แนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชน กรณีศึกษา ต.วังตะกอ อ.หลังสวน จ.ชุมพร

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ แนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของชุมชน กรณี ศึกษา ตาบลวังตะกอ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

โดย นางสาวกันต์กมล นางสาวเบญจรัตน์ นางสาววรรณมาศ นางสาววิมลณัฐ

มณี โชติ มนต์ประสิ ทธิ์ อัศวดารงชัย ศรี พิชยั

รายงานผลการศึกษานี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555



แนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของชุมชน กรณี ศึกษา ตาบลวังตะกอ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

โดย นางสาวกันต์กมล นางสาวเบญจรัตน์ นางสาววรรณมาศ นางสาววิมลณัฐ

มณี โชติ มนต์ประสิ ทธิ์ อัศวดารงชัย ศรี พิชยั

รายงานผลการศึกษานี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(1) คํานํา รายงานฉบับ นี เป็ นส่ วนหนึ งของวิช าปั ญ หาพิ เ ศษ มี ว ตั ถุ ป ระสงค์เพื อศึ ก ษาถึ ง การนํา หลักการเศรษฐกิ จพอเพียง หลักการพึงพิงตนเองมาประยุกต์ใช้ในการบริ หารจัดการต้นทุ นจาก วิกฤตการณ์ความไม่มนคงทางอาหร ั โดยมีกรณี ศึกษา ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร การศึกษาครังนี มุ่งศึกษาถึงแนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจ เพือการพัฒนาอย่างยังยืนของชุ มชน ปั จจัยแห่งความสําเร็ จ และผลทีได้รับจากความสําเร็ จ คณะผูจ้ ดั ทํา ได้จดั รายงานฉบับ นี ขึ น เนื องจากเป็ นประเด็ นที น่ า สนใจเป็ นอย่า งยิงและ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการดําเนิ นชี วิตประจําวันได้อีกด้วย คณะผูจ้ ดั ทําหวังว่ารายงานฉบับนี จะเป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ่าน ผูท้ ี สนใจ หรื อผูท้ ี ต้องการตัวอย่างในการทํางานไม่มากก็น้อย หากมี ข้อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ ทีนีด้วย คณะผูจ้ ดั ทํา 26 มีนาคม 2556


(2) บทคัดย่ อ กันต์กมล มณี โชติ และคณะ 2555: แนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจ เพือการพัฒนาอย่าง ยังยืนของชุ ม ชน กรณี ศึ กษา: ตํา บลวัง ตะกอ อํา เภอหลัง สวน จัง หวัดชุ ม พร ปริ ญญา บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ทีปรึ กษาปั ญหาพิเศษ: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์, บ.ธ.ม.187 หน้า การศึ ก ษาเรื องแนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิ จ เพือการพัฒนาอย่า งยังยืนของชุ ม ชน กรณี ศึกษา ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร มีวตั ถุประสงค์เพือศึกษาปรัชญาและหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการนํามาประยุกต์ใช้ในการบริ หารจัดการภายในชุ มชนจนสามารถลด รายจ่าย เพิมรายได้ ตลอดจนการนําไปพัฒนาอย่างต่อเนืองเพือนําชุมชนไปสู่ การพัฒนาอย่างยังยืน วิธี ก ารศึ ก ษา คื อ ศึ ก ษาข้อมู ล ปฐมภู มิ เกี ยวกับ ข้อ มู ล ทัวไปของชุ ม ชนวัง ตะกอ ปั ญ หา อุปสรรคและความล่มสลายทีเกิดขึนกับชุมชน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการพึงพิงตนเอง ทีผูน้ าํ ชุมชนนํามายึดถือและปฏิบตั ิ แนวทางการดําเนินกิจกรรมโครงการเพือการพัฒนาทียังยืนของ ชุ มชน โดยการสัมภาษณ์ในเชิ งลึกกับผูน้ าํ ชุ มชนคือกํานันประวิทย์ ภูมิระวิ และชาวบ้านตําบลวัง ตะกอ นอกจากนี ยังเน้นยําและให้ความสําคัญกับการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิเกียวกับสถานการณ์ความ ไม่ มนคงทางอาหาร ั หลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จพอเพี ย ง หลัก การบริ หารจัดการต้นทุ น รวมทังองค์ ความรู ้ อืนๆที มี ส่วนเกี ยวข้องกับหัวข้อที ศึ ก ษา โดยทําการศึ ก ษาค้นคว้าจากหนัง สื อ ฐานข้อมู ล ออนไลน์ งานวิจยั และบทความต่างๆ โดยมี การประชุ มร่ วมกันระหว่างผูจ้ ดั ทําเพือจัดลําดับใน การศึกษาอย่างเป็ นขันตอน เมือจัดเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างครบถ้วน เพียงพอแล้ว ก็ได้นาํ ข้อมูล มาวิเคราะห์เพือสามารถตอบวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพือสรุ ปผลและเสนอแนะแนวทางเพิมเติม ในการดําเนินงาน ผลการศึ กษาพบว่า แนวคิดเศรษฐกิ จพอเพียง หลักการพึงพาตนเองทีอยู่บนพืนฐานของ หลักศาสนา การนํามาประยุกต์ใช้ในการบริ หารด้วยการสร้างความศรัทธาให้แก่ชาวบ้านในชุ มชน การให้ความรู ้ และการพัฒนาอย่างต่อเนื องค่อยเป็ นค่อยไป โดยปั จจัยทีสําคัญทีสุ ด คือ ภาวะผูน้ าํ ( การทําให้ดู อยู่ให้เห็ น ) ตามแนวคิ ดในการพึ งพิงตนเอง ส่ งผลให้สามารถลดรายจ่ายและเพิ ม รายได้ให้กบั ชาวบ้านในชุ มชน ทําให้ชีวิตความเป็ นอยูข่ องคนในชุ มชนดีขึน ชุ มชนเกิ ดการพัฒนา ควบคู่ไปกับการฟื นฟู และอนุ รักษ์ทรั พ ยากรธรรมชาติ ซึ งเป็ นปั จจัยหลักที ทําให้ชุ มชนเกิ ดการ พัฒนาต่อเนืองไปได้อย่างยังยืน


(3) กิตติกรรมประกาศ การศึกษาค้นคว้าปั ญหาพิเศษเรื อง แนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจ เพือการพัฒนาอย่าง ยังยืนของชุ มชน กรณี ศึกษา ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร ฉบับนี สําเร็ จลุ ล่วงไป ด้วยดี เพราะผูม้ ีพระคุณทีได้กรุ ณาให้แนวคิดคําแนะนํา และการให้ความช่วยเหลือเป็ นอย่างดี คณะ ผูศ้ ึกษาค้นคว้าจึงขอกล่าวขอบคุณทุกท่านดังนี ขอกราบขอบพระคุ ณ คุ ณประวิทย์ ภูมิระวิ กํานันตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัด ชุ ม พร รวมถึ ง ชาวบ้า นตํา บลวัง ตะกอทุ ก ท่ า นที คอยช่ ว ยเหลื อ อํา นวยความสะดวกให้ ค วาม อนุเคราะห์ ให้ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นอย่างดี ขอกราบขอบพระคุ ณ ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์พชั นิ จ เนาวพันธ์ อาจารย์ทีปรึ กษาวิชาปั ญหา พิเศษเป็ นอย่างยิงสําหรับการชี แนะ ตรวจสอบ กลันกรอง แก้ไขและประสานองค์ความรู ้ เพือให้ ปั ญหาพิเศษฉบับนีสําเร็ จลุล่วงอย่างสมบูรณ์ สุ ดท้ายนี คุ ณค่ าและคุ ณประโยชน์ของการศึ กษาค้นคว้า ปั ญหาพิเศษครังนี คณะผูศ้ ึ กษา ค้นคว้าขอมอบความดีอนั เกิดจากการศึกษาค้นคว้านีแด่ บิดา มารดา ทีสร้างชี วิตและให้แนวทางใน การดํารงชี วิตอันทรงคุณค่ายิงแก่คณะผูศ้ ึกษาค้นคว้า คณาจารย์ผปู ้ ระสิ ทธิ ประสาทวิทยาการ และ ทุกท่านทีได้มีส่วนเกียวข้อในการศึกษาค้นคว้าครังนี คณะผูจ้ ดั ทํา มีนาคม 2556


(4)

สารบัญ คํานํา บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนภูมิ บทที 1 บทนํา ที'มาและความสําคัญของปั ญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษาและค้นคว้า ประโยชน์ที'คาดว่าจะได้รับ นิยามศัพท์ บทที 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเกียวข้ อง ความหมายของความมัน' คงทางอาหาร ความสําคัญของความมัน' คงทางอาหาร สถานการณ์ความไม่มน'ั คงทางอาหาร สถานการณ์ดา้ นฐานทรัพยากร เปลียนแปลงพืนทีทําการเกษตรและการใช้ประโยชน์ทีดิน การเปลียนแปลงพืนทีทําการเกษตร การถือครองทีดิน มีความกระจุกตัวมาก การถือครองทีดินภาคการเกษตร สัดส่ วนผลผลิตพืชอาหารและพืชพลังงาน ความเสื อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ความเสื อมโทรมของทรัพยากรดิน การลดลงของพืนทีป่ าไม้ ปั ญหาของทรัพยากรนํา

หน้า (1) (2) (3) (4) (10) (11) (13) 1 3 3 3 4 4 7 11 12 13 13 13 15 16 17 19 19 19 20


(5)

สารบัญ(ต่ อ) สถานการณ์ดา้ นปั จจัยการผลิต พันธุ กรรมของพืชและสัตว์ในการผลิตอาหาร การพึงพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร อาหารสัตว์ การนําเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ การปนเปื อนวัตถุดิบอาหารสัตว์ สถานการณ์ดา้ นแรงงานภาคเกษตร ภาวะหนีสิ น โครงสร้างแรงงานภาคเกษตร การวางแผนการผลิตและตลาด การเปลียนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิต อาหาร ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศ นโยบายเกียวกับด้านความมันคงอาหารของประเทศ การเข้าถึงอาหารของประชากร สภาวะเศรษฐกิจ สภาวะขาดแคลนอาหารและโภชนาการ สถานการณ์ความไม่มนคงทางอาหารของประเทศไทยในเมื ั อง สถานการณ์ความไม่มนคงทางอาหารของประเทศไทยในชนบท ั สถานการณ์ความไม่มนคงทางอาหารของประเทศไทยในประมง ั สาเหตุความไม่มนคงทางอาหารของประเทศไทย ั ปั ญหาความไม่มนคงทางอาหารของประเทศไทย ั ผลกระทบอันเนืองมาจากความไม่มนคงทางอาหาร ั สถานการณ์การเจ็บป่ วยอันเนืองมาจากอาหาร การเจ็บป่ วยจากอาหารทีปนเปื อนจุลินทรี ย ์ การเจ็บป่ วยจากอาหารทีปนเปื อนสารเคมี ผลกระทบอันเนื'องมาจากความไม่มน'ั คงทางอาหาร การพัฒนาอย่างยัง' ยืน

หน้า 20 20 20 21 21 21 22 22 23 24 25 25 25 26 26 27 27 29 30 33 33 37 37 37 38 39 39


(6)

สารบัญ(ต่ อ) ความหมาย รู ปแบบของการพัฒนาอย่างยัง' ยืน หลักการของการพัฒนาอย่างยัง' ยืน ความเชื'อมโยงของเหตุปัจจัยของการพัฒนาที'ยง'ั ยืน การพัฒนาอย่างยัง' ยืนตามแนวคิดเชิงพุทธศาสตร์ หนทางนําไปสู่ การพัฒนาที'ยง'ั ยืนบนพื?นฐานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีคนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา หลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง แนวพระราชดําริ ในการดําเนิ นชีวติ แบบพอเพียง ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการประยุกต์ใช้ทฤษฎีใหม่ ประโยชน์ของการนําทฤษฎีใหม่มาประยุกต์ใช้ หลักการพึ'งตนเอง แนวทางการประยุกต์ใช้การพึ'งพาตนเองในระดับต่างๆ ตามแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง เพื'อการพัฒนาอย่างยัง' ยืน แนวทางการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับต่างๆ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับบุคคล การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชน การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับนักธุ รกิจ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ ปั จจัยบ่งชี?ความยัง' ยืนของชุมชน ภาวะผูน้ าํ ปั จจัยแห่งความสําเร็ จของเศรษฐกิจพอเพียง งานวิจยั ที'เกี'ยวข้อง กรอบแนวคิดในการศึกษา

หน้า 39 40 41 42 43 47 48 48 50 51 51 53 54 57 58 60 60 60 60 61 61 62 62 72 75 85


(7)

สารบัญ(ต่ อ) หน้า บทที 3

ข้ อมูลทัวไปเกียวกับตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร ประวัติความเป็ นมา การประกอบอาชีพ สภาพเศรษฐกิจ การคมนาคม สาธารณูปโภค อาณาเขตตําบล การล่มสลายของชุมชน ประวัติกาํ นันเคว็ด หลักคิดและแนวทางในการดําเนินชีวิต รายได้ของกํานัน แผนชีวติ ชุมชนคนวังตะกอ ค้นหาตัวตนคนวังตะกอ กระบวนการจัดทําแผนชี วติ ชุ มชนพึ'งตนเอง การกําหนดแกนนําและผูป้ ระสานงานแผนชีวติ ชุมชน กําหนดให้มีผปู ้ ระสานงานประจําหมู่บา้ น หน้าที'ของผูป้ ระสานงานประจําหมู่บา้ น การรวมตัวของผูป้ ระสานงานประจําหมู่บา้ น การแลกเปลี'ยนความเห็นของแกนนําทุกระดับ การสร้างความเข้าใจระหว่างผูน้ าํ และชาวบ้านในชุมชน การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจํากัดต่างๆ จุดแข็งของตําบลวังตะกอ โอกาสในการพัฒนาของตําบลวังตะกอ จุดอ่อนของตําบลวังตะกอ ข้อจํากัดของตําบลวังตะกอ ซึ' งเป็ นปั จจัยภายนอก การกําหนดวิสัยทัศน์ การกําหนดภารกิจหลัก ในการทํางาน

87 88 88 89 89 89 91 91 92 93 93 93 93 93 94 94 96 96 97 98 100 100 100 101 102 102 102


(8)

สารบัญ(ต่ อ)

บทที 4

การกําหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนา ยุทธศาสตร์ การสร้างความเชื' อมัน' ยุทธศาสตร์ การฟื? นฟูความสัมพันธ์ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบการจัดการ ยุทธศาสตร์ ส่งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ การกําหนดแผนงาน และกิจกรรมโครงการ ความสําเร็ จของแผนชีวติ ชุมชน เครื' องตัดหญ้าเดินตาม การบริ หารจัดการนํ?า การเลี?ยงหมูหลุม การเพาะเห็ด การปลูกปาล์ม โดยไม่ใช้สารเคมี ร้านค้าชุมชน การเลี?ยงผึ?ง โรงผลิตนํ?าดื'มวังตะกอ ปั? มนํ?ามันชุมชน การผลิตปุ๋ ยชีวภาพที'อาศัยวัตถุดิบจากธรรมชาติ โครงการธนาคารต้นไม้และการสร้างป่ าชุมชน สร้างที'อยูอ่ าศัย การออกเอกสารสิ ทธิH ที'ดิน การปลูกข้าวกินเอง ผลของการศึกษา หลักปรัชญาที'ใช้ยดึ ถือในการดําเนินการ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยึดถือและเชือมันในต้นทุนภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ยึดมันในหลักการพึงพาตนเอง การให้ค่ากับความสัมพันธ์ของคนมากกว่าผลกําไร ปั จจัยที'ทาํ ให้เกิดความมัน' คงในครัวเรื อนหรื อชุมชน

หน้า 103 103 104 104 105 105 112 112 113 114 116 117 117 118 120 120 121 122 124 125 125 127 127 127 128 128 129


(9)

สารบัญ(ต่ อ)

บทที 5

มีผนู ้ าํ ทีดี มีตน้ ทุนทางปั ญญา การร่ วมแรงร่ วมใจของคนในชุมชน การพัฒนาตามลําดับขันอย่างค่อยเป็ นค่อยไป การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ ความเข้มแข็งของพลังคนรุ่ นใหม่ การบริ หารงานแบบพึ'งพาตนเองของชุมชน การวางแผน กําหนดแกนนําและผูป้ ระสานงานแผนชี วติ ชุมชน สร้างความเข้าใจระหว่างผูน้ าํ และชาวบ้าน การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล การเรี ยนรู ้ทรัพยากรในท้องถิน มีการกําหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ การพัฒนา แผนงานและกิจกรรมโครงการ ขันตอนการปฏิบตั ิ การสังการ การสร้างแรงจูงใจ การตรวจสอบ การปรับปรุ งแก้ไขส่ วนทีมีปัญหา สรุ ปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป องค์ประกอบของชุมชนที'จะพัฒนาไปสู่ ความยัง' ยืน ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม ภาคผนวก

หน้า 129 131 131 131 132 132 132 133 133 134 134 134 134 135 135 135 135 136 139 141 141 144 146


(10)

สารบัญตาราง หน้า ตารางที' 2-1 จํานวนแรงงานทังประเทศ แรงงานภาคเกษตร แรงงานในการผลิตข้าวและ สัดส่ วนเปรี ยบเทียบของแรงงาน ปี 2516-2549 2-2 แสดงพืนที จํานวนประชากร ความหนาแน่น และอัตราการเพิมประชากรรายปี ทัวราชอาณาจักร กรุ งเทพมหานครและเขตปริ มณฑล ตังแต่ปี 2548-2549 2-3 ประมาณการสัดส่ วนของคนในชุมชนจําแนกตามฐานะทางเศรษฐกิจและการ เปลียนแปลง (ประมาณโดยตัวแทนคนจน) ปี 2500- 2510, ปี 2534 และ ปี 2544 2-4 สัดส่ วนคนจนจําแนกตามภูมิภาค ปี 2531-2541 2-5 แนวคิดการพัฒนาอย่างยัง' ยืน 2-6 ตารางเปรี ยบเทียบปั จจัยบ่งชี?ความยัง' ยืนของชุมชน 3-1 ตารางแสดงรายได้ต่อปี ของชาววังตะกอ 3-2 ตารางแสดงรายจ่ายต่อปี 3-3 ตารางแสดงหนี?สินของชาววังตะกอ 3-4 การเปรี ยบเทียบข้อมูลค่าใช้จ่ายและการกําหนดแผนงานเพื'อแก้ไขปั ญหา 3-5 รายได้ต่อปี จากการขายนํ?าผึ?งโพรงไทยของกลุ่มชาวบ้านวังตะกอ 3-6 แสดงการเปรี ยบเทียบราคาปุ๋ ยชีวภาพและปุ๋ ยเคมีต่อ 1 กระสอบ 4-1 แสดงปริ มาณการปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ทีลดลง

23 28 29

29 46 75 99 100 100 109 120 122 139


(11)

สารบัญภาพ หน้า ภาพที' 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20 2-21

