World History Not Forget ประวัติศาสตร์โลกไม่ลืม

Page 1

WORLD HISTORY NOT FORGET

ประวัติศาสตร์ โลกไม่ลืม


คำนำ วำรสำรฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชำ ส 32104 ประวัติศำสตร์ ชั้น มัธยมศึกษำปี ที่ 5 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อกำรศึกษำควำมรู ้ที่ได้จำกเรื่ องต่ำงๆ ซึ่ง วำรสำรนี้มีเนื้อหำเกี่ยวกับ ควำมรู ้ในยุคสมัยต่ำงๆ เช่น ยุคโบรำณ (ก่อนคริ สต์ศกั รำช 476) ยุคกลำง(ค.ศ.476-1453) ยุคใหม่(ค.ศ.1453-1945) และยุคปัจจุบนั (ค.ศ.1945ปัจจุบนั ) ผูจ้ ดั ทำได้เลือก หัวข้อนี้ในกำรทำวำรสำร เนื่องมำจำกเป็ นเรื่ องที่น่ำสนใจ ผูจ้ ดั ท ำจะต้องขอขอบคุณ อ.ศิรินภำ กิจกุลนำชัย ผูใ้ ห้ควำมรู ้ และแนวทำงกำรศึกษำ เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ควำมช่วยเหลือมำโดยตลอด ผูจ้ ดั ทำหวังว่ำวำรสำรฉบับนี้จะให้ ควำมรู ้ และเป็ น ประโยชน์แก่ผอู ้ ่ำนทุก ๆ ท่ำน คณะผู้จดั ทำ


สำรบัญ เรื่ อง ยุคโบรำณ สมรภูมิรบที่ช่องเขำเธอร์ โมพีเล (Battle of Thermopylae)

หน้ ำ 4

ยุคกลำง สงครำมร้ อยปี ก กำเนิด “สงครำมร้ อยปี ” ( Hundred Years' War ) สงครำมครูเสด (Crusade war)

9 15

ยุคใหม่ รำชวงศ์ทิวดอร์ กบั ปั ญหำศำสนำ (Tudors Religion) กำรปฏิวตั ิฝรั่งเศส (France Revolution) สมรภูมิรบที่วอเตอร์ ลู (Battle of Waterloo) กำรปฏิวตั ิอตุ สำหกรรม (Industial Revolution) สงครำมอิสรำเอล (Israel war)

21 28 35 42 47

ยุคปั จจุบนั สงครำมเกำหลี (Korea War) สงครำมเวียดนำม (Vietnam War) สงครำมเย็น (Cold War) กำแพงเบอร์ ลิน (Berlin Wall)

54 61 64 71

ที่มำเนื ้อหำ

75

บรรณำนุกรม

76


สมรภูมิรบที่ช่องเขาเธอร์โมพีเล (Battle of Thermopylae) 481 B.C “ The sacrifice of the spaTan ”


490 B.C.

จากจุดจบมาราธอนสูจ่ ดุ เริม่ ต้นครัง้ ใหม่

หลังจากจบสงครามกรีก-เปอร์เซีย ครั้งที่ 1 (Greco-Persian Wars) หรือ สมรภูมิทุ่งมาราธอน ความพ่ายแพ้ของเปอร์เซียยังเป็นสิ่งที่ฝังใจชาวเปอร์เซียอยู่ หลังจากศึกที่ทุ่งมาราธอน แผ่นดินกรีกได้ อยู่อย่างปลอดภัยในช่วงหนึ่ง ทั้งนี้เพราะหลังพ่ายต่อกรีกแล้ว ในจักรวรรดิเปอร์เซียก็เกิดความวุ่นวายขึ้น กษัตริย์ดาริอุสที่ 1 (Darius 1 ) แห่งเปอร์เซีย ต้องยุ่งอยู่กับการปราบกบฏในอียิปต์ โดยไม่มีเวลาสนใจ เรื่องของกรีก ซึ่งในที่สุดพระองค์สิ้นพระชนม์ลงในปี 486 ก่อนคริสตกาล

http://www.findingdulcinea.com

http://time.com

พระเจ้าดาริอุสที่ 1 (Darius 1 ) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ดาริอุสมหาราช ทรงเป็นกษัตริย์เปอร์เซียองค์ที่ 2 ต่อ จาก พระเจ้าไซรัสมหาราช โดยทรงครองราชย์เมื่อ 522 ปี ก่อนค.ศ. เมื่อพระ ชนม์ได้ 27 พรรษา ตลอด36ปีในรัชกาลทรงสร้างทั้งความเจริญและความ แข็งแกร่งให้กับ จักรวรรดิเปอร์เซีย ทรงขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่าง กว้างขวาง พระเจ้าดาริอุสสวรรคตเมื่อ 486 ปี ก่อนค.ศ. ขณะพระชนม์ได้ 63 พรรษา https://jerryandgod.com

ไฟดิปพิดิส (pheidippides) ผู้พลีชีพให้กับการวิ่ง 240 กม. เพื่อส่งสาส์นขอความ ช่วยเหลือจากสปาร์ตา และ เดินทางอีก 40 กม. เพื่อ แจ้งข่าวชัยชนะของชาวกรีกให้แก่เอเธนส์

http://www.greekboston.com


การขยายอานาจของเปอร์เซีย และ การรวบรวมพันธมิตรของกรีก เจ้าชายเซอร์เซส พระโอรสก็ได้สืบราชสมบัติเป็นกษัตริย์เซอร์เซสที่ 1 (Xerxes 1) ต่อจากพระบิดา หลังจากที่ทุกอย่างเรียบร้อยดีแล้ว กษัตริย์ พระองค์ใหม่ของเปอร์เซียได้เตรียมการศึกกับรัฐกรีกต่อไป กษัตริย์เซอร์ เซสที่ 1 ได้จดั การรวบรวมกองทัพอยู่ถึง 4 ปี และดาริการเดินทางไปทาง บกขึ้นเหนือ ทาสะพานข้ามช่องเขาเฮเลสปอนต์ (Hellespont) แล้วเดินทัพ อ้อมมาตามชายฝั่งทะเลเข้าสู่คาบสมุทรกรีก มีกองเรือเพื่อป้องกันตาม ชายฝั่งด้วย กองทัพเปอร์เซียครั้งนี้กล่าวกันว่ามีจานวนถึง 2 ล้าน 3 แสน เศษ

481 B.C.

https://lt.wikipedia.org

http://www.payvand.com

เธอร์มิสโตคริส (themistocles) รัฐบุรษุ ผู้ยิ่งใหญ่ ของเอเธนส์

http://www.greece.com

https://movieweb.com

ช่วงระหว่างที่เอเธนส์กาลังเร่งสร้างเสริมกองเรือตามแผนของ เธอร์มิสโตคริส (themistocles) อยู่นั้น เอเธนส์(Athen) ได้ปรึกษา กับสปาร์ตา(sparta)เห็นควรที่จะเรียกประชุมรัฐกรีกต่างๆเพื่อร่วม จับมือกันก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรในการเตรียมรับมือกับการรุกรานของ เปอร์เซียครั้งต่อๆไป จึงมีการเชิญรัฐต่างๆไปประชุมกันที่รัฐโครินธ์ แต่มีเพียง 70 เมืองเท่านั้นในจานวน 700 เมืองที่ตกลงประชุม โดย เป็นที่ทราบกันก่อนหน้านั้น ทางเซอร์เซสที่ 1 ได้ส่งทูตออกไปตาม รัฐกรีกต่างๆเพื่อทาบทามเป็นพันธมิตร แลกกับการไม่ถูกโจมตี และยังได้ส่วนแบ่งจากเปอร์เซียหากชนะสงคราม ในการประชุม ครั้งนี้มีเอเธนส์และสปาตาเป็นแกนนา เรียกกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นครั้งนี้ ว่า พันธมิตรเฮลเลนนิก (Hellenic league ) โดยทั้งหมดได้ร่วมกัน สาบานจะต่อต้านชาวเปอร์เซีย ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เอเธนส์และสปาร์ ตาจับมือสู้กับศัตรูอย่างแข็งขัน


เข้าสูส่ งครามกรีก-เปอร์เซีย ครัง้ ที่ 3 เต็มรูปแบบ ทางบก

480 B.C.

กษัตริย์เซอร์เซสที่ 1 นาข้อผิดพลาดที่เกิดใน สงครามมาแก้ไข จึงใช้การเดินทัพ 2 ทาง คือ

https://threerowsback.com ในด้านทางบก เธอร์มิสโตคริส เป็นผู้เสนอชัยภูมิ ที่บริเวณช่องเขาเธอร์โมพีเล(thermopylae) ซึ่งเป็น ช่องทางแคบๆง่ายต่อการสกัดทัพเปอร์เซีย และเชื่อว่า ทัพเปอร์เซียต้องใช้เส้นทางนี้เนื่องจากย่นระยะทาง ทางที่จะบุกอัตติกา(Attica) และอีกฝั่งของช่องเขาก็ติด กับทะเล ทาให้สามารถบีบการเดินทัพของเปอร์เซียให้ ผ่านไปได้ไม่สะดวกนัก เลโอนิดัส(Leonidas) กษัตริย์ แห่งสปาร์ตา กับ เดโมฟิลุส (demophilus) แห่งเธส เปีย(thespia) จึงเป็นแม่ทัพในศึกทางข่องเขานี้

ทางทะเล

http://www.cinemastance.com ในด้านทางน้า เธอร์มิสโตคริส แห่งเอเธนส์ เป็นแม่ทัพในการรบทางทะเล พร้อมกับ ยูรี เบียดิส (Eurybiades) แห่งสปาร์ตาและ อาได แมนตุส(Adeimantus) แห่งโครินธ ที่สมรภูมิซา ลามิส(Salamis)

http://www.fatmovieguy.com

http://www.300spartanwarriors.com

http://www.emersonkent.com


ความเสียสละของสปาตาร์และความพ่ายแพ้ ทีง่ ดงาม

480-479 B.C.

1. กรีกและสปาร์ตันซึ่งอยู่ทางด้านหน้าได้ร่วมกันปิด กั้นทางเดินของเปอร์เซียที่อยู่หลังกาแพงโฟเซียน (Phocian wall) โดยพวกเขาต้านทัพได้อยู่ 2 วัน สู้กัน ตัวต่อตัว ทหารเปอร์เซียถูกทาลายและไม่สามารถ ผ่านไปได้ http://reviewburi.com . ในเวลากลางคืน พระเจ้าลิโอนิดาสทรงส่งกองกาลัง จานวน 1000 นาย ไปคุ้มกันเส้นทางอโนปาเอีย เมื่อพระเจ้า เซอร์เซสทรงทราบว่ามีเส้นทางนี้ ซึ่งเป็นเส้นทางที่จะนาไปถึง ปีกหลังของกองทัพศัตรู พระองค์จงี ได้ส่งกองกาลังทหารฝีมือดี ที่สุดเข้าไปยึดเส้นทางไว้

2

https://emerdelac.wordpress.com .ทหารกรีกส่วนใหญ่ถอนกาลังออกไปแต่ทหารสปาร์ตนั 300 นาย และทหารกรีกฮอปไลต์ (Hoplite) อีกร้อยคนยังคงรักษาพื้นที่ อยู่ ลิโอนิดสั และทหารสปาร์ตาทั้ง 300 คน สู้รบกับทหารเปอร์เซีย อย่างกล้าหาญ และในรุ่งอรุณนั้นเองพวกเขาก็ถูกโจมตีจากธนู หลายร้อนดอกที่ทหารเปอร์เซียระดมยงเข้ามา ในที่สุดลิโอนิดสั และ ทหารสปาร์ตาทั้ง 300 นาย ก็ได้พลีชีพที่ช่องเขาเธอร์โมพิเลนั้น

3

http://screencritix.com

https://www.legendary.com


ค.ศ. 1337 ถึง 1453

กำเนิด “สงครำมร้อยปี” ( Hundred Years' War )


อันที่จริง สงครามร้อยปีเป็นสงครามที่ เกิดขึ้น เป็น ช่ว งๆ ที่มักจะแบ่ งเป็ นสามหรื อสี่ช่ว ง นั่นคือสงคราม พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ ( Edward III of England, 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377 ) ในช่วง ค.ศ.1337-1360, สงครามพระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส ( Charles V of France , 21 มกราคมค.ศ. 1338 - 16 กันยายน ค.ศ. 1380 ) ในช่วง ค.ศ. 1369-1389 , สงครามพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ ( Henry V of England, 16 กันยายน ค.ศ. 1387 – 31 สิงหาคม ค.ศ. 1422 ) ในช่วง ค.ศ.1415-1429 และหลังจากการมีบทบาท ของโจนออฟอาร์ค ( Jeanne d'Arc , 6 มกราคม ค.ศ. 1412 – 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ความได้เปรียบของฝ่ายอังกฤษก็ถอยลง

Jeanne d'Arc http://europeanwars.blogspot.com

นอกจากนั้นสงครามร้อยปีก็เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดความขัดแย้งอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกันทั้งในฝรั่งเศส และอังกฤษที่รวมทั้งสงครามสืบราชบัลลังก์บริตานี (Breton War of Succession), สงครามสืบราชบัลลังก์คาสตีล (War of the Castilian Succession) และสงครามสองปีเตอร์ คาว่า “สงครามร้อยปี (Hundred Years' War)” เป็นคาที่นักประวัติศาสตร์ในสมัยต่อมาคิดขึ้นเพื่อบรรยายถึงเหตุการณ์นี้ว่า

สงครามมีความสาคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการ แม้ ว่ า จะเป็ น สงครามของความขั ด แย้ ง กั น หลายด้ า น แต่ ก็ เป็ น สงครามที่ ท าให้ ทั้ ง ฝ่ า ยอั ง กฤษเริ่ ม มี ค วามรู้ สึ ก ถึ ง ความ เป็นชาตินิยม ทางด้านการทหารก็มีการนาอาวุธและยุทธวิธีใหม่ๆ มาใช้ ที่ ท าให้ ร ะบบศั ก ดิ น าที่ ใ ช้ ก ารต่ อ สู้ บ นหลั ง ม้ า เป็ น หลั ก เริ่ ม หมดความส าคั ญ ลง ในด้ า นระบบการทหารก็ มี ก ารริ เ ริ่ ม การใช้ ท หารประจ าการที่ เ ลิ ก ใช้ กั น ไปตั้ ง แต่ ก ารล่ ม สลายของ จั ก รวรรดิโ รมั นตะวั นตก ซึ่ง เป็ นการเปลี่ ย นแปลงบทบาทของ เกษตรกร ความเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ เหล่ า นี้ ท าให้ เ ห็ น ว่ า เป็ น เหตุ ก ารณ์ ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด เหตุ ก ารณ์ ห นึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ประวัติศาสตร์การสงครามของยุคกลาง การนาอาวุธมาใช้ในการรบ http://1hundredyearswar.blogspot.com


ในฝรั่ ง เศสการรุ ก รานของฝ่ า ยอั ง กฤษ สงครามการเมือง การระบาดของเชื้อโรค ความอดอยาก และ การเที่ยวปล้นสะดมของทหาร รับจ้างและโจรทาให้ประชากร ลดจานวนลงไปถึงสองในสามในช่วงเวลานี้ เมื่อต้องออกจาก แผ่ น ดิ น ใหญ่ ยุ โ รป อั ง กฤษก็ ก ลายเป็ น ชาติ เ กาะที่ มี ผ ล ต่อนโยบายและปรัชญาของอังกฤษต่อมาถึง 500 ปี

สงครามการเมือง http://freedom-thing.blogspot.com/2011/06

สงครามร้อยปีเริ่มในปี 1337 ในตอนแรกทัพเรือฝรั่งเศสสามารถโจมตีเมืองท่าอังกฤษได้หลายที่ แต่ลมก็เปลี่ยนทิศเมื่อทัพเรือฝรั่งเศสถูกทาลายล้างในการรบที่สลุยส์ (Sluys)

สงครามร้อยปีระหว่างฝรั่งเศสและอังกฤษ 1337-14S3 การรบที่ Stays 24 มิถุนายน 1340 http://www.alamy.com/stock-photo-hundred-years-war-between-france-and-englandbattle-of-stays.html

ในช่วงเวลานี้ เกิด สงคราม นั กประวัติศาสตร์มองว่าฝรั่งเศสนั่นเสี ยเปรียบทั้งนี้เพราะมี กองทัพเรือ ที่อ่อนแอกว่าของอังกฤษ สงครามระยะที่ 1 เกิดขึ้นในช่วงปี1337-1360 และในการรบช่วงนี้มีสงครามใหญ่ ที่สาคัญ2 ครั้งคือ เกิดขึ้นในปี 1346 ในยุทธการเครซี (Crecy) และครั้งที2่ ในปี1356 เกิดยุทธการปัวติเยร์

การรบที่เครซี 26 สิงหาคม 1346 http://1hundredyearswar.blogspot.com

ทหารอังกฤษกาลังรอการรบที่ Crecy สิงหาคม 1346 http://www.alamy.com/stock-photo-hundred-years-war


