเลือด • ถาลิ่มเลือดไปอุดตันหลอดเลือดสมอง ก็จะปวยเปน อัมพาต อัมพฤกษได ถาลิ่มเลือดอุดตันจอตา อาจทําให ตาบอดได โดยเฉพาะในผูปวยโรคเบาหวาน - ยับยั้งไมใหรางกายสรางคอเลสเตอรอลมากเกินไป - งามีแคลเซี่ยมสูงทําใหกระดูกแข็งแรง เพิ่มความหนาใหมวลกระดูก

1-58


ลําดับที่ 8.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางรัศมี ราชวงษ (ตอ) กลุมแมบานนาดี บานเลขที่ 60 หมู 2 ตําบลหวยแหง เบอรติดตอ 081-3652263

ประเด็นความรู - งามีแคลเซี่ยมสูงมากกวาพืชทั่วไปถึง 40 เทา มีฟอสฟอรัสมากถึง 20 เทา ซึ่งแคลเซี่ยมและฟอสฟอรัสนี้เปนธาตุสําคัญในการเสริมสราง กระดูกและฟน จึงควรใหเด็กกินงาจะไดเจริญเติบโตสูงใหญ สตรีวัย หมดประจํ า เดื อ นก็ ควรกิ น งามากๆ เพราะวัย นี้ จะเกิ ด ภาวะพร อ ง ฮอรโมนเอสโตรเจน ทําใหมีการดึงแคลเซี่ยมมาจากกระดูกและฟน จึงมีความเสี่ยงสูงที่จะเปนโรค กระดูกพรุน กระดูกเสื่อม ที่มา: “ประโยชนของงา และน้ํามันงา” Available at http://www.pumedin.com. php?lay=show&ac=article&Id=538680763

น้ํายาลางจานมะกรูด มะกรูด ไมพุมขนาดใหญ ลําตนเกลี้ยงเกลากิ่งกานมีหนามแหลม ใบ สีเขียวหนา มีกลิ่นหอมฉุน มีน้ํามันหอมระเหย ออกดอกเปนชอสีเขียวมีนวล ลูก กลมผิวหนาขรุขระ มะกรู ดเป นพื ชเครื่ องเทศและพืชสมุน ไพร ทั้ง ยังสามารถ นํามาใชประโยชนในการเปนยารักษาโรคหรือสวนผสมของยา ชวยแกอาการ ทองอืด ชวยใหเจริญอาหาร ใชดองยาเพื่อใชฟอกเลือด และบํารุงโลหิตสตรี เนื้อ ของผลมะกรูดใชเปนยาแกอาการปวดศีรษะ และระงับการไอ แกปวดทองในเด็ก ออน ใชในอุตสาหกรรมเครื่องหอมและเครื่องสําอาง นอกจากนี้ผิวมะกรูดจะมี ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรียตางๆได ที่มา: “มะกรูด” Available at http://www.thaigoodview.com /library/contest 2551 วัสดุ อุปกรณ: 1. ผลมะกรูด ไดมาจากการปลูกขึ้นเองในพื้นที่ 2. น้ํายาลางจาน ไดมาจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ การเกษตร 3. หมอตมน้ํา 4. ผาขาวบาง วิธีทํา: นํามะกรูด 10 ผล มาปอกผิวออก ตมในน้ําประมาณ 20 ลิตร ตั้งไฟพอ เดือดประมาณ 30 นาทียกลง ปดฝาทิ้งไวจนอุณหภูมิลดลง นํามาคั้นแลวกรอง ดวยผาขาวบาง เพื่อไมใหเกร็ดเล็กๆของมะกรูดติดออกมา จากนั้นนําน้ํามะกรูด ที่ไดมาผสมกับน้ํายาลางจาน ในอัตราน้ํายาลางจาน 8 สวน น้ํามะกรูด 2 สวน หลังจากนั้นจึงนํามาบรรจุขวดเพื่อจัดจําหนาย การตรวจสอบขอมูลกับความรูทางวิชาการ คุณสมบัติและสรรพคุณของมะกรูด : - ใชดับกลิ่นคาวของอาหารไดดี - มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรียตาง ๆได - กรดซิตริค(Citric acid) ชวยขจัดคราบสบู (ดาง) ที่หลงเหลืออยู ทํา ใหผมหวีงาย น้ํามันจากผิวมะกรูดชวยใหผมดกเปนเงางาม ที่มา: ”มะกรูด “Available at http://www.the-than.com/samonpai/sa.16html

1-59


ลําดับที่ 9.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางรัชนี ไผงาม บานเลขที่ 46/4 ม. 5 ต.ทาคลอ เบอรติดตอ 089-8062856

10.

นางทรัพย จันทะวงษ บานเลขที่ 30 หมู 1 ตําบลทาตูม เบอรติดตอ 087-0181043

ประเด็นความรู ปราชญเรื่องการทําอาหาร กิจกรรมดําเนินงาน เปนวิทยากรสอนทําอาหารในอําเภอแกงคอย ตํารับอาหารที่สอน ไดแก ขนมโบราณ ขนมอบทุกชนิด กับขาวโตะจีน น้ําพริกตางๆ เปนตน นอกจากนี้ยัง เปนประธานกลุม อสม. และเปนผูจัดการและบริหารกลุม อสม.ในตําบลทาคลอ ตัวอยางอาหารและวิธีทํา น้ําพริกเผา วัตถุดิบ 1. พริกเม็ดใหญ 2. หอม 3. กระเทียม 4. กะป 5. หมูบด 6. น้ําตาลปบ 7. มะขามเปยก วิธีการทํา นําหอม กระเทียม ทอดพรอมกัน แลวใสพริกเม็ดใหญ ทอดอีกทีแลวนํา สวนผสมมาตําใสกะป ใสมะขามเปยก ใสหมูบดลงไป ตําใหละเอียด เสร็จแลว นํามาผัดในน้ํามันปาลมใหแหงใหขึ้นเงา เติมน้ําตาลปบ น้ําปลาตามชอบ (อยูได นาน 7 วัน) น้ําพริกลงเรือ วัตถุดิบ 1. พริกขี้หนูสด 2. หอมแดง 3. กระเทียม 4. กะป 5. หมูบดหรือกุงแหง 6. น้ํามะนาว วิธีการทํา นําพริกขี้หนูสด หอมแดง กระเทียม กะป มาตําใหละเอียด เสร็จแลวเอา น้ําปลา น้ําตาลปบ และน้ํามะนาวลงไป (ถาใสน้ํามะนาวกอนจะขมและถามี มะดันสดใหใชแทนมะนาวได) ปรุงรสชาติตามชอบ ประธานกลุมอาชีพสตรีทาตูม ความรูดาน: การทําขนมเทียนแกว ความเปนมา: กลุมอาชีพสตรีทาตูมโดยมี นาง ทรัพย จันทะวงษ เปนประธาน กลุม เริ่มกอตั้งขึ้นใน ป พ.ศ.2542 เมื่อเริ่มตนรวมกลุมจัดทํากิจกรรม 2 อยาง คือ ดอกไมประดิษฐและขนมเทียนแกว ปจจุบันทําขนมเทียนแกวเปนหลัก สมาชิก กลุมมี 17 คน โดยสับเปลี่ยนกันเขามาทําการผลิต ปจจุบันขนมเทียนแกวเปน สินคา OTOP ของจังหวัดสระบุรี เปนที่รูจักของคนทั้งในและนอกพื้นที่ นิยม นําไปเปนของไหวในชวงเทศกาลตางๆดวย ไมวาจะเปนเทศกาลตรุษจีน เทศกาล เชงเมง และวันสารทจีน

1-60


ลําดับที่ 10.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางทรัพย จันทะวงษ (ตอ) บานเลขที่ 30 หมู 1 ตําบลทาตูม เบอรติดตอ 087-0181043

11.

ผูใหญบุญชวย แกววิสูตร บานเลขที่ 13 ม.2 ต.บานธาตุ เบอรติดตอ 089-6753874

12.

นางอําพร จันทกูร บานเลขที่ 49 ม.8 ต.ทาคลอ เบอรติดตอ 089-5390163

ประเด็นความรู วัสดุ อุปกรณ : 1. ถั่วเขียว 2. เกลือ 3. พริกไทย 4. น้ําตาล 5. น้ําใบเตย 6. น้ําอัญชัน 7. หอมแดง 8. แปงมัน 9. น้ํามันพืช 10. หอมแดง 11. แปงมัน วิธีการ : นําถั่วเขียวมาตมจนนิ่มประมาณ 1 ชั่วโมง นํามาตําใหละเอียดแลว นําไปผัดในน้ํามันพืช พรอมปรุงรสโดยใสเกลือ พริกไทย น้ําตาล และหอมแดง ผัดเสร็จแลวจึงนํามาปนเปนกอน หลังจากนั้นนําแปงมันมาเคี่ยวโดยใชไฟกลางๆ ผสมกับน้ําใบเตยหรือน้ําดอกอัญชัน เคี่ยวจนเหนียวแลวจึงนํามาหอถั่วที่ปนไว จะไดขนมเทียนแกวสีเขียวออนละสีน้ําเงินออนตามสีของใบเตยและดอกอัญชัน ในสวนของการจําหนายนั้นก็จะแบงออกเปน 2 แบบ คือ - จําหนายแบบนึ่ง(นึ่งสุกแลว) พรอมรับประทาน หรือรับประทานไม หมดก็สามารถเก็บไวไดนาน 15 วัน โดยแชเก็บไวในตูเย็น จําหนายแบบสด(ยังไมนึ่ง) ก็สามารถเก็บไวไดนาน 15 วัน เชนเดียวกัน หาก ตองการรับประทานก็นํามานึ่ง โดยใชระยะเวลาในการนึ่งประมาณ 10 นาที จากนั้นก็รับประทานไดเลย กลุมแมบานพัฒนาอาชีพ หมูที่ 2 ต.บานธาตุ (กลุมเย็บเสื้อผา) ประวัติความเปนมา กลุมนี้กอตั้งขึ้นโดยนายบุญชวย แกววิสูตร (ผูใหญบานหมู 2 ต.บานธาตุ) ในป พ.ศ.2541 แนวความคิ ด ที่ ตั้ ง กลุ ม ขึ้ น มานี้ ไ ด เ ริ่ ม จากการศึ ก ษาดู ง าน แรกเริ่มกลุมนี้ไดทําเพียงผาทําความสะอาดตามโรงงาน โดยไดทุนจาก โครงการ SML โครงการอยูดีมีสุข โครงการชุมชนพอเพียง และกองทุนพัฒนาชุมชนใน พื้นที่รอบโรงไฟฟา โดยเริ่มแรกมีเครื่องจักรเพียง 2 ตัว ปจจุบันมีเครื่องจักรทั้งสิ้น 7 ตัว สําหรับปจจุบันเริ่มมีการทําเสื้อเชิ้ต เสื้อฮาวาย โดยนําแบบมาจากอาจารย ผูฝกสอนที่ไดรับการจัดหามาโดย กศน.ของอําเภอแกงคอย การทํางานในสวนนี้จะใชเวลาหลังจากเลิกงานหรือภารกิจสวนตัวจากที่ บาน โดยปจจุบันมีสมาชิก ประมาณ 10 คน ปญหาของกลุม คือ ไมมีตลาดและ ตองการขยายออกไปสูการตัดเสื้อยืด ประธานกลุมสตรีตําบลทาคลอ ประวัติความเปนมา กลุมสตรีทาคลอกอตั้งเมื่อ ป พ.ศ.2545 ซึ่งเปนกลุมอาชีพทําดอกไม ผา ใยบัว ดอกไมจัน และจัดดอกไมนอกสถานที่ เปนตน โดยองคการบริหารสวน ตําบลทาคลอจัดใหมีวิทยากรมาฝกอบรม และไดทุนสนับสนุนการจัดตั้งกลุม

1-61


ลําดับที่ 12.

13.

ชื่อ ที่อยู และเบอรติดตอ นางอําพร จันทกูร (ตอ) บานเลขที่ 49 ม.8 ต.ทาคลอ เบอรติดตอ 089-5390163 นางโสถิตา นาคอาย บานเลขที่ 144 ม.9 หวยแหง เบอรโทร 083-9808278

ประเด็นความรู จากบริษัทเครือซีเมนตไทย (SCG) โดยมีสมาชิกทั้งหมด 8 ทาน ซึ่งแตละทานจะ ลงหุนกันคนละ 120 บาท และเปนผูที่รวมกันผลิตสินคาตางๆ จําหนายที่ตลาด อําเภอแกงคอย การทําพรมเช็ดเทา เริ่มทําพรมเช็ดเทามา 1 ป เรียนรูการทําพรมเช็ดเทามาจากกลุม แมบานหมู 9 โดยเปดการสอนใหฟรี รับซื้อเศษผามาจากโรงงานกิโลกรัมละ 18 บาท พรมเช็ดเทาที่ถักมีอยู 2 แบบ คือ แบบวงรีและแบบสี่เหลี่ยม การทําพรมเช็ดเทาจากเศษผาสําลี อุปกรณ กรรไกร เข็มถัก (ลักษณะคลายเข็มถักโครเชต ผลิตขึ้นเอง จากพลาสติก ใส) เศษผาสําลี วิธีการทํา 1. ขั้นแรกจับเศษผาสําลีพันนิ้วชี้มือขางที่ไมถนัดไมตองแนนจนเกินไป จับ เข็มถักดวยมือขางที่ถนัด 2. เริ่มถักชิ้นงาน แบบโซ โดยคลองเข็มจากดานหลังเศษผา ใหไดลักษณะ เปนวงกลม แลวตวัดปลายเข็มขึ้น จากนั้นควักเสนเศษผาลอกผานรู จะ ไดปมสําหรับขึ้นโซ ถักใหครบ 15 โซ 3. จะไดเศษผาเปนเสนตรงลักษณะดังภาพจากนั้นใหดึงปลายเศษผาที่ เริ่มตนถักเพื่อใหหว งรัดติดกัน 4. จากนั้นถักเปนลักษณะดังตอไปนี้

5. การถัก v คือการเพิ่มหวงโดยทํา x 2 รอบในหวงโซเดียวกัน

6. การถัก A คือการลดหวง โดยทํา 2 หวงโซ ใหเหลือ 1 หวงโซ (ทํา 2X ให เปน 1X) 7. หลังจากถักแถวแรกเสร็จทุกครั้งจะตองมีการปดงาน (ปดงานเฉพาะแถว แรกกับแถวสุดทายเทานั้น โดยการสอดเข็มเขาไปในโซแรกเกี่ยวเศษผา ดึงผานหวงบนเข็ม)

8. ถักวงเปนวงรีหรือสี่เหลี่ยมลักษณะเชนนี้จนครบรอบตามขนาดที่ตองการ ก็จะไดพรมเช็ดเทาจากเศษผาสําลี หมายเหตุ: พรม 1 ผืนใชเวลาในการถัก 10-15 นาที เมื่อถักเสร็จเรียบรอยแลวจะ มีคนมารับซื้อไปขาย

1-62


2.2.3 แผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพ จากการดําเนินงานเพื่อจัดทําแผนที่ผูรูเรื่องสุขภาพของชุมชนไดแผนที่ ดังนี้

ทั้งนี้คณะผูวิจยั ไดออกแบบแผนที่ใหสามารถพกพาไดสะดวก โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1-63


(1) ลักษณะของแผนที่ดา นนอก

1-64


(2) ลักษณะของแผนที่ดา นใน

(ทั้งนี้ดูตัวอยางไดจากดานหนาในรายงาน)

1-65


2.2.4 บัญชีรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพ บัญชีรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพ เปนรายชื่อของผูที่มีความสนใจในเรื่องสุขภาพในอําเภอแกง คอย และมีความสนใจที่จะเขารวมกิจกรรมกับโครงการและจากการดําเนินงาน พบวามีประชาชนผูสนใจ เขารวมเปนสมาชิกเครือขายสุขภาพ จํานวน 300 คน โดยแบงเปน ตําบลแกงคอย 2 คน ตําบลชะอม 6 คน ตําบลชําผักแพว 56 คน ตําบลตาลเดี่ยว 2 คน ตําบลเตาปูน 78 คน ตําบลทับกวาง 2 คน ตําบลทาตูม 39 คน ตําบลทามะปราง 7 คน ตําบลบานปา 3 คน ตําบลสองคอน 4 คน ตําบลหินซอน 2 คน ตําบลหวยแหง 97 คน และตําบลกุดนกเปลา อ.เมือง จ.สระบุรี 2 คน โดยมีผูสนใจเปนสมาชิกเครือขายสุขภาพ ประกอบดวย 1) กลุมอายุต่ํากวา 15 ป จํานวน 5 คน 2) กลุมอายุ 15 – 35 ป จํานวน 24 คน 3) กลุมอายุ 36-59 ป จํานวน 226 คน และ 4) กลุมอายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน 44 คน และไมระบุอายุ จํานวน 1 คน ซึ่งมีรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพทั้งหมด ดังนี้

1-66


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ อาหารเปนยา, การปฏิบัติตน อาหารสุขภาพ เพื่อปลอดภัยจากโรค, ความดัน โลหิตสูง, โรคไขมันในเสนเลือด, โรคไต, โรคตับ โยคะ การนวดเพื่อผอนคลาย

1.

นางสมพร เที่ยงธรรม

13 ซอย 3 ถนนอุไรรัตน ต.แกงคอย

7/2/2502

42

รั บ ราชการ 036-244906, 0837173747 ครู

2.

นางณิษชากาญจน ตวนเย็น

4/6/2519

35

ครูอัตราจาง

081-3848559

3. 4. 5.

เด็กหญิงเจน เทียมพูล เด็กหญิงณัธภรณ มณีขัติยะ นางศศินันท มะลินันท

พ.ศ.2543 24/1/2542 6/5/2503

11 12 51

6. 7.

เด็กหญิงชนมนิภา สัตยานนท เด็กหญิงสุนิษา พูลทรัพย

18 ซอยนวลตา ถนนนวลตา ต.แกง คอย 177 หมู 1ต.ชะอม 177 หมู 1 ต.ชะอม 107/1 หมู 2 ถนนบา นนา-แก ง คอย ต.ชะอม 30 หมู 10 ต.ชะอม 48/1 หมู 10 ต.ชะอม

30/10/2542 20/1/2541

12 13

นักเรียน นักเรียน รั บ ราชการ ครู นักเรียน นักเรียน

8. 9. 10. 11. 12. 13.

เด็กชายคมกริช มิฒิหลี นางมาลี นาดี นางจําป โสปาสัก นางบัวระภา นอยนาดี นางสงกรานต พละพร นางสมจันทร บุระวัฒน

63/1 หมู 10 ต.ชะอม 3/2 หมู 1 ต.ชําผักแพว 8 หมู 1 ต.ชําผักแพว 11/1 หมู 1 ต.ชําผักแพว 13 หมู 1 ต.ชําผักแพว 13/2 หมู 1 ต.ชําผักแพว

15/6/2540 10/4/2515 4/10/2497 18/5/2504 พ.ศ.2491 21/2/2515

14 39 57 50 63 39

นักเรียน แมบาน แมบาน รับจาง แมบาน แมบาน

14.

นางสมควร บังศรี

13/3 หมู 1 ต.ชําผักแพว

31/3/2508

46

รับจาง

การทําใหคนมีความสุขทําอยางไร 081-0067269 ทําอยางไรใหสุขภาพดี ใบบัวบกชวยแกช้ําใน 036-714546, 086- การนวดเพื่อผอนคลาย และการ 7542546 เลนโยคะ 087-3692629 089-8812745, 084- ดานอาหาร 1.การออกกําลังกาย 5515716 2.วิธีจัดการกับความเครียด เชน ดูหนังตลก 087-5327206 085-2358327 081-7448024 087-6686317 036-714053, 0867604389 036-714088, 0851856749

1-67


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.

นางทองลั่น เลี่ยมคํา นางรุงตะวรรณ นอยนาดี นายสมยง เพ็งมาลา นางเกษร เพ็งมาลา นางประทูน จายุโชติ นางประยอม ทองขวัญ นายเลิศ พุทธศรี

27/1 หมู 1 ต.ชําผักแพว 42/4 หมู 1 ต.ชําผักแพว 57/2 หมู 1 ต.ชําผักแพว 77 หมู 1 ต.ชําผักแพว 77/1 หมู 1 ต.ชําผักแพว 84/1 หมู 1 ต.ชําผักแพว 1/4 หมู 3 ต.ชําผักแพว

12/1/2512 7/5/2516 1/12/2503 19/7/2510 พ.ศ.2503 29/11/2500 27/8/2508

42 38 51 44 51 54 46

แมบาน แมบาน รับจาง รับจาง แมบาน แมบาน

082-3494419 086-7512088 085-1806747 087-6686317

22.