องค์ประกอบความมัน' คงทางอาหาร แผนภูมิห่วงโซ่อาหาร เนือทีถือครองทําการเกษตร จําแนกตามการใช้ประโยชน์ทีดิน ความเหลือมลําอันเนื องมาจากโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร จํานวนผูถ้ ือครองทําการเกษตร จําแนกตามขนาดเนื?อที'ถือครองฯ จํานวนผูถ้ ือครองทําการเกษตร จําแนกตามลักษณะการถือครองฯ ความต้องการใช้และผลผลิตมันสําปะหลัง ปี 2548-2552 ความต้องการใช้และผลผลิตปาล์มนํามัน ปี 2548-2552 ปริ มาณผลผลิต ปริ มาณการใช้ นําเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ปี 2552 เปรี ยบเทียบความยากจนตามสาขาการผลิตภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร เส้นความยากจน สัดส่ วนคนจน จํานวนคนจน (เมือวัดจากรายจ่ายเพือการ บริ โภค) ปี 2531-2552 การเพิมขึนของต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายของปั จเจกบุคคลในการได้มาซึ งอาหาร และสิ นค้าบริ การทีจําเป็ นพืนฐานในการดํารงชีวิต ปี 2531- 2550 กราฟแสดงความหนาแน่นของประชากรแยกเป็ นภาค ตังแต่ปี 2550-2552 ปริ มาณการจับสัตว์นาเค็ ํ มใน-นอกน่านนําไทย ประมาณการ ตังแต่ ปี 25382550 ดุลการค้าสิ นค้าสัตว์นาและผลิ ํ ตภัณฑ์สัตว์นาํ ตังแต่ปี 2532 – 2551 แสดงจํานวนป่ าชายเลน แสดงปริ มาณการใช้ปุ๋ย แผนผังแสดงการพัฒนาแบบยัง' ยืน แผนภาพลักษณะของการพัฒนาที'ยง'ั ยืน (Sustainable Development) ตาม แนวคิดของพระธรรมปิ ฎก แผนภาพลักษณะของการพัฒนาอย่างยัง' ยืน (Sustainable Development) ตาม แนวคิดของพระราชวรมุนี แผนภาพแนวคิดทางพระพุทธศาสนาของการพัฒนาที'ยง'ั ยืนที'เน้นคนเป็ น ศูนย์กลางของการพัฒนา

10 12 14 15 16 16 18 18 21 23 26 26 28 30 32 33 34 40 44 44 45


(12)

สารบัญภาพ(ต่ อ) หน้า ภาพที' 2-22 2-23 2-24 2-25 2-26 2-27 3-1 3-2 3-3 3-4 3-5 3-6 3-7 3-8 3-9 3-10 3-11 3-12 3-13 3-14 3-15 4-1 4-2 5-1

แผนภาพแนวคิดการพัฒนาคนตามหลักไตรสิ กขาของพระราชวรมุนี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื'อนไข ขั?นตอนปฏิบตั ิสู่ วถิ ีเศรษฐกิจพอเพียง ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง การบริ หารและจัดแบ่งที'ดินแปลงเล็กออกเป็ นสัดส่ วน การพัฒนาทั?ง 3 มิติอย่างสมดุลตามกรอบการพัฒนาที'ยง'ั ยืนแห่งสหประชาชาติ (แผนปฏิบตั ิการ 21) แผนที'แสดงพื?นที'ของตําบลวังตะกอ ต้นกอ สัญลักษณ์ตาํ บลวังตะกอ โครงสร้างกลไกการบริ หาร ตําบลวังตะกอ ศักยภาพตําบลวังตะกอ เครื' องตัดหญ้าเดินตาม การบริ หารจัดการนํ?า การเลี?ยงหมู การเพาะเห็ด สวนปาล์ม การเลี?ยงผึ?ง การร่ วมมือของชาวบ้าน การผลิตและการใช้ประโยชน์ปุ๋ยอินทรี ย์ การเพาะกล้าไม้ การทํานา แสดงปั จจัยทีทําให้เกิดความมันคงในชุมชนวังตะกอ การบริ หารคุณภาพโดยใช้เครื องมือ Deming Cycle ของชุมชนวังตะกอ 8 เป้ าหมายสู่ วถิ ีแห่งความพอเพียง

46 49 50 52 57 63 87 88 94 95 107 113 114 115 116 117 119 122 122 123 126 129 133 143


(13)

สารบัญแผนภูมิ หน้า แผนภูมิที' 4-1 แผนภูมิเปรี ยบเทียบรายรับรวมระหว่างปี 2552 และ 2553

138


1

บทที 1 บทนํา ทีมาและความสําคัญของปัญหา สื บเนื องมาจากปั ญหาวิกฤตอาหารของโลกในปั จจุบนั ทีมีปริ มาณผลผลิตไม่เพียงพอกับความ ต้องการ ทําให้อาหารมีราคาสู งขึ)น ผูค้ นจึงต้องอดอยากล้มตายเป็ นจํานวนมาก เพราะแต่ละประเทศมา เน้นการผลิตเพือส่ งออกมากว่าการบริ โภคภายในประเทศ แต่ถึงอย่างไรก็ตามน่าจะเป็ นโอกาสทีดี ของ ประเทศไทย เนื องจากเป็ นประเทศผูผ้ ลิตอาหารส่ งออกที สําคัญของโลก มี ปริ มาณอาหารเพียงพอทั)ง การบริ โภคภายในประเทศและส่ งออกได้พร้อมๆกัน อีกทั)งเรายังมีพ)ืนทีนิ เวศอันอุดมสมบูรณ์ดว้ ยสัตว์ เลี)ยงทีเป็ นอาหารมากมายนานาชนิ ด การกําหนดนโยบายพัฒนาประเทศทีเป็ นระบบ จะทําให้ประเทศ ไทยกลายเป็ นประเทศเกษตรกรรมทีมีเอกภาพ เน้นการเพิมผลผลิตด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทําให้เกิด ศักยภาพด้านการเป็ นแหล่งอาหารโลกเพือรองรับแนวโน้มทางการเปลียนแปลงในอนาคต เพราะอาหาร คือทรั พยากรทีมี ความสํา คัญมากขึ)นทุ ก ๆวัน นับ ว่ าเป็ นความโชคดี ของประเทศไทยที เป็ นประเทศ ส่ งออกอาหารสุ ทธิทีสําคัญของโลก จึงได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณอาหารในปั จจุบนั น้อยมากเมือ เปรี ยบเทียบกับประเทศอืนๆอีกหลายๆประเทศ การบริ โภคภายในประเทศจึงไม่ตอ้ งเผชิญกับภาวะขาด แคลนและยังได้รับอานิ สงส์จากราคาสิ นค้าภาคเกษตรทีสู งขึ)นด้วย แต่นักวิชาการก็ได้มีการเปิ ดเผยว่า สถานการณ์ ความมันคงทางด้านอาหารของประเทศไทย พบว่า มี ขอ้ บ่ งชี) ต่ างๆ ที อาจจะนําไปสู่ ภาวะขาดแคลนอาหารได้ในอนาคต เนื องจากที ผ่านมา มี การ เพิมขึ)นของจํานวนประชากร และการใช้พ)ืนที เพือทําการเกษตรลดลง โดยแนวโน้มการใช้เนื) อทีส่ วน ใหญ่ยงั ใช้ปลูกพืชทีไม่ใช่อาหาร ขณะทีปั จจุบนั ยังมีการขยายตัวของชุมชนเมืองและอุตสาหกรรมรุ กลํ)า พื)นทีเกษตรส่ งผลให้พ)ืนทีปลูกพืชอาหารเหลือน้อยลง รวมถึงเกิดการรุ กคืบของโรงงานอุตสาหกรรม ทําให้พ)ื นที เพาะปลูกมี ไม่ เ พียงพอ อีกทั)งยัง มีปั ญหาการที พื)นที ป่ าไม้ถูกทําลาย ส่ งผลให้พ)ืนทีมี การ เปลียนแปลงทางกายภาพ รวมถึงการเปลียนแปลงของสภาพอากาศอย่างรวดเร็ ว ทําให้เกิดผลกระทบ ต่อการผลิตอาหาร เกิดโรคพืช ซึ งอาจส่ งผลให้เกิดจุดวิกฤติเร็ วขึ)น หากไม่เร่ งแก้ไขในวันนี) อาจส่ งผล ให้เกิดการขาดแคลนด้านอาหารได้ในอนาคต


2

การพัฒนาประเทศตลอด 40 กว่าปี ทีผ่านมา ได้เน้นให้เกิดการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจโดย ส่ งเสริ มการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และการค้าการบริ การ ซึ งถูกกําหนดมาจากนโยบายแห่ งรั ฐ ซึ ง ประชาชนไม่มีส่วนในการกําหนดทิศทาง สภาพท้องถินของตนเอง จนก่อให้เกิดความเปลียนแปลงต่อ วิถีการผลิต วิถีชีวิตของประชาชนเป็ นอย่างมาก จากทีเคยทําสวนผลไม้ในลักษณะสวนสมรม ก็หันมา ปลูกพืชเชิ งเดียวและใช้ปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูกกันมากขึ)น โดยได้รับการสนับสนุ นด้านสิ นเชื อจาก ธนาคารของรั ฐ เพื อการปลู ก พื ชเชิ ง เดี ยว ทํา ให้ ช าวบ้า นมี ห นี) สิ น ค่ า ใช้จ่ า ยในชี วิ ต ประจํา วัน และ ค่าใช้จ่ายประเภทฟุ่ มเฟื อยเพิมมากขึ)น อีกทั)งในปั จจุบนั ชาวบ้านนิ ยมหันไปซื) อผักจากตลาดมากกว่าที จะปลูกเอง และหันไปซื) อกับข้าวสําเร็ จรู ปแทนการปรุ งอาหารกินเอง จะเห็ นได้ว่าข้อบ่งชี) ปั ญหารู ปแบบการดําเนิ นชี วิตของคนในชุมชนได้เปลียนแปลงไปจากใน อดีต จึ งได้นาํ เอาแผนชี วิตชุ มชนมาเป็ นเครื องมือซึ งจะนําไปสู่ การพัฒนาชุมชนในหลายๆรู ปแบบ ทั)ง ด้านวิถีชีวิต ธุ รกิจชุ มชน สวัสดิการชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิน ได้แก่ โครงการผลิตปุ๋ ยหมักชี วภาพ ร้ า นค้า และปั= มนํ)า มัน ชุ มชน ผักสวนครั ว และของใช้ในครั ว เรื อน ซึ งแผนชี วิ ตชุ มชนสามารถนํา ไป บูรณาการ ความรู ้ หลักการต่างๆให้เข้ากับสภาพปั ญหาทีแท้จริ งในชุมชน รู ้จกั ตัวตนของตนเอง รู ้สภาพ ภายนอกทีจะมีผลต่อการพัฒนา นําไปสู่ การจัดทําแผนโดยชุมชนเป็ นแกนหลัก ดังนั)นจึ งเป็ นที มาของการให้ความสนใจที จะศึ กษาถึ งประเด็ นที เกี ยวกับการบริ หารจัดการ ต้นทุนไม่ว่าจะเป็ น การเข้าใจความหมายของต้นทุน ประเภทของต้นทุน แนวคิดเกียวกับต้นทุน วิธีการ บริ หารจัดการต้นทุน เป็ นต้น เนื องจากการบริ หารจัดการต้นทุนนั)นมีความสําคัญมากในการดํารงชีวิต ซึงคนในชุมชน ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพรนั)นได้นาํ การบริ หารจัดการต้นทุนกับแผน ชีวติ ชุมชนมาใช้ ส่ งผลให้คนในชุมชนนั)นมีคุณภาพชีวิตทีดีมากขึ)น มีหนี) สินน้อยลงและใช้ชีวิตอยูแ่ บบ พอเพียงมากขึ)น หากเราสามารถนําเอาแนวคิดการบริ หารจัดการต้นทุนของแผนชี วิตชุมชน ตําบลวัง ตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพรมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ ก็จะส่ งผลให้ประชาชนมีความ เป็ นอยูอ่ ย่างพอเพียงบนพื)นฐานของการพัฒนาทียังยืน


3

วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพือศึกษาขั)นตอนและวิธีการการบริ หารจัดการต้นทุนจากแผนชีวิตชุมชนพึงตนเอง ตําบล วังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 2. เพือศึกษาหลักการและความรู ้ต่างๆจากแผนชีวิตชุมชนพึงตนเอง ตําบลวังตะกอ อําเภอหลัง สวน จังหวัดชุ มพร ทีจะสามารถนํามาประยุกต์ใช้กบั สภาพปั ญหาข้อเท็จจริ งของคนใน ชุมชน ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตของเนื) อหาจะทํา การศึ กษาการจัด การบริ หารต้นทุ นจากแผนชี วิต ชุ มชนพึ งตนเอง ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร โดยประเด็นที คณะผูศ้ ึกษาให้ความสนใจมีท) งั หมด 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ โครงการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ ร้านค้าและปั) มนํ)ามันชุ มชน ผักสวนครัว และของใช้ ในครัวเรื อน วิธีการศึกษาและค้นคว้ า 1. ข้อมูล ปฐมภูมิ สั มภาษณ์ กบั ผูน้ ําชุ มชนและคนในชุ มชน ตํา บลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 2. ข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ งานวิจยั วิทยานิ พนธ์ งานนิพนธ์ ค้นคว้าอิสระ วารสาร บทความ และ หนังสื ออืนๆทีเกียวข้อง


4

ประโยชน์ ทีคาดว่ าจะได้ รับ 1. เพือให้ผศู ้ ึกษาหรื อผูท้ ีสนใจเข้าใจขั)นตอนและวิธีการการบริ หารจัดการต้นทุนจากแผนชีวิต ชุมชนพึงตนเอง ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 2. เพื อให้ ผูศ้ ึ กษาหรื อ ผูท้ ี สนใจสามารถนํา หลักการและความรู ้ ที ได้จ ากแผนชี วิ ต ชุ ม ชน พึงตนเอง ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร มาเป็ นแนวทางในพัฒนาและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน 3. เพื อให้ผศู ้ ึกษาหรื อผูท้ ี สนใจสามารถนําข้อมูลที ได้ไปประกอบการตัดสิ นใจและวางแผน เกียวกับการบริ หารจัดการต้นทุนจากแผนชีวิตชุมชนพึงตนเอง ตําบลวังตะกอ อําเภอหลัง สวน จังหวัดชุมพร

นิยามศัพท์ การจัดการ หมายถึง กระบวนการนํา ทรั พยากรการบริ หารมาใช้ให้บรรลุว ตั ถุ ประสงค์ตาม ขั)นตอนการบริ หาร คือ การวางแผน การจัดการองค์การ การชี)นาํ และการควบคุม การบริหาร หมายถึง การทีบุคคลตั)งแต่ 2 คน ขึ)นไป ร่ วมมือกันทํางานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ร่ วมกัน อย่างเป็ นกระบวนการและมีระบบภายใต้ทรัพยากรทีมีอยู่ โดยใช้เทคนิ ควิธีการต่างๆ การบริ ห ารต้ นทุ น หมายถึง การบูรณาการศาสตร์ หลายด้านที เกียวข้องกับต้นทุน เพื อให้ได้ ประโยชน์สูงสุ ด โดยใช้งบประมาณทีมีอยูอ่ ย่างจํากัดให้คุม้ ค่า


5

การพึงตนเอง หมายถึง ความสามารถในการดํารงตนอยูไ่ ด้อย่างอิสระ มันคง สมบูรณ์ ซึ งการ พึงพาตนเองได้น) นั มีท) งั ระดับบุ คคล และชุมชน การพึงตนเองต้องสามารถผันเปลียนไปตามกาลเวลา ได้เพือให้เกิดความเหมาะสม สอดคล้อง และสมดุล การลดต้ นทุน หมายถึง การพยายามลดค่าใช้จ่าย ทั)งทีเป็ นค่าใช้จ่ายทีควรลด ค่าใช้จ่ายทียังไม่ จําเป็ นต้องลด ไปจนถึงค่าใช้จ่ายทีไม่ควรลดโดยเด็ดขาด โดยมีเป้ าหมายทีชัดเจนและวัดผลได้เร็ วทีสุ ด ในรู ปของตัวเลขค่าใช้จ่ายทีลดลงทันทีทนั ใด ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นทีจะต้องมีระบบ คุม้ กันในตัวทีดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลียนแปลงทั)งภายนอกและภายใน ทั)งนี) ตอ้ งอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง ในการนําวิชาการต่างๆ มาใช้ใน การวางแผนและการดําเนิ นการทุกขั)นตอน และในขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื)นฐานจิตใจของคน ในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีของรั ฐ นักทฤษฎี และนักธุ รกิจในทุกระดับให้มีสํานึ กในคุณธรรม ความ ซื อสัตย์ และให้มีความรอบรู ้ ทีเหมาะสมดําเนิ นชี วิตด้วยความอดทน ความเพี ยร มีสติ ปั ญญา และมี ความรอบคอบเพือให้สมดุลและพร้ อมต่อการรองรั บการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ ว และกว้างขวางทั)ง ด้านวัตถุ สังคม สิ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี คุ ณภาพชี วิต หมายถึ ง การดํารงชี วิ ตอยู่ด้ว ยการมี สุ ขภาวะที สมบู รณ์ และมี ความมันคง ซึ ง ครอบคลุมถึงด้านต่าง ๆ อันได้แก่ สุ ขภาวะทางกาย สุ ขภาวะทางอารมณ์ สุ ขภาวะทางสังคม และสุ ข ภาวะทางจิตวิญญาณ แผนชี วิตชุ มชน หมายถึง เครื องมือที จะก่อให้เกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ ร่วมกันอย่างแท้จริ งใน ชุมชน เป็ นเครื องมือทีจะนําไปสู่ การพัฒนาชุมชนในหลายๆ รู ปแบบ ทั)งด้านวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ธุรกิจชุมชน สวัสดิการชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิน หลักปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรั ชญาที ชี) แนะแนวทางการดํารงอยู่และปฏิ บตั ิตน ในทางที ควรจะเป็ นโดยมี พ)ื นฐานมาจากวิถี ชีวิ ตดั)ง เดิ มของสั ง คมไทย สามารถนํา มาประยุกต์ใช้ได้


6

ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบทีมีการเปลียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤติ เพือความมันคงและความยังยืนของการพัฒนา สวนสมรม หมายถึ ง สวนขนาดเล็ก ที ปลูกผสมปนเปกันของผลไม้นานาชนิ ด ไม่ มีการแยก แปลงแยกชนิ ด อาศัยธรรมชาติให้เกื)อกูลกันเอง


7 บทที 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเกียวข้ อง ความหมายของความมันคงทางอาหาร ตาม พรบ. คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 ได้ให้ความหมายของความมันคงด้าน อาหาร คือ การเข้าถึงอาหารทีมีอย่างเพียงพอสําหรับการบริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมี ความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพือการมีสุขภาวะทีดี รวมทั/ง การมีระบบการผลิตทีเกื/อหนุ น รักษาความสมดุลของระบบนิ เวศวิทยา และความคงอยูข่ อง ฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ทั/งในภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิ สาธารณภัยหรื อ การก่อการร้ายอันเกียวเนื องจากอาหาร อาหารเป็ นหนึ งในปั จจัยสี ซึ งเป็ นปั จจัยพื/นฐานทีจําเป็ นต่อ การรอดชี วิตและการมีสุขภาพทางกายทีดี ความมันคงทางอาหารจึงเป็ นเรื องสําคัญทั/งในปั จจุบนั และอนาคต ปั ญหาทีเกิดขึ/นทีทําให้เกิดวิกฤตการณ์ทางอาหาร ประการแรก แม้เราจะมีอาหารอุดมสมบูรณ์จนประสบปั ญหาโรคอ้วนและโภชนาการเกิน ในประชากรกว่าร้ อยละ 10 แล้ว แต่ยงั มี คนทีอดอยาก หิ วโหย ขาดอาหารและทุ พโภชนาการอยู่ จํานวนไม่นอ้ ย เพราะปั ญหาการจัดสรรทรัพยากรทีไม่เหมาะสมคนทีมีอยู่แล้วยังได้มากเกิน ทําให้ คนทีขาดกลับได้รับน้อยกว่าทีควร ประการที สอง อิ ท ธิ พ ลครอบงํา ของระบบทุ น นิ ย มและโลกาภิ ว ฒ ั น์ ทํา ให้ เ รามุ่ ง รั บ เทคโนโลยีเพือประโยชน์ของการแข่งขันและเห็ นประโยชน์ของเงิ นตรามากกว่าคุณค่าของมนุ ษย์ ทําให้ไม่ให้ความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถินและภูมิปัญญาดั/งเดิม จึง เป็ นภัยคุกคามต่อความมันคงทางอาหาร ประการทีสาม ความจําเป็ นของการแสวงหาพลังงานทางเลื อกใหม่ ทําให้มีการใช้ทีดิ น และทรัพยากรจํานวนมากทีเดิมเคยใช้ผลิตอาหาร ไปใช้ผลิตพลังงานทดแทนโครงการอาหารโลก แห่ งสหประชาชาติ ได้ให้คาํ จํากัดความของความมันคงทางอาหารไว้ว่า หมายถึ งการมี ป ริ ม าณ อาหารสําหรับบริ โภคภายในครอบครัวและชุมชนอย่างพอเพียง ปลอดภัย และมีคุณภาพ ตลอดเวลา อย่างต่อเนื อง ซึ งรวมถึ งระบบการจัดการผลผลิตทีส่ งเสริ มและสนับสนุ นการผลิตอย่างยังยืน อาทิ