ในปี 1341 ตระกูลดรือซ์แห่งแคว้นบรัตตานีสูญสิ้น พระเจ้า เอ็ดวาร์ดและพระเจ้าฟิลลิปที่ 3 ยุคแห่งบูร์กอญ (Philippe le Bon, 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1396 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1467) จึงสู้รบกัน เพื่อให้คนของตนได้ครองแคว้นบรัตตานี ในปี 1346 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดของอังกฤษทรงสามารถขึ้นบก ได้ที่เมืองคัง (Caen) ในนอร์มังดี เป็นที่ตกใจแก่ชาวฝรั่งเศส Philippe le Bon http://europeanwars.blogspot.com

พระเจ้ า ฟิ ลิ ป แต่ ง ทั พ ไปสู้ แต่ พ ระเจ้ า เอ็ ด วาร์ ด ทรงหลบหนี ไ ปประเทศภาคต่ า (Lowcountries) ทัพฝรั่งเศสตามมาทัน แต่พ่ายแพ้ยับเยินในการรบที่ เครซี (Crecy) ทาให้พระเจ้าเอ็ดวาร์ดต่อไปยึดเมืองท่าคาเลส์ ของฝรั่ ง เศสและยึ ดเป็ น ที่ มั่ น บนแผ่ น ดิ น ฝรั่ ง เศสได้ ใ นปี 1347และเมื อ งนี้ ก ลายเป็ น ฐานที่ มั่ น และศู น ย์ ก ลาง ทางเศรษฐกิจของอังกฤษที่จะเข้าสู่ภาคพื้นยุโรปได้อีกยาวนานถึง 200 ปี

ชัยชนะของอังกฤษสงคราม Crécy เป็นหนึ่งในสงครามที่สาคัญที่สุดของสงครามร้อยปี http://www.alamy.com/stock-photo-an-english-victory-the-battle-of-crcy-36772625.html


กล่ า วกั น ว่ า การพ่ า ยแพ้ ข องฝรั่ ง เศสในครั้ ง นี้ ส่ ง ผลให้ รั ฐ บาลต้ อ งเผชิ ญ กั บ ภาวะความยุ่ ง ยาก ทางการเมืองภายในประเทศ กล่าวคือ ในปี 1346เมื่อรัฐบาลต้องการเก็บภาษีเพิ่มเพื่อมาบารุงในการใช้สงคราม ปรากฏว่า สภาฐานันดรได้ปฏิเสธที่จะให้ความยินยอม ไม่เพียงเท่านั้นสภาฐานันดรยังได้เรียกร้องให้กษัตริย์ ปรับปรุงเรื่องการปกครองอีกด้วย กาฬโรคก็ระบาดมาถึงฝรั่งเศสคร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจานวนมาก ขาดแคลน ผู้คน ยิ่งทาให้ประชาชนเรียกร้องให้มีการปรับปรุงการปกครองมากขึ้น

กาฬโรค ttps://www.bloggang.com/viewblog.php?id

เมื่อเจ้าชายดาพระโอรสของพระเจ้าเอ็ด วาร์ด ของอังกฤษ ( Edward of Woodstock, 15 มิถุนายน ค.ศ. 1330 - 8 มิถุนายน ค.ศ. 1376) บุกจากกาสโคนี และสามารถเอาชนะฝรั่งเศสในศึกปัวติเยร์ (Poitiers) ในปี 1356 และทาการจับพระเจ้าจอห์นที่ 2 ของฝรั่งเศสและเหล่าอัศวินจานวนมากได้ด้วยอานาจของฝรั่งเศส ที่อ่อนแอลง ทาให้ตามชนบทไม่มีขื่อแปโจรอาละวาด ทาให้ชาวบ้านก่อจลาจลกันมากมาย พระเจ้าเอ็ด วาร์ด เห็นโอกาสสาคัญจึงทรงบุกอีกครั้ง แต่ถูกองค์รัชทายาทแห่งฝรั่งเศสต้านไว้ได้ จนทา “สนธิสัญญาบรีติญญี (Bretigny)”และเมืองท่าคาเลส์ พื้นที่เหล่านี้คือ ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่เดิมที่อังกฤษเคยครอบครองอยู่ก่อนแล้ว

การรบแห่งปัวติเยส์ในช่วงสงครามร้อยปี 1830 http://www.alamy.com/battle-of-poitiers.html

สนธิสัญญา Bretigny อังกฤษแผ่นดิน 2450 แผนที่ http://www.alamy.com/france-in-1360.html

ศตวรรษที่ 15 สงครามร้อยปีล้อมเมือง Caen โดย Edward III

http://www.alamy.com/siege-of-caen.htm


ว่ากันว่าผลของสงครามและปัญหาที่รุมเร้านี้เองส่งผลให้รัฐบาลของพระเจ้าจอห์นที่ 2 ต้องเผชิญกับ ภาวะที่ล้มละลายโดยเฉพาะในช่วงปี 1350-1364 ทาให้รัฐบาลของพระเจ้าจอห์นที่ 2 (John the Fearless , 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1371 - 10 กันยายน ค.ศ. 1419) เข้าสู่มุมอับในเกมการต่อสู้ทางการเมืองภายใน

กล่าวคือหลังจากที่พระเจ้าจอห์นที่ 2 ถูกอังกฤษจับ ตัวได้ในการรบเมื่อ1256 อังกฤษก็เรียกร้องค่าไถ่ตัวกษัตริย์ จากฝรั่งเศส เจ้าชายชาร์ลส์พระโอรสองค์ใหญ่ (Charles V of France ,21 มกราคม ค.ศ. 1338 - 16 กันยายน ค.ศ. 1380) ซึ่งทาการปกครองฝรั่งเศสแทนพระเจ้า จอห์น ที่ 2ในขณะนั้ น ทรงเรี ย กประชุ ม สภาทั่ ว ไปในปี 1357 โดยประสงค์ จ ะขอเงิ น จากสภาเพื่ อ ใช้ เ ป็ น ค่ า ตั ว กษั ต ริ ย์ จอห์นที่ 2 กระนั้นในการประชุมสภามีการเรียกร้องต่างๆ นานาซึ่งเจ้าชายชาร์ลส์จาเป็นต้องยอมรับทั้งสิ้น

John the Fearless http://europeanwars.blogspot.com

Charles V พระเจ้าจอห์นที่ 2ยอมจานนต่อเจ้าชายดา John II https://en.wikipedia.org/wiki/John_II http://www.alamy.com/battle-of- https://th.wikipedia.org/wiki/CharlesV poitierswar-129127915.html


สงครามครูเสด คือ สงครามระหว่างศาสนา ที่คนสองคนศาสนาต่างกัน ระหว่าง ชาวมุสลิม กับชาว คริสต์ ที่เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11-13 และเป็นสัญลักษณ์แสดงให้เห็นถึงความขัดแย้งของ กลุ่มคนที่มีความคิดเห็นไม่ตรงกันทั้งด้านศาสนาและความต้องการเป็นใหญ่ทาให้เกิดการแย่งชิงขึ้น ทั้งสิ้น 9 ครั้ง ครูเสดแปลว่าการยกเครื่องหมายกางเขนขึ้น มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศสซึ่งต่อมาคาว่าครู เสดนี้ใช้หมายถึงสงครามทั่วๆไปที่พวกคริสต์ต่อต้านพวกนอกศาสนาแต่สังฆนายก(Bishop)ของโรมจะ บัญชา สงครามครูเสดเป็นสงครามศาสนาระหว่างชาวคริสต์จากยุโรปและชาวมุสลิมจากตะวันออก กลางรวมไปถึงภูมิภาคอื่นด้วยบางส่วนเนื่องจากชาวคริสต์ต้องการยึดครองดินแดนศักดิ์สิทธิ์นั่นคือกรุง เยรูซาเลมที่ชาวมุสลิมครอบครองอยู่ ในตอนเริ่มสงครามนั้นชาวมุสลิมปกครองดินแดนศักดิ์สิทธิ์อยู่ ดินแดนแห่งนี้เป็นสถานที่สาคัญสามศาสนาได้แก่อิสลาม ยูได หรือ ยิว และคริสต์ ในปัจจุบันดินแดน แห่งนี้คือประเทศอิสราเอล


จุดเริ่ มต้ นของสงครามเกิดจากบุคคลสาคัญคน หนึง่ คือจักรพรรดิอเล็กซ์เซียส คอมมินสุ (Alexios I Komnenos)ของจักรวรรดิไบเเซนไทน์ ถูกชน ชาวเติร์กที่นับถือศาสนาอิสลามเข้ามาล้อมเมือง คอนสแตนติโนเปิลเอาไว้ที่สาคัญในช่วงเวลาก่อน หน้านั้นจักรวรรดิ ไบแซนไทน์ต้องสูญเสียเอเชียไม เนอร์ให้กับเติร์กไป แล้วหากชักช้าหรือไม่รีบหา ทางออกก็มีความเป็นไปได้ว่าจะต้องสูญเสียกรุง คอนสแตนติโนเปิลไปด้วยพระองค์มีทรงมีพระราช สาส์นไปถึงองค์สันตะปาปาในขนาดนั้นคือสมเด็จ พระสันตะปาปาเออร์บันที่2(UrbanII,Odo)แห่ง กรุงโรม(ค.ศ. 1088 - 1099) ในพระราชสาส์นนั้น แจ้งว่าชาวมุสลิมเติร์กได้ทาการรุกรานอาณาจักร ของพระองค์อย่างใหญ่โตและที่สาคัญชาวเติร์ก มุสลิมเหล่านี้ก็กาลังทาลายคริสต์ศาสนาในตะวัน ออกอยู่ด้วยดังนั้นจึงขอให้ส่งกาลังเข้ามาช่วยปราบ ปรามสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที2่ ได้รับรู้ เรื่องราวก็การขยายอานาจของชาวมุสลิมอยู่ก่อน แล้วเมื่อได้รับพระราชสาส์นของจักรวรรดิไบแซนไทน์ก็มีความชอบธรรมที่จะรวมพลและกาลังเพื่อ ออกมาทาการต่อต้านชาวมุสลิมในดินแดนตะวัน ออก แน่นอนว่าเราอาจสงสัยว่าแค่จักรพรรดิแห่ง แผ่นดินหนึ่งส่งพระราชสาส์นมาขอความช่วยเหลือ องค์พระสันตะปาปาก็เริ่มดาเนินการระดมพลทันที

เชลจุกเติรก์ รบกับชาวไบแซนไทน์

แผนที่ในช่วงสงครามครูเสดยุค 1000-1200

UrbanII launched the First Crusade in 1095 with the primary goal of the Christian reconquest


ภาพเขียนเฟรสโกนักบุญต่อต้านพวกซาราเซน

1

เนื่องจากพวกคริสต์กลุ่มหนึ่งมีความเชื่อว่าโลกนี้จะถึง กาลอวสานเมื่อครบค.ศ. 1000 และในความเชื่อนั้นยังเชื่ออีกว่าพระเยซูพร้อมด้วยสาวกของพระองค์จะเสด็จมา โปรดชาวโลกในวันนั้น มีการฮือฮาประโคมข่าวแบบปากต่อปากในหมู่ประชาชนทั่วไปให้ ชาวพวกคริสเตียนจานวนมากที่หลงเชื่อได้ละถิ่นฐานบ้านของตนเดินทางไปชุมนุมกันที่ ปาเลสไตน์อันเป็นดินแดนบ้านเกิดของพระเยซูเพื่อรอวันโลกแตก แต่เมื่อถึง ค.ศ. 1000 จริงโลกไม่ได้อวสานตามที่กลุ่มนี้คิดไว้และที่สาคัญเมื่อชนชาวคริสต์เดินทางไปยังกรุงเยรู ซาเลมซึ่งเวลานั้นชาวเติร์กมุสลิมปกครองอยู่คริสต์จานวนมากก็ไม่รับการปฏิบัติด้วยดี จากผู้มีอานาจปกครองอยู่ในเวลานั้น ทาให้พวกคริสเตียนเกิดความเจ็บช้าระกาใจ เมื่อ กลับบ้านไปแล้ว ต่างพกความเครียดแค้น ไปเล่าเรื่องให้ญาติพี่น้องและเพื่อนได้ฟังอีกทั้ง ยังแต่งเติมสิ่งที่ได้ ประสบในปาเลสไตน์ให้ พวกคริสเตียนด้วยกันฟัง แต่เหตุการณ์ครั้งนั้น มีคริสเตียนคนหนึ่งชื่อปีเตอร์ได้ฉายาว่า ปีเตอร์เดอะเฮอร์มิตหรือปีเตอร์นักพจน์ถือไม้เท้า ท่องเที่ยวไปในเมืองต่างๆในทวีปยุโรป ได้ป่าวประกาศข่าวเรื่องที่พวกคริสตียนใน ปาเลสไตน์เพื่อเราวันโลกแตกแล้วได้รับ การข่มเหงจากพวกเติร์ก พร้อมทั้งในเวลาเดียว กันเขาก็ได้ปลุกระดมให้พวกคริสเตียนรวมกาลังกันไปตีปาเลสไตน์ให้ได้กลับคืนมาเป็น ของชาวคริสต์อีกครั้ง กระแสความเคลื่อนไหวนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องอยู่ในยุโรปก่อนที่ องค์พระสันตะปาปาเออร์บันที่สองจะลุกขึ้นมาต่อยอดในเวลาต่อมา

https://www.pinterest.com/pin/77476056071040163/


พวกเติร์ก นั้นเป็นพวกตุรกีสายหนึ่งกาลังรุ่งเรืองอานาจ และมีอิทธิพลเหนือเคาะลีฟะฮ์ ของราชวงศ์อับบาสิยะฮ์หรืออับ บาสิค ในกรุงแบกแดดพรุ่งนี้เข้าปกครองประเทศปาเลสไตน์และ มีอาณาเขตคุกคามกรุงคอนสแตนติโนเปิลซึ่งเป็นศูนย์กลางของ พวกชาวคริสต์นิกายออร์ธอด็อกซ์ ซึ่งนิกายนี้ไม่ถูกกับนิกาย คาทอลิก แต่เมื่อคริสต์นิกายออร์ธอด็อกซ์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ กรุง 10 คอนสแตนติโนเปิล ถูกคุกคามจากพวกเซลจุก จึงเป็น ต้องขอความช่วยเหลือจากพวกนิกายคาทอลิกซึ่งโป๊บแห่งกรุง โรมเห็นว่าเป็นโอกาสดีที่จะแพร่อิทธิพลของโรมันคาทอลิคครอบ คลุมพวกนิกายออร์ธอด็อกซ์ได้จึงถือข้อนี้เป็นสาเหตุหนึ่งในการ ประกาศสงครามครูเสดซึ่งเป้าหมายเบื้องหลังที่แฝงเร้นอยู่คือ เพื่อทาลายหลักการของคริสต์นิกายออร์ธอด็อกซ์ให้หมดสิ้นไป ด้วยนั่นเอง

2

ที่มา หนังสือครูเสดสงครามศาสนาเลือดไม่มีวันจบ

ที่มาจาก หนังสือครูเสดสงครามศาสนาเลือดไม่มีวันจบ


3

เป็นประเด็นสาคัญทางเศรษฐกิจกล่าวคือเนื่องจากพวกเซลจุก คุมปาเลสไตน์ และเอเชียน้อยทาพวกอิตาลีเดินทางไปมหาสมุทรอินเดีย ไม่สะดวก พ่อค้าแห่งเมืองเวนิสและเจนัวก็กาลังประสบปัญหาในการค้า ขายจึงอยากให้มีสงครามขึ้นเพื่อพวกตนจะได้ทาการค้าได้อย่างสะดวก ขึ้น พวกนี้จะเดินทางเคลื่อนไหวโดยซื้อสินค้าจากยุโรปไปจาหน่ายในตะวัน ออกกลางรวมไปถึงเอเชียโดยรวมไปจาหน่ายในยุโรปซึ่งได้ราคาดีโดย เฉพาะบรรดาเครื่องเทศและผ้าไหมหากแต่หลังจากที่อิสลามรุ่งเรืองขึ้นมา ในศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพวกเติร์กซึ่งเป็นชาวเอเชีย กลุ่มหนึ่งที่ตอนหลังหันมานับถือศาสนาอิสลามเริ่มเข้ามามีบทบาทในราช สานักมุสลิมการค้าขายของชาวเวนิส และเจนัวก็เริ่มระสบปัญหาซึ่งสุดท้าย ก็นามาซึ่งความพยายามให้มีการจากัดเซลจุกเติร์ก ให้พ้นไปจากเส้นทาง การค้าดังที่กล่าวมา เรียกว่าเหตุและผลนั้นมีความสลับซับซ้อนอยู่พอ สมควรซึ่งอีกทั้งยังมีอีกบางประเด็นที่ไม่สมควรมองข้ามโดยเฉพาะจากคา ประกาศขององค์สันตะปาปาที่ว่าสงครามครั้งนี้เป็นความประสงค์ของพระ ผู้เป็นเจ้าซึ่งประกาศนี้ยืนยันให้เห็นว่าแท้จริงแล้วชาวตะวันตกได้เฝ้ารอให้ โอกาสนี้มาถึงอยู่นานแล้ว เชื่อกันว่าศาสนจักร ที่กรุงโรมนั้นมีแผนอยู่ก่อน หน้านี้แล้วที่จะรวมศาสนจักร ที่มาจาก หนังสือ ครูเสดสงครามศาสนาเลือดไม่มีวันจบ

https://www.pinterest.com/pin/80347038974 )