นางทัศวรรณ พุทธศรี

5 หมู 3 ต.ชําผักแพว

4/6/2498

56

คาขาย

036-714076, 8080733

23.

นางเฉลิม แสงนาทอน

10 หมู 3 ต.ชําผักแพว

1/1/2492

62

รับจาง

24.

นางยม คอนมะแสง

10/1 หมู 3 ต.ชําผักแพว

เมษายน พ.ศ. 66 2488

แมบาน

081-2597144

25. 26.

นางสมมาง เบี้ยกลม นางดอกไม ศรีจันทุม

39/2 หมู 3 ต.ชําผักแพว 53 หมู 3 ต.ชําผักแพว

14/6/2512

รับจาง รับจาง

080-4346957

42

-

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ตองการจะไดรับความรู โรคเบาหวาน การปองกันโรคความดันโลหิต สูง 086- การป อ งกั น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน ในเลือด

ประเด็ น ความรู เ กี่ ย วกั บ สุ ข ภาพที่ ท ราบหรื อ มี ความชํานาญ -

1.สมุนไพร ผักพื้นบาน เชน วานหางจระเข ขี้เหล็ก 2.การออกกําลังกาย 1.สมุนไพร ผักพื้นบาน เชน กะเพราะ โหระพา ขา ตะไคร ใบมะกรูด ผักโขม ฯลฯ 2. วิธีจัดการกับความเครียด เชน นั่งสมาธิ และ ทบทวนเหตุผลที่ทําใหเครียด โรคปวดเขา 1.เรื่องสมุนไพร เชน ผักบุง ใบเตย หวานหาง จระเข 2.วิธีจัดการกับความเครียด เชน ถาเครียดควร ออกกําลังกายหรือเดินเลน ปองกันโรคโลหิตจางและโรค 1.สมุนไพร ผักพื้นบาน เชน ขา ตะไคร ใบนางรัก ปวดขา โหระพา ผักโขม ใบมะกรูด 2.วิธีการจัดการกับความเครียดดวยการนั่งสมาธิ -

1-68


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

27.

นายสนิท ปานนาศรี

54 หมู 3 ต.ชําผักแพว

พ.ศ. 2500

54

คาขาย

28.

นายคุณ นาสารี

62 หมู 3 ต.ชําผักแพว

รับจาง

29. 30.

นายอุย เกิดสะอาด นางละมาย หนูน้ํา

69 หมู 3 ต.ชําผักแพว 71 หมู 3 ต.ชําผักแพว

ธั น วาคม พ.ศ. 68 2486 พ.ศ.2484 70 มี น าคม พ.ศ. 63 2491

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ 036-714074, 0868035880 -

รับจาง คาขาย

088-8485832 087-3415150

31.

นางสุนีย เกษรทอง

76 หมู 3 ต.ชําผักแพว

คาขาย

-

-

32.

นายอดิศักดิ์ เกษรทอง

76 หมู 3 ต.ชําผักแพว

ธั น วาคม พ.ศ. 63 2491 24/1/2518 36

1.ออกกําลังกาย 2.ผอนคลายจิตใจใหสงบ 3.นั่งสมาธิ -

คาขาย

036-714059, 0895397027

-

-

33. 34. 35. 36. 37. 38.

นางบุญโสม ลูมา นางสาวบุญมา อินทรพรหม มาลี เหล็กศักดิ์ นายสมบัติ รักชาติ นางวรรณา รอดแกว นางสาวพิกุล พุทธสริน

81 หมู 3 ต.ชําผักแพว 83 หมู 3 ต.ชําผักแพว 83 หมู 3 ต.ชําผักแพว 86/1 หมู 3 ต.ชําผักแพว 89/1 หมู 3 ต.ชําผักแพว 90 หมู 3 ต.ชําผักแพว

4/4/2511 23/9/2525 26/12/2496 10/1/2498 28/9/2504 6/5/2514

43 29 58 56 50 40

รับจาง รับจาง รับจาง ทํานา แมบาน คาขาย

083-5529848 081-7593272 085-7898115 081-6036094

39. 40.

นางสุมิตร พุทธสริน นางชาตรี หมวดมหิง

90 หมู 3 ต.ชําผักแพว 96 หมู 3 ต.ชําผักแพว

4/4/2509 1/3/2494

46 60

แมบาน รับจาง

089-4571286 -

-

การออกกําลังกาย การกิน อาหาร และการนวดเพื่อผอน คลาย -

-

-

-

1-69


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

41. 42.

นางเข็มทอง นาสารี นางสัมฤทธิ์ เพ็งมาลา

108 หมู 3 ต.ชําผักแพว 5/2 หมู 4 ต.ชําผักแพว

14/11/2502 11/5/2500

52 54

ทํานา รับจาง

43. 44. 45. 46. 47. 48. 49.

นางทุเรียน มาลากอง นางสาวทองพูน เพ็งมาลา นางสาหราย จันทะดี นางสมหวัง มาลากอง นางธัญญาภัคค สิงหเพ็ชร นายสมพร พุทธาคง นายเสนาะ สุขศรี

22/7/2506 10/5/2502 18/2/2504 28/10/2502 18/8/2502 10/5/2507 3/10/2501

48 52 50 52 52 47 53

รับจางทั่วไป รับจาง คาขาย แมบาน แมบาน รับจาง ทําไร

50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58.

นางสมร เหล็กนาง นายเจริญ สุขศรี สมภาร วงลําไย นางสมศรี เพื่อนพงษ นางศศิวิมล เพ็งมาลา นางบุญเกิด ประกะตัง นางมะลิ พรมเวียง นางทองหลอ เกิดสะอาด นางละมอม ปาณะศรี

½/2499 14/2/2489 12/1/2509 31/10/2519 10/4/2498 17/05/2511 27/5/2508 6/11/2510 16/12/2506

55 65 45 35 56 43 46 44 84

รับจาง รับจางทั่วไป รับจาง แมบาน รับจาง รับจาง รับจาง คาขาย

087-7504979 089-7426884 085-3235249 087-1171747 089-0838286 086-5249744 089-2382051 089-9050792

59.

นางโสภี กุหลาบ

10/1 หมู 4 ต.ชําผักแพว 13 หมู 4 ต.ชําผักแพว 18/1 หมู 4 ต.ชําผักแพว 21/4 หมู 4 ต.ชําผักแพว 25 หมู 4 ต.ชําผักแพว 31 หมู 4 ต.ชําผักแพว 40/1 หมู 4 ซอยตรงขาม ฮูลิน ถนน หมูบานดอนจาน ต.ชําผักแพว 41 หมู 4 ต.ชําผักแพว 46/1 หมู 4 ต.ชําผักแพว 53/2 หมู 4 ต.ชําผักแพว 61/5 หมู 4 ต.ชําผักแพว 63/1 หมู 4 ต.ชําผักแพว 59/1 หมู 7 ต.ชําผักแพว 15/1 หมู 8 ต.ชําผักแพว 27/1 หมู 8 ต.ชําผักแพว 29 หมู 8 ซอยบานมะขามปอมเกา ต. ชําผักแพว 30 หมู 8 ต.ชําผักแพว

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ 036-714046, 0875173540 089-4094485 086-7611290 082-7486338 083-6937083 089-0852595 081-7047382 -

พ.ศ.2490

64

แมบาน

-

การออกกําลังกาย -

สมุนไพร ผักพื้นบาน -

-

-

-

-

1-70


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ตองการจะไดรับความรู การดูแลสุขภาพตนเอง การดู แ ลสุ ข ภาพเพื่ อ ไม ใ ห เ ป น อัมพฤต อัมพาต วิ ธี ก ารลดความอ ว น การกิ น สมุนไพรที่ลดความอวนได

60. 61. 62. 63. 64. 65. 66.

พอย จันทรดี ละไม หมื่นนาค นางประดับ อยูถาวร นางทองใบ ฮุยจันทา นายวรชาติ มวงคราม นางจําเนียร ลือศักดิ์ นางบุบผา นอยศิลา

16/11/2507 27/7/2503 21/11/2503 25/5/2496 15/04/2525 15/7/2515 23/11/2501

47 51 51 58 29 49 53

รับจาง คาขาย แมบาน คาขาย รับราชการ รับราชการ รับจาง

089-5093164 083-1592749 083-9864081 087-1187148 086-8047533

67.

นางบุปผา รุจิณรงค

30/1 หมู 8 ต.ชําผักแพว 33/3 หมู 8 ต.ชําผักแพว 36/1 หมู 8 ต.ชําผักแพว 46 หมู 8 ต.ชําผักแพว 61 หมู 10 ต.ชําผักแพว 139 หมู 2 ต.ตาลเดี่ยว 5 หมู 5 ซอย 1 ถนนสุดบรรทัด ต. ตาลเดี่ยว 2/2 หมู 1 ถนนอดิเรกสาร ต.เตาปูน

17/1/2503

51

รับจาง

085-9599651

68.

นางสายยัญ ชาลี

17/4/2507

44

ทํานา

081-7576460

69. 70. 71.

นางอรุณี ลาสิงห นางสายทอง ธนูศร นางณัฐนันท รักษดีชวย

13/2 หมู 1 ซอย 2 ถนนอดิเรกสาร ต. เตาปูน 16 หมู 1 ต.เตาปูน 18 หมู 1 ต.เตาปูน 19/3 หมู 1 ต.เตาปูน

19/5/2512 17/1/2503 9/5/2514

32 51 40

รับจาง แมบาน แมบาน

72. 73. 74.

นางทองพูน สมิงแกว นายถนอม สมิงแกว นางคําพอง วงษลออ

22 หมู 1 ต.เตาปูน 22 หมู 1 ต.เตาปูน 22/1 หมู 1 ต.เตาปูน

9/6/2482 14/7/2502 27/3/2506

72 52 48

ทํานา ทํานา แมบาน

089-5393166 084-6394875 กินอยางไรใหสุขภาพแข็งแรง 036-361245, 0809004178 084-7762732 086-1364117 036-361111, 0811397344

-

ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ความชํานาญ การทําปุยหมักชีวภาพใชเองเพื่อลดโอกาสเสี่ยง ตอการใชสารเคมี วิธีจัดการกับความเครียด เชน นอนพักผอนให เพียงพอ ฟงเพลง ออกกําลังกาย ฟงธรรมะ ฟง บทสวดคาถาป อ งกั น ภั ย 10 ทิ ศ ของโพธิ บ าท อานหนังสือที่ชอบ และคิดบวก -

1-71


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อาชีพ

อาชีพ

75.

นางจงรัก สมิงแกว

24/1 หมู 1 ต.เตาปูน

8/7/2500

54

เกษตรกร

76.

นายสมภพ วงษลออ

46

คาขาย

77. 78.

นางวัณนา เจริญสุข นางสายผาน ทุยยะคาย

36/1 หมู 1 ซอยทาตลาด ถนนอดิเรก 3/9/2508 สาร ต.เตาปูน 55/2 หมู 1 ต.เตาปูน 22/2/2511 56 หมู 1 ถนนอดิเรกสาร ต.เตาปูน 14/9/2489

43 65

แมบาน แมบาน

79. 80.

นางสมัคร รนกระโทก นางแกวใจ ประชุมกิจ

60 หมู 1 ต.เตาปูน 62 หมู 1 ต.เตาปูน

31/12/2503 19/7/2513

51 41

รับจาง แมบาน

81. 82.

นางฐิดา เลี่ยมสะอาด นายสุพา แสงตะกร

69 หมู 1 ต.เตาปูน 15 หมู 2 ต.เตาปูน

27/8/2515 22/1/2508

39 46

เกษตรกร ทํานา

83. 84. 85. 86. 87.

นางจําเริญ ออนเลิศ นายทองสุข ไชโย นายกาบ คันธา นางดวงดาว โพธิระหงส นางสาวนิตรา โพรี

16 หมู 2 ต.เตาปูน 17 หมู 2 ต.เตาปูน 20 หมู 2 ต.เตาปูน 22 หมู 2 ต.เตาปูน 35 หมู 2 ต.เตาปูน

16/10/2507 16/4/2503 9/5/2513 16/2/2512 31/10/2530

47 51 41 42 24

ทําไรทํานา ทําไรทํานา ทําไร เกษตร รับจาง

เบอรติดตอ

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ 081-7954311 1.วิธีจัดการกับความเครียด 2.เรื่องสมุนไพรผักพื้นบาน 3.การทําลูกประคบ 036-361221, 0892417384 081-7560232 036-361278, 080- เรื่ อ งสมุ น ไพรมารั ก ษาโรค ภู มิ ว า นหางจระเข ใ ส ท าแก แ ผลผุ พ อง ขมิ้ น ชั น 1068109 ปญญาชาวบานที่มี วัสดุภายใน ทองอืด หมูบานที่มีอยูแบบงายๆ 080-6640690 086-1337239 โรคติ ด ต อ อุ บั ติ ใ หม ที่ มี อ าการ สมุ น ไพร เช น กระเจี๊ ย บแดงแก โ รคความดั น คลายไขหวัด โลหิ ต สู ง ใบเตยบํ า รุ ง หั ว ใจ ผั ก ขี้ เหล็ ก เป น ยา ระบาย 080-4338651 ไทเก็ก 081-7725799 ตรวจเช็คสุขภาพเบื้องตน 1.เรื่องสมุนไพร 2.ผักพื้นบาน 085-1725013 081-7459514 086-0128275 086-2324821 086-7927362 อยากรู เ รื่ อ งการดู แ ลสุ ข ภาพ เกี่ยวกับผูปวยที่เปนโรคเรื้อรัง

1-72


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

88.

นายขาว คันธะนู

45 หมู 2 ต.เตาปูน

ทําไร-ทําสวน

89.

นายสังวาล คันธะนู

45/4 หมู 2 ต.เตาปูน

กั น ยายน พ.ศ. 72 2482 26/12/2506 48

90. 91.

นางสมยงค แกวสามัคคี นางรจนา ชางสีดา

45/5 หมู 2 ต.เตาปูน 51 หมู 2 ต.เตาปูน

13/7/2516 8/5/2518

38 36

ทําไร เกษตร

92.

นางนภา บัวขํา

2/2 หมู 3 ต.เตาปูน

9/1/2501

53

รับจาง

93.

นางสมทรง บัวขํา

2/4 หมู 3 ต.เตาปูน

21/12/2516

38

รับจาง

94. 95.

คุณบังอร ศรีเงิน นางจําปา เกตุบรรจง

3/1 หมู 3 ต.เตาปูน 10/1 หมู 3 ต.เตาปูน

15/7/2514 5/5/2500

40 54

รับจางทั่วไป รับจาง

96.

นางสาวสุดตา สีลาเนิน

47

รับจาง

97. 98.

นางสนอง เสวกโอสถ นางไฝ แสนพรมมา

11 หมู 3 ซอยพลั ง งาน ถนนอดิ เรก 31/12/2507 สาร ต.เตาปูน 19/1 หมู 3 ถนนอดิเรกสาร ต.เตาปูน 7/8/2496 20 หมู 3 ต.เตาปูน พศ.2492

58 62

แมบาน รับจาง

คาขาย

เบอรติดตอ

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ตองการจะไดรับความรู การดู แ ลสุ ข ภาพให มี ร า งกาย แข็งแรง การดูแลสุขภาพ

ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ความชํานาญ 081-7452045 1.เรื่องสมุนไพร 2.ผักพื้นบาน 089-0249924 1.ผักพื้นบาน 2.สมุนไพร 081-3857169 อยากทราบเกี่ยวกับดานสุขภาพ พลานามัย และวิธีปองกันโรค ตางๆ 036-361431 อยากได รั บ ข อ มู ล ที่ เ กี่ ย วกั บ สมุ น ไพรผั ก พื้ น บ า นกิ น แล ว ทํ า ให สุ ข ภาพดี สุ ข ภาพ ของคนเราทั้ ง หมด เพราะมามีสารพิษ กินอาหารใหครบ 5 หมู และ เพื่ อ ที่จะนํามาปฏิ บัติกั บตัวเรา โยคะเลนแลวสุขภาพดี เองและคนอื่นดวย 036-361431, 0854093173 083-9636840 036-361394, 0871200511 036-361282, 0861356240 086-1358850 080-0186545 การตรวจสุขภาพของผูสูงอายุ ใบกะเพรา แกทองอืด มะรุม เปนยาระบาย ผักชี แกไขหวัด

1-73


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อาชีพ

อาชีพ

เบอรติดตอ

99. 100.

นางขวัญใจ มีโภคา นางสังเวียน นาควิจิตร

22 หมู 3 ต.เตาปูน 29/1 หมู 3 ต.เตาปูน

พ.ศ.2500 พ.ศ.2489

54 65

รับจาง แมบาน

082-1971425

101 102. 103.

นายสมาน ศรีวารินทร นางสํารวย ทองศิริ นางอรุณ ประชุมกิจ

31 หมู 3 ต.เตาปูน 31/2 หมู 3 ต.เตาปูน 2 หมู 4 ต.เตาปูน

23/10/2496 5/7/2502 22/9/2508

58 52 46

รับจาง คาขาย รับจาง

085-3846560 085-3774179 -

104.

นางสาวนันทิกา บุตรพงษ

9/1 หมู 4 ต.เตาปูน

25/5/2506

48

แมบาน

105. 106. 107.

นางทองรัก โยธานารถ นางรัตนา บุญเกิด นางจําป บุตรพงษ

12/2 หมู 4 ต.เตาปูน 13/1 หมู 4 ต.เตาปูน 14/1 หมู 4 ต.เตาปูน

7/10/2509 7/5/2508 8/11/2504

45 46 50

รับจาง รับจาง รับจาง

108. 109.

นางประหยัด บุญศรี นางสารภี ทิพวรรณ

14/2 หมู 4 ต.เตาปูน 27 หมู 4 ต.เตาปูน

6/11/2504 22/8/2495

50 59

รับจาง แมบาน

110. 111. 112. 113. 114.

นางระเบียบ ออนสีดา นางจุไรรัตน กุดวงคแกว นายชมภู ทิพยภมร นางบัวไล กิจสําเร็จ นายสํารวย กิจสําเร็จ

29/2 หมู 4 ต.เตาปูน 55/6 หมู 4 ต.เตาปูน 1 หมู 5 ต.เตาปูน 3 หมู 5 ต.เตาปูน 3 หมู 5 ต.เตาปูน

1/1/2493 7/10/2507 พ.ศ.2492 3/7/2486 สิ ง หาคม พ.ศ. 2479

61 47 62 68 75

รับจาง รับจาง รับจาง ทํานา ทํานา

036-361243, 0836933927 082-3576063 089-2396585 036-361173, 0814514775 087-1152474 036-361136, 0806666357 036-361299 086-7697087 086-7685413

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ 1.สมุนไพร 2.การกินอาหาร 3.การนวดเพื่อผอนคลาย วิธีรับมือกับความเครียด -

1.ผักพื้นบาน 2.การกินอาหาร

-

-

กิ น อยู อ ย า งไรชี วิ ต จะยื น ยาว สมุนไพรที่ใชรักษาโรคได -

-

โยคะ ไทเก็ก

-

การออกกําลังกาย -

-

1-74


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

115. 116. 117. 118. 119. 120. 121. 122. 123. 124. 125. 126. 127. 128.