8 การปฏิรูปทีดิน การจัดการแหล่งนํ/า และปั จจัยการผลิตต่างๆ การกระจายผลผลิตและผลประโยชน์ ทีเป็ นธรรมต่อเกษตรกร ชุ มชน และประเทศชาติ ขณะทีมีบางกลุ่มเสนอแนะแนวทางเกษตรกรรม แบบยังยืน ซึ งให้ความสําคัญกับความสมดุ ลทางธรรมชาติ ความหลากหลายทางชี วภาพ และการ อนุรักษ์สิงแวดล้อม มากกว่าผลประโยชน์ดา้ นการตลาด 1. การดํารงอยู่และความเพียงพอของอาหารคือการมีอาหารเพียงพอสําหรับบริ โภค ทั/ง ภายในครอบครัว ชุมชน และชุมชนอืนๆ 2. การเข้าถึ งอาหารและปั จจัยการผลิ ตอาหารไม่ได้มีความหมายเพียงแค่การเพิมขึ/นของ ผลิ ตผลทางอาหารเท่านั/น แต่รวมถึ งโอกาสของประชาชนทุกคนแม้แต่คนทีจนทีสุ ด สามารถเข้าถึงอาหารได้และต้องสามารถเข้าถึงปั จจัยการผลิตอาหารคือ ทีดิน พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ แหล่งนํ/า ฯลฯ ด้วย 3. การใช้ประโยชน์และความปลอดภัยทางอาหารtคือมีอาหารทีปลอดภัยและมีคุณค่าทาง โภชนาการมีความหลากหลายและสอดคล้องกับวัฒนธรรมการบริ โภคในแต่ละท้องถิน มี ร ะบบการผลิ ต ที เกื/ อ หนุ น รั ก ษาความสมดุ ล ของระบบนิ เ วศวิ ท ยาสร้ า งความ หลากหลายทางชีวภาพtมีระบบการจัดการผลผลิตทีสอดคล้องเหมาะสม 4. ความยุติธรรมทางอาหาร คือ การเข้าถึ งอาหารทีเสมอภาคเท่าเทียมกันtมีการกระจาย อาหารอย่างทัวถึงทั/งในระดับครอบครัวและชุ มชนมีความมันคงทางด้านปั จจัยการผลิต ทั/งทีดิน นํ/าและทรัพยากรtและมีความมันคงในอาชีพและรายได้ 5. อธิ ปไตยทางอาหาร คือ สิ ทธิ ของประชาชนทีจะกําหนดนิยามของอาหารและการเกษตร ของตนเองทีจะปกป้ องและกํากับดูแลการผลิตและการค้าด้านการเกษตรภายในประเทศ เพือให้บรรลุการพัฒนาอย่างยังยืนอธิ ปไตยทางอาหารไม่ได้ปฏิเสธการค้าแต่จะส่ งเสริ ม การจัดทํานโยบายและแนวปฏิบตั ิทางการค้า ทีรับใช้สิทธิ ของประชาชนทีจะมีการผลิต ทีปลอดภัยtเป็ นประโยชน์ต่อสุ ขภาพยังยืนและสอดคล้องกับระบบนิเวศน์


9 อีกทั/ง องค์การอาหารและเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (FAO) ได้ให้ความหมายของ ความ มันคงทางอาหาร คือ สถานการณ์ทีทุกคนในทุกเวลาสามารถเข้าถึงอาหารได้ท/ งั ด้านกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ อย่างเพียงพอ ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ และตรงกับรสนิ ยมของตนเอง เพือการมี สุ ขภาพที ดี จะเห็ นว่าคํานิ ยามของความมันคงทางอาหารนั/นจะพัฒนามาจากความเพียงพอก่ อน ต่อมาก็เพิมการเข้าถึงทั/งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม และก็ได้เพิมคุณค่าทางโภชนาการและ รสนิ ยมเข้า ไปด้วยโดยจะต้องเกิ ดขึ/ นตั/งแต่ระดับ ปั จเจกบุ ค คล ครั วเรื อน ชุ มชน ไปจนถึ ง ระดับประเทศ ตามแนวคิดของ FAO นั/น ความมันคงทางอาหารจะต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนทั/ง4 ด้าน หรื อ 4 มิติ คือ การมีอาหารเพียงพอ (Availability) หมายถึง การมีอาหารเพียงพอทีจะบริ โภคในทุกระดับ ซึ งอาจมาจากโดยการผลิตขึ/นเองในครัวเรื อนหรื อซื/ อในชุ มชน หรื อในประเทศ (ครัวเรื อนเพียงพอ/ ชุ มชนเพียงพอ) หรื อผลิ ตในประเทศ หรื อนําเข้าจากต่างประเทศ รวมทั/งได้รับการบริ จาคด้วย (ประเทศเพียงพอ) การเข้ าถึงอาหาร (Accessibility) หมายถึง การเข้าถึงอาหารในทางกายภาพ โดยการผลิตเอง หรื อมีผูบ้ ริ จาค และการเข้าถึ งในทางเศรษฐกิ จโดยการซื/ อ ทั/งนี/ ตอ้ งมีอาหารให้ซ/ื อและมีรายได้ เพียงพอด้วย การใช้ ประโยชน์ จากอาหาร (Utilization) หมายถึง การใช้ประโยชน์จากอาหารทีมีอยูอ่ ย่าง ถูกหลักโภชนาการ คือมีความปลอดภัย มีความหลากหลาย (ครบหมู่) ให้พลังงาน (calories) เพียงพอต่อการเจริ ญเจริ ญเติบโตของร่ างกาย และมีสุขภาพทีแข็งแรง รวมทั/งลดการสู ญเสี ยทีเกิ ด จากการบริ โภคอาหารด้วย การมีเสถียรภาพด้ านอาหาร (Stability) หมายถึง ทุกมิติขา้ งต้นจะต้องมีเสถียรภาพด้วย เช่น ไม่ขาดแคลนในบางฤดูหรื อบางปี รวมทั/งประชาชนต้องเข้าถึงอาหารได้ตลอดเวลา และการบริ โภค ก็ตอ้ งถูกหลักโภชนาการเสมอ


10

ภาพที 2-1 องค์ประกอบความมันคงทางอาหาร ทีมา: สถาบันระหว่างประเทศเพือการค้าและการพัฒนา, 2554 นิยามความหมายความมันคงทางอาหาร จึงมีบริ บททีหลากหลาย และไม่สามารถมีตวั ชี/วดั เพียงตัวเดี ยวทีอธิ บายความมันคงทางอาหารทั/งในระดับประเทศ และระดับชุ มชนได้ เนื องจาก ความมันคงทางอาหารมี ความสัมพันธ์ กบั มิติท/ งั ทางเศรษฐกิ จ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม เกี ยวพันกับชี วิตความเป็ นอยูแ่ ละคุณภาพชี วิตทีดีของครัวเรื อนและชุ มชน ดังนั/นตัวชี/ วดั ทีจะเป็ น เครื องมือในการพัฒนาให้สังคมมีความมันคงทางอาหาร จึงต้องมีมิติทีหลากหลาย สอดคล้องกับ ความเปลี ยนแปลงของสังคม และสะท้อนความเป็ นจริ งของสถานะความมันคงทางอาหารของ ชุ มชนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเป็ นเครื องมือทีจะสร้างการมีส่วนร่ วมของกลุ่มและชุ มชน เพือ กําหนดแนวทางการพัฒนา และทําให้ประชาชนมีสิทธิ และสามารถเข้าถึงอาหารได้อย่างมีศกั ดิ[ศรี เป็ นธรรมและมีคุณภาพชีวติ ทีดี จากข้อมูลข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึง ความมันคงด้านอาหาร หมายถึง การเข้าถึงอาหารทีมี อย่างเพียงพอสําหรับการบริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทาง โภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพือการมีสุขภาวะทีดี รวมทั/ง การมีระบบการผลิตที เกื/ อหนุ น รั กษาความสมดุ ล ของระบบนิ เวศวิทยา และความคงอยู่ของฐานทรั พยากรอาหารทาง ธรรมชาติของประเทศ ทั/งในภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิ


11 ความสํ าคัญของความมันคงทางอาหาร สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ (2551) ได้กล่าวไว้ว่า อาหารเป็ นหนึงในปั จจัยสี ซึ งเป็ นปั จจัยพื/นฐานทีจําเป็ นต่อการดํารงชี วิตและการมีสุขภาพทางกายที ดี อาหารที มี คุณภาพและความปลอดภัยเป็ นปั จจัยสํา คัญอย่างหนึ งต่อการดํา รงสุ ข ภาวะที ดี ของ ประชาชนซึ งนอกจากจะส่ งผลให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในทุกด้านอย่างมีประสิ ทธิ ภาพแล้วยังมีผล ต่อการค้าและเศรษฐกิจของประเทศด้วย ดังนั/นความมันคงทางอาหารจึงเป็ นปั จจัยสําคัญทีสามารถ บ่งบอกระดับชีวติ ความเป็ นอยูข่ องประชากรและสภาพเศรษฐกิจของประเทศ สุ ภาttใยเมือง (2555) ได้กล่าวไว้วา่ ความมันคงทางอาหารจะเกิ ดขึ/นได้จากมีการกําหนด นโยบายความมันคงทางอาหารและวางแผนการใช้ทีดินโดยชุมชนท้องถินโดยการสนับสนุ นของรัฐ ซึ งจะทําให้เกิดการพึงตนเองด้านอาหารทั/งระดับชุ มชนและประเทศtรวมถึงการสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนtกลุ่มเกษตรกรในระบบห่ วงโซ่ อาหารและถ้ามีการควบคุมและป้ องกันการผูกขาดระบบ อาหารก็จะทําให้ปัญหาความไม่มนคงทางอาหารนั ั / นลดลงtสิ งทีสําคัญต่อการสร้างความมันคงทาง อาหารนั/นต้องรู ้ จกั การฟื/ นฟู ความรู ้ ด้า นอาหารและการสร้ า งความรู ้ ใ หม่ใ นระบบอาหารให้ก ับ ชุ มชนtอีกทั/งเรื องของทีดิ นและปั จจัยการผลิ ตนั/นต้องมีการกระจายและให้เกษตรกรรายย่อยเป็ น เจ้าของอย่างเป็ นธรรมtนอกจากนี/ ยงั ต้องสร้างระบบเกษตรสําหรับคนเมืองและการพิจารณาเกษตร ชานเมื องให้เป็ นแหล่ งอาหารเพือที จะลดการเกิ ดปั ญหาด้านความคลาดแคลนtส่ งผลให้ในระดับ ครัวเรื อนทีผลิตและบริ โภคอาหารทีตนเองผลิตนั/นมีแนวโน้มจะไม่ได้รับผลกระทบจากการขึ/นของ ราคาอาหาร กล่ า วโดยสรุ ป คื อ หากประเทศไทยมี ค วามมันคงทางอาหารจะทํา ให้ ป ระเทศมี ฐ าน ทรัพยากรในการผลิตอาหารทีสมบูรณ์และยังยืนtโดยชุ มชนเกษตรกรมีการผลิตอาหารทีเข้มแข็งtมี ระบบเศรษฐกิ จและการจัดการอาหารที เป็ นธรรมtสร้ างรายได้ให้แก่ เศรษฐกิ จของประเทศและ ท้องถิ นอี กทั/งยังทําให้ผูบ้ ริ โภคเข้าถึ งอาหารทีมี คุณภาพและปลอดภัยtมี คุณค่าทางโภชนาการtมี กลไกและระบบจัดการที มี ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลtตอบสนองได้ท/ งั ภาวะปกติ และภาวะ วิกฤติและสุ ดท้ายยังสามารถสร้างความเชือมันให้กบั อาหารทีส่ งออกtเพิมศักยภาพและขยายโอกาส ด้านการตลาดผ่านทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางโภชนาการ


12 สถานการณ์ ความไม่ มันคงทางอาหารของประเทศไทย ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่งผลิตอาหารสําคัญของโลก สามารถผลิตสิ นค้า เกษตรได้หลากหลาย เกินความต้องการภายในประเทศ และมีมากพอสําหรับส่ งออกเป็ นสิ นค้าไป ขายยังประเทศต่างๆ อย่างไรก็ตามพบว่ามีปัจจัยทีส่ งผลกระทบต่อความสามารถในการผลิต ซึ งจาก การวิเคราะห์สถานการณ์ ดา้ นอาหารตลอดห่ วงโซ่ (ดังภาพที 2-2) ได้แก่ ฐานทรัพยากร ปั จจัยการ ผลิต แรงงาน ภาคเกษตร ตลอดจนปั จจัยภายนอก ทีมีผลกระทบและสามารถสรุ ปประเด็นปั ญหาที สําคัญตามมิติของพระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ดังนี/

ภาพที 2-2 แผนภูมิห่วงโซ่อาหาร ทีมา: พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ, 2551 ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 “ความมันคงด้านอาหาร” หมายความว่า การเข้า ถึ ง อาหารที มี อย่า งเพีย งพอสํา หรั บ การบริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพือการมีสุข ภาวะทีดี รวมทั/งการมีระบบการผลิตทีเกื/อหนุน รักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาและความคง อยูข่ องฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ทั/งในภาวะปกติหรื อเกิ ดภัยพิบตั ิ สาธารณ ภัยหรื อการก่อการร้ายอันเกียวเนืองจากอาหาร


13 นันหมายถึงประชากรไทยทุกคนมีสิทธิ ในการได้รับอาหารอย่างเพียงพอตามความต้องการ ในระดับ ปั จเจกบุ ค คล และมี ก ารผลิ ตและเข้าถึ งทรั พยากรอย่า งเพียงพอ แต่ ทีผ่านมาพบว่า ฐาน ทรัพยากรธรรมชาติมีแนวโน้มเสื อมโทรมรุ นแรงส่ งผลกระทบต่อการผลิ ตภาคเกษตรและความ มันคงอาหาร ระบบการผลิตภาคเกษตรยังต้องพึงปั จจัยการผลิตจากต่างประเทศ ทําให้มีตน้ ทุนการ ผลิตสู ง ขณะทีพื/นทีการเกษตรมีจาํ กัดและถูกใช้ไปเพือกิจการอืน รวมทั/งมีปัญหาชาวต่างชาติอาศัย ช่ อ งว่า งของกฎหมายเข้า มาครอบครองที ดิ น เกษตรกรรม ส่ ง ผลให้ ค นไทยสู ญ เสี ย สิ ท ธิ[ การ ครอบครองและการใช้ประโยชน์ทีดิ นและแรงงานภาคเกษตรมีแนวโน้มลดลง ส่ วนการเชื อมโยง ผลผลิตเกษตรกับภาคอุตสาหกรรมการเกษตรเพือเพิมมูลค่ายังอยูใ่ นวงจํากัดและล่าช้า เนื องจากการ พัฒนาเป็ นแบบแยกส่ วน ขาดการรวมกลุ่มอย่างเป็ นระบบ อีกทั/งยังมีปัจจัยภายนอกทีกระทบต่อ ความมันคงอาหารเช่นกัน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี/ 1. สถานการณ์ดา้ นฐานทรัพยากร 1.1 เปลียนแปลงพื/นทีทําการเกษตรและการใช้ประโยชน์ทีดิน 1.1.1 การเปลี ยนแปลงพื/นทีทําการเกษตร ประเทศไทยมีเนื/ อทีทั/งหมดประมาณ 320.7 ล้านไร่ ในปี 2551 มีการใช้ทีดินเพือการเกษตร 112.6 ล้านไร่ ซึ งเนื/ อ ทีประมาณครึ งหนึง (ร้อยละ 50.6) เป็ นทีปลูกข้าวร้อยละ 12.1 ปลูกยางพารา ร้อยละ 37. 3 ปลูกพืชอืน ๆ ในช่วงระยะเวลา 5 ปี จากปี 2546 ถึง 2551 เนื/ อ ที ปลู ก ข้า วลดลง 2.0 ล้า นไร่ (ร้ อยละ 3.3) ขณะที เนื/ อที ปลู ก พื/ นที ปลู ก ยางพาราเพิมขึ/น ประมาณ 4.0 ล้านไร่ (ร้อยละ 41.3) ดังภาพที 2-3


14

ภาพที 2-3 เนื/อทีถือครองทําการเกษตร จําแนกตามการใช้ประโยชน์ทีดิน ทีมา: สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2551 จากการศึกษาความเชื อมโยงระหว่างชนบทและเมืองด้านอุตสาหกรรม ใน พื/นทีขยายตัวของกรุ งเทพมหานคร กรณี ศึกษาจังหวัดปทุมธานี ซึ งเป็ นแหล่งปลูก ข้าวทีสําคัญของประเทศ ในช่ วงเวลาปี 2532-2550 พื/นทีศึกษามีการเปลี ยนแปลง ของจํานวนโรงงานเพิมขึ/น จาก 706 เป็ น 2,558 โรงงาน โดยเฉลียร้อยละ 15.02 ต่อ ปี ทําให้เกิ ดการลดลงของพื/นทีเกษตร และการเพิมขึ/นของการใช้ประโยชน์ทีดิ น เพือกิจกรรมด้านอุตสาหกรรม โดยเพิมขึ/นเฉลียปี ละร้อยละ1.96 อีกทั/งมีการใช้ทีดิ น เพือกิ จกรรมอืนๆ อาทิ เช่ น ในปี 2537 จากการสํารวจ ของกรมพัฒนาที ดิ นในพื/นที อําเภอคลองหลวง ธัญบุ รี และหนองเสื อ มี ก ารนํา พื/นที เหมาะสมต่อการเกษตร และอยู่ในเขตชลประทานไปทําโครงการจัดสรร ทีดินบ้านจัดสรร รี สอร์ ท และสนามกอล์ฟรวม 146 โครงการ และแม้จะเหลื อ 30 โครงการในปี 2543 แต่เมือโครงการชะลอหรื อยุติพ/ืนทีเหล่านั/นก็ถูกทิ/งร้าง ไม่ได้ ใช้ประโยชน์ต่อการเกษตร โดยภาพรวมมีการใช้เนื/ อทีทางการเกษตรในการปลูกพืชทีไม่ใช่อาหารทีมี แนวโน้มเพิมมากขึ/น และมีการขยายตัวของชุ มชนเมือง รวมทั/งด้านอุตสาหกรรม รุ กลํ/าพื/นทีทางการเกษตร ส่ งผลให้เนื/อทีปลูกพืชอาหารเหลือน้อยลงไปทุกที


