งานวิจัย

Page 1

การเพิ่มความสามารถดานการฟงโดยใชกิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษจากเพลง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ

ศุภิสรา วิริไฟ

โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550


2

บทคัดยอ หัวขอวิทยานิพนธ

ผูวิจัย วุฒิการศึกษา พ.ศ.

การเพิ่มความสามารถดานการฟงโดยใชกิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษ จากเพลงของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ศุภิสรา วิริไฟ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการการเรียนรู) 2550

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสามารถดานการฟงโดยใชกิจกรรม เรียนภาษาอังกฤษจากเพลง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิ ช าชี พ ชั้ น สู ง ป ที่ 2 โรงเรี ย นเทคนิ ค วิ ม ลบริ ห ารธุ ร กิ จ กรุ ง เทพมหานคร ภาคเรี ย นที่ 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 18 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแผนการสอน 6 แผน แบบทดสอบ วัดความสามารถดานการฟงและแบบบันทึกพฤติกรรมดานการฟง การทดลองใชเวลา 12 ชั่วโมง แบบแผน การทดลอง One – Group Pretest – Posttest Design และวิเคราะหขอมูลโดยการ ทดสอบคาสถิติ t - test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบวา 1. การใชเพลงเปนกิจกรรมฟงภาษาอังกฤษ ทําใหนักศึกษามีความสามารถดานการฟง ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นโดยไดคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 12 คิดเปนรอยละ 40 2. นักศึกษามีความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 หลังจากการรับการสอนโดยใชเพลงเปนกิจกรรมการฟง


3

Abstract Thesis Title

The Researcher Level of Study Year

Enhancing the Listening Ability by Using Songs English Learning for Diploma Students of Wimol Business Administration College Supitsara Wirifai Master of Education, Learning Management 2007.

The objective of this study was to study the listening ability by using songs English learning. The sample group was 18 diploma students at Wimol Business Administration College in the first semester of the 2007 academic year. The instruments in this study were lesson plans, a listening tests and listening skills recording forms. The experiment lasted twelve hours, and the research design was one-group pre-test – posttest. The data was analyzed t-test dependent. The results of the research were as follows : 1. The students’s ability in listening English was significantly enhanced. The mean was increased by 12 point, an increase of 40 percent. 2. The students’s ability in listening English was significantly increased at .01 level.


4

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย……………………………………………………………………… บทคัดยอภาษาอังกฤษ…………………………………………………..….…………… สารบัญ………………………………………….…………………………………….… สารบัญตาราง………………….………………………………………………………... สารบัญภาพ………………………………………………………………….………….. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา……….....….………..…..……..…… วัตถุประสงคของการวิจัย….…………………………………….…………… ประโยชนของการวิจัย………..……………………………….……………… ขอบเขตของการวิจัย……………..……………………………...........………. นิยามศัพทเฉพาะ…………………………………….......…………………… 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรูภ าษาอังกฤษ……………………….…… แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการเรียนรูภาษาอังกฤษ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูภาษาอังกฤษ แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรภาษาอังกฤษ การฟง ความหมายของการฟง ความสําคัญของการฟง ประเภทของการฟง การพัฒนาการฟง ความสามารถในการฟง

2 3 4 6 7

8 9 9 9 12 14 14 15 16 17 17 19 20 21 22


5 การสอนทักษะการฟงภาษาอังกฤษ เพลง ความหมายของเพลง บทที่ ความสําคัญของเพลง ประโยชนการใชเพลงประกอบการเรียนการสอน ลักษณะของเพลงประกอบการเรียนการสอน การนําเพลงไปใชในการเรียนการสอนฟงภาษาอังกฤษ งานวิจัยที่เกี่ยวของ…………………………………………………..………… กรอบแนวคิดในการวิจัย………………………..……………...……….....….. สมมติฐานการวิจัย…………………….……………………………………… 3 วิธีดําเนินการวิจัย แบบของการวิจัย………………………………......………...................……. ประชากร………………………………...............………… การเลือกตัวอยางและแผนการสุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย…………………….……………..………….......…. การเก็บรวบรวมขอมูล………………………………………...……………… การวิเคราะหขอมูล………………………………………............…………… 4 ผลการวิเคราะหขอมูล สวนที่ 1 การทดสอบวัดความสามารถดานการฟงของนักศึกษากอนและ หลังการทดลอง สวนที่ 2 การสังเกตพฤติกรรมการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษาระหวาง การสอนโดยผูวิจัย 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ วัตถุประสงคของการวิจัย วิธีการดําเนินการวิจัย การวิเคราะหขอมูล สรุปผลการวิจัย……………….……..…………………....................……….... อภิปรายผล………………….…………….……........………..........…………..

24 27 28 หนา 28 28 30 31 35 36 36 37 37 37 38 40 40

44 48 50 50 51 51 51


6 ขอเสนอแนะ……………………………..……………...........……………….. บรรณานุกรม……………………..…………………..……………....………………… ประวัติผูวิจัย…………………………………………........……. …………..………….

53 55 59

สารบัญตาราง ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบวัดความสามารถดานการฟงของนักศึกษากอนและหลัง การทดลอง….......................................................................................................... 4.2 การเปรียบเทียบความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษากอนและ หลังการทดลอง...................................................................................................... 4.3 ผลการเปรียบเทียบความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษากอน การทดลองและหลังการทดลอง……….……….…..……………..……….…….. 4.4 แสดงคะแนนเฉลี่ยและคารอยละจากการสังเกตพฤติกรรมดานการฟง ของนักศึกษาโดยผูวิจัย.……….…..……………………………..……….……..

หนา

46 47 49 49


7

สารบัญภาพ ภาพที่

หนา

2.1 แผนภูมิกระบวนการฟง.........................................................................................................18 2.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย........................................................................................ 35


8

บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ภาษาอั ง กฤษได รั บ การยอมรั บ ว า เป น ภาษาสากลเป น สื่ อ กลางที่ ใ ช ใ นการติ ด ต อ ดานตาง ๆ แพรหลายทั่วโลก ความสําคัญของภาษาอังกฤษจึงเปนแรงผลักดันใหคนเราตองเรียน ภาษาอัง กฤษเป น ภาษาหลัก เพื่อ ใชเปน เครื่องมือในการติด ตอ สื่อสาร และเทคโนโลยีตาง ๆ กับประเทศอื่น ๆ ตลอดจนทําความเขาใจขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและวิถีความเปนอยู ของตางประเทศ ซึ่งจะตองใชภาษาอังกฤษ เปนเครื่องมือสื่อสารระหวางกันและกันทั้งสิ้น (สุมิตรา อังวัฒนกุล. 2540 : 163) ภาษาอังกฤษเขามามีบทบาทมากในสังคมไทย และเปนภาษาสากล ที่มีผูนิยมใชติดตอระหวางประเทศ ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ตลอดจน ภาษาอังกฤษเปนพื้นฐานที่จําเปนในการศึกษาตอในระดับสูง (วรวรรณ เปลี่ยนบุญเลิศ. 2540 : 74) การเรียนรูภาษาอังกฤษจึงเปนสิ่งจําเปนเพราะภาษาอังกฤษมิใชเปนเครื่องมือในการศึกษาคนควาหา ขอมูลที่ตองการและเพื่อการประกอบอาชีพเทานั้น ภาษาอังกฤษยังสามารถใชเปน เครื่องมื อ ในการติด ตอ สื่อสาร การเจรจาตอ รองเพื่อการแขงขัน และความรว มมือทั้งทางด านเศรษฐกิ จ และการเมืองไดอยางมีประสิทธิภาพ การเรียนภาษาอังกฤษแตกตางจากกลุมสาระการเรียนรูอื่นเนื่องจากผูเรียนไมไดเรียน ภาษาอังกฤษเพื่อความรูเทานั้น แตเรียนเพื่อใหสามารถใชภาษาอังกฤษเปนเครื่องมือในการสื่อสาร กับผูอื่น ไดต ามความตองการในสถานการณตาง ๆ ทั้งในชีวิต ประจําวัน และการงานอาชีพ การที่ผูเรียนจะใชภ าษาอังกฤษไดถูก ตองคลองแคลว และเหมาะสมนั้น ขึ้ น อยูกับทัก ษะการใช ดังนั้นการเรียนภาษาอังกฤษในหองเรียนและนอกหองเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู โรงเรียน ควรดําเนินการสงเสริม สนับสนุนใหผูสอนสามารถจัด บรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู ทั้งนี้ผูสอนและผูเรียน อาจเรี ย นรู ไ ปพร อ ม ๆ กั น จากสื่ อ การเรี ย นการสอนและแหล ง วิ ท ยาการประเภทต า ง ๆ (พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (2542 : 14)


9 การฟง เปน พฤติกรรมแรกที่สําคัญในการเรียนรูภ าษาและเปน กระบวนการสื่อสาร ที่ตองมีการตอบสนอง โตตอบ การปฏิสัมพันธ ดังที่ โจนส (Jones. 1986 : 1) และ สการเบรอ (Scarbrough. 1984 : 142) กลาวไวตรงกันวา การฟงเปนการเขาใจความคิดผูอื่นและรับรูขอมูลใหม เมื่อเราเขาใจสิ่งที่เราฟง เราก็สามารถเชื่อมโยงความคิดเห็นกับประสบการณเขาดวยกันและสามารถ พูดโตตอบไดอยางถูกตอง เมื่อการฟงประสบความสําเร็จ ก็จะสงผลไปสูความสําเร็จดานการพูด ซึ่ง อัชเชอร (Asher. 1982 : 19, อางถึงใน นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 1) กลาววา การที่เด็กจะพูดคําใด คําหนึ่งออกมานั้น จะตองผานการฟงมาอยางมากมาย นอกจากนี้ ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ผูเรียนตองมีความสามารถดานการฟง พูด อานและเขียนได ซึ่งจําเปนตองใหสอดคลองทั้ง 4 ทักษะ แตทักษะการฟงมัก จะไมมีก ารเรียนการสอนในชั้นเรียนเพราะความยุงยากในการจัด กิจกรรม (สุไร พงษทองเจริญ. 2535 : 117-1118, อางถึงใน นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 1) ความจริงแลวการฟง มีประโยชนตอการดํารงชีวิตประจําวัน เพราะทักษะการฟงเปนทักษะทางภาษาที่มนุษยใชมากที่สุด ตามที่วารินทร สินสูงสุด (2542 : 19) กลาววา มนุษยใชทักษะการฟงมากกวาทักษะอื่นโดยเฉลี่ย ไมนอยกวา 1 ใน 3 ของเวลาในการติดตอสื่อสาร แม ว า ทั ก ษะการฟ ง เป น ทั ก ษะพื้ น ฐานที่ สํ า คั ญ และนํ า ไปสู ก ารพั ฒ นาทั ก ษะอื่ น แต เ ท าที่ ผ า นมาครูส ว นมากเนน ในเรื่ อ งทัก ษะการอ านและเขี ย นโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ความรู ด า นไวยากรณ นั ก เรี ย นจึ ง รู ก ฎเกณฑ ท างภาษาทํ า ให นั ก เรี ย นขาดการฝ ก ฝนทั ก ษะการฟ ง ซึ่งตรงกับผลการวิจัยของ กันยา ถิรโพธิ (กันยา ถิรโพธิ. 2526 : 66 , อางถึงในจุฑารัตน เจริญสินธุ. 2541 : 4) ที่ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ในจังหวัด นนทบุรี พบว านัก เรียนยั งขาดทัก ษะการฟง เพื่อเขาใจคํา ถามหรือข อความและสอดคลองกั บ งานวิจัยของ เนาวรัตน พงษเกษมพรกุล (เนาวรัตน พงษเกษมพรกุล . 2530 : 58-60, อางถึงใน กรรณิกา เครือทนุ. 2541 : 41) ที่ไดศึกษาระดับความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทั้ง 3 ชั้น สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พบวา นักเรียน มีความสามารถในการฟงอยูในระดับต่ําและมีปญหาในการฟงภาษาอังกฤษทุกระดับ จากปญหาการฟงภาษาอังกฤษของนักเรียนดังกลาว ไดมีผูศึกษาปญหาและอุปสรรค และคิดคนวิธีการ กิจกรรมตาง ๆ ที่จะเพิ่มความสามารถดานการฟงของนักเรียน เชน จอลลี่ (Jolly. 1975 : 11-14, อางถึงใน นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 17) ไดนําเพลงมาประกอบการสอนภาษาอังกฤษ พบวา นัก ศึกษาตั้งใจฟงเพื่อความเขาใจภาษาที่ใชใ นเพลง รวมถึงความสัมพันธ ของวัฒนธรรม ซึ่งการฟงเพลงมีผลตอการออกเสียง ศัพท สํานวน และโครงสรางไวยากรณ ซึ่งสอดคลองกับ เตือนใจ เฉลิมกิจ (2540 : 16) และ วราภรณ วราธิพร (2543 : 6) ไดกลาวถึง การใชเพลงประกอบ ในการสอนวิชาภาษาอังกฤษวา เพลงสามารถสรางความสนใจและกระตุนใหนักเรียนอยากจะเรียน


10 และชวยใหนัก เรียนเกิดความคงทน จําโครงสรางภาษา คํา การออกเสียง ไดน านขึ้น แลวสงผล ในการพัฒนาความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ เตือนใจ เฉลิมกิจ (2540 : 30-32, 151) ได ก ลา วเพิ่ ม เติ ม ถึงการฟ ง เพลงว า เป น กิ จ กรรมที่ ส งเสริม ความสามารถทางดา นภาษา โดยใชภาษากายและน้ําเสียง เพื่อชวยใหเด็ก เขาใจความหมายพรอมกั บเพิ่มพูนภาษาใหกับเด็ก ทีละนอย เพราะกิจ รรมนี้จ ะทํา ใหผูเรียนจดจอในสิ่งทีกําลังฟง และสามารถแสดงความเขาใจ ในสิ่งที่ฟงโดยปราศจากความกังวล เนื่องจากธรรมชาติของเด็กชอบฟงเสียงจังหวะดนตรี ซึ่งเสียง ทํานองนั้นเด็กสามารถเรียนรูภาษาไดดีกวาการพู ดธรรมดา ครูสามารถใชเพลงฝกทักษะการฟง และประเด็นทางภาษา (Language point) เชนเดียวกันกับ ประนอม สุรัสวดี (2541 : 21) กลาววา การเรียนภาษาอังกฤษดว ยเพลงเปนการเรียนในลักษณะเหมือนไมไดกําลังเรียนเพราะนักเรียน จะเพลิดเพลินกับการฟงเพลง ซึ่งกิจกรรมดังกลาวจะนําไปสูการฝกทักษะอื่นไดครบทั้ง 4 ทักษะ ปจ จุ บัน ผู วิจัย สอนวิช าภาษาอั งกฤษในระดับประกาศนียบั ต รวิ ชาชีพชั้ น สูง (ปวส.) โรงเรียนเทคนิค วิมลบริหารธุรกิจ พบวา นักเรียนมีปญหาดานการฟง กลาวคือนักเรียนฟงคําสั่ง ภาษาอังกฤษไมเขาใจ นอกจากจะสั่งคําสั่งเปนคํา ๆ เชน Come in, Come here , Stand up ,listen ตลอดจนนั ก เรี ย นไมส นใจเรื่ อ งฟง จากเทป จึง ไม สามารถบอกสาระสํา คั ญ หรือ ตอบคํ า ถาม จากเรื่ อ งที่ ฟ ง ได ป ญ หาในเรื่ องนี้ ส ง ผลต อ ทั ก ษะทางภาษาในด า นอื่ น ๆ จึ ง ทํ า ให ก ารเรี ย น ภาษาอั ง กฤษของนั ก เรี ย นไม สั ม ฤทธิ์ ผ ลซึ่ ง สอดคล อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของกรมวิ ช าการ กระทรวงศึ ก ษาธิก าร (2539 : 57) พบวา นัก เรีย นมีค วามสามารถดา นการฟ งจับ ใจความต่ํ า จะมีค วามสามารถในการอานจับใจความต่ําและนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ใ นทางการเรียนสูงกวา นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ดานการเรียนปานกลางและต่ําจะมีความสามารถดานการฟงสื่อสารสูง จากปญหาการฟงในชั้นเรียนดังกลาว ทําใหผูวิจัยหาวิธีที่จ ะชวยเพิ่มความสามารถ ดานการฟงของนัก เรียน จึงไดเลือกใชเพลงเปน กิจ รรมการฟงเพื่อกระตุนใหผูเรียนมีสว นรว ม เพราะเพลงเปนสื่อที่ทรงคุณคาทางการเรียน ช วยผอนคลายอารมณเครียดในบทเรียน กอใหเกิด ความสนุก สนานจากการฟง ซึ่งสงผลใหนักเรียนมีความสามารถเพิ่มมากขึ้น และมีค วามมั่นใจ ในตนเองที่ จ ะใช ป ระโยชน จ ากการฟ ง สื่ อ ต า ง ๆ เช น วิ ท ยุ โทรทั ศ น ภาพยนตร เป น ต น เพื่อผอนคลายอารมณหรือหาความรูตาง ๆ นอกจากนี้เพลงยังจะชวยใหนักเรียนเขาใจและจดจํา ขอความบางสวนเพื่อนํามาสื่อสารกัน เชน “I love you more than I can say” ดังนั้น จึงกลาวไดวา การใช เ พลงประกอบการสอนภาษาอั ง กฤษเป น กิ จ กรรมที่ ส นุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น ส ง เสริ ม ความสามารถด า นการฟ ง ภาษาอั ง กฤษที่ เ หมาะสมกั บ วั ย ของนั ก เรี ย น ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ กระทรวงศึกษาธิการ (2540 : 17) ไดกลาวถึงแนวการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษวา ครูควร