ตะวันตกและตะวันออกเข้าด้วยกันกล่าวคือศาสนจักร ตะวันตกนั้นถือนิกายโรมัน คาทอลิก ขณะที่ตะวันออกถือนิกายออร์ธอด็อกซ์ และก่อนหน้านี้ที่จะเกิดสงคราม ครูเสดขึ้นมาสันตะปาปาแห่งโรมก็เคยยืมมือกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรแฟรงค์ มา ครั้งหนึ่งแล้วเพื่อให้รวมศาสนจักร ทั้งสองแต่ครั้งนั้นไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร ดังนั้นเมื่อทางตะวันออกส่งพระราชสาส์นมาขอความช่วยเหลือถึงเห็นเป็นโอกาสที่ จะศาลความคิดที่เคยเกิดขึ้นมาในอดีตให้เป็นผลสาเร็จอย่างแท้จริงขึ้น ไม่เพียงเท่า นั้นสาหรับประชาชนชาวยุโรปเองก็เช่นกันภาวะยุคมืดทาให้ประชาชน อยู่ด้วยกัน ด้วยความยากลาบากมีหนี้สินมากมายเมื่อได้รับการชักชวนจากศาสนจักรพร้อม คายืนยันในข้อเสนอสาหรับพวกเคร่งศาสนาที่ว่าพระเจ้าจะประทานรางวัลให้แล้ว จะให้ไปถึงเทวนครหรือสวรรค์เมื่อสิ้นชีวิตไปแล้วดูจะเป็นข้อเสนอที่น่าสนใจอย่าง มากของบรรดาผู้ที่มีฐานะและอานาจในเวลานั้น ขณะที่ชาวบ้านทั่วไปก็หันมาเข้า ร่วมด้วยแม้จะไม่ได้สนใจเรื่องของสวรรค์มากนักแต่แรงดลใจ ด้านเศรษฐกิจอาทิ จากคาสัญญาของศาสนจักรที่สัญญาว่าจะปลดหนี้สินให้และมอบที่ดินทากินให้ ด้วยก็เป็นแรงจูงใจได้อย่างดียิ่ง ด้วยเหตุและผลที่ปรากฏด้วยแรงจูงใจที่มากมาย ขนาดนี้ไหนเลยจะไม่สามารถระดมพลชนชาวคริสต์ที่มีจิตใจรักภักดีต่อศาสนา อย่างมหาศาลได้ซึ่งแน่นอนที่สุดสงครามครูเสดก็ได้ถือกาเนิดขึ้น

ที่มาจาก หนังสือ ครูเสดสงครามศาสนาเลือดไม่มีวันจบ

https://www.pinterest.com/pin/2527645978


Tudors Religion “ ราชวงศ์ทิวดอร์กับปัญหาศาสนา ” (ค.ศ. 1527- 1558)


Tudors “ ราชวงศ์ทิวดอร์กับปัญหาศาสนา ” Religion (ค.ศ. 1527- 1558)

เมื่อสงคราม 100 ปีระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศสยุติ ลงอีกไม่กี่ปีต่อมาอังกฤษก็เข้าสู่สงครามดอกกุหลาบซึ่งเป็นสงคราม กลางเมือง สาเหตุมาจากการแย่งชิงราชบัลลังก์ระหว่างราชวงศ์ยอร์ก กับราชวงศ์แลงคาสเตอร์ สงครามดอกกุหลาบได้นาความหายนะมาสู่ อังกฤษ หลังจากพระเจ้าริชาร์ดที่3 ( King Richard III, 2 ตุลาคม ค.ศ. 1452 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1485) สวรรคตในสงครามก็มีการ สถาปนาเฮนรี่ ทิ ว ดอร์ เ ชื้ อ สายของราชวงศ์ แ ลงคาสเตอร์ ขึ้ น เป็ น กษัตริย์เฉลิมพระนามพระเจ้าเฮนรี่ที่7 (Henry VII, 28 มกราคม ค.ศ. 1457 – 21 เมษายน ค.ศ. 1509) และทรงเป็นต้นราชวงศ์ทิวดอร์ทรงนาความรุ่งเรือง มาสู่อังกฤษถือได้ว่าเป็นยุคการฟื้นตัวจนกล่าวได้ว่าราชวงศ์ ทิวดอร์ เป็นราชวงศ์ที่มาพร้อมกับ ปรากฎการณ์ของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ของอังกฤษ และยังทรงทิ้ง”พิมพ์เขียว” (blue print)เป็นมรดกให้แก่ อั ง กฤษในการวางแนวทางให้ อั ง กฤษมี อ านาจเหนื อ โลกอี ก ด้ ว ย เมื่อพระเจ้า เฮนรี่ ที่7สวรรคตลงพระเจ้ า เฮนรี่ที่ 8ได้ขึ้นครองราชย์ (Henry VIII, 21 เมษายน 1509 – 28 มกราคม 1547) ทรงมี พระชนมายุ 17 พรรษา ส่งเป็นแบบฉบับของ”เจ้าชายแห่งยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยาการ”

Henry VII ที่มา : http://contigosantaclara.bl ogspot.com/2015/08/

The Field of the Cloth of Gold as imagined by an artist in the 18th century. ที่มา : http://timesoftudors.blogspot.com/2013/02/field-of-cloth-of-gold.html


หลังจากขึ้นครองราชย์สมบัติได้2เดือนได้ทรงอภิเษก สมรสกับสมเด็จพระราชินีแคเทอรีนได้เป็นเวลา 18 ปีแล้ว ไม่สามารถ จะให้กาเนิดทายาทเพื่อสืบทอดบัลลังก์ได้มีแต่พระธิดาคือแมรี พระเจ้า เฮนรีจึงทรงวางแผนจะหย่าจากพระนางแคเทอรีน และไปอภิเษกใหม่ กับนางแอนน์ โบลีน พระเจ้าเฮนรีทรงส่งทูตไปหาองค์พระสันตะปาปา เพื่ อ ขออนุ ญ าตหย่ า (จะแต่ ง งานหรื อ หย่ า กษั ต ริ ย์ ยุ โ รปต้ อ งทรงขอ อนุ ญ าตพระสั น ตะปาปาก่ อ น เพราะทรงเป็ น เสมื อ นบาทหลวง ผู้ประกอบพิธีแห่งยุโรป) แต่ขณะนั้นกรุงโรมถูกทัพของจักรพรรดิชาร์ลส์ ที่ 5 แห่ งจั กรวรรดิโ รมันอัน ศักดิ์สิ ทธิ์ยึดไว้อยู่ ซึ่งเป็นพระนัดดาของ พระนางคัทเธอรีน จึงกดดันพระสันตะปาปามิให้ยอมให้พระเจ้าเฮนรี ทรงหย่ าจากพระมาตุจฉาเมื่อพระสัน ตะปาปาไม่ส่ งยอมให้ ห ย่า ขาด พระเจ้าเฮนรี่ที่8ก็ทรงอภิเษกสมรสแบบลับๆกับนาง แอนน์ โบลี น ซึ่ ง ก าลั ง ตั้ง ครรภ์ นั บ เป็ น จุ ดเริ่ มต้ นของการแตกหั ก กั บ คริสตจักร และการตัดสัมพันธ์กับกรุงโรมและที่มาของการปฏิรูปศาสนา ในอังกฤษที่เรียกว่า ”การปฏิรูปศาสนาแบบเฮนรี่” พระเจ้าเฮนรีทรง ทาลายอิทธิพลขององค์การศาสนาในอังกฤษ โดยประหารชีวิตที่ปรึกษา ที่เป็นบาทหลวง เผาทาลายโบสถ์วิหารตามพระราชกฤษฎีกายุบอาราม (Dissolution of Monasteries) ยึดทรัพย์สินของศาสนาเข้าพระคลัง ทาให้ประชาชนไม่พอใจก่อจลาจล พระเจ้าเฮนรีทรงเข้าปราบปรามในปี ค.ศ. 1536 พระนางคัทเธอรีนสิ้นพระชนม์

Henry VIII ที่มา : https://sites.google.co m/site/prapasara/p16

Charles V ที่มา : http://www.everypainterpaintshim self.com

ภาพสัญลักษณ์ราชวงศ์ทิวดอร์ ที่เกิดจากการรวมสัญลักษณ์ฝ่ายแลงคาสเตอร์-ยอร์ก เข้าด้วยกัน ที่มา : GQ Thailand


พระเจ้าเฮนรี่ที่ 8 ( Henry VIII ) ของอังกฤษ ทะเลาะกับสันตะปาปาแห่งวาติกันผู้เป็นกษัตริย์แห่งพระนิกายโรมันคาทอลิค ที่มา : http://sanamluang2008.blogspot.com/2012/01/1-o3-h2-o2-h2o-o2-60-ape-homo-sapiens-1.html

พระเจ้ าเฮนรีทรงสั่งให้ทั้งประเทศเฉลิ มฉลอง ใหญ่โตเป็นวันเดียวกับที่นางแอนน์ โบลีน แท้งพระโอรสที่ใกล้จะ คลอด ในปี ค.ศ. 1536 พระนางแอนน์ โบลีน ซึ่งกลัวที่จะแจ้ง ความจริงให้กับพระเจ้า เฮนรี่ จึงวางแผนร่วมหลับนอนกับพี่ชาย ของตน (จอร์ จ โบลี น ) ระหว่ า งที่ ทั้ ง สองอยู่ ร่ ว มกั น ในห้ อ ง นางเจน โบลีน ภรรยาของพี่ชายของพระนางแอนน์ โบลีน มาพบ เข้าจึงนาความเข้าทูลกับพระเจ้า เฮนรี่ พี่ชายของพระนาง และ พระนาง จึงถูกสาเร็จโทษ แต่ในความเป็นจริง ทั้งสองมิได้ร่วม หลับนอนกันจริง เพราะไม่สามารถกระทาได้ ระหว่างรอนิรโทษ กรรมพระนางแอนน์ โบลีน นางแมรี่ โบลีน น้องสาวของพระนาง แอนน์ โบลีน มาเข้าเฝ้าพระเจ้า เฮนรี่ เพื่อขอชีวิตพี่สาวของตน แต่ไม่เป็นผลสาเร็จ ท้ายที่สุดพระนางแอนน์ โบลีนก็ถูกนิรโทษ กรรมตามพี่ชายของพระนางไป และพระเจ้าเฮนรีก็ได้ทรงอภิเษก ใหม่กับนางเจน โบลีน กลายเป็นเจน ซีมัวร์ (Jane Seymour) ในปี ค.ศ. 1535 พระเจ้าเฮนรีทรงผนวกเวลส์กับอังกฤษ และทรง น าทั พ เข้ า บุ ก ยึ ด ไอร์ แ ลนด์ จนปราบดาภิ เ ษกพระองค์ เ ป็ น พระมหากษัตริย์แห่งไอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1542

A pipe and tabor player in Tudor England. ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photo-


พระนางเจน ซี ย์ ม อร์ ให้ ก าเนิ ด พระโอรสในที่ สุ ด คื อ เอ็ ด วาร์ ด แต่นางเจนเสียชีวิตจากการตั้งพระครรภ์ ในปี ค.ศ. 1540 ทรงส่ง อภิเษกกับแอนน์แห่งคลีฟส์ แต่เพราะพระนางทรงพระโฉมไม่งาม จึ ง ทรงอภิ เ ษกใหม่ กั บ นางคั ท เธอรี น โฮวาร์ ด (Catherine Howard) แต่ทรงจับได้ว่านางมีความสัมพันธ์กับชายอื่นจึงทรง ประหารชีวิตเสีย และอภิเษกกับนางคัทเธอรีน พาร์(Catherine Parr) ในปี ค.ศ. 1543 ในปี ค.ศ. 1547 พระเจ้ า เฮนรี จึ ง สิ้ น พระชนม์ ด้ ว ยพระโรคต่ า งๆ รวมทั้ ง บาดแผลฉกรรจ์ จ าก อุบัติเหตุทรงพลั ดตกหลั งม้า จนเกิดเป็นบาดแผลติดเชื้ ออย่าง รุนแรง และส่งกินเหม็นไปทั่ว อย่างไรก็ดีพระเจ้าเฮนรี่ที่8ทรงเป็นประมุขที่ทา ให้ ส ถาบั น กษัต ริ ย์ เ ข้ ม แข็ง และรั ฐ สภามี บ ทบาทในฐานะกลไก สาคัญของการบริห ารประเทศขณะเดีย วกันรัฐ สภาก็กลายเป็น เครื่ อ งมื อ ส าคั ญ ในการวางกลยุ ท ธ์ ท างการเมื อ งของกษั ต ริ ย์ ก่อให้เกิดการปฏิรูป ทางการเมืองนอกเหนือจากการปฏิรูปทาง ศาสนาและการเกิดพัฒนาของระบบกษัตริย์ในรัฐสภาที่กษัตริย์ ต้อ งพึ่ ง รั ฐ สภามากขึ้ น ในการใช้พ ระราชอ านาจรวมทั้ ง รั บ การ สนับสนุนจากรัฐสภาในเรื่องต่างๆด้วย

Effigy of Henry VII ที่มา : http://collections.vam.ac.uk/

โลงศพของพระเจ้าเฮนรีที่ 8 (โลงกลางที่เสียหาย), ของพระนางเจน (ขวา), ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 กับพระบุตรที่เกิดกับ พระนางแอน (ซ้าย) ในโบสถ์เซนต์จอร์จ พระราชวังวินด์เซอร์ ที่มา : http://the-lothians.blogspot.com/2015/11/the-discovery-and-opening-of-coffin-of.html


องค์ชายเอ็ดวาร์ดที่ประสูติกับนางเจน เซย์มูร์ ขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าเอ็ดวาร์ดที่ 6 (Edward VI, 28 มกราคม 1547 – 6 กรกฎาคม 1553)แต่ยังพระเยาว์ ทาให้พระปิตุจฉาคือ ดยุกแห่งโซเมอร์เซต (Duke of Somerset) มีอานาจ พวก คาทอลิ กก่อกบฏในปี ค.ศ. 1549 ดยุกแห่งโซเมอร์ เซตถูก ลอร์ ดนอร์ ท ธัม เบอร์ แ ลนด์ (Lord Northumberland) ยึดอานาจไปในปี ค.ศ. 1553 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดสิ้นพระชนม์ ลอร์ ด นอร์ ธั ม เบอร์ แ ลนด์ ว างแผนจะให้ เ จน เกรย์ (Lady Jane Grey) ขึ้นเป็นกษัตริย์ แต่พระนางแมรี(Mary I, 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1516 - 17 พฤศจิกายน 1558) พระธิดา พระเจ้าเฮนรีที่ป ระสูติกับ พระนางคัทเธอรีน แห่ งอรากอน ทรงยึดบัลลังก์ไปในอีกเก้าวันต่อมา

Edward VI ที่มา : https://www.flickr.com

พระนางแมรีทรงเป็นคาทอลิกที่เคร่งครัด อันเป็นอิทธิพลจากพระญาติฝ่ายสเปนของพระมารดา ในปี ค.ศ. 1554 พระนางแมรี ท รงอภิ เ ษกกั บ พระญาติ คื อ พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งสเปน ทาให้ประชาชนไม่พอใจอย่าง ยิ่งเกรงว่าประเทศอังกฤษจะตกแก่สเปน พระนางแมรีทรง กวาดล้างและลงโทษพวกโปรเตสแตนต์ และดาเนินนโยบาย กลั บ กั บ พระบิ ด า คื อ พระเจ้ า เฮนรี โดยการฟื้ น ฟู ความสัมพันธ์กับพระสันตะปาปา ในปี ค.ศ. 1558 ฝรั่งเศส ยึ ด เมือ งคาเลส์ (Calais) คืน จากอั งกฤษที่ ยึ ดไปตั้ง แต่ สงครามร้อยปี เป็นที่มั่นสุดท้ายของอังกฤษในฝรั่งเศส

เจ้าหญิงแมรี่ในค.ศ. 1544 ที่มา : http://johnmurphy.co.uk/?p=3308

พระเจ้าเฟลิเปและพระนางแมรี ที่มา : https://talk.mthai.com/inbox/308428.html


Katharine of Aragon พระมเหสีพ ระองค์แ รกใน พระเจ้ า เฮนรี ที่ 8 แห่ ง อังกฤษ ที่มา : http://www.artfixdaily. com

Anne Boleyn เป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 2 ใน พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ ที่มา : https://chortravel.livejour nal.com

เจน ซีมัวร์ เป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้า เฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ ที่มา : http://www.alamy.com

แอนน์แห่งคลีฟส์ เป็ น สมเด็ จ พระราชิ นี อั ค รมเหสี อ งค์ ที่ 4 ใน สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่8 ที่มา : https://www.blogga ng.com แคเธอรีน ฮอเวิร์ด เป็ น สมเด็ จ พระราชิ นี อั ค รมเหสี พระองค์ที่ 5 ของพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ ที่มา : http://www.anyapedia.com

สมเด็ จ พระราชิ นี แ คทเธอรี น พ า รร์ เป็ นพ ระ มเห สี อ งค์ สุด ท้า ยของสมเด็ จ พระเจ้ า เฮ นรีที่ 8 ที่มา : http://www.fanpop.com

พระบรมสาทิสลัก ษณ์ของราชวงศ์ ทิวดอร์ โดย Lucas de Heere, ca. 1572: จากซ้ายไปขวา สมเด็จ พระเจ้ า เฟลิ เ ปที่ 2 แห่ ง สเปน, สมเด็ จ พระราชิ นี น าถแมรี ที่ 1, สมเด็ จ พระเจ้ า เฮนรี ที่ 8, สมเด็ จ พระเจ้า เอ็ ดเวิร์ดที่ 6 และ สมเด็จ พระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ที่มา : https://commons.wikimedia