นางสําลี เกษจิตร นายเทียน ประสานศรี นางไพศรี คมสร นางบุญสง ดามณี นางสมยง ศิริวัฒน นางนพรัตน เจริญกูล นายเทวินทร หนูแกว นางสําราญ ศรีวารินทร นางสุวรรณรัฐ ธัญญะ นางเพ็ญศรี สุขศิลา นางศิณา สารีบุตร นางยุภาพร บัวขํา นางแดง สุขศิลา นางสําริด กวางทอง

3 หมู 5 ต.เตาปูน 17 หมู 5 ต.เตาปูน 29 หมู 5 ต.เตาปูน 37 หมู 5 ต.เตาปูน 53 หมู 5 ต.เตาปูน 59 หมู 5 ต.เตาปูน 68 หมู 5 ต.เตาปูน 2 หมู 6 ต.เตาปูน 4 หมู 6 ต.เตาปูน 12 หมู 6 ต.เตาปูน 18 หมู 6 ต.เตาปูน 19/3 หมู 6 ต.เตาปูน 19/4 หมู 6 ต.เตาปูน 19/5 หมู 6 ต.เตาปูน

10/7/2504 27/4/2509 1/11/2507 18/4/2490 8/1/2510 29/9/2513 23/6/2517 25/6/2497 1/5/2505 4/3/2517 2/6/2509 29/12/2514 พ.ศ.2500 24/11/2499

50 35 47 64 44 41 37 57 49 37 45 40 54 55

แมบาน แมบาน รับจาง ธุรกิจสวนตัว แมบาน คาขาย แมบาน รับจาง คาขาย แมบาน แมบาน

129. 130. 131. 132.

นางสารัญญา ปตมะพรหม นางพรรัตน โยธานารถ นางณัฐวดี นาเจริญ นางสังวาลย สุขศิลา

27 หมู 6 ต.เตาปูน 29/2 หมู 6 ต.เตาปูน 48 หมู 6 ต.เตาปูน 4 หมู 7 ต.เตาปูน

5/12/2508 19/10/2498 29/12/2517 14/3/2499

46 56 37 55

คาขาย แมบาน รับจาง แมบาน

133.

นางสาวจงจิตต วีระวาทิน

11 หมู 7 ถนนอดิเรกสาร ต.เตาปูน

1/4/2499

55

ตัดเย็บเสื้อผา

เบอรติดตอ

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ 084-3385443 036-713065 089-4101844 081-9471935 087-1204922 การออกกําลังกาย 084-3371446 สมุนไพร ผักพื้นบาน 083-5535452 การออกกําลังกาย 036-361286 การนวดเพื่อผอนคลาย 036-361201, 0815525850 082-6832066 036-361443, 086- เรื่ อ งพื ช ผั ก สมุ น ไพรพื้ น บ า น 8064480 และการนวดเพื่อผอนคลาย 036-361275, 082การออกกําลังกาย 5284159

1-75


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ -

134.

นางทองดี ดวงแกว

11/3 หมู 7 ต.เตาปูน

คาขาย

036-361281

135.

นางขัน นอยศิลา

18 หมู 7 ต.เตาปูน

ทํานา

036-361238

-

-

136.

นางถนอมทรัพย อันจิตร

23 หมู 7 ต.เตาปูน

กุ ม ภ า พั น ธ 61 พ.ศ.2493 กุ ม ภ า พั น ธ 65 พ.ศ.2489 12/10/2499 55

รับจาง

-

-

137.

นางจําลอง รักชาติ

26 หมู 7 ต.เตาปูน

60

ทํานา

-

-

138. 139. 140.

นางพัฒนา ออนนุม นางจันทร ดวงแกว นางบุญศรี ศรีวารินทร

กั น ยายน พ.ศ. 2494 30 หมู 7 ต.เตาปูน 10/8/2499 31 หมู 7 ถนนอดิเรกสาร ต.เตาปูน 28/1/2506 33 หมู 7 ซอยทาใหญ ถนนเตาปูน ต. 6/6/2499 เตาปูน

036-361138, 0816653418 084-4576842

55 48 55

คาขาย แมบาน แมบาน

085-4094090 084-4597850

141. 142.

นางฉวีวรรณ อันจิตร นางคําพูน ทองหุม

52 54

ทํานา ทํานา

087-1189712 085-3738961

143.

นางพัลลภา ดวงที่สุด

34 หมู 7 ต.เตาปูน 8/6/2502 36 หมู 7 ซอยบ า นท า ใหญ ถนน 13/10/2500 อดิเรกสาร ต.เตาปูน 39 หมู 7 ต.เตาปูน 13/2/2501

53

แมบาน

144.

นางสุวรรณา วงษละออ

42 หมู 7 ต.เตาปูน

10/10/2515

39

คาขาย

145.

นางมาลี โสภณางกูร

44/9 หมู 2 ต.ทับกวาง

24/1/2494

60

คาขาย

036-361440, 087- เรื่องการนวดเพื่อผอนคลาย 1203586 036-361228, 0821991919 085-4211415 -

เรื่องพืชผักสมุนไพรพื้นบาน

-

เรื่ อ งเกี่ ย วกั บโรคความดั น 1.การผอนคลายจิตใจใหสงบ จะทําใหตัวเองไม เบาหวาน และไต เครียดสบายทั้งกาย ใจ 2.ปลูกผักพื้นบาน เชน ชะอม มะเขือ ตะไคร ขา และใบมะกรูด -

1-76


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

146. 147. 148. 149. 150. 151. 152.

นางหล่ํา เพ็งแพง นางสมปอง จันทร นางสาวบันโทม เสนากุล นางนกเล็ก รุงเรือง นางเฉลียว จันทร นางพเยาว เล็กมณี นายกัณหา ฉลองชน

64/4 หมู 2 ต.ทับกวาง 3 หมู 1 ต.ทาตูม 4 หมู 1 ต.ทาตูม 10/1 หมู 1 ต.ทาตูม 13/1 หมู 1 ต.ทาตูม 19 หมู 1 ต.ทาตูม 27 หมู 1 ต.ทาตูม

5/9/2488 31/10/2502 3/12/2504 28/12/2496 1/1/2490 2/4/2496 7/4/2514

66 52 50 58 64 58 40

แมบาน รับจาง แมบาน แมบาน คาขาย แมบาน ทําสวน

080-1712239 087-578424 086-8355208 083-8973611

153.

นางณัฐลดา ตันทางกูล

27/2 หมู 1 ต.ทาตูม

26/12/2518

36

คาขาย

084-5685794

154.

นายทรัพย จันทวงษ

30 หมู 1 ต.ทาตูม

10/10/2500

54

แมบาน

087-0181043

155.

นางศรีไพร จันทะนันท

2/2 หมู 2 ต.ทาตูม

16/2/2507

47

รับจาง

081-3659662

156.

นางสํารวย พักออน

16/1 หมู 2 ต.ทาตูม

1/4/2491

63

แมบาน

157. 158.

นายลา สุขสรอย นางแกว ตองตอรัมย

19 หมู 2 ต.ทาตูม 19/1 หมู 2 ต.ทาตูม

16/7/2502 9/12/2520

52 34

รับจาง

159.

นายสุทธิชัย สรสิทธิ์

57 หมู 2 ต.ทาตูม

15/4/2506

48

รับจาง

086-0332306 084-6494133

081-7441369

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ การดูแลสุขภาพตางๆ การดูแลตัวเอง การดูแลสุขภาพ การดูแลตนเองเรื่องโรค การดูแลตนเอง การดูแลสุขภาพตนเอง การออก กําลังกาย การดูแลสุขภาพตนเอง การ รักษาโรคเบื้องตน การดูแลสุขภาพตนเอง การใช สมุนไพร การออกกําลังกาย และวิถีชีวิตคนไทย การดูแลตนเอง การออกกําลัง กาย การดู แ ลสุ ข ภาพตนเอง การ พักผอน การดูแลตนเอง การดูแลรางกาย และอาหารที่ เหมาะสม การดูแลสุขภาพทั่วๆ ไป -

1-77


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

160.

นางแกวตา ตันทางกูล

63 หมู 2 ต.ทาตูม

20/3/2508

46

แมบาน

089-8121519

161. 162.

นายไพฑูรย หอมอุบล นางบุญเชา สมมะณี

10 หมู 3 ต.ทาตูม 13 หมู 3 ต.ทาตูม

1/11/2496 11/5/2504

58 50

รับจาง แมบาน

086-7656904 081-2937269

163.

นายอํานวย ปราชนีย

19 หมู 3 ต.ทาตูม

20/1/2492

62

รับจาง

164.

นางสมบัติ คงวุฒิ

24/2 หมู 3 ต.ทาตูม

16/6/2509

45

คาขาย

085-4038853

165.

นางมณี ทิพยวิโรจน

39/1 หมู 3 ต.ทาตูม

19/3/2503

51

คาขาย

089-8099173

166. 167. 168. 169.

นางจีรภา สารมา นางสําเนียง หอมอุบล นางวัฒนา หอมอุบล นายจันทรดวง นัยบุตร

46 หมู 3 ต.ทาตูม 74 หมู 3 ต.ทาตูม 74/1 หมู 3 ต.ทาตูม 75 หมู 3 ต.ทาตูม

26/8/2512 2/3/2490 3/6/2501 24/6/2497

42 64 53 57

รับจาง แมบาน แมบาน แมบาน

086-1344517 089-8270237

170.

นายรุงรดิศ หอมอุบล

83 หมู 3 ต.ทาตูม

28/10/2504

50

ธุรกิจสวนตัว

089-7652883

171.

นางจํารัส สังขพิชัย

89 หมู 3 ต.ทาตูม

½/2490

64

แมบาน

172.

นางคํานาง ฟูบุญมา

91 หมู 3 ต.ทาตูม

1/10/2498

56

คาขาย

-

085-4934338

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ การออกกําลังกาย การ รับประทานอาหารที่มีประโยชน การดูแลสุขภาพตนเอง ก า ร อ อ ก กํ า ลั ง ก า ย ก า ร รับประทานอาหาร วานรางจืดและการลางพิษออก การออกกําลังกาย จากรางกาย การรับประทานอาหาร การดูแล สุขภาพ การออกกําลังกาย การดูแลสุขภาพตนเอง การออก กําลังกาย การดูแลโรคปวดขอ กลามเนื้อ การดูแลสุขภาพ การดูแลตนเอง การดูแลสุขภาพ การดูแลสุขภาพ การออกกําลัง กาย และการรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพ การออกกําลัง กาย และการพักผอน การดู แ ลตนเอง เช น การออก กําลังกาย การดูแลสุขภาพ เชน การออก กําลังกาย

1-78


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

173.

นายสํารวย ขําดี

123 หมู 3 ต.ทาตูม

2/2/2500

54

รับจาง

089-2421933

174.

นางละมัย พรมสุวรรณ

129 หมู 3 ต.ทาตูม

5/3/2507

47

คาขาย

083-0029769

175. 176. 177. 178.

นางจันทรมา นอยยาโน นายสายยนต สีมวง นายอ่ํา จันทะนันท นายบุญชวย มาลา

1/6 หมู 4 ต.ทาตูม 2/3 หมู 4 ต.ทาตูม 3 หมู 4 ต.ทาตูม 9 หมู 4 ต.ทาตูม

19/10/2496 1/8/2496 6/6/2501 2/1/2513

58 58 53 41

ทําสวน ทําสวน ทําสวน

179. 180. 181.

นางสมบัติ อุตรพงษ นายนอย ศรีวิชัย นางชุติกาญน รักขาว

16 หมู 4 ต.ทาตูม 18/1 หมู 4 ต.ทาตูม 23 หมู 4 ต.ทาตูม

10/6/2507 14/12/2507 15/12/2508

47 47 46

ทําสวน ทําสวน ทําสวน

086-0319007 089-2399363 085-1735640

182. 183.

นางณรงค ทาวคําสอน นางนาง มาลา

27/3 หมู 4 ต.ทาตูม 54/3 หมู 4 ต.ทาตูม

18/4/2501 1/12/2495

53 59

ทําสวน ทําสวน

089-5131511 089-3652143

184.

นายสวั่น จิโนวงษ

68/1 หมู 4 ต.ทาตูม

28/4/2496

58

ทําสวน

089-1641834

185.

นายทองใบ ชาญสมร

94/1 หมู 4 ต.ทาตูม

1/10/2480

74

ทําสวน

086-6154298

186.

นายสม พันธประเสริฐ

3 หมู 1 ต.ทามะปราง

9/10/2484

70

คาขาย

036-715038, 086-7652232

081-7955886 081-2937378 087-9369904

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ การดูแลสุขภาพ การออกกําลัง กาย การรับประทานอาหาร ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ก า ร รับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพตนเอง การดูแลสุขภาพตนเอง การดูแลสุขภาพตนเอง การออก กําลังกาย การดูแลสุขภาพตนเอง การดูแลสุขภาพ การดูแลสุขภาพ การออกกําลัง กาย การดูแลสุขภาพตนเอง การดู แ ลสุ ข ภาพตนเอง การ รับประทานอาหาร การดูแลตนเอง การออกกําลัง กาย การรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพตนเอง การ รับประทานอาหาร สมุนไพร, โยคะ, เกษตรอินทรีย สมุนไพรเพื่อการพึง่ ตนเอง

1-79


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

187.

นายบุญสืบ พันธประเสริฐ

3 หมู 1 ต.ทามะปราง

28/10/2517

37

188. 189. 190. 191. 192. 193.

นายบัญชา พงษสะอาด นริศรา เมคิน นายทองใบ ทาวเขต นางพลอย ปานวิเชียร ปราณี ใบเงิน สวัสดิ์ แกงแดง

30/1 หมู 5 ต.ทามะปราง 55 หมู 5 ต.ทามะปราง 86/1 หมู 5 ต.ทามะปราง 131 หมู 5 ต.ทามะปราง 165 หมู 5 ต.ทามะปราง 4/4 หมู 6 ต.บานปา

21/1/2530 28/11/2525 15/2/2495 31/12/2514 6/1/2515 1/8/2504

24 29 59 40 39 50

194.

นางสุวิมล กรมขุนทด

50/1 หมู 6 ต.บานปา

12/5/2501

53

195. 196.

ปรียาภรณ ศิริศรี นางสาวสุวรรณ อํานาคะ

223/2 หมู 9 ต.บานปา 54 หมู 1 ต.สองคอน

13/12/2499 23/4/2528

55 26

197.

นายณรงค โตะเหาะ

74/58 หมู 1 ต.สองคอน

19/5/2518

36

198. 199. 200.

นางเพลินตา มั่นจิตร นางพูนศรี คําภิรานนท นางสาววันเพ็ญ ปานมณี

3/1 หมู 5 ต.สองคอน 33/2 หมู 5 ต.สองคอน 22/2 หมู 6 ต.หินซอน

4/8/2506 12/10/2512 11/11/2507

48 42 47

201.

นางสาวสุมาลี สุขสถิต

111 หมู 4 ต.หินซอน

30/12/2515

39

อาชีพ

เบอรติดตอ

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ตองการจะไดรับความรู องค ก รพั ฒ นา 036-715038 เกษตรอินทรียเพื่ออาหาร ,086-7551160 เอกชน ปลอดภัย รับจาง 087-0249515 080-6666405 เรื่องสมุนไพร รับจาง รับราชการ 080-757619 เบาหวาน รับจาง 080-6697470 เรื่องสมุนไพร แมบาน 036-730017, 0812912674 คาขาย 036-730046, 086- นวด ประคบ เพื่อสุขภาพ 1345187 แมบาน 080-6669565 การลดน้ําหนัก พนักงาน 036-251182, 089- วิธีรับมือกับความเครียด เอกชน 1206070 คาขาย 083-8941867 การออกกําลังกาย, การพักผอน, การผอนคลาย แมบาน 087-0702269 การออกกําลังกาย แมบาน 036-245451 การออกกําลังกาย เกษตรกรรม 089-0885137 ศึกษาเรื่องสมุนไพรไทย เพิ่มเติมจากความรูเดิม รับจาง 087-1202568 ยาที่ใชรักษาโรคเบาหวาน และ ยาลดความอวน

ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ความชํานาญ สมุนไพรเพื่อการพึง่ พาตนเอง ผักพื้นบาน ออกกําลังกาย -

การออกกําลังกาย การออกกําลังกาย มีความรูเรื่องสมุนไพรพื้นบาน ผักพื้นบาน

1-80


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

202. 203. 204.

มัจฉา ภูเลาสิงห นายพานทอง ภูเลาสิงห นางมัด ภูเลาสิงห

2/1 หมู 1 ต.หวยแหง 6 หมู 1 ต.หวยแหง 7/1 หมู 1 ต.หวยแหง

46 43 61

รับจาง รับจาง รับจาง

086-7984450 082-5519884 089-8024514

205.

นายสายทอง คําเอก

14/1 หมู 1 ต.หวยแหง

31/3/2508 23/8/2511 ตุ ล าคม พ.ศ. 2493 10/11/2505

49

ทํานา

206.

นางสาวอนุสรา คําเอก

19/2 หมู 1 ต.หวยแหง

22/1/2529

25

207. 208. 209. 210.

นางภัชนี พันธุเปน นางณัฐชา มานะ จันทรพิน สุวรรณโชติ นางสายสุนี พรมโสภา

33/4 หมู 1 ต.หวยแหง 39 หมู 1 ต.หวยแหง 52/3 หมู 1 ต.หวยแหง 52/6 หมู 1 ต.หวยแหง

4/9/2509 1/8/2509 1/7/2498 9/11/2514

45 45 56 40

เจาหนาที่ ธุรการ รับจาง รับจาง แมบาน

211.

นางประยุพร ภูเลาสิงห

74 หมู 1 ต.หวยแหง

15/3/2521

33

212.

นางศรีนวล ภูเลาสิงห

74 หมู 1 ต.หวยแหง

213.

นายสุทัศน จิ๋วศรีสวัสดิ์

82/1 หมู 1 ต.หวยแหง

พ ฤ ศ จิ ก า ย น 55 พ.ศ.2499 9/12/2498 56

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ การดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย เดินเลน ฟงเพลง -

เกษตรกร

089-9840673

สุขภาพทั่วไปและผูที่ตองสัมผัส หรือของเกี่ยวกับสารเคมี เกี่ยวกับผิวพรรณการดูแลรักษา ตางๆ การเตน อาหารเพื่อสุขภาพ, โรคปวดหัว เขา 1.เรื่องสมุนไพร 2.เรื่องการทําลูกประคบ 3.การนวดเพื่อผอนคลาย 4.โรคทั่ ว ไปที่ ใ ช ส มุ น ไพรจาก ธรรมชาติ ตามท อ งถิ่ น รั ก ษา หรือบรรเทาใหหายได โรคเครียด โรคที่เกิดกับเด็กเล็ก

ทํานา

087-1152240

-

089-1780509 083-8954547 083-6935456 082-3623410 084-0922688

ข า ร า ช ก า ร 088-2423901, รั ฐ วิ ส า ห กิ จ 086-0144098 เกษตรกร สารวั ต รกํ า นั น ต.หวยแหง

การปองกันโรคตางๆ อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงสําหรับผูปวย เบาหวาน ความดัน วิธีคลายเครียด -

มีความรูเรื่องสมุนไพรพื้นบาน ผักพื้นบาน ทํา ลูกประคบได นวดผอนคลายได

มีความรูนิดหนอยเกี่ยวกับสมุนไพรพืน้ บานและ ผักพื้นบาน -

1-81


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อาชีพ

อาชีพ

เบอรติดตอ

214. 215. 216.

นางจันทร โคตาสูตร นายเสมียน สุขคํา นางฉลอม เริ่มพาณิชย

82/2 หมู 1 ต.หวยแหง 87 หมู 1 ต.หวยแหง 4 หมู 2 ต.หวยแหง

14/12/2513 28/2/2508 20/7/2501

41 46 53

086-7979549 089-6152171 089-9343775

217. 218. 219.

นางทอง วงษฮุน นายสุนทร วาริงกุด นางทองบาง อุนชะลี

7/1 หมู 2 ต.หวยแหง 15/1 หมู 2 ต.หวยแหง 20 หมู 2 ต.หวยแหง

28/12/2505 4/1/2510 20/3/2516

49 44 38

รับจาง รับจาง ค า ข า ย , ทํ า สวน รับจาง รับจาง แมบาน

220. 221. 222. 223. 224. 225.

นายเงิน รัตตะนะ นางสาวกันไกร อังษากิจ นางอรพรรณ สุวรรณรัตน นางจันทรหอม พรอมสันเทียะ นางรัศมี ราชวงษ นางพิกุล น้ําใส

43/1 หมู 2 ต.หวยแหง 48/1 หมู 2 ต.หวยแหง 52 หมู 2 ต.หวยแหง 53 หมู 2 ต.หวยแหง 60 หมู 2 ต.หวยแหง 60/1 หมู 2 ต.หวยแหง

16/5/2510 6/5/2516 18/11/2511 22/1/2505 20/3/2495 15/11/2505

44 38 43 39 59 49

รับจาง รับจาง คาขาย ทํานา รับจาง

085-4249404 087-8123943 -

226. 227.