11 เน น กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ ใ ห นั ก เรี ย นมี ค วามสุ ข สนุ ก สนาน เพื่ อ ให เ กิ ด เจคติ ที่ ดี ตอภาษาอังกฤษ โดยใชเพลงและอื่น ๆ

วัตถุประสงคของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาความสามารถดานการฟงโดยใชกิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษจากเพลง ประโยชนของการวิจัย 1. ไดวิธีจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 2. เปนแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนในวิชาอื่น ขอบเขตของการวิจัย ในการวิ จัยครั้งนี้ เป น การวิ จัย การเพิ่ม ความสามารถด านการฟ งโดยใช กิจ กรรม เรียนภาษาอังกฤษจากเพลงของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนเทคนิควิมล บริหารธุรกิจ กรุงเทพมหานคร 1. ประชากร ประชากรที่ใ ชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก นักศึกษาระดับประกาศนียบัต รวิชาชีพ ชั้ น สู ง ป ที่ 2 ที่ เ รี ย นวิ ช าภาษาอั ง กฤษ 2 โรงเรี ย นเทคนิ ค วิ ม ลบริ ห ารธุ ร กิ จ เขตบางซื่ อ กรุงเทพมหานคร ซึ่งกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 3 หองเรียน นักเรียน 62 คน 2. กลุมตัวอยาง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น สูงปที่ 2 หอง กบ.211 จํานวน 18 คน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 3. ตัวแปร 3.1 ตัวแปรอิสระ : กิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษจากเพลง 3.2 ตัวแปรตาม : ความสามารถดานการฟง


12 4. ระยะเวลา การทดลอง ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 ตั้งแตเดือนมิถุนายน 2550 - ตุลาคม 2550 นิยามศัพทเฉพาะ เพลง หมายถึง เพลงภาษาอังกฤษที่ผูวิจัยเลือกใชเปนกิจกรรมการฟงภาษาอังกฤษ โดยการคั ด เลื อ กเพลงที่ มี เ นื้ อ หาและวงคํ า ศั พท ตามหลัก สู ต รสถาบัน เทคโนโลยี ร าชมงคล ชั้น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง พุ ทธศั ก ราช 2545 (ปรั บปรุ ง 2546) โดยนํ าเพลงสากล มาฝก ทัก ษะการฟงและรว มรองเพลงในชั้น เรียนเพื่อใหผูเรียนไดฝก ทัก ษะการฟงและการพูด ออกเสียง ความสามารถดานการฟง หมายถึง ความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษ ซึ่งไดแก ฟงเพลง ตอบคําถามได และปฏิบัติตามคําสั่งได วัดไดจากแบบทดสอบความสามารถในการฟง และแบบบันทึกพฤติกรรมการฟงที่ผูวิจัยสรางขึ้น


13

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการวิจัยเรื่อง การเพิ่มความสามารถดานการฟง โดยใชกิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษ จากเพลงของนัก ศึก ษาระดับประกาศนียบัต รวิชาชีพชั้น สูง โรงเรียนเทคนิค วิมลบริหารธุร กิจ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอตอไปนี้ แนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรูภ าษาอังกฤษ 1. แนวคิดพื้นฐานของการเรียนรูภาษาอังกฤษ 2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูภาษาอังกฤษ 3. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรภาษาอังกฤษ การฟง 1. ความหมายของการฟง 2. ความสําคัญของการฟง 3. ประเภทของการฟง 4. การพัฒนาการฟง 5. ความสามารถในการฟง 6. การสอนทักษะการฟงภาษาอังกฤษ เพลง 1. ความหมายของเพลง 2. ความสําคัญของเพลง 3. ประโยชนการใชเพลงประกอบการเรียนการสอน 4. ลักษณะของเพลงประกอบการเรียนการสอน 5. การนําเพลงไปใชในการเรียนการสอนฟงภาษาอังกฤษ งานวิจัยที่เกี่ยวของ


14

แนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรูภ าษาอังกฤษ การจัด การเรียนรู ภ าษาอังกฤษเปน กระบวนการที่ซับซอนตองอาศัยความสัมพัน ธ ระหว า งผูเ รี ย นกั บผู ส อน ซึ่ง มี พื้ น ฐานอยู บ นทฤษฎี แ ละวิธี ก ารต า ง ๆ มากมาย จึ งทํ า ให เ กิ ด ความหลากหลายของแนวคิด และกอใหเกิด วิธีก ารจัด การเรี ยนรูที่แ ตกตา งกัน ออกไป ดังนั้ น การกําหนดแนวทางในการจั ด การเรียนการรู ภ าษาอังกฤษ ผูสอนตองเขาใจแนวคิด ของตน จึงจะทําใหสามารถวิเคราะหมโนมติเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูไดชัดเจนยิ่งขึ้น (สุมิตรา อังวัฒนา กุล. 2539 : 21) สุมิตรา อังวัฒนากุล ไดแบงแนวคิดไว 3 ลักษณะ ไดแก แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู ภาษาอังกฤษ แนวคิด เกี่ยวกั บการจัด การเรี ยนรู ภ าษาอังกฤษ และแนวคิด เกี่ยวกับหลั ก สูต ร ภาษาอังกฤษ (สุมิตรา อังวัฒนากุล.2539 : 22) 1. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการเรียนรูภาษาอังกฤษ แนวคิด เกี่ยวกับการเรียนรูภ าษาอังกฤษที่ไดรับความสนใจมากที่สุด ในปจ จุบั น คือ แนวคิดของ สตีเฟน คราเชน ( Stephen Krashen. 1987 : 35-40, อางถึงในสุมิตรา อังวัฒนากุล. 2539 : 22-25 ) มี 5 ประการ ดังนี้ 1.1 สมมติ ฐ านเกี่ ย วกั บ การเรี ย นและการรู ภ าษา (The acquisition learning hypothesis) แบงกระบวนการเรียนรูเปน 2 แบบคือ การรูภ าษา (Language acquisition) และ การเรียนภาษา (Language learning) การรูภาษา เปนการเรียนภาษาที่สองอยางไมรูตัว รูกฎเกณฑของภาษา มุงใช ภาษาเพื่อการสื่อสาร ไมเนนกฎเกณฑของภาษาใหแกผูเรียน การเรียนภาษา เปนการเรียนภาษาอยางรูตัว รูกฎเกณฑของภาษา แตไมใชภาษา เพื่อการสื่อสาร 1.2 สมมติฐานเกี่ยวกับขั้นตอนในการเรียนรูต ามธรรมชาติ (The natural order hypothesis) การเรียนภาษาเปนกระบวนการที่เปน ไปอยางมีขั้นตอนตามลําดับกอนหลัง ผูเรียน จะเรียนรูโครงสรางบางอยางกอนแลวจึงเรียนรูโครงสรางอื่นตามลําดับ 1.3 สมมติ ฐานเกี่ ยวกับ กลไกทดสอบทางภาษา (The monitor hypothesis) การรูภ าษาทําใหผูเรียนสามารถใชภ าษาในชีวิตจริงได แตก ารเรียนภาษาทําใหผูเรียนสามารถ ตรวจสอบความถูกตองของภาษาหรือทําหนาที่เปนกลไกทดสอบภาษา ซึ่งมีประโยชนไมมากนัก เพราะมีเหตุผล 3 ประการดังนี้ 1) การไมมีเวลาพอที่จะตรวจสอบความถูกตองของการใชภาษา


15 จริง ๆ และการใชภาษาจะมุงที่เนื้อหาที่จะพูดมากกวารูปแบบของภาษาที่จ ะพูด 3) กฎเกณฑ ทางภาษามีเปนจํานวนมากผูใชภาษาจึงไมแนใจวาจะมีความรูพอที่จะตรวจสอบไดครบถวน 1.4 สมมติฐานการรับขอมูลทางภาษา (The input hypothesis) ปจจัยที่จําเปนอยางยิ่ง สําหรับการเรียนรูภ าษาคือขอมูลทางภาษาที่ผูเรียนสามารถเขาใจได (Comprehensible input) ตองเปนขอมูลที่นาสนใจและเกี่ยวของกับตัวผูเรียน 1.5 สมมติฐานเกี่ยวกับความแตกตางดานจิตใจ (The affective filter hypothesis) ปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งในการเรียนภาษาคือดานจิตใจ ไมวาจะเปนแรงจูงใจ ความวิตกกังวล ซึ่งอาจเปนแรงเสริมหรือเปนอุปสรรคตอการเรียนรูภาษา สรุ ปไดว า การเรีย นรูภ าษาอั งกฤษเป น การเรีย นรู อย างมีก ระบวนการ มีขั้ น ตอน ตามลําดับกอนหลัง ผูเรียนสามารถใชภ าษาอังกฤษในชีวิต จริง และตรวจสอบความถูก ตองได ซึ่ ง ป จ จั ย ที่ จํ า เป น คื อ ข อ มู ล ทางภาษาอั ง กฤษต อ งเป น ที่ น า สนใจและเกี่ ย วข อ งกั บ ตั ว ผู เ รี ย น แตอุปสรรคในการเรียนรูภ าษาอังกฤษ คือความแตกต างดานจิ ต ใจ เชน ความวิต กกังวลหรื อ แรงจูงใจ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูภาษาอังกฤษ จากแนวคิด ที่วา การจัด การเรียนรูภ าษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง มี 2 ลักษณะ คือ การเรียนแบบการรูภ าษา (Acquisition) และแบบการเรียนภาษา (Learning) ทําใหเกิด แนวคิด เกี่ยวกับการจัดการเรียนรูภาษาอังกฤษที่ตางกันออกไป ดังที่ สตีเฟน คราเชนและ เทรซี่ เทอรเรล (Stephen Krashen. 1987 : 35-40 & Tracy Terrel. 1986 : 13, อางถึงในสุมิตรา อังวัฒนากุล. 2539 : 22-25) ไดกลาวถึงแนวคิดในการสอนแบบธรรมชาติ (Natural approach) มีลักษณะสําคัญดังนี้ 1. การสอนภาษาที่ไดผล คือการเลียนแบบวิธีก ารเรียนภาษาแมข องผูเรียน โดยจัด ประสบการณใหผูเรียนไดพบและคุนเคยกับเจาของภาษาที่จะเรียนใหมากที่สุด เนนคําศัพทมากกวา ไวยากรณเพราะการเรียนภาษาคือการเรียนคําศัพท 2. ไมใชภาษาของผูเรียนในหองเรียนแตใหใชวิธีการออกกิริยาทาทางและวิธีพูดชา ๆ เพื่อใหเด็กเกิดความเคยชิน และวิธีแลกเปลี่ยนคําถาม 3. เนนภาษาพูดเปนหลักสําคัญมากกวาทักษะอื่น ๆ เพื่อใหเกิดความเคยชิน ไมเนน การเปรียบเทียบภาษาที่เรียนกับภาษาแม


16 สรุปไดวา แนวการจัดการเรียนรูภาษาอังกฤษแบบธรรมชาติมจี ุดสําคัญ คือ การสื่อสาร ในสถานที่ จ ริ ง (Real communication) ดั ง นั้ น ผู ส อนจะต อ งให ข อ มู ล ทางภาษาที่ ผู เ รี ย น สามารถเขาใจและมีค วามสนใจ รวมทั้งจัด หากิจ กรรมตาง ๆ ที่จ ะอํานวยประโยชนใ หผูเรียน ไดเรียนรูภาษาและสามารถใชภาษาไดโดยอัตโนมัติ แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรภาษาอังกฤษ หลักสูตรเปนสิ่งสําคัญที่ควบคูไปกับวิธีการจัดการเรียนรูในการเรียนรูภาษาอังกฤษ ถามีการปรับปรุงแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรูใหไดผล หากหลักสูตรไมสอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรู ยอมทําไดยากและบังเกิด ผลนอย รอท เอลทิส (Rod Ellis. 1987, อางถึงในสุมิตรา อังวัฒนากุล . 2539 : 35) ใหความหมายของคําวา หลักสูต ร หมายถึงการกําหนดขอบเขตของเนื้อหาที่จะจัด การเรียนรู หรือเนื้อหาหลักสูตร การจัดเนื้อหาหลักสูตร แบงไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. การจัดเนื้อหาของหลักสูตรแบบเนนโครงสราง (Structural syllabus design) การจัด หลักสูตรแบบนี้ใหความสําคัญกับรูปแบบของภาษาเปนอันดับแรก เนื้อหาทางคําศัพทเปนอันดับ รอง การจั ด หลั ก สู ต รจะดู จ ากไวยากรณ เ ป น หลั ก ถื อ รู ป แบบโครงสร า งเป น หน ว ยพื้ น ฐาน ในการเรียน โดยเรียงลําดับรูปแบบโครงสรางที่ตองการจะจัดการเรียนรู อยางไรก็ตามการจัดเนื้อหา หลักสูตรในลักษณะนี้ ผูเรียนไมสามารถนําความรูที่ไดเรียนไปใชในชีวิตประจําวันได นอกจากนี้ บทเรียนไมนาสนใจ เพราะยึดเนื้อหาเปนหลัก (Subject-mattered center) 2. การจัดเนื้อหาของหลักสูตรเนนสถานการณ (Situational syllabus design) การจัด เนื้อหาแบบนี้ เชื่อวา ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวพันกับสถานการณแวดลอม และสถานการณที่เปนตัวแปร ที่มีบทบาทสําคัญตอบริบทของภาษาอังกฤษ การจัดเนื้อหาของหลักสูตรนี้ยึดเนื้อหาทางไวยากรณ เชนเดียวกับแบบแรก แตมีจุดเนนที่ความตองการของผูเรียนและสถานการณจัดเปนหนวยพื้นฐาน ในการจัด การเรีย นรู แตมีจุด บกพรองวา ผู พูด จะเลือกพู ด ประโยคใดนั้น ขึ้ น อยูกับเจตนาและ วัต ถุ ประสงค ข องผู พูด มากกวา สถานที่พู ด นอกจากนี้ การจั ด ลํ าดั บสิ่ งที่ เรี ยนรู ไ ดย ากเพราะ สถานการณเดียวกันอาจตองใชโครงสรางและศัพทที่มีความยากงายตางกัน 3. การจัดเนื้อหาหลักสูตรแบบเนนหนาที่และการสื่อความหมาย (Functional syllabus design) เปนการจัดเนื้อหาหลักสูตรบนรากฐานตามแนวหนาที่ของภาษาอังกฤษมากกวาไวยากรณ พอสรุปไดดังนี้ 3.1 เนนสิ่งที่ผูพูดตองการจะสื่อสาร 3.2 วิเคราะหความจําเปนของผูเรียนที่จะใชภาษาแสดงความคิดหรือความหมาย 3.3 เนนวัตถุประสงคในการใชภาษาหรือความตั้งใจของผูพูด


17 3.4 ไวยากรณเปนองคประกอบที่สําคัญ เพราะเปนเครื่องมือที่ชวยใหใชภาษา ในการสื่อสารได 3.5 ใหความสําคัญกับสถานการณการใชภาษา การฟง 1. ความหมายของการฟง ไดมีนักการศึกษา นักวิจัย ไดใหความหมายของการฟงไวหลากหลาย แตมีความหมาย ใกลเคียงกัน ดังนี้ ลอฟตัน (Louhton. 1996 : 4-6, อางถึงใน นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 5)ใหความหมาย ของการฟงเปน 4 ลักษณะ ดังตอไปนี้ 1. การฟงเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสารและเปนทักษะการสื่อสารที่เกี่ยวของ กับการไดยินเสียงซึ่งมีการตอบ 2. การฟงเปนศิลปะที่ตองการกฎเกณฑ ความตั้งใจ การมีสวนรวม และความเขาใจ ที่ตองไปในทางเดียวกัน เชนเดียวกับการวาดภาพ การเลนดนตรี เปนตน 3. การฟงเปนกระบวนการไดยิน การเขาใจ การประเมินและการตอบสนองขอความ ที่ฟง ซึ่งการตอบสนองของผูฟงอาจจะไมเปนคําพูดเสมอไป แตเปนการใชภาษาทาทางก็ได 4. การฟงเปนการสรางสรรคประสบการณ ความรูสึก ความพอใจ และความตื่น เตน ที่เกิดขึ้นขณะฟง ซึ่งเปนกระบวนการที่มีลําดับ 5 ขั้น ดังภาพที่ 2.1 ผูพูด

ขอความ การตอบสนอง

ภาพที่ 2.1 แผนภูมิกระบวนการฟง ที่มา (นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 5)