The French Revolution การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789-1799


The French Revolution

French revolution of 1789, illustrations ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photofrench-revolution

การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ฝรั่งเศสยังคงเป็นสังคมที่พึ่งพา เกษตรกรรมอย่ า งมากและประเทศก็ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ ากการขยายตั ว ของ การเกษตรชาวนาฝรั่งเศสครอบครองที่ดินร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศมากกว่า ประเทศอื่นๆส่วนขุนนางก็ได้ประโยชน์ ของการขายผลิตผลทางการเกษตรซึ่ง นาไปลงทุนในกิจการผ้า การหลอมโลหะ การสร้างถนน การขุดคลองและอื่นๆ แต่ขณะเดียวกัน ฝรั่งเศสก็ประสบปัญหาที่เป็นเสมือนวงจรของความหายนะ ได้แก่ทุพภิกขภัยโรคระบาดการล้มเจ็บและการเสียชีวิตของประชาชนจานวน มากซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจสังคมและการเมืองภายในอย่างมากใน คริส ต์ศตวรรษที่ 18 ฝรั่ งเศสอยู่ภ ายใต้การปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 (Louis XV de France, 1 กันยายน 1715 – 10 พฤษภาคม 1774)เป็นเวลา กว่าครึ่งศตวรรษทรงขึ้นครองราชย์สมบัติขณะมีพระชนมายุเพียง 5 พรรษา เท่านั้น ดังนั้นจึงเป็นการเปิดโอกาสให้พวกขุนนางสามารถเข้าแทรกแซงการ ปกครองได้ทั้งในระดับสภาองคมนตรีศาลสูงและการปกครองท้องถิ่น

Louis XV de France ที่มา : https://commons.wiki media.org/wiki/File:Lo uis15-1.jpg

ขณะเดียวกัน พระองค์ก็ทรงเป็ นกษัตริย์ที่ไร้ความสามารถ ดังนั้นฝรั่งเศสจึงตกอยู่ใน สภาพที่เหมือนไร้กษัตริย์ปกครองในเวลาเดียวกันพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 มิได้โปรดให้บุคคลใดบริหารประเทศ แทนพระองค์ขุนนางฝรั่งเศสจึงได้ผลประโยชน์จากการนี้และกลายเป็นชนชั้นที่มีอิทธิพลที่สุดในฝรั่งเศส เป็นยุคของขุนนางครองเมือง นอกจากนี้พระเจ้าหลุยส์ที่ 15ยังนาฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามการสืบราชบัลลังก์ ออสเตรียและสงครามเจ็ดปี โดยที่ฝรั่งเศสไม่ได้รับผลประโยชน์ใดๆจากสงคราม นอกจากจะทาให้ฐานะ ทางการเงินและเศรษฐกิจของรัฐบาลอยู่ในภาวะแทบล้มละลาย


French Revolution, Storming of the Bastille, 1789 ที่มา : http://www.alamy.com/search.html

ต่ อ ม า ใ น รั ช ก า ล พ ร ะ เ จ้ า ห ลุ ย ส์ ที่ 1 6 (ค.ศ.1774-1792) กองทั พ ฝรั่ ง เศสยั ง ให้ ความช่ว ยเหลื อชาวอเมริกันต่อสู้ กับกองทัพ อังกฤษในสงครามประกาศอิสระภาพอเมริกา อีกด้วยหนี้สินของฝรั่งเศสจึงทวีรายได้ของรัฐ กว่ า ร้ อ ยละ 50 ถู ก น าไปช าระหนี้ จ นเกิ ด ความจ าเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งมี ก ารปฏิ รู ป ระบบภาษี อ ากร อย่ า งจริ ง จั ง เพื่ อ ช่ ว ยให้ ประเทศไม่ให้ล้มละลาย กระนั้นพระเจ้าหลุยส์ ที่ 16 ก็ไม่ทรงคิดจะเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อ แก้ไขปัญหาดังกล่าวทั้งนี้เพราะการปฏิรูปภาษี อากรย่อ มหมายถึ ง ย่ อมหมายถึง การละเมิ ด อภิสิทธิ์ของชนชั้นสูงในฝรั่งเศสพวกขุนนาง

ถือว่า”อภิสิทธิ์”คือ”เสรีภาพ”ทีใ่ ครจะละเมิดไม่ได้แม้แต่กษัตริย์ กษัตริย์ฝรั่งเศสจึงเป็นเสมือน”นักโทษของ ขุนนาง”ที่ไม่สามารถจะทาการใดที่อาจสร้างความไม่พอใจให้แก่ชนชั้นขุนนางได้ ในทศวรรษ1780 ได้มีความพยายามที่จะปฏิรูปทางการเงินและการครั้งเพื่อดาเนินการแก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจแต่ก็ประสบความล้มเหลวเพราะนโยบายเก็บภาษีและปฏิรูปการคลังที่เสนาบดีแต่ละคน เสนอล้วนละเมิดอภิสิทธิ์ชนชั้นสูงที่เคยมีบทบาทนับร้อยๆปีสภาขุนนางจึงคัดค้านการปฏิรูปทุกรูปแบบที่จะ กระทบต่ออภิสิทธิ์ของตนโดยอ้างว่ากษัตริย์ไม่มีสิทธิ์แก้ไขระบบภาษีโดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากตัวแทน ของชาติและต่างเรียกร้องให้จัดประชุมสภาฐานันดร ด้วยจุดมุ่งหมายที่จะดารงรักษาและตอกย้าอภิสิทธิ์ของ พวกตนการเรียกประชุมฐานันดรจะเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติซึ่งพวกขุนนางไม่ได้ตระหนักเลยว่าพวกเขา กาลังจะเปิดประตูมรณะของตนเองพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงยินยอมให้เรียกประชุมสภาฐานันดรหรือรัฐสภา เพื่อแก้ไขปัญหาของชาติในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 ณ พระราชวังแวร์ซาย

Death of a young woman in the The French Revolution of 1830, ที่มา :http://www.alamy.com


La Prise de la Bastille (The Storming of the Bastille). Painting by Jean-Pierre-Louis-Laurent Houel, 1789. ที่มา : https://gobling.wordpress.com-

สภาฐานั น ดรประกอบด้ ว ยผู้ แ ทนของ ฐานันดร 3 ฝ่ายคือ ขุนนาง นักบวช และสามัญชน ฐานันดร ละ 300 คนในการเรี ย กประชุ ม ตามระบบเก่ า แต่ ล ะเขต เลือกตั้งไม่ว่าจะมีประชากรเท่าไหร่มีสิ ทธิ์ส่งผู้แทนฝ่ายละ 1 คนการลงมติใดใดจะทาได้ต้องได้มติเอกฉันท์ของทั้งสาม ฝ่ายโดยทั่วไปฐานันดรที่หนึ่งและสองสามารถควบคุมการลง มติได้เพราะการลงคะแนนคานึงเสียงของแต่ละฐานันดรไม่ใช่ เสี ยงผู้ เข้าร่ ว มประชุมแต่ล ะคน ฐานัน ดรที่ 3 เรี ยกร้องให้ ลงคะแนนเสียงเป็นรายบุคคล การประชุมได้เกิดปัญหาขึ้น เพราะกลุ่ ม ฐานั น ดรที่ 3 ไม่ พอใจและเรี ย กร้ องให้ จัด การ ประชุมร่วมกันทั้งสามฐานันดร การประชุมจึงหยุดชะงักไป หลายสั ป ดาห์ ต่ อ มาเมื่ อ วั น ที่ 20 มิ ถุ น ายน ค.ศ. 1789 สมัชชาแห่งชาติ ได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิสและร่วมกัน กล่าวคาปฏิญาณว่าจะไม่ยอมแยกจากกันและจัดประชุมกัน ในทุกแห่ง

Liberty leading the people ที่มา : https://wsurintara.wordpress.com

Pyramid of Capitalist System ที่มา : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Pyrami d_of_Capitalist_System_-_bulgarian.jpg


ตามความจ าเป็ น ของสถานการณ์ จน ก ว่ า จ ะ ร่ า ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ข อ ง ประเทศแล้ ว เสร็ จ นักประวัติศาสตร์ บางกลุ่มจึ งถือว่าวัน ที่ 20 มิถุน ายน เป็ น วั น เริ่ ม ต้ น การปฏิ วั ติ ฝ รั่ ง เศส ในขณะเดี ย วกั น กั บ ความวุ่ น วายได้ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปารีสและได้ ขยายตัวออกไปทั่วประเทศ ฝู ง ช น ช า ว ป า รี ส ได้รับ ข่าวลื อว่า พระเจ้าหลุยส์ ที่ 16 ก า ลั ง จ ะ ส่ ง ก า ลั ง ท ห า ร เ ข้ า ม า ปราบปรามฝูงชนที่ก่อความวุ่นวายใน ปารี ส ฝู งชนจึ งได้ร่ ว มมือกัน ทาลาย คุกบาสติล(Bastille) ซึ่งเป็นสถานที่ คุมขังนักโทษทางการเมืองและถือว่า เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องการปกครองใน ระบอบเก่า

Rioters attack the Royal Palace during the French Revolution ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photo-rioters-attack-the-royal-palace

Citizen soldiers of the French Revolution ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photo-citizensoldiers-of-the-french-revolution

Allegory of the French Revolution. ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photo-allegory-of-thefrench-revolution-35949174.html


Map of Paris, France at the Outbreak of the French Revolution, 1789 ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photo-map-of-paris-france-

FRENCH REVOLUTION contemporary illustration of a Parisienne revolutionary ที่มา : -illustration-of-a-parisienne-revolutionary-

French Revolution 1789 - 1799 Jacobins caricature "Le patriote exclusif" contemporary copper engraving "Liberty Equality ที่มา : http://www.alamy.com

ความส าคั ญ ของการบุ ก ท าลายคุ ก บาสติ ล ถื อ ว่ า เป็ น เหตุ ก ารณ์ ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของการ ปฏิวัติฝรั่งเศสเพราะกษัตริย์ขุนนางและชนชั้นสูงต้องยอมสละอานาจให้แก่สมัชชาแห่งชาติและพระเจ้า หลุยส์ที่ 16 ทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและการปกครองครั้งนี้ ผลจากการปฏิวัติฝรั่งเศสคือมี การจับขุนนางมาประหารด้วยเครื่องกิ โยตินมากมายและที่สาคัญพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ถูกตัดสินให้ประหาร ชีวิตเมื่อวันที่ 21 มกราคม 1793 ด้วยเหตุว่าทรยศต่อชาติต้องการพระราชอานาจกับคืน สมเด็จพระราชินี มารีอังตัวเเนต ก็ทรงประสบชะตากรรมเดียวกัน ส่วนเจ้าชายหลุยส์ ชาร์ล พระราชโอรสและทรงดารง พระยศมกุฎราชกุมารในวัย 8 พรรษา ก็ยังคงถูกคุมขังอย่างทรมานต่อไป (พวกกษัตริย์นิยมถวายพระนาม ว่า”พระเจ้าหลุยส์ที่ 17” สิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1895)


Two guillotines from the time of the French Revolution. ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photo-two-guillotines-from-the-time-of-the-french-revolution-5564323

Paris in 1793 Engraving by Butterworth and Heath after Laslett J Pott 1823 1898 The Condemned on the way to the Guillotine ที่มา : http://www.alamy.com/stock-photo-paris-in-1793-engraving-by-butterworth-and-heath-after-laslett-j-pott-20094789.html


(Battle of Waterloo)


วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1815เป็นวันสาคัญทาง United Kingdom

Prussia

France

ประวัติศาสตร์ของชาวยุโรป โดยในวันนั้นได้เกิดเหุตการณ์ ที่เป็นจุดจบยุคของจักรพรรดินโปเลียน(Napolean) บนที่ ราบเมืองวอเตอร์ล(ู Waterloo) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเบลเยียม โดยกองทัพพันธมิตรประกอบด้วยอังกฤษและปรัสเซียได้รบั ชัยชนะเหนือกองกาลังของจักรพรรดิฝรั่งเศส สงครามครั้ง นี้ทิ้งไว้แต่เพียงเบื้องหลังอันเป็นร่องรอยแห่งความตายนับ พันของกองกาลังทั้ง 2 ฝ่าย รวมถึงการยอมศิโรราบของ จักรพรรดินโปเลียน ผู้ถูกเนรเทศไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา (St.helena) ที่ห่างไกล ซึ่งเป็นที่ตายของพระองค์ในอีก 6 ปีต่อมา

มหาศึกที่ยิ่งใหญ่ครั้งสุดท้าย กองกาลังพันธมิตรตั้งมั่นอยู่บนที่สูง ซึ่งสามารถสังเกตเห็นการเคลื่อนไหวของฝรั่งเศสได้โดยง่าย นอกจากนี้ฟาร์มปศุสัตว์ 3 แห่งทางด้านหน้า คือ อูกูมองต์(Hougoumont),ลา เอ-ซานเต (la Haye-Sainte) และปาเปล็อตต์ (Papelotte) ก็เป็นป้อมปราการอย่างดี เปรียบเทียบกองกาลังทหาร ฝ่ายฝรั่งเศส กาลังพล 72,500 ปืนใหญ่ 500 ฝ่ายพันธมิตร กาลังพล 120,000 ปืนใหญ่ 290

แผนที่จำลองกำรรบบริเวณวอเตอร์ลู https://en.wikipedia.org


ความพ่ายแพ้ของนโปเลียน(Napolean) 1.การต่อสู้เริ่มต้นด้วยการโจมตีฟาร์มอูกูมองต์ (Hougoumont) เพื่อให้เกิดการบุกศูนย์กลาง พันธมิตรอย่างเต็มรูปแบบ แต่อังกฤษไม่หลงกล ความพยายามดื้นรนที่ฟาร์มอูกมู องต์และฟาร์ม เอ-ซานเต (la Haye-Sainte) จึงกลายเป็นการ ต่อสู้ที่ทาลายฝรั่งเศสเสียเอง http://www.independent.co.uk

http://www.stuartbriggs.com

2.กาลังพันธมิตรจัดตาแหน่งของพวกเขาใหม่ โดยเชื่อว่าจะสามารถจัดการฝรั่งเศสให้ถอยทัพ ไปได้ด้วยการให้ทหารม้า(Carvalry) จูโ่ จม แม้ว่าการกระทาเหล่านี้จะสามารถผลักดัน ฝรั่งเศสให้ออกไปได้ และพันธมิตรก็แปรรูปแบบ กองทัพเป็นการวางกาลังแบบจัตุรัส (square) ซึ่งทาให้ศัตรูบาดเจ็บล้มตายอย่างลงเป็นอัน มาก

3.จักรพรรดินโปเลียนทรงออกคาสั่งให้องครักษ์ โจมตีศูนย์กลางพันธมิตร แต่กองกาลังอังกฤษ รู้สึกแปลกใจที่พวกเขาใช้ปืนคาบศิลาในการต่อสู้ จากนั้นปรัซเซีย(Prussia) ก็มาถึงและเปิดทาง บนปีกขวา สร้างความเสียหายครัง้ ใหญ่ให้กับ ฝรั่งเศสจนต้องถอยร่นในที่สุด https://www.smithsonianmag.com

https://www.history.com

http://www.alamy.com


การจัดขบวนทัพแบบจัตุรัส (square) ของสหราช อาณาจักร(UK) ทหารม้าสามารถทาลายแนวมทหารราบลงได้ เพื่อ เป็นการหลีกเลี่ยงปัญหานี้ทหารราบต้องแปรขบวน ทัพให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทีส่ มรภูมิวอเตอร์ลู กล ยุทธ์นี้เป็นเครื่องมือต้านทานการโจมตีที่น่ากลัวของ กองกาลังจักรวรรดิฝรัง่ เศส https://www.renderosity.com

พลปืนฟูซิล (fusil) จะอยู่ ด้านหลังแนวหน้ามี หน้าที่ยืนระดมยิงใส่ ทหารม้า

แนวหน้า

https://forums.spacebattles.com

เนินลาดชัน กองกาลังพันธมิตรตั้งฐานอยู่บนเนิน ทา ให้ฝรั่งเศสไม่สามารถมองเห็นการก่อตัว ของพวกเขาได้

ใช้อาวุธปืนไรเฟิลและ ดาบปลายปืน นั่งคุกเข่า ข้างหนึ่ง แล้วบีบกาลัง พลให้กระชับพื้นที่ทาง ด้านหน้า

ทหารม้าสวมเสื้อเกราะฝรั่งเศส ติดอาวุธด้วยดาบและปืนพก มีเสื้อ เกราะเป็นเครื่องป้องกันแม้จะใช้ ทหารม้ากว่า 12 นาย เข้าโจมตี ก็ ไม่สามารถเจาะช่องเปิดทาง พันธมิตรที่วางรูปขบวนเป็นสี่เหลี่ยม จัตุรัส http://jjwargames.blogspot.com


นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napolean bonaparte)

