โครงการสร้างความรู้ความเข้าใจระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนแก่ผู้เกี่ยวข้อง จังหวัดชัยนาท Planchainat2557

Page 1

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

โครงการสร้ างความรู้ ความเข้ าใจระบบ รับรองมาตรฐานแผนชุมชนแก่ ผ้ ูเกียวข้ อง จังหวัดชัยนาท ปี ๒๕๕๗ ณ ห้ องประชุม ๕๐๓ ศาลากลางจังหวัดชัยนาท

กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชัยนาท โทร. ๐ ๕๖๔๑ ๑๐๖๘


สารบัญ รายละเอียด  เปาหมายเขารวมโครงการ ฯ  ทะเบียนขอมูลหมูบานเปาหมาย  ความเปนมาแผนชุมชน  เกณฑการประเมินคุณภาพแผนชุมชน (๖ ตัวชี้วัด)  การรับรองมาตรฐานแผนชุมชน  แนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนแบบบูรณาการ ป ๒๕๕๕

หนา ๑ ๒–๓ ๔ – ๑๑ ๑๒ ๑๓ – ๑๖ ๑๗ – ๑๘

ภาคผนวก  แบบประเมินมาตรฐานแผนชุมชน  แนวทางการดําเนินงานคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๗ “รอยละของเทศบาลและองคการบริหารสวนตําบลที่นําแผนชุมชนสูการพัฒนาทองถิ่น ไดตามเกณฑที่กําหนด”


ความเปนมาแผนชุมชน กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ดํ า เนิ น การเสริ ม สร า งชุ ม ชนเข ม แข็ ง โดยการส งเสริ ม กระบวนการ ประชาคมในหมูบาน ตั้งแตป ๒๕๔๐ และเปนเครื่องมือในการสรางชุมชนเขมแข็ง ตอมาในป ๒๕๔๔ รัฐบาลได กําหนดนโยบายแกปญหาความยากจนเปนวาระแหงชาติ และจัดทํายุทธศาสตรในการแกไขปญหาความยากจน กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดเลือกใชแผนชุมชนเปนเครื่องมือในการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนและแกไข ป ญ หาความยากจนในป ๒๕๔๖ พร อ มทั้ งจั ด สรรงบประมาณมาให จั งหวั ด ดํ าเนิ น การส งเสริ ม กระบวนการ แผนชุมชนในหมูบานตาง ๆ มาโดยตลอด แนวคิดในการขับเคลื่อนแผนชุมชน ๑. แผนชุ มชนเป นเครื่องมือสําหรับ หมูบาน/ชุมชนใชในการพั ฒ นาตนเอง และเปน เครื่องมื อ สําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชนบทใชในการสงเสริมการพัฒนาที่มีหมูบาน/ชุมชนเปนศูนยกลางของ การพัฒนา (community-based development) ซึ่งเปนการพัฒนาที่จะตอบสนองตอปญหาและความตองการ ของชุมชนไดตรงตามความตองการของคนในหมูบาน/ชุมชนอยางแทจริง ๒. เครื่องมือที่ไดมาตรฐานจะไดรับการยอมรับและนําไปใชประโยชนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ๓. การบูรณาการแผนชุมชนระดับตําบลจนถึงระดับชาติโดยกระบวนการมีสวนรวมทํา ใหเกิดแผนชุมชนเชิงบูรณาการในแตละระดับที่หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ สามารถใชประโยชนในการกําหนดนโยบาย เปาหมาย และพื้นที่ดําเนินการไดอยางแมนยําและประกันความสําเร็จ ความหมายแผนชุมชน “ แผนชุ ม ชน” คื อ ผลของการจั ด การบริ ห ารจั ด การให ชุ ม ชน เรีย นรู จนสามารถกํ าหนด เปาหมายดวยกระบวนการมีสวนรวมของคนทั้งระดับครอบครัวและชุมชนเพื่อใหคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในอนาคต โดยกําหนดกําหนดเปนกิจกรรมโครงการ ในลักษณะที่ชุมชนทําไดเองทันที ดวยความสามารถและศักยภาพของ ชุมชน หรืออาศัยความสามารถรวมกันกับหนวยงานสนับสนุนอื่น ๆ ในการดําเนินการรวมกัน หรือยกใหเปนภาระ ของหนวยงานภายนอกชุมชนเปนผูดําเนินการในกิจกรรมโครงการที่เกินขีดความสามารถของชุมชน เปนผลของ การพัฒนา ปองกันและแกไขปญหาของชุมชนสูจุดมุงหมายของการเปนชุมชนเขมแข็ง “อยูเย็น เปนสุข” นอกจากนี้ มีการใหคําจํากัดความของแผนชุมชน ตามคูมือการจัดเก็บขอมูล กชช.2ค (ป ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ดังนี้ “แผนชุมชน” คือการกําหนดอนาคตและกิจกรรมการพัฒ นาของชุมชนโดยเกิดขึ้น จากคนใน ชุมชน ที่มีการรวมตัวกันจัดแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือทองถิ่นของตน ใหเปนไปตามที่ ตองการ และสามารถแกปญหาที่ชุมชนเผชิญอยูรวมกัน โดยคนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนดแนวทาง และ ทํากิจกรรมการพัฒนารวมกัน โดยยึดหลักการ “แผนชุมชน” คือ การกําหนดอนาคตและกิจกรรมการพัฒนาของชุมชนโดยเกิดขึ้นจาก คนในชุมชน ที่มีการรวมตัวกันจัดแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือทองถิ่นของตน ใหเปนไป ตามที่ตองการ และสามารถแกปญหาที่ชุมชนเผชิญอยูรวมกัน โดยคนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนดแนวทาง และทํากิจกรรมการพัฒนารวมกัน โดยยึดหลักการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก ดวยการคํานึงถึงศักยภาพ


-๕ทรัพยากร ภูมิปญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นเปนหลัก จึงกลาวไดวา แผนชุมชน เปนของ ชุมชน ดําเนินการโดยชุมชนและเพื่อประโยชนของชุมชนเอง ซึ่งแตกตางจากแผนที่ภาครัฐจัดทําขึ้นเพื่อจัดสรร งบประมาณเปนหลัก ความสําคัญของแผนชุมชน  แผนชุมชน เปนการสะทอนปญหา ความตองการของชุมชนจากลางขึ้นสูบน (จากหมูบานสูจังหวัด) หรือเปนลักษณะ Bottom Up  แผนชุมชน เปนเครื่องวัดความเขมแข็งของชุมชน  แผนชุมชน เปนรากแกวของการแกปญหาชุมชน  แผนชุมชน เปนโอกาสในการแสดงศักยภาพ โดยกระบวนการทํางานภายใตหลักการวิธีการ พัฒนาชุมชน  แผนชุมชน เปนเครื่องมือในการสราง “วาระชุมชน”ปลุกกระแสใหชุมชนตื่นตัวเพื่อพัฒนาตนเอง เปาหมายของการจัดกระบวนการแผนชุมชน เพื่อสรางเสริมใหคนใชชุมชนมีความสามารถในการบริหารจัดการตนเองและชุมชนได มีขั้นตอน สําหรับการทํางานเพื่อตอบสนองความตองการของชุมชนมีลักษณะรายละเอียดโครงการกิจกรรมที่ชุมชนปฏิบัติได ดวยความสามารถและศักยภาพของชุมชนเองโดยพึ่งพาภายนอกใหนอยที่สุด มีหลักมีแนวทางในการปฏิบัติงานให เกิดผลตามเปาหมาย คือ ชุมชนพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืน หรือแมกระทั่งสามารถนําเสนอแผนตอหนวยงานและรับ การสนับสนุนงบประมาณวิชาการหรือเรื่องอื่นใดในสวนที่เกินความสามารถของชุมชน เพื่อใหดําเนินกิจกรรมให บรรลุวัตถุประสงค องคประกอบของแผนชุมชน แผนชุมชน อาจมีเนื้อหา ประกอบดวย ๑. ขอมูลสภาพพื้นที่ ๒. ตํานานความเปนมาวิถีชีวิตและแนวทางปฏิบัติของชุมชน ๓. ศักยภาพทรัพยากรไดแกภูมิหลังทุนทางสังคมภูมิปญญาทองถิ่นโอกาสการพัฒนา ๔. สภาพความเปนจริงในปจจุบันของชุมชนสะทอนความตองการและปญหาสวนรวมของชุมชน ๕. วิธีการรูปแบบการวิเคราะหและผลการวิเคราะหขอมูลการเชื่อมโยงสถานการณ แวดลอมภายนอกการคาดหมายเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ๖. เปาหมายความสําเร็จที่ชุมชนตองการใหเกิดขึ้น สําหรับการเตรียมการ ปองกัน แกไขและ รับมือกับสถานการณในอนาคต ๗. กรองแนวทางยุทธศาสตรในการทําใหเปาหมายที่ตองการเกิดขึ้นจริงในอนาคต


-๖๘. วิธีการในการทําใหกรอบแนวทางและการไปถึงเปาหมายไดอยางแทจริงหมวดหมู และประเภทของกิจกรรมหรือโครงการที่ดําเนินการตามลําดับความสําคัญเรงดวน ๙. องคกรกลุมหรือบุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการกิจกรรม/โครงการ ๑๐. และหรือ อื่น ๆ ตามที่ตองการ เชน กลวิธี ขั้นตอนกระบวนการจัดทําแผนของชุมชน กระบวนการจัดทําแผนชุมชน กระบวนการชุมชนเปนการดําเนินงานของชุมชนอยางตอเนื่องดวยการตัดสินใจที่สมาชิกของชุมชน มี ส ว นร วมเพื่ อผลิ ต แสงเลเซอรของชุ มชน โดยปกติ เราจะรู จั ก "แสงเลเซอร" ในฐานะที่ เป น สิ่ งประดิ ษ ฐท าง วิทยาศาสตรซึ่งเกิดจากการใชกระจกขยายแสงรังสีที่ปลอยจากโมเลกุลเล็ก ๆ หลาย ๆ โมเลกุล แลวรวมแสงที่ถูก ขยายนั้นเขาเปนลําแสงเดียวลําแสงนี้มีพลังมหาศาลในชุมชนสมาชิกของชุมชนหนึ่งคนเปรียบเหมือนเปนโมเลกุล หนึ่งของชุมชน แสงรังสีที่มีอยูในตัวของคนก็คือ ความคิด ปญญา และแรงงาน ซึ่งปกติก็มีการปลอยแสงใหเห็นอยู บางจากการดําเนิน ชีวิต ของเขาในแต ละวัน พลังของแสงรังสีดั งกลาวอาจมีมากหรือน อยแตกตางกัน ในแตล ะ คน การเป ดโอกาสใหคนทุกคนในชุมชนเขามีสวนรวมในคิดทํ าแกปญ หาและพัฒ นาชุมชน เปน เสมือนการใช กระจกขยายพลัง ความคิด พลังปญญา และพลังแรงงานของสมาชิกชุมชนทุก ๆ คน พรอม ๆ กัน หากไมมีการ รวมพลังเหลานี้ใหมุงสูทิศทางเดียวกัน แสงรังสีที่เกิดขึ้นก็จะเปนเพียงแสงสวางที่กระจายออกไปทั่ว แตไมมีพลัง เพียงพอ การรวมแสงรังสีทั้งหมดใหเปนลําแสงเดียวพุงเปาไปที่ปญหา ประเด็น หรือจุดมุงหมายของชุมชนที่ทุกคน รวมกันเลือก จะทําใหพลังของสมาชิกในชุมชนกลายเปน "แสงเลเซอรของชุมชน" ที่มีอานุภาพในการเจาะทําลาย อุปสรรคที่กีดขวางการแกปญหาและการพัฒนาของชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ และที่สําคัญก็คือ แสงเลเซอรนี้ เปนของสมาชิกชุมชนทุกคน ไมมีใครคนใดคนหนึ่งสามารถยึดไปครอบครองเป นสมบัติสวนตนได การสรางแสง เลเซอรของชุมชน ในชั้นตน อาจเริ่มจากการชวนคนในชุมชนระดมพลังมาชวยกันวิเคราะหสถานการณของชุมชน หาคําตอบและตัดสินใจ ลองเริ่มตนจากคําถามตอไปนี้ สถานการณของชุมชนเปนอยางไรมีอะไรนาหวงใครกําลัง ทุกขรอนไหม ทุ กข รอนอย างไร ฯลฯ (วิ เคราะห ) จะวางแผนอยางไรเพื่ อจัด การกั บ ปญ หาเรื่องนี้ (วางแผน)จะ ดําเนินการตามแผนไดอยางไรใครจะทําอะไร จะทําเมื่อไร จะทําโดยวิธีไหน ทรัพยากรที่จําเปนจะมาจากที่ไหน (ดําเนินการ) จะติดตามผลการดําเนินการตาง ๆ อยางไร เพื่อใหแนใจวาการดําเนินการเหลานั้นเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ (ติดตามผล) จะประเมินผลการดําเนินการตางๆไดอยางไรแกปญหาความทุกขรอนของชุมชนไดบาง หรือยัง สถานการณเปลี่ยนไปอยางไร(ประเมินผล) คําตอบทั้ง ๕ ขอจะทําใหเกิดขอตกลงที่จะทํางานรวมกันใน ทิศทางเดียวกันของคนในชุมชนหากมีการลงมือทําตามขอตกลงนี้อยางต อเนื่อง ชุมชนก็จะมีประสบการณมากขึ้น ในการระดมพลังความคิดของชุมชนเพื่อเผชิญกับปญหาของชุมชนไดตอไปในทุกเรื่อง การวิเคราะหสถานการณ สถานการณของชุมชนจะวิเคราะหไดอยางไร ในชีวิตประจําวันคนในชุมชนทุกคนตางก็ประสบ กับเหตุการณตาง ๆ มากมาย ไมวาจะเปนเรื่องที่ทําใหเกิด ปญหาความเดือดรอน ความคับของใจ ความสุขความ อบอุนและอื่นๆสิ่งเหลานี้ลวนเปนสถานการณทั้งสิ้น