สิ่งแวดลอม

การฟง


18 เจี ย รนั ย พงษ ศิ ว าลั ย (2538 : 102)ให ค วามหมายของการฟ ง ว า การฟ ง เป น กระบวนการทางสมองหลายขั้ น ตอนที่ ต อ เนื่ อ งจากการได ยิ น ซึ่ ง เป น ความสามารถ ทางสติปญญาและเปนความสามารถที่จะรับรูสิ่งที่ไดยิน จับความ ตีความ ของสิ่งที่รับรู เขาใจ และ จดจํานําไปใชได ดังนั้นผูฟงจะตองตีความหมายสิ่งที่ไดฟงแลวโตตอบ ดวยภาษาที่ถูกตอง แวลเล็ต (Valette. 1967 : 47-48 และอันเดอรวูด Underwood. 1989 : 1, อางถึงใน เพ็ญแข วงศสุริยา. 2546 : 9) ไดใหความหมายของการฟงไววา เปนกิจกรรมที่ตองใหความตั้งใจ และพยายามเขาใจความหมายของเสียง (Sound) และรูปแบบของภาษา(Pattern) ที่ไดยิน การที่จะ ประสบความสําเร็จ ใจการฟง ผู ฟง จะตองเข าใจความหมายของผูพู ด ที่ ตอ งการจะสื่ อ เพราะ ความหมายของประโยคที่ผูพูดพูดนั้นอาจมีความหมายหลายอยาง ในฐานะผูฟงจะตองจดจําคําพูด และวิเคราะหปจจัยอื่น ๆ ที่ใชเสนอขางสารนั้น ลี และแวนพาทเต็น (Lee & Vanpattern. 1995 : 59-63 , อางถึงใน นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 6) ให ค วามหมายของการฟงไววา เปน ขบวนการสื่อสารและจิต ภาษาศาสตรที่ผูฟง ตอบสนองผูพูดดวยความหมายที่ถูก ตอง การสื่อความหมายแตกตางกัน ถาหากสถานการณนั้น ไมเหมือนกัน โดยผูฟงจะตองใชค วามเขาใจ ความตั้งใจ และใชความรูทั้งดานภาษาและไมใ ช ภาษาศาสตรใหสัมพันธกัน วินโดวสัน (Windowson . 1983 : 59 – 60, อางถึงในสมร ปาโท. 2545 :12) ไดกลาวถึงความแตกตางคําวา “การฟง” กับ “การไดยิน” ไว ดังนี้ การฟง (Listening) หมายถึงความสามารถที่จะเขาใจวาประโยคหนึ่งประโยคใด โดยเฉพาะนั้นสัมพันธกับประโยคอื่น ๆ ที่พูดไปแลวอยางไร เขาใจวาประโยคดังกลาวมีหนาที่ อยางไรในการสื่อสาร ซึ่งการฟงแบบนี้ผูฟง จะเลือกจําแตเฉพาะที่สัมพันธ หรือตรงกับจุดประสงค ในการฟง และจะไมสนใจตอสิ่งที่ไมตองการ ถาจะกลาวอีกนัยหนึ่ง การฟงหมายถึงความสามารถ ที่ผูเรียนเขาใจวาประโยคนั้น ๆ เกี่ยวของประโยคที่ผูพูดพูดนั้นอาจมีความหมายหลายอยาง ใน การได ยิ น (Hearing) หมายถึ ง ความสามารถของผู ฟ ง ที่ จ ะเข า ใจหน ว ยย อ ย ของภาษาในรูปของกระแสเสียง และโดยอาศัยความรูดานระบบเสียงและไวยากรณของภาษา ผูฟงจะสัมพันธหนวยยอยของภาษานั้นเขาดวยกันเปนประโยค และเขาใจความหมายของประโยค หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ การไดยินหมายถึง ความสามารถของผูเรียนที่สามารถจําสวนของภาษา ที่ไดยิน โดยอาศัยความรูเรื่องระบบเสียงและระบบไวยากรณของภาษาในการเชื่อมสวนตาง ๆ ของภาษา เขาดวยกันเปนขอความหรือประโยคเพื่อทําความเขาใจความหมายของประโยคนั้น สนิ ท ตั้ ง ทวี ได ก ล า วถึ ง การฟ ง ว า การฟ ง เป น ทั ก ษะทางภาษาที่ สํ า คั ญ มาก ตอการสื่อสาร เปน สว นสําคัญตอการคิด และการพูด การฟงชว ยใหเกิด ความรูและความรอบรู


19 ในการฝกทักษะการฟงมีหลายแบบเพื่อนําไปใชในกิจกรรมการเรียนรู เชน ฟงเพื่อเขาใจความหมาย ของคํา ขอความฟงเพือ่ พินิจสาร และวิเคราะหสาระสําคัญ เปนตน (ศิริพร มาวรรณา. 2546 : 12) ฐะปะนีย นาครทรรพ. (2543 : 316-326) กลาวถึงการฟงวา มีประโยชนตอตนเอง และสังคม ชวยทําใหพัฒนาสมรรถภาพทางความคิด ความรูและสติปญญาทําใหเรียนรูและจดจํา เขาใจสิ่งตาง ๆ การใชทักษะการฟงโดยใหนักเรียนฟงและจับประเด็น วิเคราะห ตีความ ประเมิน คุณ คา และจดบัน ทึก ได ซึ่ง ในการส งเสริ มการฟ งส ว นหนึ่ งคื อใหฝ ก ฟง สารประเภทความรู โดยจับสาระสําคัญได สรุปไดวา การฟงเปนกิจกรรมกระบวนการสื่อสารที่มีการไดยิน การรับขอมูล การแปล ขอ มูล การตอบสนองข อมู ลนั้ น ซึ่ง ต องทํา งานสั มพั น ธ กัน และการฟง จะตอ งตั้ งอยูบ นฐาน ของขบวนการจิตภาษาศาสตร คือความตั้งใจ ความเอาใจใส ความเขาใจ การใชภาษาพูดและภาษา ทาทาง 2. ความสําคัญของการฟง ทั ก ษะแรกที่ ม นุ ษ ย รั บ รู ใ นการสื่ อ สารคื อ ทั ก ษะการฟ ง และเป น ทั ก ษะที่ ใ ช ในการสื่อสารมากที่สุด ซึ่งเห็นไดจากเด็ก ๆ เรียนรูและทําเสียงเลียนแบบคําพูดของพอแม โดย การฟง นั่นคือเด็กฟงภาษากอนที่จะเกิดการเรียนรู มีผูกลาวถึงความสําคัญของการฟง ไวดงั นี้ แมคโดเนลล (McDonell. 1992 : 58- 59, อางถึงในธิดา โมสิกรัตน. 2534 : 191-192) ไดกลาวถึงความสําคัญของการฟงวา เปนเครื่องมือการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพในการใชภาษาเพื่อ การสื่อสาร ผูที่มีความสามารถในการฟงจะสามารถใชภาษาเพื่อการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถเรียนรูสิ่งตาง ๆ รอบตัวแลวสะสมเปนความรูสืบตอกันมาตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน สนธยาพรรณ ยาทวม (2538 : 16) ไดกลาวถึงการฟงวา เปนการเตรียมความพรอม สํา หรั บ ทั ก ษะอื่ น เพราะการสอนภาษาอั ง กฤษในป จ จุ บั น มุ ง เน น ให ผู เ รี ย นมี ค วามสามารถ ใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารได เยาวรัตน การพานิช กับ อังคณา ทองพูน (2543 : 22-24) และโบเวน (Bowen. 1985 : 89) ไดก ลา วถึงการฟงว า เปน ทัก ษะที่สําคัญ สําหรั บผูเรีย นภาษาเนื่องจากเปน การรับสาร (Receptive skills) ซึ่ง จะตองมีสว นเกี่ยวข องกับภาษาพูด ทัก ษะการฟ งตองไดรับการพัฒ นา เปนลําดับแรกในการเรียนภาษาแมและภาษาที่สอง โดยเฉพาะนักเรียน เพราะนักเรียนจะประสบ ความสําเร็จในการเรียนขึ้นอยูกับความเขาใจขณะที่ครูฟงบรรยาย และกิจรรมอื่น ๆ ในหองเรี ยน ซึ่งสอดคลองกับ ปเตอรสัน (Peterson. 1991 : 106, อางถึงใน กรรณิกา เครือทนุ. 2541 : 23) ที่ไดกุญแจสําคัญของความสําเร็จ ซึ่งจะนําไปสูความสามารถทางภาษาและทักษะดานอื่น ๆ


20 จากความสําคัญของการฟงขางตน สรุปไดวา การฟงเปนพฤติก รรมแรกที่สําคัญ ในการสื่อสารรับรูภาษา เรียนรูเรื่องราวตาง ๆ และความสามารถในการฟงที่มีประสิทธิภาพนําไปสู การพัฒนาทักษะอื่นได 3. ประเภทของการฟง มีนักการศึกษาหลายทาน ไดแบงประเภทของการฟง ไวดังนี้ สชิเคนดานซ และคณะ (Schickendanz, et al. 1997 : 29, อางถึงใน ทองสุข เกลี้ยง พรอม. 2531 : 19) ไดแบงการฟงไว 4 ประเภท คือ 1. การฟงแบบตั้งใจ (Attentive listening) เปนการฟงที่ตองกําจัด สิ่งรบกวน ใหหมดเพื่อเด็กจะไดสามารถมุงความสนใจไปในสิ่งที่ฟงอยางแทจริง 2. การฟงแบบวิเคราะห (Analytical listening) เปนการฟงในระดับใหความสนใจ เพื่อโตตอบดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง ผูฟงตองคิดอยางรอบคอบในขณะที่ฟง 3. การฟงแบบซาบซึ้ง (Appreciative listening) หรือแบบนันทนาการเปนการฟง เพื่อความเพลิดเพลิน เชนฟงละคร ดนตรี 4. การฟงแบบไมตั้งใจ (Marginal listening) เปนการฟงขณะที่ทํากิจกรรมอื่น เชน การฟงวิทยุในขณะทําการบาน กรรณิกา พว งเกษม (2535 : 48) ไดแบงการฟงไว 2 ประเภท ซึ่งเปนการฟง ในลักษณะการเรียนการสอนทั่วไป คือ 1. การฟงแบบใหนักเรียนนั่งฟงเพียงอยางเดียว(Passive learning) การฟงแบบนี้ นักเรียนจะนั่งเฉย ๆ ไมตองแสดงออก 2. การฟงแบบมีสวนรวม(Active listening) เปนการฟงที่สงเสริมใหนักเรียน แสดงออก เชนฟงคําสั่งแลวปฏิบัติ ฟงนิทานแลวแสดงทาทางประกอบ สรุปไดวา การฟงมี 2 ประเภท คือ 1) การฟงแบบตั้งใจ เปนการฟงที่เปาหมาย และมีส มาธิใ นการฟง 2)การฟงแบบไม ตั้ง ใจหรื อการฟง ทั่ว ไป ซึ่ง มีกิ จ กรรมอื่ น ร ว มอยู ดว ย ในการฟงอาจจะเปนการฟงอาจจะเปนการฟงโดยตรงจากผูพูดหรือฟงจากสื่อตาง ๆ เชนโทรทัศน วิทยุ เปนตน ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษครูควรจะจัดกิจกรรมใหนักเรียนฟงแบบตั้งใจ


21 4. การพัฒนาการฟง การที่ผูฟงจะมีความสามารถในการฟงเขาใจเรื่องราวและโตตอบไดถูกตองนั้น จะตองมีการพัฒนาการฟงเพื่อทําใหเปนผูฟงที่มีประสิทธิภาพ ไดมีนักการศึกษาใหแนวคิดในการ พัฒนาการฟง ดังตอไปนี้ ธิดา โมสิก รัตน (2534 : 212-213) และเฟรดเดอริกส (Fredericks. 1997 : 202) ไดกลาวถึง การพัฒนาการฟงทั่วไปและการพัฒนาการฟงที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอน ไวดังนี้ 1. สรางความกระตือรือรนในการฟง และฟงดวยความตั้งใจ 2. สรางอุปนิสัยและความสามารถในการฟงใหอยูในระดับที่ดีที่สุดเทาที่จะทําได 3. ฟงสิ่งตาง ๆ ใหจบ และจับประเด็นสําคัญในสิ่งทีฟ่ งใหได 4. ฝกหัดทั้งวัจนสารและอวัจนสาร 5. ศึกษาและเพิ่มพูนคําศัพทตาง ๆ ใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เฟรดเดอริกส ไดกลาวเพิ่มเติมวา ครูและนักเรียนควรวางจุดหมายของการฟง พรอม ทั้งจัดขั้นตอนการฟงและบรรยากาศใหเหมาะสมกับจุดมุงหมาย นอกจากนี้ครูควรใชเทคนิควิธีการ ที่จะชวยพัฒนาการฟงของนักเรียนดวยความเขาใจและจัดกิจกรรมหลังการฟง โรสท (Rost. 1991 : 7-8 ) ได กลาวถึง การพัฒ นาการฟง ที่เกี่ยวของกับผูสอน และผูเรียนวา 1. ครูควรใชภาษาอังกฤษในชั้นเรียนและเปดโอกาสใหนักเรียนพูดคุย เปน ภาษาอังกฤษ 2. ครูค วรสงเสริมใหผูเรียนมีอิสระในการฟงภาษาอังกฤษหลังจากการเรียน การสอนในหองแลว เชน พูดคุยกับชาวตางประเทศ ฟงภาษาอังกฤษจากสื่อตาง ๆ เปนตน 3. ครูควรใชอุปกรณการฟงที่มีประสิทธิภาพและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ นาสนใจ กระตุนใหผูเรียนแสดงออก 4. ครูจัดทําบทเรียนการฟงใหเปนการสอนฟงมากกวาการทดสอบ จากขอความการพัฒนาการฟง สรุปไดวา ผูฟงจะตองมีสมาธิ ความตั้งใจ ติดตาม เรื่องราวที่ฟงจนจบ สามารถสรุปประเด็นสําคัญและวิจารณเรื่องที่ฟงไดดวยความเขาใจ เหลานี้เปน ศิลปะในการฟง ดังนั้น ครูจะตองจัดกิจกรรมการเรียนที่มีความหมายและนาสนใจ เพื่อกระตุนให นักเรียนปรารถนาที่จะฟงดวยความตั้งใจและกระตือรือรน ในการฝกทักษะการฟงนักเรียนจะตองมี จุดมุงหมายในการฟง เพื่อใหนักเรียนฟงดว ยความเขาใจแลวจดจําสิ่งที่ไดจากการฟงไปพัฒนา


22 ทักษะอื่น ๆ ตอไป นอกจากนี้ครุและนักเรียนควรใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารกันพรอมกับเนนให นักเรียนมุงหาความรูจากการฟงนอกหองเรียน 5. ความสามารถในการฟง กระทรวงศึก ษาธิ ก ารไดกํ าหนดหลั ก สูต รวิช าภาษาอั งกฤษ ระดับ มัธ ยมศึก ษา พุทธศักราช 2539 ใหผูเรียนมีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารดวยการฟง พูด อาน เขียน ไดอยางถูกตอง ชัดเจน เหมาะสมกับระดับที่เรียนทั้งในดานการใชภาษาเขา สูสังคม และวัฒนธรรมพรอมกับมีเจตคติที่ดีตอการเรียน แตการที่จะเกิดความสามารถเชนนี้ ผูเรียนตองมี ความสามารถในการฟงใหเขาใจตั้งแตระดับคําตลอดจนขอความ แลวสามารถสรุปใจความสําคัญ ของเรื่องที่ฟงได จึงจะสามารถสื่อสารไดตามตองการ ฉะนั้นไดมีนักการศึกษา หลายทาน กลาวถึง ความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษ ไวดังนี้ โรสท ( Rost. 1991: 3-4, อา งถึ งใน นนทพร ภูว รัต น . 2546 : 9) ไดก ลา วถึ ง ความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษวาผูฟงตองมีทักษะตาง ๆ ดังนี้ 1. ทักษะดานการรับรู (Perceptive skills) คือ ความสามารถในการจําแนกเสียงตาง ๆ และจดจําคําที่ฟงได 2. ทักษะดานการวิเคราะห (Analysis skills) คือ ความสามารถในการจําแนกหนวย ทางไวยากรณ และสามารถจําแนกหนวยทางภาษาที่ควรนําไปใชได 3. ทักษะดานการสังเคราะห (Synthesis skills) คือความสามารถในการเชื่อมโยงตัว ชี้แนะดานภาษากับสวนอื่น ๆ และสามารถนําความรูเดิมมาใชประกอบ เพื่อใหเกิดความเขาใจใน การฟงไดอยางเหมาะสม บราวน และ ยูล ( Brown and Yule. 1988: 58, อางถึงใน กรรณิกา เครือทุน. 2541 : 25) ไดกลาวถึงความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษวา ผูฟงสามารถเขาใจความหมายของคําศัพท ที่อยูในขอความที่ไดฟงและตองเขาใจความสัมพันธของคําในประโยค เชน ตองเขาใจคําวา “He” หมายถึงใครในประโยค แลว สามารถสรุปอ างอิงเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงได พรอมกลาวเพิ่มเติมวา การที่ผูฟงจะเขาใจเรื่องที่ฟงนั้น ผูฟงตองใชความรูทางดานภาและความเขาใจในบริบทเพื่อตีความ สิ่งที่ไดฟง ขณะเดียวกันผูฟงสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ไดฟงมากอนกับขอความ ที่กําลังจะตามมา เขาดว ยกัน การใชค วามรูทั้งในดานภาษา บริบทในการฟงและการเชื่อมโยงขอความดังกลาว จะทําใหผูฟงเกิดความเขาใจในสิ่งที่ผูพูดออกมา พรอมกับชวยใหผูฟงสามารถทํานายในสิ่งที่ผูพูด ตั้งใจจะกลาวดวย