France หลังจากความพ่ายแพ้เพียง 1 ปี สงครามสงครามประสานมิตรครัง้ ทีห่ ก(War of the Sixth Coalition) จักรพรรดินโปเลียนก็ทรงหลบหนีการเนรเทศออกมาจากเกาะเอลบา (Elba) ที่ พระองค์ถูกส่งตัวไป โดยวันที่ 20 มีนาคม พระองค์ก็สามารถหลบเข้ามาในปารีสได้สาเร็จ และทรงเผชิญหน้ากับพันธมิตรทั้ง 7 ประเทศ ในสมรภูมิรบที่วอเตอร์ลู ก่อนยอมจานนในที่สุด


อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington)

United kingdom เป็นวีรบุรุษผู้เป็นฝันร้ายของนโปเลียน โดยครั้งแรกเป็นผู้ขับไล่กองทัพฝรั่งเศสออก จากสเปน และในที่สุดก็มีชัยเหนือจักรพรรดินโปเลียนในสงครามวอเตอร์ลู


แกบฮาร์ด เลเบอเร็คท์ ฟอน บลือเชอร์, เฟือสท์แห่งวาลชตัทท์ (Gebhard Leberecht von Blcher, First von Wahlstatt)

Prussia เมื่อสงครามประสานมิตรครัง้ ที่หก(War of the Sixth Coalition) ปะทุขึ้นในปี 1813 บลือเชอร์ ในวัย 71 ต้องกลับมาบัญชาการอีกครั้ง และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพป รัสเซีย และสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนได้ เมื่อนโปเลียนหวนคืนสู่แผ่นดินอีกครั้งในปี 1814 บลือ เชอร์ก็เป็นผู้บัญชาการกองทัพปรัสเซียประจาทีร่ าบลุ่มแม่น้าไรน์ร่วมกับกองทัพอังกฤษของดยุ กแห่งเวลลิงตัน ในวันที่ 16 มิถุนายน เขาได้รับบาดเจ็บและล่าถอย หลังจากนั้นสองวันเขาก็ร่วม บัญชาการกองทัพผสมกับดยุกแห่งเวลลิงตันและมีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู


INDUSTRIAL REVOLUTION เซอร์ เฮนรี เบสเซเมอร์ (Sir HenryBessemer, ค.ศ. 1813 -1893,วิศวกร ชาวอังกฤษ) พบวิธีทาเหล็กถลุงให้มีคุณ-สมบัติดีขึ้นเรียกว่า เหล็กกล้า การปฏิวัติ อุต สาหกรรม (INDUSTRIAL REVOLUTION) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงใน วิธีการผลิตและระบบการผลิต จากเดิมระบบ การผลิตมักทากันภายในครอบคัว พ่อค้ามักเป็น นายทุนซื้อวัตถุดิบแล้ว แจกจ่ายให้แต่ละครอบครัวรับมาทา แล้วพ่อค้าจะรับผลิตภัณฑ์ที่สาเร็จ แล้วไปขาย คนงานก็จะได้ค่าจ้างเป็นการตอบแทน การผลิต สิ น ค้ า เดิ ม ใช้ แ รงงานคน แรงงานสั ต ว์ รวมทั้ ง พลั ง งานจากธรรมชาติ เครื่องมือแบบง่ายๆ มาเป็นการใช้เครื่องจักรกลแทน เริ่มจากแบบ ง่ายๆ จนถึงแบบซับซ้อนที่มีกาลังผลิตสูง จนเกิดเป็นการผลิตในระบบโรงงาน (FACTORY SYSTEM) การผลิตภายในครอบครัวก็ค่อยๆ หมดไป และ Sir Henry Bessemer ผู้คนจานวนมากตามชนบทต้องอพยพเข้ามาทางาน เป็นกรรมกรในโรงงาน ที่มาhttps://my.dekd.com/kunsawatatrw b/writer/viewlongc.php?id=767358&cha pter=17

การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งแรกเกิดใน ประเทศอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 18 แ ละไ ด้ แ พร่ ขย ายไ ปยั ง ประเท ศ ตะวั น ตกอื่ น ๆ ทั่ ว โลก การปฏิ วั ติ อุตสาหกรรมนับเป็นปรากฏการณ์ใหม่ ที่มีผล กระทบต่อการเมืองการปกครอง สัง คม เศรษฐกิจ และวั ฒ นธรรมของ มนุษยชาติทั่วโลก


การเกษตรกรรมในอังกฤษได้ผลดีขึ้น ทาให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองขึ้น ประเทศมีความ มั่งคั่งขึ้นใน ค.ศ. 1694 รัฐบาลจัดตั้งธนาคารแห่งประเทศ อังกฤษ (BANK OF ENGLAND) เพื่อเป็น แหล่งระดมทุนของรัฐ ทรัพยากร มนุษย์ของอังกฤษก็มีความพร้อมสนับสนุนการปฏิวัติอุตสาหกรรม เพราะ ชาวอังกฤษไม่เคร่งครัดต่อการแบ่งแยกชนชั้น เช่น สังคมอื่นๆ ในยุโรป ทั้ง ยังให้การ ยอมรับชนทุกชั้นที่สามารถสร้างฐานะเป็นปึกแผ่น ดังนั้นขุนนาง อังกฤษจึงไม่รังเกียจที่จะทาการค้า เช่นเดียวกับคนชั้นกลางที่พยายามยก สถานภาพทางเศรษฐกิจให้เท่าเทียมขุนนาง นอกจากนี้รัฐยังส่งเสริมให้ การค้าขยายตัว เช่น มีการออกพระราชบัญญัติสร้างถนน ท่าจอดเรือ และ ขุดคูคลอง ต่างๆ เป็นจานวนมาก เพื่อใช้เป็นเส้นทางคมนาคมทางการค้า มี การยกเลิกการเก็บภาษีผ่านด่าน และมีนโยบายการค้าแบบเสรี ซึ่งเป็นการ กระตุ้นให้มีการขยายตัวของตลาดการค้าภายในอย่าง กว้างขวาง ปัจจัย

ภายในโรงงานเย็บผ้า https://th.wikipedia.org/wiki/industral

เครื่องปั่นไฟที่คอดค้นเครื่องแรก https://th.wikipedia.org/wiki/industral การปฏิวัติอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1840 เป็นระยะที่มีการประดิษฐ์เครื่องจักร ช่วยในการผลิตและการปรับปรุง โรงงาน อุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ และการปฏิวัติ อุตสาหกรรมระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 18611865 เป็นการปรับปรุงการคมนาคมสื่อสาร ซึ่ง เป็นผลมาจากความสาเร็จของอุตสาหกรรมเหล็ก และเครื่องจักรไอน้าการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน ระยะแรก คือ การประดิษฐ์เพื่อตอบสนอง อุตสาหกรรมการ ทอผ้า เช่น ใน ค.ศ. 1733 จอห์น เคย์ (JOHN KAY) แห่งเมืองแลงคาเชียร์ (LANCASHIRE) ได้ประดิษฐ์กี่กระตุก (FLYING SHUTTLE) ซึ่งช่วยให้ช่างทอผ้าสามารถผลิตผ้า ได้มากกว่าเดิมถึง 2 เท่า ค.ศ. 1764 เจมส์ ฮาร์ กรีฟส์ (JAMES HARGREAVES) สามารถผลิต เครื่องปั่นด้าย (SPINNING JENNY) ได้สาเร็จ ต่อมา ค.ศ. 1769 ริชาร์ด อาร์กไรต์ (RICHARD ARKWRIGHT) ได้


Steam Engine การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นวลีที่นักประวัติศาสตร์ใช้เรียกเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจที่ ขยายตัวเร็วมากในยุโรป สืบเนื่องมาจากการค้นพบแหล่งพลังงานจากถ่านหินราคาถูก กับนวัตกรรมทางเครื่องกลที่ เข้ามาทดแทนแรงงานคนและสัตว

หัวรถจักรไอน้า http://www.finedictionary.com/steam %20engine.html

กลไกลเครื่องปั่นไอน้า http://www.dictionary.co m/browse/steam-engine

เครื่องปั่นไฟที่ใช้ไอน้า https://www.howitworksdaily.com/what-wasthe-watt-steam-engine/

ถ่านหินที่น้ามาใช้เป็นเชือเพลิงส้าหรับเครื่องจักรไอ น ้า http://www.dictionary.com/browse/steamengine


http://wigittra.blogspot.co m/p/blog-page_28.html

การประดิษฐ์ที่พัฒนาควบคู่กับการทอผ้า คือ การประดิษฐ์เครื่องจักรไอ น้า โดยเจมส์ วัตต์ (JAMES WATT) ) (19 มกราคมค.ศ. 1736- 19 สิงหาคม ค.ศ. 1819) ชาวสกอต ประดิษฐ์ได้ใน ค.ศ. 1769 โดยใช้ ขับเคลื่อนเครื่องจักรกลแทนพลังงาน น้า ซึ่งส่งผลให้นาไปใช้ใน อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เหมืองแร่และการทอผ้า ต่างใช้เครื่องจักรไอน้า เป็นพลังขับเคลื่อนเครื่องจักรกลทั้งสิ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเหล็ก เมื่อ มีการพัฒนาเครื่องจักร กลไอน้า ทาให้อุตสาหกรรมเหล็กขยายปริมาณ การผลิตได้อย่างรวดเร็ว และเมื่อเฮนรี คอร์ต (HENRY CORT) ชาว อังกฤษคิดค้นวิธีการ หลอมเหล็กให้มีคุณภาพดีขึ้น ก็ส่งผลให้มีการ ปรับปรุงคุณภาพของปืนใหญ่ ตลอดจนยุทโธปกรณ์ต่างๆ ให้มี ประสิทธิภาพขึ้นต่อมาใน ค.ศ. 1807 ชาวอังกฤษได้ประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรมจาหน่ายเครื่องจักร ณ เมืองลีจ (LIEGE) ประเทศเบลเยียม ทาให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นในเบลเยียม แต่อย่างไรก็ตาม ในต้น คริสต์ศตวรรษที่ 19 อังกฤษยังครองความเป็นผู้นาในการปฏิวัติ อุตสาหกรรม โดยใน ค.ศ. 1851 อังกฤษได้จัดแสดงนิทรรศการครั้งใหญ่ (GREAT EXHIBITION) แสดงความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมเหล็กของอังกฤษ

https://en.wikipedia.org/wiki/John_Ka y_(flying_shuttle)

เครื่องเย็บผ้าที่ใช้กันในยุคแรก https://writer.dekd.com/Writer/story/viewlongc.php?id=1045425&chapter=18


การประดิ ษ ฐ์ ที่ พั ฒ นาควบคู่ กั บ การทอผ้ า คื อ การ ประดิ ษ ฐ์ เ ครื่ อ งจั ก รไอน้ า โดยเจมส์ วั ต ต์ (JAMES WATT) ชาวสกอต ประดิษฐ์ได้ใน ค.ศ. 1769 โดยใช้ ขับเคลื่อนเครื่องจักรกลแทนพลังงาน น้า ซึ่งส่งผลให้ นาไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เหมืองแร่และการ ทอผ้ า ต่ า งใช้ เ ครื่ อ งจั ก รไอน้ า เป็ น พลั ง ขั บ เคลื่ อ น เครื่องจักรกลทั้งสิ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเหล็ก เมื่อ มีการพัฒนาเครื่องจักร กลไอน้า ทาให้อุตสาหกรรม เหล็กขยายปริมาณการผลิตได้อย่างรวดเร็ว และเมื่อ เฮนรี คอร์ต (HENRY CORT) ชาวอังกฤษคิดค้น วิธีการ หลอมเหล็กให้มีคุณภาพดีขึ้น ก็ส่งผลให้มีการ ปรับปรุงคุณภาพของปืนใหญ่ ตลอดจนยุทโธปกรณ์ ต่างๆ ให้มี ประสิทธิภาพขึ้น

การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 เป็นการปรับปรุงการ คมนาคมสื่อสาร ซึ่งเป็น ผลมาจาก ความสาเร็จของ อุตสาหกรรมเหล็ก และเครื่ องจัก รไอน้า โดยใน ค.ศ. 1804 ริชาร์ด เทรวีทิก(RICHARD TREVITICK) นา พลังงานไอน้ามาขับเคลื่อนรถบรรทุก รถจักรไอน้าจึงมี บทบาทสาคัญใน อุตสาหกรรมขนส่ง ที่มีชื่อเสียงมาก คือ หัวรถจักรไอน้า ชื่อ ร็อกเกต (ROCKET) ของ จอร์จ สตี- เฟนสัน (GEORGE STEPHENSON) ทาให้


อิสราเอล อิสรภาพ (Israel War) ค.ศ.1948-1973


สงคราม 4 ครั้ง ระหว่างอิสราเอล และอาหรับ สงครามครั้งที่ 1

ค.ศ. 1948-1949 อังกฤษได้ถอนตัวออกจากปาเลสไตน์โดยสิ้นเชิงเมื่อวันท่ี 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 ในวั น นั ้ น นายเดวิด เบน กูเรียน ( David Ben-Gurion, 16 ตุลาคม ค.ศ. 1886 - 1 ธันวาคม ค.ศ. 1973) นายยกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอลได้ ประกาศเอกราชของอิสราเอลโดยวิทยุกระจายเสียง ในวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ.1949 กองทัพอาหรับ5 ประเทศ คือ อียิปต์ จอร์แดน อิรัก ซีเรีย และ เลบานอน ได้เดินทัพเข้าสู่อิสราเอลทันทีในการปะทะกันครั้งแรกแนวต้านทานของอิสราเบลทํ า ท่ า ว่ า จะรั บ ไม่อยู่ วันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 สงครามในปี ค.ศ.1948 จบลงด้วยการที่อิสราเอลสามารถ ควบคุมอาณาเขตไว้ได้ราว 78 เปอร์เซ็นต์ของดินแดนปาเลสไตน์ ในขณะที่อีก 22 เปอร์เซ็นต์ที่เหลือ ตกไปอยู่ในมือของอียิปต์และจอร์แดน

เมืองยูรูซาเลมเก่าก็เสียให้แก่อาหรับ(อิสราเบล ได้คืนมาในสงครามครั้งที่3 ค.ศ.1967)แต่เม่ ื อ การ รบเนิ ่ น นานขึ ้ น อาหรั บ ก็ เ ร ิ ่ ม จะหมดแรงล ง สหประชาชาติ ได้ส่งตัวแทน คือ เคานต์ เ บอร์ น า ดอตต์ (Count Bernadotte) มาเจรจาให้ 2 ฝ่ า ย ยุติการสู้รบกันแต่เบอร์นาดอตต์ได้ถูก อาหรั บ หั ว รุ น แรงสั ง หาร นายราลฟ์ เจ.บั น ช์ ( Ralph j. Bunche, 7 สิงหาคม ค.ศ.1904 – 9ธันวาคม ค.ศ. 1971) ได้เป็นผ้เู จรจาแทนต่อมาได้มีการประกาศ ยุติสงครามครั้งที่1 ค.ศ. 1949

จากภาพ : นายเดวิด เบน กูเรียน ที่มาจาก: https://he.wikipedia.org/wiki/


สงครามครั้งที่ 2 ค.ศ. 1956

ระหว่างที่สงบศึกกันอยู่นั้นท้ัง 2 ฝ่ า ยต่ า งก็ เสริมกําลังกันเต็มที่ ในปี ค.ศ.1956 นายกาเมล อับเดลนั ส เซอร์ (GamalAbdel Nasser, 23 มิถุนายม ค.ศ. 1956 -28 กันยายน ค.ศ. 1970) ประธานนาธิบดีของอี ย ิ ป ต์ ไ ด้ ย ึ ด คลองสุ เ อซ (Suez Cannal)เป็นของอี ย ิ ป ต์ ท ํ า ให้ อ ั ง กฤษ และฝร่ังเศสซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษ ั ท ขุด คลองสุ เ อซเสี ย ผลประโยชน์ อ ย่ า งมาก อังกฤษและฝรั่งเศสส่งทหาร ยึดคลองสุเอซและ เมืองพอร์ต ซาอิด (Port Said) ฝ่ายอิสราเอลซึ่ง ได้รับความช่วยเหลือด้านอาวุธ เคร่ืองบิน และ เรือรบ จากฝร่ังเศสก็โจมตีอียิปต์จนเกือบถึงกรุง ไคโร แต ่ ส ห รั ฐ อเมริ ก า แล ะองค์ ก รกา ร สหประชาติ ได้บีบบังคับให้ทั้ง 3 ชาติยุติการทํา สงครามกับ อียิปต์ สงครามครั้งที่ 2 ได้ยุติลงใน วันท่ี 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 โดยองค์ ก าร สหประชาชาติ เ ข้ า มาประจํ า การตั ้ ง แต่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ.1956 – 5 มิ ถ ุ น ายน ค.ศ. 1967 สงครามคร้ังที่ 2 ระหว่า งอิ ส ราเอลกั บ อาหรับนี้คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเกิดเพราะปัญหา คลองสุเอซเพราะอังกฤษกับฝรั่งเศสซึ่งมี ส่วนได้ ส่วนเสียกับคลองสุเอซโดยตรงเข้ า มารุ ก ราม ประเทศอียิปต์ กองทัพอังกฤษและฝรั่งเศสเข้ า โจมตีบริเวณคลองสุเอซ

