ผลงานรายวิชาการการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4

Page 1

ระบบเทคโนโลยีทีซับซ้อน ระบบเทคโนโลยีของตู้เย็น

ตัวปอน

(input)

พลังงานไฟฟ าให ความเย็น

กระบวนการ (proces)

เปลี่ยนพลังงานไฟฟ า เป็ นพลังงานความเย็น

ข้อมูลย้อนกลับ (feedback)

เป็ นขอมูลเพื่อสงใหระบบการตัด ไฟทํางานเมื่อความเย็นคงที่

ผลผลิต

(output)

ความเย็นอาหาร ที่แช


การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี โทรทัศน์

1960s

1970s

1980s

2000s

ปั จจุบัน


ผลกระทบของเทคโนโลยี ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อมนุษย์และสังคม

ด้านบวก การผลิตสินคาในปั จจุบันตองการผลิต สินคาจํานวนมาก มีคุรภาพ มีมาตรฐาน ซึ่งในปั จจุบันใชเครื่องจักรทํางานอยา งอัตดนมัติ สามารถทํางานตลอด24 ชม.

ด้านลบ ควันจากโรงงานอุตสาหกรรมทําใหโลก รอน


ไม้(wood)

ประเภทของไม้

คุณสมบัติของไม้

ไม้แบ่งออกได้เปน 3 ประเภท ได้แก่ 1. ไม้เนือแข็ง มีความแข็งแรงสูงกว่า 1000 กิโลกรัมต่อตาราง เซนติเมตร มีความทนทานสูงกว่า 6 ป ได้แก่ ไม้เคียม ไม้แอ๊ก ไม้ หลุมพอ ไม้เสลา 2. ไม้เนือแข็งปานกลาง มีความแข็งแรง 600 ถึง 1000 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทาน 6 ป ได้แก่ ไม้เหียง ไม้รกฟา ไม้ ยูง ไม้มะค่าแต้ 3. ไม้เนืออ่อน มีความแข็งแรงตํากว่า 600 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทานตํากว่า 2 ป ได้แก่ ไม้อินทนิล ไม้สัก ไม้ยางแดง ไม้พะยอ

ไม้เกิดจากต้นไม้หลายชนิด คุณสมบัติในด้าน ต่างๆ ทีจะนํามาใช้ประโยชน์ จึงมีความแตกต่าง กันไป ไม้แต่ละชนิดย่อมเหมาะสมกับงานแต่ละ อย่างมากน้อยไม่เหมือนกัน ในงานก่อสร้าง เรา มักคํานึงถึงความแข็งแรง และความทนทาน ใน ประดิษฐกรรม เครองเรอน หรอส่วนประกอบ เครองจักรกล ซึงต้องการความสวยงาม และแนบ เนียนในการเข้าไม้ เราอาจคํานึงถึงลวดลายในไม้ การหด หรอการพองตัว ความยากง่ายในการไส กบตกแต่ง

ประโยชน์ของไม้ ในแง่ของการใช้ประโยชน์ ไม้ให้ประโยชน์มากมายหลายอย่าง แต่ก่อนทีจะนําไปใช้ประโยชน์ได้จรงๆ มักจะต้องผ่านกรรมวธี ในการแปรรู ปก่อน ดังนัน จึงทําให้เกิดอุตสาหกรรมทีเกียวกับ การแปรรู ปไม้ได้มากมาย ก่อเกิดประโยชน์ในการใช้เปนอเนก ประการ สามารถสร้างทีอยู่อาศัย ทีเปนส่วนประกอบสําคัญ ได้แก่ วงกบ ประตูหน้าต่าง บานประตูหน้าต่าง แม่บันได ขันบันได พืนในร่ม ใช้ทําเครองเรอน และเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ


ประเภทหลักของเลือย เลือย ( Saw ) เปนเครืองมือพืนฐานอีกอย่าง หนึงสําหรับงานช่างในบ้าน ประโยชน์หลักๆก็คือ ใช้ตัดหรือซอยชินงานให้ได้ขนาดตามต้องการ

เครืองมือสําหรับการ ตัด

เราจะเห็นเลือยชนิดนีบ่อยทีสุด เปนเลือยทีมีมือจับตอน โคน มีขนาด 22 นิว และ 24 นิว ใช้สําหรับงานตัดไม้ ตัดขวางเนือไม้ เพือให้เกิดรอยตัดทีเรยบ หรอตัดตาม แนวยาวของเนือไม้ ใบเลือยทํามาจากใบเหล็ก