23 นอกจากนี้ ยั ง มี นั ก ก ารศึ ก ษา ท า นอื่ น กํ า หนดควา มสามารถในการฟ ง ภาษาตางประเทศ เปนระดับตาง ๆ ดังตอไปนี้ แวลเล็ท และดิสิค(Valette & Disick. 1972 : 141-142, อางถึงใน นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 10) ไดแบงระดับความสามารถในการฟงภาษาตางประเทศ เปน 5 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับทักษะกลไก เปนระดับที่ผูฟงสามารถแยกแยะความแตกตางระหวาง ภาษาแมกับภาษาตางประเทศจากเสียงที่ไดยิน โดยไมจําเปนตองเขาใจความหมาย 2. ระดับความรู เปนระดับที่ผูฟงเขาใจความหมายของบคําหรือประโยคที่ไดฟง แลวสามารถตอบสนองได 3. ระดับถายโอน เปนระดับที่ผูฟงสามารถฟงขอความยาว ๆ หลายประโยคและ เขาใจประโยคที่แตงขึ้นใหม โดยใชศัพทและไวยากรณที่เรียนมาแลว 4. ระดับสื่อสาร เปน ระดับที่ผูฟงเขาใจความหมายโดยทั่ว ไปของขอความที่ มี คําศัพทใหม โดยการคาดหมายตามประสบการณเดิมและสามารถฟงขอความที่พูดอยางรวดเร็วได เชน บทภาพยนตร รายการ วิทยุหรือโทรทัศน 5. ระดับวิพากษวิจ ารณ เปน ระดับที่ผูฟงเขาใจและแยกประเภทขอความที่ฟง พรอมความสามารถประเมินผลไดวา เปนภามาตรฐานหรือไม ตลอดจนเขาใจอารมณ ความรูสึก และความมุงหมายของผูพูด จากน้ําเสียงถอยคํา แฮรริส (Harris. 1974 : 32–40, อางถึงใน นนทพร ภูวรัตน. 2546 : 10) ไดจําแนก ความสามารถในการฟ ง ภาษาต า งประเทศออกเป น 2 ระดั บ รวมทั้ ง ให ตั ว อย า งลั ก ษณะ ของความสามารถในการฟงระดับตาง ๆ ดังนี้ 1. ความสามารถในการจําแนกเสียง ประกอบดวย 1.1 ความสามารถในการจําแนกเสียงคําโดด โดยสามารถจําแนกเสียงวาเหมือน หรือตางกันอยางไร หรือคําใดออกเสียงตางไปจากคําอื่น ๆ ที่ไดยิน 1.2 ความสามารถในการจําแนกคําที่มีอยูในขอความโดยสามารถจําแนกไดวา คําใดที่ไดยินในประโยคหรือขอความนั้นตรงกับรูปภาพใดหรือประโยดใด 2. ความสามารถในการเขาใจขอความที่ไดฟง ประกอบดวย 2.1 ความสามารถในการปฏิบัติตามประโยคคําสั่งที่ใหผูฟงปฏิบัติตาม 2.2 ความสามารถในการเลือกคําตอบใหตรงกับขอความที่ไดฟง 2.3 ความสามารถในการเข า ใจเรื่ อ งราวทั่ ว ไปที่ จํ า ลองสถานการณ ในชีวิตประจําวัน โดยผูฟงสามารถจดจําสาระสําคัญตาง ๆ ได


24 สรุปไดวา ความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษมีหลายระดับ ซึ่งความสามารถ ในการฟงระดับพื้นฐานเปนความสามารถในการจําแนกเสียงเปนคํา เปนประโยค และการแยกแยะ ความแตกต า งระหว า งภาษาแม กั บ ภาษาต า งประเทศ ส ว นความสามารถการฟ ง ที่ สู ง กว า ระดั บ พื้ น ฐาน เป น ความสามารถในการเข า ใจข อ ความที่ ฟ ง ได โดยสามารถนํ า ความรู เ ดิ ม มาเชื่อมโยงกับสิ่งที่ไดฟง แลวตอบสนองสื่อสารไดถูกตอง สําหรับการวิจัยนี้ ผูวิจัยไดกําหนดให นักเรียนมีความสามารถในการฟง ประโยคคําสั่ง เพลงดวยความเขาใจ 6. การสอนทักษะการฟงภาษาอังกฤษ การเรียนรูภาษาเพื่อการสื่อสารประกอบดวย 4 ทักษะ แตทักษะแรกของการเรียนรู ภาษาคือการฟง ซึ่ ง ระวิวรรณ ศรีครามครัน ( 2539 : 113) ไดกลาววาการสอนฟงเปนการฝก ทัก ษะในดานการฟง เพื่อใหผูเรียนสามารถฟงเสียงภาษาตางประเทศไดอยางเขาใจ คุน เคยกับ สํ า เนี ย งภาษาต า งประเทศและเข า ใจจุ ด ประสงค ข องผู พู ด ซึ่ ง ผู เ รี ย นจํ า เป น ต อ งฝ ก ทั ก ษะ ในดานการฟงเพื่อเปนผูที่มีความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษใหเขาใจเปนลําดับอยางตอเนื่อง ตั้งแตคํา วลี ประโยค จนถึงขอความและเนื้อเรื่อง นอกจากจะฟงไดอยางเขาใจแลวผูเรียนจะตอง สามารถระบุเนื้อหาหรือความหมายของสิ่งที่ไดยินมาอยางถูกตองอีกดวย ในการสอนทักษะการฟง กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดมุงหมายไวในหลักสูตร ภาษาอั งกฤษ พ.ศ. 2539 ว า ใหนั ก เรีย นสามารถฟ งประโยคคํา สั่ง /ขอรอง แลว ปฏิบัติ ต ามได ฟงคําถามแลวพูดตอบไดและใชการฟงแสวงหาความรูจากสื่อตาง ๆ ดวยความเพลิดเพลิน พรอมทั้ง เปนผูฟงที่ดี การสอนฟง เปนกระบวนการในการฝกฟงเสียงและสําเนียง ความถูกตองตามหลัก ภาษาและความเขาใจเรื่องราวที่ฟง จึงมีนักการศึกษาไดเสนอแนะวิธีการสอนทักษะการฟง ดังนี้ ทิพพดี อองแสงคุณ (2535 : 32 – 34 ) และระวิวรรณ ศรีครั่นคราม (2539 : 113 – 125) ไดกลาวถึง การสอนฟงวา ควรสอนไปตามลําดับงายไปยาก ดังนี้ 1. ฝก ทั ก ษะใหจ ดจํา และเข าใจความหมายของสิ่ ง ที่ ได ยิ น เชน การฟ งเสี ย ง พยั ญ ชนะ-คํ า เดี่ ย ว-วลี และประโยค โดยพยายามเชื่ อ มโยงคํ า ต า ง ๆ ที่ ไ ด ยิ น เป น กลุ ม คํ า ที่มีความหมาย 2. ฝก ทัก ษะใหผูเรียนคาดเดาเหตุก ารณใ นสิ่ งที่ไดยิน และจดจําเนื้อเรื่อง เชน การฟงเรี่องสั้น ๆ การฟงบทสนทนาหรือขอความตาง ๆ


25 นอกจากนี้ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540 : 156 – 160) และทิพพดี อองแสงคุณ (2535 : 35 – 37 ) ไดเสนอแนะลําดับขัน้ ตอนการสอนฟง ดังนี้ 1. ตั้ ง จุ ด ประสงค ผู ส อนควรตั้ ง จุ ด ประสงค ว า จะให ผู เ รี ย นทํ า อะไร โดยมี จุดประสงคปลายทาง (Terminal objective) และจุด ประสงคนําทาง(Enabling objective) ซึ่งเปน การกระตุนความสนใจของผูเรียนและใหผูเรียนรูจุดมุงหมายของการฝกทักษะการฟงและกิจกรรม ที่ตองกระทํา 2. การดําเนิน การสอน ผู สอนดําเนิน การสอนโดยจัด กิ จ กรรมใหส อดคลอ ง กับจุดประสงคการนําทาง มีเทคนิคและวิธีการชวนใหผูเรียนสนุกสนาน สนใจเรียน 3. การฝก ฟง ผูสอนดําเนิน การฝก โดยจัด กิจ กรรมใหสอดคลองกับจุดประสงค ปลายทาง และเปดโอกาสใหผูเรียนไดฟงซ้ํา ซึ่งจะฟงกี่ครั้งขึ้นอยูกับความยากงายของเรื่องที่ฟง ลักษณะงานที่ใหทํา และความสามารถของผูเรียน 4. การถายโอน ใหผูเรียนทําแบบฝกหัดหรืองานที่มอบหมายให หลังจากการฟง 5. ผูสอนใหคําติชมในงานของผูเรียน เชน เฉลยคําตอบหรือให ผูเรียนไดแกไข ขอผิดพลาดดวยตัวเอง อันเดอรวูด (Underwood. 1989 : 25–28) และสุไร พงษทองเจริญ (2535 : 117 – 121) ไดแนะนําการสอนทักษะการฟง ดังนี้ 1. การเตรียมการกอนการสอน เชน การเลือกบทเรียน การเตรียมเทป การเตรียม บทเรียนกอนสอน การวางแผนการสอน เปนตน 2. การวางขั้นตอนการสอน 2.1 กอนการฟง (Pre - listening) เปนการเตรียมตัวนักเรียนกอนที่จะฟงและทํา กิจ กรรมตาง ๆ เชน พูด เกี่ยวกับภาพ อภิปรายเกี่ยวกับเรื่องที่จ ะฟง อานเนื้อหาใหฟง ทบทวน บทเรียน สอนคําศัพทและโครงสรางที่สําคัญ เปนตน 2.2 ระหวางการฟง (While – listening or during listening) ในขณะที่นักเรียนฟง ควรมีกิจ กรรมต าง ๆ ใหทําเพื่ อแสดงวานัก เรี ยนฟงแลว มีค วามเขาใจ เชน ตรวจสอบสิ่งที่ฟ ง กั บ รู ป ภาพ จั บ คู ภ าพกั บ สิ่ ง ที่ ฟ ง จั ด ลํ า ดั บ รู ป ภาพตามเรื่ อ งที่ ฟ ง เขี ย นเครื่ อ งหมายถู ก /ผิ ด หนาขอความตามสิ่งที่ฟง เติมคําลงในชองวาง การทายเรื่อง เปนตน 2.3 หลัก การฟง (Post listening) เปน กิจ กรรมที่ค รูจัด ใหสอดคลองกับเรื่อง ที่ไดฟงไป เชน วิจารณอารมณของบุคคลหรือลักษณะนิสัยของบุคคลในเรื่องที่ ฟง สรุปเรื่องที่ฟง แสดงบทบาทสมมุติ เปนตน


26 จากแนวคิดขอเสนอแนะในการสอนฟง สรุปไดวา ครูตองเตรียมตัวนักเรียนกอน การฟง จัดกิจกรรมใหสอดคลองกับบทเรียน เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน และครูตอง กําหนดจุดประสงคการฟงใหชัดเจนเพื่อใหการฟงของนักเรียนบรรลุเปาหมาย แลวดําเนินการสอน ตามขั้นที่วางแผนไว โดยใชสื่อการสอนประเภทตาง ๆ เพื่อให น.ร.รูสึกผอนคลายและสนุกสนาน ในการเรียนทักษะการฟง ดังนี้ 1. การเรียงลําดับภาพ (Picture ordering) ผูเรียนดูจากภาพชุด แลวฟงคําบรรยายของ แตละภาพหรือฟงเรือ่ งทั้งหมด และนําภาพมาเรียงใหถูกตองตามคําบรรยาย 2. การทายอะไรเอย (What is it ? Technique) วิธีนี้ผูสอนจะบรรยายเกี่ยวกับของ สิ่งหนึ่งแลว ใหผูเรียนทายวาเปนอะไร โดยผูสอนจะคอย ๆ ใหขอมูลเพิ่มขึ้นทีละนอย ๆ 3. การฟงและเลือกคําตอบ (Listening and choosing) กิจกรรมนี้ผูเรียนจะฟงผูสอน บรรยาย และพยายามเลือกรูปที่ตรงกับคําบรรยาย จากรูปของชุดที่คลายคลึงกันแตมีความแตกตาง กันในบางรายละเอียด ซึ่งคําบรรยายไมควรจะสั้นเกินไปควรใหขอมูลอื่น ๆ ที่ไมตรงประเด็นนัก หรือที่เกี่ยวของเพียงเล็กนอย ทั้งนี้เพือ่ เปนการฝกทักษะการฟง 4. การเติมขอความ (Dicto - composition )ผูเรีย นจะได รับใบงานที่มีข อความ ไมสมบูรณ ฟงแลว เติมขอความที่หายไป ระยะการเวน คําที่หายไปนั้นขึ้นอยูกับผูสอนจะเลือก ตามความเหมาะสม ในการที่จะฝก ผูเรียนทํา Dicto-composition นั้น ผูสอนจะอานโดยใชขอ ความเร็วปกติ โดยไมมีการหยุดเวนระยะใหเติมคํา ผูฟงจะตองพยายามฟงคําที่หายไปใหได แลว เติมลงในชองวาง การอานนั้นอาจอาน 2-3 ครั้ง ขึน้ อยูกับความยากงายของเนื้อหาและความสามารถ ของผูเรียน การฟงเพลงในแบบ Dicto-composition นั้น ผูสอนควรเลือกเพลง ที่มีระดับ ความยาก งายเหมาะกับการเรียน คําที่ไมมีสํานวนเปรียบเทียบยากเกินไป เพลงที่เปนเรื่องราว มีเสียงชัดเจน เพื่อที่ผูเรียนจะไดจําคําในเนื้อเพลงนั้นได เมื่อเลือกเพลงไดแลวผูสอน นําเนื้อเพลง มาพิมพ โดยเวน คําบางคําหรือวลีไวเปดเทปใหผูเรียนฟง ผูเรียนจะตองพยายาม แกะเนื้อเพลง โดยถาผูเรียนยังไม เขาใจสํานวนหรือความหมายในเพลง ผูสอนก็ควรจะอธิบาย ใหฟงการใชเพลงในการฝกทักษะ การฟงนั้น เปนสิ่งที่ทําใหผูเรียนเกิดความตื่นเตน สนใจ ทําใหบรรยากาศของหองเรียนสนุกสนาน ขึ้น 5. การฟงเพื่อความเขาใจ (Listening comprehension) ผูเรียนจะตองเคยชินกับเสียง ตาง ๆ คําศัพท ตลอดโครงสรางของไวยากรณ ผูสอนควรคํานึงถึงหลักความจริง ที่วาในชีวิตจริง ผูเรียนจะไดฟงน้ําเสียงหรือสําเนียง ตลอดความเร็ว หรืออัตราการพูด ที่แตกตางกันไปของผูพูด ดังนั้น ในการฝกการฟงผูสอนควรจะใหผูเรียนฟงบทสนทนาเรื่องสั้น ๆ ไมวาจะเปนเสียงจากเทป หรือผูสอนเองในระดับเสียงจนตลอดความเร็วปกติที่เปนธรรมชาติ ไมควรพูดชาหรือเนนเกินไป


27 ในการฝก ฟงบทสนทนาหรือเรื่องสั้น หรือภาพยนตรนั้น ผูสอนไมค วรหวังที่ จะใหผูฟงเขาใจ ทั้งหมดแตใหเขาใจเปนสวนใหญ สําหรับการตั้งคําถามในเรื่องใหนักเรียนฟง ผูวิจัยพิจารณาตามหัวขอ ตอไปนี้ 1. รูปแบบของคําถาม - “Yes/No” questions - Alternative questions - “ wh – “ questions 2. รูปแบบของแบบฝกหัด - แบบถูกผิด (True/False ) - แบบที่มีตัวเลือกหลายตัว (Multiple choice )ควรประมาณ 3 – 4 ตัว - แบบเติมคําลงในชองวาง (Completion ) - แบบตอบไดอยางเสรี (Free answer) ซึ่งคําตอบอาจมีทั้งสั้นและยาว 3 . ลําดับกอนหลังในการถามคําถาม - ถามกอนฟง - ถามหลังจากฟง 4. ลําดับความสําคัญของเนื้อเรื่องที่จะไปตั้งคําถาม - จากงายไปยาก - จากเรื่องทั่ว ๆ ไป สูการเนนเรื่องโดยเฉพาะ 5. วิธีการตั้งคําถาม - ถามปากเปลา ใหตอบปากเปลา (Oral question answers) - ถามในรูปของขอเขียนและใหเขียนตอบ (Written questions written answers) เพลง เพลงที่มีความสัมพันธกับมนุษยตั้งแตแรกเกิด เชน เพลงกลอมเด็ก นอกจากนี้ยังมีเพลง ที่แ ต งไว สํ าหรั บ เด็ ก ๆ ร อ ง เกี่ ยวกั บ สัต ว บ าง เกี่ย วกั บสุ ข ภาพ เกี่ย วกั บเทศกาลต าง ๆ เช น สงกรานต วัน เกิด วั น คริสตมาส เปน ต น เพลงแตละเพลงจะมีลีลาและทว งทํานองที่ตางกั น ทั้งน้ําเสียงและความรูสึก ของผูรอง ซึ่งทําใหผูฟงเกิด อารมณคลอยตาม และสนุก สนานซึ่งใน ปจจุบันไดนําเพลงมาใชในการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น เห็นไดจากงานวิจัย เทปเพลงการศึกษา เปนตน


