Lighting Focus Vol.1

Page 73

ปัจจุบนั ความต้องการใช้ไฟฟ้าในอาเซียนปรับสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจในแต่ละประเทศ บางประเทศผลิต ไม่พอกับความต้องการใช้ ต้องหันไปน�ำเข้าหรือรับซื้อไฟฟ้าจาก ประเทศเพื่อนบ้านมาเสริม ส่วนประเทศที่ยังมีความต้องการใช้ ไฟน้อยเพราะขนาดเศรษฐกิจยังเล็ก หรือมีทรัพยากรเหลือจ�ำนวนมาก ก็ผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อส่งออก เช่น ในประเทศไทยที่รับซื้อไฟฟ้า จากลาว พม่า และมาเลเซีย เป็นต้น ความต้องการใช้ไฟฟ้าที่สูง เป็นได้ทั้ง ‘โอกาส’ และ ‘อุปสรรค’ ส�ำหรับภาคธุรกิจ เพราะการค้าการลงทุนที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ในแถบอาเซียน ท� ำให้ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าเติบโตไม่ทันกับการ ขยายตั ว ดั ง กล่ า ว เกิ ด ปั ญ หาไฟตก ไฟดั บ ในบางพื้ น ที่ เช่ น ในประเทศเมียนมา ทีก่ �ำลังเป็น ‘ท�ำเลทอง’ ส�ำหรับการลงทุน ท�ำให้ เศรษฐกิจในประเทศเติบโตอย่างรวดเร็ว ความต้องการใช้ไฟฟ้า จึงมากขึ้นตามไปด้วย หลายอุตสาหกรรมแม้จะมีโอกาสในการ เข้าไปลงทุน แต่ก็ต้องชะลอออกไปก่อน หากปริมาณการผลิตไฟฟ้า มีไม่เพียงพอต่อการตั้งโรงงาน

อย่างไรก็ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจในอาเซียน ที่ส่งผล ให้ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ไม่ได้เป็น ‘ข้อจ�ำกัด’ ในการท�ำ ธุรกิจเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ถือเป็น ‘โอกาสทอง’ ของผูป้ ระกอบการ กลุ่มพลังงาน ที่จะเข้าไปลงทุนตั้งโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อ รองรับกับความต้องการในประเทศนั้นๆ หรือผลิตเพื่อส่งไปขายใน ประเทศใกล้เคียง เพราะอาเซียนถือเป็นภูมิภาคที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ และเป็ น แหล่ ง พลั ง งานที่ มี ค วามหลากหลาย แตกต่างกันในแต่ละประเทศ ในประเทศเมียนมา มาเลเซีย มีทั้ง แหล่งก๊าซธรรมชาติ ส่วนอินโดนีเซียมีเหมืองถ่านหินจ�ำนวนมาก ขณะที่ลาวมีแหล่งน�ำ้ ที่สามารถน�ำมาผลิตไฟฟ้าได้จำ� นวนมหาศาล ท�ำให้ไฟฟ้าเป็นอุตสาหกรรมหลักในการสร้างรายได้ให้กับประเทศ ส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพือ่ ส่งขายให้กบั ประเทศเพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะ ส่งขายให้กับประเทศไทย ท�ำให้ประเทศลาวถูกเปรียบเปรยเหมือน ‘แบตเตอรี่’ ของอาเซียน นอกจากแหล่งน�ำ้ แล้ว อาเซียนยังเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน ที่ส�ำคัญ สามารถน�ำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้จ�ำนวนมาก ทั้งพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ ในช่วงที่ผ่านมาจึงเห็นภาค ธุรกิจทั้งของไทยและต่างประเทศเข้าไปลงทุนด้านการผลิตไฟฟ้า เป็นจ�ำนวนไม่น้อย ทั้งโครงการขนาดใหญ่และโครงการขนาดเล็ก เช่นโครงการไซยะบุรีของผู้ประกอบการไทยในลาว เป็นต้น อย่างไรก็ตามข้อจ�ำกัดของการลงทุนผลิตไฟฟ้า คือต้องผลิต เพือ่ ขายไฟในประเทศ หรือส่งขายในประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ กี ารเชือ่ ม ระบบสายส่งไฟฟ้าเข้าด้วยกันเท่านั้น ท�ำให้ไม่สามารถส่งไฟไปขาย ในประเทศอืน่ ๆ ได้ เพราะต้องมีการลงทุนในระบบสายส่งเป็นจ�ำนวน เงินมหาศาล จากอุปสรรคในข้อนี้ ท�ำให้เกิดแนวคิดการเชือ่ มโยงระบบสายส่ง ไฟฟ้าในภูมิภาคอาเซียน ภายใต้โครงการ ‘อาเซียน เพาเวอร์ กริด’ (ASEAN Power Grid) จากข้ อ มู ล ของการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย ระบุว่าโครงการนี้ได้เป็นหนึ่งในวิสัยทัศน์อาเซียน 2563 (ASEAN Vision 2020) ซึ่งได้ริเริ่มด�ำเนินโครงการมาตั้งแต่ปี 2543 ระยะเริ่มต้นจะคัดเลือกการเชื่อมโยงระบบส่งเพื่อแลกเปลี่ยน ซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง 2 ประเทศก่อน เช่น ไทย-ลาว และไทยมาเลเซีย จากนั้นจึงจะค่อยๆ ขยายเป็นการเชื่อมโยงในระหว่าง กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน และเชื่อมโยงระบบไฟฟ้าของทุกประเทศใน อาเซียนเข้าด้วยกันในท้ายที่สุด หากโครงการนีป้ ระสบความส�ำเร็จ โดยสามารถเชือ่ มโยงระบบ สายส่งไฟฟ้าในอาเซียนเข้าด้วยกัน จะช่วยในการจัดสรรการใช้ ทรัพยากรพลังงานในภูมิภาคให้เกิดประโยชน์สูงสุด ท�ำให้ประเทศ ทีม่ ศี กั ยภาพด้านทรัพยากร แต่มคี วามต้องการใช้ไฟฟ้าน้อย สามารถ ผลิตไฟฟ้าส่งขายน�ำรายได้เข้ามาพัฒนาประเทศได้ ขณะที่ประเทศ ที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าจ�ำนวนมาก แต่ก�ำลังการผลิตไม่เพียงพอ ต่ อ ความต้ อ งการ ก็ ส ามารถน�ำ เข้ า ไฟฟ้ า มาใช้ ไ ด้ เ พื่ อ ช่ ว ยลด การลงทุน ลดต้นทุนการผลิต ผลักดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาค ความร่วมมือครั้งนี้จึงมีส่วนส�ำคัญในการเสริมสร้างขีดความ สามารถทางการแข่งขันในด้านเศรษฐกิจ และเพิ่มความมั่นคงทาง ด้านพลังงานให้กับภูมิภาคอีกด้วย

73


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.