-๗นอกจากนี้แตละปกรรมการหมูบานยังไดรวมกับเจาหนาที่สํารวจขอมูลคุณภาพชีวิตของ ครัวเรือนทุกครัวเรือน ที่เรียกวาขอมูล จปฐ. และทุกสองปสํารวจขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน เรียกวา ขอมูล กชช.2ค ซึ่งขอมูลทั้งสองชุดก็สามารถบอกถึงสถานการณไดเชนกัน การวิเคราะหสถานการณของชุมชนเพื่อดูวาผลกระทบของภาวะวิกฤตที่มีตอชุมชนหมูบาน เปนอยางไรหนักหนาสาหัสหรือเบาบางเพียงใด ใครบางถูกกระทบ สามารถทําไดโดยใชขอมูล กชช.๒ค ขอมูล จปฐ. และประสบการณในชีวิตประจําวันของคนในชุมชน เปนเครื่องมือในการวิเคราะห ดวยวิธีการที่เรียกวา"การ ประเมินชุมชนแบบเร็วๆ"การจะตัดสินใจวาจะเริ่มจากการเก็บขอมูลอะไรแบบใดขึ้นอยูกับวาคนในชุมชนอยากรู เรื่องอะไรและเรื่องนั้นไมอาจทราบไดถาไมมีการเก็บขอมูล อีกวิธีหนึ่งในการวิเคราะหสถานการณของชุมชน คือ การตั้งคําถามใหมีการระดมสมองหา คําตอบที่ชี้ใหเห็นสภาพและความ รุนแรงของผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจที่มีตอชุมชนและคนในชุมชนซึ่งอาจ ปรับคําถามตามความเหมาะสมของแตละชุมชนตัวอยางคําถามเชน  สืบเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจไดมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบางภายในชุมชน  มีใครลมละลายบางหรือไมมีคนตกงานแลวกี่คนมีคนถูกลดคาจางกี่คน  อะไรเกิดขึ้นกับคนเหลานี้เขาสามารถหาแหลงรายไดอื่นไดหรือไม  คนเหลานี้ตองการไดรับความชวยเหลือหรือไมพวกเขาควรไดรับความชวยเหลืออยางไร เพื่อใหสามารถลืมตาอาปากได  มีคนในชุมชนกี่คนที่ตกอยูในความยากจน ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจสงผลกระทบอยางไรตอคนที่ ยากจนอยูแลว  ชุมชนจะสามารถใหความชวยเหลืออยางไรแกคนยากจนที่จะทําใหเขาสามารถเอาชนะกับ วิกฤตเศรษฐกิจได  วิกฤตเศรษฐกิจสงผลกระทบอยางไรตอผูหญิงและเด็กแตกตางจากผูชายหรือไมอยางไร ตัดสินใจวางแผน จากการรวมกันวิเคราะหขอมูลทําใหสมาชิกชุมชนทราบวา ปญหาของชุมชนเปนอยางไร ใครเปน ผูไดรับผลกระทบมากที่สุด กระทบเรื่องอะไร ขอมูลดังกลาวเปนประโยชนตอสมาชิกชุมชนในการนํามารวมกัน วางแผนเพื่อจัด การกับ ปญ หาของชุมชน การวางแผนของชุมชนไมมีห ลักเกณฑ ห รือกรอบที่ กําหนดโดยหน วย ราชการ แผนของชุมชน ไมใชแผนของทางราชการ ไมใชแผนการจัดสรรเงินงบประมาณของราชการหรือองคกร ปกครองสวนทองถิ่น แตแผนของชุมชน คือ แผนการใชพลังของชุมชน ในการแกไขปญหาและพัฒนาชุมชนการวางแผนของชุมชนจึงไมมีกําหนดเวลาแนนอน วาตอง ทําในเดือนไหน ทําปละกี่ครั้ง การวางแผนมีความสําคัญสําหรับชุมชนเองที่จะทําใหมีการใชแสงเลเซอรของชุมชน แก ป ญ หาของชุ มชนอย างมี ทิ ศทางโดยเน น ที่ กระบวนการตั ด สิ น ใจของชุ มชนในการกํ าหนดอนาคตจั ด ลํ าดั บ ความสําคัญและการกําหนดเปาหมายที่เปดกวางเปนประชาธิปไตย โปรงใส และสมาชิกของชุมชนไดแสดงความ


-๘รับผิดชอบที่สามารถตรวจสอบไดสิ่งที่ไดจากการพูดคุยกัน ในที่สุดจะไดคําตอบใน 3 เรื่องที่นําไปทําแผนของ ชุมชน ซึ่งทําใหชุมชนมีศักยภาพที่จะดําเนินการในเรื่องที่เกี่ยวกับสถานการณโดยสวนรวมของชุมชนได ดังนี้ คําตอบจากการวิเคราะห แผนของชุมชน การดําเนินการของชุมชน ชุมชนสามารถทําอะไรดวยตนเองและเพื่อ ทํางานตามแผนเพื่อการพึ่งตนเอง ที่สมาชิกใน แผนพึ่งตนเอง ตนเองไดบาง โดยไมตองอาศัยภายนอก ชุมชนสามารถแบงงานกันปฏิบัติไดทันที ชุมชนสามารถทําอะไรดวยตนเองและเพื่อ ระดมทรัพยากร หรือความรวมมือจากภายนอก ตนเองไดบาง ถาไดรับความชวยเหลือจาก ที่สามารถใหความชวยเหลือตามที่ชุมชน แผนความรวมมือ ภายนอก ตองการ เพื่อใหสมาชิกชุมชนสามารถ ดําเนินงานในเรื่องนั้น ไดดวยตนเองตอไป ชุมชนไมสามารถทําสิ่งที่มีความสําคัญตอ เสนอ ชักชวน โนมนาว กระตุนใหหนวยงาน ความอยูดีมีสุข และบรรลุทิศทางการ แผนขอรับ ภายนอกรับดําเนินการในสวนที่จําเปนตอชีวิต พัฒนาของชุมชน ดวยตนเองและเพื่อ การสนับสนุน ความเปนอยูของคนในชุมชนแตชุมชนไม ตนเองได สามารถจัดการไดโดยตรง การแกปญหาและการพัฒนาโดยสมาชิกชุมชนเอง ไมไดหมายความวา ตองทําอะไร ดวยพลังของคนในชุมชนเองทั้งหมดจากขางตนจะเห็นไดวามีบางอยางที่ สมาชิกชุมชนทําเองไมได จําเปนตอง อาศัยความชวยเหลือจากภายนอกชุมชนเชนกัน แตการขอ ความชวยเหลือเชนนี้ตองไมเปนไปในลักษณะทําให ชุมชนออนแอลงตรงขามตองทําใหชุมชนเขมแข็งขึ้นโดยกอนที่จะขอให หนวยงานอื่นมาชวยนั้น สมาชิกในชุมชน ไดผานการคิดรวมกัน ทํางานรวมกันแลว และขอความชวยเหลือ เฉพาะสวนที่จะทําให สมาชิกชุมชนมีความรูมาก ขึ้น มีความสามารถแกปญหาไดมากขึ้น และเปนสวนที่จําเปนจริง ๆ เทานั้น คํ า ตอบ ๓ เรื่ อ งที่ ได รั บ ผ า นการเรี ย นรู ร ว มกั น ของสมาชิ ก ชุ ม ชนจนสามารถดํ า เนิ น การได ใน ๓ แนวทาง คื อ แบ งงานกั น ทํ า ภายในชุ ม ชนระดมทรั พ ยากรจากภายนอกและเสนอให ห น ว ยงานภายนอก ดําเนินการดวยวิธีดังกลาวนี้ชุมชนสามารถผนึกพลังของชุมชนโดยเปดโอกาสใหสมาชิกของชุมชนเหลานั้นเขามามี สวนในการตัดสินใจและดําเนินการพัฒนาตนเองและชุมชนของตนไดอยางเต็มศักยภาพที่มีเพื่อแกไขผลกระทบที่ เกิดจากป ญหาวิกฤตโดยยึดถือแผนงานของชุมชน ๓ ดานเป นหลัก คือ แผนพึ่งตนเองเป นแผนของกิจกรรมที่ ชุมชนหรือกลุมองคกรชุมชนสามารถดําเนินการไดโดยไมตองอาศัยความชวยเหลือจากภายนอกชุมชนแผนความ รวมมือเปนแผนของกิจกรรมที่ชุมชนสามารถดําเนินการไดหากไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานตาง ๆ ภายนอก ชุมชน เชน เงินทุนจากแหลงทุนภายนอกชุมชนและความชวยเหลือดานวิชาการจากทีมสนับสนุนการจัดทําแผน หรือแหลงอื่นแผนการสนับสนุนเปนแผนของกิจกรรมที่มีความสําคัญตอการที่ชุมชนจะสามารถแกไขปญหาอันเกิด จากภาวะวิกฤตไดแตอยูนอกเหนือศักยภาพของชุมชนหรือนอกเหนืออํานาจหนาที่ของชุมชนที่จะทําไดการเขียน แผนไวเปนลายลักษณอักษรมีความจําเปนเพื่อความเขาใจที่ตรงกันรวมทั้งเพื่อใหสมาชิกชุมชนสามารถดําเนินงาน


-9และติดตามงานไดอยางถูกตองโดยไมมีแบบฟอรมของแผนงานที่กําหนดโดยทางราชการเพราะแผนที่กลาวถึงกัน อยูนี้เปนแผนของชุมชนที่สมาชิกชุมชนรวมกันคิด ตัดสินใจ กําหนด และเปนผูใช แบบฟอรมอาจมีลักษณะงาย ๆ ที่ประกอบดวยประเด็นตาง ๆ ที่สมาชิกเห็นวาจําเปนตองเขียนไว เชน จะทําอะไร ที่ไหน อยางไร เมื่อไร ใชเงิน เทาไร ใครรับผิดชอบ จะติดตามความกาวหนาไดอยางไร จะวัดความสําเร็จไดอยางไร ความสําคัญของกิจกรรมอยู ในลําดับที่เทาไร การระดมพลังของชุมชนมารวมในการจัดทําแผนของชุมชนอาจจัดเปนการประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยใชเวลา2-3วันซึ่งอาจมีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้  กรรมการหมูบานจัดประชุมวางแผนการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการจัดทําแผนพัฒนา และแกไขปญหาของชุมชนรวมกับผูนํากลุมองคกรตางๆในชุมชนโดยมีกลุมแกนระดับตําบลใหความชวยเหลือ  กรรมการหมูบานประชุมสมาชิกทุกคนของชุมชน ชี้แจงนโยบายที่จะใหมีการจัดทํา แผนพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชน กระตุนใหสมาชิกชุมชนเห็นประโยชนของการมีแผนของชุมชน ระดมความ รวมมือในชุมชนเพื่อการจัดทําแผนเชนการเตรียมสถานที่ การจัดหาวัสดุอุปกรณในการประชุม การจัดหาอาหาร เครื่องดื่มระหวางการประชุมการเผยแพรประชาสัมพันธฯลฯ และคัดเลือกสมาชิกชุมชนเขารวมในการประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อการจัดทําแผนดังกลาว  กรรมการหมูบา นรวมกับทีมสนับสนุนการจัดทําแผนทบทวนขอมูล จปฐ. กชช.๒ค และ ขอมูลอื่นๆของหมูบาน ตามดวยการประเมินชนบทอยางเร็ว ๆ เพื่อปรับขอมูลที่เปนเครื่องชี้วัดผลกระทบจาก ภาวะวิกฤตใหเปนปจจุบันวิเคราะหขอมูลและเตรียมเอกสารเบื้อง ตนสําหรับการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการ จัดทําแผนพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชน  ทีมสนับสนุนการจัดทําแผนและผูประสานงานที่มีประสบการณในการจัดประชุมแบบมีสวน รวม ดําเนินการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมเพื่อการจัดทําแผนของชุมชนเพื่อแกไขผลกระทบจาก ภาวะวิกฤตตามกําหนดและแผนการประชุมที่วางไว  ในการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนแกไขวิกฤตของชุมชน ที่ประชุมอาจแตงตั้ง คณะทํางานของหมูบานขึ้นจํานวนหนึ่งใหมีหนาที่สรุปผลการประชุมเปนแผนของชุมชนและรางแผนขอรับการ สนับสนุนจากหนวยงานอื่น ซึ่งมี 2 กลุมคือ แผนที่ขอรับการสนับสนุนบางสวนหรือแผนความรวมมือ กับแผนที่ ขอรับการสนับสนุนทั้งหมดหรือแผนสนับสนุน นําเสนอตอคณะกรรมการหมูบาน  กรรมการหมูบานจัดประชุมพิจารณาอนุมัติแผนของหมูบานที่ไดจากการประชุมเชิง ปฏิบัติการและลงนามในแผนความรวมมือและแผนสนับสนุน  กรรมการหมู บ า น เสนอโครงการในแผนความร ว มมื อ และแผนสนั บ สนุ น ไปยั ง อปท.  กรรมการหมูบาน ติดประกาศแผนของชุมชนใหสมาชิกชุมชนไดทราบโดยทั่วกัน


การดําเนินงาน

- ๑๐ -

การดําเนินงานตามแผนที่ไดจากการประชุมเชิงปฏิบัติการขางตนเปนดังนี้  สิ่งที่ชุมชนสามารถทําไดดวยตนเองและเพื่อตนเองจากแผนพึ่งตนเอง กรรมการหมูบาน จัดทํากําหนดการกํากับ สงเสริม สนับสนุน และประสานงานใหมีการดําเนินงานในกิจกรรมตาง ๆ ติดตาม ความกาวหนาของการดําเนินงาน และรายงานการดําเนินงานดังกลาว เพื่อใหรูกันทั่วทั้งชุมชน  สิ่งที่ชุมชนสามารถทําไดดวยตนเอง และเพื่อตนเอง โดยความชวยเหลือจากภายนอก ชุมชน จะสามารถดําเนินการเมื่อไดรับความชวยเหลือ กรรมการหมูบานตองวางแผนและตัดสินใจวาตองการความ ชวยเหลืออยางไรบาง เชน เปนความชวยเหลือประเภทใด จํานวนเทาใด และเมื่อใด ฯลฯ แลวเสนอแผนดังกลาว ใหแก อปท. และคอยติดตามการพิจารณาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและประชาคม เมื่อไดรับการสนับสนุน งบประมาณหรือ ความช ว ยเหลื อ ก็ ให ว างแผนปฏิ บั ติ การในส ว นที่ ชุ ม ชนจะดํ าเนิ น งานเอง และป ด ประกาศ งบประมาณหรือกิจกรรมที่ไดรับความชวยเหลือรวมทั้งแผนปฏิบัติงานของชุมชน พรอมชื่อผูรับผิดชอบใหทราบทั่ว กัน ทั้งชุมชน และกํากั บ ส งเสริม สนั บ สนุ น และประสานงานใหมีการดําเนิ น งาน ติด ตามความก าวหน า และ รายงานผลใหสมาชิกชุมชนทราบ  สิ่งที่ชุมชนไมสามารถทําไดดวยตนเองและเพื่อตนเอง แตเปนสิ่งที่มีความสําคัญตอความอยู ดีมีสุขของชุมชน กรรมการหมูบานวางแผนและแจกแจงความตองการตามประเภทปริมาณ ฯลฯ แลวจึงนําแผน ดังกลาวเสนอตอ อปท. คอยติดตามผลการเสนอตอใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของ และแจงความกาวหนาของการ พิจารณาใหสมาชิกชุมชนทราบ การบริหารงานของกรรมการหมูบานที่จะกอใหเกิดพลังของชุมชนในการพัฒนาและแกไขปญหา ของชุมชน ทั้งในการบริหารแผนพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชน และการบริหารงานอื่น ๆ ควรมีลักษณะดังนี้ ๑. เปดกวาง ในการทํางานของกรรมการหมูบานตองเปดโอกาสใหประชาชนหรือสมาชิกของชุมชนเขารวม โดยเสมอภาค ไมมีการเลือกที่รักมักที่ชัง หรือกีดกันคนกลุมใดกลุมหนึ่ง ดังนั้นหากกรรมการหมูบานจะจัดใหมีการ ประชุมกรรมการหมูบานหรือสมาชิกชุมชน เลขานุการของกรรมการหมูบาน ตองประกาศใหสมาชิกของชุมชนทุก คนไดทราบลวงหนาโดยปดประกาศในสถานที่สาธารณะของหมูบาน หรือประกาศทางหอกระจายขาว โดยระบุ เวลา สถานที่ และวาระการประชุมใหทราบโดยทั่วกัน เปนการเชิญรวมประชุมโดยไมจํากัดจํานวน เพศ หรือวัย ๒. รับผิดชอบตอชุมชนที่สามารถตรวจสอบได การที่สมาชิกชุมชนจากกลุม/องคกรตาง ๆ รวมทั้งผูนําไมเปนทางการ ผูทรงความรูดานตาง ๆ ในชุมชน ไดรวมกันจัดทําแผนของชุมชนที่สะทอนความตองการของสมาชิกชุมชนผานกระบวนการมีสวนรวมใน การตัดสินใจที่เปดเผยและเปนธรรม การที่แผนถูกเสนอเพื่อขออนุมัติตอกรรมการหมูบาน เปนการแสดงถึงการ ยอมรับในอํานาจหนาที่ของกรรมการหมูบานในฐานะองคกรบริหารชุมชน ดังนั้นกรรมการหมูบานจะตอง แสดงออกใหเห็นถึงความรับผิดชอบที่มีตอชุมชนในฐานะองคกรบริหารชุมชน นั่นคือ การใหความเห็นชอบและ บริหารงานใหเปนไปตามแผนของชุมชนที่ตนใหความเห็นชอบ