วิธีการเลือย เมือจรดใบเลือยลงตรงจุดทีจะเลือยแล้ว เริมดึงเลือยขึนเข้ามาหาตัวโดยไม่ต้อง ออกแรงมาก - กดใบเลือยลงไปช่วงนีถึงออกแรง เพือให้ ใบเลือยกินเข้าไปในเนือวัตถุทีจะเลือย

ลักษณะการเลือย เลือยตัด คือเลือยสําหรับตัดตามขวางของลายไม้ ทีทางเลือยไม่ยาวมากนัก เช่นการเลือยตัดไม้เปน ท่อนๆ การเลือยตัด ควรจ้บใบเลือยให้ทํามุม ประมาณ 45 องศา กับวัตถุทีจะเลือย 2. เลือยโกรก คือเลือยตามขนานของลายไม้ หรอ เลือยวัตถุทีทางเลือยลึกยาวมากๆ เช่น การเลือย แบ่งไม้อัดเปน 2 แผ่น การเลือยโกรก ควรจ้บใบ เลือยให้ทํามุมประมาณ 60 องศา กับวัตถุทีจะ เลือย


เฟอง(Gears) ชนิดของเฟือง 1. เฟองตรง (Spur Gears) 2. เฟองสะพาน (Rack Gears) 3. เฟองวงแหวน (Internal Gears) 4. เฟองเฉียง (Helical Gears) 5. เฟองเฉียงก้างปลา (Herringbone Gears) 6. เฟองดอกจอก (Bevel Gears) 7. เฟองตัวหนอน (Worm Gears) 8. เฟองเกลียวสกรู (Spiral Gears)

วิธีการผลิตเฟือง

1. การปั มขึนรู ป 2. การทําโมลด์พลาสติก 3. การหล่อ 4. การตัดเลเซอร์

5. การแปรรู ปด้วยเครื่องจักร


อุปกรณไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสมอเตอร ความหมายของเมอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟา (electric motor) เปนอุปกรณ์ไฟฟาทีแปลงพลังงาน ไฟฟาเปนพลังงานกลการทํางาน ปกติของมอเตอร์ไฟฟาส่วนใหญ่ เกิดจากการทํางานร่วมกันระหว่าง สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กในตัว มอเตอร์ และสนามแม่เหล็กทีเกิด จากกระแสในขดลวดทําให้เกิดแรง ดูดและแรงผลักของสนามแม่เหล็ก ทังสอง ในการใช้งานตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมการขนส่งใช้ มอเตอร์ฉด ุ ลากเปนต้น

โครงสร้างมอเตอร์ โรเตอร์ (Rotor) ขดลวด (Windings) สเตเตอร์ (Stator) ตัวสับเปลียน (Commutator)

การนําไปใช้ มอเตอร์ไฟฟา (electric motor) เปน อุปกรณ์ไฟฟาทีแปลงพลังงานไฟฟาเปน พลังงานกล การทํางานปกติของมอเตอร์ไฟฟาส่วน ใหญ่เกิดจากการทํางานร่วมกันระหว่าง สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กในตัวมอเตอร์ และสนามแม่เหล็กทีเกิดจากกระแสในขด ลวดทําให้เกิดแรงดูดและแรงผลักของ สนามแม่เหล็กทังสอง ในการใช้งาน ตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมการขนส่งใช้ มอเตอร์ฉุดลากเปนต้น


ผลกระทบทาง เทคโนโลยี

ฝนกรด คือ นําฝนทีรวมตัวกันกับแก๊ส ออกไซด์ของvโลหะบางชนิดในอากาศ เกิดเปน สารละลายทีมีสมบัติเปนกรด และมีความเปนก รดอยูใ่ นช่วง pH = 3-5 สาเหตุของฝนกรดคือ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และ ออกไซด์ ของไนโตรเจน (NOx) ซึงเกิดจากการเผาไหม้ เชือเพลิงในเครืองยนต์และโรงงานต่างๆ แล้ว ถูกปล่อยสูบ ่ รรยากาศ และเกิดการทําปฏิกิรย ิ า กับนํา ออกซิเจน และสารเคมีอืนๆ ก่อให้เกิด สารประกอบทีเปนกรดซัลฟุ รก ิ และกรดไนตริก ซึงมีแสงอาทิตย์เปนตัวเร่งปฏิกิรย ิ า