15

ภาพที 2-4 ความเหลือมลํ/าอันเนืองมาจากโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร ทีมา: อวยพร แต้ชูตระกูล. นิ ตยสารโลกสี เขียว. ปี ที 11. ฉบับที 4 และประภาส ปิ นตบแต่ง. กรุ งเทพธุ รกิจ. ฉบับวันพุธที 10 มิถุนายน 2552 1.1.2 การถื อ ครองที ดิ น มี ค วามกระจุ ก ตัว มาก ข้อ มู ล จาก สํ า นัก งานที ดิ น ทัว ประเทศ 399 แห่ ง ประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศ (ประมาณ 21 ล้านคน และนิ ติบุคคลประมาณ 1 ล้านราย) ถือครองทีดินขนาดเล็กคือไม่เกิ น 4 ไร่ ต่อรายโดยมีโฉนด ขณะทีผูถ้ ือครองทีดินขนาดใหญ่มีสัดส่ วนเพียงเล็กน้อย ของประชากรทั/งหมด โดยบุคคลธรรมดา 4,613 ราย ถื อครองทีดิ นแปลง ขนาดเกิน 100 ไร่ ในจํานวนนี/ 121 รายทีถือครองทีดิน 500-999 ไร่ และอีก เพี ย ง 113 รายที ถื อครองที ดิ นเกิ นกว่า 1,000 ไร่ สํา หรั บ กลุ่ ม นิ ติบุ ค คล จํานวน 2,205 ราย ถื อครองทีดิ นตั/งแต่ 100 ไร่ ข/ ึนไป ในจํานวนนี/ 100 ราย ถื อครองที ดิ นจํา นวน 500-999 ไร่ และ 42 ราย ที ถื อ ครองที ดิ นเกิ นกว่า 1,000 ไร่ ดังนั/น การบังคับใช้ภาษีทีดิ นและสิ งปลู กสร้ างที เข้มงวดจึงเป็ น กลไกหนึ งที ช่ วยสนับ สนุ นให้เกิ ดการกระจายการถื อครองที ดิ นอันเป็ น ทรัพยากรสําคัญสําหรับการสร้างโอกาสทางอาชี พสําหรับคนจน (ดังภาพที 2-4) 1.1.3 การถื อครองทีดินภาคการเกษตร ในปี 2551 ประเทศไทยมีผูถ้ ือครองเนื/ อที ทําการเกษตรทั/งหมด 5.8 ล้านราย และในช่ วง 5 ปี ทีผ่านมาจากปี 2546 มี


16 แนวโน้ ม ผู ้ถื อ ครองเนื/ อ ที ทํา การเกษตรในเนื/ อ ที ขนาดเล็ ก ตํากว่า 6 ไร่ เพิมขึ/น เป็ นร้อยละ 24.6 ซึ งทําให้เกษตรกรมีพ/ืนทีไม่เพียงพอต่อการเกษตร (ดังภาพที 2-5) และ ผูถ้ ื อครองทําการเกษตรส่ วนใหญ่ (ร้ อยละ 75.8) ทํา การเกษตรในเนื/อทีของตนเองอย่างเดียว ร้อยละ 15.8 ทําการเกษตรในเนื/อที ของตนเองและในเนื/ อที ของผูอ้ ื น และมี ผูท้ ี ทํา การเกษตรที ไม่มี เนื/ อที ถื อ ครองของตนเองร้อยละ 8.4 (ดังภาพที 2-6)

ภาพที 2-5 จํานวนผูถ้ ือครองทําการเกษตร จําแนกตามขนาดเนื/อทีถือครอง ทีมา: สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2551

ภาพที 2-6 จํานวนผูถ้ ือครองทําการเกษตร จําแนกตามลักษณะการถือครอง ทีดิ น และเนื/อทีถื อครองของตนเอง จําแนกตามเอกสารสิ ทธิ[ ปี 2551 ทีมา: สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2551


17 1.2 สัดส่ วนผลผลิตพืชอาหารและพืชพลังงาน จากความรุ น แรงของวิ ก ฤตพลัง งานและผลกระทบจากราคานํ/า มัน ใน ตลาดโลกที ปรั บตัวสู ง ขึ/นตั/งแต่ปี 2550 เป็ นต้นมา ทํา ให้ประเทศไทยหันมาให้ ความสําคัญกับการส่ งเสริ มการผลิ ตและการใช้พลังงานทดแทน โดยภาครัฐได้มี นโยบายส่ งเสริ มการพัฒนาเชื/ อเพลิงชี วภาพและชี วมวล เช่น เอทานอล และไบโอ ดีเซล เป็ นต้น จากพืชอาหารทีสําคัญได้แก่ มันสําปะหลัง อ้อย และปาล์มนํ/ามัน โดยเฉพาะมันสําปะหลัง ซึ งเป็ นพืชทีมีตน้ ทุนการผลิตเอทานอลตํากว่าพืชชนิ ดอืน ในปี 2552 ประเทศไทยมีโรงงานทีผลิตเอทานอลจํานวน 5 โรง กําลังการผลิตรวม 0.83 ล้า นลิ ตรต่ อ วัน และภายในปี 2553 คาดว่า จะมี โ รงงานเอทานอลที ใช้ม ัน สําปะหลังเป็ นวัตถุดิบจํานวน 6 โรง กําลังการผลิ ตรวม 1.77 ล้านลิ ตรต่อวัน โดย ประเทศไทยเริ มมีการใช้มนั สําปะหลังเพือผลิ ตเป็ นเอทานอลตั/งแต่ปี 2549 และมี แนวโน้มทีจะใช้เพิมขึ/น ในปี 2553 ประมาณ 1 ล้านตัน (ดังภาพที 2-7) ส่ วนการผลิ ตไบโอดี เซลจากปาล์มนํ/ามัน ในปี 2552 ประมาณร้ อยละ 23 ของผลผลิ ตปาล์มนํ/ามัน ถูกนําไปใช้เพือผลิตเป็ นพลังงาน ทีเหลือเป็ นการใช้เพือ บริ โภค ส่ งออกและเก็บไว้เป็ นสต๊อก คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 58 ร้อยละ 9 และร้อย ละ 10 ตามลําดับ (ดังภาพที 2-8) และมีจาํ นวนโรงงานทีผลิตไบโอดีเซลจากนํ/ามัน ปาล์ม มีท/ งั สิ/ น 14 โรง มีกาํ ลังการผลิต 4.5 ล้านลิตรต่อวัน แต่ผลิตได้จริ ง 1.5 ล้าน ลิ ตรต่อวันแสดงให้เห็ นว่า อาจจะมี การนํา ที ดิ นไปปลู ก ปาล์มนํ/ามันมากขึ/นเพื อ ป้ อนโรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิงในกรณี ทีราคานํ/ามันสู งขึ/น ซึ งจะมีผลกระทบต่อ ด้านความมันคงอาหาร


18

ภาพที 2-7 ความต้องการใช้และผลผลิตมันสําปะหลัง ปี 2548-2552 ทีมา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552

ภาพที 2-8 ความต้องการใช้และผลผลิตปาล์มนํ/ามัน ปี 2548-2552 ทีมา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552 1.3 ความเสื อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาทางเศรษฐกิ จหลายทศวรรษที ผ่านมา แม้ประเทศไทยจะมี การ เจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ จนทํา ให้ ก ลายเป็ นประเทศที มี ร ายได้ร ะดับ กลาง (Medium Income Country) แต่ ต้อ งแลกกับ ความเสื อมโทรมของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติในด้านต่าง ๆ โดยขาดการบํารุ งรักษาเพือความยังยืน และการ บริ หา ร จั ด ก า ร ขอ ง รั ฐ ที ผ่ า นม า ยั ง ไม่ ส าม า รถ ยั บ ยั/ งปั ญ หา ได้ ทํ า ใ ห้ ทรัพยากรธรรมชาติเสื อมโทรม


19 1.3.1 ความเสื อมโทรมของทรั พ ยากรดิ น ที ผ่ า นมามี ก ารใช้ ป ระโยชน์ จ าก ทรัพยากรดินอย่างไม่เหมาะสม เช่น ขาดการดูแลความอุดมสมบูรณ์ในช่วง ก่ อน ระหว่า ง และหลัง การเพาะปลู ก ทํา ให้ดินขาดธาตุ อาหาร โดยในปี 2551 ที ดิ นของประเทศไทยมี ปัญหาดังกล่ าว ถึ งประมาณร้ อยละ 60 ของ พื/นทีทั/งหมด และพื/นทีทีมีปัญหาการชะล้างพังทลายของดิ นมากทีสุ ดส่ วน ใหญ่อยูใ่ นภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ โดยจากการทีความอุดม สมบูรณ์ของดินลดลงและพื/นทีทําการเกษตรลดลง ทําให้เกษตรกรต้องเพิม ผลผลิ ต โดยการใช้ส ารเคมี ม ากขึ/ น ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ปั ญ หาการตกค้า งของ สารเคมีในดินมากขึ/นตามไปด้วย 1.3.2 การลดลงของพื/นทีป่ าไม้ พื/นทีป่ าไม้ของประเทศลดลงอย่างรวดเร็ วซึ งการ ลดลงของพื/นทีป่ าไม้ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิ น การลดลง ของความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปจนถึงปั ญหาเกียวกับความแห้งแล้ง ด้วย ประเทศไทยเคยมีป่าชายเลนเมือปี 2504 ถึง 3,679 ตารางกิ โลเมตร (ประมาณ 2.3 ล้านไร่ ) แต่ได้ถูกทําลายลง เนื องจากการเพิมของการทํานา กุ้ง ทัวทุ ก ภู มิ ภาคของประเทศ ปั จจุ บนั คาดว่า พื/ นที ป่ าชายเลนเหลื อเพี ย ง ประมาณ 1,500 ตารางกิ โลเมตร นอกจากนี/ กิจกรรมทางเศรษฐกิ จ ได้แก่ การทําประมงทั/งในเชิงพาณิ ชย์ และประมงพื/นบ้านทีสําคัญอีกด้วย 1.3.3 ปั ญหาของทรัพยากรนํ/า นํ/าเป็ นปั จจัยการผลิ ตทีสําคัญควบคู่กบั ดิ นในการ ผลิ ตอาหาร โดยความต้องการใช้น/ าํ เพือการเกษตรมากถึ งร้ อยละ 76 ของ ความต้องการใช้น/ าํ ทั/งหมดของประเทศ ในขณะทีมีปัญหาเรื องการจัดการ นํ/าซึ งมีพ/ืนทีทีต้องพึงพานํ/าฝนเพียงอย่างเดี ยวเป็ นส่ วนใหญ่ (ประมาณ 70 ล้านไร่ ) เพราะอยูน่ อกเขตชลประทานทําให้เกิดความไม่แน่นอนต่อปริ มาณ ผลผลิ ต เนื องจากภาวะฝนทิ/งช่ วงเป็ นเวลานานและไม่ตกต้องตามฤดู กาล นอกจากนี/ยงั พบปั ญหาพื/นทีท้ายนํ/ามีสภาพเสื อมโทรม จากการรองรับนํ/าที ผ่านการใช้ประโยชน์มาแล้วจากพื/นทีกลางนํ/า โดยเฉพาะในฤดูแล้ง นํ/าใน แหล่งนํ/าต่าง ๆ มีคุณภาพตํากว่าเกณฑ์มาตรฐานถึงร้อยละ 35 โดยเฉพาะใน


20 บริ เวณลุ่ มแม่น/ าํ เจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจี นตอนล่ าง บางปะกง ลําตะคลอง และทะเลสาบสงขลา มีคุณภาพนํ/าอยูใ่ นเกณฑ์ตามาก ํ จึงต้องมีนโยบายและ การบริ หารจัดการนํ/าเพือการเกษตร 2. สถานการณ์ดา้ นปั จจัยการผลิต 2.1 พันธุ กรรมของพืชและสัตว์ในการผลิตอาหาร อาหารทีจําหน่ายในท้องตลาดมีความหลากหลายน้อยมาก เช่น พืชผักสําคัญ ของตลาดในประเทศมี เพียง 8 ชนิ ด ได้แก่ ผักบุ ง้ คะน้า กะหลําปลี กะหลําดอก ผักกาดขาว กวางตุง้ พริ กขี/หนู และแตงกวา ซึ งแสดงถึงการละเลยพืชพื/นบ้านทีมี ความสําคัญต่อวิถีชีวิตและโภชนาการ เช่นเดี ยวกันกับข้าวซึ งเป็ นอาหารหลักของ คนไทย โดยกว่าร้อยละ 90 ใช้พนั ธุ์ขา้ วประมาณ 10 สายพันธุ์ ในขณะทีมีสายพันธุ์ พื/นบ้านทีมีสารอาหารบางอย่างสู ง และเหมาะสมต่อการปลูกในท้องถินยังต้องการ การอนุรักษ์และเผยแพร่ สําหรับสัตว์ทีบริ โภค เช่น ไก่มีไม่กีสายพันธุ์ จําเป็ นต้องมี การวิจยั ทรัพยากรพันธุ กรรมของไก่พ/ืนบ้าน 2.2 การพึงพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร ประเทศไทยมีการปลูกพืชอย่างเข้มข้น ทําให้มีการใช้ปุ๋ยมากขึ/นอย่างก้าว กระโดดจาก 321,700 ตัน ในปี 2525 เป็ น 4,117,752 ตัน ในปี 2552 คิดเป็ นมูลค่า 46,176 ล้านบาท เช่นเดียวกับสารเคมีป้องกันกําจัดศัตรู พืชทีการนําเข้าในปี 2552 มี ปริ มาณมากถึง 126,577 ตัน นอกจากนี/ การใช้สารกําจัดศัตรู พืชทีไม่ถูกต้องและ เหมาะสมก่อให้เกิ ดปั ญหาการได้รับสารพิษเข้าสู่ ร่างกายของเกษตรกรผูใ้ ช้ โดย พบว่ า เกษตรกรเกื อ บทั/ง หมดเคยมี อ าการเกิ ด พิ ษ เนื องจากสารเคมี ที ใช้ โดย เกษตรกรร้ อยละ 56 เคยมีอาการระดับปานกลาง และร้อยละ 1 เคยมีอาการระดับ รุ นแรง และจากการตรวจเลือดเกษตรกร 187 ราย พบว่าร้อยละ 11 มีความเสี ยงใน ระดับอันตราย และยังมีสารพิษตกค้างในผลผลิตทาง การเกษตร


21 2.3 อาหารสัตว์ 2.3.1 การนําเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ประเทศไทยมีศกั ยภาพการผลิตวัตถุดิบอาหาร สัตว์ได้เกื อบทุกชนิ ดยกเว้นถัวเหลือง กากถัวเหลือง ข้าวโพด และปลาป่ น คุณภาพสู ง ซึ งผลิตได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการใช้ภายในประเทศ จึ ง ทํา ให้มี ก ารนํา เข้า วัตถุ ดิบ อาหารสั ตว์เ ป็ นจํา นวนมาก (ดัง ภาพที 2-9) แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ปริ ม าณผลผลิ ต ปริ ม าณการใช้ และปริ ม าณการนํา เข้า วัตถุดิบทีเป็ นอาหารสัตว์ ในปี 2552 ทีเห็นชัด คือ มีการนําเข้าถัวเหลื องสู ง ถึ ง 1.5 ล้ า นตัน และกากถั วเหลื อ งประมาณ 2 ล้ า นตัน ชี/ ให้ เ ห็ น ถึ ง ความสําคัญของการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ เกียวกับการผลิตอาหาร ของคนและอาหารสัตว์ในแต่ละผลิตภัณฑ์อาหาร 2.3.2 การปนเปื/ อนวัตถุดิบอาหารสัตว์ เนืองจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ส่วนใหญ่เป็ น ธัญพืช ดังนั/นจึงมักพบการปนเปื/ อนของสารพิษจากเชื/ อรา เช่น แอฟลาทอก ซิ นในกากถัวเหลื องและข้า วโพด ซึ งส่ ง ผลทํา ให้อาหารที ผลิ ตจากสั ต ว์ ดังกล่าวเกิ ดความไม่ปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค อันก่อให้เกิดผลกระทบต่อสัตว์ ส่ งผลให้เกิ ดการสู ญเสี ยทางเศรษฐกิ จต่อเกษตรกร ดังนั/นจึงต้องมีการดูแล วัตถุดิบอาหารสัตว์ต/ งั แต่ก่อนปลูก ระหว่างปลูก ขนส่ ง การผลิต การบรรจุ และการเก็บรักษาวัตถุดิบดังกล่าว

ภาพที 2-9 ปริ ม าณผลผลิ ต ปริ ม าณการใช้ นํา เข้า วัตถุ ดิบ อาหารสั ตว์ ปี 2552 ทีมา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552


22 3. สถานการณ์ดา้ นแรงงานภาคเกษตร 3.1 ภาวะหนี/สิน จากข้อมูลสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ในปี 2552 ภาคเกษตรต้องรองรับแรงงานจํานวนมากโดยเฉพาะแรงงานการศึกษา ตํา โดยทีมูลค่าการผลิตในภาคเกษตรตํา ดังนั/นคนจนส่ วนใหญ่จึงอยูใ่ นภาคเกษตร มากถึ งประมาณ 2.8 ล้านคน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 68.5 ของคนจนทีประกอบอาชี พ ทั/งหมด (4.1 ล้านคน) ทั/งนี/ โดยมี เกษตรกรยากจนประมาณ 6.6 แสนคนที ไม่ มี ทีดินทํากินเป็ นของตนเองต้องเช่าทีดินและต้องไปรับจ้างผูอ้ ืน (ดังภาพที 2-10) นอกจากนี/ ยงั มีปัญหาความเหลือมลํ/าด้านรายได้ทาํ ให้เกษตรกรเป็ นหนี/สิน ซึ งตามข้อ มู ล สํ า นั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ เกษตรกรเกิ น ครึ งหนึ งมี ห นี/ สิ น เพื อ การเกษตร (ร้ อ ยละ 59.9) ที เหลื อ เป็ นหนี/ จ ากแหล่ ง อื นเช่ น สถาบันการเงิ น สหกรณ์ ก ลุ่ ม เกษตรกร หน่ ว ยงานราชการอื น ๆ เป็ นต้น โดยเฉพาะในภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนือ และภาคเหนือนั/นรุ นแรงกว่าในภาคอืน

ภาพที 2-10 เปรี ยบเทียบความยากจนตามสาขาการผลิ ตภาคเกษตรและนอกภาค เกษตร ทีมา: สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2552


23 3.2 โครงสร้างแรงงานภาคเกษตร ในช่วงระหว่างปี 2516-2520 มีสัดส่ วนของแรงงานในภาคเกษตร15.3 ล้าน คน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 67.03 ของจํานวนแรงงานทั/งหมด แม้วา่ แรงงานทั/งหมดจะ เพิมขึ/น แต่แรงงานในภาคเกษตรกลับถดถอยลงเหลือร้อยละ 42.15 เฉลียในช่วงปี 2546-2549 (ตารางที 2-1) โดยเฉพาะแรงงานในการผลิ ตข้าว การเคลื อนย้าย แรงงานออกจากภาคการเกษตรดังกล่ าว มี ผ ลทําให้ขนาดของครั วเรื อนในภาค การเกษตรลดลงจากเฉลี ย 4.75 คนต่ อ ครั ว เรื อนในปี 2542 เป็ น 3.95 คนต่ อ ครัวเรื อนในปี 2550 และมีขนาดแรงงานในครัวเรื อนลดลงจากเฉลี ย 3.43 คนต่อ ครัวเรื อนเป็ น 2.75 คนต่อครัวเรื อน ในช่วงเวลาเดียวกัน ดังนั/นจึ ง มี การใช้เครื องจักรกลการเกษตรแทนแรงงานคนเพิมขึ/ น ทําให้ ต้นทุนการผลิตทีเป็ นเงิ นสดเพิมมากขึ/น และทําให้ผลตอบแทนสุ ทธิ ทีเป็ นเงิ นสด ของเกษตรกรนั/นลดลง ส่ งผลต่อความยากจนของเกษตรกรขนาดเล็ก ตารางที 2-1 จํานวนแรงงานทั/งประเทศ แรงงานภาคเกษตร แรงงานในการผลิ ต ข้าวและสัดส่ วนเปรี ยบเทียบของแรงงาน ปี 2516-2549 ช่ วงปี แรงงาน แรงงานเกษตร แรงงานผลิตข้ าว ทั+งหมด จํานวน สั ดส่ วน จํานวน สั ดส่ วน (ล้ านคน) (ล้ านคน) (ร้ อยละ) (ล้ านคน) (ร้ อยละ) 2516-2520 22.8 15.3 67.0 10.8 47.5 2531-2535 32.3 19.4 60.0 11.8 36.4 2546-2549 36.3 15.3 42.2 9.8 27.1 หมายเหตุ: แรงงานผลิตข้าวคํานวณจากการใช้สัดส่ วนของครัวเรื อนทีปลูกข้าวต่อ ครั ว เรื อนเกษตรทั/ง หมดแล้ ว คู ณ ด้ว ยจํา นวนแรงงานเกษตร จาก ฐานข้อ มู ล ของศู น ย์ ส ารสนเทศการเกษตร สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร ทีมา: สมพร อิศวิลานนท์, 2553