- ๑๑ – ๓. โปรงใส กรรมการหมูบาน จะตองปดประกาศแผนของหมูบานไวที่ปายประกาศขาวสารของหมูบาน และเมื่ อแผนใดได รับ อนุ มัติ โดย อบต.หรือหน วยงานอื่ น ๆ ก็ต องป ด ประกาศให ทราบทั่ วกั น พรอมกั บ บอกถึ ง จํานวนงบประมาณที่ไดรับจัดสรร ผูที่รับผิดชอบในการควบคุมการใชจายเงิน กฎระเบียบการใชจายเงินที่เปน ผลประโยชนของชุมชน รวมทั้งผลของการดําเนินกิจกรรมดวย ๔. การติดตามประเมินผล การติดตามความกาวหนาในการดําเนินงานตามแผนของชุมชน ควรบรรจุไวในการประชุม ประจําเดือน โดยผูรับผิดชอบในการบริหารงานเปนผูรายงานความสําเร็จทั้งในแงของการดําเนินงานตาม กําหนดเวลาและการใชจายเงินงบประมาณ ผลการดําเนินงานที่เปนการพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชนจะตองติดประกาศไวที่ปาย ประกาศของชุมชน ดําเนินงานตามกําหนดเวลาและการใชจายเงินงบประมาณ ผลการดําเนินงานที่เปนการพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชนจะตองติดประกาศไวที่ปาย ประกาศของชุมชน หากมีองคกรภายนอก เชน อบต. กพอ. กพจ. และหนวยงานอื่น ๆ มาติดตามประเมินผลใน ชุมชน ทีมสนับสนุนการจัดทําแผนชุมชนจะเปนผูอํานวยความสะดวก ทั้งนี้ สมาชิกชุมชนมีสิทธิที่จะปฏิเสธการ จัดการตอนรับผูติดตามประเมินผลขององคกรภายนอก โดยแจงใหทีมสนับสนุนฯทราบ ความกาวหนาในการเผชิญภาวะวิกฤตของชุมชน อาจวัดไดโดยเปรียบเทียบขอมูลในขณะนั้นกับ ขอมูลที่เคยใชตอนวิเคราะหสถานการณของชุมชน สวนความกาวหนาอันเกิดจากการทํางานตามกระบวนการ เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน สามารถวัดไดจากขอมูลในประเด็นตอไปนี้  จํานวนครั้งของการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมโดยคณะกรรมการหมูบาน  จํานวนครั้งและความถี่ของการจัดประชุมเกี่ยวกับกิจการงานทั่วไปของคณะกรรมการหมูบาน  จํานวนผูนํากลุมองคกรชุมชนที่มีสวนรวมในกระบวนการของชุมชน (กระบวนการที่คนใน ชุมชนรวมกันในการวิเคราะห วางแผน ดําเนินงาน ติดตาม และประเมินผลการแกไขปญหาของชุมชน )  จํานวนสมาชิกอื่น ๆ ในชุมชนที่เขารวมในกระบวนการของชุมชน  ความพึงพอใจของสมาชิกชุมชนที่มีตอกระบวนการของชุมชน และผลของการดําเนินงานที่ สมาชิกไดทราบจากการเขารวมในการประเมินผล  หลักฐานที่แสดงถึงการเพิ่มขึ้นของความมีชีวิตจิตใจเปนอันหนึ่งอันเดียวกันและความไวเนื้อ เชื่อใจซึ่งกันและกันของคนในชุมชน ความเขมแข็งของชุมชนจะมีมากขึ้นดวยการเรียนรูจากการลงมือกระทํา หากไดมีการ ติดตาม ปรับปรุงแกไข - รายงานผลประกาศความสําเร็จ และขยายพลังของชุมชนไปทําเรื่องอื่น ๆ ตอไป โดยที่ทั้งหมดนี้ เปนกระบวนการที่สมาชิกในชุมชนมีสวนรวมอยางตอเนื่อง


- ๑๒ –

เกณฑการประเมินคุณภาพแผนชุมชน (๖ ตัวชี้วัด) ประกอบดวย

๑. มีกระบวนการวิเคราะหตนเองของคนในชุมชน โดยพิจารณาจากฐานขอมูลการใชบัญชี รับ-จายของ ครั ว เรื อ น ในการวิ เคราะห ป ญ หาความต อ งการในระดั บ ครั ว เรื อ น โดยดู จ ากข อ มู ล ครั ว เรื อ นที่ ทํ า และใช (บัญชีรายรับ-รายจาย) รอยละ ๗๐ ขึ้นไป ๒. มี ส วนร วมของประชาชนในการจั ด ทํ าแผน โดยพิ จ ารณาจากฐานข อมู ล ระดั บ การมี ส ว นร ว มของ ประชาชนในเวทีจัดทําแผนชุมชน โดยดูจากระดับการมีสวนรวมของประชาชนรอยละ ๗๐ ขึ้นไป ๓. มีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการจัดทําแผนตั้งแตตน โดยพิจารณาจากฐานขอมูลการ มีสวนรวมของ อปท. ในการจัดทําแผนตั้งแตตน รวมทั้งมีการนํากิจกรรมในแผนชุมชนไปบรรจุไวในแผนพัฒนา ทองถิ่น เพื่อนําไปสูการจัดทําเปนขอบังคับงบประมาณประจําป หรือเขารวมดําเนินกิจกรรมโครงการกับชุมชน ของ อปท. ๔. มีกระบวนการจัดทําแผนชุมชน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน มีความรู และมีคุณธรรม) ๕. มีกิจกรรมพึ่งตนเอง (ทําเอง) อยางนอยรอยละ ๓๐ ของกิจกรรมในแผนชุมชน และมีการนําไปลงมือ ปฏิบัติจริง รอยละ ๓๐ ของกิจกรรมพึ่งตนเอง ๖. มีแผนชุมชนเปนลายลักษณอักษร เปนรูปเลมเปนปจจุบัน โดย

- แผนชุมชนที่ผานเกณฑ ๖ ขอ เปนแผนชุมชนที่มีคุณภาพระดับดีมาก - แผนชุมชนที่ผานเกณฑ ๕ ขอ เปนแผนชุมชนที่มีคุณภาพระดับดี - แผนชุมชนที่ผานเกณฑ ๔ ขอ เปนแผนชุมชนที่มีคุณภาพระดับพอใช

หมายเหตุ.- สนับสนุนใหแผนชุมชนคุณภาพดีมากและคุณภาพดี (ตามลําดับ) เขาสูกระบวนการรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน ทั้งนี้ ยกเวนแผนชุมชนที่ผานการรับรองมาตรฐานแผนชุมชนไมเกิน ๒ ปที่ผานมา


- ๑๓ การรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ความหมายการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการ (ประเมิน) เพื่อตรวจสอบ และรับ รองแผนชุมชน โดยการประเมินตามมาตรฐานแผนชุมชนที่กําหนดขึ้น โดยใชระบบการมาตรฐานของ ประเทศไทยเปนกรอบความคิดในการออกแบบ และโดยการมีสวนรวมของภาคราชการ ภาคเอกชน ที่ดําเนินงาน สงเสริมกระบวนการแผนชุมชน และภาคประชาชนที่ขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนในหมูบาน/ตําบลของ ตนเอง ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนที่กรมการพัฒนาชุมชน ริเริ่มขึ้นนี้ ประกอบดวย มาตรฐาน ไดแก ตัวชี้วัดและเกณฑการตรวจสอบรับรอง ไดแก คณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชนของจังหวัดและ คณะทํางานประเมินมาตรฐานแผนชุมชน มาตรฐานแผนชุมชน ประชาชนกําหนดขึ้นตามหลักการระบบการมาตรฐานของประเทศไทย ซึ่งสํานักงาน คณะกรรมการ แหงชาติวาดวยการรับรองระบบงานไดกําหนดไวเพื่อใหใชกันทั่วไป ในขณะเดียวกันยังไดคํานึงถึง ความแตกตางของบริบทของแตละชุมชน เชน วิถีชีวิต ทัศนคติ คานิยม กรอบความคิด วัฒนธรรม ประเพณี สภาพแวดลอม ฯลฯ เพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือแกหนวยงานตาง ๆ ที่ตองการสนับสนุนกิจกรรมกรรแกไขปญญา/ การพัฒนาหมูบานที่กําหนดไวในแผนชุมชนของหมูบานดวยกระบวนการมีสวนรวมของคนในหมูบานไดอยางมั่นใจ มาตรฐานแผนชุมชนประกอบดวย ตัวชี้วัดและเกณฑ ๕ ตัวชี้วัด ไดแก ๑. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(การจัดทําแผนตามแนวของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) คะแนน 20 คะแนน ใหพิจารณาในประเด็น ๑.๑ การพึ่งตนเอง หมายถึง มีกิจกรรมในแผนชุมชนแสดงใหถึงความตองการพึ่งตนเอง ของหมูบาน/ชุมชน หรือมีเปาหมายดําเนินการเพื่อใหหมูบาน/ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได เชน การระดมทุน การ หาปจจัยการผลิตการเกษตรทดแทน ฯลฯ ๑.๒ มีกิจกรรมที่มีลักษณะเปนการชวยเหลือซึ่งกันและกันของคนในชุมชน รวมทั้ง ชวยเหลือชุมชนอื่น ๑.๓ มีกิจกรรมสงเสริมใหคนในหมูบานเก็บออมเงินในรูปแบบตางๆ ๑.๔ ภูมิคุมกันชุมชน หมายถึง มีกิจกรรมสรางการเรียนรูเพื่อใหคนในหมูบานรูและ เขาใจสถานการณ/ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและอาจจะสงผลกระทบตอวิถีชีวิตของคนในหมูบาน/ชุมชน และมี กิจกรรมเพื่อปองกันหรือบรรเทาผลกระทบเหลานั้น ๑.๕ ภูมิปญญาชาวบาน หมายถึง มีกิจกรรมแกไขปญหาหรือพัฒนาหมูบานที่ใชความรู หรือภูมิปญญาทองถิ่น ๑.๖ อนุ รักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อมของชุมชน หมายถึง มีกิจกรรมอนุรักษ ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของชุมชน ตอไปนี้


- ๑๔ – ๒. การมีสวนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน ใหพิจารณาในประเด็นตอไปนี้ ๒.๑ การมีสวนรวมของคนในหมูบาน/ชุมชน ๒.๒ การมีสวนรวมของหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องคกรเอกชน และองคกรพัฒนา เอกชน ในกระบวนการจัดทําแผนชุมชนของหมูบาน ๒.๓ ลักษณะของการมีสวนรวม ไดแก รวมคิด รวมตัดสินใจ กิจกรรม วิเคราะห ดําเนินงาน ติดตามประเมินผล และใชประโยชน ๓. กระบวนการเรียนรู คะแนน ๒๕ คะแนน ใหพิจารณาในประเด็นตอไปนี้ ๓.๑ ใชเวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคนในหมูบาน และถายทอดความรู ของปราชญชาวบาน ๓.๓ มีการทบทวนและจัดการความรูกระบวนการจัดทําแผนชุมชนของหมูบาน/ชุมชน เพื่อ ปรับปรุงใหแผนชุมชนมีประสิทธิภาพ ๔. การใชประโยชน คะแนน 25 คะแนน ใหพิจารณาจํานวนกิจกรรมตามแผนชุมชนที่สามารถนํามาปฏิบัติไดจริง โดยจําแนกเปน ๓ สวน คือ ๔.๑ จํานวนกิจกรรมที่หมูบาน/ชุมชนดําเนินการเอง ๔.๒ จํานวนกิจกรรมที่หมูบาน/ชุมชนจะดําเนินการรวมกับหนวยงานตางๆ ๔.๓ จํานวนกิจกรรมที่หมูบาน/ชุมชนจะตองใหหนวยงานตางๆ ดําเนินการใหทั้งหมด ๕. รูปเลมของแผนชุมชน (โครงสรางของแผน) คะแนน ๑๐ คะแนน ใหพิจารณา องคประกอบของแผนชุมชน ดังนี้ ๕.๑ มีขอมูลแสดงประวัติ / ความเปนมาของหมูบาน/ชุมชน ๕.๒ มีขอมูลแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของหมูบาน/ชุมชน และ/หรือสภาพปญหาที่หมูบาน/ ชุมชนประสบอยู ๕.๓ มีขอมูลแสดงแนวทางการแกไข / การพัฒนาของหมูบาน หนวยรับรองมาตรฐาน ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนที่กรมการพัฒนาชุมชนรวมกับภาคีการพัฒนาภาคราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชนออกแบบขึ้ น นี้ มี ห น ว ยรับ รองซึ่ งมี ที่มาจากคณะกรรมการที่ เกี่ ยวข องกั บ การ สงเสริมกระบวนการแผนชุมชนที่มีอยูในจังหวัดเพื่อไมใหเปนภาระแกผูปฏิบัติงานในระดับจังหวัด ในขณะเดียวกัน ก็ยังคงแนวคิดของการประเมินโดยบุคคลภายนอก หนวยงานรับรอง ดังกลาว ประกอบดวยคณะกรรมการรับรอง มาตรฐานแผนชุมชนจังหวัดและคณะทํางานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด


- ๑๕ หนวยรับรองมาตรฐาน หนาที่ คณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด (๑๑ - ๑๕ คน) ดังนี้  รอง ผวจ.ที่ ผวจ.มอบหมาย (ประธาน)  กําหนดนโยบาย/เปาหมายการรับรองแผน  ผูแทนสวนราชการระดับจังหวัดที่ดําเนินงาน ชุมชนของจังหวัด สงเสริมกระบวนการแผนชุมชนของจังหวัด  พิจารณาใหการรับรองแผนชุมชนที่ จํานวน ๓ - ๕ คน คณะทํางานประเมินมาตรฐานแผนชุมชน  ผูแทนภาคประชาชน จํานวน ๑ คน ของจังหวัดประเมินและผานมาตรฐาน  องคกรพัฒนาภาคเอกชนจํานวน แผนชุมชนที่กรมการพัฒนาชุมชนกําหนด ๑ คน  แตงตั้งคณะทํางานประเมินมาตรฐานแผน  ผูแทนสถาบันพัฒนาองคกรชุมชนจํานวน ๑ ชุมชนของจังหวัด คน  ติดตามประเมินผลการับรองมาตรฐาน  ผูแทนองคก ารบริห ารสว นจั งหวัด (หรือ อปท.) แผนชุมชนของจังหวัด จํานวน ๑ คน  ประชาสัมพันธและเผยแพรการดําเนินงาน  ผูแทนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มี รับรองมาตรฐานแผนชุมชนของจังหวัด บทบาท/รวมในการสงเสริมกระบวนการแผน  ดําเนินการอื่นใดที่จําเปนใหการดําเนินงาน ชุมชน จํานวน ๑ - ๓ คน รับรองมาตรฐานแผนชุมชนเปนไปอยางมี  ผูแทนสํานักงานจังหวัด (เลขานุการ) ประสิทธิภาพ  หัวหนากลุมงานที่รับผิดชอบงานสงเสริม กระบวนการแผนชุมชน (ผูชว ยเลขานุการ) ๒.. คณะทํางานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด (๙ – ๑๕ คน) ดังนี้         