นางสาวโสภิดา น้ําใส นายสมาน ยะธาตุ

60/1 หมู 2 ต.หวยแหง 61 หมู 2 ต.หวยแหง

6/8/2536 29/11/2492

18 62

นักเรียน เกษตรกร

081-0143762

228. 229.

นางวิลัย ขุนไทยสงต นางสาววนิดา วงศจรัญ

62/3 หมู 2 ต.หวยแหง 73 หมู 2 ต.หวยแหง

23/11/2514 16/3/2523

40 31

รับจาง รับจาง

080-4393193

230.

นางวันหอม นัดวาที

5 หมู 4 ต.หวยแหง

6/8/2494

60

ทํานา

088-4603034

-

086-8003731 084-3107804

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ เรื่องสมุนไพรและสรรพคุณ การนวดประคบ -

การกินอาหารปลอดสารพิษ การนวดเพื่อผอน คลาย วิธีจัดการกับความเครียด การออกกําลังกาย ทํ า ให สุ ข ภาพที่ แ ข็ ง แรงจะทํ า / กินอาหารใหมีประโยชน อยางไรดี การออกกําลังกายและการดูแล เรื่องสมุนไพร, การทําน้ํามันงาและประโยชน สุขภาพใหมีอายุยนื ยาว ของน้ํามันงา การผอนคลายจิตใจใหสงบ การนวดผ อ นคลาย และการ ออกกําลังกายอยางถูกวิธี ออกกําลังกาย อยากรูทุกเรื่อง ผักพื้นบาน

1-82


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

231.

นายโสภี บุญธรรม

14 หมู 4 ต.หวยแหง

4/8/2487

67

ทํานา

081-5715889

232.

นายไพรวัลย แสงจันทร

27/1 หมู 4 ต.หวยแหง

20/5/2509

45

085-1876449

233. 234. 235. 236. 237. 238. 239. 240. 241. 242.

นายสมนึก นวนจันทร อําพร บุญแจง นางจรูญ ทานะมัย นางสอน ถากา นางวิลัย มาตติวงศ นางฉิมขวดี ฉิมแดง นางเจียม ภูเลาสิงห นายทองแดง แดงสวัสดิ์ นางวิชัย สุมาวัน นางสุวรรณ แสงปก

33/1 หมู 4 ต.หวยแหง 47 หมู 4 ต.หวยแหง 59 หมู 4 ต.หวยแหง 64 หมู 4 ต.หวยแหง 13 หมู 5 ต.หวยแหง 19 หมู 5 ต.หวยแหง 25 หมู 5 ต.หวยแหง 26 หมู 5 ต.หวยแหง 27 หมู 5 ต.หวยแหง 38 หมู 5 ต.หวยแหง

19/2/2502 24/11/2499 2/10/2499 พ.ศ.2495 17/1/2507 10/12/2504 30/11/2495 พ.ศ. 2504 24/1/2496 13/1/2514

52 55 55 59 47 50 59 50 58 40

เกษตรกรรม/ปศุ สัตว รับจาง แมบาน แมบาน คาขาย รับจางทั่วไป ผช. ทํานา รับจาง ทํานา แมบาน

243.

นายสมพงษ วันดาคุณ

หมู 8 ต.หวยแหง

244. 245.

นายธนากร นคเกต นางจิราภรณ ทองศรี

1/1 หมู 8 ต.หวยแหง 14 หมู 8 ต.หวยแหง

ธั น วาคม พ.ศ. 56 2498 22/9/2522 32 8/8/2513 41

089-8079494 080-5832969 089-2257538 083-8442006 086-8116285 089-0105303 081-2921955 083-6933228

คาขาย

-

รับจาง ครู

089-0847511

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ตองการจะไดรับความรู 1.โรคมะเร็ง 2.โรคหัวใจ 3.โรคหลอดเลือดสมอง 4.ปสสาวะบอย โรคหลอดเลือดสมอง และ วิธีการปองกันโรค

ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ความชํานาญ 1.ผักพื้นบาน 2.การกินอาหาร 3.จัดการความเครียด ผอนคลายจิตใจ

อยากรูทุกเรื่อง

รูเกี่ยวกับผักพื้นบาน

อยากมีสุขภาพแข็งแรง การออกกําลังกาย 1.ความดัน 2.เบาหวาน 3.หลอดเลือดสมอง โรคหอบหืด, โรคเกาท

1.การทําสมุนไพรลูกประคบ 2.ชี่กง 18 ทา ของจุฬาฯ

ปลูกผักพื้นบาน

วิธีการจัดการกับความเครียด

1-83


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

246. 247.

นางเล็ก กิ่งกาน นางสาวสมเพียร อินทศร

33/2 หมู 8 ต.หวยแหง 38 หมู 8 ต.หวยแหง

8/2/2514 11/10/2522

40 32

แมบาน รับจาง

089-2374659 086-7515398

248. 249. 250. 251. 252. 253. 254. 255. 256. 257. 258. 259. 260. 261. 262. 263. 264.

นางปารชาติ สาธุ นางสาวน้ําฝน ศรีสงา นางสาวบัณฑิต ศรีสงา อัมพร ศรีภา นางสาวศุภิสรา มัครา นายวิชัย สุขเกษม นางมณี นาควุฒิ นายตอย สมวงษ นายประชิต ขันธนอก เกสรา พันธุวงษ นางสายบัว บุญแสง นายบุญมี ภูสุรินทร นายสมศรี บุญแสง นางดวงดาว แสงวิโรจน นางทองคํา สีตอง นางสาวพัชรา ศรีสงา นางบุญเรือง วงษาสิงหา

47 หมู 8 ต.หวยแหง 54/1 หมู 8 ต.หวยแหง 73 หมู 8 ต.หวยแหง 77/1 หมู 8 ต.หวยแหง 79 หมู 8 ต.หวยแหง 93 หมู 8 ต.หวยแหง 95/2 หมู 8 ต.หวยแหง 105/1 หมู 8 ต.หวยแหง 106 หมู 8 ต.หวยแหง 109/1 หมู 8 ต.หวยแหง 109/2 หมู 8 ต.หวยแหง 116 หมู 8 ต.หวยแหง 147 หมู 8 ต.หวยแหง 152 หมู 8 ต.หวยแหง 167 หมู 8 ต.หวยแหง 175 หมู 8 ต.หวยแหง 16 หมู 9 ต.หวยแหง

16/3/2511 21/10/2530 15/10/2527 21/6/2520 19/2/2515 31/8/2503 3/2/2505 12/8/2502 พ.ศ.2495 29/3/2508 12/12/2512 10/3/2496 12/8/2505 14/9/2523 10/6/2508 31/8/2523 พ.ศ. 2489

43 24 27 34 39 51 49 52 59 46 42 58 49 31 46 31 65

ทํานา รับจาง คาขาย รับจาง รับจาง รับจาง รับจาง รับจางทั่วไป รับจาง รับจาง เกษตรกร รับจาง แมบาน เกษตรกร รับจาง รับจางทั่วไป

084-6346492 080-5810723 082-6306585 082-2306635 087-1157538 083-6948721 087-4054414 086-7529045 088-4606758 080-1070695 081-1466840 087-1178734 089-6969720 087-7516554 089-9055220 -

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ตองการจะไดรับความรู กินอยางไรไมใหอวน 1.การออกกําลังกาย 2.การขจัดความเครียด 3.สมุนไพร การนวดเพื่อการรักษาอาการ รับจางทั่วไป สมุนไพร การออกกําลังกาย ยาเสพติด -

ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ความชํานาญ -

การนวดเพื่อผอนคลาย เกษตร ตะไครหอม ขมิ้นชัน วานไผ ขิง ขา ลูกมะกรูด กะเพราแดง จําป

1-84


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

265. 266.

นางบังอร กลอนกลาง นางประคอง สารีนนท

25 หมู 9 ต.หวยแหง 40/1 หมู 9 ต.หวยแหง

ธุรกิจสวนตัว รับจาง

085-5092428 -

267.

นายสงัด สารีนนท

40/1 หมู 9 ต.หวยแหง

10/8/2509 45 เมษายน พ.ศ. 57 2497 พ.ศ.2498 56

268. 269.

นางสมปราชญ จําปาเทศ นางสํารวย ชัยมนตรา

42/1 หมู 9 ต.หวยแหง 70 หมู 9 ต.หวยแหง

11/1/2505 5/11/2486

49 68

แมบาน แมบาน

270.

นางทองพูล บุญเรืองศรี

72 หมู 9 ต.หวยแหง

10/7/2485

69

271.

นายสมพงศ คัญทัพ

99 หมู 9 ต.หวยแหง

17/5/2494

60

แมบาน, ทําพรม เช็ดเทา แมบาน 089-6574224

272.

นายสุนระพร ภูสุรินทร

13/1 หมู 10 ต.หวยแหง

31/8/2505

49

คาขาย

089-2393041

273.

นางสตรี คําพิลานนท

63

รับจาง

083-4409054

274. 275. 276. 277. 278. 279.

นางน้ําทิพย กิ้งการจร นายสุระพล ชางทองคํา นางวาสนา พระศรี นางพัฒนา สาริยะ นายจําลอง คาน นางสําอาง พรมโสภา

1 หมู 11 ถนนใหมพัฒนา ต.หวยแหง 11 ธ.ค. พ.ศ. 2491 6/1 หมู 11 ต.หวยแหง 21/1/2513 7/5 หมู 11 ต.หวยแหง 15/7/2506 10 หมู 11 ต.หวยแหง 11/11/2519 13/1 หมู 11 ต.หวยแหง 1/5/2510 16/3 หมู 11 ต.หวยแหง 4/10/2507 23/1 หมู 11 ต.หวยแหง 22/4/2497

41 48 35 44 47 57

รับจาง

036-715227, 080-2898263

รับจาง แมบาน รับจาง คาขาย นวดแผนไทย

082-0771252 083-6935730 082-6561645 086-0094091 085-1278079

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ 1.การผอนคลายจิตใหสงบ 2.วิธีกําจัดความเครียด กิ น อาหารที่ มี ป ระโยชน และ ออกกําลังกาย กิ น อาหารที่ มี ป ระโยชน และ ออกกําลังกาย

-

อาหารสุขภาพ ไขมันหนาทอง -

-

เรื่องสมุนไพรก็มีขมิ้นชัน หวานไพร มะกรูด ตะไคร กระชาย ขา เรื่องผักสมุนไพร เชน กระชาย ขา ขมิ้นชัน วาน ไพร มะกรูด ตะไคร ทําใจใหสบาย อยูที่อากาศดีๆ อยูแบบพอเพียง กินแบบพอเพียง ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ตั ว เ อ ง ใ น เบื้องตนกอนมาพบแพทย สมุนไพรพื้นบาน เรื่องสมุนไพร เชน ฟาทะลายโจร

1-85


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

280. 281. 282.

นายสุรศักดิ์ กิ่งกาน นายศรพิบูรณ กิ่งกาน นางอรุณ วัฒนะไชยศรี

28 หมู 11 ต.หวยแหง 28 หมู 11 ต.หวยแหง 33/1 หมู 11 ต.หวยแหง

37 34 57

คาขาย

084-0948945 080-9763133 083-7579304

283.

นายลาน ภูสุรินทร

37/1 หมู 11 ต.หวยแหง

23/6/2517 19/10/2520 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 พ.ศ.2489

65

รับจาง

081-0034382

284. 285.

นายชวน คําภากุย นายสหัส จันพางาม

88 หมู 12 ต.หวยแหง 90 หมู 12 ต.หวยแหง

1/12/2491 4/6/2489

63 65

รับจาง รับจางทั่วไป

081-3852531

286. 287. 288. 289. 290. 291.

นางอรอนงค แหวนวงษ นายสมร พุทธรักษา นายคําพันธ บานตะเคียน นายสมนึก ขุนทอง นางจิรารักษ ขุนทอง นายสมบัติ ขุนทอง

91 หมู 12 ต.หวยแหง 100 หมู 12 ต.หวยแหง 106 หมู 12 ต.หวยแหง 116 หมู 12 ต.หวยแหง 117 หมู 12 ต.หวยแหง 117 หมู 12 ต.หวยแหง

1/5/2528 7/6/2506 23/8/2506 9/7/2499 26/1/2492 6/2/2485

26 48 48 55 62 69

292. 293. 294. 295. 296.

นางจําปา อุทัยวงษ นางเพชรลดา ขุนทอง นายสมชัย ยะธาตุ นางกองแกว โกจารศรี นายสงัด ปาณะศรี

119 หมู 12 ต.หวยแหง 120 หมู 12 ต.หวยแหง 121/1 หมู 12 ต.หวยแหง 136 หมู 12 ต.หวยแหง 135/2 หมู 12 ต.หวยแหง

3/9/2511 20/1/2511 13/2/2509 1/9/2504 22/7/2509

43 43 45 50 45

-

เกษตรกร เกษตรกร

080-8863369 086-1311929 089-0698658 086-8423166 085-3426743 089-7966004

คาขาย รับจางทั่วไป รับจาง รับจาง

085-3292372 080-4147741 089-7673969 089-0902619 087-1159154

รับจาง ทํานา

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ อ ย า ก รู เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ต ร ว จ ปลูกผักพื้นบาน เชน ผักสวนครัวตางๆ สุขภาพ เชน เบาหวาน ความดัน และไขเลือดออก เขาวัดศึกษาเรื่องธรรมกับพระ อยูกับวัดบอยๆ จะชวยคลายเครียดได การรักษาสุขภาพใหแข็งแรง การรักษาสุขอนามัยของผูสูงวัย การกินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ สุขภาพที่แข็งแรงจะทําอยางไร การกิ น อาหารที่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะและปลอดภั ย จากสารตกคาง -

1-86


ตารางที่ 2.2 แสดงรายชื่อสมาชิกเครือขายสุขภาพในอําเภอแกงคอย (ตอ) ลําดับที่

ชื่อ

ที่อยู

วัน/เดือน/ป เกิด อายุ

อาชีพ

เบอรติดตอ

297.

นางแสงจันทร ใจสุข

138 หมู 12 ต.หวยแหง

3/5/2501

53

รับจาง

089-0859872

298. *299.

นายสายทอง วงษจิ คุณฐิติภา อินทโชติ

45 34

รับจางทั่วไป รับราชการครู

-

*300.

คุณละออศรี พลนํา

139/1 หมู 12 ต.หวยแหง 9/7/2509 52 หมู 4 ต.กุ ด นกเปล า ซอยบ า น 21/9/2520 นายลอม ปนลา อ.เมือง จ.สระบุรี 52 หมู 4 ต.กุ ด นกเปล า ซอยบ า น 5/5/2513 นายลอม ปนลา อ.เมือง จ.สระบุรี

ประเด็ น สุ ข ภาพที่ ส นใจหรื อ ประเด็ น ความรู เกี่ ย วกั บสุ ขภาพที่ ท ราบหรื อ มี ตองการจะไดรับความรู ความชํานาญ 1.เรื่องสุขภาพ 1.ผักพื้นบาน 2.การดูแลรางกายใหแข็งแรง 2.การกินอาหาร ปวดเมื่อยกลามเนื้อ -

41

รับราชการครู

-

ปวดเมื่อยกลามเนื้อ

-

หมายเหตุ: * คือ สมาชิกเครือขายสุขภาพที่อยูน อกเขตพื้นที่อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี

1-87


1-88


บทที่ 3 สรุปผลและขอเสนอแนะ


บทที่ 3 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 3.1 สรุปและอภิปรายผล การศึกษาในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมของชุมชน (PAR) ซึ่งเปดโอกาสให ชุมชนไดเขารวมและเรียนรูไปดวยกันกับคณะผูวิจัยตลอดโครงการฯ ในสวนของการดําเนินโครงการใน ภาพรวมพบวา การพัฒนาใหเกิดเครือขายระดับชุมชนในมิติสุขภาพเปนเรื่องยากทั้งในแงของระดับการ รวมตัวของชุมชนในมิติสุขภาพที่ดูเปนเรื่องไกลตัวและถูกเชื่อวายังไมเปนประเด็น “ปญหารวม” ในระดับ ชุมชน กอปรกับสนถานการณดานเศรษฐกิจในระดับครัวเรือนที่ยึดโยงใหผูคนในพื้นที่ตองสนใจเรื่องปาก ทองเปนอันดับแรก การรวมตัวเพื่อพัฒนาใหเกิดเครือขายชุมชนจึงเปนเรื่องทาทายยิ่ง แตทั้งนี้ก็ไมได หมายความวาเครือขายชุมชนจะเกิดขึ้นไมไดเสียทีเดียว เพียงแตตองอาศัย “การระดมสรรพกําลังและ ทรัพยากรตางๆ อยางมาก” เพื่อสงเสริมและกระตุนใหผูสนใจในมิติสุขภาพไดรวมกันขับเคลื่อนใหเครือขาย สุขภาพระดับชุมชนไดกอรูปและเติบโตเขมแข็งตอไป สําหรับผลการศึกษาที่เกิดขึ้น ไดบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวทุกประการ สามารถสรุปไดดังนี้ 3.1.1 ชุมชนไดฐานขอมูลสุขภาพและแผนที่ปราชญผูรูดานสุขภาพ “กาย จิต สังคม” ฐานขอมูลและแผนที่ ดัง กลาวเกิดขึ้นจากความรวมมือและการมีสวนร วมของประชาชนในการ สะทอนและรวมกันคนหา รวมถึงการใชเครือขาย “คนรูจัก ญาติมิตร” ในการจัดทําขึ้น ทั้งยังไดรวมกัน วิเคราะห และใหขอสังเกตวา แหลงความรู ขอมูล “สุขภาพกาย จิต สังคม” ดังกลาว สามารถใชเปนแหลง เรียนรูของชุมชนได หรือเปนสถานที่ที่ซึ่งประชาชนในชุมชน สามารถเขามาเติมเต็มความรู ความสนใจ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู และรับบริการในการเสริมสรางสุขภาพใหกับตนเองและครอบครัวได เนื่องจาก แหลงเรียนรูบางแหลงไดรับการยอมรับจากผูคนในพื้นที่และชุมชนใกลเคียง ใหเปนทางเลือกหรือชองทาง ในการเสริมสรางสุขภาพกาย ใจ มาแลวเปนเวลานาน เรียกไดวาเปน “ภูมิปญญาทองถิ่นดานสุขภาพ” ของ ชุมชนอยางแทจริง นอกเหนือจากนี้ ฐานขอมูลสุขภาพและแผนที่ปราชญผูรูดานสุขภาพ ที่ไดจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถเปนกลไกตั้งตนใหกับผูคนในพื้นที่ในการตอยอดและสั่งสมความรูประเภท “ภูมิปญญาทองถิ่น” ให กวางขวางออกไป ทั้งยังเปนการขยายกรอบการรับรูและเขาถึงความรูพื้นบานในการดูแลสุขภาพแบบองค รวมดวย