ภายหลังกองทัพอิสราเอล ได้ 3 วั น แต่ ท ี ่ แท้จริงแล้วสงครามครั้งนี้มีสาเหตุ ส ำคั ญ มา จากทางอื่นซึ่งอิสราเอล ถื อ ว่ า สำคั ญ กว่ า เรื่องคลองสุเอซ และเป็นชนวนของการรบ พุ่งระหว่างทั้ง 2 โดยตรง นั่นคือปัญหาเรื ่ อ ง ดินแดนฉนวนกาซาและสิทธิการใช้น ่ า นน้ ำ อ่าวอะกาบาและมูลเหตุทั้ง 2 นี้ ก็ยังกลับมา เป็นชนวนศึกใหญ่ครั้งที่ 3 ซึ่งจะเกิดขึ้นอีกใน ค.ศ. 1967 ดังนั้นกรณีค ลองสุ เ อซจึ ง เป็ น ประเด็นสำคัญรองลงมาเท่านั้น

จากภาพ : กาเมล อับเดลนัสเซอร์ ที่มาจาก : http://www.thaigoodview.com/node/4 7415


สงครามครั้งที่ 3 ค.ศ. 1967

องค์การสหประชาชาติต้องถอนกําลังออกไปตามคําร้อง ของประธานาธิบดี นัสเซอร์ แห่งอียิปต์เมื่อปี ค.ศ. 1967 ทันทีที่กองทัพของสหประชาชาติถอนกำลัง ออกไปกองทัพของอียิปต์ก็ ได้เคลื่อนเข้ายึดฉนวนกาซาและทำการปิดวงล้อมอ่าวกาบา (Aquaba)และห้ามมิให้เรื อ สิ น ค้ า ของ อิสราเอลผ่านทำให้อิสราเอลโกรธแค้น จึงเปิดฉากโจมตีอียิปต์ก่อนอียิปต์ต ั ้ ง ตั ว ไม่ ต ิ ด ทำให้ เ กิ ด สงครามครั้งที่ 3 ค.ศ. 1967 กินเวลาเพียง 6 วัน ในสงครามครั้งนี้อิสราเอลยึดดินแดนอาหรั บ ได้ มากมาย เช่น ฉนวนกาซา คาบสมุทรซีนายฝั่งตะวันตกชองแม่น้ำจอร์แดนทั้งหมดและยึ ด กรุ ง เยรู ซาเลมกลับคืนมาได้ หลังจากเสียไปในสงครามครั้งแรก นอกจากนี้ยังยึดที่ราบสูงโกลันของ ซีเรียได้ ด้วย ทำให้ดินแดนของอิสราเอลขยายตัวออกไปถึง 4 เท่า ผลของสงครามครั ้ ง นี ้ ท ำให้ ด ้ า นของ อาหรับสูญเสียเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ผู้นำอาหรับพบว่าแผนการพัฒนาประเทศหยุดชะงั ก และมี ความยากลำบากมากกว่าเดิมนอกจากนั้นความพ่ายแพ้ยิ่งให้ความปลื้มปิติที่เคยมีกลายเป็ น ความ เกียดชังอย่างรุนแรง

จากภาพ:กรุงเยรูซาเลม ที่มาจาก: https://pixabay.com/en/the-palestinian-authority-6/


สงครามอิสราเอล-อาหรับครั้งที่ 4 ค.ศ. 1973

ฝ่ายอาหรับเป็นฝ่ายเปิ ด ฉากการรบ ก่อนสาเหตุของสงครามผลเนื่องมาจากการ พ่ า ยแพ้ ส งคราในครั ้ ง ก่ อ นกลั บ คื นมา, ต้องการได้เปรียบในโต๊ะประชุ ม เมื ่ อ มี ก าร เจรจาด้วยกัน,ด้วยความกลัวอิสราเอลจะแก้ แค้น เช่น กรณีของซีเรียทำการสนับสนุนให้ กองโจรปาเลสไตน์ทำการจับชาวยิวเป็ นตั ว ประกัน เป็นต้น,ความต้องการล้างอายที ่ ท ำ สงครามประสบกับความพ่ายปแพ้เ สมอมา สงครามครั้งใหม่จึงเสมือนเป็นสงครามกอบ กู้ชื่อเสียง ในสงครามครั ้ ง นี ้ อิ ส ราเอลเป็ นฝ่ า ย ได้เปรียบในการรบแต่มีสิ่งที่ต่างไปจากการ สงครามในครั้งก่อนๆ สหรัฐและสหภาพโซ เวียตต่างส่งอาวุธทันสมัยทุกรูปแบบเข้าช่วย ในการสง ครามครั้ ง นี ้ อ ย่ า ง เต็มที่ โ ด ย สหรัฐอเมริกาช่วยฝ่ า ยยิ ว ส่ ว นสหภาพโซ เวียตช่วยฝ่ายอาหรับสงครามได้ ท วี ค วาม รุนแรงมากขึ ้ นทุ ก ขณะถึ ง ขี ด ที ่ ป ระเทศ อภิมหาอำนาจเองเกรงสงครามจะหลาย สภาพเป็นสงครามนิวเคลียร์ ดังนั้นจึงมี ก าร

ดำเนินการเพื่อให้ส งครามครั ้ ง นี ้ ย ุ ต ิ ล งใน วันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1973 สหรัฐ อเมริ ก า และสหภาพโซเวียตได้เสนอญัตติร่วมกันต่อ องค์การสหประชาชาติ เ รี ย กร้ อ งให้ ม ี ก าร หยุดยิงใน 12 ชั่วโมงถึงแม้ว่าสหประชาชาติ จะมีมติให้หยุดยิง แต่ปรากฎว่าไม่ใคร่มีใ คร ปฏิบัติตามมติดังกล่าว เพราะต่างกังวลกั บ เรื่องเชลยศึกของตนในที่สุดประธานาธิ บ ดี ซาดัตจึง เรี ย กร้ อ งให้ ส หรั ฐ อเมริ ก าและ สหภาพ โซเวียตส่งกองกำลังเข้าไปควบคุม สถานการณ์การประจันหน้ากันจึงเกิดขึ้นอี ก ด้วยเหตุ น ี ้ ส หประชาชาติ จ ึ ง มี ก ารเรี ย ก ประชุมด่วนและได้ลงมติ จ ั ด ส่ ง ทหารของ องค์การสหประชาชาติได้ระงับเหตุการณ์ ท ี ่ ได้เกิดขึ้น

จากภาพ : มูฮัมหมัด อันวาร์ อัล ซาดัต ที่มาจาก : https://www.dekd.com/board/view/3589214/


วันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1973 อียิปต์และอิสราเอลทำการลงนามในข้อตกลงมีดังนี้ - จะยอมปฏิบัติตามมติของคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติเรื่องการหยุดยิง - จะเริ่มการเจรจาเรื่องกลับเช้าตั้งในแนวหยุดยิง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 1967 -เมืองสุเอชจะได้รับอุปกรณ์ตลอดจนเครื่องอุปโภคต่าง ๆ และชาวเมืองที่บาดเจ็บจาก การต่อสู้ของสงครามจะได้รับอนุญาต ให้ออกจากเมืองได้ -อียิปต์มีสิทธิจะส่งอุปกรณ์ต่างๆยกเว้นยุทธโธปกรณ์ไปให้แก่กองทัพที่ 3 ที่ถูกกองทัพ อิสราเอลปิดล้อมอยู่บนฝั่งตะวันออกของคลองสุเอชได้เจ้าหน้าที่สหประชาชาตจะเข้ า แทนที่ทหารของอิสราเอลตามด่านต่าง ๆ ระหว่างถนนสายไคโร-สุเอซ -เมื่อเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติเข้าประจำด่านต่างๆตามถนนสายต่างๆแล้ว จะมี ก าร แลกเปลี่ยนเชลยศึกระหว่างยิว - อาหรับ -เมื่อเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติเข้าประจำด่านต่างๆตามถนนสายต่างๆแล้ว จะมี ก าร แลกเปลี่ยนเชลยศึกระหว่างยิว - อาหรั บ ถึ ง แม้ จ ะมี ก ารเจรจาสงบศึ ก ตลอดจนมี ข้อตกลงเพื่อใช้ปฏิบัติหลายประการดังกล่าวแต่ยังคงมีปัญหาอื่นๆอีกหลายประการที ่ จะต้องเจรจากัน


สรุปเหตุการณ์ทั้งหมด

ครั้งที่ 1 ค.ศ. 1948-1949 เกิดจากการที่อังกฤษถอนตัวออก จากปาเลสไตน์ ครั้งที่ 2 ค.ศ. 1956 ปัญหาเรื่องดินแดนฉนวนกาซาและ สิทธิ์การใช้น่านนำ้อะกาบา

ครั้งที่ 3 ค.ศ. 1967 กองทัพของอียิปต์เคลื่อนทัพเข้ายึด ฉนวนกาซาและทำการปิดวงล้อมอ่าว กาบาและไม่ให้เรือสินค้าอิสราเอลผ่าน

ครั้งที่ 4 ค.ศ. 1973 พ่ายแพ้สงครามในครั้งก่อนและสงคราม ใหม่เป็นการกอบกู้ชื่อเสียงคืนมา


สงครามประเทศศัลยกรรม (Korean War) ค.ศ.1950-1953


สงครามเกาหลี เช้าตรู่วันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ.1950 โดยที่ไม่มีการประกาศล่วงหน้า หรื อ ประกาศ สงคราม กองทัพเกาหลีเหนือประมาณ 90,000 คน พร้อมด้วยรถถังอีกหลายร้อยคันก็ยาตราข้ า ม เส้นขนานที่ 38 เข้าโจมตีกองทัพเกาหลีใต้อย่างขนานใหญ่ ในตอนบ่ายของวันที่ 25 มิถุนายน นาย คิมอิลซุง (Kim Il-sung ,28 ธันวาคม ค.ศ. 1972 – 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 ) นายกรัฐมนตรีเกาหลี เหนือได้ประกาศให้โลกทราบว่า เกาหลีเหนือกระทำสงครามเพื่อปกป้องตนเอง และกล่ า วหาว่ า กองทัพเกาหลีใต้ได้โจมตีเกาหลีเหนือก่อนส่วนทางฝ่ายสหรัฐและเกาหลีใต้กล่าวหาว่าเกาหลีเหนื อ เป็นผู้รุกรานก่อน โดยการสนับสนุนจากรัสเซีย ที่มาของภาพ : https://pantip.com/topic/36333090

ปัญหาเรื่องที่ว่าใครรุกรานใครก่อนนับเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่อาจเป็นไปได้เหมือนกัน ว่า โซเวียตอาจจะไม่มีส่วนรู้เห็นในการที่เกาหลีเหนือบุกเกาหลีใต้และในทำนองเดียวกันกองทัพเกาหลี ใต้อาจจะบุกเกาหลีเหนือก่อนก็ได้เพื่อยั่วยุให้เกิดสงคราม และสหรัฐจะได้ใช้เป็นข้ออ้างในการส่ ง ทั พ เข้า ไปยึดเกาหลีเหนือเพื่อจะรวมเกาหลีใต้ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะสหรัฐรู้ดีว่าเกาหลี เ หนื อ ภายใต้ระบอคอมมิวนิสต์มีระบบเศรษฐกิจดีกว่าเกาหลีใต้ ถ้าจะให้รวมประเทศเกาหลีโดยวิธีเลื อ กตั ้ ง เกาหลีใต้อาจจะเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย ดังนั้นมีทางเลือกอยู่ทางเดียวคือการใช้กำลังเข้ายึดครอง เกาหลีเพื่อทำลายระบอบคอมมิวนิสต์ให้สิ้นซากไป


กองทัพเกาหลีเหนือรุกเข้าสู่ดินแดนเกาหลีใ ต้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ตี ก องทั พ เกาหลีใต้แตกกระเจิงจนต้องถอยกรูด สหรัฐได้เรียกประชุมคณะมนตรีความมั่นคงเป็ น การด่วนในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1950 ญัตติของสหรัฐนั้นกล่ า วหาว่ า เกาหลี เ หนื อ รุกรานเกาหลีใต้ ให้เกาหลีเหนือถอนทหารออกจาก เส้ น ขนานที ่ 38 โดนเร็ ว ที ่ ส ุ ด คณะรัฐมนตรีความมั่งคง 10 ประเทศลงมติเห็นชอบกับข้อเสนอของสหรัฐ 8 ประเทศ อีก 2 ประเทศไม่ออกเสียง คือ รัสเซีย กับ ยูโกสลาเวีย โดยเฉพาะรัสเซียนั้น ตอนที ่ ม ี การลงมติไม่ได้เข้าประชุมจึงไม่ได้ใช้สิทธิ์ยับยั้ง(veto)

ที่มา : http://angryskipper.org/สาเหตุทที่ ําให้เกิดสงคร/

ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในญี่ปุ่นและเป็ นผู ้ บัญชาการทหารสูงสุดในเกาหลี นอกจากนี ้ ประธานาธิบดีทรูแมนยังได้สั่งให้กองทัพเรือ ที่ 7 เข้าคุ้มครองเกาะไต้ ห วั น เพราะกลั ว คอมมิวนิสต์จะฉวยโอกาสเข้ า โจมตี เ กาะ ไต้หวันด้วยทั้งๆที่ก่อนหน้านั้นรัฐบาลสหรั ฐ เคยอ้างว่าจะไม่เข้าไปแทรกแซงปั ญ หาใน จีน ขณะที่สหรัฐประกาศช่วยเกาหลีใต้ใน

ในวั น ที ่ 27 มิ ถ ุ น ายน ค.ศ.1950 ภายหลังที่เกาหลีเหนือโจมตี เกาหลีใต้ได้ 2 วัน ประธานาธิบดีทรูแมน (Harry S Truman 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1884 – 26 ธัน วาคม ค.ศ.1927)แห่ ง สหรัฐก็สั่งให้กำลั ง กองทั พ บก อากาศ และกองทัพเรือเข้าช่วยรัฐบาลเกาหลีใ ต้ และประธานาธิ บ ดี ไ ด้ แ ต่ ง ตั ้ ง พลเอก ด ั ก ล า ส แ มค อ า เ ธ อ ร ์ ( Douglas MacArthur,26มกราคม ค.ศ.1880- 5 เมษายน ค.ศ.1964 )

วันที่ 27 มิถุนายน นั้น กองทัพเกาหลี เหนือก็รุกเข้าประชิดกรุงเซอูล(Seoul) แล้วจนกระทั่งชาวเซอูลสามารถได้ยินเสียง ปืนใหญ่ซึ่งใช้ถล่มกันอย่างถนัด

ภาพ : ประธานาธิบดี ทรูแมน ที่ม า : https://th.wiki pedia.org/w iki/%E0%B9% 81%E0%B8% AE%E0%


ในวั น ที ่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1950 ผู้แทนอังกฤษได้เสนอญัตติที่จะให้สมาชิ ก แห่งสหประชาติ จ ั ด ส่ ง ทหารและความ ช่ ว ย เหล ื อ ต ่ า งๆ ไปย ั ง เกาหล ี ใ ต ้ ต าม ข้อตกลงของคณะมนตรีความมั ่ นคงเมื ่ อ วั นที ่ 25 มิ ถ ุ นายน ค.ศ.1950 อั ง กฤ ษ เสนอให้ตั้งกองบัญชาการทหารร่วมกันซึ ่ ง อยู่ในความควบคุ ม ของสหประชาชาติ ปรากฎว่าญัตตินี้ได้รับความเห็ นชอบจาก คณะรัฐมนตรีความมั่งคงด้วยคะแนนเสี ย ง 7 ต่อ 3 ประเทศที ่ ค ั ด ค้ า น คื อ อี ย ิ ป ต์ อินเดียและยูโกสลาเวีย ผู ้ แ ทนรั ส เซ ี ย ซ ึ ่ ง ผลออ กจากการ ประชุมด้วยเรื่องเกาหลีตั้งแต่เริ่ม สงคราม เกาหลีใหม่ๆ ได้กลับเข้ามาร่วมประชุมกั บ นานาประเทศที่องค์การสหประชาชาติ อ ี ก ครั้งหนึ่งในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1950 และ ได้เรียกร้องให้ถอดกองทหารต่างประเทศ ทั้งหมดออกจากเกาหลีและให้อเมริกายุติ

การทิ้งระเบิ ด ประชาชนเกาหลี ซ ึ ่ ง ตั้งอยู่ในความสงบ ผู ้ แ ทนสหรั ฐ ได้ เสนอให้ประณามเกาหลีเหนือและให้ ประเทศ สมาช ิกส หป ระชาชาต ิ ทั้งหมดงดเว้ น การช่ ว ยเหลื อ หรื อ ส่งเสริมเกาหลีเหนือ ปรากฎว่ า คณะ มนตรีความมั่นคงลงมติเห็นชอบด้ว ย คะแนน 8 ต่ อ 1 (รั ส เซี ย คั ด ค้ า น) ส่วนยูโกสลาเวียไม่ออกเสียง