หัวหนาสวนราชการจังหวัดที่ไดรับมอบหมาย (หัวหนาคณะทํางาน) ผูแทนสถาบันการศึกษา ผูแทน อปท. ผูแทนสภาองคกรชุมชนจังหวัด / NGO / ศอช.จ. ผูแทนแผนชุมชนระดับจังหวัด จํานวน ๑-๒ คน ผูแทนสถาบันการเงิน/สถาบันการจัดการเงินทุน ชุมชน หัวหนาสวน / ผูแทนสวนราชการจังหวัดที่ เกี่ยวของ หัวหนากลุมยุทธศาสตรจังหวัด (เลขานุการ) หัวหนากลุมงานที่ไดรับมอบหมายสพจ. (ผูชวยเลขานุการ)

ประเมินมาตรฐานแผนชุมชนตามระบบ รับรองมาตรฐาน แผนชุมชนที่กรมการพัฒนาชุมชนกําหนด เสนอผลการประเมินใหคณะกรรมการ รับรองมาตรฐาน แผนชุมชนจังหวัดพิจารณาและใหการ รับรอง


หนวยรับรองมาตรฐานแผนชุมชน

- ๑๖ -

การตรวจสอบและรับรอง ๑. แกนนําหมูบาน/ชุมชนรวมกับทีมปฏิบัติการระดับตําบลประเมินแผนชุมชนเบื้องตนโดยใช ตั วชี้ วั ด คุ ณ ภาพแผนชุ มชน ๖ ตั ว ชี้ วั ด และตั ว ชี้ วั ด ๕ ตั ว ของกระบวนการประเมิ น คุ ณ ภาพแผนชุ มชนแบบ มีสวนรวม ๒. แกนนําหมูบาน/ชุมชนเสนอแผนชุมชนใหคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน พิจารณา ๓. คณะกรรมการรับรองฯ สงแผนชุมชนที่หมูบานเสนอขอเขารับการประเมินใหคณะทํางาน ประเมินมาตรฐานแผนชุมชน ๔. คณะทํางานประเมินฯพิจารณาและประเมินมาตรฐาน ๕. คณะทํางานเสนอผลการประเมินมาตรฐานใหคณะกรรมการรับรองฯพิจารณารับรอง ๗. คณะกรรมการรับรองฯ ประกาศรับรอง

การผานเกณฑมาตรฐานแผนชุมชน

แผนชุมชนที่ผานเกณฑรับรองมาตรฐานแผนชุมชนจะตองไดคะแนนรวมทั้ง ๕ ตัวชีว้ ัด มากกวา ๗๐ คะแนนขึ้นไป โดยที่ตัวชี้วัดแตละตัวจะตองไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ ๖๐ ของคะแนนในแตละ ตัวชี้วัด ขั้นตอนการดําเนินงานรับรองมาตรฐานแผนชุมชน


- ๑๗ -

แนวทางการขับเคลื่อน กระบวนการแผนชุมชนแบบบูรณาการ เพื่ อให การขั บ เคลื่ อ นกระบวนการแผนชุ มชนแบบบู ร ณาการในพื้ น ที่ ดํ าเนิ น การได อย าง ตอเนื่อง มีความสอดคลองในภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน จึงไดจัดทําแนวทางใหกับ เจาหนาที่พัฒนาชุมชน ไดศึกษาทําความเขาใจและพิจารณาดําเนินการเพิ่มเติม ดังนี้ ๑. สนั บ สนุ น ข อ มู ล สารสนเทศชุ ม ชนให แ ก แ กนนํ าชุ ม ชน/คณะทํ า งานด านแผนฯ ของ คณะกรรมการหมูบาน (กม.) ใชประโยชนในการทบทวนปรับปรุงแผนชุมชน เพื่อบูรณาการใหเปนแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน และสงเสริมใหวิเคราะหปญหาจากข อมูลชุมชนที่มี (จปฐ. กชช.๒ ค บัญชีรับ-จายครัวเรือน ขอมูลสุขภาพ ขอมูลอาชีพ/เกษตร เหตุการณ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน เชน ภั ยแลง น้ําทวม ดินถลม การบุ กรุก ทํ าลายป า ฯลฯ) รวมถึ ง การวิเคราะห ความเปลี่ ย นแปลงของสถานการณ ในอนาคต เช น การเคลื่ อนย าย แรงงาน ประชาคมอาเซียน การตลาดและราคาสินค า การเปลี่ย นแปลงภูมิอากาศและภั ยธรรมชาติ ภาวะ สงคราม ฯลฯ ๒. สนับ สนุนองคความรูในเรื่องกระบวนการจัดทําแผนชุมชน การบูรณาการแผนชุมชนระดับ หมูบาน และการเปนวิทยากรกระบวนการ รวมทั้งใหความรวมมือในดานวิทยากรกระบวนการทบทวนแผนพัฒนาหมู บ าน/ชุ ม ชน ให แก แกนนํ าชุ ม ชน/คณะทํ างานด านแผนฯ ของคณะกรรมการหมู บ าน (กม.) ตลอดจน สนั บ สนุ น ประสานงานให ผู นํ าชุ มชน ผู นํ ากลุ มองค กรชุ มชน ที่ กรมฯ ส งเสริ มสนั บ สนุ น อยู ได เขารว มเป น คณะกรรมการหมูบาน (กม.) เพื่อปฏิบัติงานชวยเหลือประชาชนในชุมชนหมูบาน ผานคณะทํางานดานตางๆ ของ กม. เช น คณะทํ างานด านแผนฯ คณะทํ า งานด า นสตรี เด็ ก เยาวชนฯ คณะทํ า งานด า นเศรษฐกิ จ ฯ คณะทํ างานดานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ฯลฯ เพื่อพัฒนาให ชุมชนหมูบ าน มีความเขมแข็ง สามารถ บริหารจัดการตนเองได ภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มี ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภู มิคุมกั น มีความรู และมีคุณธรรม) ๓. สงเสริมใหแกนนําชุมชน/คณะทํางานดานแผนฯ ของคณะกรรมการหมูบาน (กม.) จัดทํา แผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน ใหมีคุณภาพ ตามเกณฑการประเมินคุณภาพแผนชุมชน (๖ ตัวชี้วัด) โดยชุมชนสามารถ ประเมินตนเองไดทันทีที่จัดทําแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชนเสร็จ และสมัครเขารับการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน จากคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด (ยกเวนแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน ที่ผานการรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน ไมเกิน 2 ปที่ผานมา) ซึ่งจะมีคณะทํางานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนติดตามประเมินผลตามเกณฑที่ กํ าหนด เพื่ อสร างการยอมรั บและความเชื่ อมั่ นให กั บองค กรปกครองส วนท องถิ่ นและหน วยงานต างๆ ในการ สนับสนุนงบประมาณ หรือเขารวมดําเนินกิจกรรมโครงการกับชุมชน


- ๑๘ ๔. สนับสนุนองคความรูใหกับคณะกรรมการศูนยประสานงานองคการชุมชนระดับตําบล (ศอช.ต.) และแกนนําชุมชนที่เปนกลไกในการบูรณาการแผนชุมชนของตําบล ในเรื่องกระบวนการแผนชุมชน การบูรณาการรวมกับหนวยงานภาคี เทคนิคเครื่องมือสรางการมีสวนรวม (วิทยากรกระบวนการ) รวมทั้ง วิธีการ ขั้นตอนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตําบล ๕. ประสานทําความเขาใจกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อบต./เทศบาล) เพื่อสนับสนุน ภารกิจของศูนยประสานงานองคการชุมชนระดับตําบล (ศอช.ต.) โดยมีคําสั่งแตงตั้ง/มอบให ศอช.ต. เปนกลไก ภาคประชาชน ที่จะชวยหรือรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น จัดเวทีบูรณาการแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน เปนแผนชุมชนระดับตําบล เพื่ อนํ าไปปรับเขาสูแผนพัฒ นาทองถิ่น และจัดทําเป นรางขอบังคับ งบประมาณ ประจําปตอไป ๖. ส ง เสริ ม ให แ กนนํ า ชุ ม ชน คณะกรรมการหมู บ า น (กม.) และประชาชนในหมู บ า น พึ่งตนเอง ชักชวนกันลงมือจัดดําเนินกิจกรรมโครงการตามแผนพัฒ นาหมูบาน/ชุมชน ที่ประชาชนทําเองได โดยรวมกัน/แบงงานกัน รับผิดชอบดําเนินการ เพื่อแกไขปญหาและตอบสนอง ความตองการของคนในชุมชน โดยไมขอใชงบประมาณจากภายนอก (อยางนอยรอยละ ๓๐ ของแผน ตามเกณฑประเมินคุณภาพแผนชุมชน) รวมทั้ง กระตุนใหแกนนําชุมชน คณะกรรมการหมูบาน (กม.) และประชาชนในชุมชน/หมูบาน ไดเขารวมเปน คณะติดตามประเมินผลการดําเนินกิจกรรมโครงการนั้น ดวยตนเอง


- ๑๑ -

เกณฑการประเมินคุณภาพแผนชุมชน (๖ ตัวชี้วัด) ประกอบดวย

โดย

๑. มีกระบวนการวิเคราะหตนเองของคนในชุมชน โดยพิจารณาจากฐานขอมูลการใชบัญชี รับ-จายของครัวเรือน ในการวิเคราะหปญหาความตองการในระดับครัวเรือน โดยดูจาก ขอมูลครัวเรือนที่ทําและใช (บัญชีรายรับ-รายจาย) รอยละ ๗๐ ขึ้นไป ๒. มีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผน โดยพิจารณาจากฐานขอมูลระดับการมีสวนรวม ของประชาชนในเวทีจัดทําแผนชุมชน โดยดูจากระดับการมีสวนรวมของประชาชน รอยละ ๗๐ ขึ้นไป ๓. มีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการจัดทําแผนตั้งแตตน โดยพิจารณาจาก ฐานขอมูลการมีสวนรวมของ อบต. ในการจัดทําแผนตั้งแตตน รวมทั้ง มีการนํากิจกรรม ในแผนชุมชนไปบรรจุไวในแผนพัฒนาทองถิ่น เพื่อนําไปสูการจัดทําเปนขอบังคับงบประมาณ ประจําป หรือเขารวมดําเนินกิจกรรมโครงการกับชุมชน ของ อบต. ๔. มีกระบวนการจัดทําแผนชุมชน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มีความ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน มีความรู และมีคุณธรรม) ๕. มีกิจกรรมพึ่งตนเอง (ทําเอง) อยางนอยรอยละ ๓๐ ของกิจกรรมในแผนชุมชน และมีการนําไปลงมือปฏิบัติจริง รอยละ ๓๐ ของกิจกรรมพึ่งตนเอง ๖. มีแผนชุมชนเปนลายลักษณอักษร เปนรูปเลม เปนปจจุบัน - แผนชุมชนที่ผานเกณฑ ๖ ขอ เปนแผนชุมชนที่มีคุณภาพระดับดีมาก - แผนชุมชนที่ผานเกณฑ ๕ ขอ เปนแผนชุมชนที่มีคุณภาพระดับดี - แผนชุมชนที่ผานเกณฑ ๔ ขอ เปนแผนชุมชนที่มีคุณภาพระดับพอใช

หมายเหตุ : พัฒนากรสนับสนุนใหแผนชุมชนคุณภาพดีมากและคุณภาพดี (ตามลําดับ) เขาสูกระบวนการ รับรองมาตรฐานแผนชุมชน ทั้งนี้ ยกเวนแผนชุมชนที่ผานการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ในป ๒๕๕๕ ที่ผานมา


ภาคผนวก


เปาหมายสมัครเขารับการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ป ๒๕๕๗ จังหวัดชัยนาท รอยละ ๓๕ ของแผนชุมชนที่เหลือจากแผนชุมชนที่ผานการรับรองมาตรฐาน ป ๒๕๕๕-๒๕๕๖ (๔๙๕- ๓๔๔ = ๑๕๑ หมูบาน) จํานวน ป ๒๕๕๕ เปาหมายสมัครเขาสูระบบ รวม ที่ อําเภอ หมูบานทั้งสิ้น ผานรับรองมาตรฐาน รับรองมาตรฐานแผนชุมชน แผนชุมชนผานรับรอง คงเหลือ รอยละ ๓๕ ป ๒๕๕๖ (๓๕%) ป ๒๕๕๕-๒๕๕๖ ๑ เมืองชัยนาท ๘๒ ๒๘ ๒๙ ๕๗ ๒๕ ๒ มโนรมย ๓๕ ๑๒ ๑๒ ๒๔ ๑๑ ๓ วัดสิงห ๔๗ ๑๗ ๑๖ ๓๓ ๑๔ ๔ สรรพยา ๕๔ ๑๙ ๑๙ ๓๘ ๑๖ ๕ สรรคบุรี ๙๒ ๓๒ ๓๒ ๖๔ ๒๘ ๖ หันคา ๙๖ ๓๓ ๓๓ ๖๖ ๓๐ ๗ หนองมะโมง ๔๑ ๑๔ ๑๔ ๒๘ ๑๓ ๘ เนินขาม ๔๘ ๑๗ ๑๗ ๓๔ ๑๔ รวม ๔๙๕ ๑๗๒ ๑๗๒ ตัวชี้วัดกิจกรรม...อยางนอยรอยละ ๓๐ สมัครเขาสูระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน

๓๔๔

๑๕๑

เปาหมายผาน รับรองมาตรฐานแผนฯ รอยละ ๓๐ รอยละ ๓๕ ๘ ๙ ๓ ๔ ๔ ๕ ๕ ๖ ๘ ๑๐ ๙ ๑๐ ๔ ๔ ๔ ๕ ๔๕

๕๓


ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 ที่ ๓๐ ๓๑ ๓๒

ทะเบียนรายชื่อหมูบานเปาหมายเขาสูระบบมาตรฐานแผนชุมชน ประจําป ๒๕๕๖ จังหวัดชัยนาท ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ หมายเหตุ สี่แยกบานใหม 1 บานกลวย เมืองชัยนาท วังน้ําโจร 3 บานกลวย เมืองชัยนาท วงษขอม 2 ทาชัย เมืองชัยนาท ทาชัย 3 ทาชัย เมืองชัยนาท หนองตาดํา 6 ทาชัย เมืองชัยนาท ไรเตียน 8 ทาชัย เมืองชัยนาท เที่ยงแท 1 ชัยนาท เมืองชัยนาท วังไผ 2 ชัยนาท เมืองชัยนาท วังไผ 4 ชัยนาท เมืองชัยนาท ดอนตาไล 8 ชัยนาท เมืองชัยนาท ธัญญะอุดม 6 หาดทาเสา เมืองชัยนาท มะพลับดก 8 หาดทาเสา เมืองชัยนาท หางกรวด 6 เขาทาพระ เมืองชัยนาท เขาดิน 7 เขาทาพระ เมืองชัยนาท กนอุด-ทาแมงเมา 8 เขาทาพระ เมืองชัยนาท ดักคะนน 3 ธรรมามูล เมืองชัยนาท ทาหาด 4 ธรรมามูล เมืองชัยนาท กลํา 5 ธรรมามูล เมืองชัยนาท ดักคะนนพัฒนา 10 ธรรมามูล เมืองชัยนาท สาริกา 2 เสือโฮก เมืองชัยนาท หนองพังนาค 7 เสือโฮก เมืองชัยนาท โรงวัว 8 เสือโฮก เมืองชัยนาท หนองพังนาค 13 เสือโฮก เมืองชัยนาท หนองคันปลัก 14 เสือโฮก เมืองชัยนาท หนองสมบัติ 3 นางลือ เมืองชัยนาท วังฉลาด 7 นางลือ เมืองชัยนาท ใหมศรัทธาราษฎร 10 นางลือ เมืองชัยนาท วังเคียนเกา 12 นางลือ เมืองชัยนาท ทรัพยสมบูรณ 13 นางลือ เมืองชัยนาท -๒ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ หมายเหตุ แหลมยาง ๑ วัดโคก มโนรมย หนองมวง ๒ วัดโคก มโนรมย คลองกลาง ๔ วัดโคก มโนรมย


๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙

หางน้ําหนองแขม ทาแขก ศิลาดาน หาดมะตูม หัวถนน ไรพัฒนา หนองกระทุม ดอนสําโรง ทาอู หนองพญา คลองใหญ ดอนหนองโพธิ์ หนองนอย ดอนมะขาม ทุงพงษ วัดใหม หนองน้ําลึก หนองแก หนองเสือ หนองกะทิง สํานักจั่น หนองจิก หนองกระเบียน หัวตะเฆ วังหมัน วัดกําแพง กลาง

๘ ๑ ๒ ๔ ๑ ๓ ๑ ๒ ๔ ๗ ๑๐ ๑๑ ๒ ๕ ๘ ๑ ๔ ๕ ๗ ๘ ๕ ๖ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒

ที่ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗

ชื่อบาน ใตวัดราษฎร ศาลาขาว โคกเข็ม บางกระเบียน หาดอาษา ตึก ลําหวย เขาแกว

หมูที่ ๖ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๘ ๓

ทาฉนวน ศิลาดาน ศิลาดาน ศิลาดาน ไรพัฒนา ไรพัฒนา อูตะเภา อูตะเภา อูตะเภา มะขามเฒา มะขามเฒา มะขามเฒา หนองนอย หนองนอย หนองนอย หนองบัว หนองบัว หนองขุน หนองขุน หนองขุน บอแร บอแร วังหมัน วังหมัน วังหมัน สรรพยา สรรพยา -๓ตําบล สรรพยา ตลุก ตลุก ตลุก หาดอาสา หาดอาสา หาดอาสา เขาแกว

มโนรมย มโนรมย มโนรมย มโนรมย มโนรมย มโนรมย มโนรมย มโนรมย มโนรมย วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห วัดสิงห สรรพยา สรรพยา อําเภอ สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา

หมายเหตุ


๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙

นมโฑ ทาน กรุณา ทองคุง งิ้ว บางยายลา เกาะ โพนางดํา บางเสวย ทาระบาด ทาระบาด ดอนอรัญญิก วังยาว หัวตะพาน วัดกําแพง ไทย ทาหวา วังยาว หนองบัว ดอนประดู หนองตาแผน รองแหว

๔ ๒ ๕ ๔ ๕ ๗ ๑ ๒ ๔ ๓ ๔ ๗ ๑๒ ๑๔ ๑๕ ๖ ๘ ๙ ๑๐ ๕ ๘ ๑๒

ที่ ๙๐ ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๘ ๙๙ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๒

ชื่อบาน ศรีมหาโภช ทุงกระถินพัฒนา ทาวัว ทาชาง บางยายอน วังโพธิ์ หอมกระจุย หอมกระจุย คลองขี้เหล็ก ทาไพร วังขนุน ทาสะตือ ทาศาลเจา

หมูที่ ๑๔ ๑๖ ๒ ๓ ๙ ๕ ๗ ๘ ๑ ๗ ๘ ๒ ๔

เขาแกว บางหลวง บางหลวง โพนางดําออก โพนางดําออก โพนางดําออก โพนางดําตก โพนางดําตก โพนางดําตก แพรกศรีราชา แพรกศรีราชา แพรกศรีราชา แพรกศรีราชา แพรกศรีราชา แพรกศรีราชา เที่ยงแท เที่ยงแท เที่ยงแท เที่ยงแท ดงคอน ดงคอน ดงคอน -๔ตําบล ดงคอน ดงคอน หวยกรด หวยกรด หวยกรด ดอนกํา ดอนกํา ดอนกํา หวยกรดพัฒนา หวยกรดพัฒนา หวยกรดพัฒนา บางขุด บางขุด

สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรพยา สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี อําเภอ สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี

หมายเหตุ


๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๗ ๑๐๘ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓ ๑๑๔ ๑๑๕ ๑๑๖ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙

บางกระบวย หอระฆัง มวงงาม มวงงาม โพงาม หอมกระจุย บานเชี่ยน หวยซุง ทับนา ดอนโก บางลี่ หนองอายสม ไพรนกยูง บอมะกอก หนองกง เดนใหญ ดอนดินแดง

๗ ๑๒ ๑ ๓ ๖ ๑๑ ๓ ๔ ๕ ๘ ๑๒ ๔ ๕ ๘ ๑๑ ๑ ๔

ที่ ๑๒๐ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๕ ๑๒๖ ๑๒๗ ๑๒๘ ๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๓ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๓๖ ๑๓๗

ชื่อบาน หนองมะเกลือ ดอนบอ หนองตอ หนองครอ หวยรวม ดอนตูม ดอนกระโดน วังกระชาย ถ้ําเข บานพราน หนองโสน หนองจงอาง หนองเตา วังลั่นทม คลองจันทร หมื่นเทพ บานหวยงู ดอนชงโค

หมูที่ ๘ ๙ ๖ ๗ ๘ ๙ ๓ ๘ ๙ ๑๑ ๕ ๘ ๑๖ ๑๘ ๑ ๒ ๓ ๔

บางขุด บางขุด โพงาม โพงาม โพงาม โพงาม บานเชี่ยน บานเชี่ยน บานเชี่ยน บานเชี่ยน บานเชี่ยน ไพรนกยูง ไพรนกยูง ไพรนกยูง ไพรนกยูง เดนใหญ เดนใหญ -๕ตําบล เดนใหญ เดนใหญ หันคา หันคา หันคา หันคา วังไกเถื่อน วังไกเถื่อน วังไกเถื่อน วังไกเถื่อน หนองแซง หนองแซง หนองแซง หนองแซง หวยงู หวยงู หวยงู หวยงู

สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี สรรคบุรี หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา อําเภอ หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา หันคา

หมายเหตุ


๑๓๘ ๑๓๙ ๑๔๐ ๑๔๑ ๑๔๒ ๑๔๓ ๑๔๔ ๑๔๕ ๑๔๖ ๑๔๗ ๑๔๘ ๑๔๙

วงเดือน ทาโบสถ ทาฟน ทากรวด ทุงโปง ดอนใหญ สุขสวัสดิ์ ทรัพยเจริญ วังตะเคียน วังน้ําขาว ดงสวนหลวง หนองขาม

๓ ๖ ๘ ๑๐ ๒ ๕ ๙ ๑๑ ๒ ๓ ๘ ๒

ที่ ๑๕๐ ๑๕๑ ๑๕๒ ๑๕๓ ๑๕๔ ๑๕๕ ๑๕๖ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๖๑ ๑๖๒ ๑๖๓ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑๖๖ ๑๖๗ ๑๖๘ ๑๖๙ ๑๗๐ ๑๗๑ ๑๗๒

ชื่อบาน หนองสีฟน หนองไมแกน หนองกะทะ กุดจอก หนองชุมสาย ทับเสาหอ เนินขาม หนองแหว หนองศาลา หนองระกํา หนองระกํา ทุง โปงกําแพง ทุงนานอย เขาโพธิ์งาม หนองลาด บุงฝาง หนองแกผักพฤกษ หนองสําโรง วังคอไห สามแยก หนองปลอง พุสมหวัง

หมูที่ ๓ ๗ ๘ ๑ ๒ ๓ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๙ ๑๘ ๒ ๔ ๘ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๓ ๕ ๙ ๑๔

สามงามทาโบสถ สามงามทาโบสถ สามงามทาโบสถ สามงามทาโบสถ หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง วังตะเคียน วังตะเคียน วังตะเคียน สะพานหิน -๖ตําบล สะพานหิน สะพานหิน สะพานหิน กุดจอก กุดจอก กุดจอก เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม กะบกเตี้ย กะบกเตี้ย กะบกเตี้ย กะบกเตี้ย กะบกเตี้ย กะบกเตี้ย สุขเดือนหา สุขเดือนหา สุขเดือนหา สุขเดือนหา

หันคา หันคา หันคา หันคา หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง อําเภอ หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง หนองมะโมง เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม เนินขาม

หมายเหตุ


หมายเหตุ.- เมืองชัยนาท ๒๙ - มโนรมย ๑๒ - วัดสิงห ๑๖ - สรรพยา ๑๙

- สรรคบุรี ๓๒ - หันคา ๓๓ - หนองมะโมง ๑๔ - เนินขาม ๑๗


รายชื อแผนชุ มชนระดับดีเยียม ประจําปี ๒๕๕๖ จังหวัดชั ยนาท จํานวน ๑๑ หมู่บ้าน ลําดับที ชื อหมู่บ้าน หมู่ที ตําบล อําเภอ ๑ บ้านวังลันทม ๑๘ หนองแซง หันคา ๒ บ้านศาลาขาว ๔ ตลุก สรรพยา ๓ บ้านกลาง ๒ สรรพยา สรรพยา ๔ บ้านหอระฆัง ๑๒ บางขุด สรรคบุรี ๕ บ้านโพงาม ๖ โพงาม สรรคบุรี ๖ บ้านหนองพญา ๗ มะขามเฒ่า วัดสิ งห์ ๗ บ้านคลองใหญ่ ๑๐ มะขามเฒ่า วัดสิ งห์ ๘ บ้านหัวตะเฆ่ ๓ วังหมัน วัดสิ งห์ ๙ บ้านวังนําโจน ๓ บ้านกล้วย เมืองชัยนาท ๑๐ บ้านหนองสมบัติ ๓ นางลือ เมืองชัยนาท ๑๑ บ้านโป่ งกําแพง ๑๘ เนินขาม เนินขาม

คะแนน ๙๗ ๙๗ ๙๖ ๙๓ ๙๓ ๙๒ ๙๑ ๙๑ ๙๑ ๙๑ ๙๑


ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 ๓๐ ๓๑

รายชื่อแผนชุมชนที่ผานการประเมิน เสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ประจําป ๒๕๕๖ จังหวัดชัยนาท ผลการประเมิน ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ คะแนน ผาน ไมผาน  สี่แยกบานใหม 1 บานกลวย เมืองชัยนาท 87 วังน้ําโจร 3 บานกลวย เมืองชัยนาท 91  วงษขอม 2 ทาชัย เมืองชัยนาท 77  ทาชัย 3 ทาชัย เมืองชัยนาท 82  หนองตาดํา 6 ทาชัย เมืองชัยนาท 82  ไรเตียน 8 ทาชัย เมืองชัยนาท 84  เที่ยงแท 1 ชัยนาท เมืองชัยนาท 75  วังไผ 2 ชัยนาท เมืองชัยนาท 75  วังไผ 4 ชัยนาท เมืองชัยนาท 76  ดอนตาไล 8 ชัยนาท เมืองชัยนาท 75  ธัญญะอุดม 6 หาดทาเสา เมืองชัยนาท 76  มะพลับดก 8 หาดทาเสา เมืองชัยนาท 76  หางกรวด 6 เขาทาพระ เมืองชัยนาท 78  เขาดิน 7 เขาทาพระ เมืองชัยนาท 82  กนอุด-ทาแมงเมา 8 เขาทาพระ เมืองชัยนาท 83  ดักคะนน 3 ธรรมามูล เมืองชัยนาท 81  ทาหาด 4 ธรรมามูล เมืองชัยนาท 78  กลํา 5 ธรรมามูล เมืองชัยนาท 78  ดักคะนนพัฒนา 10 ธรรมามูล เมืองชัยนาท 77  สาริกา 2 เสือโฮก เมืองชัยนาท 81  หนองพังนาค 7 เสือโฮก เมืองชัยนาท 79  โรงวัว 8 เสือโฮก เมืองชัยนาท 79  หนองพังนาค 13 เสือโฮก เมืองชัยนาท 72  หนองคันปลัก 14 เสือโฮก เมืองชัยนาท 79  หนองสมบัติ 3 นางลือ เมืองชัยนาท 91  วังฉลาด 7 นางลือ เมืองชัยนาท 79  ใหมศรัทธาราษฎร 10 นางลือ เมืองชัยนาท 81  วังเคียนเกา 12 นางลือ เมืองชัยนาท 77  ทรัพยสมบูรณ 13 นางลือ เมืองชัยนาท 81  แหลมยาง ๑ วัดโคก มโนรมย 83  หนองมวง ๒ วัดโคก มโนรมย 71 

ระดับ AA AAA A AA AA AA A A A A A A A AA AA AA A A A AA A A A A AAA A AA A AA AA A


ที่ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒

รายชื่อแผนชุมชนที่ผานการประเมิน เสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ประจําป ๒๕๕๖ จังหวัดชัยนาท ผลการประเมิน ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ คะแนน ผาน ไมผาน คลองกลาง ๔ วัดโคก มโนรมย 75  หางน้ําหนองแขม ๘ ทาฉนวน มโนรมย 76  ทาแขก ๑ ศิลาดาน มโนรมย 77  ศิลาดาน ๒ ศิลาดาน มโนรมย 76  หาดมะตูม ๔ ศิลาดาน มโนรมย 82  หัวถนน ๑ ไรพัฒนา มโนรมย 82  ไรพัฒนา ๓ ไรพัฒนา มโนรมย 82  หนองกระทุม ๑ อูตะเภา มโนรมย 77  ดอนสําโรง ๒ อูตะเภา มโนรมย 75  ทาอู ๔ อูตะเภา มโนรมย 71  หนองพญา ๗ มะขามเฒา วัดสิงห 92  คลองใหญ ๑๐ มะขามเฒา วัดสิงห 91  ดอนหนองโพธิ์ ๑๑ มะขามเฒา วัดสิงห 88  หนองนอย ๒ หนองนอย วัดสิงห 76  ดอนมะขาม ๕ หนองนอย วัดสิงห 78  ทุงพงษ ๘ หนองนอย วัดสิงห 86  วัดใหม ๑ หนองบัว วัดสิงห 82  หนองน้ําลึก ๔ หนองบัว วัดสิงห 74  หนองแก ๕ หนองขุน วัดสิงห 75  หนองเสือ ๗ หนองขุน วัดสิงห 80  หนองกะทิง ๘ หนองขุน วัดสิงห 81  สํานักจั่น ๕ บอแร วัดสิงห 80  หนองจิก ๖ บอแร วัดสิงห 88  หนองกระเบียน ๒ วังหมัน วัดสิงห 75  หัวตะเฆ ๓ วังหมัน วัดสิงห 91  วังหมัน ๔ วังหมัน วัดสิงห 77  วัดกําแพง ๑ สรรพยา สรรพยา 90  กลาง ๒ สรรพยา สรรพยา 96  ใตวัดราษฎร ๖ สรรพยา สรรพยา ๘๕  ศาลาขาว ๔ ตลุก สรรพยา ๙๗  โคกเข็ม ๕ ตลุก สรรพยา 90 