24 4. การวางแผนการผลิตและตลาด ปั ญหาสําคัญของสิ นค้าเกษตร คือ ปริ มาณและราคาสิ นค้าเกษตรมีความผันผวนสู ง อีกทั/งระบบการกระจายสิ นค้า (Logistic) ของประเทศไทยยังขาดการบริ หารจัดการ อย่างเป็ นระบบ ซึ งมีผลต่อคุณภาพของสิ นค้าและต้นทุนการดําเนินการ ขณะเดียวกันก็มี การรุ กคืบของสิ นค้า นําเข้าจากการเปิ ดเขตการค้าเสรี โดยเฉพาะ AFTA ซึ งจําเป็ นที ประเทศไทยจะต้องมียทุ ธศาสตร์ ดา้ นการตลาดสิ นค้าเกษตร และจากการทีประเทศพัฒนาแล้วส่ วนใหญ่ มีแนวโน้มเป็ นสังคมผูส้ ู งอายุ ทําให้ ผูบ้ ริ โ ภคมี แ นวโน้ม ให้ค วามสํา คัญ กับ ผลิ ตภัณ ฑ์ อาหารเพื อสุ ข ภาพมากขึ/ น ดัง นั/น ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมอาหารจะต้องพัฒนาการผลิตเพือสร้างคุณค่าเพิมให้กบั ผลิ ตภัณ ฑ์ เป็ นอาหารที ดี ต่อสุ ข ภาพ ให้ค วามสะดวก มี คุ ณ ภาพสู ง เพื อให้ส ามารถ แข่งขันในตลาดได้ 5. การเปลียนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร จากหลัก ฐานเชิ ง วิท ยาศาสตร์ จากคณะกรรมการศึ ก ษาการเปลี ยนแปลงสภาพ อากาศโลกระหว่างประเทศ (Intergovernmental Panel on Climate Change, IPCC) ทีได้ เผยแพร่ อย่างต่อเนื องตั/งแต่ปี 2533 ได้รับการยอมรับว่าโลกร้ อนขึ/นจริ งและคาดการณ์ ว่า ในปี 2643 อุณหภูมิโลกจะสู งขึ/น 1.4 - 5.8 องศาเซลเซี ยส และจะทําให้น/ าํ ทะเล สู งขึ/นประมาณ 0.9 เมตร เพราะการละลายของนํ/าแข็งขั/วโลก ทําให้เกิ ดภาวะนํ/าท่วม บางแห่ งและฝนแล้งในบาง ประเทศ รวมทั/งส่ งผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโตของพืช และความหลากหลายทางชี วภาพ โดยเฉพาะพืชอาหาร ทําให้เกิดภัยธรรมชาติทีรุ นแรง ขึ/น ทั/งนํ/าท่วม และภัยแล้งเกิดการกัดเซาะชายฝังอย่างรุ นแรงส่ งผลกระทบต่อผูม้ ีอาชี พ ทําประมงนํ/ากร่ อย 6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศ ความตกลงระหว่างประเทศเป็ นพันธกรณี ทีประเทศต่าง ๆ ทีเป็ นสมาชิ กจะต้อง ปฏิ บตั ิ ตาม เช่ น ความตกลงภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก ซึ งเป็ นกฎกติ กา การค้า


25 ระหว่างประเทศทีมีจุดประสงค์เพือเปิ ดเสรี ระหว่างกันในด้านต่าง ๆ มิให้มีการกี ดกัน การค้าระหว่างประเทศด้วยมาตรการต่าง ๆ ซึ งจะนําไปสู่ การขยายการค้าระหว่างกัน โดยจะมีการส่ งผลกระทบทั/งด้านบวกและด้านลบดังนั/นจึงต้องมีการเตรี ยมความพร้อม ด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการรองรับผลกระทบ ด้านลบต่อการผลิตและการค้าในประเทศ นับ ตั/ง แต่ก ารเสริ ม สร้ า งความเข้ม แข็ง ด้า นประสิ ท ธิ ภาพให้ผูผ้ ลิ ตและผูค้ ้าสามารถ แข่งขันกับสิ นค้านําเข้าได้ หรื อการยกระดับคุ ณภาพสิ นค้าเพือสู่ ตลาดบน กระทังการ ปรับโครงสร้างการผลิตเพือผลิตสิ นค้าอืนทีได้เปรี ยบ 7. นโยบายเกียวกับด้านความมันคงอาหารของประเทศ ขณะนี/ ประเทศไทย โดยสภาพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติได้บรรจุประเด็น พัฒนาในแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติฉบับที 11 ให้มีการพัฒนาภาคเกษตร ให้ ค งอยู่ก ับ สั ง คมไทยและสร้ า งความมันคงด้า นอาหารให้ ค นไทยทุ ก คน เพื อเป็ น แนวทางให้หน่ วยงานที เกี ยวข้องนําไปวางแผนการดําเนิ นงานต่อไป และสํานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ งได้รับมอบหมายให้เป็ นหน่วยงาน ทีดูแลด้านความมันคงอาหาร ได้กาํ หนดนโยบายความมันคงด้านอาหาร เพือต้านวิกฤต เศรษฐกิจโลก ในปี 2552 โดยครอบคลุมประสิ ทธิ ภาพการผลิต การพัฒนาพลังงานและ การคุ ้มครองพื/นที การเกษตร การกํา หนดเขตเกษตรเศรษฐกิ จที เหมาะสม เพือความ มันคงทางด้านอาหารการผลิ ตการบริ โภคทั/งในระดับชุ มชน จนถึงระดับประเทศอย่าง ต่อเนืองและยังยืน 8. การเข้าถึงอาหารของประชากร พิจารณาจาก 2 แนวทาง ได้แก่ 8.1 สภาวะเศรษฐกิจ หลัก การสํ า คัญ ประการหนึ งของความมันคงด้ า นอาหาร คื อ การที ประชากรทุกคนในประเทศสามารถเข้าถึ งอาหารได้ตามสิ ทธิ และความต้องการ ทางกายภาพในระดับปั จเจกบุคคลจากเส้นความยากจน (Poverty line) ทีคํานวณ รวมต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายของปั จเจกบุคคลในการได้มาซึ งอาหารและสิ นค้าบริ การ จําเป็ นพื/นฐานในการดํารงชี วิต ในระหว่างปี 2531-2552 มีแนวโน้มเพิมขึ/นทุกปี


26 (ดังภาพที 2-11) ทําให้ตน้ ทุนหรื อค่าใช้จ่ายในการได้มาซึ งอาหารในแต่ละบุคคลมี แนวโน้มเพิมขึ/น (ดังภาพที 2-12) จึงอาจนําไปสู่ ปัญหาความขาดแคลนอาหารใน ระดับบุคคลได้

ภาพที 2-11 เส้นความยากจน สัดส่ วนคนจน จํานวนคนจน (เมือวัดจากรายจ่าย เพือการบริ โภค) ปี 2531-2552 ทีมา: สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2552

ภาพที 2-12 การเพิมขึ/นของต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายของปั จเจกบุคคลในการได้มาซึ ง อาหาร และสิ นค้าบริ การทีจําเป็ นพื/นฐานในการดํารงชี วิต ปี 25312550 ทีมา: สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2552


27 8.2 สภาวะขาดแคลนอาหารและโภชนาการ ภาวะขาดแคลนอาหารและโภชนาการของประชากรบางพื/นทีในประเทศ อาจสะท้อนถึงงานการณ์การเข้าถึงอาหารของประชาชนในพื/นทีได้ เช่น การขาดโปรตีนและพลังงาน จากการกระจายเนื/ อสัตว์ทียังไม่ทวถึ ั งสําหรับ กลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาส การขาดไอโอดีน ซึ งส่ งผลต่อการพัฒนาการของสมองและระบบประสาท การขาดสารไอโอดีนจะทําให้สติปัญญาของเด็กลดลง นอกจากการจําแนกสถานการณ์ออกเป็ นด้านๆ โดยทัวไปแล้วเราสามารถ จําแนกตามสภาพพื/นที ลักษณะของชุ มชน ได้โดยแบ่งออกเป็ น ชุ มชนเมือง กับ ชนบทและชนบทสามารถแยกออกเป็ นชนบทที เป็ นพื/นที ปกติ กับพื/ นที ชายฝั ง ทะเล สถานการณ์ ความไม่ มันคงทางอาหารของประเทศไทยในชุ มชนเมือง โครงการความมันคงทางด้านอาหารอาหารสําหรับประชากรในเขตเมืองจะ มีผลกระทบจากการเปลียนแปลงของฤดูกาลมากกว่าประชากรในเขตชนบท เนื อง การเปลียนแปลงของฤดูกาล จะส่ งผลต่อสถานะความเป็ นอยูข่ องประชากรในเขต เมื อ งในลัก ษณะที แตกต่ า งกับ ในเขตชนบท โดยจะต้อ งทํา ความเข้า ใจถึ ง การ เปลียนแปลงในฤดูกาลต่างๆ เช่ น ในฤดูฝน อุตสาหกรรมการก่อสร้างจะชะลอตัว และในฤดู เก็บเกี ยว อาจจะมี การเคลื อนย้ายแรงงานจากชุ มชนเมื องที ทํางานใน ภาคอุตสาหกรรมไปชนบทเพือทํางานในภาคเกษตรกรรม


28 ตารางที 2-2 2 แสดงพื/นที จํานวนประชากร ความหนาแน่น และอัตราการเพิม ประชากรรายปี ทัวราชอาณาจักร กรุ งเทพมหานครและเขตปริ ทพมหานครและเขตปริ มณฑล ตั/งแต่ปี 2548-2549 พืน+ ที

ประชากร พ.ศ. 2548 จํานวน

1 ทัวราชอาณาจั ราชอาณาจักร 2 กทม.และปริ และปริ มณฑล

513,115

62,418,054

ความ หนา แน่ น 122

2.1 กทม 2.2 ปริ มณฑล นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร

1,568,737 6,193 2,168.3 622.3 1,525.9 1,004.1 872.4

5,658,953 4,126,183 808,961 972,280 815,402 1,077,523 452,017

3,607 666 373 1,562 534 1,073 518

ประชากร พ.ศ. 2549

อัตรา เพิม

จํานวน

อัตรา เพิม

62,828,706

ความ หนา แน่ น 122

0.717 0.441 3.092 1.372 3.182 5.897 2.678 2.108

5,695,956 4,252,436 821,905 999,057 861,338 1,107,626 462,510

3,631 687 379 1,605 1,103 1,103 530

0.654 3.060 1.600 2.754 5.634 2.794 2.321

0.658

ทีมา: สํานักบริ หารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, กระทรวงมหาดไทย 2549

ภาพที 2--13 กราฟแสดงความหนาแน่นของประชากรแยกเป็ นภาค ตั/งแต่ปี 25502552 ทีมา: สุ ริสาย ผาทอง, ผาทอ 2552 สถานการณ์ ความไม่ มันคงทางอาหารของประเทศไทยในชนบท สมพร อิศวิลานนท์ (2551) ประชากรในชนบท จํานวนไม่น้อยทีเป็ นกลุ่ ม คนยากจนทางอาหาร ทั/งที มี อาหารไม่เพียงพอต่อการบริ โภคของครัวเรื อนหรื อ


29 การขาดโภชนาการทางอาหาร ซึ งปั ญหาความยากจนทางอาหารนั/นกระจุกตัวอยู่ ในชนบทของภาคเหนื อ และภาคะวันออกเฉี ยงเหนื อ ทั/งนี/ ในกลุ่มคนทีมีอาชี พทํา การเกษตร โดยเฉพาะผูท้ ี มี ที ดิ นถื อครองขนาดเล็ก หรื อผูเ้ ช่ า ขนาดเล็ กในพื/นที ห่างไกล แม้จะใช้ทีดินไปในการปลูกข้าวซึ งเป็ นพืชอาหารทีเป็ นพื/นฐานหลัก และ ทีจําเป็ นในครั วเรื อน แต่ได้พบว่าผลผลิ ตข้าวของกลุ่มคนดังกล่าวไม่เพียงพอต่อ การใช้บริ โภคในครัวเรื อน ปั ญหาการผลิตอาหารไม่เพียงพอของเกษตรกรขนาด เล็ ก ในชนบทนั/น แม้ดู ผิ ว เผิ น จะเป็ นปั ญ หาของกลุ หาของ กลุ่ ม คนไม่ ม ากนัก แต่ ปั ญ หา ดังกล่าวได้สะท้อนถึงสภาวะการเข้าไม่ถึงอาหารของคนในชาติทียังมีอยู่ ตารางที 2-3 2 ประมาณการสัดส่ วนของคนในชุมชนจําแนกตามฐานะทางเศรษฐกิจ และการเปลียนแปลง (ประมาณโดยตั ประมาณโดยตัวแทนคนจน) แทนคนจน ปี 2500- 2510, ปี 2534 และ ปี 2544

ทีมา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2544 ตารางที 2-4 2 สัดส่ วนคนจนจําแนกตามภูมิภาค ปี 2531-2541 2541 ปี กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ 2531 26.6 32.0 2533 22.3 23.2 2535 13.3 22.6 2537 9.2 13.2 2539 6.3 11.2 2541 7.6 9.1 ทีมา: กองประเมินผลการพัฒนา, นา 2541

48.4 43.1 39.9 28.6 19.4 24.0

32.5 32 27 27.6 19 19.7 17 17.3 11 11.5 14 14.6

กรุ งเทพฯและ ปริมณฑล 6.1 3.5 1.9 0.9 0.6 0.6


30 สถานการณ์ ความไม่ มันคงทางอาหารของประเทศไทยทางการประมง ฐานข้อมูลความรู ้ทางทะเล (2553) กล่าวว่า ในปี 2538-2547 2538 ตามสถิ ติของ ผลผลิ ผลิตการประมงทะเลในกรมประมงอยูร่ ะหว่าง 2.6-2.8 ล้านตัน ซึ งผลผลิตส่ วน ใหญ่ได้จากการทําประมงทะเลด้วยเครื องมือทําการประมงทีมีประสิ ทธิ ภาพ เช่ น อวนลอย อวนรุ น อวนลาก เป็ นต้น โดยเครื องมื อประมงนั/นมี มากกว่าจํานวน ทรั พยากรในธรรมชาติ จะอํา นวยให้ เนื องจากการทําประมงทะเลในอดี ประมงทะเล ตให้ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจค่อนข้างสู ง จึงมีผเู ้ ข้ามาลงทุนอาชี พนี/เพิมมากขึ/น ดังจะ เห็นได้จากการเพิมขึ/นของจํานวนเรื อประมง ประสิ ทธิ ภาพของเรื อประมง รวมทั/ง มีการฝ่ าฝื นมาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น/ าํ การทําลายแหล่งทีอยูอ่ าศัยของสัตว์ นํ/า และการดําเนิ นนโยบายทีผิดพลาดขาดการประสานงานของภาครัฐ ซึ งปั ญหา เหล่านี/ เป็ นสาเหตุ ของการเสื อมโทรมของทรั พยากรสัตว์น/ าํ ทีเกิ ดจากจากการใช้ ประโยชน์ ข องมนุ ษ ย์ ประกอบกับ การเสื อมโทรมตามธรรมชาติ ได้แ ก่ การ เปลี ยนแปลงกระแสนํ/า การพังทลายของดิ นตามชายฝั งทะเล การเปลี ยนแปลง อุณหภูมิของนํ/าในทะเล และการเกิ ดคลื นลมอย่างรุ นแรง สาเหตุ ตามธรรมชาติ เหล่านี/ ส่งผลต่อแหล่งวางไข่ แหล่งทีอยู่อาศัย ขบวนการห่ วงโซ่ อาหาร ซึ งทําให้ การดํารงชีวติ ของสัตว์น/ าํ เปลียนแปลงไป

ภาพที 2--14 ปริ มาณการจับสัตว์น/ าํ เค็มใน-นอกน่ นอกน่านนํ/าไทย ประมาณการ ตั/งแต่ ปี 2538-2550 ทีมา: กลุ่มวิจยั และวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง, กรมประมง 2550


31

การเพาะเลี/ ยงมี ความสําคัญสําหรั บประเทศไทย เนื องจากเป็ นแหล่ งผลิ ต สัตว์น/ าํ ทดแทนสัตว์น/ าํ ทะเลที มี แนวโน้มลดลง ที สามารถพัฒนาเทคโนโลยีไ ด้ อย่างต่อเนื องและสามารถตรวจสอบระบบการผลิตได้ ซึ งจะทําให้ผลผลิตสัตว์น/ าํ เป็ นสิ นค้าส่ งออกทีมีประสิ ทธิ ภาพเป็ นทียอมรับของตลาดต่างประเทศ ชนิ ดสัตว์ นํ/าทีเลี/ยงสามารถเลือกได้ตามทีตลาดมีความต้องการ ทําให้ขายได้ราคา มีส่วนช่วย สนับสนุ นอุ ตสาหกรรมต่อเนื องเพราะสามารถป้ อนผลผลิ ตเข้าสู่ ระบบได้อย่า ง ต่อเนื องและคงที เป็ นการสร้ างความมันคงทางอาหารให้กบั ชุ มชนชายฝั งและ ธุ รกิจเกษตร อย่างไรก็ตามพื/นทีทีเหมาะสมต่อการเพาะเลี/ยงสัตว์น/ าํ แต่ละชนิ ดก็มี อยู่จาํ กัด โดยเฉพาะการเพาะเลี/ ยงตามชายฝั งยังทําได้ไม่เต็มศักยภาพ แต่บริ เวณ แหล่งเพาะเลี/ยงสัตว์น/ าํ นั/นยังมีปัญหาด้านคุ ณภาพสิ งแวดล้อมโดยเฉพาะเรื อง นํ/า เสี ย โดยแหล่งกําเนิ ดมลพิษอาจมาจากโรงงานอุตสาหกรรมบริ เวณใกล้เคียง หรื อ จากการปล่ อยนํ/า ทิ/ ง ของเรื อประมง ชุ ม ชน ทํา ให้มี ก ารปนเปื/ อนสารเคมี ก าํ จัด ศัตรู พืช/สารพิษ เช่น โลหะหนักทีมากับนํ/า การเพาะเลี/ยงเกินขีดความสามารถใน การรองรั บ ของแหล่ ง นํ/า และในบางพื/ น ที ยัง ประสบปั ญ หาปริ ม าณนํ/า ในการ เพาะเลี/ ย งไม่ ส มําเสมอ ในเขตพื/นที นํ/า เค็ม ก็ ป ระสบปั ญหาเรื องความเค็ม ที ไม่ เหมาะสมต่ อ การเพาะเลี/ ยงสั ต ว์น/ ําเนื องจากนํ/าจื ด ลงมามากเกิ น ไป อี ก ทั/ง สภาพแวดล้อมทีไม่สามารถควบคุมได้ เช่น ภัยธรรมชาติ ภัยแล้ง ความเสื อมโทรม ของสภาพแวดล้อมและทรั พ ยากร ที ทํา ให้พ/ื น ที เพาะเลี/ ย งและผลผลิ ตสั ต ว์น/ ํา เสี ยหาย แต่ อย่า งไรก็ ตามการทํา การประมงและการเพาะเลี/ ย งสั ตว์น/ าํ ชายฝั งของ ประเทศไทยนั/นมีแนวโน้มของปริ มาณผลผลิตโดยรวมทีเพิมขึ/นอย่างต่อเนื องทุกปี เนืองจากตลาดโลกยังมีความต้องการบริ โภคสัตว์น/ าํ อยูป่ ริ มาณมาก และน่าจะเป็ น ผลผลิ ตหลักของการส่ งออกสัตว์น/ าํ จากประเทศไทยไปสู่ ตลาดโลก โดยประเทศ ไทยก็มีโอกาสขยายตลาดสิ นค้าสัตว์น/ าํ ได้อีก แม้จะมีปัญหาเรื องการกี ดกันทาง การค้าในหลายๆ รู ปแบบในการทําประมงชายฝัง แต่เชื อแน่วา่ การพัฒนาศักยภาพ การทําประมงทะเลในลักษณะทีไม่ทาํ ลายสิ งแวดล้อมและระบบนิ เวศ มีการพัฒนา เทคโนโลยีการผลิ ตอย่างครบวงจรในระบบการเพาะเลี/ยงสัตว์น/ าํ ผูผ้ ลิ ตสามารถ เลือกชนิดสัตว์น/ าํ มาเพาะเลี/ยงได้ตามต้องการ ซึ งจะทําให้ชนิดสัตว์น/ าํ ทีเพาะเลี/ยงมี


