km .การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี

Page 1

ชื่อ : ตาแหน่ง : สังกัด :

นางชยาภรณ์ ผอมจีน พัฒนาการอาเภอสามโคก สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เบอร์โทร : 02-593-1969/ 081-5553131 ชื่อเรื่อง : การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง... ของบ้านทางยาว ให้เป็นฐานการเรียนรู้ เป็นการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ : การแก้ไขปัญหาความยากจน ช่วยสนับสนุนให้ ครัวเรือนเป้าหมายน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในชีวิตประจาวัน และขยายผลสามารถมีฐาน การเรียนรู้ในหมู่บ้าน เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อ : มีนาคม 255๔ สถานที่เกิดเหตุการณ์ : หมู่ที่ 8 ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เนื้อเรื่อง คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนว ทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อ ภายหลังเกิดได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงชิวิตอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่ง ยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความ มั่น คงของแผ่น ดิน เปรีย บเสมื อนเสาเข็ มที่ ถูก ตอกรองรับ บ้า นเรือ นตั วอาคารไว้ นั่นเอง สิ่งก่อ สร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่ค นส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป” ถ้าจะดูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปรียบเสมือน เสาเข็มก็ต้องย้อนดู เมื่อปี 2540 ซึ่งเป็นปีที่ฟองสบู่แตก ลูกหลานเกษตรกรซึ่ง เข้า มาทางานในเมืองหลวง ต้องถูกเลิกจ้างลงไป การคืนกลับสู่ฐานราก เป็นสิ่งที่จาเป็น และควรส่งเสริม ให้มีในจิตสานึกของคนไทย บ้านทางยาว ภายใต้ผู้นาที่ชื่อ นายเดชา เครือโชติ ได้มีการรวมกลุ่ม เพื่อทากิจกรรมหลากหลาย ฟื้นฟูกิจกรรมของหมู่บ้าน โดยการร่วมกับหลายหน่วยงาน น้อมรับเงื่อนไขภายใต้ข้อตกลง และ กฎกติกา ได้มาซึ่งกิจกรรมที่ทาให้กับชาวบ้านทางยาว สามารถ ฟื้นฟูตนเอง ปรับแนวคิดให้หวนกลับ คืนสู่ฐานราก และ ธรรมชาติที่เอื้ออานวย ทาให้มีกิจกรรม เป็นหมู่บ้านต้นแบบตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เมื่อปี 2553 เป็น หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับมั่งมี ศรีสุข ระดับจังหวัด ปี 2553 และได้ สร้างความเป็นต้นแบบในการให้ความรู้แก่กลุ่ม องค์กร อื่น ๆ ทั้งในจังหวัด นอก จังหวัด และต่างประเทศ ตลอดมา ปัจจุบันมีฐานการเรียนรู้ในหมู่บ้านที่เกิดขึ้นจากการ มีส่วนร่วมของคนในชุมชน ที่คานึงถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน เพื่อสร้าง ความเป็นต้นแบบที่ยั่งยืน และขยายผล สามารถจัดฐานการเรียนรู้ในหมู่บ้านได้ 7 ฐาน ดังนี้ 1. ฐานที่ 1 ฐานการเรียนรู้ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ 2. ฐานที่ 2 ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านยายกุด KM-การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง...ของบ้านทางยาว โดย ชยาภรณ์ ผอมจีน พัฒนาการอาเภอสามโคก


3. 4. 5. 6.