ระดับ A A A A AA AA AA A A A AAA AAA AA A A AA AA A A A AA A AA A AAA A AA AAA AA AAA AA


ที่ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๒ ๙๓

รายชื่อแผนชุมชนที่ผานการประเมิน เสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ประจําป ๒๕๕๖ จังหวัดชัยนาท ผลการประเมิน ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ คะแนน ผาน ไมผาน บางกระเบียน ๖ ตลุก สรรพยา 90  หาดอาษา ๑ หาดอาสา สรรพยา 80  ตึก ๒ หาดอาสา สรรพยา 78  ลําหวย ๘ หาดอาสา สรรพยา 80  เขาแกว ๓ เขาแกว สรรพยา 77  นมโฑ ๔ เขาแกว สรรพยา 86  ทาน ๒ บางหลวง สรรพยา 78  กรุณา ๕ บางหลวง สรรพยา 75  ทองคุง ๔ โพนางดําออก สรรพยา 89  งิ้ว ๕ โพนางดําออก สรรพยา 72  บางยายลา ๗ โพนางดําออก สรรพยา 87  เกาะ ๑ โพนางดําตก สรรพยา 71  โพนางดํา ๒ โพนางดําตก สรรพยา 78  บางเสวย ๔ โพนางดําตก สรรพยา 78  ทาระบาด ๓ แพรกศรีราชา สรรคบุรี 78  ทาระบาด ๔ แพรกศรีราชา สรรคบุรี 90  ดอนอรัญญิก ๗ แพรกศรีราชา สรรคบุรี 77  วังยาว ๑๒ แพรกศรีราชา สรรคบุรี 85  หัวตะพาน ๑๔ แพรกศรีราชา สรรคบุรี 81  วัดกําแพง ๑๕ แพรกศรีราชา สรรคบุรี 81  ไทย ๖ เที่ยงแท สรรคบุรี 77  ทาหวา ๘ เที่ยงแท สรรคบุรี 77  วังยาว ๙ เที่ยงแท สรรคบุรี 79  หนองบัว ๑๐ เที่ยงแท สรรคบุรี 79  ดอนประดู ๕ ดงคอน สรรคบุรี 77  หนองตาแผน ๘ ดงคอน สรรคบุรี 75  รองแหว ๑๒ ดงคอน สรรคบุรี 73  ศรีมหาโภช ๑๔ ดงคอน สรรคบุรี 73  ทุงกระถินพัฒนา ๑๖ ดงคอน สรรคบุรี 73  ทาวัว ๒ หวยกรด สรรคบุรี 73  ทาชาง ๓ หวยกรด สรรคบุรี 77 

ระดับ AA A A A A AA A A AA A AA A A A

A AA A AA AA AA A A A A A A A A A A A


รายชื่อแผนชุมชนที่ผานการประเมิน เสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ประจําป ๒๕๕๖ จังหวัดชัยนาท ผลการประเมิน ที่ ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ คะแนน ผาน ไมผาน ๙๔ บางยายอน ๙ หวยกรด สรรคบุรี 74  ๙๕ วังโพธิ์ ๕ ดอนกํา สรรคบุรี 77  ๙๖ หอมกระจุย ๗ ดอนกํา สรรคบุรี 78  ๙๗ หอมกระจุย ๘ ดอนกํา สรรคบุรี 77  ๙๘ คลองขี้เหล็ก ๑ หวยกรดพัฒนา สรรคบุรี 76  ๙๙ ทาไพร ๗ หวยกรดพัฒนา สรรคบุรี 85  ๑๐๐ วังขนุน ๘ หวยกรดพัฒนา สรรคบุรี 83  ๑๐๑ ทาสะตือ ๒ บางขุด สรรคบุรี 87  ๑๐๒ ทาศาลเจา ๔ บางขุด สรรคบุรี 86  ๑๐๓ บางกระบวย ๗ บางขุด สรรคบุรี 86  ๑๐๔ หอระฆัง ๑๒ บางขุด สรรคบุรี 93  ๑๐๕ มวงงาม ๑ โพงาม สรรคบุรี 87  ๑๐๖ มวงงาม ๓ โพงาม สรรคบุรี 76  ๑๐๗ โพงาม ๖ โพงาม สรรคบุรี 93  ๑๐๘ หอมกระจุย ๑๑ โพงาม สรรคบุรี 74  ๑๐๙ บานเชี่ยน ๓ บานเชี่ยน หันคา 75  ๑๑๐ หวยซุง ๔ บานเชี่ยน หันคา 77  ๑๑๑ ทับนา ๕ บานเชี่ยน หันคา 79  ๑๑๒ ดอนโก ๘ บานเชี่ยน หันคา 77  ๑๑๓ บางลี่ ๑๒ บานเชี่ยน หันคา 80  ๑๑๔ หนองอายสม ๔ ไพรนกยูง หันคา 77  ๑๑๕ ไพรนกยูง ๕ ไพรนกยูง หันคา 77  ๑๑๖ บอมะกอก ๘ ไพรนกยูง หันคา 77  ๑๑๗ หนองกง ๑๑ ไพรนกยูง หันคา 73  ๑๑๘ เดนใหญ ๑ เดนใหญ หันคา 88  ๑๑๙ ดอนดินแดง ๔ เดนใหญ หันคา 80  ๑๒๐ หนองมะเกลือ ๘ เดนใหญ หันคา 71  ๑๒๑ ดอนบอ ๙ เดนใหญ หันคา 75  ๑๒๒ หนองตอ ๖ หันคา หันคา 83  ๑๒๓ หนองครอ ๗ หันคา หันคา ๗๑  ๑๒๔ หวยรวม ๘ หันคา หันคา 75 

ระดับ A A A A A AA AA AA AA AA AAA AA A AAA A A A A A A A A A A AA A A A AA A A


รายชื่อแผนชุมชนที่ผานการประเมิน เสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ประจําป ๒๕๕๖ จังหวัดชัยนาท ผลการประเมิน ที่ ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ คะแนน ผาน ไมผาน ๑๒๕ ดอนตูม ๙ หันคา หันคา 77  ๑๒๖ ดอนกระโดน ๓ วังไกเถื่อน หันคา 82  ๑๒๗ วังกระชาย ๘ วังไกเถื่อน หันคา 78  ๑๒๘ ถ้ําเข ๙ วังไกเถื่อน หันคา 77  ๑๒๙ บานพราน ๑๑ วังไกเถื่อน หันคา 79  ๑๓๐ หนองโสน ๕ หนองแซง หันคา 87  ๑๓๑ หนองจงอาง ๘ หนองแซง หันคา 82  ๑๓๒ หนองเตา ๑๖ หนองแซง หันคา 83  ๑๓๓ วังลั่นทม ๑๘ หนองแซง หันคา 97  ๑๓๔ คลองจันทร ๑ หวยงู หันคา 81  ๑๓๕ หมื่นเทพ ๒ หวยงู หันคา 74  ๑๓๖ หวยงู ๓ หวยงู หันคา 76  ๑๓๗ ดอนชงโค ๔ หวยงู หันคา 72  ๑๓๘ วงเดือน ๓ สามงามทาโบสถ หันคา ๗๑  ๑๓๙ ทาฟน ๘ สามงามทาโบสถ หันคา 81  ๑๔๐ ทาโบสถ ๖ สามงามทาโบสถ หันคา 73  ๑๔๑ ทากรวด ๑๑ สามงามทาโบสถ หันคา ๗๑  ๑๔๒ ทุงโปง ๒ หนองมะโมง หนองมะโมง 71  ๑๔๓ ดอนใหญ ๕ หนองมะโมง หนองมะโมง 73  ๑๔๔ สุขสวัสดิ์ ๙ หนองมะโมง หนองมะโมง 74  ๑๔๕ ทรัพยเจริญ ๑๑ หนองมะโมง หนองมะโมง 74  ๑๔๖ วังตะเคียน ๒ วังตะเคียน หนองมะโมง 76  ๑๔๗ วังน้ําขาว ๓ วังตะเคียน หนองมะโมง 76  ๑๔๘ ดงสวนหลวง ๘ วังตะเคียน หนองมะโมง 75  ๑๔๙ หนองขาม ๒ สะพานหิน หนองมะโมง 81  ๑๕๐ หนองสีฟน ๓ สะพานหิน หนองมะโมง 76  ๑๕๑ หนองไมแกน ๗ สะพานหิน หนองมะโมง 81  ๑๕๒ หนองกะทะ ๘ สะพานหิน หนองมะโมง 77  ๑๕๓ กุดจอก ๑ กุดจอก หนองมะโมง 72  ๑๕๔ หนองชุมสาย ๒ กุดจอก หนองมะโมง 77  ๑๕๕ ทับเสาหอ ๓ กุดจอก หนองมะโมง 77 

ระดับ A AA A A A AA AA AA AAA AA A A A A AA A A A A A A A A A AA A AA A A A A


ที่ ๑๕๖ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๖๑ ๑๖๒ ๑๖๓ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑๖๖ ๑๖๗ ๑๖๘ ๑๖๙ ๑๗๐ ๑๗๑ ๑๗๒

รายชื่อแผนชุมชนที่ผานการประเมิน เสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ประจําป ๒๕๕๖ จังหวัดชัยนาท ผลการประเมิน ชื่อบาน หมูที่ ตําบล อําเภอ คะแนน ผาน ไมผาน เนินขาม ๒ เนินขาม เนินขาม 85  หนองแหว ๓ เนินขาม เนินขาม 77  หนองศาลา ๔ เนินขาม เนินขาม 87  หนองระกํา ๕ เนินขาม เนินขาม 89  หนองระกํา ๖ เนินขาม เนินขาม 74  ทุง ๙ เนินขาม เนินขาม 83  โปงกําแพง ๑๘ เนินขาม เนินขาม 91  ทุงนานอย ๒ กะบกเตี้ย เนินขาม 79  เขาโพธิ์งาม ๔ กะบกเตี้ย เนินขาม 77  หนองลาด ๘ กะบกเตี้ย เนินขาม 87  บุงฝาง ๑๐ กะบกเตี้ย เนินขาม 79  หนองแกผักพฤกษ ๑๑ กะบกเตี้ย เนินขาม 75  หนองสําโรง ๑๒ กะบกเตี้ย เนินขาม ๗๑  วังคอไห ๓ สุขเดือนหา เนินขาม 80  สามแยก ๕ สุขเดือนหา เนินขาม 81  หนองปลอง ๙ สุขเดือนหา เนินขาม 71  พุสมหวัง ๑๔ สุขเดือนหา เนินขาม ๗๑ 

ระดับ AA A AA AA A AA AAA A A AA A A A A AA A A








เปาหมายเขารวมโครงการสรางความรูความเขาใจระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนแกผูเกี่ยวของ วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๗ ณ หองประชุม ๕๐๓ ศาลากลางจังหวัดชัยนาท เปาหมาย แกนนําหมูบาน ศอช.ต./อ พัฒนากร อําเภอ รวม แผนชุมชน (คน) (คน) (คน) เมืองชัยนาท ๙ ๑ ๑ ๑๑ มโนรมย ๔ ๑ ๑ ๖ วัดสิงห ๕ ๑ ๑ ๗ สรรพยา ๖ ๑ ๑ ๘ สรรคบุรี ๑๐ ๑ ๑ ๑๒ หันคา ๑๐ ๒ ๑ ๑๓ หนองมะโมง ๔ ๑ ๑ ๖ เนินขาม ๕ ๑ ๑ ๗ รวม ๕๓ ๙ ๘ ๗๐ หมายเหตุ.- แกนนําหมูบานแผนชุมชน คือ หมูบานที่เขาสูการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ป ๒๕๕๗


-2ทะเบียนข้ อมูลหมู่บ้านเป้าหมายเข้ าสู่ ระบบมาตรฐานแผนชุมชน ปี 2557 จังหวัดชัยนาท ใช้ฐานจากหมู่บา้ นตามพระราชบัญญัติลกั ษณะปกครองท้องที พ.ศ. 2457 (ยกเว้นในเขตเทศบาล) ตามฐานข้อมูล กชช.2ค.ปี 2554 จํานวน 495 หมู่บา้ น (ร้อยละ 35 ของแผนชุมชน ทียงั ไม่ได้สมัครเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน หรื อยังไม่ผา่ นการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน จํานวน 151 หมู่บา้ น)

ที

อําเภอ/กิงอําเภอ

1

เมืองชัยนาท

เป้ าหมาย หมู่ที ชื อหมู่บ้าน (หมู่บ้าน) 2 แหลมยาง 9

ตําบล

หมายเหตุ

บ้านกล้วย

8 ตําบล / 82 หมู่บา้ น

2

1

หัวรอ

เขาท่าพระ

3

7

ท่าลาภ

เขาท่าพระ

4

12 เกาะโพธิ

5

4

ท่าไม้

ท่าชัย

6

3

ปากคลองแพรก

ชัยนาท

7

3

บางก้านเหลือง

หาดท่าเสา

8

9

บึงเจริ ญ

นางลือ

9

14 ดอนตานนท์

นางลือ

4

คุง้ สําเภา

คุง้ สําเภา

11

6

ดอนฉนวน

ท่าฉนวน

12

3

หาดมะตูม

ศิลาดาน

13

5

เขาแหลม

ไร่ พฒั นา

9

หนองน้อย

มะขามเฒ่า

15

6

ดอนแต้

หนองน้อย

16

3

ทันจัน

หนองขุ่น

17

4

ดงไร

บ่อแร่

18

1

หนองอีเช้ง

วังหมัน

1

ท่าทราย

บางหลวง

20

5

หัวแหลม

สรรพยา

21

5

โป่ งแค

เขาเก้า

22

3

สวนมะม่วง

23

5

ท่าทราย

หาดอาษา

24

9

ท้ายนํา

ตลุก

10 วัดพระแก้ว

แพรกศรี ราชา

26

13 ปั กเป้ า

แพรกศรี ราชา

27

1

10

14

19

25

มโนรมย์

วัดสิ งห์

สรรพยา

สรรคบุรี

4

5

6

10

เทียงแท้

เสื อโฮก

7 ตําบล / 35 หมู่บา้ น

7 ตําบล//47 หมู่บา้ น

7 ตําบล / 53 หมู่บา้ น

โพนางดําออก

เทียงแท้

8 ตําบล / 92 หมู่บา้ น


- 3ที

อําเภอ/กิงอําเภอ

28

สรรคบุรี

เป้ าหมาย หมู่ที (หมู่บ้าน)

ชื อหมู่บ้าน

ตําบล

2

ดาบ

ดงคอน

29

6

บางไก่เถือน

ห้วยกรด

30

4

ใหม่

ดอนแก

31

2

คลองงิว

ห้วยกรดพัฒนา

32

3

ท่าขยาย

บางขุด

33

11 ร่ องใหญ่

บางขุด

34

2

ม่วงงาม

โพงาม

2

ดอนไร่

หันคา

8

ท่าแก้ว

ห้วยงู

11 หนองทาระกู

บ้านเชียน

14 ดอนพุทธา

หนองแซง

17 หนองกาเหลือง

หนองแซง

13 วังเดือนห้า

ไพรนกยูง

4

ท่าบ้านหลวง

วังไก่เถือน

7

ควาย

วังไก่เถือน

3

หนองแจง

เด่นใหญ่

5

บุทางรถ

เด่นใหญ่

หันคา

หนองมะโมง

10

4

12 ประชารัฐ

หนองมะโมง

46

12 โคกสว่าง

วังตะเคียน

47

4

หนองขนาก

กุดจอก

48

5

ดงประดา

กุดจอก

7

หัวตอ

เนินขาม

50

8

น้อย

เนินขาม

51

11 กลาง

เนินขาม

52

1

หนองยางตะวันตก

สุขเดือนห้า

53

8

บ่อม่วง

สุขเดือนห้า

45

49

เนินขาม

รวม

5

53

หมายเหตุ

8 ตําบล / 95 หมู่บา้ น

4 ตําบล/ / 41 หมู่บา้ น

3 ตําบล / 48 หมู่บา้ น




ทะเบียนข้ อมูลหมู่บ้านเป้าหมายเข้ าสู่ ระบบมาตรฐานแผนชุมชน ปี 2557 จังหวัดชัยนาท ข้ อมูล ณ วันที 20 พฤศจิกายน 2556 ใช้ฐานจากหมู่บา้ นตามพระราชบัญญัติลกั ษณะปกครองท้องที พ.ศ. 2457 (ยกเว้นในเขตเทศบาล) ตามฐานข้อมูล กชช.2ค.ปี 2554 จํานวน 495 หมู่บา้ น