32 ความหลากหลาย นอกจากนี/ ระบบการเพาะเลี/ ย งเป็ นกระบวนการที สามารถ สา ตรวจสอบได้ในทุกขั/นตอน รวมถึงประเทศไทยได้มีการศึกษาวิจยั ในทุกด้านจาก ต้นนํ/าไปสู่ ปลายนํ/าจะช่วยแก้ปัญหาทีเกิดขึ/นเหล่านั/นได้

ภาพที 2--15 ดุลการค้าสิ นค้าสัตว์น/ าํ และผลิตภัณฑ์สัตว์น/ าํ ตั/งแต่ปี 2532 – 2551 ทีมา: กรมประมง และ สถิติการประมงแห่งประเทศไทย, 2551 จากที กล่ า วมาทํา ให้ท ราบถึ ง สถานการณ์ ข องความไม่ ม นคงทางอาหาร ั ตอนนี/ประเทศไทยกําลังประสบกับปั ญหาเหล่านี/แล้ว แต่มีคนทีรู ้เรื องและเข้าใจถึง วิธีการใช้ชีวิตให้อยู่รอดในสถานการณ์ น/ ี อยู อยู่นอ้ ย ซึ งแสดงให้เห็ นว่าประเทศไทย กําลังละเลย หรื อไม่ให้ความสํ วามสําคัญกับไม่มนความมั ั นคงทางอาหาร ผูท้ าํ การศึกษา จึ งอยากจะเน้นยํ/าให้ทุกคนได้รู้ถึง สถานการณ์ ทีได้เกิ ดขึ/ น และมี ผลกระทบกับ ประเทศไทยแล้ว


33 สาเหตุความไม่ มันคงทางอาหารของประเทศไทย ปั ญหาความไม่มนคงทางอาหารของประเทศไทยในปั ั จจุบนั นั/นสาเหตุมาจาก 1) ปั ญหาความเสื อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร ตลอดการพัฒนาทางเศรษฐกิ จ หลายทศวรรษทีผ่านมา แม้ประเทศไทยจะมีการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจจนทําให้ ประเทศกลายเป็ นประเทศทีมีรายได้ระดับกลาง (Medium income country) แต่ก็ ต้องแลกกับความเสื อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติในด้านต่างๆ จํานวนป่ าชายเลน (ตารางกิโลเมตร) 4000 3000 2000 1000 0 ปี 2504

ปี 2521

ปี 2550

จํานวนป่ าชายเลน (ตารางกิโลเมตร)

ภาพที 2-16 แสดงจํานวนป่ าชายเลน ทีมา: กรมป่ าไม้, 2550 จากภาพที 2-16 จะเห็นว่าการลดลงของป่ าชายเลนในปี 2504 จนถึงปั จจุบนั มีอตั ราการลดลงเรื อยๆ อย่างเห็นได้ชดั โดยจํานวนป่ าชายเลนได้ลดลงจาก 3,679 ตารางกิ โลเมตร ถึ ง 1,500 ตารางกิ โลเมตร ซึ งเป็ นการลดลงอย่างรวดเร็ วภายใน เวลาไม่กีปี การลดลงของพื/นทีป่ าไม้ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ ของดิ น การลดลงของความหลากหลายทางชี วภาพ รวมไปจนถึงปั ญหาเกียวกับความแห้ง แล้งทีผ่านมามีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรดินอย่างไม่เหมาะสม เกิดปั ญหาชะ ล้างพังทลายของดิ นในอัตราสู งพื/นทีดิ นของประเทศเกิ ดปั ญหาความเสื อมโทรม เช่น การเกิดดินเค็ม ดินเปรี/ ยว และดินขาดอินทรี ยวัตถุ


34 2) ปั ญหาของระบบการผลิ ตอาหารที ไม่ยงยื ั นระบบการผลิ ตอาหารของไทยซึ งใน อดีตเป็ นระบบการผลิ ตแบบผสมผสาน ได้ค่อยๆ เปลียนเป็ นการผลิตเชิ งเดียวทีมี การปลู กพืชหรื อเลี/ ยงสัตว์อย่างเดี ยวไม่กีชนิ ดในพื/นที ขนาดใหญ่หรื อมี ปริ มาณ มากๆ ทําให้เกิ ดปั ญหาต่างๆตามมาหลายประการ เช่ น การพึงพาปุ๋ ยและสารเคมี การเกษตร เกษตรกรต้อ งพึ งพาปุ๋ ยและสารเคมี ก ารเกษตรซึ งส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลิตภัณฑ์จากซากฟอสซิ ล

ปริมาณการใช้ ปุ๋ย (ตัน) 4,000,000 3,000,000 2,000,000 ปริ มาณการใช้ปุ๋ย (ตัน) 1,000,000 0 ปี 2514

ปี 2525

ปี 2542

ภาพที 2-17 แสดงปริ มาณการใช้ปุ๋ย ทีมา: กรมป่ าไม้, 2550 จากภาพที 2-17 จะเห็นได้วา่ จากปั ญหาของระบบการผลิตอาหารไม่ยงยื ั น มี ส าเหตุ ม าจากปริ ม าณการใช้ปุ๋ ยที เพิมขึ/ นด้วย จะเห็ นว่า ปริ ม าณการใช้ปุ๋ ยนั/น เพิมขึ/นอย่างต่อเนื อง โดยจากปี 2514 มีปริ มาณการใช้ปุ๋ยอยูท่ ี 128,139 ตัน และมี แนวโน้ม เพิ มขึ/ น เรื อยๆ จนถึ ง ปั จจุ บ นั อี ก ทั/ง การนํา เข้า สารกํา จัดศัตรู พื ช ปี ละ 116,322 ตัน มูลค่า 15,025 ล้านบาท เกือบทั/งหมดนําเข้าจากต่างประเทศ ต้นทุน การใช้ปุ๋ยเคมี และสารกําจัดศัตรู พืช กลายเป็ นต้นทุ นสํา คัญของการผลิ ตในภาค การเกษตรของไทย ระบบอาหารทีผูกติดกับการใช้ปุ๋ยเคมีจะก่อให้เกิดต้นทุนทีสู ง เกษตรกรประสบปั ญหาการขาดทุนส่ งผลต่อชีวติ ความเป็ นอยูข่ องเกษตรกร 3) ปั ญหาโครงสร้างของทีดินทํากินและสิ ทธิ ในการเข้าถึงทรัพยากรปั ญหาโครงสร้าง การเข้าถึ งและสิ ทธิ ในการเข้าถึ งและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเป็ นปั ญหาใหญ่


35 และเป็ นปั ญหารากฐานสําคัญ เป็ นทั/งต้นเหตุและผลพวงของปั ญหาความเหลือมลํ/า ทางสังคม ดังทีตัวเลขทางสถิติของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรระบุได้ดงั นี/ 3.1) เกษตรกรร้อยละ 60 ต้องเช่าทีดินทํากิน 3.2) มีเกษตรกรทีเป็ นผูไ้ ร้ทีดินทํากินกว่า 800,000 ครอบครัว 3.3) เกษตรกรมีทีดินขนาดเล็กไม่เพียงพอต่อการทํากินประมาณ 1,000,000 ครอบครัว 3.4) ร้ อ ยละ 40 ของชาวนาทั/ง หมดไม่ มี ที ดิ น ทํา กิ น เป็ นของตนเอง โดยเฉพาะพื/นทีภาคกลางมีสัดส่ วนถึงร้อยละ 70-90 4) บทบาทของค้า ปลี ก ขนาดใหญ่ แ ละโมเดอร์ เ ทรดที มี บ ทบาทมากขึ/ น ในระบบ กระจายอาหาร นอกเหนือจากระบบการผลิตแล้ว ระบบการตลาด โดยเฉพาะอย่าง ยิงระบบค้าปลีกได้ถูกครอบครองโดยบรรษัท ดิสเคาท์สโตร์ และคอนวีเนี ยนสโตร์ กระจาย ขยายเข้าไปในท้องถินและรุ กคืบเข้าไปถึงระดับหมู่บา้ น ร้านค้าปลีกราย ย่อย ตลาดสด ตลาดนัด แผงข้า งถนน ถู กเบี ย ดขับ ออกไปอย่างรวดเร็ ว การ ควบคุมระบบการตลาดดังกล่าวจะส่ งผลต่อระบบอาหารและวัฒนธรรมอาหารของ ท้องถิ นทั/ง ระบบ เช่ น ไม่ มี พ/ื นที สํ า หรั บ ผัก พื/ นบ้า นต่ า งๆ การลดลงของความ หลากหลายของอาหารท้องถิน รวมถึงพฤติกรรมการบริ โภคทีจะถูกปรับเปลียนไป ตามการกํา หนดของบรรษัท สถานะของระบบอาหารและวัฒ นธรรมอาหาร ท้องถินจะถูกกลืนหายไป 5) การเปลียนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร การขยายตัว ของระบบเศรษฐกิ จ โลก ที เพิ มขึ/ น นํา ไปสู่ ก ารใช้เ ชื/ อ เพลิ ง ดึ ก ดํา บรรพ์ มี ก าร ปลดปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ไปสู่ บรรยากาศโลก จนเกิดภาวะโลกร้อน ในขณะ ทีการลดลงของพื/นทีป่ าไม้ลดลง ทําให้ความสามารถทีดูดซับคาร์ บอนไดออกไซด์ ลดลง เป็ นการเร่ งภาวะเรื อนกระจก ซึ งผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโตของพืชและ ความหลากหลายทางชี วภาพ ประชากรทัวโลกจะได้รับผลกระทบอย่างหนักจาก


36 การเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื องจากต้องพึงพาฝนตามฤดูกาล ในกรณี ของ ประเทศไทยนั/น คาดว่าการเปลียนแปลงของภูมิอากาศจะส่ งผลกระทบต่อการผสม เกสรของพื ชเกษตรลดลง ปั ญหาการรุ กคื บของนํ/าทะเละและการพังทลายของ พื/นทีชายฝั ง รวมทั/งอาจต้องเผชิ ญกับการแปรปรวนของสภาพการเปลี ยนแปลง ของภูมิอากาศจนเกิดความเสี ยหายต่อการผลิตอาหาร 6) ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร การเปิ ดเสรี การเกษตรภายใต้ขอ้ ตกลงการค้ากับต่างประเทศ โดยทีไม่มีนโยบาย ความมันคงทางอาหาร เกษตรกรส่ วนใหญ่ของประเทศได้รับผลกระทบ การเปิ ด เสรี กบั ประเทศสหรัฐอเมริ กา ยุโรป และญีปุ่ น จะทําให้ประเทศไทยต้องยอมรั บ กฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญาทีทําให้เกิดการผูกขาดเรื องพันธุ์พืช การจดสิ ทธิ บตั ร สิ งมีชีวติ การเข้ามาใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพของไทย และอาจรวมถึงการ เข้ามาลงทุนในภาคการเกษตรของคนต่างชาติ ทําให้สินค้าเกษตรราคาถูก 7) ปั ญ หาสุ ข ภาวะที เกิ ด จากระบบอาหาร การใช้ ส ารเคมี ท างการเกษตรทํา ให้ เกษตรกรได้รับ พิ ษ ภัย สะสมในร่ า งกาย ในปั จจุ บ นั ผลการตรวจระดับ ของ สารเคมีทางการเกษตรในเลือดของเกษตรกรเพิมสู งขึ/นอย่างมาก โดยผลการตรวจ เกษตรกรที จังหวัดเชี ยงใหม่จาํ นวน 924 คน พบว่ามี เกษตรกรและแม่บา้ นที มี สารเคมีตกค้างในระดับทีไม่ปลอดภัยและเสี ยงจํานวนรวมกันถึง 75% ในขณะที กลุ่มผูบ้ ริ โภคซึ งรับประทานผักและผลิตภัณฑ์ทีมีสารเคมีปนเปื/ อนมีแนวโน้มทีจะ ได้รับสารพิษพอๆกันหรื อมากกว่าเกษตรกรผูผ้ ลิ ตเสี ยอีก ดังผลการสุ่ มตรวจกลุ่ม ผูบ้ ริ โภคในจังหวัดเชี ยงใหม่จาํ นวน 1,412 คน ครอบคลุ มนักศึกษา อาจารย์ และ ประชาชนทัวไปพบว่า มีผูไ้ ด้รับสารพิษในระดับทีไม่ปลอดภัยและมี ความเสี ยง รวมกันถึง 89% 8) การแผ่ขยายของอาณานิ คมทางอาหาร วิกฤติ อาหารและพลังงานที เกิ ดขึ/นเมื อปี 2550-2551 ทําให้เกิดความไม่มนคงทางอาหารขึ ั / นในหลายประเทศ ประเทศผูผ้ ลิต นํ/ามัน ประเทศอุตสาหกรรม และประเทศทีไม่สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอ เริ ม กระบวนการเข้ามาเช่ าที ดิ น และลงทุ นทําการเกษตรในต่างประเทศอย่างขนาน ใหญ่ ประเทศไทยก็เป็ นเป้ าหนึ งของการเข้ามาลงทุนของต่างชาติ ในการใช้พ/ืนที


37 ของประเทศไทยในการผลิ ตอาหารเพือสร้ างหลักประกันความมันคงทางอาหาร ของตน 9) วัฒนธรรมอาหารต่า งชาติ ค รอบงํา วัฒนธรรมอาหารท้องถิ น การเปิ ดกว้า งทาง วัฒนธรรมผ่านนโยบายทางการค้าและการเปิ ดรับสื อทําให้วฒั นธรรมการบริ โภค อาหารแบบอุตสาหกรรม และการบริ โภคอาหารจากวัฒนธรรมต่างชาติมีบทบาท ในสังคมไทยมาก โดยเฉพาะอย่างยิงกลุ่มเด็ก เยาวชน และคนรุ่ นใหม่ 10) การขาดนโยบายเกี ยวกับความมันคงทางอาหาร โดยภาพรวมประเทศไทยยังขาด นโยบายและความตระหนักเกี ยวกับอาหารทีชัดเจน ประเด็นเรื องความมันคงทาง อาหารไม่ ป รากฏอยู่ใ นรั ฐธรรมนู ญแห่ ง ราชอาณาจัก รไทย หรื อในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในหลายฉบับทีผ่านมา ผลกระทบอันเนืองมาจากความไม่ มันคงทางอาหาร สถานการณ์ การเจ็บป่ วยอันเนื องมาจากอาหาร (Food Borne Diseases) สาเหตุส่วนใหญ่ของการเจ็บป่ วยเกิดจากการบริ โภคอาหารทีปนเปื/ อนเชื/ อจุลินทรี ย ์ และสารเคมี เช่น สารเคมีทีใช้ใน การกําจัดศัตรู พืช ยาปฏิชีวนะและยาทีใช้ในการ เลี/ยงสัตว์ วัตถุเจือปนอาหาร รวมไปถึงสารพิษจากจุลินทรี ย ์ และสารเคมีปนเปื/ อน จากโรงงานอุตสาหกรรม สถานการณ์ โรคติดต่อทางอาหารและนํ/า จากการเฝ้ าระวังโรคของสํานัก ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค โดยอัตราการระบาดของโรคอาหารเป็ นพิษเพิมขึ/น 1) การเจ็บป่ วยจากอาหารทีปนเปื/ อนจุลินทรี ย ์ การปนเปื/ อนจุลินทรี ยใ์ นอาหารเกิ ดได้ในทุกขั/นตอนตลอดห่ วง โซ่อาหาร ตั/งแต่ในขั/นวัตถุดิบทีมาจากการเพาะปลูก/เพาะเลี/ยง การผลิต การขนส่ ง และการเก็บรักษาจนกระทังการปรุ งเพือจําหน่ายต่อผูบ้ ริ โภค หรื อแม้แต่ผบู ้ ริ โภคปรุ งอาหารเองอย่างไม่ถูกสุ ขลักษณะ


38 2) การเจ็บป่ วยจากอาหารทีปนเปื/ อนสารเคมี สารเคมีปนเปื/ อนหรื อตกค้างในอาหารมีท/ งั โลหะหนักทีปนเปื/ อน อยู่ใ นสภาพแวดล้อม และสารเคมี ที ใช้ใ นการผลิ ต สิ นค้า เกษตรหรื อ อาหารทุกขั/นตอนทีนํามาใช้โดยปราศจากความรู ้ หรื อเกิ ดจากการจงใจ ส่ งผลให้อาหารไม่ปลอดภัยต่อการบริ โภค สารเคมีบางส่ วนจะถูกสะสม อยูใ่ นร่ างกายก่อให้เกิดพิษในระยะยาว แต่บางส่ วนอาจถูกเปลียนแปลง ในร่ า งกายทํา ให้เป็ นพิ ษอย่า งเฉี ย บพลันได้ ตัวอย่า งของพิ ษ สารเคมี ปนเปื/ อนในอาหาร เช่น พิษจากโลหะหนัก ปั ญหาการปนเปื/ อนของโลหะหนักในอาหาร ส่ วนใหญ่พบในอาหารทะเลต่าง ๆ โลหะหนักทีพบประจําได้แก่ สาร ปรอท แคดเมียม และตะกัว โดยตรวจพบในสัตว์ประเภทกุง้ หอย ปลา และปลาหมึก แม้ทีผ่านมาส่ วนใหญ่ไม่เกินมาตรฐาน แต่แนวโน้มคาดว่า อาหารทะเลจะมีโลหะหนักเพิมมากขึ/นเนืองจากการขยายตัวของโรงงาน อุ ต สาหกรรมประเภทต่ า ง ๆ เช่ น โรงงานอุ ต สาหกรรมสี โ รงงาน อุ ต สาหกรรมพลาสติ ก โรงงานอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า เป็ นต้น ซึ งเมื อมี ก าร ระบายนํ/าทิ/งของโรงงาน แม้จะผ่านระบบบําบัดนํ/าเสี ยแล้วก็ตาม แต่ก็ยงั มีการปนเปื/ อนของโลหะหนักและไหลลงสู่ แหล่งนํ/าและถึงทะเลในทีสุ ด จากที กล่ าวมา สาเหตุ ความไม่ ม นคงทางอาหารที ั ประเทศไทย กําลังประสบอยู่ คือภาพสะท้อนของปั ญหาเชิ งโครงสร้าง หรื อปั ญหา ระบบอาหารของประเทศไทย ซึ งมี ค วามเชื อมโยงกับ ปั ญ หาและ องค์ประกอบต่างๆ หลายประการ ทั/งจากภายในและภายนอกประเทศ ทั/งจากปั จจัยทีควบคุมได้ แต่ละเลยจนเกิดผลเสี ยมหาศาลและจากปั จจัย ทีควบคุมไม่ได้ทีรุ มเร้ารุ นแรงขึ/นเรื อยๆ เช่น ความแปรปรวนของสภาพ อากาศ หรื อการขาดแคลนพลังงานนํ/ามัน หรื อผลกระทบของวิกฤต การเงิน เศรษฐกิจในระดับโลก


