BUS&TRUCK-V.170

Page 31

36 BUS&TRUCK • SPECIAL SECTION

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

SPECTAL SECTION

ปตท.จับมือ เซลเลนเนียม ไทรทัน วิจัยรถไฟฟ้าต้นแบบเชื้อเพลิงแวนเนเดียม คุณภาพจากโ ปตท. จับมือ เซลเลนเนียม เซ็น MOU ต่อยอดความคืบหน้าการศึกษา วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีแบตเตอรี่ แวนเดียม รีด็อก โฟล ใช้เชิงพาณิชย์ คุณไชยเจริญ อติแพทย์ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ สถาบันวิจัย เทคโนโลยี ป ตท.บริ ษั ท บริ ษั ท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ในขณะนี้ ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจความ ร่วมมือ (Memorandum of Understanding : MOU) ร่วมกับคุณกฤษฎา กัมปนาทแสนยากร บริษัท เซลเลนเนียม (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในการร่วม กั น ศึ ก ษาวิ จั ย และพั ฒ นาการ ประยุกต์ใช้งาน เ ท ค โ น โ ล ยี แบตเตอรี่ รี ด็อกซ์โฟล์ (Vanadium Redox Flow Battery : VRFB) ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น โดยเซลเลนเนียม ใช้ในการกักเก็บและ จ่ า ยพลั ง งานไฟฟ้ า โดยการอั ด ประจุไฟฟ้าเข้าแบตเตอรี่หรือการจ่าย กระแสไฟฟ้ า ของแบตเตอรี่ เป็ น กระบวนการปฏิ กิ ริ ย าเคมี ข องสาร ละลายอิเล็คโทรไลท์ (elecctrolytc) ที่ บรรจุภายในแบตเตอรี่ การร่วมมือในครั้งนี้ได้ร่วมวิจัย พัฒนาน�ำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ที่เป็นรูป ธรรมชั ด เจน ล่ า สุ ด สถาบั น วิ จั ย เทคโนโลยี ป ตท. ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและมี ความพร้ อ มในการประเมิ น ทดสอบ

รถยนต์ ได้เตรียมน�ำมาทดสอบใช้ใน รถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ พั ฒ นาแบตเตอรี่ ที่ ใ ช้ กั ก เก็ บ พลั ง งาน ไฟฟ้าในรถยนต์ในอนาคต การศึกษาดังกล่าว ปตท. จะได้ติด ตั้งแบตเตอรี่แวนเนเดียม รีด็อกซ์ โฟล ขณะก�ำลังการจ่ายและกระแสไฟฟ้า 5 กิโลวัตต์ ปริมาณความจุในการกักเก็บ พลังงาน 60 หน่วย (kwh) เพื่อใช้กักเก็บ และจ่ายพลังงานไฟฟ้า ณ สถาบันวิจัย และเทคโนโลยี ป ตท. อ� ำ เภอวั ง น้ อ ย จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยมี ก าร ประเมินผลด้านสมรรถนะ ประสิทธิภาพ ต้นทุนการใช้งาน และประโยชน์ ต่างๆ ท�ำให้ทราบ ถึ ง ศั ก ยภาพและ ความเหมาะสมใน การน�ำเทคโนโลยี แบตเตอรี่ดังกล่าว มาประยุกต์ใช้งาน การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้ า นคุ ณ กฤษฎา กั ม ปนาทแสนยากร ประธานกรรมการ บริษัท เซลเลนเนียม (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิด เผยว่าการศึกษาวิจัย น�ำแบตเตอรี่แวนเนเดียม รีด็อกซ์ โฟล มาใช้ในรถยนต์นั้น ทางเซลเลนเนียมได้รับผิดชอบในการหา รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามาร่วมทดสอบ สมรรถนะการใช้งาน เพื่อเป็นฐานข้อมูล ในการพั ฒ นาแบตเตอรี่ ดั ง กล่ า ว ให้ สามารถใช้ในการประจุพลังงานไฟฟ้าใน รถยนต์อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ทั้งนี้คาดว่าการร่วมศึกษาการวิจัย

ภาพเป็นข่าว

Panamera S Hybrid เผยโฉมความเป็นสปอร์ต ด้วยก�ำลังเครื่องยนต์ที่มีแรงม้าสูงสุดถึง 380 แรงม้า มีอัตราการบริโภคน�้ำมันเชื้อเพลิงเพียง 6.8 ลิตร/100 กม. สามารถเร่งเครื่องจาก 0-100 กิโลเมตร/ชั่วโมง ได้ในเวลาเพียงแค่ 6.0 วินาที และมีความเร็วสูงสุดที่ 270 กม./ชม. โดยเปิดตัวในงานเจนีวา มอเตอร์โชว์ ช่วงต้นเดือนมีนาคม และเปิดตัวสูต่ ลาด อย่างเป็นทางการในเดือนมิถุนายนปี 2011