ที อําเภอ/กิงอําเภอ

อ.เมืองชั ยนาท 1

ตําบล/เทศบาล 8 ตําบล 1.บ้านกล้วย

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี ๒๕๕๕

1 สี แยกบ้านใหม่ 2 แหลมยาง

3

3 วังนําโจร

4

4 วัดตาก

/

5

5 วังไร

/

6

6 ฝายนําล้น

/

7

7 วังทอง 2.เขาท่าพระ

P

1 หัวรอ

P

9

2 คลองเรื อ

10

3 เขาท่าพระ

/

11

4 เขาขยาย

/

12

5 หาดกองสิ น

/

13

6 หางกรวด

14

7 เขาดิน

15

8 ก้นอุด-ท่าแมงเม่า 1 ธรรมามูลใต้วดั

/

17

2 ธรรมามูลเหนือวัด

/

18

3 ดักคะนน

19

4 ท่าหาด

20

5 กลํา

21

6 เชียน

22

7 ท่าลาภ

23

8 ย่าสร้อย

/

24

9 คุม้ เกล้า

/

25

10 ดักคะนนพัฒนา

16

26

3.ธรรมามูล

4.เสื อโฮก

๒๕๕๗

ปี 2554 82 หมู่บ้าน

2

8

๒๕๕๖

1 หนองเต่าดํา

27

2 สาริ กา

28

3 ดอนรังนก

P

หมายเหตุ


-2ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

29

4 โรงวัว

/

30

5 เสื อโฮก

/

31

6 เนินถ่าน

/

32

7 หนองพังนาค

33

8 โรงวัว

34

9 แหลมหว้า

35

10 แหลมหว้า

36

11 หนองป่ าน

37

12 เกาะโพธิ

38

13 หนองพังนาค

39

14 หนองคันปลัก

40

5.ท่าชัย

1 งิวงาม

P

/

2 วงษ์ขอม

42

3 ท่าชัย

43

4 ท่าไม้

44

5 หัวยาง

45

6 หนองตาดํา

46

7 หลังดอน

47

8 ไร่ เตียน

48

9 แหลมยาง

49

10 โพธิเจริ ญ

/

50

11 วัดสะพาน

/

6.ชัยนาท

2557

/

41

51

2556

P

/

1 เทียงแท้

52

2 วังไผ่

53

3 ปากคลองแพรก

54

4 วังไผ่

55

5 ท่ากระยาง

56

6 ดอนมะรุ ม

57

7 หนองตาด้วง

58

8 ดอนตาไล้

59

9 เทียงธรรม

P / / /

หมายเหตุ


-3ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

60

7.หาดท่าเสา

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

2555

2 บึงประจํารัง

62

3 บางก้านเหลือง

63

4 เกาะ(ท่าแห)

64

5 บึงประจํารัง

65

6 ธัญญะอุดม

66

7 วงษ์พฒั นา

67

8 มะพลับดก

P /

/

69

2 นางลือ

/

70

3 หนองสมบัติ

71

4 วังเคียน

72

5 หนองกรด

73

6 หนองจอก

74

7 วังฉลาด

75

8 หนองแค

76

9 บึงเจริ ญ

77

10 ใหม่ศรัทธาราษฎร์

78

11 ห้วยเดือ

79

12 วังเคียนเก่า

80

13 ทรัพย์สมบูรณ์

81

14 ดอนตานนท์

82

15 เจริ ญทรัพย์

อ.มโนรมย์

7 ตําบล

P /

P /

ปี 2554 35 หมู่บ้าน /

2

2 วัดใต้

/

3

3 คุง้ สําเภา

/

4

4 คุง้ สําเภา

5

1. คุง้ สําเภา

/

1 ท่าหาด

1

2. วัดโคก

2557

/

1 นางลือ

68

2556

1 ท้องคุง้

61

8.นางลือ

เป้าหมายการดําเนินงานในปี

P

1 แหลมยาง

6

2 หนองม่วง

7

3 เนินไผ่

8

4 คลองกลาง

/

หมายเหตุ


-4ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

5 คลองขุด

9 3. ท่าฉนวน

10

2 ท่าฉนวน

12

3 ท่าฉนวน

13

4 หลัน

14

5 หัวยาง

15

6 ดอนฉนวน

16

7 หางนําหนองแขม

17

8 หางนําหนองแขม

18

9 สะพานหิ น

19

10 ดอนสําราญ 4. ศิลาดาน

2 ศิลาดาน

22

3 หาดมะตูม

23

4 หาดมะตูม

24

5 ดอนเดือ

25

6 ต้นมะขาม 5. ไร่ พฒั นา

2 หนองมะขาม

28

3 ไร่ พฒั นา

29

4 หัวหว้า

30

5 เขาแหลม 6. อู่ตะเภา

2 ดอนสําโรง

33

3 หนองตาตน

34

4 ท่าอู่

35

5 อู่ตะเภา

1

6 ตําบล 1.มะขามเฒ่า

/

/ P /

P

/ / / P

1 หนองกระทุ่ม

32

อ.วัดสิ งห์

2557

1 หัวถนน

27

31

2556

1 ท่าแขก

21

26

2555

1 วัดใหญ่

11

20

เป้าหมายการดําเนินงานในปี

/ /

ปี 2554 47 หมู่บ้าน 1 ปากคลองมะขามเฒ่า

/

2

2 ท่าเรื อทอง

3

3 ท่าแร่

/

4

4 คลองมอญ

/

หมายเหตุ


-5ที อําเภอ/กิงอําเภอ

อ.วัดสิ งห์

ตําบล/เทศบาล 6 ตําบล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

5 ท่าแห

6

6 คลองปลาไหล

7

7 หนองพญา

8

8 หนองพญานอก

9

9 หนองน้อย

10

10 คลองใหญ่

11

11 ดอนหนองโพ 2.หนองน้อย

1 หนองแค

13

2 หนองน้อย

14

3 โคกสุข

15

4 ดอนตาล

16

5 ดอนมะขาม

17

6 ดอนแต้

18

7 หนองบัวบ้า

19

8 ทุ่งพงษ์

20

5.หนองบัว

2555

P

/ /

P /

1 วัดใหม่ 2 หนองบัว

/

22

3 กระทง

/

23

4 หนองนําลึก

24

5 ดอนตูม 1 หนองขุ่น

/

26

2 หนองคอกควาย

/

27

3 ทันจัน

28

4 หนองบ่อหว้า

29

5 หนองแก

30

6 ทุ่งกว้าง

31

7 หนองเสื อ

32

8 หนองกระทิง

33

6.หนองขุ่น

3.บ่อแร่

2557

/

21

25

2556

ปี 2554 47 หมู่บ้าน

5

12

เป้าหมายการดําเนินงานในปี

1 บ่อแร่

34

2 ทุ่งแห้ว

35

3 เนินบ้าน

P /

/ /

หมายเหตุ


-6ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

36

4 ดงไร

37

5 สํานักจัน

38

6 หนองจิก

39

7 ไร่ หว้ ยกระบอก 4.วังหมัน

40

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

1 หนองอีเช้ง 2 หนองกระเบียน

42

3 หัวตะเฆ่

43

4 วังหมัน

44

5 ท่าข้าม

45

6 หนองสระ(โสน)

/

46

7 หนองแก

/

47

8 สระใหญ่

/

1

7 ตําบล 1.บางหลวง

ปี 2554 53 หมู่บ้าน 1 ท่าทราย

2

2 ท่าน

3

3 สวนลําใย

4

4 บางกระเบือง

5

5 กรุ ณา

6

6 ดอนตาไล้

7

7 ดอนมะเกลือ

8

2.สรรพยา

2 กลาง

10

5 หัวแหลม

11

6 วัดราษฎร์

12

7 อ้อย 3.โพนางดําตก

P /

/

1 วัดกําแพง

9

13

2557 P

P

41

อ.สรรพยา

2556

P /

1 เกาะ

14

2 โพนางดํา

15

3 คงคาราม

16

4 บางเสวย

17

5 โคกจันทร์

/

18

6 คลองยาง

/

/

หมายเหตุ


-7ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

1 นมโฑ

/

20

2 หนองกุง้

/

21

3 เขาแก้ว

22

4 นมโฑ

23

5 โป่ งแค

24

6 นมโฑ

/

1 ท่าไทร

/

19

25

4.เขาแก้ว

หมู่ที

5.โพนางดําออก

26

2 โพนางดําออก

27

3 สวนมะม่วง

28

4 ท้องคุง้

29

5 งิว

30

6 บางท่าช้าง

31

7 บางยายลา

32

8 บ่อพัฒนา

33

6.หาดอาษา

P

/

1 หาดอาษา 2 ตึก

35

3 บางตาเณร

/

36

4 บางตาสุข

/

37

5 ท่าทราย

38

6 ศรี มงคล

39

7 เขาดิน

40

8 ลําห้วย

41

9 ศาลาแดง 7.ตลุก

2557

P

34

P /

1 ตลุก

/

43

2 ตลุก

/

44

3 บางไก่เถือน

/

45

4 ศาลาขาว

46

5 โคกเข็ม

47

6 บางกระเบียน

48

7 คุง้ ตาล

49

8 หนอง

50

9 ท้ายนํา

42

2556

P

หมายเหตุ


-8ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

51

10 อ่าวเสวย

52

11 ท้องคุง้

/

53

12 ใหม่บางกระเบียน

/

อ.สรรคบุรี

8 ตําบล

/

2

2 บ้านท่าระบาด

/

3

3 บ้านท่าท่าระบาด

4

4 บ้านท่าระบาด

5

5 ช่อง

/

6

6 วังทอง

/

7

7 ดอนอรัญญิก

8

8 แพรกศรี ราชา

9

9 แขก

10

10 วัดพระแก้ว

11

11 วังยาว

12

12 วังยาว

13

13 ปั กเป้ า

14

14 หัวตะพาน

15

15 วัดกําแพง

16

16 สระไม้แดง

17

1.แพรกศรี ราชา

2.เทียงแท้

/ P / P

/

1 เทียงแท้

P

18

2 ท่าระบาด

19

3 ท่าระบาด

20

4 ไทย

/

21

5 ไทย

/

22

6 ไทย

23

7 โคกหม้อ

24

8 ท่าหว้า

25

9 วังยาว

26

10 หนองบัว

27 28

3.ดงคอน

2557

ปี 2554 92 หมู่บ้าน 1 เทียงแท้

1

2556

/

1 หนอง 2 ดาบ

P

หมายเหตุ


-9ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

29

3 ดงคอน

30

4 เทพรัตน์

31

5 ดอนประดู่

32

6 ทุ่งกระถิน

/

33

7 หนองอีดุก

/

34

8 หนองตาแผน

35

9 ปากดง

/

36

10 หนองแขม

/

37

11 ห้องโก

38

12 ร่ องแห้ว

39

13 ดงเทพรัตน์

40

14 ศรี มหาโภช

41

15 หนองสมบูรณ์

42

16 ทุ่งกระถินพัฒนา

43

4.ห้วยกรด

2 ท่าวัว

45

3 ท่าช้าง

46

4 คลองรี

47

5 ท่าสะเดา

48

6 บางไก่เถือน

49

7 คลองมะขวด

50

8 ท่ากร่ าง

51

9 บางยายอ้น

/

/

/

/

1 โพธิงาม

/

53

2 โพธิงาม

/

54

3 ดอนกํา

55

4 ใหม่

56

5 วังโพธิ

57

6 วังโพธิ

58

7 หอมกระจุย

59

8 หอมกระจุย

60

5.ดอนกํา

6.ห้วยกรดพัฒนา

2557

1 ท่าข้าม

44

52

2556

1 คลองขีเหล็ก

P

หมายเหตุ


- 10 ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

61

2 คลองงิว

62

3 หัวโพธิ

63

4 ตลุกบัว

/

64

5 ท่ารี

/

65

6 ท่าสตือ

/

66

7 ท่าไพร

67

8 วังขนุน

68

7.บางขุด

2 ท่าสะตือ

70

3 ท่าขยาย

71

4 ท่าศาลเจ้า

72

5 บางโพธิศรี

73

6 บางโพธิศรี

74

7 บางกระบวย

75

8 บ้านใหญ่

/

76

9 แค

/

77

10 หัวเด่น

/

78

11 ร่ องใหญ่

79

12 หอระฆัง 8.โพงาม

2557 P

1 ท่าสําโรง

69

80

2556

P

/

P

1 ม่วงงาม

81

2 ม่วงงาม

82

3 ม่วงงาม

83

4 พระขาว

84

5 ใหญ่

85

6 โพงาม

86

7 โพงาม

/

87

8 ดอนกํา

/

88

9 ใหม่

/

89

10 ใหม่

90

11 หอมกระจุย

91

12 วัดท่า

92

13 ม่วงงามพัฒนา

P

/

หมายเหตุ


- 11 ที อําเภอ/กิงอําเภอ

อ.หันคา 1

ตําบล/เทศบาล 8 ตําบล 1.หันคา

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

2 ดอนไร่

P

3 หันคาเหนือ

/

3

4 หนองหวาย

/

4

5 ยางต้นเดียว

/

5

6 หนองต่อ

6

7 หนองคร้อ

7

8 ห้วยร่ วม

8

9 ดอนตูม

9

11 พวก 2.ห้วยงู

/

1 คลองจันทร์

11

2 หมืนเทพ

12

3 ห้วยงู

13

4 ดอนชงโค

14

5 หนองกระเบา

15

6 โคกหมู

16

7 ท่าแก้ว

17

8 ท่าแก้ว

18

9 ดอนซาก

19

10 คลองห้วยงูพฒั นา

/

20

11 วังสามัคคี

/

1 ฉวาก

/

22

2 เชียน

/

23

3 เชียน

24

4 ห้วยซุง

25

5 ทับนา

26

6 ดอนกอก

27

7 ไร่ สวนลาว

28

8 ดอนโก

29

9 ใหม่

30

10 ดอนกระดาษ

31

11 หนองทาระกู

21

3. บ้านเชียน

2557

ปี 2554 95 หมู่บ้าน

2

10

2556

/ / P

/

/ P

หมายเหตุ


- 12 ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

ชื อหมู่บ้าน

4. หนองแซง

2555

2556

2557

1 แหลมทอง

34

2 ดอนไร่

35

3 กลางทุ่ง

36

4 บ้านทุ่ง

37

5 หนองโสน

38

6 สระดู่

39

7 ดอนจันทร์

40

8 หนองจงอาง

41

9 ชําแระ

42

10 ชัฎฝาง

43

11 ดอนสี นวล

44

12 (เด่นกระต่าย)

45

13 ตลุกเทือม

46

14 ดอนพุทธา

47

15 เขาน้อย

48

16 หนองเต่า

49

17 หนองกาเหลือง

50

18 วังลันทม

51

19 ปางสี นวนใหม่

52

20 สมอบท

53

เป้าหมายการดําเนินงานในปี

12 บางลี

32 33

หมู่ที

5. ไพรนกยูง

/

/

/

/ P

P

1 บ่อพระ

54

2 หนองตระครอง

/

55

3 หนองหอย

/

56

4 หนองอ้ายสาม

57

5 ไพรนกยูง

58

6 วังเดือนห้า

/

59

7 รางจิก

/

60

8 บ่อมะกอก

61

9 เขาไพร

62

10 ตลุกรัง

63

11 หนองกง

/

หมายเหตุ


- 13 ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

64

12 หนองมณฑา

65

13 วังเดือนห้า

66

สามง่าม ฯ

1 วังจิก

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

/

3 วงเดือน

68

4 วังจิกออก

/

69

5 หนองหวาย

/

70

6 ท่าโบสถ์

71

8 ท่าฟื น

72

9 ทับใต้

73

10 ท่ากรวด

/

1 คลองคต

/

75

2 คลองคต

/

76

3 ดอนกระโดน

77

4 ท่าบ้านหลวง

78

5 ท่าบ้านหลวง

/

79

6 ห้วยตาสี

/

80

7 ควาย

81

8 วังกระชาย

82

9 ถําเข้

83

10 สะตือสิ งห์

84

11 พราน

85

7.วังไก่เถือน

8. เด่นใหญ่

2557 P

67

74

2556

P

P

1 เด่นใหญ่

86

2 ดอนกะพี

87

3 หนองแจง

88

4 ดอนดินแดง

89

5 บุทางรถ

90

6 หนองอ้ายสาม

/

91

7 สระแก้ว

/

92

8 หนองมะเกลือ

93

9 ดอนบ่อ

94

10 ดงมะเขือ

/

95

11 แหนองแกใหม่

/

P P

หมายเหตุ


- 14 ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หนองมะโมง 4 ตําบล / 2 เทศบาล 1