ที่มาจาก : http://angryskipper.org/ สาเหตุที่ทําให้เกิดสงคร/


ในขณะนั้นมนตรีความมั่นคงรัสเซียแปลว่า ควรจะเจอทั้งสองเกาหลีคือจะต้ อ งเผชิ ญ ทาง เกาหลีเหมือนไว้ด้วย ปรากฏว่ า คณะเครี ย ด ความมั่นคงปฏิรูปสื่อข้อความเสนอข้อ เสี ย อี ก ในเดือนกันยายนปี ค.ศ1950 ผู้แ ทนรั ส เซี ย และเสนอให้สหรัฐยุติทางระเบิดเกาหลีเหนือใน ที ่ ใ หม่ ถึ ง ไม่ ใ ช่ ท างก ารทห ารป ราก ฏว่ า คณะรัฐมนตรีความมั่นคงปฏิเสธอี ก และยั ง ได้ ปฏิเสธข้อเสนอของรัสเซียที่จะให้เชิญผู้แทน ราษฏร สาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าร่วมในการ พิจารณาปัญหาเกาหลีอีกด้วย เราอาจกล่าวได้ ว่าการต่อสู้ทางการเมื อ งและทางการทู ต ใน องค์กรสหประชาชาติเรื่องเกาหลี น ั ้ น สหรั ฐ ประสบชัยชนะและรุสเวี ย มั ก จะพ่ า ยแพ้ อ ยู ่ ตลอดเวลาการที่สหารัฐได้ชัยชนะทางการทู ต และ สามารถโน้มน้าวสหประชาชาติให้ ค ล้ อ ย ตามนโยบายของรัฐได้นั้นก็เป็นเพราะในสมัย

นั้นสหรัฐมี อิทธิพลในวงการสหประชาชาติ ม าก เพราะเป็นระยะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใหม่ ๆ นานาประเทศยังเห็นความสำคัญและความดีของ สหรัฐในการปราบปรามฝ่ายอัก ษะจนพ่ า ยแพ้ และอีกประการหนึ่งนานาประเทศกำลั ง อยู ่ ใ น ภาวะยากจนแค่มีสหรัฐประเทศเดี ย วที ่ อ ยู ่ ใ น ฐานะที่ร่ำรวยสามารถที่จะช่ ว ยเหลื อ ประเทศ ต่างๆได้และมักจะต้ อ งดำเนิ น นโยบายเอาใจ สหรัฐเพราะกลั ว สหรั ฐ จะ ไม่ ช ่ ว ยเหลื อ คน สหประชาชาติจึงกลายเป็นเครื่องมือของสหรั ฐ ไปโดยปริยาย

แม่น้ํายาลู ที่มา : http://www.theroadtrip.be/pont-de-brooklyn/

สหรัฐได้ยกพลังชลบุที่อินชอนในครั้งแรกในวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1950 ในขณะที่กองทัพ เกาหลีเหนือกำลังตีกองทัพเกาหลีใต้จนเจียนจะตกทะเลอยู่แล้วกองทัพสหรัฐสามารถหยุ ด ยั ้ ง กองทัพเกาหลีเหนือได้สำเร็จจากนั้นก็มีประเทศอื่นที่ส่งทหารไปช่วยเกาหลีใต้ในนามของสหรั ฐ ประชาชาติได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส แคนาดา ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ ตุรกี ไทย ภายใต้บังคับ บัญชาของนายพลเอกแมคอาเธอร์ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพสหประชาชาติ น อกนั ้ น กองทัพสหประชาชาติได้ตีโต้กองทัพเกาหลีเหนือและรุกไล่กองทหารเกาหลีเหนื อ จนต้ อ งถอย กลับไปยังเส้นขนานที่ 38และทหารสหรัฐประชาชาติก็ลุกข้ามเขตเข้าไปในดินแดนไทยเกาหลี เหนือโดยมีจุดประสงค์ ท ี ่ จ ะรวม ประเทศเกาหลี ท ั ้ ง สองฝ่ า ยเป็ น ประเทศเดี ย วกั น ทั พ สหประชาชาติได้ลุกเข้าไปถึงแม่น้ำยาลูอันเป็นพรมแดนระหว่างเกาหลีเหนือ

ที่มา : http://www.thaiembbeij.org/thaibizchina/th/chinaeconomic-business/index.php?ELEMENT


กับแมนจูเรียและการที่สหประชาชาติได้รุกเข้าไปถึงแม่น้ำยาลูนี้เองเป็นสาเหตุทำให้ สาธารณรัฐประชาชนจีนต้องส่งทหารเข้าช่วยเกาหลีเหนือแม้ว่าสหรัฐจะประกาศว่า สหรัฐจะ เคารพประโยชน์ของจีน แต่จีนก็ไม่เชื่อถือต่อไปอีก เพราะการที ่ ส หรั ฐ ส่ ง กองทัพเรือเข้าคุ้มครองไต้หวันนั้นก็เป็นเรื่องที่เห็นกันอย่างชัดๆว่าสหรัฐไม่ได้ รักษา คำพูดของตนเองที่กล่าวไว้วาจะไม่เข้าแทรกแซงปัญหาจีน ในเดือนกันยายน ค.ศ1950 ได้มอบให้ลูกเสือช่วยร้อ งทุ ก ข์ ต ่ อ สหประชาชาติ แทนจีนว่าสหรัฐรุกรานจีนโดยส่งกองทัพเรือเข้าไปคุ้ม ครองไต้หวันเป็นการคุ ก คาม จีนนอกจากนั้นกองทัพอากาศรัสเซียซึ่งได้โจมตีทิ้งระเบิดและยิงปืนเข้าไปในดินแดน จีนตามพรมแดนจีนเกาหลีทำให้จีนได้รับความเสีย หายอย่ า งมากสหประชาชาติ ปฏิเสธไม่ ยอมรับรู้คำร้องทุกข์ของสหรัฐชาชนจีนทำให้จีนมีความเจ็บแค้นยิ่งนัก ที่มา : https://www.dailynews.co.th/foreign/523385

ด้วยเหตุนี้ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1950 กองทั พ จี นนั บ แสนคนก ็ ย กเข้าโจมต ี กองทั พ สหประชาชาติ ข ับไล่ ก องทัพ สหประชาชาติต้องล่ า ถอยเข้ า ไปในเขต เกาหลีใต้จากนั้นกองทั พ จี นก็ ล ุ ก เข้ า ยึ ด กรุงเคลิ้มเมืองหลวงของเกาหลีใต้อีก ครั ้ ง หนึ่งในเดือน มกราคม ค.ศ. 1950 กล้ อ ง สหรัฐตำนานจีนอย่างรุนแรงและได้ เ สนอ ให้สหประชาชาติมานานจีนว่าเป็นผู้

รุกรานและในวันที่5มกราคม ค.ศ.1991 สหรัฐได้ส่งหนั ง สื อ ตั ว อย่ า งรั ฐ บาลของ ประเทศต่างๆ 29 ประเทศโดยครูว่าถ้าจี น ไม่ถูกกันนานอย่างที ่ ส หรั ฐ ต้ อ งการแล้ ว องค์กรสหประชาชาติจะต้องเลิกล้มในที่สุด สหประชาชาติ ก ็ จ ำเป็ น ต้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต าม นโยบายสหรั ฐ คื อ ประณามจี น และห้ า ม สมาชิกติดต่อการค้าขายกับจีน


ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1951 กองทัพสหประชาชาติที่ซึ่งรวมกำลังการติดก็เริ่ม โจมตีตอบโต้ข้อหาเจนใหม่อีกครั้งแมคอาเธอร์เสนอให้เอาระเบิดปารามาณูไปโจมตี จ ี น ให้ กองทัพไต้หวันยกขึ้นพื้นดินใหญ่เพื่อเผด็จศึกเกาหลีและอาเธอร์อ้างว่าถ้าตราบใดที ่ จ ี น ยั ง เป็นการขยายสงครามอาจทำให้เกิดสงสามารถส่ ง ทหารไปหลบในเกาหลี ใ ต้ ไ ด้ เ รื ่ อ ยๆ สหประชาชาติจะไม่มีทางเอาชนะในเกาหลีได้โดยเด็ดขาดดังนั้นจะต้องทำลายแหล่งกำลั ง มหึมาให้ราบคาบข้อเสนอนี้อังกฤษและฝรั่งเศสไม่เห็นด้วยและรัฐบาลสหรั ฐ ไม่ เ ห็ น ด้ ว ย เพราะกลัวว่าโซเวียตจะเข้ามาแทรกแซงครามโลกได้แมคอาเธอร์ย ั ง คงดื ้ อ ดึ ง ที ่ จ ะโจมตี แผ่นดินใหญ่จีนให้ได้จึงถูกประธานาธิบดีทรูแมนปลดออกจากตำแหน่งเมื่อเดื อ นเมษายน 1951และตั้งนายพลแมททิว บี .ริจเวย์เป็นผู้บัญชาการแทนนายพลแมคอาเธอร์

พลแมททิว บี .ริจเวย์

ในเดือนมีนาคมกองทัพสหรัฐยึดกรุงโซลกับเป็ น มา และขับไล่กองทัพคอมมิวนิสต์ถอยร่นไปถึงเส้นขนานที่ 38 เปอร์เซ็นต์ตอนนี้รถเสี ย ข้ อ เสนอให้ ม ี ก ารเจรจา สงบศึกทั้งสองฝ่ายต่างยินยอมที ่ จ ะเจรจาการและ เริ่มต้นเจรจากันพี่เก๋ส่งในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1951 จากนั้นจึงได้ย้ายโต๊ะประชุมไปเจรจากันที่ 20 ตำบล จอมในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกันการเจรจาดำเนินไป อย่างยืดเยื้อไปอีกปีกว่า จึ ง สามารถตกลง กั น ได้ ใ น เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1953 ทั้งสองฝ่ายต่ า งตกลงกั น ว่ า ถื อ แนวเส้ น ขนานที ่ 38 เป็ น เส้ น แบ่ ง เกาหลี ออกเป็น 2 ประเภทตามเดิมให้มีการแลกเปลี่ยนเชลย ศึกกันและให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการควบคุ ม การ สงบศึกที่เป็นกลางคอยดูแลตรวจตามิให้มีการละเมิ ด สงบศึก


ชนวนเหตุ สงครามเวียดนาม ( Vietnam War ) ค.ศ. 1957 – 1975


ความขัดแย้ง

ทางการทหารระหว่ า ง

สหรัฐอเมริกากับพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามในช่วงเวลาตั้งแต่ เดือนมีนาคม ค.ศ.1965 เมื่อสหรัฐ ฯ ได้เปลี่ย นลักษณะของ ความขัดแย้ งนี้ โ ดยใช้วิ ธีการทิ้งระเบิ ดเวี ย ดนามเหนื อ อย่า ง ต่อเนื่องจนถึงการลงนามในข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือน มกราคม ค.ศ. 1973 สงครามนี้ได้เห็นถึงการเข้ามาเกี่ยวข้อง ของทุกมหาอานาจในยุคสงครามเย็นซึ่งทาให้ความขัดแย้งนี้ ยิ่งทวีความซับซ้อน รุนแรง และยืดเยื้อยาวนาน ประเทศไทย ได้ มี บ ทบาทส าคั ญ ในสงครามนี้ โดยการเป็ น ผู้ ส นั บ สนุ น ที่ แข็ ง ขั น และเป็ น ฐานปฏิ บั ติ ก ารทางทหารของสหรั ฐ ใน สมรภูมิรบเวียดนาม สหรัฐฯ เข้ามาเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในเวียดนาม ตั้ ง แต่ ห ลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ตามนโยบายสกั ด กั้ น การขยายตัวของคอมมิวนิสต์ในเอเชีย ความมุ่งมั่นของสหรัฐฯ ที่จะต่อสู้ กั บ คอมมิว นิ ส ต์ในเวี ย ดนามเพราะเห็ น ว่ าถ้าไม่ ร บ ในเวี ย ดนาม เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ทั้ ง หมดจะตกอยู่ ใ ต้ อิทธิพลจีนซึ่งหมายถึงว่าเอเชียทั้งหมดจะพ่ายแก่คอมมิวนิสต์ ด้วย ส่วนการต่อสู้ของเวียดนามเหนือก็ได้รับความช่วยเหลือ จากสหภาพโซเวียตและโดยเฉพาะจากจีน ความช่วยเหลือของ จีนเกิดจากความเป็นเพื่อนร่วมอุดมการณ์และที่สาคัญยิ่งกว่า คื อ ผลประโยชน์ ด้ า นความมั่ น คงของจี น ที่ ต้ อ งการ ให้ พรมแดนจีน - เวียดนามมีความปลอดภัย และโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งจีนต้องการขจัดอิทธิพลสหรัฐจากเอเชีย ดังนั้น ความกังวล ด้านความมั่นคงของจีนนอกเหนือจากไต้หวันแล้วก็คืออินโดจีน

หนูน้อยเหวียนถิกมิ ฟุก (Nguyen Thi Kin Phuc) วัย 9 ขวบ ด้วยความตกใจสุดขีด วิ่งเตลิดหนีระเบิดนาปาล์ม ที่สหรัฐฯ ทิ้งลงในเขตหมู่บ้านจางบ่าง (Trang Bang) ใน จ.เตยนีง http://www.manager.co.th/IndoChina.aspx? NewsID=9580000049225

คุณยายอุ้มหลานที่ลาตัวเต็มไปด้วยแผลไฟไหม้ จากระเบิดที่สหรัฐทิ้งลงในเขตหมู่บ้าน http://www.manager.co.th/IndoChina.aspx? NewsID=9580000049225 คุณพ่อชาวนาอุ้มร่างไร้วญ ิ ญาณของลูกที่ตกเป็นเหยือ่ ใน การทิ้งระเบิดของสหรัฐฯ เข้าไปขอความช่วยเหลือ จากทหารกองทัพรัฐบาลเวียดนามใต้ที่ผ่านไป http://www.manager.co.th/IndoChina.aspx? NewsID=9580000049225


Beginning Vietnam War

รัฐบาลไทยตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1950 ได้ สนับสนุนให้สหรัฐฯ เข้ามาป้องกันคอมมิวนิสต์ในอินโดจีน เพราะต้ อ งการป้ อ งกั น พรมแดนด้ า นตะวั น ออกให้ ปลอดจากคอมมิวนิสต์ ผู้นารัฐบาลทหารไทยยังเชื่อด้วยว่า เวียดนามเหนือต้องการขยายอิทธิพลคอมมิวนิสต์เข้ามา ไทยโดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากจี น ในกลางทศวรรษ 1950 ภัยคุกคามจากเวียดนามเหนือที่ผู้นาทหารมักอ้างถึง คือการรุกเข้าไปในดินแดนลาวของกองกาลังคอมมิวนิสต์ เวี ย ดนามและการเผยแพร่ อิ ท ธิ พ ลคอมมิ ว นิ ส ต์ ใ น หมู่ชาวเวียดนามในภาคอีสาน ก า ร ร บ ร ะ ห ว่ า ง ฝ่ า ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ เวียดนามกับเวียดนามใต้ที่มีสหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนได้ถึง จุดเปลี่ยนสาคัญหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ยในเดือนสิงหาคม 1964 ที่ส หรัฐ ฯ กล่ า วหาว่ าเรือ ตอร์ ปิ โ ดของเวี ย ดนาม เหนือยิงเรือรบอเมริกัน สหรัฐฯ ตอบโต้ด้วยการทิ้งระเบิด เวียดนามเหนือและในต้นปีต่อมา การทิ้งระเบิดได้เกิดขึ้น ต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มกั น นั้ น สหรั ฐ ฯ ก็ ส่ ง ทหารมาภาคใต้ เพื่อทาลายกองกาลังฝ่ายคอมมิวนิสต์

หลังสงครามสิ้นสุดในปี 1945

ประชาธิปไตย (เวียดนามเหนือ)

คอมมิวนิสต์ (เวียดนามใต้)

Vietnam War Timeline

2-7 เมษายน ค.ศ.1964 ตุลาคม ค.ศ.1957 เหตุ ก ารณ์ อ่ า วตั ง เกี๋ ย 8 มีนาคม ค.ศ.1965 เรือลาดตระเวนเวียดนาม

จุดเริ่มต้นของการจลาจล เหนื อ ยิ ง เรื อ พิ ฆ าตของ กองทัพอเมริกาสนับสนุน คอมมิวนิสต์ในตอนใต้ กองทัพเวียดนาม กองทัพเรือสหรัฐฯ

20 ธันวาคม ค.ศ.1960

2 กันยายน 1969

30 เมษายน 1975

โฮจิ มิ น ห์ เ สี ย ชี วิ ต ประธานาธิบดีนิกสัน เริ่ ม ลดก าลั ง ทหาร สหรัฐอเมริกา

กองก าลั งเวี ย ดนามเหนื อ บุ ก เวี ย ดนามใต้ เข้ า คุ ม ประเทศและสิ้นสุดสงคราม เวียดนาม

กุมภาพันธ์ ค.ศ.1965

29 มีนาคม ค.ศ.1973

ปฏิบัติการฟ้าร้องกลิ้ง ความช่วยเหลือจากอเมริกา (Operation Rolling Thunder) เพิ่มขึ้น

ข้อตกลงหยุดและสหรัฐอเมริกา ออกจากเวียดนามใต้

30 มกราคม – 10 เมษายน ค.ศ.1968 Tet Offensive


เหตุการณ์สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 • • • •

กุมภาพันธ์ : การประชุมที่ยัลต้า(Yalta) พฤษภาคม : เยอรมนีลงนามในสัญญายอมแพ้ โดยปราศจากเงื่อนไข กรกฎาคม : การประชุมทีพ่ อทสดัม(Potsdam) สิงหาคม : สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดที่เมืองฮิโระชิ มะ(6ส.ค.)และเมืองนะงะซะกิ(9ส.ค.)