ฐานที่ 3 ฐานการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ฐานที่ 4 ฐานการเรียนรู้โรงไฟฟ้าเพื่อสิ่งแวดล้อม ฐานที่ 5 ฐานการเรียนรู้ คนกับต้นไม้ ฐานที่ 6 ฐานการเรียนรู้โรงงานต้นแบบผลิตข้าวมอลต์ กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรเฉลิมพระเกียรติบ้านทางยาว 7. ฐานที่ 7 ฐานการเรียนรู้การเกษตรแบบผสมผสาน ในการขับเคลื่อนฐานการเรียนรู้ในหมู่บ้านทั้ง ๗ ฐานนั้น ครัวเรือน เป้าหมายที่โดดเด่นในหมู่บ้านเป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรม และผลงานเป็นที่ประจักษ์ชัดเจน สามารถเป็นฐานการเรียนรู้ใน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบได้ บ้านทางยาว หมู่ที่ ๘ ตาบลคลองควาย ได้รับเกียรติจากกลุ่ม องค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน หลาย ๆ หน่วยงานได้เข้ามาเยี่ยมชมกิจกรรมในพื้นที่ เป็นความปลาบปลื้มไม่น้อย ที่หมู่บ้านได้ต้อนรับแขกผู้มาเยือนจากต่างประเทศอย่างเวียดนาม บรูไน ทุกฐาน การเรียนรู้มีความสาคัญ และสามารถสร้างชื่อเสียงให้กับบ้านทางยาว ให้เป็นที่รู้จัก แพร่หลาย โดยเพราะฐานเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นฐานการเรียนรู้ที่สามารถ นาพาให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา แสดงความเป็น เจ้าบ้านที่ดี ในการค้อนรับแขกบ้าน แขกเมือง และยังส่งผลให้เด็กได้มีจิตสานึกรัก ในความเป็นไทย กล้าคิดกล้าแสดงออก ใช้เวลาว่างมาทากิจกรรมร่วมกัน เช่ น กิจกรรมลิเกเด็กวัยใส ต้ายภัยยาเสพติด ได้สร้างความกลมเกลียวระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และผู้นาท้องถิ่น เยาวชนในพื้นที่และหมู่บ้านข้างเคียงได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม ขยายผล ทาให้เด็กมีรายได้จาก การแสดงอีกทางหนึ่งด้วย ทุกกิจกรรมในหมู่บ้านทางยาว ประสบความสาเร็จ จนผู้นา อย่างนายเดชา เครือโชติ ได้รับ ได้โล่รางวัล พระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๕๔ เบื้องหลังความสาเร็จขึ้นอยู่ กับองค์ประกอบ ดังนี้ ๑. ความร่วมมือของชาวบ้าน และผู้นา (บ้าน วัด โรงเรียน= บวร) ๒. เกิดจากความตื่นตัวของผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ๓. การบูรณาการการทางานจากทุกหน่วยงาน ทุกภาคส่วนที่เข้าไปส่งเสริมการขับเคลื่อนกิจกรรม ๔. ผู้นามีค วามพยายาม และความตั้ง ใจสูง ใจเย็น เสีย สละ และเอื้ ออ านวยกับ ทุ ก ภาคส่ วนในการ สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมในหมู่บ้าน

บันทึกขุมความรู้ (Knowledge Assets) การพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ทาให้เกิดความเป็นเจ้าของ และมีความรับผิดชอบในการทางาน การทางานที่มีวิสัยทัศน์ และนาวิสัยทัศน์ มาพัฒนาหมู่บ้านของตนเองให้เห็นผลเป็นรูปธรรม การทางานเพื่อส่วนร่วมต้องมีใจที่เสียสละ อดทน ใจเย็น และให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการทางานร่วมกัน การน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในชีวิตประจาวัน โดยส่งเสริมให้ทุกคนได้ปฏิบัติ และขยายผล

แก่นความรู้ (Core Competencies) เทคนิคการทางานแบบมีส่วนร่วม การใช้วิสัยทัศน์ในการขับเคลื่อนการทางาน ผู้นาต้องมีความเยือกเย็น และเสียสละ KM-การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง...ของบ้านทางยาว

โดย ชยาภรณ์ ผอมจีน พัฒนาการอาเภอสามโคก


การทางานร่วมกันกับภาคีการพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน ความรักความสามัคคีของคนในชุมชน

กลยุทธ์ในการทางาน การศึกษาหาความรู้ในกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การแสวงหางบประมาณเพื่อมาขับเคลื่อนกิจกรรม และขยายผลพัฒนารูปแบบ ประสานงานกับภาคีการพัฒนา และทุกภาคส่วน เพื่อหาช่องทางในการพัฒนา ขับเคลื่อนกิจกรรมในหมู่บ้าน แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แนวคิดการมีส่วนร่วม ของโคเฮนและอัฟฮอฟ (Cohen and Uphoff. 1981 : 6) / ฟอร์นารอฟ (Fornaroff. 1980 : 104) /อภิญญา กังสนารักษ์ (2544 : 14 – 15)/อคิน รพีพัฒน์ (2547 : 49) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชดารัสที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกรอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (Self Reliance) .................................................................................

KM-การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง...ของบ้านทางยาว

โดย ชยาภรณ์ ผอมจีน พัฒนาการอาเภอสามโคก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.