1. หนองมะโมง

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

2 ทุ่งโปร่ ง

3

3 บ่อยายส้ม

4

4 หนองตะขบ

5

5 ดอนใหญ่

6

6 ดงสวนหมาก

/

7

7 หนองดู่

/

8

8 เขาเกร็ ด

/

9

9 สุขสวัสดิ

10

10 โพธิเจริ ญ

11

11 ทรัพย์เจริ ญ

12

12 ประชารัฐ 2.วังตะเคียน

1 ทุ่งวัวแดง

/

P /

14

2 วังหัวเรื อ

15

3 วังนําขาว

16

4 วังตะเคียน

/

17

5 หนองหวาย

/

18

6 บ่อลึก

/

19

7 ใหม่หินเรี ยง

20

8 ดงสวนหลวง

21

9 ภิรมย์สุข

22

10 หนองยาง

23

11 ร่ มโพธิ

24

12 โคกสว่าง

25

13 หนองรังนก

26

3.สะพานหิ น

2557

ปี 2554 41 หมู่บ้าน 1 หนองมะโมง

2

13

2556

/

P /

1 สะพานหิ น

27

2 หนองขาม

28

3 หนองสี ฟัน

29

4 โพธิทอง

/

30

5 พุนอ้ ย

/

31

6 นําพุ

/

หมายเหตุ


- 15 ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

32

7 หนองไม้แก่น

33

8 หนองกะทะ

34

9 ดงแขวนฆ้อง

35

10 เขาหลัก

36

4. กุดจอก

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

2556

2557

1 กุดจอก

37

2 หนองชุมสาย

38

3 ทับเสาหอ

39

4 หนองขนาก

P

40

5 ดงประดา

P

41

6 ศรี พฒั นา

อําเภอเนินขาม 3 ตําบล / 1 เทศบาล 1

1. เนินขาม

/

ปี 2554 48 หมู่บ้าน 1 เนินขาม

/

2

2 เนินขาม

3

3 หนองแห้ว

4

4 หนองศาลา

5

5 หนองระกํา

6

6 เนินขาม(หนองระกํา)

7

7 หัวตอ

P

8

8 น้อย

P

9

9 ทุ่ง

10

10 เขาราวเทียนทอง

11

11 กลาง

12

12 โป่ งมัง

13

13 หนองมะเกลือ

14

14 ทุ่ง

15

15 หนองมะนาว

16

16 รังกระโดน

17

17 ทุ่งใหม่

18

18 โป่ งกําแพง

19

19 ลานดู่

20 21

2. กะบกเตีย

1 ทุ่งโพธิ 2 ทุ่งหนองน้อย

P

/ /

หมายเหตุ


- 16 ที อําเภอ/กิงอําเภอ

ตําบล/เทศบาล

หมู่ที

ชื อหมู่บ้าน

เป้าหมายการดําเนินงานในปี 2555

22

3 โศกลึก

23

4 เขาโพธิงาม

24

5 กะบกเตีย

/

25

6 หนองกระดาน

/

26

7 เก่า

/

27

8 หนองลาด

28

9 ซับปลากระป๋ อง

29

10 บุ่งฝาง

30

11 หนองแกผักพฤกษ์

31

12 หนองสําโรง

32

13 ชัฎปลาไหล

/

33

14 หนองปล้อง

/

34

15 นาจันทร์ทอง

/

3. สุขเดือนห้า

35

/

1 หนองยางตะวันตก

P

2 หนองยาง

37

3 วังคอไห

38

4 หนองเด่น

39

5 วังคอไห

40

6 สุขเดือนห้า

41

7 พุลาํ มะลอก

42

8 บ่อม่วง

43

9 หนองปล้อง

44

10 ห้วยสอง

/

45

11 เนินสูง

/

46

12 ห้วยคันไถ

47

13 หนองโปร่ ง

48

14 พุสมหวัง

/ / / P

/ 172

รวม 1. อ.เมืองบ 9 2. อ.มโนรมย์ 4

5. อ.สรรคบุรี 10 6. อ.หันคา 10

3. อ.วัดสิ งห์ 5

7.อ.หนองมะโมง 4

4. อ.สรรพยา 6

8. อ.เนินขาม 5

2557

/

36

หมายเหตุ.-

2556

172

53

หมายเหตุ


P

















แบบประเมินมาตรฐานแผนชุ มชน แผนชุ มชนทีประเมิน บ้ าน ........................................................หมู่ที ................ตําบล................................................ อําเภอ..........................................จังหวัดชั ยนาท ผู้ประเมิน .........................................................................ตําแหน่ ง ....................................................................................... คะแนน คะแนน ที ตัวชี วดั เต็ม ประเมิน 1 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 4 1.1 การพึงตนเองมีกจิ กรรมทีแสดงถึงการพึงตนเอง 1.1.1 มี 1 กิจกรรม ( 3 คะแนน) 1.1.2 มี 2 กิจกรรมขึนไป ( 4 คะแนน) 3 1.2 มีกจิ กรรมทีมีลกั ษณะเป็ นการช่ วยเหลือซึ งกันและกันของคนในชุ มชน และ ช่ วยเหลือชุ มชนอืน 1.2.1 มี 1 กิจกรรม ( 2 คะแนน) 1.2.2 มี 1 กิจกรรมและช่วยเหลือชุมชนอืน ( 3 คะแนน) 1.3 มีกิจกรรมส่ งเสริ มให้คนในหมู่บา้ นเก็บออมเงินในรู ปแบบต่างๆ 3 1.3.1 มี 1 กิจกรรม ( 2 คะแนน) 1.3.2 มี 1 กิจกรรมและกิจกรรมในรู ปเครื อข่าย (3 คะแนน) 4 1.4 มีภูมิค้ ุมกันชุ มชนมีกจิ กรรมสร้ างการเรียนรู้ เพือให้ คนในหมู่บ้านรู้ และเข้ าใจ สถานการณ์ /ความเปลียนแปลง ทีเกิดขึนและอาจส่ งผลกระทบต่ อวิถีชีวติ ของคนใน หมู่บ้าน/ชุ มชน และมีกจิ กรรมเพือป้ องกันหรื อบรรเทาผลกระทบเหล่ านัน 1.4.1 มีกิจกรรมสวัสดิการชุมชน 1.4.2 มีกิจกรรมศูนย์การเรี ยนรู ้ชุมชน/แหล่งเรี ยนรู ้/จุดเรี ยนรู ้ มี 1-2 กิจกรรม(3คะแนน) 1.4.3 มีกิจกรรมแก้ไขปั ญหาความยากจนของคนในชุมชน มี 3 กิจกรรมขึนไป(4คะแนน) 1.4.4 กิจกรรมลดต้นทุนการผลิต 3 1.5 ภูมิปัญญาชาวบ้ าน มีกจิ กรรมแก้ ไขปัญหาหรื อพัฒนาหมู่บ้านทีใช้ ความรู้ หรื อ ภูมิปัญญาท้ องถิน 1.5.1 กลุ่มอาชีพ / กลุ่มเศรษฐกิจชุมชน /OTOP มี 1-2 กิจกรรม(2 คะแนน) 1.5.2 มีกิจกรรมปราชญ์ชาวบ้าน เช่น นวดแผนไทย,สมุนไพร มี 3 ขึนไป ( 3 คะแนน) 3 1.6 อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้ อมของชุ มชน มีกจิ กรรมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้ อมของชุ มชน 1.6.1 มีกิจกรรมการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม 1.6.2 มีกิจกรรมการปลูกป่ าชุมชน /แหล่งนํา มี 1-2 กิจกรรม (2 คะแนน) 1.6.3 มีกิจกรรมความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของชุมชน มี 3 ขึนไป ( 3 คะแนน)


- 2ที

ตัวชี วดั

2 การมีส่วนร่ วม 2.1 การมีส่วนร่ วมของคนในหมู่บ้าน/ชุ มชน 2.1 .1 มีส่วนร่ วมประชุมเวทีประชาคมอย่างน้อยร้อยละ 70 2.1.2 มีคณะกรรมการเครื อข่ายภาคประชาชน มี 1-2 กิจกรรม ( 5 คะแนน) 2.1.3 เข้าร่ วมกิจกรรม/โครงการของชุมชน มี 3 ขึนไป ( 7 คะแนน) 2.2 การมีส่วนร่ วมของหน่ วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์ กรเอกชน และองค์ กร พัฒนาเอกชนในกระบวนการจัดทําแผนชุ มชนของหมู่บ้าน 2.2.1 มีหน่วยงานฯ เข้าร่ วม อย่างน้อย 2 หน่วยงาน ( 3 คะแนน) 2.2.2 มีหน่วยงานฯ เข้าร่ วม 3 หน่วยงานขึนไป ( 5 คะแนน) 2.3 ลักษณะของการมีส่วนร่ วม คนในหมู่บ้าน/ชุ มชนมีส่วนร่ วมในการคิดตัดสิ นใจ ดําเนินงาน ติดตามประเมินผล และใช้ ประโยชน์ 2.3.1 มีส่วนในการเข้าร่ วมประชุมประชาคมร้อยละ 70 ( 5 คะแนน) 2.3.2 มีส่วนร่ วมในการเข้าร่ วมดําเนินการโครงการ/กิจกรรม ( 7 คะแนน) 2.3.3 มีส่วนร่ วมในการติดตามประเมินผลกิจกรรม/โครงการ (8 คะแนน) 3 การเรียนรู้ 3.1 ใช้ เวทีประชาคมในการแลกเปลียนเรียนรู้ ระหว่ างคนในหมู่บ้านและถ่ ายทอดความรู้ ของ ปราชญ์ ชาวบ้ าน

คะแนน คะแนน เต็ม ประเมิน 20 7

5

8

25 10

3.1.1 จัดเวทีฯมากกว่า 2 ครังและมีการถ่ายทอดแลกเปลียนเรี ยนรู ้มากกว่า 2 ครังและมีหลักฐาน (10 คะแนน) 3.1.2 จัดเวทีฯมากกว่า 1 ครังและมีการถ่ายทอดแลกเปลียนเรี ยนรู ้ 1 ครังและมีหลักฐาน ( 8 คะแนน) 3.1.3 จัดเวทีฯมากกว่า 2 ครังและมีการถ่ายทอดแลกเปลียนเรี ยนรู ้มากกว่า 2 ครังแต่ไม่มีหลักฐาน (7 คะแนน) 3.1.4 จัดเวทีฯมากกว่า 1 ครังและมีการถ่ายทอดแลกเปลียนเรี ยนรู ้ 1 ครังแต่ไม่มีหลักฐาน ( 6 คะแนน)

3.2 มีการทบทวนและจัดการความรู้ กระบวนการจัดทําแผนชุ มชนของหมู่บ้าน/ชุ มชน เพือปรับปรุ งแผนชุ มชนให้ มีประสิ ทธิภาพ 3.2.1 มีการทบทวน/ปรับปรุ งแผนชุมชนและมีหลักฐาน (15 คะแนน) 3.2.2 มีการทบทวนแต่ไม่ปรับปรุ ง มีหลักฐาน (10 คะแนน) 3.2.3 มีการทบทวน ปรับปรุ ง แต่ไม่มีหลักฐาน ( 8 คะแนน) 4 การใช้ ประโยชน์ 4.1 จํานวนกิจกรรมทีหมู่บ้าน/ชุ มชนดําเนินการเอง 4.1.1 หมู่บา้ น/ชุมชนมีกิจกรรม/โครงการดําเนินการเองร้อยละ 30 และดําเนินการได้จริ งร้อยละ90 (10 คะแนน) 4.1.2 หมู่บา้ น/ชุมชนมีกิจกรรม/โครงการดําเนินการเองร้อยละ 30 และดําเนินการได้จริ งร้อยละ70 (8 คะแนน) 4.1.3 หมู่บา้ น/ชุมชนมีกิจกรรม/โครงการดําเนินการเองร้อยละ 30 และดําเนินการได้จริ งร้อยละ50 (6 คะแนน)

15

25 10


-3ที

ตัวชี วดั

4.2 จํานวนกิจกรรมทีหมู่บ้าน/ชุ มชนจะดําเนินการร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ 4.2.1 หมู่บา้ นมีกิจกรรม/โครงการจะดําเนินการร่ วมกับหน่วยงานมากกว่าร้อยละ 10 ( 10 คะแนน) 4.2.2 หมู่บา้ นมีกิจกรรม/โครงการจะดําเนินการร่ วมกับหน่วยงานมากกว่าร้อยละ 5 ( 8 คะแนน) 4.2.3 หมู่บา้ นมีกิจกรรม/โครงการจะดําเนินการร่ วมกับหน่วยงานน้อยกว่าร้อยละ 5 (6 คะแนน) 4.3 จํานวนกิจกรรมทีหมู่บ้าน/ชุ มชนจะต้ องให้ หน่ วยงานต่ างๆ ดําเนินการให้ ทังหมด 4.3.1 หน่วยงานดําเนินการเองทังหมดมากกว่า 1 โครงการ/กิจกรรม ( 5 คะแนน) 4.3.2 หน่วยงานดําเนินการเองทังหมด 1 โครงการ/กิจกรรม ( 3 คะแนน) 5 รู ปเล่ มของแผนชุ มชน 5.1 มีขอ้ มูลแสดงประวัติ/ความเป็ นมาของหมู่บา้ น/ชุมชน 5.2 มีขอ้ มูลแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของหมู่บา้ น/ชุมชนและ/หรื อสภาพปั ญหาที หมู่บา้ น/ชุมชนประสบอยู่ 5.3 มีขอ้ มูลแสดงแนวทางการแก้ไข/การพัฒนาของหมู่บา้ น 5.4 มีกิจกรรมเพือแก้ไขปั ญหาและพัฒนาหมู่บา้ น/ชุมชน 2 กลุ่มคือ - จัดกลุ่มตามลักษณะการดําเนินงานกิจกรรม - จัดกลุ่มตามประเภทของกิจกรรม 5.5 มีการปรับปรุ งแผนชุมชนอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง คะแนนรวม สรุ ปผลการประเมินมาตรฐานแผนชุ มชนรายตัวชี วดั ผ่าน ไม่ผา่ น ผ่าน ไม่ผา่ น ตัวชี วดั ที 1 ตัวชี วดั ที 4 ผ่าน ไม่ผา่ น ผ่าน ไม่ผา่ น ตัวชี วดั ที 2 ตัวชี วดั ที 5 ผ่าน ไม่ผา่ น ตัวชี วดั ที 3  ผ่ านจํานวน ....................ตัวชีวดั ไม่ ผ่าน ...................ตัวชีวดั ลงชื อ ................................................................ผูป้ ระเมิน (...........................................................) หมายเหตุ : แผนชุมชนทีจะผ่านเกณฑ์รับรองมาตรฐานแผนชุมชนจะต้อง 1. ได้คะแนนรวมทัง 5 ตัวชีวดั มากกว่า 70 คะแนนขึนไป 2. ตัวชีวดั แต่ละตัวจะต้องได้คะแนนไม่ตาํ กว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็มในแต่ละตัวชี วดั

คะแนน คะแนน เต็ม ประเมิน 10

5

10 1 1 3 3

2 100





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.