39 ผลกระทบอันเนืองมาจากความไม่ มันคงทางอาหาร นรัญกร กลวัชร (2551) กล่าวว่า เราคงไม่ได้รู้ว่าแท้ทีจริ งแล้วถึงแม้ประเทศไทยจะเป็ นผู ้ ส่ งออกอาหารป้ อนโลก แต่คนในประเทศของเรายังอยูใ่ นภาวะทีไม่มนคงและขาดแคลนอาหารใน ั การบริ โภค โดยเฉพาะอย่างยิงคนจนและคนชั/นกลางในเมือง ทีมีรายได้ตาและฐานะทางเศรษฐกิ ํ จ ไม่มนคง ั พร้อมทีจะได้รับผลกระทบอย่างง่ายดาย เมือปริ มาณอาหารลดลงและราคาสิ นค้าอาหาร แพงขึ/น เหตุการณ์ น/ ี ช/ ี ให้เห็ นข้อเท็จจริ งสองประการทีว่า แม้ประเทศไทยจะมีปริ มาณข้าวจํานวน มากส่ งออกไปขายทัวโลก แต่คนจนในประเทศไทย อยูใ่ นภาวะได้รับผลสะเทือนได้ง่ายในเรื อง ความมันคงทางอาหารโดยเฉพาะข้าวซึ งเป็ นอาหารหลัก ถ้าราคาข้าวสารและสิ นค้าต่างๆ แพงมาก ขึ/นไปกว่านี/ เมื องไทยก็อาจตกอยู่ในภาวะที คนจนจากหลากหลายสาขาอาชี พลุ กขึ/นมาประท้วง เพราะไม่สามารถซื/ อข้าวสารราคาแพงมาบริ โภคในครอบครัวได้อีกต่อไป ประการทีสอง วิกฤตอาหารครั/งนี/ ช/ ี ให้เราเห็นว่า ประเทศไทยเองไม่เคยได้วางระบบหรื อ มาตรการด้านความมันคงทางอาหารของประเทศไว้เลย เมือเกิ ดภาวะวิกฤต เราในฐานะประเทศ ผูผ้ ลิ ตอาหาร ควรจะมีอาหารสํารองมากพอทีจะกระจายให้กบั คนจนในประเทศ แต่กลับไม่เป็ น เช่นนั/น ทีสําคัญเรากลับอยูใ่ นภาวะทีไม่สามารถป้ องกันตนเองได้เลย ต้องปล่อยให้กลไกตลาดเสรี ทํางานส่ งผลกระทบกับคนจนในประเทศ โดยทีรัฐบาลก็ยงั หาวิธีช่วยเหลือคนจนจากกลไกตลาด เสรี น/ ีไม่ได้ดว้ ยเช่นกัน การพัฒนาอย่ างยังยืน ความหมาย คณะกรรมาธิ การแห่ งโลกด้านสิ งแวดล้อม และการพัฒนาของสหประชาชาติ (UN World Commission on Environment and Development) ให้ความหมายของการพัฒนาแบบยังยืนไว้วา่ การ พัฒนาแบบยังยืน คือ การพัฒนาทีสามารถจะตอบสนองความต้องการต่างๆของคนในรุ่ นปั จจุบนั โดยทีการพัฒนานี/ จะไม่ทาํ ให้เกิดผลเสี ยต่อความสามารถในการพัฒนาของคนรุ่ นต่อไปในอนาคต


40 (Sustainable Development is development that meets the needs of the present without compromising the ability of future generations to meets their own needs) รู ปแบบของการพัฒนาอย่ างยังยืน คณะกรรมาธิ ก ารแห่ ง โลกด้านสิ งแวดล้อม และการพัฒนาของสหประชาชาติ ไ ด้เสนอ รู ปแบบทัวไป ของการพัฒนาแบบยังยืน ไว้ดงั นี/

ภาพที 2-18 แผนผังแสดงการพัฒนาแบบยังยืน ทีมา: เพ็ญพิสุทธิ[ หอมสุ วรรณ, 2550 เป้ าหมายของการพัฒนาแบบยังยืน มีดงั นี/ 1) เป้ าหมายทางสั งคม ในการพัฒนาชนบทเพือจะให้ไ ด้ผ ลเป็ นรู ป ธรรมนั/นต้องเข้าใจ รู ปแบบของสังคมชนบททีอยูใ่ นพื/นทีนั/นๆ 2) เป้ าหมายทางเศรษฐกิ จ ต้องเข้าใจปั จจัยต่างๆที จะมี ผลต่อระบบเศรษฐกิ จของสังคม ชนบท และในการพัฒนาระบบเศรษฐกิ จดังกล่าว ต้องนําเอาปั ญหาจากผลกระทบทีมี ต่อสิ งแวดล้อมมาพิจารณาด้วย


41

3) เป้ าหมายทางด้า นสิ งแวดล้อม (ทรั พ ยากรธรรมชาติ ) การศึ กษาเป้ าหมายทางด้า น สิ งแวดล้ อ มของทรั พ ยากรธรรมชาติ เราจํา เป็ นต้ อ งเข้ า ใจถึ ง ผลกระทบต่ อ สภาพแวดล้อมในการพัฒนาชนบท หลักการของการพัฒนาอย่ างยังยืน United Nation Environment Programmer (UNEP) และ World Wild Fund for Nature (WWF) ได้ให้ความหมายของขอบเขตของการพัฒนาทียังยืนไว้ดงั นี/ 1) การให้ความเคารพต่อสรรพสิ งต่างๆ ทั/งในปั จจุบนั และอนาคต 2) ปรับปรุ งคุณภาพชีวติ ของมนุษย์ 3) การดํารงรักษาโลก และความหลากหลายทางชีวภาพ 4) ลดความเสื อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ 5) การคํานึงถึงสมรรถนะ (Carrying Capability) ของโลก 6) การปรับเปลียนทัศนคติ และพฤติกรรมของบุคคล 7) ให้ชุมชนดูแลรักษาสิ งแวดล้อมด้วยตนเอง 8) กําหนดขอบเขตในการผสมผสานระหว่างการพัฒนา และการอนุรักษ์ 9) ส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างประเทศ


42 ความเชื อมโยงของเหตุปัจจัยของการพัฒนาทียังยืน กรอบแนวทางการพัฒนาทียังยืน (2550) ได้กล่าวถึงปั ญหาทีทําให้ประเทศชาติไม่ สามารถที จะไปสู่ การพัฒนาที ยังยืนไปเป็ นในทิ ศทางเดี ยวกันกับ พัฒนพัฒน์ พิช ญ ธรรมกุล (ม.ป.ป.) ดังนี/ 1) ความต้องการบริ โภคสิ นค้าและบริ การทีเกินความจําเป็ น ฟุ่ มเฟื อย เป็ นเหตุให้ เกิ ดการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการผลิตและบริ การทีเกิ นความจําเป็ น เกิ นความต้องการของการดําเนิ นชี วิตแบบพอเพียง ถึ งแม้จะส่ งผลให้เกิ ดการ ขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ แต่ ก็ ท ํา ให้ เ กิ ด มลพิ ษ ทางสิ งแวดล้ อ มและทํา ให้ สิ งแวดล้อมขาดสมดุล 2) การทีชุ มชนไม่เข้มแข็ง รับวัฒนธรรมและแนวความคิดเกียวกับความฟุ่ มเฟื อย วัตถุนิยม อีกทั/งยังขาดการอบรม ละเลยธรรมเนี ยมประเพณี ด/ งั เดิม ทําให้สังคม เปลี ยนเป็ นสังคมบริ โภค เกิ ดการลงทุนทางธุ รกิ จที สู ญเปล่า ทําให้เกิ ดผลเสี ย ทางเศรษฐกิ จ เกิ ด ความขัด แย้ง ทางสั ง คม และทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ งแวดล้อมถูกทําลายอย่างรุ นแรง 3) การเคลื อนย้า ยทุ นจากต่ า งประเทศ ส่ ง ผลทั/ง ทางบวกและทางลบต่ อระบบ เศรษฐกิ จและสิ งแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิ จทีพึงพิงอยู่กบั ทุ นต่างประเทศ โดยขาดรากฐานที มันคงภายใน ทํา ให้ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม เสื อมโทรมอย่างรวดเร็ ว 4) นโยบายการเร่ ง รั ด พัฒ นาเศรษฐกิ จ ของรั ฐ ในอดี ต โดยขาดการวิ เ คราะห์ ผลกระทบสิ งแวดล้อม มีการใช้ทรัพยากรเป็ นฐานการผลิตอย่างฟุ่ มเฟื อย เกิ น อัตราการฟื/ นตัวของระบบธรรมชาติ สงผลกระทบต่อสิ งแวดล้อมและความ ยังยืนของระบบนิเวศ 5) การทีทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมเสื อมโทรมอย่างรวดเร็ วและรุ นแรงนี/ เอง ทํา ให้เกิ ดกระแสของสั ง คมทั/งจากภายในและนอกประเทศ ผลักดันให้


43 รัฐบาลดําเนิ นมาตรการต่างๆ รวมถึ งการแก้ไขกฎหมายทีมีผลในการอนุ รักษ์ และฟื/ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม 6) ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปั ญหาความยากจนและยุทธศาสตร์ เพิมทุนทางสังคม โดย เน้นการมีส่วนร่ วมของประชาชน เมือเกิ ดการบริ หารจัดการทีดี ก็เกิ ดการแบ่ง สรรทรัพยากรทีใช้ในการผลิ ตอย่างเป็ นธรรม และเกิ ดการกํากับดูแลด้านอุ ป สงค์ทีสมเหตุ สมผลและไม่ฟุ่มเฟื อย ลดความขัดแย้งในสังคม เปิ ดโอกาสให้ สังคมเรี ย นรู ้ พัฒนาความคิ ดและจิ ตใจ จนทําให้เกิ ดสัง คมพึงพาและพัฒนา ตัวเองได้ในทีสุ ด 7) ยุทธศาสตร์ เพิมความสามารถในการแข่งขัน นอกจากจะทําให้ประเทศสามารถ ควบคุ ม การเคลื อนย้ายทุ นจากต่ างประเทศเพือลดความสู ญเสี ย ที อาจเกิ ดกับ ระบบเศรษฐกิ จและสิ งแวดล้อมของประเทศ ยังจะเป็ นกลไกขับเคลือนให้เกิ ด การขยายการผลิ ตและการตลาดที เหมาะสมที จะทําให้เศรษฐกิ จเติ บ โตแบบ ยังยืน การพัฒนาอย่ างยังยืนตามแนวคิดเชิ งพุทธศาสตร์ พระธรรมปิ ฎก กล่าวว่าหัวใจของการพัฒนาทียังยืนนั/น ประกอบด้วยคําศัพท์ที นํามาจับคู่กนั 2 คู่ คือ การพัฒนา (Development) กับสิ งแวดล้อม (Environment) และเศรษฐกิจ (Economy) กับนิ เวศวิทยา (Ecology) โดยเห็นว่าควรให้ความเจริ ญทาง เศรษฐกิจอยูภ่ ายใต้เงือนไขของการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม การพัฒนาทียังยืนนี/ มีลกั ษณะเป็ นการพัฒนาที เป็ นบูรณาการ (Integrated) คือ ทําให้เกิดเป็ นองค์รวม (Holistic) หมายความว่าองค์ประกอบทั/งหลายทีเกียวข้องจะต้อง มาประสานกันทั/งหมด และมีลกั ษณะอีกอย่างหนึงคือ มีดุลยภาพ (Balanced)


44

ภาพที 2-19 แผนภาพลักษณะของการพัฒนาทียังยืน (Sustainable Development) ตาม แนวคิดของพระธรรมปิ ฎก ทีมา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550 ดังนั/น ธรรมชาติแวดล้อมกับเศรษฐกิจจะต้องถูกบูรณาการเข้าด้วยกันแล้วจึงจะ ทําให้เกิดสภาพที เรี ยกว่าเป็ นภาวะยังยืนทั/งในเศรษฐกิจ และในทางสภาพแวดล้อมหรื อ กล่าวอีกความหมายหนึ งคือ การทําให้กิจกรรมของมนุ ษย์สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของ ธรรมชาติ ซึ งเป็ นรากฐานของการพัฒนาทียังยืน พระราชวรมุนี กล่าวถึง การพัฒนาอย่างยังยืนต่างไปจากพระธรรมปิ ฎกไว้ว่า ในภาษาพระไตรปิ ฎก หรื อภาษาบาลี จะปรากฏในคํา 2 คํา คือ ภาวนา กับ พัฒนา โดยให้ความหมายของคําทั/งสองนี/วา่

ภาพที 2-20 แผนภาพลักษณะของการพัฒนาอย่า งยังยืน (Sustainable Development) ตามแนวคิดของ พระราชวรมุนี ทีมา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550


45 พัฒนา หรื อ วัฒนา หมายถึง การเติบโต ภาวนาที ใช้ใ นการพัฒนามนุ ษย์ คื อ กายภาวนา จิ ตภาวนา ศี ล ภาวนา และ ปั ญญาภาวนา โดยการพัฒนาทียังยืนเป็ นการพัฒนาทีสัมพันธ์กบั มนุ ษย์ มีมนุ ษย์เป็ นตัว ตั/งในการพัฒนา นอกจากนี/แนวคิดทางพระพุทธศาสนายังถือว่ามนุษย์เป็ นองค์ประกอบทีสําคัญ คือ ให้คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา เพือให้การพัฒนาเป็ นไปเพือการสร้างความสงบสุ ข ระหว่างมนุ ษ ย์กบั ธรรมชาติ โดยใช้การศึ กษาและมี หลัก ธรรมทางพุท ธศาสนาเป็ น เครื องมื อ โดยจะมุ่งไปที การพัฒนาระบบการดําเนิ นชี วิตของคน ชุ มชน และสังคม ตลอดจนสภาพแวดล้อมให้ดาํ รงอยูอ่ ย่างเป็ นสุ ขอย่างต่อเนือง

ภาพที 2-21 แผนภาพแนวคิดทางพระพุทธศาสนาของการพัฒนาทียังยืนทีเน้นคนเป็ น ศูนย์กลางของการพัฒนา ทีมา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550 ในทัศนะของพระราชวรมุ นี เห็ นว่า พฤติ กรรมของคนต้องปรั บเปลี ยนและ พฤติกรรมนั/นต้องโยงไปถึงคุณธรรม และมีความรู ้ทีเป็ นระบบ เห็นสรรพสิ งเชื อมโยง กันเป็ นระบบ เมือรวมพฤติกรรม คุณธรรม และความรู ้ที เป็ นระบบแล้ว จะกล่าวได้ ว่าพฤติกรรมก็คือศีล คุณธรรมคือสมาธิ และความรู ้คือปั ญญา เรี ยกว่า ไตรสิ กขา


46

ภาพที 2-22 แผนภาพแนวคิดการพัฒนาคนตามหลักไตรสิ กขาของพระราชวรมุนี ทีมา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550 จากแนวคิ ด การพัฒ นาอย่า งยังยื น ของทั/ง 2 ท่ า น มี แ นวคิ ด ที คล้า ยกัน และ แตกต่างกันซึ งสามารถสรุ ปได้ ดังนี/ ตารางที 2-5 แนวคิดการพัฒนาอย่างยังยืน แนวคิดการพัฒนาอย่ างยังยืน พระธรรมปิ ฎก พระราชวรมุนี 1. การพัฒนาทียังยืนประกอบด้วย 1. การพัฒนาทียังยืนประกอบด้วย 1.1 ภาวนา 1.1 การพัฒนากับสิ งแวดล้อม 1.2 เศรษฐกิจกับนิเวศวิทยา 1.2 พัฒนา 2. ลักษณะของการพัฒนาทียังยืน 2. ลักษณะของการพัฒนาทียังยืน 2.1 เป็ นบูรณาการหรื อองค์รวม 2.1 เน้นคนเป็ นศูนย์กลาง 2.2 มีดุลยภาพ 2.2 อาศัยหลักไตรสิ กขา 2.3 เป็ นบูรณาการ ไม่เน้นด้านใดด้าน 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนา คือการทํา หนึง ให้ กิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ ส อดคลองกั บ กฎเกณฑ์ ข องธรรมชาติ และให้ ค นมี 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนา คือการสร้าง จริ ยธรรม สั นติ สุ ข การอยู่ร่วมกันระหว่า งมนุ ษ ย์ก ับ ธรรมชาติ และต้อ งพัฒ นาอย่ า งต่ อ เนื อง สมําเสมอรอบด้าน ทีมา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550


47 หนทางนําไปสู่ การพัฒนาทียังยืนบนพืน+ ฐานเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีคนเป็ นศูนย์ กลางการพัฒนา กิเลส ตัณหาทีมีอยูใ่ นตัวคน จึงเป็ นปั ญหาอุปสรรค์ทีจะทําให้โลกไม่สามารถเดินไปสู่ การ พัฒนาอย่างยังยืนได้กิเลส 3 ตัว ดังที (โอเคเนชัน, 2552 อ้างถึง พระธรรมปิ ฎก (ป.อ ปยุตโต)) ได้ อธิ บายความไว้ดงั นี/ ตัณหา คือ ความอยากได้ความสุ ขสะดวกสบายทีเต็มไปด้วยวัตถุทีมากมายสมบูรณ์ มานะ คือ ความ อยากมีอาํ นาจครอบงําผูอ้ ืน ทิฎฐิ คือ ความยึดมันจนกลายเป็ นค่านิ ยม แนวความคิดสิ ทธิ ศาสนา อุดมการณ์ต่างๆ ใน องค์ประกอบทั/ง 3 นี/ ทิฎฐิทาํ ให้เกิดผลเสี ยต่อมนุษย์มากทีสุ ด จะเห็ นได้ว่าตัวกิ เลสเป็ นอุ ป สรรคต่ อการพัฒนาที ยังยืน ถ้าไม่ สามารถขจัดออกจากตัว มนุ ษ ย์ไ ด้ เพราะตัว กิ เ ลสตัณ หานี/ เป็ นตัว ที ทํา ลายทุ ก อย่ า งในโลก เพื อสนองความอยากได้ ผลประโยชน์ ความอยากมีอาํ นาจความยิงใหญ่หรื อความยึดมันถือมันในค่านิ ยมอุดมการณ์ มนุ ษย์ ทําร้ายสิ งรอบตัวไม่วา่ จะเป็ นทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ สรรพสิ ง หรื อแม้แต่มนุ ษย์ดว้ ยกันเอง เพือ สนองต่อกิเลส ดังจะเห็นได้จากการเกิดภัยธรรมชาติ นํ/าท่วม สึ นามิ ต้นเหตุเกิดจากมนุ ษย์ไปทํา การตัดไม้ทาํ ลายป่ า และทําลายระบบนิเวศวิทยา ผลสุ ดท้ายก็คือ มนุษย์จะประสบกับความพินาศเอง ดังนั/นการที จะทําให้มนุ ษย์ลดละจากกิ เลสทีเป็ นตัวปั ญหาก็คือ การพัฒนาด้านจิตใจ ให้ มนุษย์มีมโนสํานึกทีดี สามารถแยกแยะสิ งดีสิงชัว ด้วยใช้หลักพุทธธรรมมาขัดเกลาจิตใจด้วยการ ใช้หลักไตรสิ กขา คือ ศีล สมาธิ ปั ญญา เมือมนุ ษย์ได้รับการพัฒนาจิตใจให้ดีงามแล้ว มนุ ษย์ก็จะ เกิ ดปั ญญารู ้ แจ้ง เห็ นจริ ง ลดละจากกิ เลสตัณหาทั/งปวง โดยการสร้ า งดุ ลภาพให้เกิ ดขึ/ นระหว่า ง มนุ ษย์ สิ งแวดล้อม สังคม เทคโนโลยี ทุ กทีจะอยู่อย่างเกื/ อกูลกัน ซึ งจะเป็ นหนทางทีจะนําสู่ การ พัฒนาทียังยืน