1-88


3.1.2 ชุมชนไดบัญชีรายชื่อผูสนใจรวมเปน “เครือขายสุขภาพ” จากกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนผานการวางแผนจัดงานมหกรรมสุขภาพ ทําใหประชาชน ไดมีโอกาสพบปะ แลกเปลี่ยนและเรียนรูรวมกัน ซึ่งนอกเหนือจากประสบการณตรงของแตละบุคคลที่นํามา สูการเรียนรูรวมกันแลว การตัดสินใจเขารวมเปนสวนหนึ่งใน“เครือขายสุขภาพ” นับเปนปจจัยสําคัญในการ เริ่มตนสนับสนุนใหเกิดความรวมมือ ความชวยเหลือและการประสานงานสูเครือขายการเรียนรูที่เขมแข็ง ตอไป 3.1.3 ชุมชนไดรวมในกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมกับโครงการ ทั้งนี้ในกระบวนการทํางานของโครงการมีภาคสวนที่เกี่ยวของ ไดแก คณะผูวิจัย สาธารณสุขจังหวัด อําเภอ องคกรทองถิ่น ปราชญ/ผูรู นักวิชาการในพื้นที่ ที่ไดรวมกันสนับสนุนใหประชาชนไดรวมถายทอด ประสบการณแลกเปลี่ยนทักษะ ความรู ความสามารถทั้งในแงความรูในมิติสุขภาพและกระบวนการ ทํางานรวมกัน การรวมกันจัดงานมหกรรมสุขภาพ จึงเปนการเปดพื้นที่การเรียนรูใหกับประชาชนอยางเปน ระบบ ตั้งแตการริเริ่มวางแผนการจัดงาน การทําแผนปฏิบัติงาน การติดตอประสานงาน เชิญวิทยากร การ ประสานความรวมมือกับภาคสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ จนกระทั่งการวางแผนติดตามและประเมินโครงการ ซึ่ง กระบวนการต า งๆ เหล า นี้ ไ ด ส ร า งการเรี ย นรู เ ชิ ง ระบบในการทํ า งานสาธารณะ นอกจากในระหว า ง กระบวนการทํางานรวมกันดังกลาว ยังกอใหเกิดการสานสัมพันธระหวางกัน ภายใตบรรยากาศของความ เปนกัลยาณมิตรและความปรารถนาที่ดีตอกันแบบฉบับวิถีชีวิตกึ่งเมืองกึ่งชนบทที่ยังคงมี “ทุนทางสังคม” ของชุมชนซึ่งเปนฐานพลังที่สําคัญในการสรางความเขมแข็งใหกับเครือขายสุขภาพตอไปไดในอนาคต การศึกษาครั้งนี้จึงเปนกาวสําคัญที่สงเสริมและผลักดันใหเกิดความรวมมือของผูคนในพื้นที่ในการ ดูแลสุขภาพแบบองครวม ดวยการพึ่งพาซึ่งกันอยางเปนรูปธรรม ภายใตกระบวนการ/กิจกรรมที่ประชาชน ตองการ ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติดวยชุมชนเอง ซึ่งกระบวนการเชนนี้เปนขอตอสําคัญในการผลักดันเกิด นักวิจัยทองถิ่นที่สามารถคิด วิเคราะหปญหา ความตองการของชุมชน และออกแบบกระบวนการทํางาน วิจัยเพื่อทองถิ่นได อยางไรก็ตามผลจากการศึกษาในครั้งนี้ นอกเหนือจากผลลัพธ (Output) ที่กลาวมาขางตนแลว ผลผลิต (Outcome) ที่เกิดขึ้นสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ปราชญทองถิ่น ปราชญชาวบาน หรือผูรู ทางดานการดูแลสุขภาพกาย ใจ หรือที่เรียกกันทั่วไปวา “หมอพื้นบาน” ที่มีอยูในชุมชนไดรับการยอมรับและยกยองจากประชาชนในชุมชนและสังคมเพิ่มมากขึ้น เรียกวาเปนการ “เปดพื้นที่” ที่ชัดเจนขึ้น ตลอดจนปราชญ/ผูรู ดังกลาวไดใชโอกาสในการพัฒนาองคความรู ของตนเอง ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน เรียนรูกันขามเครือขาย รวมถึงเกิดกระบวนการถายโอน ความรูซึ่งกันและกันเพื่อทบทวนและตอยอดองคความรู 1-89


2. ความรูหรือองคความรูดานสุขภาพ ที่คนพบหรือที่มีอยูในชุมชนไดถูกนํามาจัดทําเปนฐานขอมูล และแผนที่ผูรู จึงเปนการถอดความรูที่อยูในตัวบุคคล (Tacit knowledge) มาสูการบันทึกเปนลายลักษณ อักษร (Explicit knowledge) ในรูปของเอกสาร ขอมูล (Information) เพื่อใหประชาชนหรือผูสนใจสามารถ เขาถึงความรูและนําไปสูการใชประโยชนตอไป พรอมทั้งเพิ่มโอกาสในการถายโอนขอมูล ความรู องค ความรูเหลานั้นไปสูเครือขาย และผูสนใจ ไดอยางไมจํากัด 3. เกิดชองทางในการเขาถึงแหลงความรู เพื่อการดูแลสุขภาพกายใจ ของประชาชน เนื่องจาก ผลกระทบจากวิถีการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน จําเปนที่ประชาชนสวนหนึ่งหันมาใหความสนใจตัวเอง และบุคคลรอบขางมากขึ้นโดยเฉพาะการดูแลสุขภาพกายใจ ดวยการปรับเปลี่ยนแนวคิด ทัศนคติตอการ ดูแลตน ดังนั้น การมีแหลงขอมูล/ความรู มีปราชญ/ผูรูดานสุขภาพแบบองครวม จึงเปนโอกาสและชองทาง ในการเขาถึงเพื่อตัดสินใจในการเลือก และรับ การดูแลสุขภาพกาย ใจ ของประชาชนมากขึ้น 4. เกิดชองทางในการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดอาชีพของประชาชนหรือชุมชน โดยการพัฒนา และยกระดับความรู องคความรู ทางดานการดูแลสุขภาพกาย ใจ ของชุมชนหรือประชาชนเปนผลิตภัณฑ ชุมชน หรือผลิตภัณฑกลุมเครือขาย ซึ่งเปนการสรางคุณคาควบคูกับมูลคา นับเปนทุนทางสังคม(Social capital) ของชุมชนที่เขมแข็งและสงผลดีตอชุมชนอีกทางหนึ่ง ผลขางตนเหลานั้นเปนสิ่งที่นําไปสูโอกาสของประชาชนและผูสนใจทั่วไป(Impact) ซึ่งสามารถนําไป ปรับใชเปนแนวทางในการดําเนินดานสุขภาพกายใจ ทั้งในรูปแบบปจเจก หรือกลุม องคกรชุมชน ดังนี้ 1. พัฒนาสูปจเจกและ/หรือชุมชนเขมแข็งในการพัฒนาตนเองดานสุขภาพกายใจ เปนการเรียนรูถึง โอกาสในการรับรู เขาถึง และเทาทัน ซึ่งเปนการเรียนรูเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสวนบุคคล กลุม ชุมชนในระยะยาว 2. พัฒนาเปนตนแบบชุมชนพึ่งพาตนเองดานสุขภาพ เนื่องจากชุมชนไดเรียนรู โดยเฉพาะการเรียนรู จากการดําเนินงาน (Learning by doing) ที่สามารถพัฒนาตนเองไปสูความสําเร็จและพรอมที่จะเปน ตนแบบ (Best practice) ได 3. พั ฒ นาฐานข อ มู ล หลั ก ในการต อ ยอดองค ค วามรู ท างด า นการดู แ ลสุ ข ภาพของหน ว ยงานที่ เกี่ยวของในทุกระดับ รวมถึงยกระดับองคความรูเหลานั้น ใหเปนความรูสาธารณะ (Mass knowledge) 3.2 ขอเสนอแนะ การศึกษาในครั้งนี้ เปนการนํารองเพื่อสรางและกระตุนใหเกิดการเรียนรูรวมกันของชุมชนในดาน สุขภาพแบบองครวม อยางไรก็ตาม ชุมชนและทองถิ่นมีขอจํากัดบางประการ ซึ่งจําเปนตองไดรับการ สนับสนุนและสงเสริมจากทุกภาคสวนอยางจริงจังและตอเนื่อง โดยเฉพาะในประเด็นตอไปนี้ 1-90


3.2.1 การพัฒนา สนับสนุน และบูรณาการความรูดานสุขภาพ ทั้งความรูภูมิปญญาทองถิ่นและ ความรูสมัยใหมอยางเปนรูปธรรม ดวยเครื่องมือ/สื่อที่ประชาชนทุกภาคสวนสามารถเขาถึงและสราง กระบวนการเรียนรูไดเอง และตอบสนองตอความตองการของชุมชนอยางแทจริง รวมถึงมีการสงเสริม แนวคิดการจัดการความรูในชุมชน สรางการเรียนรูรวมกันของชุมชน เพื่อตอยอดองคความรูของชุมชนและ ยกระดับความรูไปสูความรูสาธารณะ (Mass Knowledge) และเปนกอใหเกิดคุณคาจากความรูเหลานั้น อยางยั่งยืนตอไป 3.2.2 การขับเคลื่อนทุนทางสังคมของชุมชนใหมีความเดนชัดและเขมแข็งขึ้น เพื่อเปนทางเลือกใน การพัฒนาชุมชนภายใตบริบทและศักยภาพของชุมชนอยางแทจริง 3.2.3 การพัฒนาการศึกษาใหครอบคลุมถึงมิติสุขภาวะอื่นๆ เชน สุขภาวะทางปญญา ซึ่งมีสวน เกี่ยวพันโดยตรงกับสุขภาวะกาย จิต สังคม (สุขภาวะแบบองครวม) 3.2.4 การศึกษาในระยะตอไป อาจขยายพื้นที่ระหวางอําเภอในการคนหาปราชญทองถิ่น ปราชญ ชาวบาน หรือผูรู เพื่อเสริมสรางพลังเครือขายชุมชนใหกวางขวาง มั่นคงและแข็งแรงยิ่งขึ้น 3.2.5 การสงเสริม สนับสนุนเครือขายสุขภาพที่เกิดขึ้นใหมใหมีความเขมแข็งและมีศักยภาพ ทั้ง ดานความรูและงบประมาณ เนื่องจากกระบวนการสรางเครือขายยังอยูในระยะแรก อยางไรก็ตามภายใตขอเสนอแนะเหลานี้ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองไดพลังความรวมมือและการมีสวน รวมจากภาคประชาชน ซึ่งเปนรากฐานและปจจัยหลักในการดําเนินงานไปสูเปาหมาย ซึ่งในปจจุบัน ภาค ประชาชนไดเปดรับและเขามามีสวนรวมมากขึ้น จึงเปนโอกาสของภาครัฐหรือผูเกี่ยวของ ที่ตองปรับ กระบวนทัศนและการสงเสริมสนับสนุนการทํางานใหสอดคลองกับการดําเนินงานภาคประชาชน

1-91


ภาคผนวก

1-94


การจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1: สุขภาพกาย สุขภาพใจ เปนสุข

1-95


1.1 สาระความรูจากบอรดนิทรรศการสุขภาพ

การแพทยทางเลือก การแพทยทางเลือก คื อ การรั ก ษาแพทย ท างเลื อกชนิดใดที่มี ป ระสิท ธิภ าพ เหมาะสมกั บ ราคา โรคใดที่ ใ ช ก ารรั ก ษาแบบแพทย ท างเลื อ ก ใครเป น ผูเชี่ย วชาญการรั กษานั้ นมี ผลขา งเคีย งหรือขอหามอยางไร สมุ นไพรนั้นใช รักษาโรคอะไร ใชปริมาณและระยะเวลานานเทาใด ปรัชญาของการรักษาโดยการแพทยทางเลือก แตละชนิดจะมีลักษณะทีค่ ลายกัน ดังนี้ ¾ รางกายสามารถที่จะดูแลตัวเอง เชน เมื่อเปนหวัด มีไข ปวดตามตัว ไมจําเปนตองใชยาลดไข แตใหหาวิธีที่จะกระตุนใหภูมิของรางกายมาจัดการกับเชื้อโรค ¾ การปองกันเปนวิธีที่ดี แพทยทางเลือกมักจะเนนเรื่องการปองกันโรคมากกวาการรักษา ¾ เรียนรูและรวมกันรักษา แพทยทางเลือกมักจะศึกษารวมกับผูปวยเพื่อหาทางรักษาตามความ ตองการของผูปวย ที่มา: คูมือพื้นฐานความรูสุขภาพสูเศรษฐกิจ, สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข

เมื่อปวยเปนโรคเอดสจะตองปฏิบัติตัวอยางไร สําหรับผูติดเชื้อเอดสโดยไมปรากฏอาการ (ตรวจพบวามีเลือดบวกแตยังแข็งแรงดี) ควรปฏิบัติตัว ดังนี้ ¾ ไปพบแพทยตามนัด ปฏิบัติตัวและรับประทานยาตามที่แพทยแนะนํา ¾ อยา ทอ แทสิ้นหวัง เสริม สรา งกํ าลั ง ใจให ตัว เอง ซึ่ งเปน อาวุ ธอั นทรงพลังในการบํา รุ งรักษา สุขภาพใหแข็งแรง ผูที่เสียกําลังใจจะทําใหเสียสุขภาพทางกายและโรครุมเราไดงาย ¾ เลาความในใจใหญาติสนิทมิตรสหายไดรับทราบหรือขอคําปรึกษาจากแพทย พยาบาล หรือ องคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานดานนี้ ¾ เขารวมกลุมชวยเหลือกันเองใหหมูคนที่ติดเชื้อ (จัดโดยองคกรพัฒนาเอกชนที่รณรงคเรื่องนี้) ¾ หมั่นทําความดีและชวยเหลือผูอื่น สรางกุศลกรรม ¾ ฝกสมาธิ เจริญสติ สวดมนต หรือ ปฏิบัติตามหลักศาสนาที่นับถือ ¾ หลีกเลี่ยงการแพรเชื้อใหผูอื่นและหลีกเลี่ยงการติดเชื้อซ้ําอีก ¾ ออกกําลังกายสม่ําเสมอ ¾ กินอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย เชน อาหารจําพวกโปรตีน ผลไมและผัก ¾ ทํางานหรือเรียนหนังสือตามปกต

สําหรับผูที่มีอาการของโรคเอดสแลว ควรปฏิบัติตัว ดังนี้ ¾ ควรไปพบแพทยตามนัดหรือเขารับการรักษาในโรงพยาบาลตามคําแนะนําของแพทย ¾ เสริมสรางกําลังใจตามขอ 2-6 แบบผูตดิ เชื้อดังกลาวขางตน ¾ หลีกเลี่ยงการแพรเชื้อใหผูอื่น ¾ ออกกําลังกายเทาที่รางกายจะอํานวย ¾ กินอาหารที่มีประโยชน ¾ ทํางานเทาที่รางกายจะทําได ¾ ทําใจยอมรับปญหาที่เกิดขึ้นและเตรียมตัวตายอยางมีสติ

1-96


น้ํามีประโยชนตอรางกายเปนอยางมาก ทั้งการอุปโภคและบริโภค รางกายของ คนเราไมสามารถขาดน้ําไดตองมีน้ําเขาไปหลอเลี้ยงเซลลจึงจะดํารงชีวิตอยูได ควร ดื่มน้ําอยางนอย 6- 8 แกวตอวัน นอกจากนี้ น้ํายังมีประโยชนชวยในกระบวนการ ยอยและดูดซึมอาหารและขับของเสียออกทางกระแสเลือด ชวยในระบบหลอลื่น และการเคลื่อนไหวของเอ็นและขอตางๆ การดื่มน้ําสามารถชะลอความชราและ บําบัดรักษาโรคได เชน อาการปวดหัว ปวดตามขอ โรคเกี่ยวกับระบบหัวใจ ความ อวน หลอดลมอักเสบ ไขสันหลังอักเสบ ไตและยูริก โรคกระเพาะ ทองรวง ริดสีดวง และทองผูก เปนตน

เวลาที่ควรดื่มน้ํา

จํานวนที่ควรดื่มน้ํา

ตื่นนอน

น้ําอุน 4 แกว

กอนอาหารทุกมื้อ

มื้อละ 1 แกว

หลังอาหารทุกมื้อ

มื้อละ 1 แกว

10.00 น. 14.00 น. และ 16.00 น.

ครั้งละ 1 แกว

กอนนอน

น้ําอุน 1 แกว ที่มา: คูมือพื้นฐานความรูสุขภาพสูเศรษฐกิจ, สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข

1-97


ชาเขียวมีประโยชนตอสุขภาพจริงตามที่โฆษณาหรือไม ชาเขียว (Green tea) ประโยชนตอรางกาย ตานอนุมูลอิสระ ชาเขียวมีสารตานอนุมูลอิสระ ในปริมาณสูง สารตานอนุมูลอิสระนี้ สามารถจับกับอนุมูลอิสระที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคหลายชนิด เชน โรคมะเร็ง โรคหัวใจ ภาวะไขมันในเลือดสูง จึงปองกันอันตรายที่เกิดจากฤทธิ์ของอนุมูลอิสระในรางกายได ปองกันโรคมะเร็ง สารเอพิกัลโลแคเทชิน กัลแลต (EGCG) ในชาเขียวมีฤทธิ์ยับยั้ง เอนไซมที่จําเปนตอการเติบโตหรือการลุกลามของเซลลมะเร็ง และสามารถทําลายหรือฆา เซลลมะเร็งไดโดยไมมีผลกระทบตอเซลลดีอื่นๆ ในรางกาย ลดระดับน้ําตาลในเลือด แคเทชินส (Catechins) ในชาเขียวมีประสิทธิภาพในการ จํากัดการทํางานของเอนไซมอะไมเลส ทําใหไมสามารถดูดซึมน้ําตาลกลูโคสเขาสูรางกาย ผลทําใหนําตาลในเลือดไมสูงขึ้น ปองกันโรคหัวใจ สารตานอนุมูลอิสระในชาเขียวนาจะชวยปองกันไมใหไขมันชนิด ความหนาแนนต่ํา (LDL-low density lipoprotein) ซึ่งเปนไขมันชนิดไมดีไมใหมีปริมาณสูง จนเกินไป นอกจากนี้ยังพบวาชาเขียวมีสรรพคุณเทียบเทายาแอสไพริน ในการชวยยับยั้ง การแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติ ซึ่งเปนสาเหตุหลักของโรคหัวใจวายและหลอดเลือดสมอง ชวยลดน้ําหนัก การดื่มชาเขียววันละ 2 ถวย ชวยลดการเกิดไขมันสวนเกินและทําให รูสึกอิ่ม รักษาสุขภาพชองปาก การดืม่ ชาเขียวหลังอาหารสามารถปองกันฟนผุได สําหรับชาเขียวในที่นี้ ไมใชเครื่องดื่มชาเขียวที่มีจําหนายเปนขวดในทองตลาด แตเปนชาเขียวที่ตองเปนชาที่ชงเองแตอยาชง ทิ้งไวควรดื่มตอนรอน ๆ และไมควรใสน้ําตาลทรายขาวลงไปในการชงชาเพราะจะทําใหคุณสมบัติทางยาของชาเขียวหมดไป หมายเหตุ: นอกจากนี้ แมชาเขียวจะมีประโยชนกับรางกายมากมาย แตในความจริงก็มีสารที่มีโทษกับรางกายดวยเชนกัน โดยสามารถ สงผลขางเคียงตอรางกาย แตไมถึงกับเปนอันตรายมากนัก สวนมากจะเกิดกับคนที่มีสภาพรางกายไมแข็งแรงโดยเมื่อดื่มแลวอาจมีอาการ ใจสั่น นอนไมหลับ ระคายเคืองกระเพาะอาหาร ทั้งยังอาจทําใหเกิดอาการทองผูก ฟนดํา และหากดื่มอยางตอเนื่องอาจเปนการเสพติดได

ที่มา: คูมือพื้นฐานความรูสุขภาพสูเศรษฐกิจ, สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข

ไมควรกินยาพรอมกับน้ําอะไรบาง เพราะอะไร น้ําสม เพราะอาจไปยับยั้งเอนไซมที่ชวยเปลี่ยนแปลงยาบางชนิดใหรางกาย นําไปใช ทําใหยามีประสิทธิภาพนอยลง แตออกฤทธิ์ขางเคียงที่ไมพึง ประสงคมากขึ้น ชา กาแฟ เครื่องดื่มโคลา เหลานี้มีคาเฟอีน การบริโภคคาเฟอีนเปนประจําขณะกินยารักษาโรคหอบ หืด จะทําใหเกิดผลขางเคียงมากขึ้น เพราะคาเฟอีนทําใหกระเพาะอาหาร ระคายเคือง นม แคลเซียมจะยับยั้งการดูดซึมยาปฏิชวี นะบางชนิด แอลกอฮอล ทําใหตับเสียหาย หากดื่มเปนประจํารวมกับยาแกปวดอะเซตามิโนเฟน ลดประสิทธิภาพยารักษาอาการซึมเศรา เครื่องดื่มที่มีเสนใยพืช ใยพืชอาจไปจับกับยาไดมากมายหลายชนิด ทําใหยาเหลานั้นมี ประสิทธิภาพลดลง

นอกจากนี้อยาลืมกินยาตามคําแนะนําที่เภสัชกรเขียนไวที่ซองยา ใหตรง ตามเวลาครบถวนตามที่จัดยามาให ก็จะทําใหหายจากการปวยเร็วขึน้ ที่มา: คูมือพื้นฐานความรูสุขภาพสูเศรษฐกิจ, สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข

1-98


ยาดอง เปนยาหรือเปนสุรา มีอันตราย ตอสุขภาพมากนอยแคไหน ยาดอง เปนยาที่ใชสารละลายหลายชนิด แชสมุนไพร แบบเย็น เชน เหลา น้ําตาลทรายแดง น้ํามะกรูด และ น้ําสม เปนตน วิธีการปรุงยาดองที่ถูกวิธี ทําไดโดยการนําสวนของสมุนไพรที่ใชเปนยามาบดเปนผงหยาบ เสร็จแลวหอดวยผาขาวบางหลวมๆ เผื่อยาพองตัวเวลาอมน้ํา ถา หากเปนรากหรือแกนใหฝานเปนชิ้นบางๆ เทาๆ กัน เพื่อใหน้ําเหลาเขาสูตัวยาไดอยางทั่วถึง ภาชนะที่ใชสําหรับยาดองเหลาควรใชโถกระเบื้องหรือขวดโหล แกวที่มีฝาปดสนิท เมื่อใสยาลงไปในภาชนะเรียบรอยแลว ใหเท น้ําเหลาใหทวมยา ตั้งทิ้งไว 1 สัปดาห และคนยาใหทั่ววันละ 1 ครั้ง

วิธีและปริมาณการดื่มยาดองที่เหมาะสม การรับประทานยาดองเพื่อใชเปนยานั้น ควรดื่มในปริมาณที่ เหมาะสม ดังนี้ คือ วันละเวลากอนอาหารหรือกอนนอนก็ได ซึ่ง รับประทานครั้งละ ประมาณ 1 ถวยตะไล หรือ 15 ซีซี ฉะนั้น ใน 1 วั นก็ จะได รั บตั ว ยาประมาณ 45 ซีซี . ซึ่ ง ไมเป นอั น ตรายต อ รางกาย ทางเลือกอื่นๆ สําหรับการดื่มยาดอง 1. กินยาดองผสมดวยน้ําตาลทรายแดง 2. นํายาดองไปนึ่งในลังถึงเพื่อใหแอลกอฮอลระเหยออก หลังจากนั้นก็จะ เหลือเพียงเฉพาะตัวยาและน้ําเทานั้น 3. การเจือจาง โดยการนําตัวยาสมุนไพรทีจ่ ะใชนั้นไปตมเอาน้ํา แลวนําน้ําที่ ไดมาเจือจางกับกับยาดอง ก็จะชวยลดปริมาณเหลาและเพิ่มตัวยา 4. การเจือจางน้ําออยหรือน้ําผึ้ง โดยเทผสมกับยาดองเหลาที่จะกิน 5. หมักใหนานขึ้น เพื่อใหแอลกอฮอลระเหยออกไป

ขอควรระวัง ยาดองเหลา เปนยาที่คอนขางแรง การกินในปริมาณที่มากเกินไปยอมเปนอันตรายตอ สุขภาพ ทั้งจากฤทธิ์เหลาและฤทธิ์ยา ทําใหตับทํางานหนักและมีผลเสียตอระบบการ ควบคุมสมอง เพราะฉะนั้นจึงควรกินแตพอดีและควรกินในปริมาณที่เหมาะสมดวย หามใชกับ สตรี มีครรภ ความดันโลหิตสูง ผูที่แ พแอลกอฮอล สตรี ใหนมบุตร เพราะ แอลกอฮอลในยาดองนั้นจะทําใหเกิดอันตรายได

1-99


เมื่อมีอาการไมเกรนหรือปวดหัวขางเดียวจะมีวิธี ดูแลรักษาสุขภาพอยางไร การรักษาและการปองกัน 1) ถาหากเปนไมมากและนานๆ เปนที ซื้อยาแกปวดรับประทาน จะชวยบรรเทาอาการปวดไดใน 30-60 นาที 2) คนที่เปนบอย (มากกวา 2 ครั้งตอเดือน) ยาสวนใหญจะเปน ยาที่ใชเพื่อลดการเกิดและบรรเทาอาการไมเกรนซึ่งจะตอง พบแพทยใหเปนผูสั่งจายให

การบรรเทาอาการไมเกรนดวยตนเอง ใชกอนน้ําแข็งหรือกระเปาน้ําแข็งประคบทีศ่ ีรษะ เพื่อชวยใหเสนเลือดหดตัวลงและ บรรเทาอาการปวด การนวดดวยกลิ่นหอมจะชวยผอนคลาย สงผลใหอาการไมเกรนบรรเทาลง จดบันทึกอาการที่เกิดขึ้น เชน วัน เวลา ระยะเวลาที่ปวด อาการอื่นที่เกิดขึ้นรวมดวย ปจจัยที่กระตุนใหเกิด เพื่อหาทางหลีกเลี่ยงสาเหตุนั้นๆ เชน แสง เสียงที่รบกวน รอบ เดือน (ในผูหญิง) อาหารที่รับประทาน เปนตน งดอาหารบางชนิดที่อ าจจะเปน สาเหตุใหเ กิดอาการ เชน ผงชู รส พิซซา ชีส เหล า กาแฟ ชอคโกแลต เปนตน พยายามพักผอนใหเพียงพอ หลีกเลี่ยงการอดนอน การรับประทานอาหารพวกปลา ซึ่งมีสาร Omega-3 ทําใหลดการเกิดอาการไมเกรนได

ในกรณีที่เผชิญกับความเครียดจะใชยานอนหลับอยางไร จึงจะไมเปนอันตราย ยานอนหลับจัดเปนยาประเภทที่มีฤทธิ์ตอจิตประสาท การสั่งซื้อตองอยู ภายใตคําสั่งแพทยเทานั้น แตก็ยังมียานอนหลับหรือยาคลายความกังวล บางประเภทที่สามารถหาซื้อไดงาย จึงควรใชความระมัดระวัง ไมใช ติดตอเปนเวลานาน หรือเพิ่มปริมาณมากขึ้นเพื่อปองกันการติดตา อาจ ใชวิธีทําใหจิตใจสงบ ใชสมาธิในการบําบัด เพื่อใหเกิดความผอนคลาย ซึ่งจะสงผลดีทั้งทางรางกายและจิตใจ

1-100


งา เป นอาหารบํา รุง กําลั งที่ ดี ใหความอบอุนแกรางกาย ชวยให รางกายแข็งแรงอายุยืน นิยมใชประกอบอาหาร และทําเปนสวนผสมของ เครื่องปรุงรส นอกจากนี้ยังสามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรม เนย เนยเทียม น้ํามันสกัด สามารถนํามาเปนอาหารสัตวได น้ํามันงามี กรดไขมันอิ่มตัวและในเมล็ดงามีสาร lignin ซึ่งตานอนุมูลอิสระ คือ เซ ซามอล เซซาโมลิน เซซานิน โยมีคุณสมบัติ คือ ¾ มีฤทธิ์เหมือนฮอรโมนเอสโตเจน ¾ เสริมสรางวิตามินใหกับรางกาย เชน วิตามินอี ¾ ชวยในการเจริญเติบโตโดยการนํากากงาใสลงในอาหารสัตว ¾ เซซามิ นในน้ํ า มันงา ชว ยลดความดั นโลหิต ลดคลอเลสเตอรอล และต า น อนุมูลอิสระที่เปนผลใหเกิดมะเร็งผิวหนัง ¾ สารในกลุมลิกแนนสในน้ํามันงา ชวยลดระดับคลอเลสเตอรอลในเลือด ¾ น้ํามันงาชวยตานการอักเสบ ¾ ชวยใหผิวนวลเนียน

ประโยชนของงาในดานอื่นๆ 9 เปนยาอายุวัฒนะของญี่ปุน ไขไก 1 ฟอง ตอกใหแตกชงดวยน้ํารอน เติมน้ํารอน 1 ชอน โตะและน้ํามันงา 1 ชอนโตะ 9 บํารุงสมอง งาผง 1 สวน ใชผิวมะนาวประมาณ 1 สวน น้ํา vinegar 1-2 ชอนชา เคลาให เขากันรับประทาน 9 พิษสุราเรื้อรัง ใชนํามันงาผสมกับยาแกพิษสุราเรื้อรัง จะทําใหยาออกฤทธิ์ไดเร็วขึ้น 9 อาการเจ็บคอ คัดจมูก รับประทานงาบด 1 ชอนชา กอนนอน 9 น้ํามันงา ทาแกผิวแตก ผิวไหมเกรียม น้ํากัดเทา น้ํารอนลวก ผื่นคัน ปวดเขา ปวดเมื่อย ที่มา: คูมือพื้นฐานความรูสุขภาพสูเศรษฐกิจ, สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข

ผักปลอดสารพิษและวิธีการสังเกตผักปลอดสารพิษ ผักปลอดสารพิษ คือ ผักที่ปลูกโดยผานกระบวนการปองกัน และกําจัดศัตรูพืชผักดวยวิธีผสมผสาน ทั้งนี้เพื่อใหปลอดจากสารเคมี และใหไดผลผลิตที่ปลอดภัยจากสาพิษตกคาง การซื้อผักควรสังเกตลักษณะใบวามีแมลงกัดกินเปนรูหรือไม หากไม มี อ าจหมายถึ ง มี ก ารฉี ด พ น ยาฆ า แมลง เพื่ อ ความมั่ น ใจใน คุณภาพชีวิตที่ปลอดภัยจากสารปนเปอนตางๆ

1-101


เมื่อซื้อผักมาแลวควรนํามาจัดการทําความสะอาด อีกครั้ง ดวยวิธีการตางๆ เหลานี้ คือ วิธีที่ 1 ลอกหรือปอกเปลือกแลวแชน้ํา 5-10 นาที จากนั้นนําไปลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง

วิธีที่ 2 แชในน้ําปูนใส 10 นาที แลวลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง วิธีที่ 3 แชน้ําดางทับทิม 10 นาที โดยใชเกร็ดดางทับทิม 20-30 เกร็ด ผสมกับน้ํา 16 ถวย หรือ 4 ลิตร แลวลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง วิธีที่ 4 ลางโดยใชน้ําจากกอกไหลผาน 2 นาที วิธีที่ 5 แชน้ําเกลือเจือจาง 10 นาที โดยใชเกลือปน 1 ชอนโตะ ละลายกับน้ํา 16 ถวย หรือ 4 ลิตร แลวลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง วิธีที่ 6 แชน้ําสมสายชู 10 นาที โดยผสมน้ําสมสายชู 1 ชอนโตะ กับน้ํา 16 ถวย หรือ 4 ลิตร แลว ลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง วิธีที่ 7 แชน้ํายาลางผักหรือน้ําซาวขาว 10 นาที แลวลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง

ผัก พื้ น บ าน เป นคํ า ที่ คุ นเคยกั บ สัง คมไทยมานาน แต ก็ ดู เหมือนวาจะเริ่มเลือนรางลงไปบาง โดยเฉพาะในชวงที่คน ไทยหั น ไปบริ โ ภค ผั ก เศรษฐกิ จ จํ า พวกผั ก คะน า กวางตุ ง แตงกวา เพื่อหวังวาการบริโภคผักตามกระแสนิยมจะสงผลให สุขภาพที่ดี แข็งแรง แตตรงกันขามผักเหลานั้นแมจะมีคุณคา ทางอาหาร แตกระบวนการเพาะปลูกก็ไดเพิ่มสารอันตรายลง ไปในผักดวยเชนกัน สารเคมีตกคางตางๆ จึงเปนอันตรายตอ สุขภาพสะสมจนกลายเปนสาเหตุของโรครายที่ทําลายชีวิตคน

การหั น มาบริ โ ภคผั ก ที่ ขึ้ น ตามริ ม รั้ ว ริ ม ธาร ตาม กระบวนการธรรมชาติ ที่ ไ ม ต อ งจั ด การดู แ ล หรื อ กําจัดศัตรู ก็ทําใหไดรับประโยชนจากผักอยางเต็มที่ ผักพื้นบานที่นํามาประกอบอาหารอยูเปนประจําใน ครัวเรือนนั้นตางก็มีประโยชนอนันต เชื่อวาหลายคน ที่ไมเคยสนใจตองกลับมามองและบริโภคอยางเต็มใจ ทีเดียว

1-102


การกินอาหารตามกรุปเลือด มีรายละเอียดอยางไรบาง

เลือดกรุปเอ (A) ลักษณะเดนของคนกรุปเลือดเอ น้ํายอยในกระเพาะอาหารจะมีความเปน กรดต่ํา ทําใหไมเหมาะกับอาหารประเภทเนื้อ ควรเลี่ยงไปเปนเนื้อไกและ เนื้อปลาแทน ผักที่กินงายและมีประโยชนในการกระตุนภูมิคุมกัน ไดแก บล็อกโคลี่ แครอท ฟกทอง และผักโขม เมล็ดฟกทอง เมล็ดทานตะวัน อัล มอนต วอลนัท ถั่วลิสง ถั่วเลือง ควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทปลาเนื้อขาว พริก มันฝรั่ง กะหล่ําปลี มะเขือเทศ ผลไมพวกแตงโม แคนตาลูป กลวย มะมวง เพราะจะทําใหอาหารไมยอย

1-103


เลือดกรุปบี (B) ลั ก ษณะของคนที่ มี เ ลื อ ดกรุ ป บี ค อ นข า งผสมผสาน ร า งกายมี ก าร ตอบสนองไดดีมาก ทําใหเกิดประโยชนเต็มที่ อาหารที่เหมาะ คือ อาหาร ที่ทําจากเนื้อกระตาย แกะหรือกวาง อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง คือ เนื้อไก เพราะมีเลกตินชนิดที่นําไปสูอาการเสนเลือดในสมองตีบหรือเสนเลือด แดงแตกในสมอง นอกจากนี้ควรงดหอยเชลล ปลาแซลมอน กุง ปูและ หอยแครง ขาวโพด เนยแข็งที่มีรสเขมเพราะจะทําใหยอยยาก

เลือดกรุปเอบี (AB) ลักษณะของคนที่มีเลือดกรุปเอบี มีลักษณะการกินอาหารใหเหมาะสม คอนขางซับซอน เนื่องจากเปนผสมของลักษณะจากเลือดกรุปเอและบี อาหารที่เหมาะกับเลือดกรุปเอบีคือ อาหารมังสวิรัติ อาหารทะเล เตาหู เนื้อแดง แกะ กวาง กระตาย สับปะรด องุน พลัมและผลไมประเภทเบอร รี่ สวนอาหารที่ควรหลีกเลี่ยงคือ ปลาเนื้อขาว แซลมอนรมควัน ไสกรอก แฮม กลวย มะมวง ฝรั่ง ผลไมประเภทสม

เลือดกรุปโอ (O) ลักษณะเดนของคนที่มีเลือดกรุปโอ คือ น้ํายอยในระบบยอยอาหาร มีความเปนกรดสูง ซึ่งเหมาะกับอาหารประเภทเนื้อ ผลไมจะเปน พวกพรุน พลับ มะเดื่ อ สับ ปะรด แบล็ค เชอรรี่ และพวกเบอร รี่ ตา งๆ แตอาหารที่ ไมเ หมาะสมที่ จ ะสงผลเสี ยตอ รา งกายได ก็คื อ อาหารประเภทขาว ถั่ว นม แคนตาลูป สม สตรอเบอรรี่ มะพราว พืชตระกูลกะหล่ํา เห็ดหอม มะกอกดอง มะเขือยาว และมันฝรั่ง

1-104


ศิลปะพัฒนาความคิดสร างสรรค

ศิลปะพัฒ ฒนาความคิ ดสร างสรรค ศิลปะพั นาความคิ ดสร างสรรค

• ความคิดริเริ่ม (Originality) ชวยใหมีความคิดแปลกใหมเกิด การนําความรูเดิมมาคิดดัดแปลง และประยุกต ให เกิดเป็ นสิ่งใหม

• ความคล องแคล ว (Fluency) ชวยใหมีความคิดที่ไมซาํ ้ ใน เรื่องเดียวกันไม หมกมุน คิดวกวน สามารถ คิดได รวดเร็ว นํามาซึ่ง การพูดที่ คล องแคล ว และการกระทําที่รวดเร็ ว

• ความยืดหยุน (Flexibility) ชวยใหคิดไดหลากหลายมุมมอง ไม ซาํ ้ รู ปแบบหรื อกรอบคิด แบบเดิม ไม ยึดติด สามารถเห็นประโยชน ของสิ่งของ อย างหนึ่งว า มีอะไรบ าง ได หลายอย าง

• ความละเอียดลออ (Elaboration) ชวยใหมีความ พิถีพิถันในการตกแต งรายละเอียด ช างสังเกต ในสิ่งที่คนอื่นไม เห็น หรื อมองข าม

ศิลปะพัฒ ฒนาความคิ ดสร างสรรค ศิลปะพั นาความคิ ดสร างสรรค

•ความคิดริเริ่ม (Originality) • ช วยให มีความคิดแปลกใหม เกิดการดัดแปลง และประยุกต ให เกิด เป็ นสิ่งใหม

•ความคล องแคล ว (Fluency) • ช วยให คิดได รวดเร็ ว นํามาซึ่ง การพูดที่คล องแคล ว และการกระทําที่ รวดเร็ว

•ความยืดหยุน (Flexibility) • ช วยให คิดได หลากหลายมุมมองไม ซาํ ้ รู ปแบบ ไม ยึดติด

•ความละเอียดล(Elaboration) ช วยให มีความพิถีพิถันในการตกแต งรายละเอียด ช างสังเกต

1-105


ศิลปะพัฒนาอารมณ

ปะพัฒฒนาอารมณ นาอารมณ ศิศิลลปะพั • การนําศิลปะมาใช ในการพัฒนาอารมณ จะช วยให ผูท่ ีมีปัญหาทางด านอารมณ และจิตใจ ได ระบาย ปั ญหา ความคับข องใจ ความรู สึกที่ซอนเร นในใจ ผ านออกมาทางงานศิลปะ ระบายอารมณ ออกมา ในหนทางที่สร างสรรค ผ านการวาดรู ป ระบายสี การปั ้น และกระบวนการอื่นๆ ทางศิลปะ ช วยให รูสึกผ อนคลาย ลดความขุนมัวในจิตใจ เข าใจและ รับรูอารมณ ตางๆของตนเอง ที่ซอนเร นอยูภายใน จิตใจ สามารถยับยัง้ และควบคุมได ดีขึน้ มีสมาธิ ลดความตึง เครี ยด และความวิตกกังวลลงได ใ น ที่สุด

ช วยให ร ู สึกผ อนคลาย ลดความขุน มัวในจิตใจ ที่ซอนเร นอยูภายใน จิตใจ สามารถยับยัง้ และควบคุมได ดีขนึ ้ มี สมาธิ ลดความตึงเครี ยด และความ วิตกกังวลลงได ในที่สุด

1-106


ศิลปะเสริมสร างทักษะสั งคม

ศิลปะเสริมสร างทักษะสังคม •ศิลปะช วยให เรี ยนรูทักษะสังคมผ านการ ทํากิจกรรมศิลปะร วมกันเป็ นกลุม รู จัก การรอคอย ผลัดกันทํา ช วยเหลือซึ่งกัน และกัน นอกจากนีย้ งั เรี ยนรูท่ จี ะ แสดงออกซึ่งอารมณ ความรู สึก ความคิด ความต องการของตนเอง และ การเข าใจผูอ่ นื โดยใช ศิลปะเป็ นสื่อ

ศิ ลปะช วยให เรี ยนรู ทักษะสังคมผ านการทํา กิจกรรมศิ ลปะร ว มกันเป็ นกลุ ม รู จักการรอ คอย ผลัดกันทํา ช วยเหลือซึ่งกันและกัน เรี ยนรู ที่จะแสดงออกซึ่ ง อารมณ ความรู สึ ก ความคิด ความต องการของตนเอง และการ เข าใจผูอ่ นื โดยใช ศิลปะเป็ นสื่อ

1-107


ศิลปะพัฒนากล ามเนือ้ และการเคลื่อนไหว • ศิลปะตอบสนองการเคลื่อนไหวของร างกาย อย า งอิ ส ระ และเป็ นธรรมชาติ ต ามระดั บ พัฒนาการของเด็ก ทําให เกิดการเรี ยนรู และ พัฒนาของกล า มเนื อ้ และการประสานงาน การเคลื่อนไหวของร างกาย สามารถควบคุม การเคลื่ อ นไหวอย า งเป็ นขั น้ ตอนและเป็ น ระบบจนบรรลุเปาหมายงานที่กาํ หนดไว ได