28

1. ความหมายของเพลง คําวา “เพลง” ไดมีนักดนตรีและนักการศึกษาใหความหมายไว ดังนี้ ชินโอสถ หัสบําเรอ (2530: 33 - 35) ไดกลาวถึงความหมายของเพลงตามพจนา นุ กรมวา เพลง (น.) หมายถึง ลํานํา ทํานอง คําขับรอง ทํานองดนตรี เปนตน ชื่อการรองเพลงแกกันมี ชื่อ ต าง ๆ กัน เช น เพลงปรบไก เพลงฉ อย เพราะฉะนั้น คํ าวา เพลงนี้ จึงตรงกั บ Song ในภาษาอังกฤษ สวนวิจิตรา เจือจันทร (2533 :28) ไดใหความหมายของเพลงวา เพลงหมายถึง บท ประพันธที่มีทํานองใชขับรอง หรืออาจจะมีดนตรีประกอบดวยเพลงเปนศิลปะที่มีคุณคาของทุกคน เปนสิ่งจรรโลงใจทําใหบุคคลเกิดอารมณคลอยตามไดโดยงาย 2. ความสําคัญของเพลง เพลงมีความสําคัญตอจิใจผูฟง ใหความบันเทิงและลดความเครียด ผอนคลายอารมณ ทําใหเกิดมนุษยเกิดสุนทรีภาพทางอารมณ ไดมีนักการศึกษากลาวถึงความสําคัญของเพลง ดังนี้ หนวยงานศึกษานิเทศน (หนวยศึกษานิเทศ กรมพลศึกษา. ม.ป.ป. : 17-19, อางถึงใน วราภรณ วราธิพร. 2543 : 12 ) ไดกลาวแสดงวา เพลงเปนเครื่องพัฒนาอารมณใหเบิกบานแจมใส เสียงและทํานองของเพลงเปนการแสดงออกถึงความเชื่อชมยินดีหรือเศราโศก เสียใจ การรองเพลง เปน การใหค วามสุข และความพึงพอใจทั้งผูรองและผูฟง การรองเพลงชวยบํารุงสุขภาพทั้งกาย และจิต สนั่น มีขันหมาก (2529 : 1, อางถึงใน วราภรณ วราธิพร. 2543 : 14) ไดกลาวถึง ความสําคัญของเพลงวา มีบทบาทตอชีวิตของเราเพลงกับชีวิต มีความสําคัญใกลชิดเปน อันหนึ่ง อันเดียวกับมนุษยมาตั้งแตเกิด เสียงเพลงเกิดจาการสรางสรรคของคนนักการศึกษาที่ชาญฉลาด จึงนําเพลงมาเปนสื่อในการศึกษาทั้งที่เปนสื่อหลักและการเสริมพลังที่ครูนํามาใชในการสอน 3. ประโยชนการใชเพลงประกอบการเรียนการสอน เพลงสามารถใชประกอบการสอนไดหลายสาขาวิชา ดังนี้ ศิลปศึกษา บทเพลงชวยเราอารมณใหเกิด ความคิดสรางสรรคทางศิลปและสราง เสริมจินตนาการใหแกเด็กในการวาดภาพ พลศึกษา บทเพลงทําใหเด็ก ๆ ไดมีโอกาสแสดงทาทางและเคลื่อนไหวเพื่อชวยใน การตอบสนองทางกาย


29 ภาษาอังกฤษ บทเพลงสวนมากจะมีเนื้อเพลงซ้ํา ๆ เพื่อนักเรียนจะไดฝกฟงและออก เสียงภาษาอังกฤษ เชน เพลง Row Row Your Boat วิทยาศาสตร มีบทเพลงที่เกี่ยวกับธรรมชาติทําใหเด็ก ๆ ไดเรียนรูปรากฏการณ ตาง ๆ เชน เมฆ ฝน ทะเล ศิลปะภาษา เราสามารถนํากลอนมาใสทํานอง ทําใหเปนบทเพลงได นอกจากนี้การ อานเนื้อเพลงนัวเปนการสรางประสบการณ ทางดานทักษะ และความเขาใจเรื่องการออกเสียงทาง ภาษาได สังคมศึกษา บทเพลงชวยใหเขาใจศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีของแตละชาติ ได และยังชว ยบอกสัญลัก ษณภูมิประเทศ ประวัติศาสตรและความรัก ชาติข องชนชาติตาง ๆ ตลอดจนชว ยพัฒ นาบุค ลิก ภาพและเปน สิ่งผ อนคลายความตึง เครียดใหแ กผูเ รียนได (วิจิ ต รา เจือจันทร. 2533 : 32) กรมวิชาการ (2539: 270) ,ดวงเดือน แสงชัย (2533 : 48) และกริฟฟ (Griffee. 1992 : 4-6) ไดกลาวถึงประโยชนของเพลงในดานกิจกรรมการเรียนการสอนและอารมณวา 1. สรางบรรยากาศในการเรียนใหส นุก สนาน ลดความเครีย ดระหวางครูกั บ นักเรียน เพลงชวยหลอหลอมลักษณะนิสัย จิตใจ ของนักเรียนใหออนโยน 2. ชวยพัฒนาความคิดสรางสรรค บุคลิกภาพและดานสังคมของนักเรียน 3. ใชนําเขาสูบทเรียน สรุปบทเรียนหรือทบทวนบทเรียนเปนการย้ําสิ่งที่เรียน ไปแลว เชน คําศัพท รูปประโยค กฎไวยากรณบางเรื่อง เชน เกี่ยวกับ กาล (Tense) ตาง ๆ เปนตน นอกจากนี้ ใ นเพลงจะมี คํ า ที เ ป น แสลง (Slang) เป น สํ า นวน (Idioms) ซึ่ ง เป น ภาษาพู ด ในชีวิตประจําวัน 4. พัฒนาทางภาษา ซึ่งเปนการฝกการฟงใหเขาใจขอความในเนื้อเพลง พรอมทั้ง เปนการฝกการออกเสียง เชื่อมคํา และจังหวะไปในตัว ทําใหเด็กเกิดความภาคภูมิใจที่สามารถรอง เพลงได จึงเปนการปลูกฝงใหเด็กมีทัศนคติที่ดีตอการเรียนภาษาอังกฤษและชวยสงเสริมใหการ เรียนดีขึ้น 5. เพลงใหความรูหลากหลายแกนักเรียน เชน วัฒนธรรม สถานที่สําคัญ วันสําคัญ เปนตน และใชเพลงเปนจุดเริ่มตนในการสนทนา หรืออภิปรายเนื้อหาที่บรรจุอยูในเพลง เจียรนัย พงษศิวาภัย (2539 : 103 -104) ไดกลาววา การนําเพลงมาประกอบการสอน ในชั้ น เรียนจะชว ยทํา ให ผูเรี ยนเกิด ความสนุก สนาน ไม เบื่ อหน าย โดยคิ ด ว า การเรีย นภาษา เป น กิ จ กรรมที่ ส นุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น ทํา ให ผู เ รี ย นเข า ใจซาบซึ้ งกิ น ใจและจดจํ า ไว ไ ด น าน ดังจะเห็นไดวา เราจะพบประโยคและสํานวนที่อยูในเพลงมาพูดคุยกัน เชน


30 -Come and sit by my side if you love me. -Don’t think too much it’s all right. -Please release me and let me go. สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540 : 101-103) ไดกลาวถึงประโยชนการเรียนรูจากเพลงวา ทําใหผูเรียนมีความสามารถในสิ่งตอไปนี้ 1. เขาใจเรื่อง จับประเด็นสําคัญ และโอนสิ่งที่รูใหคนอื่นฟงตอไปได 2. จําแนกและวิเคราะหได คือ ฟงแลว สามารถบอกไดวาอะไรเปนเหตุ อะไรเปน ผล ขอเท็จจริงเปนอยางไร และสวนใดที่บอกความรูสึกนึกคิด 3. ตีความได บางครั้งเนื้อหาสาระที่ฟงไมไดบอกไวอยางชัดเจน มีค วามหมาย ซอนเรนอยู ผูฟงก็สามารถตีความของสิ่งที่ซอนเรนอยูไดอยางถูกตอง 4. วิจารณได คือ เมื่อฟงแลว สามารถบอกไดวา ขอความที่ฟงนั้น มีขอดี ขอเสีย อะไรบางฟงแลวไดรับประโยชนอะไรบาง สรุปไดวา เพลงมีประโยชนทางดานรับความรูสึกจอกเพลงและเรียนภาษาอังกฤษ จากเพลงดวยความสนุกสนาน ดังนั้นครูสามารถนําเพลงไปสอดแทรกไดเกือบทุกวิชา 4. ลักษณะของเพลงประกอบการเรียนการสอน เพลงที่ จ ะทํ า ให นั ก เรี ย นสนใจสนุ ก สนาน ควรจะมี ลั ก ษณะของเนื้ อ เพลง ที่เกี่ยวของกับสิ่งตอไปนี้ 1. บทเพลงเกี่ย วกั บบ านและโรงเรี ยน บทเพลงเกี่ย วกั บคน โดยเฉพาะเพลง ทีส่ ามารถเติม ชื่อของตน ชื่อของเพื่อน ๆ ลงไปได 2. บทเพลงที่เด็กไดมีโอกาสตบมือ เขาจังหวะ และแสดงทาทางตาง ๆ 3. บทเพลงที่ กํ า ลั ง เป น ที่ นิ ย ม ซึ่ ง ได ยิ น มาจากโทรทั ศ น วิ ท ยุ หรื อ บทเพลง ในภาพยนตร การโฆษณา 4. บทเพลงเกี่ยวกับเทศกาล ฤดูกาล และวันผักผอนตาง ๆ 5. บทเพลงทีส่ ามารถแสดงเปนเรื่องราวได หรือ เปนกิจกรรมบทบาทสมมุติ เชน เพลงเกี่ยวกับการทักทาย การกลาวลา (วิจิตรา เจือจันทร. 2533 : 32, อางถึงใน ภิญโญ บุญทอง. 2528 : 132) นอกจากนี้ ประนอม สุรัสวดี ( 2541 : 33 ) ไดกลาวถึงการเลือกเพลงที่นํามาเปนสื่อวา ครูตองคํานึงถึงความยาก-งายของเพลง เชนเกี่ยวกับคําศัพทใหม เนื้อหาและหลักสูตร ทวงทํานองที่ งายตอการรองและจดจํา เปนตน


31 สรุปไดวา ลักษณะของเพลงที่นํามาประกอบการสอนฟง เปนเพลงที่มีทวงทํานอง สนุกสนานเนื้อรองไมยากเหมาะสมกับนักเรียนและเนื้อหาในบทเรียน 5. การนําเพลงไปใชในการเรียนการสอนฟงภาษาอังกฤษ การนําเพลงไปใชในการสอนฟงภาษาอังกฤษ ซึ่งกลาวไดวาเพลงเปนสื่อการสอน ที่สําคัญประเภทหนึ่งในวิชาภาษาอังกฤษที่นักเรียนมีโอกาสฟงเสียงเจาของภาษาที่นอกเหนือจาก สื่อชนิด อื่น ๆ ครูสามารถใชเพลงประกอบการสอนภาษาอังกฤษ เปน การมุงเนน ทัก ษะการฟง ไดเปนอยางดี ขณะเดียวกันก็ไดฝกทักษะการพูด การอานและการเขียนดวย เชนเดียวกับครูสามารถ นําเพลงไปใชใ นการนําเขาสูบทเรียน สรุปบทเรียนทบทวนคําศัพท รูปประโยคกฎเกณฑทาง ไวยากรณ เปนตน ซึ่งเปนการสรางบรรยากาศที่ดีและเปนกันเองกับนักเรียนทําใหนักเรียนมีเจตคติ ที่ดีตอการเรียนภาษาอังกฤษ 5.1 จุ ด มุ ง หมายในการนํ า เพลงไปใช ใ นการเรี ย นการสอนฟ ง การนํ า เพลง มาประกอบการสอน ครูตองมีจุดมุงหมายที่เหมาะสมกับแผนการสอนและวัยของนักเรียน ซึ่งมี นักการศึกษาไดกลาวถึงการนําเพลงมาประกอบการสอน ดังนี้ ศิธร แสงธนู และคิด พงศทัด (2521 : 108, อางถึงในนนทพร ภูวรัตน. 2546 : 17) ไดสรุปจุดมุงหมายในการสอนเพลงไว ดังนี้ 1. เพื่อใหนักเรียนรูสึก วา บทเรียนมีค วามหมาย นาสนใจ นาสนุก เปน การ ปลูกฝงทัศนคติที่ดีตอการเรียนภาษาอังกฤษ 2. เพื่อย้ําและทบทวนสิ่งที่เรียนไปแลว เชน แถบประโยค คําศัพท หรือการ ออกเสียงใหนักเรียนจําไดดียิ่งขึ้น 3. เพื่อใหนักเรียนไดฝกการออกเสียงมากขึ้นโดยไมเกิดความเบื่อหนาย เชน เสียงสระพยัญชนะเสียงเชือ่ มคํา เชื่อมประโยค และจังหวะ เปนตน เจีย รนั ย พงษศิ ว าภัย ( 2539 : 101-102 ) และแอบบอ ต (Abbott.2002 : 10) ไดก ลาววา การเรียนภาษาจากเพลงเปน การมุงเนนทัก ษะการฟงพรอมทั้งไดฝก ทัก ษะการพูด การอ า น และการเขี ย นในขณะเดี ย วกั น ด ว ย ดั ง นั้น ผู ส อนควรทราบจุ ด มุ ง หมายของการฟ ง 3 ประการคือ 1. ฟงเพื่อความเพลิด เพลิน ไดแก การฟงเรื่องราวที่สนุก สนาน ชวนใหเกิด ความนึกฝนหรือจิน ตนาการ ผูฟงฟงแลวเกิดความสุข ความบันเทิง ผอนคลายความตึงเครียด ตลอดจนคลายความวิตกกังวล


32 2. ฟงเพือ่ ความรูเนนเนื้อหาวิชา คือ การฟงเรื่องราวที่เกี่ยวกับวิชาการ ขาวสาร และขอแนะนําตาง ๆ ซึ่งผูฟงจะตองใหเขาใจ ใชความคิดและจดจําสาระสําคัญ 3. ฟงเพื่อใหไดรับคติชีวิตหรือความจรรโลงใจ การฟงประเภทนี้ มีความสําคัญ ตอการดํารงชีวติ ประจําวันมาก เพราะผูฟงจะตองใชวิจารณญาณเลือกเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อและรูจัก ปฏิเสธในสิ่งที่ตนไดพิจารณาแลวไมถูกไมควร เปนการชวยใหผูฟงมีแนวทางดําเนินชีวิตที่ดีงาม และเปนไปในทางสรางสรรคเพื่อประโยชนแกตนเองและสังคม สรุปไดวา เพลงเปน สิ่งเรา อยางหนึ่ง ที่ทําให เกิ ด ความสนุ ก สนาน กระตุน ให นักเรียนอยากเรียนรู ซึ่งครูตองตั้งจุดมุงหมายในแตละครั้งวา ตองการใหนัก เรียนฟงเพื่อความ เพลิดเพลิน เพื่อทบทวนสิ่งที่เรียนไปแลว เพื่อฝกการออกเสียง หรือเพื่อเนื้อหาวิชาการ เปนตน 5.2 กิจกรรมการใชเพลงในการเรียนการสอน นักวิชาการไดเสนอแนะกิจกรรม เพลงในชั้นเรียน ดังนี้ เจียรนัย พงษศิวาภัย (2539 : 52)ไดกลาววา ครูควรใชเพลงเปนเครื่องมือเพิ่มพูน ประสบการณ โดยจัดกิจกรรมตาง ๆ เชน 1. เลาเรื่อง หรือเลาเรื่องที่สรางขึ้นมาใหมเกี่ยวกับเพลง 2. เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับเพลง 3. ดัดแปลงเนื้อหาเปนบทสนทนาสั้น ๆ 4. นําแบบประโยคในเพลงไปสรางประโยคใหม 5. หาคําใหมมาแทนในเพลงหรือนํา ประโยคดี ๆ มาเปน การฝกโครงสราง ทางไวยากรณ 6. แสดงทาทางประกอบจังหวะ 7. สนทนาซักถามเกี่ยวกับเนื้อเพลงเหมือนกับ ถาม-ตอบ ในการอานเพื่อความ เขาใจ 8. เขียนเนื้อเพลงลงสมุด ซิลวา (Silva. 2002 : 1-3) ไดก ลาวถึงการสอนภาษาอังกฤษดวยเพลงวา เปนการศึกษาเพื่อความเพลิดเพลิน (Edutainment ) โดยการจัดกิจกรรมเพลงในลักษณะ ดังนี้ 1. ฟงเพลงแลวเติมคําที่ขาดหาย หรือใหนักเรียนแกคําที่เขียนผิดแลวเขียนให ถูกตอง 2. เรียงลําดับเนื้อเพลง 3. ใชเพลงผอนคลายอารมณ ขณะนักเรียนทําขอสอบ โดยการเปดเพลงเบาๆ 4. ใชเพลงในกิจกรรมละลายพฤติกรรม สรางมิตรภาพ