1945

ที่มา : https://pixabay.com

โทรเลข

1946

• •

ที่มา : http://kanchanapisek.or.th

• • •

มกราคม : สหรัฐอเมริกา อังกฤษ จัดตั้งเขต ปกครองเยอรมนี มีนาคม : หลักการทรูแมน(Truman Doctrine) กรกฎาคม : -แผนมาร์แชลล์(Marshall Plan) -สหรัฐอเมริกาเข้ารับช่วงจากอังกฤษใน การดูแลตุรกีและกรีซ

กุมภาพันธ์ : “โทรเลขฉบับยาว”ของเคนแนน มีนาคม : เชอร์ชิลล์(Winston Leonard Spencer-Churchill)กล่าวสุนทรพจน์ “ม่านเหล็ก”

1947 ตราที่ใช้ในแผนมาร์แชลล์ ที่มา : https://th.wikipedia.org •

1948 ที่มา : https://th.wikipedia.org

กุมภาพันธ์ : คอมมิวนิสต์ยึดอานาจใน เชโกสโลวะเกีย(Czechoslovakia) มิถุนายน : -การปิดล้อมเบอร์ลิน (Czechoslovakia) -โคมินเทิร์น(Comintern)ขับ ยูโกสลาเวีย(Yugoslavia)ออกจาก การเป็นสมาชิก


เหตุการณ์สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 • • • •

มกราคม : การก่อตั้งองการโคมีคอน(Comecon) เมษายน : ประเทศตะวันตกร่วมลงนามใน สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือที่วอชิงตัน ดี.ซี.(Washington, D.C.) กรกฎาคม : สหภาพโซเวียตทดลองระเบิดปรมาณู ตุลาคม : -เหมา เจ๋อตุงประกาศสถาปนา สาธารณรัฐประชาชนจีน -การสถาปนาเยอรมนีตะวันตกและ เยอรมนีตะวันออก

1950

1949

เหมาเจ๋อตุง ที่มา : http://th.uncyclopedia.info • •

กุมภาพันธ์ : การลงนามสนธิสัญญามิตรภาพระหว่าง โซเวียตทีก่ รุงมอสโก มิถุนายน : สงครามเกาหลี

ที่มา : https://writer.dek-d.com

กรกฎาคม : สามประเทศมหาอานาจตะวันตก ประกาศล้มเลิกสถานสงครามกับ เยอรมนี

1951 ที่มา : https://pixabay.com

1952 ที่มา : http://shscoal.com

กรกฎาคม : การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและ เหล็กกล้ายุโรป


เหตุการณ์สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 •

• • •

นิกีต้า ครุชชอฟ

มีนาคม : อสัญกรรมของโจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) มิถุนายน : การลุกฮือในเบอร์ลินตะวันออก กรกฎาคม : การสงบศึกในเกาหลี กันยายน : นิกีต้า ครุชชอฟ(Nikita Khrushchev) ได้รับเลือกป็นเลขาธิการใหญ่ของพรรค คอมมิวนิสต์โซเวียต

โจเซฟ สตาลิน

1953

ที่มา : https://th.wikipedia.org

1954

• •

พฤษภาคม : การปราชัยของฝรั่งเศสที่เบียนเดียนฟู กันยายน : ครุชชอฟเยือนกรุงปักกิ่ง

ที่มา : http://www.ekthana.com

พฤษภาคม : -เยอรมนีตะวันตกเข้าเป็นสมาชิก องค์การนาโต(NATO) -สนธิสัญญารัฐออสเตรียสถาปนา ออสเตรียให้ประเทศกลาง -การลงนามก่อตั้งองค์การ สนธิสัญญาวอร์ซอ(Warsaw Pact) กันยายน : เยอรมนีตะวันตกสถาปนาสัมพันธ์ ทางการทูตกับสหภาพโซเวียต

1956

1955 ที่มา : http://www.wikiwand.com

• • • •

ที่มา : https://www.matichon.co.th

กุมภาพันธ์ : การประชุมใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์ โซเวียตครั้งที2่ 0ซึ่งครุชชอฟกล่าว “สุนทรพจน์ลับ”โจมตีสตาลิน เมษายน : องค์การโคมินฟอร์ม(Cominform) ถูกยุบ มิถุนายน : การลุกฮือที่โปซาน โปแลนด์ ตุลาคม : -การลุกฮือของประชาชนฮังการี -วิกฤตการณ์คลองสุเอซ(Suez Canal)


เหตุการณ์สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 •

สิงหาคม : สหภาพโซเวียตทดลองขีปนาวุธพิสัยไกล ครั้งแรก ตุลาคม : -ดาวเทียมสปุตนิค(Sputnik)และ ข้อตกลงลับด้านปรมาณูระหว่าง จีน-โซเวียต -การเริ่มต้นการแข่งขันด้านอวกาศ

1957 ที่มา : https://sites.google.com

1958

• •

พฤศจิกายน : ครุชชอฟกดดันประเทศตะวันตก เกี่ยวกับสถานภาพของกรุงเบอร์ลิน ธันวาคม : ชาร์ล เดอโกล(Charles de Gaulle) ดารงตาแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ชาร์ล เดอโกล ที่มา : http://th.swewe.net • •

มิถุนายน : สหภาพโซเวียตยกเลิกข้อตกลงด้าน นิวเคลียร์กับจีน กันยายน : การประชุมทีแ่ คมป์เดวิด(Camp David) ระหว่างไอเซนฮาวน์ (Dwight D. Eisenhower)กับครุชชอฟ และครุชชอฟเดินทางมาเยือนจีน

1959 ไอเซนฮาวน์ ที่มา : https://th.wikipedia.org •

1960 เครื่องบินยู-2 ที่มา : http://www.manager.co.th

พฤษภาคม : เหตุการณ์ยิงเครื่องบินยู-2 ; ครุชชอฟ ยื่นคาขาดเกี่ยวกับเบอร์ลิน สิงหาคม : การถอนตัวผู้เชี่ยวชาญชาวโซเวียต และยุโรปตะวันออกจากจีน


เหตุการณ์สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 • •

มิถุนายน : การประชุมสุดยอดที่กรุงเวียนนาระหว่าง ประธานาธิบดีเคนเนดี (John F. Kennedy)กับครุชชอฟ สิงหาคม : การก่อสร้างกาแพงเบอร์ลิน

1961 ที่มา : http://oknation.nationtv.tv

1962

ตุลาคม : วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา

ที่มา : https://th.pngtree.com

• • •

สิงหาคม ทดลอง กันยายน

: การลงนามสนธิสัญญาห้ามการ อาวุธนิวเคลียร์ : เยอรมนีตะวันตกเปิดการเจรจาทาง การค้ากับโปแลนด์และโรมาเนีย พฤศจิกายน : การลอบสังหารประธานาธิบดี เคนเนดี

1963 ที่มา : https://pixabay.com

1968

• •

ที่มา : http://www.thaiproducthub.com

กรกฎาคม : สหรัฐอเมริกา สหภาพโวเวียตและ อังกฤษลงนามใน Non-Proliferation Treaty สิงหาคม : “ฤดูใบไม้ผลิแห่งกรุงปราก” และ การบุกเชโกสโลวะเกีย พฤศจิกายน : หลักการเบรจเนฟ(Brezhnev)


เหตุการณ์สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 • •

พฤษภาคม : การลงนามในสนธิสัญญาซอลต์ 1 และ นิกสัน(Richard Nixon)เยือน กรุงปักกิ่ง ธันวาคม : การลงนามในสนธิสัญญาพื้นฐาน ระหว่างเยอรมนีตะวันตกกับ เยอรมนีตัวมันออก

1972 ริชาร์ด นิกสัน ที่มา : https://th.wikipedia.org

1975

สิงหาคม : การลงนามข้อตกลงเฮลซิงกิ(Helsinki) ที่เป็นผลจากการประชุมเพื่อความมั่นคง และร่วมมือกันในยุโรป และการยุติ สงครามเวียดนาม

ที่มา : http://www.wegointer.com

มิถุนายน : การประชุมสุดยอดที่กรุงเวียนนาและ ลงนามในสนธิสัญญาซอลต์ 2

1979 ที่มา : https://blog.lnw.co.th

1980

โรนัล เรแกน ที่มา : https://board.postjung.com

พฤศจิกายน : โรนัล เรแกนได้รับเลือกเป็น ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และการเริ่มต้น สงครามเย็นครั้งใหม่ ; โครงการสตาร์วอร์


เหตุการณ์สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991

1980-1981

ขบวนการสหภาพแรงงานเสรีโปแลนด์

ที่มา : https://th.wikipedia.org •

1985 • มิฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีนาคม

: มิฮาอิล กอร์บาชอฟ (รัสเซีย: Михаи́л Серге́евич Горбачёв, อักษรโรมัน: Mikhail Sergeyevich Gorbachyov)กับนโยบาย กลาสนอสต์-เปเรสตรอยกา พฤศจิกายน : การประชุมสุดยอดครั้งแรกระหว่าง กอร์บาชอฟกับเรแกนที่นครเจนีวา

ที่มา : https://sites.google.com •

1989

กุมภาพันธ์ : การปฏิวัติในยุโรปตะวันออก

ที่มา : https://sites.google.com

1991 ที่มา : http://www.wikiwand.com

ธันวาคม : การล่มสลายของสหภาพโซเวียต


ที่มาจาก https://www.pinterest.com/pin/525373112771600128/


เป็นกาแพงที่แยกระหว่างคนประเทศเดียวกัน ซึ่งแยกออกเป็น2ส่วน คือ เยอรมันตะวันตกปกครองโดยสหภาพโซเวียต และเยอรมันตะวันออกโลก เสรีประชาธิปไตยปกครองโดยอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ถูกสร้างใน เดือน สิงหาคม 1961 เพื่อป้องกันให้ชาวเยอรมันตะวันออกข้ามไปยัง ตะวันตก หากฝ่าฝืน จะถูกยิงทาให้เสียชีวิต นับตั้งแต่มีผู้เสียชีวิตกว่า 137 คน ระหว่างหลบหนีเนื่องจากประชาชนในเยอรมันตะวันออกคิดว่า การพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชนในโลกคอมมิวนิสต์มี ความล้าหลังกว่าในโลกเสรีประชาธิปไตย


https://www.pinterest.com/pin/61009769931 041587

https://www.pinterest.com/pin/3930095049764536 48/

เนื่องจากประชาชนในเยอรมันตะวันออกคิดว่าการ พัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชนในโลก คอมมิวนิสต์มีความล้าหลังกว่าในโลกเสรีประชาธิปไตยมี มิอิล กอร์บาชอฟ (Miei Gobashop) นายกรัฐมนตรีในปี 1989ของสหภาพโซเวียตได้ทดลองประชาธิปไตย รวมถึง การที่เพื่อนบ้านคอมมิวนิสต์คือประเทศโปแลนด์ได้มีการ จัดตั้งการเลือกตั้งขึ้น ทาให้เยอรมันตะวันออกได้รับการ กดดันจากประชาชน ในวันที่9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989

หลังจากนั้นรัฐบาลอนุญาตให้คนที่อาศัยอยู่ในชาว เยอรมันตะวันออกสามารถไปที่เยอรมันตะวันตกได้มีผล บังคับทันทีเมื่อข่าวถูกประกาศ ทาให้ชาวเยอรมันกว่า 10,000คน เดินทางไปยังกาแพงหลายคนข้ามทางกีด ขวางแต่อีกหลายคนก็ใช้เครื่องมือทาลายกาแพง และ คนอีกจานวนมากกระโดดข้ามไป ชาวเยอรมันตะวันตก ออกมาต้อนรับความเยอรมันตะวันออก แม้การทุบ จริงจังจะเกิดใน เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1990 และเกิด การรวมประเทศเยอรมันใน 3 ตุลาคม ค.ศ. 1990

‘Wie sind Mensen’ เราคือประชาชน https://www.pinterest.com/pin/500181102347 914552/


การปฏิวัตเิ ยอรมันตะวันออกได้จุดประกาย และแพร่เชื้อแห่งการปฏิวัตไิ ปทั่วภูมิภาคยุโรป ตะวันออกที่ยังปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ ช่วงเวลาเพียงสองเดือนประชาชนในเซโกสโล วาเกีย บัลแกเรีย ต่างพากันออกสู่ท้องถนนเพื่อ เรียกร้องประชาธิปไตยและต่างก็ประสความ สาเร็จในการโค่นล้มระบอบการปกครองที่เคย กดขี่พวกตนมานานถึง 40 ปีหรือแทบจะไม่เสีย เลือดเนื้อแต่อย่างใดยกเว้นในโรมาเนียทีก่ าร ต่อสูร้ ะหว่างประชาชนที่มีทหารส่วนใหญ่ให้ การสนับสนุนกับกองกาลังรักษาความปลอดภัย ของรัฐบาลจอมเผด็จการภายใต้การนาของนาย นิโคไล เขาเชสกู(Nicholai Kaochesku) ได้ จบลงด้วยการนองเลือดโดยทีฝ่ ่ายประชาชน ชาวโรมาเนียได้รบั ชัยชนะในวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1989 และอีกสองปีหลังจากนัน้ สหภาพโซ เวียตซึ่งเคยเป็นผู้นาของโลกคอมมิวนิสต์กไ็ ด้ถึง แก่การล่มสลาย และหมายถึงยุคแห่งสงคราม เย็นที่ได้เริ่มขึ้นมาตั้งแต่ปีค.ศ. 1947 สิน้ สุดลง อย่างเป็นทางการ

https://www.pinterest.com/pin/5174214446 64745780/

https://www.pinterest.com/pin/299841287672 662309/

ที่มาhttps://www.pinterest.com/pin/670684 569480623103/


ที่มาเนือ้ หา สมรภูมริ บที่ช่องเขาเธอร์ โมพีเล (Battle of Thermopylae) - หนังสือ ประวัติศาสตร์ กรี กโบราณ : History of Ancient Greek - หนังสือ มหาสงครามที่โลกจารึก - หนังสือ GREAT BATTLES & ARMIES มหาสงครามและกองกาลังโลก

สงครามร้ อยปี กาเนิด “สงครามร้ อยปี ” ( Hundred Years' War ) - หนังสือ ประวัติศาสตร์ สากลสมัยกลาง

สงครามครูเสด (Crusade War)

- หนังสือ ครูเสด : สงครามกางเขนศักด์สทิ ธิ์ สงครามศาสนาเลือดที่ไม่มีวนั จบ

ราชวงศ์ ทวิ ดอร์ กับปั ญหาศาสนา - หนังสือ ยุโรปสมัยใหม่

การปฏิวัตฝิ รั่งเศส - หนังสือ ยุโรปสมัยใหม่

สมรภูมริ บที่วอเตอร์ ลู (Battle of waterloo) - หนังสือ GREAT BATTLES & ARMIES มหาสงครามและกองกาลังโลก

ปฎิวัตอิ ุตสาหกรรม (INDUSTRIAL REVOLUTION) - หนังสือ เมื่อโลกพลิกผัน : การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม จุดกาเนิดการเมืองและเศรษฐกิจยุคปั จจุบนั - หนังสือ การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมครัง้ ที่สี่

อิสราเอล อิสราภาพ (Israel War) - หนังสือ ประวัติศาตร์ และอารยธรรมโลกสมัยใหม่ สงครามเมืองศัลยกรรม (Korea War) - หนังสือ ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ปัจจุบนั ของเอเชีย

กาแพงเบอร์ ลิน (Berlin Wall) - หนังสือ ก่อนเบอร์ ลินจะสิ ้นสูญ: สังเขปการปฏิวตั ิประชาชนในเยอรมันตะวันออก

ชนวนเหตุ สงครามเวียดนาม ( Vietnam War ) - หนังสือ เวียดนามการรบขันแตกหั ้ ก

เหตุการณ์ สาคัญของสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 - หนังสือ ยุโรปในสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991


บรรณานุกรม บรรพต กาเนิดศิร.ิ ก่อนเบอร์ลิน จะสิ้นสูญ. กรุงเทพฯ : พารากราฟ, 2559. นันทนา กปิลกาญจน์. ประวัตศิ าตร์และอารยธรรมโลกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2546. ปรีชา ศรีวาลัย. เวียดนามการรบขั้นแตกหัก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2548. เจริญ ไชยชนะ. ประวัติศาสตร์สากลสมัยกลาง. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา, 2546. ถนอม อานามวัฒน์. ประวัติศาสตร์เหตุการณ์ปัจจุบันของเอเชีย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ ประสานมิตร, 2517. ศ.สัญชัย สุวังบุตร. (2558). ยุโรปในสงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์. Great Battles & Armies : มหาสงคราม และกองกาลังก้องโลก. กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป, 2559. อนันต์ชัย เลาหะพันธุ. ยุโรปสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศักดิโสภาการพิมพ์, 2544. Dr.Know. ครูเสด : สงครามกางเขนศักด์สิทธิ์ สงครามศาสนาเบือดที่ไม่มีวันจบ. กรุงเทพฯ : ยิปซี, 2557. Karl Polanyi. เมื่อโลกพลิกผัน. กรุงเทพฯ : ฟ้าเดียวกัน, 2557.


“Only the Dead have seen the end of war” มีแต่ผู้ที่สังเวยชีวิตในสงครามเท่านั้น ที่ได้พบ สันติภาพ จาก Black Hawk Down


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.