ครั้งนี้ จะสามารถน�ำฐานข้อมูลในการ พัฒนาแบตเตอรี่ต้นแบบไปใช้งานกับ รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า นอกจาก ความร่วมมือข้างต้นจะสร้างความเชื่อ มั่ น ในการประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แบตเตอรีใ่ นการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าที่ ผลิตได้จากพลังงานหมุนเวียน เช่น ลม แสงอาทิตย์ และเชือ้ เพลิงชีวภาพ เพือ่ ใช้ในแหล่งชุมชนห่างไกลที่ไม่มีไฟฟ้า เข้าถึง ส� ำ หรั บ บริ ษั ท เซลเลนเนี ย ม (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้มีสิทธิบัตร แบตเตอรี่แวนเนเดียม รีด็อกซ์ โฟล (Vanadium Redox Flow Battery) หลายฉบั บ ครอบคลุ ม ถึ ง การเก็ บ พลังงานและการท�ำเป็นเซลเชื้อเพลิง ด้วยคาร์โบไฮรเดท ข้อดีของแบตเตอรี่ ชนิดนีค้ อื สามารถอัดประจุไฟฟ้าเข้าไป ในแบตเตอรี่ ไ ด้ ใ หม่ ห ลายครั้ ง อย่ า ง รวดเร็ว ในปริมาณความจุที่ไม่จ�ำกัด ของแหล่งกักเก็บ โดยการน�ำสารละลาย อิเล็คโทรไลท์ (electrolyte) ที่ใช้แล้ว ออกมาจากแบตเตอรี่ แล้วน�ำสาร ละ ลายอิเล็คโทรไลท์ที่อัดประจุไฟฟ้าแล้ว เข้ า ไปแทนที่ ในกรณี ที่ ไ ม่ มี แ หล่ ง พลั ง งานส� ำ หรั บ ป้ อ นเข้ า ไปในระบบ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของแบตเตอรี่ที่ดี เหมาะกั บ การน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ง าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการผลิตไฟฟ้า ขนาดย่อม โดยใช้พลังงานหมุนเวียน เป็นแหล่งพลังงานในการผลิตกระแส ไฟฟ้า ซึ่งจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ในการกักเก็บและจ่ายไฟฟ้าได้รวดเร็ว มากยิ่งขึ้น

มิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส ประเทศไทย รุก ตลาดกระบะช่วงน�ำ้ มันแพง ส่ง “ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี” เป็นทางเลือก ให้ ลู ก ค้ า อี ก รุ ่ น เน้ น ชู จุ ด เด่ น การรั บ ประกันคุณภาพจากโรงงานนาน 3 ปี และ ความประหยัดและคุม้ ค่าจากการเลือกใช้ งานได้ 2 ระบบ ทั้ง ซีเอ็นจี (CNG) และ น�้ำมันเบนซินแก๊สโซฮอล์อี 20 คุณโคจิ นากาฮาร่า กรรมการรอง ผู้จัดการใหญ่ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) เปิดเผยว่า บริษัทฯ ได้ เตรียมแนะน�ำรถกระบะมิตซูบิชิ ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี เพิ่มเติมอีกรุ่น เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกส�ำหรับลูกค้า ภายหลังจาก รุ่นซิงเกิ้ลแค็บ และ เมกะ แค็บ ซีเอ็นจี ซึ่งเปิดตัวไปเมื่อกลางปีที่ ผ่านมาได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจาก ลูกค้าในเมืองไทย โดยในปี 2553 ที่ผ่าน มา มียอดขายไทรทัน ซีเอ็นจี รวมอยู่ที่ กว่า 3,600 คัน และเชื่อว่าในปีนี้ตลาด รถกระบะซีเอ็นจีจะยังคงเติบโตอย่างต่อ เนื่องต่อไป ส�ำหรับรถกระบะมิตซูบิชิ ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี ใช้พื้นฐานมา จากรถกระบะไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส เครื่องยนต์เบนซิน ขนาด 2.4 ลิตร น�ำมา ติดตั้งระบบซีเอ็นจี ภายใต้มาตรฐานและ การรั บ ประกั น คุ ณ ภาพของบริ ษั ท ฯ สามารถเลือกใช้เชื้อเพลิงได้ 2 ระบบ ทั้ง ก๊าซธรรมชาติซีเอ็นจีและน�้ำมันเบนซิน รองรับแก๊สโซฮอล์ อี 20 โดดเด่นด้วยรูป ลักษณ์ภายนอกแข็งแกร่งและบึกบึนจาก กระบะท้ายดีไซน์แบบตัดตรง พร้อมการ

หมายเหตุพลังงาน 1 มีนาคม 2554

ปตท.พร้อมจ�ำหน่ายน�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว (บี2) เกรดเดียวที่สถานีบริการน�้ำมัน ปตท. ทั้ง 1,303 แห่ ง ทั่ ว ประเทศ บรรเทาปั ญ หาน�้ ำ มั น ปาล์ ม ขาดแคลนตามนโยบายรัฐ‫‏‬

3 มีนาคม 2554

กระทรวงพลังงานมอบรถตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ มัน เชื้อเพลิง (Mobile Fuel Lab Unit) ไปประจ�ำ ภูมภิ าค ตามโครงการขยายขีดความสามารถด้าน การตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ มันเชื้อเพลิง

4-6 มีนาคม 2554

เชลล์พาสือ่ มวลศึกษาดูงาน ณ สถานีบริการน�ำ้ มัน เชลล์ อนุภาษเอสเอส ซึ่งเป็นสถานีบริการอันดับ 1 ของเชลล์ในประเทศไทยด้านความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.