Wash your hands. Stay at home. Limit all your nonessential travels. 1.ทําให้ดน ิ เปนกรดเพิมขึน มีผล ต่อการเพาะปลูก เช่น ผลผลิต ของพืชน้อยกว่า ปกติ

Check your temperature. ผลกระทบของฝนกรด

Watch for other symptoms. 2.ฝนกรดทําให้ดน ิ เปรียวจุลินทรีย์ หลายชนิดในดินทีมีประโยชน์ต่อการ เจริญเติบโตของพืชถูกทําลาย ซึงจะ มีผลกระทบในแง่การย่อยสลาย ใน ดินและการเจริญเติบโตของพืช

Practice social distancing. 3.ฝนกรดสามารถทําปฏิกิรย ิ า กับธาตุอาหารทีสําคัญของพืช เช่น แคลเซียม, ไน เตรต,แมกนีเซียม และ โพแทสเซียม ทําให้พช ื ไม่สามารถ นําธาตุอาหารเหล่านีไปใช้ได้

Source ผลกระทบเทคโนโลยีต่อสิงแวดล้อม

5.ฝนกรดจะทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ปู หอย กุ้ง มีจาํ นวนลด ลงหรือสูญพันธุไ์ ปได้ เพราะฝนกรดทีเกิดจาก แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และเกิดจากแก๊ส ไนโตรเจนออกไซด์ จะ ทําให้นาในแม่ ํ นาทะเลสาบ ํ มีความเปนกรดเพิมขึน ถ้าเกิดอย่างรุนแรงจะ ทําให้สต ั ว์นาดั ํ งกล่าวตาย

Stay in a specific room. 4.ฝนกรดทําลายวัสดุสง ิ ก่อสร้างและอุ ปกรณ์บางชนิด คือ จะกัดกร่อน ทําลายพวก โลหะ เช่น เหล็กเปนสนิม เร็ว ขึน สังกะสีมุงหลังคา ทีใกล้ๆ โรงงานจะผุกร่อนเร็ว สังเกต ได้ง่าย นอกจากนียังทําให้ แอร์ ตู้เย็น หรือวัสดุอืนๆ เช่น ปูนซีเมนต์หมดอายุเร็วขึน ผุ กร่อนเร็วขึน เปนต้น นางสาว ชลธิชา ไชยสมคุณ ม.4/11 เลขที11ก

ผลกระทบของฝน กรด

ในปจจุบน ั ปญหาสิงแวดล้อมที เกิดขึนจากการปนเปอนของสาร ชนิดต่างๆในแหล่งนํา ดิน อากาศ นอกจากจะส่งผลกระทบทําให้สภาพ แวดล้อมมีคณ ุ ภาพเสือมโทรมลง แล้ว ยังได้สง ่ ผลกระทบต่อสิงมีชวี ต ิ ทีอาศัยอยูใ่ นสิงแวดล้อมบริเวณดัง กล่าวอีกด้วย การแก้ไขและ/หรือ การปองกันการปนเปอนของสาร ต่างๆ ไม่วา่ จะเปนสารอินทรียห ์ รือ สารอนินทรียต ์ ้องอาศัยพืนฐาน ความรูจ้ ากนักวิทยาศาสตร์และผู้ เชียวชาญในศาสตร์ต่างๆหลาย สาขา เช่น นักเคมี นักชีววิทยา นัก จุลชีววิทยา วิศวกร เพือนําความรู ้ และเทคโนโลยีมาผสมผสานและ ประยุกต์ใช้เพือการกําจัดหรือลด ปริมาณการปนเปอนสารต่างๆในสิง แวดล้อม


The 7 Principles of Universal Design 1: Equitable Use The design is useful and marketable to people with diverse abilities.

2: Flexibility in Use The design accommodates a wide range of individual preferences and abilities.

3: Simple and Intuitive Use Use of the design is easy to understand, regardless of the user's experience, knowledge, language skills, or current

4: Perceptible Information

concentration level. The design communicates necessary information effectively to the user, regardless of ambient conditions or the user's sensory abilities.