ศิล ปะตอบสนองการเคลื่ อ นไหวของร างกาย อย างอิ ส ระ และเป็ นธรรมชาติ ต ามระดั บ พัฒนาการของเด็ก ทําให เ กิด การเรี ยนรู และ พัฒนาของกล ามเนือ้ และการประสานงานการ เคลื่ อ นไหวของร างกาย สามารถควบคุ มการ เคลื่อนไหวอย างเป็ นขัน้ ตอนและเป็ นระบบจน บรรลุเปาหมายงานที่กาํ หนดไว ได

1-108


ความเข าใจต อศิลปะบําบัดและการระบายสี

(Painting)

• การวาดภาพระบายสีในศิลปะบําบัด มุงเน นสารั ตถะต าง ๆ ดังนี ้ สี รู ปทรง เส น และบทเรี ยนในการบําบัด ทัง้ หมดนี ม้ ี ความสําคัญอันเนื่ องจากหลักการของศิลปะบําบัดในแนว มนุ ษย ปรั ชญา มองศิ ลปะเ ป็ นทั ้ ง การแส ดงออ ก (Expression) และความประทั บ ใจ (Impression) ดั ง นั ้น หลักการประการหนึ่ง ในการบําบัดโดยใช ศิลปะจึงเป็ นการ กระทําจากภายนอกร างกายเข าไปหลอมรวมสูภายใน เพื่อ สร างสมดุลหรื อขจัดภาวะติดขัด การถูกกดภายในให หลุด หรื อคลายออก โดยการคํานึ งอย างยิ่งยวดว า ศิลปะไม ได เป็ นเพียงแค ส่ ือ (Vehicle) แต เป็ นยาขนานเอก (Medicine) ที่ ช ว ยปรั บ สมดุ ล ขององค ป ระกอบต า ง ๆ อธิ บ ายได ใ น รายละเอียดได ดังนี ้

1-109


ทักษะ

อารมณ

สร างสรรค

กายจิตเป็ นสุข

ขอดีของการหัวเราะ

1-110


ระบบการหายใจ (Breathing) • ในระหว างที่หัวเราะ ทําให รางกายเกิ ด การเปลี่ยนถ ายออกซิเจน ฟอกเลือดดํา ให เป็ นเลือดแดง จึงทําให เซลล ประสาท หัวใจ ปอด คอ แข็งแรงขึ ้น • ปองกันโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ทัง้ ไข หวัด ภูมิแพ หอบหืด ไซนัส กรน ความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคปอด

ระบบทํางานของสมอง (Brains) • การหั วเราะ ช ว ยกระตุ น ควบคุ ม การหลั่ ง ของสารชีวเคมีตัวหนึ่งที่ช่ อ ื ว า เอ็นดอร ฟิ น ซึ่งเป็ นสารที่มีฤทธิ์ทาํ ให เกิดความสุข • การหั ว เราะ สมองจะมี ก ารถู ก กระตุ น ความคิ ด สร างสรรค มี ผ ลทํ า ให ร างกาย และจิตใจได รับการบําบัดและฟื ้ น ฟูอ ย าง รวดเร็ ว

ระบบการขับถ ายและการย อย (Digestion and Gastrointestinal) • เกิดการบริ หารกระเพาะและลําไส ทําให ระบบ ย อยอาหารและการขับถ ายทํางานดีขึ ้น • ป องกั น โรคอ วน โรคบู ลิ เ มี ย หน าท องหย อน ท องป อง โรคเบื่ ออาหาร กิ น ไม ลง ท องผู ก ท องเสีย โรคกระเพาะ โรคลําไส เป็ นต น

1-111


ระบบการเจริ ญพันธุ (Reproduction) • การหั ว เราะบํ า บั ด ทํ า ให ร างกายทุ ก ส วนขยั บ ขั บ เคลื่ อน ทํ า ให อารมณ ดี พั ฒ น า อ า ร ม ณ รั ก แ ล ะ ก า ร มี เพศสัมพันธ • ช วยป องกั น อาการ หงอยเหงา โดด เดี่ ยว ไม อยากเข าสั ง คม การเสื่ อม สมรรถภาพทางเพศ และการเข าสังคม

ระบบพักผ อนและผิวพรรณ (Rest and Skin system) • การหัวเราะการหัวเราะบําบัดช วยผ อนคลาย ความเครี ย ด ทํา ให เส นประสาท กล ามเนื อ ้ บริ เวณใบหน า ยืดหยุน ไม ตงึ หรื อเกร็ ง • ทําให รางกายเกิดการพักผ อน นอนหลับสนิท ผิ ว พรรณดี ไม เหี่ยวย น และไม เป็ นโรคทาง ผิ ว หนั ง ช วยให ร างกายและจิ ต ใจเกิ ดความ สงบ มีสมาธิมากขึ ้น

สัญชาติญาณการอยูรอด (Survival instinct) • การหั ว เราะบํ า บั ด ทํ า ให ร างกายเคลื่ อนไหว คล องแคล ว แข็ ง แรง ร างกายสร างภู มิ ค ุ มกั น กระตุน การทํา งานของเซลล ประสาท กระดู ก กล ามเนือ ้ • ปองกันโรคไขข อ โรคกระดูกต างๆ ทัง้ กระดูก พรุ น ปวดหลั ง ปวดเอว อ อนเปลี ย ้ เพลี ย แรง โรคซึ ม เศร า นอกจากนี ย ้ ั ง ช วยทํ า ลายสาร อนุมูลอิสระที่ทาํ ให เกิดโรคมะเร็งอีกด วย

1-112


ถั่วทอดสมุนไพรดีอยางไร??? 9ถั่ ว ลิ ส ง Æ ให ค วามอบอุ น เด็ ก กิ น แล ว เสริ ม ความจํา ชวยในการเจริญเติบโต สวนคนแกชวย บํารุงรางกาย บํารุงไขขอ 9ใบมะกรูด Æ ขับลม ทําใหเลือดลมไหลเวียน ดี รูสึกผอนคลาย

9กระเที ยม Æ บํ า ร ุงรา งกาย ลดความดัน ลด ไขมันและคอเลสเตอรอล ลดนํ้าตาลในเลือด แก อาหารไม ย อ ย ต อ ตา นเนื้ องอก และกํ า จัด พิ ษ ตะกัว่ 9ตะไคร Æ แกทอ งอื ดทองเฟอ ยาแกขบ ั ลม แกเบื่ออาหาร

9เกลือ Æ ดับรอนถอนพิษ ทําใหเลือดเย็น ***ผท  ู ี่มีอาการบวมนํ้าหรือเป็นโรคไต หัวใจหรือตับแข็ง ควรงดเกลือ

9พริก Æ มีแคลเซียม วิ ตามินซี และเบตาแคโร ที น ช ว ยบรรเทาอาการไขห วัด และทํ า ใหก าร หายใจสะดวกขึ้ น ชวยลดความดัน ชวยขับลม และชวยยอย 1-113


1.2 เอกสารประกอบการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1: สุขภาพกาย สุขภาพใจ เปนสุข ประกอบดวย 1) โปสเตอรประชาสัมพันธงาน 2) ใบสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพ 3) แบบประเมินการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1 4) สูจิบัตรที่ใชภายในงาน

1-114


โปสเตอรประชาสัมพันธงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1

พบกับกิจกรรมเพื่อสุขภาพบนเวที กินอยูอย างไรให อายุยืน 100 ปี รําสาว 90 เพื่อสุขภาพที่ดี วิธีรับมือกับความเครียด โดย อ.กสานติ์ วณิชชานนท ประธาน ชมรมหัวเราะบําบัดแห งประเทศไทย พูดเรื่องเพศอย างไรกับลูกให ได ผล โดย อ.นคร สันธิโยธิน และคณะ จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นอกจากนีย้ ังมีบูธนิทรรศการ/การสาธิตเพื่อสุขภาพ เช น บูธอาหารเมนู สุขภาพ บูธให ความรูดานสุขภาพ บูธระบายสีต ุกตาปูนปลาสเตอร ฯลฯ ฟรี! ตลอดงาน และรวมตอบคําถามสุขภาพชิงรางวัล

1-115


ใบสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพ อําเภอแกงคอย ชื่อ.................................................. นามสกุล............................................... อายุ .......... ป วัน/เดือน/ป เกิด.................................................................... อาชีพ .................................................... ที่อยูปจจุบนั บานเลขที่................... หมู........... ซอย....................................... ถนน..........................................ตําบล ................................. อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี เบอรโทรศัพทบาน......................................... เบอรมือถือ.............................................. ประเด็นสุขภาพที่ทานสนใจหรือตองการจะไดรับความรู .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... ประเด็นความรูเกี่ยวกับสุขภาพที่ทานทราบหรือมีความชํานาญ (เชน เรื่องสมุนไพร ผักพื้นบาน การทําลูก ประคบ การกินอาหาร การนวดเพื่อผอนคลาย การออกกําลังกาย โยคะ ไทเกก วิธจี ดั การกับความเครียด การ ผอนคลายจิตใจใหสงบ ฯลฯ) .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... การจัดตั้งเครือขายสุขภาพ อําเภอแกงคอยมีจุดมุงหมาย: 1) เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลดานสุขภาพของประชาชนในอําเภอแกงคอย 2) เพื่อหาแนวทางสนับสนุนการสรางสุขภาวะที่ดีใหแก ประชาชนในอําเภอแกงคอย ประโยชนที่จะไดรับจากการเปนสมาชิกเครือขาย: 1) ไดรับขอมูลดานสุขภาพทั้งดานกาย จิตใจ สังคม 2) ไดรูที่อยูผูรูเรื่องสุขภาพในพื้นที่อําเภอแกงคอยเพือ่ การขอขอมูลความรูที่ตองการ 3) ไดรวมกิจกรรมที่ทางเครือขายจะจัดขึ้น

ทานสามารถสงใบสมัครกลับคืนไดที่ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอแกงคอย/หรือรพ.สต.ใกลบานทาน

1-116


แบบประเมินผลการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1

1-117


สูจิบัตร

ดานนอกของสูจิบัตร U

ดานในของสูจบิ ัตร U

1-118


การจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2: การสรางสุขภาวะที่ดี การสรางสังคมเปนสุข

1-119


2.1 เอกสารประกอบการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2: การสรางสุขภาวะที่ดี การสรางสังคมเปน สุข ประกอบดวย 1) โปสเตอรประชาสัมพันธงาน 2) ใบสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพ 3) แบบประเมินการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2 4) สูจิบัตรที่ใชภายในงาน

1-120


โปสเตอรประชาสัมพันธงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2

1-121


ใบสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพ อําเภอแกงคอย ชื่อ.................................................. นามสกุล............................................... อายุ .......... ป วัน/เดือน/ป เกิด.................................................................... อาชีพ .................................................... ที่อยูปจจุบนั บานเลขที่................... หมู. .......... ซอย....................................... ถนน.......................................... ตําบล.................................อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี เบอรโทรศัพทบาน........................................เบอรมือถือ.............................................. ประเด็นสุขภาพทีท่ านสนใจหรือตองการจะไดรับความรู ............................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ประเด็นความรูเกี่ยวกับสุขภาพที่ทา นทราบหรือมีความชํานาญ (เชน เรื่องสมุนไพร ผักพืน้ บาน การทําลูก ประคบ การกินอาหาร การนวดเพื่อผอนคลาย การออกกําลังกาย โยคะ ไทเกก วิธจี ัดการกับความเครียด การ ผอนคลายจิตใจใหสงบ ฯลฯ) ............................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... การจัดตั้งเครือขายสุขภาพ อําเภอแกงคอยมีจุดมุงหมาย: 1) เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลดานสุขภาพของประชาชนในอําเภอแกงคอย 2) เพื่อหาแนวทางสนับสนุนการสรางสุขภาวะที่ดีใหแก ประชาชนในอําเภอแกงคอย ประโยชนที่จะไดรับจากการเปนสมาชิกเครือขาย: 1) ไดรับขอมูลดานสุขภาพทั้งดานกาย จิตใจ สังคม 2) ไดรูที่อยูผูรูเรื่องสุขภาพในพื้นทีอ่ ําเภอแกงคอยเพื่อการขอขอมูลความรูที่ตองการ 3) ไดรวมกิจกรรมที่ทางเครือขายจะจัดขึ้น

ทานสามารถสงใบสมัครกลับคืนไดที่ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอแกงคอย/หรือรพ.สต.ใกลบานทาน

1-122


แบบประเมินการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2

1-123


สูจิบัตร

ดานนอกของสูจิบัตร U

ดานในของสูจบิ ัตร U

1-124


บรรณานุกรม 1. “สุขภาพองครวมกับสุขภาพสังคม โดยพระไพศาล วิสาโล”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: www.visalo.org 2552. 2. “เรื่อง วาเลนไทนนี้ "วัยโจ" ตัง้ สติเรื่อง "เซ็กสๆ" ดวยเพศสัมพันธ "หวางหู" โดย อ.นคร สันธิโยธิน”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.matichon.co.th/index/news_detail.php?newsid=1297666931 &grpid 2554. 3. “การออกกําลังกายในผูสงู อายุ”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.scc.ac.th/index/student_web /1_48/elderly_club/aokkrulungkai001.html 2554. 4. “น้ําหมักชีวภาพ”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.kasedtakon.com/EM 2554. 5. “มะรุม ลดไขมันปองกันมะเร็ง”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.doctor.or.th/node/1245 2555. 6. “พุทธรักษาสมุนไพร”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.puttaraksa.108thai.com/ 2555. 7. “มะรุม พืชสมุนไพร แตไมใชยาวิเศษ”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.thaihealth.or.th/health content/news/9239 2552. 8. “สรรพคุณ...สมุนไพร”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_ 200.htm 2555. 9. “สรรพคุณของไมยราบ”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://student.swu.ac.th 2555. 10. “เตือนไมควรดื่มชาไมยราบ”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://202.143.141.162/web_offline/sa munpai/view.php-345.htm 2555. 11. “มะขามปอมวิตามินซี...และแทนนินสูง”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.oknation.net/blog/ diamond/2009/07/21/entry-1 2552. 12. “น้ํากระชายมีประโยชนมากมายมหาศาล”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.pantown.com/ board.php?id=10764&area=4&name=board11&topic=138&action=view 2551. 13. “กระชาย”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.tungsong.com/samunpai/drug/2_Krachay /krachay.html 2555. 14. “วานกาบหอย”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.doctor.or.th/node/5364 2552. 1-92


15. “กระชาย”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/กระชาย 2555. 16. “งาพันธุดีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.rdi.ku.ac.th/kaset research53/group06/jindarat_vee01/index_01.html 2553. 17. “งา ของดีมีประโยชน”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.cri.or.th/en/20100504.php 2553. 18. “มหัศจรรยแหงน้าํ มันรําขาว”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.น้าํ มันรําขาว.com/ 2555. 19. “แอลกอฮอล”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.vcharkarn.com/ article/41018 2555. 20. “เกลือกับจุลนิ ทรีย”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.paktho.ac.th /index science_new /file1/11-24.htm 2554. 21. “วานสมุนไพร”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://tonic001.blogspot.com/2010/09/blog-post_ 3834.html 2553. 22. “สารเรงซุปเปอร พด. 1”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.ldd.go.th/menu_5wonder/ pd_1.html 2555. 23. “สารเรงซุปเปอร พด. 2”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.ldd.go.th/menu_5wonder/ pd_2.html 2555. 24. “งา”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://it.doa.go.th/vichakan/news.php?newsid=21 2555. 25. “งา”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.php?lay=show&ac=article&Id=538680763 2554. 26. “ประโยชนของงาและน้าํ มันงา”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.pumedin.com.php?lay= show&ac=article&Id=538680763 2554 27. “มะกรูด”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.thaigoodview.com /library/contest2551 2551. 28. “มะกรูด”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.the-than.com/samonpai/sa.16html 2554.

1-93


สรุปภาพกิจกรรม การจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1: สุขภาพกาย สุขภาพใจ เปนสุข

2-2


1.1 บรรยากาศการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1 1.1.1 ภาพการประชุมเพื่อเตรียมงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1:

การประชุมเพื่อเตรียมจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1 จํานวน 3 ครั้ง ระหวางวันที่ 29 มีนาคม 2554 วันที่ 4 พฤษภาคม 2554 และวันที่ 25 พฤษภาคม 2554

2-3


1.1.2 บรรยากาศงาน

2-4


1.1.3 พิธีเปด

พิธีเปดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 1: สุภาพกาย สุขภาพใจ เปนสุข โดย อ.ดร.อุนเรือน เล็กนอย หัวหนาโครงการ กลาวรายงานการเปดงาน และมีนายชรัส บุญณสะ นายอําเภอแกงคอย จ.สระบุรี เปน ประธานในพิธีและกลาวเปดงาน 2-5


1.1.4 กิจกรรมบนเวที 1.4.1) กิจกรรมกินอยูอยางไรใหอายุยนื 100 ป

กิจกรรมกินอยูอยางไรใหอายุยืน 100 ป ผูสูงอายุ 2 ทาน ในภาพ คือ นาย สําอาง พานนอย อายุ 94 และนางจรูญ พานนอย อายุ 93 ป ชาวอําเภอแกงคอย มาพูดคุยถึงเรื่องราวการดําเนินชีวิตความ เปนอยู แนะนําและเลาถึงเคล็ดลับที่ทําใหมีอายุยืนยาว และมีสุขภาพดี 2-6


1.4.2) กิจกรรมรําสาว 90

กิจกรรมรําสาว 90 โดยกลุมชมรมแอโรบิค รําไทยประยุกตของผูสูงอายุตําบลทับกวาง ชวง อายุ ตั้ง แต 60-75 ป กิ จ กรรมเป น การออกกํ า ลัง กายประกอบดนตรีซึ่ ง มี ก ารดัด แปลงท า ทางและการ เคลื่อนไหวใหเหมาะกับการออกกําลังของผูสูงอายุ 2-7


1.4.3) กิจกรรมหัวเราะบําบัด

กิจกรรมวิธีรับมือกับความเครียด (หัวเราะบําบัด) โดย อ.กสานติ์ วณิชชานนท ประธานชมรม หัวเราะบําบัด การบรรยายประกอบกับการสาธิตและฝกทาหัวเราะในหลายทา โดยมีสาธารณสุขอําเภอ แกงคอยจํารัส ประสิว เปนผูมอบของที่ระลึกใหแกวิทยากร 2-8


1.4.4) กิจกรรม “พูดเรื่องเพศอยางไรกับลูกใหไดผล”

กิจกรรม “พูดเรื่องเพศอยางไรกับลูกใหไดผล” โดย อาจารยนคร สันธิโยธิน โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย และ อาจารยจรูญรัตน สุวรรณภูสิทธ ที่ปรึกษาโรงเรียนนานาชาติโรสแมรี่อะคาเดมี่ บรรยายการใชสื่อการสอนในหลายรูปแบบ เชน วิดีโอประกอบการสอน แผนพับ หนังสือ ตุกตา แบบจําลอง พรอมทั้งชวนเด็กพูดคุยเพื่อใหเด็กมีโอกาสไดแสดงความคิดเห็น และพิธีมอบของที่ระลึกใหกับวิทยากรทั้ง สองทาน โดยสาธารณสุขอําเภอแกงคอยจํารัส ประสิว 2-9


1.4.5) กิจกรรมตอบคําถามสุขภาพ

กิจกรรมตอบคําถามสุขภาพ โดยปราชญชาวบานจากบูธสาธิตตางๆ มาเปนผูตั้งคําถามและ ใหผูเขารวมกิจกรรมภายในงานเปนผูตอบคําถาม มีของรางวัลซึ่งเปนสินคาเพื่อสุขภาพ ไดแก ขาวกลอง งอก น้ํามันทานตะวัน ขาวธัญพืช เปนตน 2-10


1.1.5 บูธนิทรรศการ / การสาธิต / สินคาสุขภาพ / บอรดนิทรรศการ

บูธ นิ ท รรศการศิ ล ปะบํ า บั ด ใจใหเ ป น สุ ข จากสถาบั น วิจั ย สั ง คม จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย โดย ภายในบูธจะมีตุกตาปูนปลาสเตอรใหเด็กๆ ไดระบายสี มีสรอยขอมือลูกปดแบบแยกสวนใหบุคคลทุกเพศ ทุกวัยไดใชจินตนาการในการรอย นอกจากนี้ในบูธนี้เปนบูธรับสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพแกผูสนใจดวย

2-11


เด็กๆ เขารวมกิจกรรมศิลปะบําบัดใจใหเปนสุข โดยมีการรอยสรอยขอมือและระบายสีปูนปลาสเตอร อยางสนุกสนาน

2-12


การสมัครสมาชิกเครือขายสุขภาพ และรับสูจิบัตรเพื่อเขาชมกิจกรรมภายในงาน

2-13


ภาพบน บูธสาธิตสาธิตการทําน้ํามันงา และผลิตภัณฑกอนจุลนิ ทรียบ ําบัดน้าํ เสีย ภาพล า ง บูธ จํ า หน า ยสิ น ค า ผลิ ตภั ณ ฑส มุน ไพร เช น ถั่ว ทอดสมุน ไพร กระเที ย มทอด หมู ท อด สมุนไพร หอมทอด เปนตน และจําหนายผักปลอดสารพิษโดยศูนยไรที่พึงคนทับกวาง 2-14


บูธจําหนายสินคาผลิตภัณฑทที่ ําจากสมุนไพรกลอย และเห็ดปลอดสารพิษ

2-15


ภาพบน บูธจําหนายน้าํ มันมะพราว และบูธสาธิตการทําผลิตภัณฑสมุนไพร โดยมีคูมือ อุปกรณ ตัวอยาง ใชสาํ หรับการสอน ภาพลาง สาธิตและบริการการนวดแผนไทย พรอมทั้งบอรดใหความรูสขุ ภาพในดานประโยชนของ การนวด

2-16


บูธสาธิตการทําลูกประคบ พรอมทั้งบอรดใหความรูวิธีการทํา และสรรพคุณของการใชสมุนไพรมา ทําลูกประคบ นอกจากนี้ภายในบูธยังมีบอรดใหความรูเกี่ยวกับนวัตกรรมการดูแลผูปวยโรคเรื้อรัง และ นวัตกรรมปบดักยุง

2-17


บูธนิทรรศการเพื่อรณรงคใหคนไทยปรับพฤติกรรมการบริโภค ภายในบูธมีการใหความรูในเรื่อง ประโยชน แ ละสรรพคุ ณ ของผั ก และผลไมพื้น บา นจากเครื อขา ยภู เ ขาเขีย ว มี ก ารแนะนํ า อาหารที่ควร รั บ ประทานและไม ค วรรั บ ประทาน วิ ธี ล ะลายไขมั น นอกจากนี้ ยั ง มี บ อร ด การให ค วามรู ใ นเรื่ อ งของ โรคเบาหวานและอาการไตเสื่อม

2-18


บูธนิทรรศการความดันกับStroke และตรวจวัดบริการใหฟรี ใหคําแนะนําเกี่ยวกับสุขภาพและบอรด แนะนําน้ําผักและผลไมปนที่เปนเมนูรักษาสุขภาพ รวมถึงเทคนิคความรูการดูแลสุขภาพ และการพึ่งตนเอง ดานสุขภาพ

2-19


บูธการดูแลผูสูงอายุอยางครบวงจร โดยหลัก 11 อ. ไดแก อาหาร ออกกําลังกาย อนามัย อุจจาระ และปสสาวะ อากาศและแสงอาทิตย อารมณ อดิเรก อนาคต อบอุน สุดทายคืออุบัติเหตุ

ภาพซาย บูธสุขภาพดีวิถีไทยและหลักดูแลสุขภาพตามแบบวิถีพุทธ โดยอธิบายความรูการดูแล ตัวเองแบบชีวจิต ภาพขวา บอรดแสดงความรูสุขภาพจากสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เชน การแพทย ทางเลือก ประโยชนของงา ประโยชนของการดื่มน้ําและชาเขียว น้ํากับการรับประทานยา การปฏิบัติตัวเมื่อปวยเปนโรคเอดส ความเครียดและไมเกรน การรับประทานอาหารตามกรุป เลือด และความรูเกี่ยวกับยาดอง 2-20


สรุปภาพกิจกรรม การจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2: การสรางสุขภาวะที่ดี การสรางสังคมเปนสุข

2-21


1.2 บรรยากาศการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2 1.2.1 ภาพการประชุมเพื่อเตรียมงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1:

การประชุมเพือ่ เตรียมจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 จํานวน 2 ครั้ง ระหวางวันที่ 11 พ.ย. 2554 และ วันที่ 7 ธันวาคม 2554 2-22


1.2.2 บรรยากาศการเตรียมงาน

บรรยากาศการเตรียมสถานที่สําหรับการจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 โดยเขาพบกับ อ.ปยะพงษ แวนสุวรรณ จากโรงเรียนวัดหวยคงคาวราวาส เพื่อจัดเตรียมพิธีเปดงานมหกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2 (ภาพ บนสุด) และการเลือกพื้นที่ในการจัดงานกับคณะทํางานในพื้นที่ (ภาพลาง) 2-23


1.2.3 บรรยากาศภายในงานโดยรวม

2-24


1.2.4 พิธีเปด

พิธีเปดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2: การสรางสุขภาวะที่ดี การสรางสังคมเปนสุข โดย อ.ดร.อุนเรือน เล็กนอย หัวหนาโครงการ กลาวรายงานการเปดงาน และมีทานปลัดสรวัตต แสนปญญา (ปลัดอาวุโสอําเภอ แกงคอย จ.สระบุรี) เปนประธานในพิธีและกลาวเปดงาน พรอมทั้งชมการแสดงชุดรําเรือมตล็อก (รํากะลา) นักเรียนของโรงเรียนวัดหวยคงคาวราวาส 2-25


1.2.5 บูธนิทรรศการภายในงาน 1) บูธนิทรรศการธนาคารขยะในโรงเรียน (โรงเรียนวัดบุรีการาม)

2-26


2) บูธนิทรรศการปาชุมชน (โรงเรียนวัดพระพุทธบาทนอยมิตรภาพที่ 69)

2-27


3) บูธนิทรรศการการเดินปาศึกษาธรรมชาติตามเสนทางเดินปา (สถานีพัฒนาและสงเสริม การ-อนุรักษสัตวปาสระบุรี)

2-28


4) บูธนิทรรศการการทําเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

2-29


5) บู ธ นิ ท รรศการการทํ า น้ํ า หมั ก ชี ว ภาพจากหน อ กล ว ย ไข และปลา รวมถึ ง วิ ธี ก ารทํ า ผลิตภัณฑจากสมุนไพร

2-30


6) บูธนิทรรศการสมุนไพรสปา

2-31


7) บูธนิทรรศการนวดแผนไทยและสมุนไพรทําลูกประคบ

2-32


8) บูธสาธิตการทําพรมเช็ดเทา

2-33


9) บูธสาธิตการจักสานและสาธิตการทํานม (โรงเรียนวัดหวยคงคาวราวาส)

2-34


10) บูธนิทรรศการสมุนไพรพึง่ พาตนเอง

2-35


11) บู ธคณะทํ างานสถาบั นวิ จั ยสั งคม จุ ฬาฯ เพื่ อรั บสมั ครสมาชิ กเครื อข ายสุ ขภาพและ ประเมินผลการจัดงาน

ประชาชนในอําเภอแกงคอยรวมรับฟงคําชี้แจงจากผูชวยนักวิจัยของโครงการฯและประเมิน การจัดงานมหกรรมสุขภาพครั้งที่ 2 และสวนหนึ่งรวมสมัครเปนสมาชิกเครือขายสุขภาพ 2-36


1.3 บรรยากาศการออกภาคสนามเพื่อสํารวจผูรูในพืน้ ที่อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี

ประมวลภาพการสัมภาษณผูรูหรือปราชญชาวบานตามตําบลตางๆ ของอําเภอแกงคอย 2-37


1.1 ก ก ก 1: ! ! ! ก

! ก

ก$ ก &' $ (ก )

*+, ก - *+, ก$ ก ($ 1 ) *+ ก$ ก ก$ &3 3 4 ) * 5 100 6 ก - 1 90 7 ก *3 8&) & * $' 5 ก 7 9 ก

:$; <$==

9 ก “ก & 5! ( 3 4 ก &ก )4 )8 ” 7 9 '$ 7 '$

ก '$::3 > =3 ก 1 &3 * 4 8 $ : , < ?9 ก * 4 & ก

@1 @1 ) ก -8 4 A A , :3

ก *+, @ ! 1

" # "$ % & ഥ) (࢞

S.D.

ก $+ &

3.38 2.84

1.121

ก 1.014

3.72

.996

3.75

.950

3.84

.910

3.89

.908

3.80

.898

3.71

.936

3.71

1.057 ก

3.91

.948

* ก<?9ก - ก 3 C ! ! 1

<4 ) @ 3 C ! 3 1.00 - 1.80 &3 ) ก 3 C ! 3 1.81 - 2.60 &3 ) 3 C ! 3 2.61 - 3.40 &3

ก 3 C ! 3 3.41 - 4.20 &3 ก 3 C ! 3 4.21 - 5.00 &3 ก ! *

)

! ก ก *+, @ ! 1 , 3 ก *3 : 3 :3 ก

ก 7 -

C ! + ก &' $ (ก )

*+, ก - *+, 3.72 -

-

C ! )

ก$ ก ($ 1 ) *+ 3.75 -

-

C ! + ก$ ก ก$ &3 3 4 ) * 100 6 3.84 -

-

C ! ก - 1 90 3.89 3-2


-

-

C ! р╕Б &) $' 5 р╕Б 3.80 -

-

C ! р╕Б 5! ( 3.71 -

-

C ! р╕Б '$ : 8 $ :, < ?9 :3 > 3.71 -

- -

C ! , +

3.91 -

@ @ р╕Б

р╕Б @ р╕Б *3 : 3 - $ D :3 р╕Б

-

! ! =)

7 &3

р╕Б E ! 3 F3 3

!

- р╕Б$ 4 4 3 8&) +) 3

! 1

р╕Б4 ) @ 4 3 :) 9 1

р╕Б, р╕Б @ @ +) - 3

! )р╕Б ) + р╕Б 3

@ - 1 &'4 р╕Б 5! 4 3- -р╕Б3

!

)

р╕Б

р╕Б *3 : 3 ) D 3 + р╕Б = '9 ! 1 )= )

4 3р╕Б ) 3

5! р╕Б р╕Б 3 G р╕Б

C 3

! 8$ = 3

@

3 4 р╕БD р╕Б *3 : 3 G 1

р╕Б ! 3 :) р╕Б ) р╕Б *+, @:3 4 5! > G

1 * р╕Б 6 - р╕Б ) 1 4 =* = / &3 )

) 5! 1 +) & &) :3 > ) * + , 4 *р╕Б:9 =) = $: 1

1.2 р╕Б + " р╕Б р╕Б 2 1.2.1 ! - р╕Б р╕Б 2 ! ! ! р╕Б

! р╕Б

р╕Б $ (р╕Б 3 р╕Б ) $р╕Б 5 1

р╕Б+ 8&)

,

р╕Б *+,

" # "$ % & р┤е) (рвЮ

S.D.

3.18 3.14 3.63 3.45 3.86

1.14 0.83 1.09 1.06 0.89

р╕Б $+ &

р╕Б

р╕Б р╕Б р╕Б р╕Б

* р╕Б<?9р╕Б - р╕Б 3 C ! ! 1

<4 ) @ 3 C ! 3 1.00 - 1.80 &3 ) р╕Б 3 C ! 3 1.81 - 2.60 &3 ) 3 C ! 3 2.61 - 3.40 &3

р╕Б 3 C ! 3 3.41 - 4.20 &3 р╕Б 3 C ! 3 4.21 - 5.00 &3 р╕Б ! *

3-3


กก 1 + 8&) +) 3

! :3 ก

ก *+, @ ! 2 3

8&) +) 3

ก *+, @ ! 2 , ก 7 -

C ! ! 3.86 ก ) $ ก / 1

ก+ 8&)

G 3 ก ! -

3.45 - ก $ (ก @ @ 3 3 ก ! -

3.63 @ @ 8&) +) 3

)+) - )

:3 > 4 ) @ )

-

!ก

ก ! -

3.18 - 3.13 : 1 7 ) $ D 3

3 +) @ -

! ก

4 3 ก 3 ! :) ก ) !

! 5! ) =* = 5! > +) 3

4 ) )

ก = '9 8&): - - 3 ก = '9ก3 ก

$ (ก ) ก+ @ 5! )=* = +) 3 3 4 ) - - ) ก $ (ก )= 5! )8&) +) 3

+) - : * 9+ ก

3 - ) $ ก, ก 3 4 ) 3 ก

ก *+, @ ! 2 G 4 3 3 7 8&): - 1

ก - :) ก ) ก *+, - @ G 1 - :) ก ) 3 ) 6 2 @

3-4


1.2.2 ./$ "+ "0&1 2 3 / # р╕Бр╕Б / - р╕Б 2 4р╕Б

$ (р╕Б '

=* =

$ (р╕Б '

+ 7

$ (р╕Б I =* =

$ (р╕Б р╕Б $ I ( р╕Б J ' = :$ : ) $ I

$ (р╕Б р╕БJ: : - ( JKр╕Б$

$ (р╕Б @1 р╕Б = ,

$ (р╕Б :) = =

$ (р╕Б * 4

$ (р╕Б -8 4

$ (р╕Б * 4 ( JKр╕Б$ '$: 1 =D )

'$:р╕Б р╕Б

- '$:р╕Б 1 :) &)

" # "$

% & ./ р┤е) (рвЮ

S.D.

р╕Б $+ &

" # "$ % & 5 3++ "& р╕Б 2!1/ р┤е) (рвЮ

S.D.

р╕Б $+ &

3.59 3.72 3.40

1.10 4 ) 7 = 9/ &) р╕Б 1.12 4 ) 7 = 9/ &) р╕Б 1.14 4 ) 7 = 9/ &)

р╕Б

3.54 3.59 3.27

1.14 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 0.96 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 0.98 1 4 *р╕Б:9 =)

р╕Б

3.77

1.02 4 ) 7 = 9/ &) р╕Б

3.63

1.05

1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б

3.86 3.63 3.22 3.40 3.72 3.86 3.68 3.54

0.89 0.90 1.23 1.05 1.08 0.89 0.99 1.06

4 ) 7 = 9/ &) р╕Б

3.77 3.54 3.45 3.54 3.63 3.77 3.59 3.54

0.97 1.01 1.30 1.10 1.09 0.81 1.01 1.06

1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б

4 ) 7 = 9/ &) р╕Б 4 ) 7 = 9/ &)

р╕Б 4 ) 7 = 9/ &)

р╕Б 4 ) 7 = 9/ &) р╕Б 4 ) 7 = 9/ &) р╕Б 4 ) 7 = 9/ &) р╕Б 4 ) 7 = 9/ &) р╕Б

1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б

* р╕Б<?9р╕Б - р╕Б 3 C ! ! 1

<4 ) @ 3 C ! 3 1.00 - 1.80 7 = 9- &) 3 C ! 3 1.81 - 2.60 7 = 9- &) 3 C ! 3 2.61 - 3.40 7 = 9- &) 3 C ! 3 3.41 - 4.20 7 = 9- &) 3 C ! 3 4.21 - 5.00 7 = 9- &)

!4 ) &3 ) р╕Б/ 1 4 *р╕Б:9 =) ) р╕Б !4 ) &3 ) / 1 4 *р╕Б:9 =) ) !4 ) &3

р╕Б / 1 4 *р╕Б:9 =)

р╕Б !4 ) &3 р╕Б/ 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б !4 ) &3 р╕Б ! * / 1 4 *р╕Б:9 =) р╕Б ! *

3-5


1 D )

&)- 7 = 9 !4 ) - ก 1 4 *ก:9 =) กก

ก *+, @ ! 2 3 3 F38&): - &) ก 3 : 4 ) 7 = 9- &) กก +) 3

ก * + , G 3 ก - 1 7 = 9 - &) ก 3 4 *ก:9 =)4 ) 3 ก 7 $ (ก ! -

& ! * 1 - ก @ 1 ! ! $ (ก กJ: : - ( JKก$ - $ (ก * 4 ( JKก$ -

C ! + 7 = 9- &) !4 ) ก ! 3.86 -

3 7 = 9- 4 ) &) G 3 ก - -

C ! + ก 1 4 *ก:9 =) ก ! 3.77 -

E ! 3 1 &) ก 3 4 *ก:9 =)ก = $ : 1 + : 4 ) G 3 ก @ @ G $ (ก ก 3 G ก 1 = F

( JKก$ =) = $: 1 5! )= $:: @ &3K

+ ก ! : 3 - ! - 1 = $: &34 ) 5@ !+ : E ! + ก ก - 7 ก ,$ : 9 L * ! G

$7, $ / *

$ &

1 4 &3, @ $ - ก -+3 + ก 3 4 3 ! $@ * E ! =F ก = 1 ก 3 ก G :) - + ก M$ :$: 4 ) 3 *+- “ &3 ก$ ” 1 ! 4 )-ก3 $ (ก ก $ I ( กJ ' = :$ 7 8&): - D 3 $ (ก $ I ( กJ ' = :$ G 7 = 9- ) &) G 3 ก ! -

3.77 - -

C ! + ก 1 4 *ก:9 =) ! 3.63 -

- 3 ก 1 4 *ก:9 =)4 ) G 3 ก $ (ก ก 3 4 ) 1 $ = $:+ : 9 I :3 > $ : 9 I ก ) &F '*9 - : 9 I G :) 8

- : 3 : 9 I (Stuffed Animals) - , 3 E ! & ) 8&) +) 3

4 ) &)- 8 ' = :$ 3 - ) $ ก @ =3 ) = *3 3 &)ก * กJ9 ' = :$ ) 1 ! $ (ก -8 4 - $ (ก '

+ 7 E ! -

+ 7 = 9 / &) !4 ) &3 ! 3.72 -

3 4 ) 7 = 9 - &) ก $ (ก ก 3 G 3 ก - $ (ก ก 3 กD 1 4 *ก:9 =)4 ) G 3 ก ! -

3.63 - 3.59 : 1 7 G ก -8 4 G ก 83 4 ) G

3 ก $' ! +< ! 7 ก '

+ กD G ก * ก - ก+ =* = E ! 1 4 ) 7 4 3:) ! $ *

1.3 ก + " ก ! กก

ก *+, : * 9 5! ) = = : ก ก &- กJ *+, @ 3 ก - $:

1 4 &3ก ) 8&) &) )

*+, =* = E ! ก

ก *+, ก 3 1

)ก *3 ] 4 )- ก ! - &) $' ก กJ *+, 5@ :) - G ก 8&) &) )

3-6


*+, =* = 3 G กJ<9 กJ 5! 7 = 9-ก38&) !:) ก &) )

ก - 9-8 4 - - 9 5 ก E ! L * 4 ) 5 4 3 +) ก ก 4 $! 3

@ 1 4 &3 *+ , ! * , 3 ก 1 $ ก

ก *+, @ ! 1 - 2 8&) +) 3

:3 ก

G 3 ก 7 ก

ก *+, @ ! 1 8&): - 3

F3 - ก$ ก :3 > 3 8 )8&) +) 3

3 +) G 5 +3 =$ก *+, 7 C 3 $! =$ก 5 +3 ก:1 ) - ) ! ) G 3 ก 1 4 &3 ก

ก *+, @ ! 2 :1 ) - ) * ก ก @8&) +) 3 3 F3

ก *+, @ ! 1 กD ) 3 5 G 3 ก

ก *+, @ ! 2 @ )

- :$ : ก

) ก @ ก ก *+, @ ! 1 - @ ! 2 3 8&) +) 3

4 )- $ ก กJ

*+, 4 M$ :$ =3 ก &ก 5= 5@ )

$J ก 1 ) : ก 1

@1 ก ก * 4 $' ก &- *+, : )-+D - 5! & * G :) - 5 - 3 ) =* = 5! - ก ! &)-

ก 5! ) ก$ =* =

3 4 กD: ก

ก *+, @ ! 1 - 2 +) * )

! !4 3 1

ก 3 ! ก $! ก = '9 )ก ) + - ! ก $! + @

5! ) = = :1 ก ) +) 3

4 ) - 5! G ก ^

5 +3 *+, ) ! - ก ) + + @ :3 4

:

3-7



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.