33 5. ใหนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับความหมายของเพลง แอบบอต (Abbott. b2002 : 15 ) ไดกลาวเพิ่มเติมวา ครูควรเปดเพลงใหนักเรียน ฟงอยางนอย 3 ครั้ง และถามนักเรียนเกี่ยวกับความรูสึกที่ไดฟงเพลงนั้นหรือการใชคําในเนื้อเพลง แมกระทั่งเสียงเครื่องดนตรีที่บรรเลงครูก็ถามนักเรียนไดเชนเดียวกัน ดังนั้น จึงกล าวได วา การนํา เพลงมาเปน สื่อการจัด กิ จ กรรมการฟงเหมาะสม อยางยิ่งเพราะการจัดกิจกรรมดวยเพลงจัดไดหลากหลาย ซึ่งเปนการเรียนภาษาดวยความเพลิดเพลิน และสรางบรรยากาศที่กอใหเกิด การเรียนรูภ าษา ในการจัด กิจ กรรมก็ตองจัด ใหเหมาะสมกั บ นักเรียนและเนื้อหาของภาษาที่นักเรียนเรียน 5.3 ขั้นตอนการสอนเพลงประกอบการเรียนการสอนฟงภาษาอังกฤษ ในปจ จุบัน เพลงประกอบบทเรี ยนภาษาอั งกฤษมีปริ มาณเพิ่มขึ้ น และความ แตกตางของทํานองมากขึ้น ซึ่งสามารถคัดเลือกนํามาใชประกอบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ไดเปนอยางดี ไดมีนักการศึกษาเสนอแนะขั้นตอนการสอนเพลงประกอบการเรียน ดังนี้ แกรม (Graham. n.d. 1998 : 34, อางถึงใน วราภรณ วราธิพร. 2543 : 21) ไดกลาวถึงการใชเพลงประกอบการสอน ดังนี้ 1. ทบทวนหรือแนะนําโครงสรางไวยากรณที่ปรากฏอยูในเพลงหรืออธิบาย เนื้อหาของเพลงโดยใชอุปกรณ (Visual aids) หรือแสดงทาทาง (Action) และคําที่พองรู ปหรือ พองเสียง ตลอดจนคําที่สัมผัสกัน 2. เปดเพลง 1 รอบ ครั้งแรกเพื่อใหนักเรียนคุนเคย 3. กอนจะเปด โอกาสใหนักเรียนเห็นเนื้อเพลงทั้งหมด ควรนําเสนอเพลง ที่ละบรรทัด รองแตละบรรทัดและใหนักเรียนรองตาม ควรบันทึกเพลงทิ้งชวงแตละบรรทัด 4. แจกเนื้อเพลงใหกับนักเรียน เปดเพลงอีกครั้งแตตน ในชวงแรกใหนักเรียน อานเนื้อเพลงตาม เพื่อใหเกิดความคุน เคยกับจังหวะ ทํานอง จากนั้นเปดเพลงหลาย ๆ ครั้ง และ ชักชวนใหนักเรียนรองเพลงดวย 5. หลังจากที่นักเรียนสามารถจับทํานองเนื้อรองไดแลว นักเรียนก็สามารถรอง ไปกั บ ดนตรี ที่ ไ ม มี เ นื้ อ ร อ ง หรื อ คาราโอเกะได ในช ว งแรกนั ก เรี ย นควรร อ งเป น กลุ ม เมื่อมีความมั่นใจมากขึ้นจึงใหรองเปนคูหรือรองเดี่ยว การใชดนตรีไมมีเนื้อรองหรือคาราโอเกะนั้น สามารถนํามาใชไดอยางหลากหลาย เชน ใหนัก เรียนแตงเนื้อร องเพิ่มเติ มหรือเปลี่ยนแปลงไป จากเดิม 6. นําเนื้อ รองมาสรา งกิจ กรรม เป ด โอกาสให นัก เรีย นทํา กิจ กรรมตา ง ๆ รวมกับเพลง


34 เจียรนัย พงษศิว าภัย (2539 : 105-106) ไดก ลาวถึงขั้น ตอนการสอนเพลง มีองคประกอบ 3 ประการ ดังนี้ 1. การเลือกเพลง การเลือกเพลงถือเปนเรื่องสําคัญมากเพราะถาเพลงที่ใชใน การเรียนไมเหมาะสม ผูเรียนจะขาดความสนใจ ทําใหการเรียนการสอนไมประสบผลสําเร็จ ใน การเลือกเพลงจะตองคํานึงถึง - ระดับชั้น วัย และความสามารถของผูเรียน - ความไพเราะ จังหวะของเพลง ไมเร็วหรือชาเกินไป - ภาษาไมยาก คําที่อยูในเพลงชัดเจนและมีความหมาย - เปนเพลงที่ผูฟงแลวเกิดความรูสึกและจินตนาการใกลเคียงกันสามารถ รองตามได 2. การดํ า เนิ น การสอน การดํ า เนิ น การดํ า เนิ น การสอนมี ห ลายรู ป แบบ สามารถปรับแตงใหเขากับบรรยากาศของชั้นเรียนได ดังนี้ - แจกเนื้อเพลงแลวอธิบายศัพท สํานวนหรือโครงสรางทางไวยาการณ ที่จําเปน - เปดเพลงใหฟงพรอมทั้งดูเนื้อเพลงตามไปดวย - เป ด เพลงให ฟ ง เป น ครั้ ง ที่ 2 ถ า ต อ งการให ผู เ รี ย นทํ า ท า ประกอบ หรือรองตาม - ถามคําถามทั่ว ๆ ไป เพื่อใหผูเรียนมีโอกาสฝกทักษะฟง พูด เชน - What’s the feeling of the song ? (Happy, Angry, Lonely or Sad ) - What’s The song about ? (Love, War, Misunderstanding) 3. การประเมินผล - เก็ บ เนื้ อ เพลงที่ แ จกไปครั้ง ที่ แ รกคื น มา แล ว แจกเนื้อ เพลงที่ ผู ส อน เตรียมเวนคําที่เหมาะสมวางไว เพื่อใหนักเรียนเติมขณะที่เปดเพลงใหฟงอีกครั้งหนึ่ง - ถามคําถามจากเนื้อหาของเพลง (Comprehension) คําถามนี้อาจเปน แบบตอบปากเปลา หรือแบบใหเลือกตอบ (Multiple choices)หรือแบบเติมคําหรือขอความให สมบูรณ (Completion) - อาจเปนคําถามปลายเปด (Open – ended questions) เพื่อใหผูเรียนได อภิปรายแสดงความเห็น (Opinions) นัก เรียนทุกคนตองพยายามหาเหตุผลมาสนับสนุน ความ คิดเห็น ของคนโดยไมมีการตัดสินวาความคิดเห็นของนักเรียนคนใดผิดหรือของคนใดถูก และ ผูสอนเปนเพียงคอยควบคุมชั้นเรียนเทานั้น


35 จากขอเสนอแนะในการจัดขั้นตอนการสอนเพลงสรุปไดวา ครูตองคัดเลือกเพลงให เหมาะสมกับเนื้อหาแลวเริ่มดวยการฟงเพลง อานเนื้อรอง ใหนักเรียนทําความเขาใจความหมายของ เพลง ฝกการรองเพลง ทําใหกิจกรรมเกี่ยวกับเพลง เชน แสดงทาทางประกอบการฟง ทําแบบฝกหัด จากเนื้อเพลง งานวิจัยที่เกี่ยวของ สุปราณี กัลปนารถ (2533 : 40) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา นักเรียนที่เรียนวิชาภาษาไทยโดยไมใชเพลง ประกอบการสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนวิชาภาษาไทยโดยไมใชเพลง ประกอบการสอน รองเนื อ ง ศุ ข สมิ ติ (2537: 47) ได ศึ ก ษาผลของการใช เ พลงเสริ ม บทเรี ย นวิ ช า ภาษาอังกฤษที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานครพบวา นักเรียนที่สอนโดยใชเพลงเสริมมีผลสัมฤทธิ์สูงกวานักเรียนที่สอนตาม คูมือครู อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคาน้ําหนักผลกระทบ (Effective size) เทากับ .80 วราภรณ วราธิพร (2543 : 47) ไดศึกษาการใชเพลงปะกอบการสอน เพื่อสราง แรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษและพัฒนาความสามารถดานการฟงและการพูดของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โปรแกรมสองภาษา ผลที่ไดรับคือ นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ โดยการใช เ พลงประกอบการสอนเพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 18.6 ความสามารถด า นการฟ ง และพู ด ภาษาอังกฤษของนักเรียนเพิ่มขึ้นรอยละ 24 ฮาหน (Harn. 1973 , อางถึงใน รองเนือง ศุข สมิติ . 2537 : 21) ไดนําเพลงไปใช ในการสอนภาษาเยอรมันและพบวา เพลงเปนสื่อที่ชวยใหเกิดการเรียนรู และทําใหนักเรียนสามารถ จําคําศัพทภาษาเยอรมันไดอยางมีประสิทธิภาพ จอลลี่ (Jolly. 1978, อางถึงใน รองเนือง สุขสมิต.ิ 2537: 21 ) ไดศึกษาและทดลอง พบว าเพลงมี อิท ธิ พ ล อยา งจริ ง จั งในการสอนออกเสีย ง (Pronunciation) ศั พ ท สํ านวน และ โครงสรางทางไวยากรณ รวมทัง้ ความเขาใจในความสัมพันธของวัฒนธรรมและภาษาที่ใชในเพลง ดว ย และจากการสํ ารวจความเห็ น ของนั ก เรีย นร อ ยละ 91 มี ค วามเห็ น พ องตอ งกั น ว า เพลงมี ประโยชนสามารถตอบสนองความตองการทั้งดานจิตวิทยาและการศึกษา สวนทางดานอารมณ


36 เพลงทําใหเกิด การผอนคลายและสรางบรรยากาศที่สนุก สนาน รื่น รมยลดความเบื่อหนายใน หองเรียนซึ่งสงผลทําใหเกิดความอยากเรียนมากขึ้น สึมิเอะ (Sumie. 2001, อางถึงใน อุไรวรรณ ปราบริปู (2543 :43 ) ไดนําเพลงไปใช กับนักเรียนอาชีวะที่ตองการสอบภาษาอังกฤษเพื่อรับประกาศทางภาษา เชน TOEIC พบวา การฟง เพลงเปนวิธีการที่ดีในการฝกฟง เพื่อการออกเสียงใหถูกตอง นอกจากนี้เพลงยังเปนสื่อที่กระตุนให นักเรียนตองการเรียนภาษาอังกฤษจากการฟงเพลงและเรียนดวยความสนุกสนานซึ่งแตกตางจาก กอนหนาที่ไมไดใชเพลง กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตน

ตัวแปรตาม

กิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษจากเพลง

ความสามารถดานการฟง

ภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย สมมุติฐานการวิจัย 1. ผูเรียนมีความสามารถดานการฟงเพิ่มขึ้น


37

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ในการวิ จัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนิน การวิจั ยเพื่อ เพิ่ มความสามารถด านการฟ งโดยใช กิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษจากเพลงของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ โดยมีวิธีดําเนินการวิจัยและรายละเอียดดังนี้ 1. แบบของการวิจัย 2. ประชากร 3. การเลือกตัวอยางและแผนการสุมตัวอยาง 4. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 5. การเก็บรวบรวมขอมูล 6. การวิเคราะหขอมูล แบบของการวิจยั การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง ( Quasi experimental research ) ประชากร ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปที่ 2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ 2 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ซึ่งกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 3 หองเรียน นักศึกษา 62 คน การเลือกตัวอยางและแผนการสุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง เปนนักศึกษาระดับประกาศนียบัต รวิชาชีพชั้น สูงปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึก ษา 2550 โรงเรียนเทคนิค วิม ลบริหารธุร กิจ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร จํานวน 1 ห อ งเรี ย น นั ก ศึ ก ษาจํ า นวน 18 คน ซึ่ ง ใช ก ารสุ ม ตั ว อย า งแบบกลุ ม (Cluster sampling) ดวยการจับสลากจาก 3 หองเรียน มา 1 หองเรียน


38 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการทดลอง มีดังนี้ 1. แผนการสอน 2. แบบทดสอบวัดความสามารถดานการฟง 3. แบบบันทึกพฤติกรรมดานการฟง แผนการสอน เป น แผนการสอนโดยใช เ พลงเป น สื่ อ ในการจั ด กิ จ กรรมการฟ ง ซึ่งนักศึกษาจะไดฟงเพลงจากเทปโดยเจาของภาษา จํานวนแผนการสอนทั้งหมด 6 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 60 นาที รวม 12 ชั่วโมง มีขั้นตอนการสรางดังนี้ 1. วิเคราะหเนื้อหา คัดเลือกเพลงใหตรงตามจุดประสงคการเรียน 2. ศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง 2546) วัต ถุประสงค โครงสร าง และแนวทางการจั ด การเรีย นการสอนวิช า ภาษาอังกฤษ 2 ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 3. ศึกษาหนังสือ English II ที่ใชเปนแบบเรียน 4. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับเพลงในการประกอบการสอนภาษา จากหนังสือ Internet และเอกสารตาง ๆ เพื่อนํามาปรับใหสอดคลองกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของวิชาภาษาอังกฤษ II 5. สรางแผนการสอนโดยใชเพลงเปนกิจ กรรมการฟง ใหเหมาะสมกับเนื้อหา ในแตละแผนการสอน ประกอบดวย 5.1 กิจกรรมกอนการฟง (Pre – listening activities) เพื่อสรางความพรอมของ นักศึกษากอนการฟงจริงและใหนักศึกษาไดใชความรูเดิม เดาเรื่องราวกอนที่จะฟงจริง 5.2 กิจกรรมระหวางการฟง (While – listening activities) ใหนักศึกษาฟงเพลง เปนการฝกทักษะการฟงดวยความเขาใจ เพื่อใหนักศึกษาบรรลุจุประสงคของการฟง 5.3 กิจกรรมหลังการฟง (Post – listening activities) เปนการชวยใหการฟง ของนักศึกษาบรรลุจุดประสงค และติดตามผลหลังจากการฟงของนักศึกษา 6. ตรวจหาความเที่ย งตรงของแผนการสอนโดยใหผูเ ชี่ยวชาญตรวจ แลว นํ า แผนการสอนมาพิจารณาแกไขปรับปรุง


39 แบบทดสอบความสามารถดานการฟง แบบทดสอบวัด ความสามารถดา นการฟงใชวั ด ก อนและหลั งการทดลอง เพื่ อวั ด ความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษเปนรายบุคคล ซึ่งลักษณะขอสอบเปนปรนัย มี 3 สวน ดังนี้ สว นที่ 1 ใหนัก ศึ ก ษาฟงเทป เกี่ย วกับการนัด หมาย ระหวางที่ฟงใหนัก ศึก ษา ทําเครื่องหมาย √ ลงในชองที่สัมพันธกับบุคคลนั้น ขอสอบสวนนี้มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน สวนที่ 2 ใหนักศึกษาฟงบทสนทนา แลวเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดในแตละขอสอบ สวนนี้มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน สวนที่ 3 ใหนักศึกษาฟงเพลง แลวเขียนเติมคําที่หายไปในแตละขอสอบสวนนี้มี คะแนนเต็ม 15 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมด 35 คะแนน วิธีการสรางแบบทดสอบ มีดังนี้ 1. ศึ ก ษาวิ ธี สร า งแบบทดสอบจากหนั ง สื อ Understanding and Developing Language Tests ( Weir. 1993 ) การทดสอบและประเมินผลการเรียนภาษาอังกฤษ (อัจฉรา วงศโส ธร. 2544) การทดสอบและการประเมินผลทางภาษา ( สําอาง หิรัญบูรณะ. 2542 : 32) แลวนําวิธีการ แนะแนวมาประยุกต ใชในการสรางแบบทดสอบ 2. ศึก ษาและวิเคราะหเนื้อหาทางภาษา และจุดประสงคการเรียนรูของกิจกรรม การฟงที่ใชในการทดสอบ เพื่อนําไปใชในการสรางแบบทดสอบ 3. ศึก ษาและคั ด เลือกบทสนทนา เพลง ที่ใ ช ใ นการสรางแบบทดสอบแลว นํ า แบบทดสอบที่สรางขึ้น รวมทั้งเกณฑการใหคะแนนไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพแลวนํามา แกไขปรับปรุง แบบบันทึกพฤติกรรมดานการฟง แบบบันทึกพฤติกรรมดานการฟง โดยใชเพลงเปนกิจกรรมการฟงประกอบการสอน 1. แบบบัน ทึก การสังเกตพฤติก รรมดา นการฟง ผูวิจัยเปน ผูบัน ทึก การสังเกต ดวยตนเอง มีเกณฑดังนี้ 1 หมายถึง ตอบสนองไดนอย 2 หมายถึง ตอบสนองไดปานกลาง 3 หมายถึง ตอบสนองไดมาก


40 2. เมื่อสรางแบบบันทึกพฤติกรรมดานการฟงเสร็จแลว ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ และนํามาแกไขปรับปรุง การเก็บรวบรวมขอมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ ผูว ิจัยดําเนินการเลือกกลุมตัวอยาง โดยการสุมตัวอยางแบบกลุมดวยวิธีการจับสลาก จาก 3 หองเรียน มา 1 หองเรียน 1. ผูวิจัยชี้แจงจุดประสงคการเรียน และใหคําอธิบายเกี่ยวกับการจัด การเรียนการ สอนวิชาภาษาอังกฤษ II 2. ผูวิจัยดําเนินการทดสอบกอนเรียน (Pre - test) ดวยแบบทดสอบวัดความสามารถ ดานการฟง โดยใชเวลา 1 ชั่วโมง แลวผูวิจัยตรวจบันทึกคะแนนกลุมตัวอยางที่ไดจากการทดสอบ เปนคะแนนทดสอบกอนการทดลอง 3. ผูวิจัยดําเนินการสอนดวยตนเองตามแผนการสอน 6 แผน ๆ 2 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 12 ชั่วโมง ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 ตั้งแตเดือนมิถุนายน 2550 – ตุลาคม 2550 4. เมื่อผูวิจัยดําเนินการสอนครบ 12 ชั่วโมงแลว ไดทําการทดสอบดวยแบบทดสอบ วัดความสามารถดานการฟง ดวยแบบทดสอบชุดเดิมของกลุมทดลองอีกครั้งและบันทึกผลการสอบ ใหเปนคะแนนหลังการทดลอง ( Post-test ) 5. ผูวิจัยบันทึกพฤติกรรมดานการฟงโดยใชแบบบันทึกพฤติกรรมดานการฟง การวิเคราะหขอมูล การศึก ษาวิจัย การเพิ่มความสามารถดานการฟงโดยใชกิจ กรรมเรียนภาษาอังกฤษ จากเพลงของนัก ศึก ษาระดับประกาศนียบัต รวิชาชีพชั้ น สูง โรงเรียนเทคนิค วิมลบริหารธุร กิจ ผูวิจัยใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการคํานวณและการวิเคราะหคาตาง ๆ ดังตอไปนี้


41 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. สถิติพื้นฐานในการวิเคราะหขอมูล 1.1 คามัชฌิมเลขคณิต หรือคาเฉลี่ย (Mean) (พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2544 : 72- 84) สูตร

X

เมื่อ X X X N

= X N คือ คาเฉลี่ย คือ คะแนนของนักเรียนทั้งกลุม คือ ผลรวมคะแนนของนักเรียนทั้งกลุม คือ จํานวนนักเรียนทั้งกลุม

1.2 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) (ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. 2540 :103) สูตร

S.D.