5: Tolerance for Error The design minimizes hazards and the adverse consequences of accidental or unintended actions.

6: Low Physical Effort The design can be used efficiently and comfortably and with a minimum of fatigue.

7: Size and Space for Approach and Use Appropriate size and space is provided for approach, reach, manipulation, and use regardless of user's body size, posture, or mobility.


Creative Commons License

เปนองค์กรไม่แสวงกําไรทีสนับสนุนการใช้เนือหาโดยไม่ถก ู จํากัดจาก ี ารใช้ สัญญาอนุญาต สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์จะเอือให้มก สือทังทางภาพ เสียง ข้อมูล โดยการแบ่งแยกสัญญาอนุญาตย่อยออก สําหรับการแจกจ่ายและการใช้ขอ ้ มูล โดยการอ้างอิงถึงเจ้าของลิขสิทธิ เดิม ครีเอทีฟคอมมอนส์กอ ่ ตังโดย ลอว์เรนซ์ เลสสิก ซึงปจจุบน ั บริหาร งานโดย โจอิจิ อิโต (จอย อิโต)

Attribution (CC BY) ยินยอมให้เรานําผลงานไปเผยแพร่ตอ ่ , ผสมผสาน, ปรับปรุง หรือนําไปแสวงหาผลกําไรต่อได้ ตราบใดที คุณให้เครดิตแหล่งทีมาของต้นฉบับเอาไว้ดว ้ ย

Attribution-NoDerivs (CC BY-ND) สามารถนําผลงานนีไปใช้งานต่อได้อย่างอิสระ รวมถึงการแสวงหาผล กําไร แต่หา้ มดัดแปลงโดยเด็ดขาด รวมถึงต้องให้เครดิตเจ้าของผลงาน ด้วย

Attribution-NonCommercial (CC BY-NC) นําผลงานไปทําอะไรต่อได้อย่างอิสระ ตราบใดทีให้เครดิตเจ้าของผลงานอย่างถูกต้อง และไม่นาํ ไปใช้ในการแสวงหาผลกําไร

Public domain ี างขึนแล้วผูส ซอฟต์แวร์ทสร้ ้ ร้างหรือเจ้าของยินยอมให้ใคร ๆ มาคัดลอกนํา ไปใช้ได้ โดยไม่ผด ิ พระราชบัญญัตล ิ ข ิ สิทธิ เช่น โปรแกรม Cuwriter ในระบบ เครือข่าย จะมีกลุม ่ โปรแกรมกลุม ่

Attribution ShareAlike (CC BY-SA) มีความคล้ายคลึงกับ Attribution (CC BY) เพียงแต่วา่ ผลงาน ี ณสร้างขึน จะต้องอยูภ ใหม่ทคุ ่ ายใต้ใบอนุญาต Creative Commons รูปแบบเดิมกับต้นฉบับเท่านัน อนึง Wikipedia ก็ใช้ เงือนไขนีนะ

Attribution-NonCommercialShareAlike (CC BY-NC-SA) เงือนไขเหมือนกับ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC) เพียงแต่มเี พิมตรงทีผลงานใหม่ จะต้องอยูภ ่ ายใต้ใบอนุญาต Creative Commons รูปแบบเดิมกับต้นฉบับเท่านัน

Attribution-NonCommercialNoDerivs (CC BY-NC-ND) นีเปนเงือนไขทีจํากัดด้านการใช้งานมากทีสุด โดยเราทําได้แค่เผย แพร่ และให้เครดิตด้วยเท่านัน ห้ามดัดแปลงแก้ไข หรือนําไป แสวงหารายได้โดยเด็ดขาด

cco no rights reserved ช่วยให้นักวทยษศาสตร์นักการศึกษาศิลปนและผู้สร้างสรรค์คนอืนๆ และ เจ้าของเนือหาทีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธ์หรอฐานข้อมูลสามารถสละผล ประโยชน์เหล่านันในผลงานของพวกเขาและทําให้เนือหาเหลานันเปนสาธารณ สมบัติอย่างสมบรู ณ์ทีสุดเท่าทีจะเปนไปได้เพือให้ผู้อืนสามารถสร้างเสรมและ ปรับปรุ งได้อย่างอิสระ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.