เมื่อ S.D X2 X2 N

=

N X2 - X2 N N - 1

คือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแตละตัวยกกําลัง 2 คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกําลัง 2 คือ จํานวนนักเรียนกลุมตัวอยาง

2. สถิติในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัย 2.1 การหาคาความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) คา IOC ของแบบทดสอบ ความสามารถดานการฟง (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 :53) สูตร

IOC = R N


42

เมื่อ IOC R N

คือ ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคการเรียนรู คือ ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ คือ จํานวนผูเชี่ยวชาญ

3. สถิติที่ใชทดสอบสมมติฐาน 3.1 หาประสิทธิภาพ (Efficiency) ของแผนการสอนตามเกณฑ 80/80 ดวยคา E1 / E2 (พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2544 :83) E1 =

x / N

x 100

A E2 = เมื่อ

E1 E2 x F A B N

F/N B

x 100

แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนซึ่งเปนคารอยละของคะแนนเฉลี่ย จากการทําแบบฝกหัด การทดสอบยอยระหวางเรียน แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ ซึ่งเปนคารอยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนทั้งกลุม ทําแบบทดสอบหลังเรียน แทน คะแนนรวมของนักเรียนจากการทําแบบฝกหัดหรือทดสอบยอยระหวางเรียน แทน คะแนนรวมของนักเรียนจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน แทน คะแนนเต็มของแบบฝกหัดหรือแบบทดสอบยอยระหวางเรียน แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบ แทน จํานวนนักเรียน


43 3.2 หาคาสถิติ t – test แบบ Dependent เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียน (ลวน สายยศและอังคณา สายยศ. 2538 : 248) สูตร

t =

D N D2 -D 2 N–1

เมื่อ t แทน คาที่ใชพิจารณา D แทน ความแตกตางของคะแนนแตละคู N แทน จํานวนนักเรียน แทน ผลรวม D D D2 แทน ผลรวมของ D แตละตัวยกกําลังสอง D 2 แทน ผลรวมของ D ทั้งหมดยกกําลังสอง df = n - 1


44

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป น ศึ ก ษาการวิ จั ย กึ่ ง ทดลอง ผู วิ จั ย มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ศึ ก ษา ความสามารถด า นการฟ ง โดยใช กิ จ กรรมเรี ย นภาษาอั ง กฤษจากเพลง ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ในการดําเนินงาน ผูวิจัยไดสราง แผนการสอน 6 แผน แบบทดสอบความสามารถดานการฟง และหาคุณ ภาพของเครื่องมื อ ผลการหาคาความสอดคลองของแผนการสอนมีคาเทากับ 0.66 – 1 จากนั้นไดนําไปทดลองใชกับ นักศึกษากลุมทดลอง ตอมาผูวิจัยไดนําแบบทดสอบความสามารถดานการฟงชุดเดิมไปทําการ ทดสอบกอนการทดลอง(Pre-test) กับนักศึกษากลุมตัวอยางและทดลองจัดการเรียนการสอนกับ นักศึกษากลุมตัวอยางตามแผนการสอน ใชเวลาในการทดลอง 6 สัปดาห สัปดาหละ 2 ชั่วโมง รวมเปน 12 ชั่วโมง เมื่อการทดลองจบแลวไดนําแบบทดสอบความสามารถดานการฟงชุด เดิม ไปทําการทดสอบหลังการทดลอง (Post-test) และผูวิจัยรวบรวมขอมูลทั้งหมด มาทําการวิเคราะห ทางสถิติ ผลการวิเคราะหขอมูลแบงเปน 2 สวน ดังนี้ สว นที่ 1 การทดสอบวั ด ความสามารถด า นการฟ ง ของนั ก ศึ ก ษาก อ นและหลั ง การทดลอง สวนที่ 2 การสังเกตพฤติกรรมการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษาระหวางการสอนโดย ผูวิจัย สวนที่ 1 การทดสอบวัดความสามารถการฟงของนักศึกษากอนและหลังการทดลอง ผู วิ จั ย ได ทํ า การทดสอบวั ด ความสามารถด า นการฟ ง ก อ นและหลั ง การทดลอง ของนักศึกษากลุมทดลองแลวนําคะแนนที่ไดไปหาคาเฉลี่ย (Mean) คารอยละ (Percentage) และ t-test แบบ Dependent เพื่อเปรียบเทียบกันดังตารางที่ 4.1 ดังนี้


45 ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบวัดความสามารถดานการฟงของนักศึกษากอนและหลังการทดลอง

คน ที่

4 11 8 10 12 10 11 13 11 7 6 7 7 11 8 10 6 9 161

10 10 10 คะแนน คะแนน คะแนน 6 5 7 9 8 7 7 7 5 8 8 7 7 8 7 7 9 6 9 9 7 9 6 8 6 8 8 5 7 9 8 6 8 8 5 4 5 7 6 6 6 5 7 6 5 7 7 7 7 8 7 7 9 7 128 129 120

รวม 30 คะแนน

คะแนน เพิ่มขึ้น

18 24 19 23 22 22 25 23 22 21 22 17 18 17 18 21 22 23 377

14 13 11 13 10 12 14 10 11 14 16 10 11 6 10 11 16 14 216

คาเฉลี่ย

10 10 10 คะแนน คะแนน คะแนน 1 2 1 3 4 4 3 2 3 3 4 3 4 3 5 2 3 5 4 4 3 4 4 5 4 5 2 1 3 3 1 4 1 2 1 4 3 2 2 4 4 3 3 3 2 3 5 2 1 2 3 4 2 3 50 57 54

รวม 30 คะแนน

แบบ ทด สอบ สวนที่ 1

หลังการทดลอง แบบ แบบ ทด ทด สอบ สอบ สวนที่ สวนที่ 2 3

2.78

3.17

3.00

8.94

7.11

7.17

6.67

20.94

12.00

คิดเปนรอยละ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 รวม

แบบ ทด สอบ สวนที่ 1

กอนการทดลอง แบบ แบบ ทด ทด สอบ สอบ สวนที่ สวนที่ 2 3

27.78

31.67

30.00

29.81

71.11

71.67

66.67

69.81

40.00

เพิ่มขึ้น รอยละ

46.67 43.33 36.67 43.33 33.33 40.00 46.67 33.33 36.67 46.67 53.33 33.33 36.67 3.33 33.33 36.67 53.33 46.67


46 จากตารางที่ 4.1 พบวาคะแนนความสามารถดานการฟงภาษาอั งกฤษของนักศึกษา ทุกคนเพิ่มขึ้นหลังจากการทดลอง โดยมีคะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการทดลองเปน 8.94 และ 20.94 ตามลําดับ คิดเปนรอยละ29.81 และรอยละ 69.81 ตามลับเชนกัน ในแบบทดสอบวั ด ความสามารถด า นการฟ ง แบ ง เป น 2 ส ว น ดั ง นี้ ส ว นที่ 1 ให นัก ศึ ก ษาฟ ง เทปเกี่ ยวกับ การนัด หมาย ส ว นที่ 2 ให นั ก ศึ ก ษาฟง บทสนทนา และส ว นที่ 3 ใหนักศึกษาฟงเพลงแลวเขียนเติมคําที่หายไป คะแนนที่นักศึกษาไดกอนการทดลองคิดเปนคาเฉลี่ย 2.78 , 3.17 และ 3.00 และ คิดเปนรอยละ 27.78 , 31.67 และ 30.00 ตามลําดับ ซึ่งหลังการทดลอง นักศึกษาไดคะแนนเฉลี่ย 7.11, 7.17 และ 6.67 คิดเปนรอยละ71.11, 71.67 และ 66.67 แสดงวา ความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษาทั้งหองเพิ่มขึ้นโดยมีคาเฉลี่ย 12 คิดเปนรอยละ 40 ตารางที่ 4.2 การเปรียบเทียบความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษากอนและหลัง การทดลอง คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

กอนการทดลอง (30 คะแนน) 4 11 8 10 12 10 11 13 11 7 6 7 7 11

หลังการทดลอง (30 คะแนน) 18 24 19 23 22 22 25 23 22 21 22 17 18 17

ผลตาง (D) 14 13 11 13 10 12 14 10 11 14 16 10 11 6

(ผลตาง)2 (D)2 196 169 121 169 100 144 196 100 121 196 256 100 121 36


47 ตารางที่ 4.2 การเปรียบเทียบความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษากอนและหลัง การทดลอง (ตอ) คนที่ 15 16 17 18 รวม คาเฉลี่ย

กอนการทดลอง (30 คะแนน) 8 10 6 9 161 8.94

หลังการทดลอง (30 คะแนน) 18 21 22 23 377 20.94

ผลตาง (D) 10 11 16 14 D = 216 12.00

(ผลตาง)2 (D)2 100 121 256 196 D2 = 2698

จากตารางที่ 4.2 พบวานักศึกษามีคะแนนความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น สูงสุดคือ 16 จํานวน 2 คน คะแนนคิดเปนรอยละ 53.33 สวนคะแนนที่เพิ่มนอยที่สุด คือ 6 คะแนน จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 20 เมื่อพิจารณาคะแนนความสามารถดานการฟงกอนการทดลอง ที่ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑ ผานดานการฟงไว 15 คะแนน ของคะแนนเต็ม 30 คะแนน ซึ่งกอนการทดลองซึ่งไมมีนักศึกษาผาน เกณฑรอยละ 50 แตหลังการทดลองปรากฏวานักศึกษาทุกคนมีคะแนนผานเกณฑที่กําหนดไว และมีนักศึกษาที่ไดคะแนนสูงสุดถึง25 คะแนน สวนนักศึกษาที่ไดคะแนนนอยที่สุดคือ 17 คะแนน มีจํานวน 2 คน แสดงวานักศึกษาทุกคนมีความสามารถดานการฟงเพิ่มมากขึ้น


48 ตารางที่ 4.3 ผลการเปรียบเทียบความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษา กอนการทดลองและหลังการทดลอง

ความสามารถดานการฟง ภาษาอังกฤษ

N

กอนการทดลอง

18

D

D 2

(D) 2

216

2698

46656

t

10.59**

18

หลังการทดลอง * มีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ .01

จากตารางที่ 4.3 พบวาความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษาเพิ่มขึ้นหลัง การทดลองมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตารางที่ 4.4 แสดงคะแนนเฉลี่ยและคารอยละจากการสังเกตพฤติกรรมดานการฟงของนักศึกษา โดยผูวิจัย

ครั้งที่

1 2 3 4 5 6

ฟงเพลงแลว จับใจความสําคัญได

พฤติกรรมที่สังเกต ฟงเพลงแลว ตอบคําถามได

ฟงเพลงแลว เติมคําศัพทได

คะแนน เฉลี่ย

คิดเปน รอยละ

คะแนน เฉลี่ย

คิดเปน รอยละ

คะแนน เฉลี่ย

คิดเปน รอยละ

1.89 2.22 2.33 2.33 2.39 2.56

62.96 74.07 77.78 77.78 79.63 85.19

2.00 2.17 2.22 2.44 2.44 2.72

66.67 72.22 74.07 81.48 81.48 90.74

2.06 2.39 2.56 2.61 2.78 2.83

66.67 79.63 85.19 87.03 92.59 94.44


49 จากตารางที่ 4.4 พบวา คะแนนพฤติกรรมดานการฟงของนักศึกษาในกลุมทดลอง ทั้งหมดพัฒ นาขึ้น ทุกพฤติก รรมและนักศึกษาทุก คนผานเกณฑรอยละ 60 เมื่อวิเคราะหค ะแนน พฤติกรรมดานการฟงของนักศึกษาแตละคน พบวา คะแนนพฤติกรรมดานการฟงของนักศึกษา มีคะแนนสูงถึงรอยละ 98.15 จํานวน 2 คน สวนคะแนนต่ําสุดที่รอยละ 61.11 จํานวน 1 คน และเมื่อวิเคราะหคะแนนพฤติกรรมดานการฟงทั้ง 3 ประเภทแลว พบวา พฤติกรรมดานการฟงเพลง แล ว เติ ม คํ า ศั พ ท ไ ด เ ป น พฤติ ก รรมที่ นั ก ศึ ก ษาตอบสนองได ม ากที่ สุ ด คิ ด เป น ร อ ยละ 94.44 สว นพฤติก รรมการฟง เพลงแล ว ตอบคํ าถามได นั ก ศึ ก ษาตอบสนองได คิ ด เป น ร อ ยละ90.74 และพฤติกรรมการฟงเพลงแลวจับใจความสําคัญได นักศึกษาตอบสนองได คิดเปนรอยละ 85.19 แสดงวานักศึกษามีความสามารถดานการฟงเพิ่มมากขึ้น


50

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจัย เรื่อง การเพิ่มความสามารถดานการฟงโดยใชกิจ กรรมเรี ยนภาษาอังกฤษ จากเพลงของนัก ศึก ษาระดับประกาศนียบัต รวิชาชีพชั้น สูง โรงเรียนเทคนิค วิมลบริหารธุร กิจ สรุปสาระสําคัญและการศึกษาไดดังตอไปนี้ วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสามารถดานการฟงโดยใชกิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษจากเพลง วิธกี ารดําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ที่ใชใ นการวิจัย เปน นัก ศึก ษาระดับประกาศนียบัต รวิชาชีพชั้นสูงปที่ 2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ 2 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานครซึ่งกําลัง ศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 3 หองเรียน นักศึกษา 62 คน กลุมตัวอยาง เปนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น สูงปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึก ษา 2550 โรงเรียนเทคนิค วิม ลบริหารธุร กิจ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร จํานวน 1 ห อ งเรี ย น นั ก ศึ ก ษาจํ า นวน 18 คน ซึ่ ง ใช ก ารสุ ม ตั ว อย า งแบบกลุ ม (Cluster sampling) ดวยการจับสลากจาก 3 หองเรียน มา 1 หองเรียน 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แผนการสอน 2. แบบทดสอบวัดความสามารถดานการฟง 3. แบบบันทึกพฤติกรรมดานการฟง


51 การวิเคราะหขอมูล ผูวิ จั ย นํ าข อ มูล ที่ ได จ ากการทดสอบก อ นการเรี ยนและหลัง การเรีย นและการสัง เกต พฤติกรรมดานการฟง ดังนี้ 1. เปรี ย บเที ย บค า เฉลี่ ย และค า ร อ ยละของคะแนนจากแบบทดสอบความสามารถ ดานการฟงของนักศึกษากอนและหลังการทดลอง 2. เปรียบเทียบความสามารถดานการฟงของนักศึก ษากอนและหลังการทดลองโดยใช t-test แบบ Dependent 3. เปรียบเทียบคาเฉลี่ยและคารอยละของคะแนนพฤติก รรมดานการฟงของนักศึก ษา โดยผูวิจัย สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาคนควาการใชกิจกรรมเรียนภาษาอังกฤษจากเพลงในการเพิ่มความสามารถ ดานการฟงในการสอนภาษาอังกฤษ สรุปไดดังนี้ 1. การใชเพลงเปนกิจ กรรมฟงภาษาอังกฤษ ทําใหนัก ศึกษามีค วามสามารถดานการฟง ภาษาอังกฤษเพิ่มขึน้ โดยไดคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 12 คิดเปนรอยละ 40 2. นัก ศึก ษามีความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 หลังจากการรับการสอน โดยใชเพลงเปนกิจกรรมการฟง อภิปรายผล ผลจากการใชเพลงในการเพิ่มความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษาปรากฏ วา นักศึกษามีความสามารถดานการฟงภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้นกวาเดิม ซึ่งเห็นไดจากการวิเคราะห ผลการประเมินความสามารถดานการฟงโดยใชแบบทดสอบ และผลการสังเกตพฤติกรรมดานการฟง ซึ่งองคประกอบที่ทําใหนักศึกษาประสบความสําเร็จตามเปาหมาย มีดังนี้ 1. เพลงเปนสื่อการเรียนการสอนที่สะดวก ประหยัด และเปนสิ่งที่นักศึกษาชอบอยูแลว โดยธรรมชาติ เพราะเนื้อหาในเพลงอยูในความสนใจของนักศึกษา เพลงที่นํามาจัดกิจกรรมเปนเพลง ที่ นักศึกษาสามารถรองไดงาย หรือคําศัพทซ้ํา ๆ ทํานองเพลงสนุกสนาน เหมาะสม เช น Simon says, More than I can say, My heart will go on , Beautiful Sunday เปนตน นอกจากนี้เนื้อหาของเพลง


52 มีการฝกออกคําสั่ง เชน Put your hand on your head ดังนั้นนักศึกษาไดฝกการฟงปฏิบัติตามคําสั่งและ ออกคํ า สั่ ง ให เ พื่ อ นปฏิ บั ติ ต าม นั ก ศึ ก ษาจึ ง มี ค วามรู สึ ก ว า ไม ถู ก บั ง คั บ ให จํ า ศั พ ท หรื อ เนื้ อ หา เมื่อครูผูสอนสามารถจัดหาเพลงใหสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียนและจุดประสงคการเรียนรู นักเรียน จึง ตั้ง ใจฟ งเพลง แลว สง ผลใหนั ก ศึก ษามีค วามสามารถด านการฟง เพิ่ม มากขึ้ น ทํ าให นัก ศึก ษา มีความภาคภูมิใจในความสามารถของตนเอง ซึ่งตรงกับคํากลาวของ ดวงเดือน แสงชัย (2534 : 48) ไพจิต ปุราคํา (2535 : 78) และ กริฟฟ (1992 : 5) ที่กลาวไววา การฟงเพลงเปนการฝกการฟงใหเขาใจ ข อ ความในเพลง ซึ่ ง เป น การพั ฒ นาภาษาทํ า ให ผู ฟ ง เกิ ด ความภาคภู มิ ใ จเช น เดี ย วกั บ งานวิ จั ย ของปยะศักดิ์ สินทรัพย (2530 : บทคัดยอ) จอลลี่ (Jolly. 1987 : 66) และ อุไรวรรณ ปราบริปู (2543 : 46) ที่กลาวไววา เนื้อหาในเพลงสรางความสนใจใหกับผูเรียนสงผลใหนักศึกษามีพัฒนาการ ทางภาษา ดีขึ้น 2.การจัด กิจ กรรมการเรี ยนการสอน โดยใชเ พลงสามารถจั ด ได หลากหลาย ทํ าให นักศึกษาไดฝกการใชภาษาอยางมีความหมาย (Meaningful) ซึ่งผลจากการจัดกิจกรรมทําใหนักศึกษา มีความสามารถดานการฟงมากยิ่งขึ้น และการจัดกิจกรรมมีความหลากหลายสงเสริมการฟงทั้งสิ้น เชน ฟงแลวตอบคําถามจากครู ฟงแลวเติมคําใหสมบูรณ กิจกรรมตาง ๆ ที่กลาวขางตน เปนกิจกรรมการฟง ที่เหมาะสมเพราะเปนการฟงที่สัมพันธกับทักษะอื่น ดังที่ไรท (Wright.1995 : คํานํา) กลาววา การจัด กิจกรรมการฟงจะตองสัมพันธกับการพูด และการอาน กับ เชนเดียวกับ เจียรนัย พงษศิวาลัย (2531 : 101) และ แอบบอด (Abbott. 2002 : 10) ไดกลาววา การเรียนภาษาจากเพลง เปนการมุงเนนทักษะ การฟงพรอมเขียน การจัดกิจกรรมขางตนสามารถทําเปนกิจกรรมคู เปนการทํางานระหวางนักศึกษา 2 คน เช น การเติ ม คํ า การตอบคํ า ถาม เป น ต น ส ว นกิ จ กรรมกลุ ม ที่ นั ก ศึ ก ษาร ว มทํ า กั น ทั้ ง ชั้ น เชน รองเพลงรวมกัน การตอบคําถามของครู ซึ่งการจัดกิจกรรมดังกลาวเปนการฝกใหนักศึกษาฟงแลว จับใจความสําคัญและตอบคําถามจากเพลง จึงทําใหนักศึกษามีความสามารถดานการฟงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งตรงกับงานวิจัยของรองเมือง สุขมิติ (2537 : 47)และ วราภรณ วราธิพร (2543 : 237) ที่ไดกลาววา วิธีการสอนโดยใชเพลงประกอบการสอนทําใหนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและพัฒนา ความสามารถดานการฟง 3. การใช เ พลงเป น เป น กิ จ กรรมการฟ ง เป น การสร า งบรรยากาศในการเรี ย น ภาษาอังกฤษใหนักศึกษาไดมีโอกาสมีสวนรวมในการเรียนการสอนในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งเปนการฝก ความสามารถดานการฟงและประสบการณทางภาษาแกนักศึกษา การที่นักศึกษาไดมีสวนรวมในการ รองเพลง แสดงอารมณต อบสนองและสรางจิน ตนาการความคิด สรางสรรค ทําใหนัก ศึก ษารูสึก สนุกสนาน มีค วามสุขที่ได รองเพลง สอดคลองกับงานวิจั ยของ วราภรณ (2543:47) และ สิมิเอะ (Sumie. 2001 : 109) ที่ก ลาวไววา เพลงเปนสื่อที่ก ระตุนใหนัก ศึก ษาตองการเรียนภาษาอังกฤษ


53 จากการฟงเพลงและเรียนดว ยความสนุกสนาน นอกจากนั้น ใบงานที่ผูวิจัยออกแบบเหมาะสมกับ เนื้อหา ระดับของผูเรียน และสอดคลองกับจุดประสงคซึ่งสอดคลองกับ พอสสตัน และคณะ (Paulston et al. 1976 : 131-132, อางถึงใน สุมิตรา อังวัฒนากุล.2540 : 156-160) กลาววาลักษณะของงานที่ให นักศึกษาทํานั้น จะตองสอดคลองกับจุดประสงคปลายทาง และความสามารถของผูเรียน 4.วิธีการสอน ผูวิจัยทํากิจกรรมการสอนฟงตามลําดับขั้น คือ กอนการสอนฟง มีกิจกรรม กอนการฟง(Pre-listening) ซึ่งเปนการเตรียมตัวใหพรอมกอนที่จะมีกิจกรรมการฟงจริงเมื่อนักศึกษา มีค วามเข าใจและพรอ มที่ จ ะฟงแลว ผูวิ จัย จึง จะจั ด กิ จ กรรมการฟ งในขั้ น ระหว างการฟ ง (While listening) ผูวิจัยจะอธิบายกิจกรรมตาง ๆ ที่นักศึกษาตองกระทําใหเขาใจกอน พรอมกับมีการตรวจสอบ ความเขาใจของนักศึกษา เชน ผูวิจัยจะใชคําถามวา Can you follow me ? Do you understand ? เปนตน ในการฟงเพลง ผูวิจัยจะใชเทคนิคเปดเทปใหนักศึกษาฟงตลอด 1 จบกอน เพื่อใหนักศึกษา คุนเคย นักศึกษาจะเริ่มทํากิจกรรมเปดเทปครั้งที่ 2 และการทํากิจกรรมแตละครั้ง ผูวิจัยจะไมรีบเรง ใหนักศึกษาทํางานใหเสร็จ และผูวิจัยจะคอยชวยเหลือนักศึกษาเมื่อนักศึกษาตองการ ซึ่งตรงกับ โรสท (Rost.1991 : 7-8) ที่ก ลาวไว วา ใหก ารฟง เป น การสอนฟ งมากกวา การทดสอบและไมค วรเร ง ใหนักศึกษาทํากิจกรรมใหเสร็จโดยที่ไมเขาใจ ขั้นหลังการฟง (Post listening) เปนกิจกรรมติดตามผล หลังการฟง ซึ่งไดแก การรองเพลงรวมกัน สรุปตัวละครในเนื้อเพลง ความหมายของเพลง เปนตน ซึ่งวิธีการนี้สอดคลองกับการสอนทักษะการฟง ของอันเดอรวูด (Underwood. 1989 : 25-28) และ สุไร พงษทองเจริญ (2535 : 117-121) ที่กลาวไววา ขั้นตอนในการสอนทักษะการฟง ไดแก กอนการฟง (Pre-Listening) และแตละขั้นตอนจะตองจัดกิจกรรมใหเหมาะสม ซึ่งสิ่งเหลานี้จะชวยใหนักศึกษา บรรลุจุดมุงหมายในการฟง ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําเพลงมาจัดกิจกรรมการฟง 1.1 การคัดเลือกเพลง ควรคํานึงถึงประเภทของเพลงใหเหมาะสมกับวัยของนักศึกษา 1.2 เพลงที่คัดเลือกมานั้นจะตองสอดคลองกับเนื้อหาและจุดประสงค จึงจะบังเกิดผลและ ในการจัดกิจกรรมไม ควรเรงผูเรียนเพื่อใหทํากิจ กรรมใหครบถวน เพราะจะทําใหผูเรียนขาดความ มั่นใจและเกิดความเบื่อหนาย 1.3 ครูที่ไมถนัดในการรองเพลงควรใชเทปเพลงชวยในตอนแรก ๆ หรือมีอาสาสมัครชวย รองซึ่งอาจเปนนักศึกษา


54 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรศึกษาการใชเพลงเพื่อพัฒนาทักษะการอานและการเขียน 2.2 ควรศึกษาการสรางชุดฝกอบรมครู เรื่องการใชเพลงประกอบการสอนฟงเพื่อพัฒนา ดานการสอนของครู 2.3 ควรศึกษาการใชทักษะการฟงเพลงเพื่อนําไปสูการพัฒนาทักษะการพูด การอานและ การเขียน


55

บรรณานุกรม กรรณิการ เครือทุน. (2541). ความสัมพันธพื้นฐานระหวางความรูเดิมเกี่ยวกับเนื้อหาและ ความสามารถในการฟงภาษาอังกฤษของนักศึกษาแผนการทองเที่ยวระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงในสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรรณิการ พวงเกษม. (2541). ปญหาและกลวิธีการสอนภาษาไทยในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯไทยวัฒนาพาณิช จุฑารัตน เจริญสินธุ. (2541). การใชแบบฝกทักษะการฟงภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เจียรนัย พงศิวาภัย. (2539). “เรียนภาษาจากเพลง” ใน แนวคิดและเทคนิควิธีการสอน ภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา. บรรณาธิการโดย สุมิตรา อังวัฒนากุล.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณวิทยาลัย. ชินโอรส หัศบําเรอ. (2530). “มาคิดบัญญัติศัพทดนตรีภาษาไทยกันดีไหม” ถนนดนตรี, 1 (5), 33 – 35. ฐะปะนีย นาครทรรพ. (2543). เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนภาษาไทย การสอนทักษะเพื่อการ สื่อสารระดับมัธยมศึกษาตอนตนหนวยที่ 1-8. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ดวงเดือน แสงชัย. (2530). การสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. เตือนใจ เฉลิมกิจ. (2540). Why use song in the classroom?. (เอกสารประกอบคําสอน). กรุงเทพฯ : ม.ป.พ. ทองสุก เกลี้ยงพรอม. (2531). แบบฝกทักษะการฟงภาษาไทยสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษา ปที่ 1 ที่พูดภาษาเขมรในจังหวัดสุรินทร. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน. ทิพพดี อองแสงคุณ. (2535). กิจกรรมและสื่อวิชาการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณวิทยาลัย. ธิดา โมสิกรัตน. (2534). การใชภาษาไทยหนวยที่ 4 การพัฒนาสมรรถภาพในการฟง. (พิมพครั้งที่ 12). นนทบุรี : มหาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.


56 นนทพร ภูวรัตน. (2546). การใชเพลงและนิทานในการเพิ่มความสามารถดานการฟงของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบานบางวัน จังหวัดพังงา. วิทยานิพนธปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ประนอม สุรัสวดี. (2530). กิจกรรมและวิธีการสอนภาษาอังกฤษ. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. -------. (2541). ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา สื่อการนําสื่อไปใช. กรุงเทพฯ :โรงพิมพบพิธ. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู : ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. เพ็ญแข วงศสุริยา. (2546). การพัฒนาความสามารถในการฟง – พูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยใชสถานการณจริงของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 1 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสกลนคร. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. เยาวรัตน การพาณิช และอังคณา ทองพูน. (2543). “ความเขาใจในการฟงภาษาอังกฤษ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน” วาสารคณะมนุษยศาสตรสังคมศาสตร, 17 (2), 22-24. ไพจิตร ปุราคํา, มล. (2535). กิจกรรมและสื่อการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ระวิวรรณ ศรีครามครัน. (2539). การสอนวิชาภาษาอังกฤษ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. รองเนือง ศุขสมิต.ิ (2537). ผลการใชเพลงเสริมบทเรียนวิชาภาษาอังกฤษที่มีตอผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป 6 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพ : สุวีริยาสาสน. วรวรรณ เปลี่ยนบุญเลิศ. (2540). แนวคิดและเทคนิควิธีสอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วราภรณ วราธิพร. (2543). การใชเพลงประกอบการสอนเพื่อสรางแรงจูงใจในการศึกษาอังกฤษ และพัฒนาความสามารถดานการฟงและการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ในโปรแกรมสองภาษา. สารนิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษ ในฐานะภาษาตางประเทศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.


57 วารินทร สินสูงสุด. (2542). ศิลปะการฟง. กรุงเทพฯ : สบายใจ. วิจิตรา เจือจันทร. (2533). ผลของการใชเพลงในการฝกอานออกเสียงตัวพยัญชนะ ร ล สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประถมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). หลักสูตรภาษาอังกฤษพุทธศักราช 2539 . กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว. ศิริพร มาวรรณา. (2546). ผลของการใชทักษะการสื่อสารและการประเมินผลตามสภาพจริง ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่องการนําเสนอ ขอมูล. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ศึกษาธิการ, กระทรวง . (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟคจํากัด. -------. (2539). หลักสูตรภาษาอังกฤษ พุทธศักราช 2539. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพราว. สนธยาพรรษ ยาทวม. (2538). การเปรียบเทียบความสามารถในการฟง-พูด ภาษาอังกฤษ และ ความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยการสอนแบบ T.P.R. ที่พัฒนาตามแนวทฤษฎีอรรถฐานกับการสอนตามคูมือครู. ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณฑิต (การมัธยมศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมร ปาโท.(2545). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการฟง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับการสอนโดยใชกิจรรมเพื่อการสื่อสารและวิธีการสอน ตามคูมือครู. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษ ในฐานะภาษาตางประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุปราณี กัลปนารถ. (2533). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยระหวาง การสอนโดยใชบทเพลงประกอบการสอนกับการสอนโดยไมใชบทเพลงประกอบ การสอนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนบานพลายชุมพล อําเภอเมือง พิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (การประถมศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก. สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2539). วิธีสอนภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. -------. (2540). แนวคิดและเทคนิควิธีการสอนภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.


58

สุไร พงษทองเจริญ (2535). กลุมการสอนการฟงและการเขียนคูมือการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน. กรุงเทพฯ : หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ. Abbott, Marilyn. (2002). “Using Music to Promote L 2 Learning Among Adult Learners” TESOL, 11 (1), 10-15. Bowen, Donald J. (1985). 1922-TESOL techniques and procedures. Massachusetts : Heinle & Heinle Publishers. Fredericks, Anthony D. and others. (1997). Teaching the Integrated Language Arts : process and practice. New York : Addison – Wesley Educational Publishers. Griffee, Dale T. (1992). Songs in action. UK : Prentice Hall International. Jones, Leo. (1986). Ideas Speaking and Listening Activities for Upper – intermediate Students. London : Cambridge University Press. Rost , Michael. (1991). Listening in Action. England : Prentice Hall International. Scarbrough , David. (1984). Reasons for Listening. England : Cambridge University Press. Silva, Carlos. (2002). “Teaching English with Songs and Music,” (Online). available : http://language.freeyellow.com Underwood , May (1989). Teaching Listening. New York : Longman. Wright, Andrew. (1995). Storytelling with Children. New York : Oxford University Press.


59

ประวัติผูวิจัย ชื่อ-สกุล เกิดวันที่ ที่อยู

นางศุภิสรา วิริไฟ 11 กันยายน 2508 บานเลขที่ 860/8 ถนนประชาชื่น แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800

สถานที่ทํางาน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2526 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรีศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด พ.ศ. 2530 ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิทยาลัยศรีอีสาน(คณาสวัสดิ์อุทิศ) พ.ศ. 2548 ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเรียนรู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.