48 หลักเศรษฐกิจพอเพียง จากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลียนแปลงแก่ สั ง คมไทยอย่า งมากในทุ ก ด้า น ไม่ ว่า จะเป็ นด้า นเศรษฐกิ จ การเมื อ ง วัฒนธรรม สั ง คมและ สิ งแวดล้อม อีกทั/งกระบวนการของความเปลี ยนแปลงมี ความสลับซับซ้อนจนยากที จะอธิ บาย เพราะการเปลียนแปลงทั/งหมดต่างเป็ นปั จจัยเชือมโยงซึ งกันและกัน สํา หรั บ ผลของการพัฒนาประเทศในด้า นบวกนั/น ได้แก่ การเพิมขึ/ นของอัตราการ เจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิ จ ความเจริ ญทางวัตถุ และสาธารณู ปโภคต่างๆ ระบบสื อสารทีทันสมัย หรื อการขยายปริ มาณและกระจายการศึกษาอย่างทัวถึ งมากขึ/น แต่ผลด้านบวกเหล่านี/ ส่วนใหญ่ กระจายไปถึ งคนในชนบท หรื อผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมน้อย และกระบวนการเปลี ยนแปลงของ สังคมได้เกิดผลในด้านลบตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบท เกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั/งการต้องพึงพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสังสิ นค้าทุน ความ เสื อมโทรมขอทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครื อญาติ และการรวมกลุ่มกันตาม ประเพณี เพือการจัดการทรัพยากรทีเคยมีอยูแ่ ต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู ้ทีเคยใช้แก้ปัญหาและสัง สมปรับเปลียนกันมาถูกลืมเลือนและเริ ม สู ญหายไป สิ งสําคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดํารงชี วิต ซึ งเป็ นเงือนไขพื/นฐานทีทําให้คนไทยสามารถพึงตนเอง และดําเนิ นชี วิตไปได้อย่างมีศกั ดิ[ศรี ภายใต้ อํานาจและความมี อิสระในการกําหนด ชะตาชี วิตของตนเองความสามารถในการควบคุ มและ จัดการเพือให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ รวมทั/งความสามารถในการจัดการ ปั ญหาต่างๆ ได้ดว้ ยตนเอง หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิ จพอเพียง เป็ นแนวพระราชดําริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที พระราชทาน เป็ นแนวคิดเพือชี/ แนะแนวทางการดํารงอยู่ และปฏิ บตั ิตนของประชาชนในทุกระดับ ตั/งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุ มชน จนถึงระดับรัฐ ทั/งในการพัฒนาและบริ หารประเทศในทางทีควรจะเป็ นไป แนวทางการพัฒนาทีตั/งบนพื/นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยมีพ/ืนฐานมาจากวิถี ชี วิตดั/งเดิ มของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา เพือให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิ วัตน์ มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพือความมันคง และความยังยืนของการพัฒนา


49

ภาพที 2-23 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงือนไข ทีมา: ปรัชญา พลพุฒินนั ท์, 2555 รวมถึ งการคํานึ งความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้ างภูมิคุม้ กันในตัวเองสู่ หมู่บา้ น และสู่ เศรษฐกิ จในวงกว้างขึ/นในที สุ ด ซึ งเป็ นคุ ณลักษณะทีสําคัญของความ พอเพี ย ง ตลอดจนใช้ค วามรู ้ ที เกี ยวข้อ งเกี ยวกับ วิ ช าการต่ า งๆเหล่ า นั/นมาพิ จ ารณาให้ เชื อมโยงกัน เพือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิ บตั ิและคุ ณธรรมที จะต้องเสริ มสร้ างควบคู่ไปกับความรู ้ ซึ งประกอบด้วย มี ความตระหนักใน คุ ณธรรม มี ความซื อสั ตย์สุ จริ ตและมี ค วามอดทน มี ค วามเพี ย รใช้ส ติ ปั ญญาในการดํา เนิ นชี วิต ซึ ง ความรู ้ แ ละคุ ณ ธรรมเป็ นเงื อนไขของการตัด สิ น ใจและดํา เนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆในการ ดํารงชีวติ โดยจะนําไปสู่ “ความสุ ข” ในการดําเนินชีวติ อย่างแท้จริ ง


50

ภาพที 2-24 ขั/นตอนปฏิบตั ิสู่ วถิ ีเศรษฐกิจพอเพียง ทีมา: Thai Study Focus, 2553 ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผผู ้ ลิต หรื อผูบ้ ริ โภค พยายามเริ มต้นผลิต หรื อบริ โภค ภายใต้ขอบเขต ข้อจํากัดของรายได้ หรื อทรัพยากรทีมีอยูไ่ ปก่อน ซึ งก็คือ หลักในการลด การพึงพา เพิมขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตได้ดว้ ยตนเอง และลดภาวะการเสี ยง จากการไม่สามารถควบคุ มระบบตลาดได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ เศรษฐกิ จพอเพียงมิ ใช่ หมายความถึง การกระเบียดกระเสี ยนจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่ มเฟื อยได้เป็ นครั/งคราว ตามอัตภาพ แต่คนส่ วนใหญ่ของประเทศ มักใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะทีหามาได้


51 เศรษฐกิ จพอเพีย ง สามารถนําไปสู่ เป้ าหมายของการสร้ างความมันคงในทาง เศรษฐกิจได้ เช่น โดยพื/นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของ ประเทศจึงควรเน้นทีเศรษฐกิจการเกษตร เน้นความมันคงทางอาหาร เป็ นการสร้างความ มันคงให้เป็ นระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ ง จึงเป็ นระบบเศรษฐกิจทีช่วยลดความเสี ยง หรื อ ความไม่มนคงทางเศรษฐกิ ั จในระยะยาวได้ แนวพระราชดําริในการดําเนินชี วติ แบบพอเพียง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หั ว ทรงเข้า ใจถึ ง สภาพสั ง คมไทย ดัง นั/น เมื อได้ พระราชทานแนวพระราชดําริ หรื อพระบรมราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคํานึ งถึงวิถีชีวิต สภาพสังคมของประชาชนด้วย เพือไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด ทีอาจนําไปสู่ ความ ขัดแย้งในทางปฏิบตั ิได้ 1) ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่ มเฟื อยในการใช้ ชีวติ 2) ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื อสัตย์สุจริ ต 3) ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้า 4) ไม่หยุดนิ งที จะหาทางให้ชีวิตหลุ ดพ้นจากความทุ ก ข์ยาก ด้วยการขวนขวาย ใฝ่ หาความรู ้ให้มีรายได้เพิมพูนขึ/น จนถึงขั/นพอเพียงเป็ นเป้ าหมายสําคัญ 5) ปฏิบตั ิตนในแนวทางทีดี ลดละสิ งชัว ประพฤติตนตามหลักศาสนา ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียงในนิ ยามของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มิได้หมายความเพียงแค่ บุคคลพึงตนเองได้ (Self-Sufficiency) แต่เศรษฐกิจพอเพียง หรื อ Sufficiency Economy มี ความหมายกว้างมากกว่า เพราะเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่แนวทางสําหรับปรับใช้ได้เฉพาะ


52 บุคคล หรื อเศรษฐกิ จพอเพียงไม่ใช่ การหยุดอยู่กบั ที ซึ งสามารถพัฒนาได้ตามเหตุ ผลให้ เหมาะสมกับ สถานการณ์ ที เปลี ยนแปลงไป และยัง สามารถประยุก ต์ใ ช้หลัก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งได้ท/ งั กับ กลุ่ ม บุ ค คล ชุ ม ชน และระดับ ประเทศอี ก ด้วย โดยสรุ ป คื อ เศรษฐกิ จ พอเพียงมี 3 ระดับ คือ

ภาพที 2-25 ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง ทีมา: สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2556 ระดับ ที หนึ ง - เป็ นเศรษฐกิ จพอเพี ยงแบบพื/ นฐานที เน้นความพอเพีย งในระดับ บุคคลและครอบครัว คือ การทีสมาชิ กในครอบครัวมีพอกิน มีอาหาร สามารถสนองความ ต้องการพื/ น ฐานหรื อปั จ จัย สี ของครอบครั ว ได้ มี ค วามเป็ นอยู่คุ ณ ภาพชี วิต ที ดี ก่ อน ใช้ สติ ปั ญญาในการดํารงชี วิตไม่ ประมาท รู ้ จกั การแบ่ งปั น พึ งตนเองและช่ วยเหลื อกันใน ครอบครัวได้ เริ มต้นจากการเสริ ม สร้ า งคนให้มี ก ารเรี ย นรู ้ วิช าการและทัก ษะต่ า งๆ ที จํา เป็ น เพือให้สามารถรู ้ เท่าทันการเปลี ยนแปลงในด้านต่างๆ พร้ อมทั/งเสริ มสร้ างคุ ณธรรมจนมี ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการอยูร่ ่ วมกันของคนในสังคม และอยูร่ ่ วมกับระบบ นิเวศอย่างสมดุลเพือจะได้ละเว้นการประพฤติมิชอบ ไม่ตระหนี เป็ นผูใ้ ห้เกื/อกูลแบ่งปั น มี สติย/ งั คิดพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนทีจะตัดสิ นใจหรื อกระทําการใดๆ จนกระทังเกิดเป็ น


53 ภูมิคุม้ กันที ดี ในการดํารงชี วิต โดยสามารถคิ ดและกระทําบนพื/นฐานของความมี เหตุ ผล พอเหมาะพอประมาณกับ สถานภาพ บทบาทและหน้ า ที ของแต่ ล ะบุ ค คลในแต่ ล ะ สถานการณ์ แล้วเพียรฝึ กปฏิบตั ิเช่นนี/จนสามารถทําตนให้เป็ นทีพึงของตนเองได้และเป็ นที พึงของผูอ้ ืนได้ในทีสุ ด ระดับทีสอง – เป็ นเศรษฐกิ จพอเพียงแบบก้าวหน้า คือ ยกระดับความพอเพียงเป็ น ระดับ กลุ่ ม มี ก ารรวมตัว ทั/ง ความคิ ด ความร่ ว มมื อ ความช่ ว ยเหลื อ ส่ ว นรวม รั ก ษา ผลประโยชน์ภายในชุมชน มีการเรี ยนรู ้แลกเปลียนการจัดการและแก้ไขปั ญหาร่ วมกัน ของ คนในชุมชน มุ่งเน้นความสามัคคีและสร้างความเข้มแข็งในชุมชน ระดับทีสาม – เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวไกลระดับสร้างเครื อข่าย โดยมุ่งไปที แผนการบริ หารจัดการประเทศ เน้นความร่ วมมือระหว่างชุ มชนกลุ่มองค์กรเอกชน หรื อ ธุ รกิจภายนอก ส่ งเสริ มให้บุคคล/ชุ มชนต่างๆ มีวิถีปฏิบตั ิ มีความร่ วมมือและการพัฒนาใน สาขาต่างๆ ตามแนวทางของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและดําเนิ นการตามแผนดังกล่าว อย่างรอบคอบเป็ นขั/นตอน สร้ า งความเข้า ใจและรู ้ ค วามเป็ นจริ งระหว่างกันของคนใน ประเทศ จนนําไปสู่ ความสามัคคี และจิตสํานึ กที จะร่ วมแรงร่ วมใจกันพัฒนาประเทศให้ เจริ ญก้าวหน้าไปอย่างสอดคล้องสมดุลกับสถานภาพความเป็ นจริ งของคนในประเทศอย่าง เป็ นขั/นตอนเป็ นลําดับๆ ต่อไป แนวทางการประยุกต์ ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุก ต์ใ ช้หลัก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งในระดับ บุ ค คล ระดับ ชุ ม ชน และ ระดับประเทศมีแนวทางดังนี/ ระดับบุคคล 1. รู ้จกั “พอ” ไม่เบียดเบียนผูอ้ ืน 2. พยายามพัฒนาทักษะ ความรู ้ ความเข้มแข็งของตนเอง


54 3. ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวติ ทีพอเพียง ระดับชุมชน 1. รวมกลุ่ม ใช้ภูมิปัญญาชุมชน 2. เอื/อเฟื/ อกัน 3. พัฒนาเครื อข่ายความร่ วมมือ ระดับประเทศ 1. ชุมชนร่ วมมือกัน 2. วางระบบเศรษฐกิจแบบพึงตนเอง 3. พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็ นค่อยไป 4. เติบโตจากข้างใน แนวทางการประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีใหม่ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงทีเด่นชัดทีสุ ด ซึ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ได้พระราชทานพระราชดําริ น/ ี เพือเป็ นการช่ วยเหลื อเกษตรกรทีมักประสบปั ญหาทั/งภัย ธรรมชาติ และปั จจัยภาย นอกที มี ผลกระทบต่อการทําการเกษตร ให้สามารถผ่านพ้น ช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนํ/าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลําบากนัก ความ เสี ยงทีเกษตรกร มักพบเป็ นประจํา ประกอบด้วย ความเสี ยงด้านราคาสิ นค้าเกษตร ความ เสี ยงในราคาและการพึงพาปั จจัยการผลิตสมัยใหม่จากต่างประเทศ ความเสี ยงด้านนํ/า ฝน ทิ/งช่วง ฝนแล้งภัยธรรมชาติอืนๆ และโรคระบาด ความเสี ยงด้านแบบแผนการผลิต ความ


55 เสี ยงด้านโรคและศัตรู พืช ความเสี ยงด้านการขาดแคลนแรงงาน และความเสี ยงด้านหนี/สิน และการสู ญเสี ยทีดิน ดังนั/นแนวทางการประยุกต์ใช้มีดงั นี/ 1) มี ก ารบริ ห ารและจัด แบ่ ง ที ดิ น แปลงเล็ ก ออกเป็ นสั ด ส่ ว นที ชัด เจน ประโยชน์สูงสุ ดของเกษตรกร ซึ งไม่เคยมีใครคิดมาก่อน

เพื อ

2) มีการคํานวณโดยใช้หลักวิชาการเกี ยวกับปริ มาณนํ/าทีจะกักเก็บให้พอเพียงต่อ การเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี 3) มีการวางแผนทีสมบูรณ์แบบสําหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง 3 ขั/นตอน ทฤษฎีใหม่ ข+ ันต้ น ให้แบ่งพื/นทีออกเป็ น 4 ส่ วน ตามอัตราส่ วน 30:30:30:10 ดังนี/ พื/นทีส่ วนทีหนึ ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักนํ/าเพือใช้เก็บกัก นํ/าฝนในฤดูฝน และใช้เสริ มการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี/ยง สัตว์และพืชนํ/าต่างๆ พื/นทีส่ วนทีสอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพือใช้เป็ น อาหารประจําวันสําหรั บครอบครั วให้เพียงพอตลอด ปี เพือตัด ค่าใช้จ่ายและสามารถพึงตนเองได้ พื/นทีส่ วนทีสาม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืช ไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพือใช้เป็ นอาหารประจําวัน หากเหลือบริ โภค ก็นาํ ไปจําหน่าย พื/นทีส่ วนทีสี ประมาณ 10% เป็ นทีอยู่อาศัย เลี/ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรื อนอืนๆ


56 ทฤษฎีใหม่ ข+ ันทีสอง เมือเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบตั ิในทีดินของ ตนจนได้ผลแล้ว ก็ตอ้ งเริ มขั/นทีสอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรู ป กลุ่ม หรื อ สหกรณ์ ร่ วมแรงร่ วมใจกันดําเนินการในด้าน 1) การผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ)เกษตรกรจะต้อง ร่ วมมือในการผลิ ต โดยเริ ม ตั/งแต่ข/ นั เตรี ยมดิ น การหาพันธุ์พืช ปุ๋ ย การจัดหานํ/า และอืนๆ เพือการเพาะปลูก 2) การตลาด (ลานตากข้าว ยุง้ เครื องสี ขา้ ว การจําหน่ ายผลผลิ ต) เมือมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรี ยมการต่างๆ เพือการขายผลผลิตให้ ได้ประโยชน์สูงสุ ด เช่น การเตรี ยมลานตากข้าวร่ วมกัน การจัดหา ยุง้ รวบรวมข้าว เตรี ยมหาเครื องสี ขา้ ว ตลอดจนการรวมกันขาย ผลผลิตให้ได้ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย 3) การเป็ นอยู่ (กะปิ นํ/ าปลา อาหาร เครื องนุ่ ง ห่ ม ฯลฯ) ใน ขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็ นอยูท่ ีดีพอสมควร 4) สวัสดิการ (สาธารณสุ ข เงินกู)้ แต่ละชุ มชนควรมีสวัสดิภาพและ บริ การทีจําเป็ น เช่น มีสถานีอนามัยเมือยามป่ วยไข้ หรื อมีกองทุน ไว้กยู้ มื เพือประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน 5) การศึกษา (โรงเรี ยน ทุ นการศึกษา) ชุ มชนควรมีบทบาทในการ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา เช่ น มี ก องทุ น เพื อการศึ ก ษาเล่ า เรี ย นให้แ ก่ เยาวชนของชมชนเอง 6) สังคมและชุมชนควรเป็ นทีรวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดย มี ศ าสนาเป็ นที ยึ ดเหนี ยวโดยกิ จ กรรมทั/ง หมดดัง กล่ า วข้า งต้น จะต้อ งได้รั บ ความร่ ว มมื อ จากทุ ก ฝ่ ายที เกี ยวข้อ ง ไม่ ว่ า ส่ ว น ราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั/นเป็ นสําคัญ


57 ทฤษฎีใหม่ ข+ ันทีสาม เมือดําเนิ นการผ่านพ้นขั/นทีสองแล้ว เกษตรกร หรื อกลุ่ม เกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ ข/ นั ทีสามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพือ จัดหาทุน หรื อแหล่งเงิ น เช่ น ธนาคาร หรื อบริ ษทั ห้างร้านเอกชน มาช่วยใน การลงทุนและพัฒนาคุ ณภาพชี วิตทั/งนี/ ทั/งฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคาร หรื อ บริ ษทั เอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสู ง ธนาคารหรื อบริ ษทั เอกชนสามารถซื/ อข้าวบริ โภคในราคาตํา (ซื/ อข้าวเปลื อก ตรงจากเกษตรกรและมาสี เอง) เกษตรกรซื/ อเครื องอุปโภคบริ โภคได้ในราคาตํา เพราะรวมกันซื/ อเป็ นจํานวนมาก (เป็ นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ ง) ธนาคารหรื อ บริ ษทั เอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพือไปดําเนิ นการในกิ จกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียงขึ ิ /น

10% สระนํ/า

30%

นาข้าว พืชไร่ พืชสวน30%

30%

ทีอยูอ่ าศัย

30% ภาพที 2-26 การบริ หารและจัดแบ่งทีดินแปลงเล็กออกเป็ นสัดส่ วน ทีมา: อําพล เสนาณรงค์, 2542 ประโยชน์ ของการนําทฤษฎีใหม่ มาประยุกต์ ใช้ 1) ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อตั ภาพในระดับทีประหยัด ไม่อดอยาก และ เลี/ยงตนเองได้ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” 2) ในหน้าแล้งมีน/ าํ น้อย ก็สามารถเอานํ/าทีเก็บไว้ในสระมาปลูกพืชผักต่างๆ ทีใช้น/ าํ น้อยได้ โดยไม่ตอ้ งเบียดเบียนชลประทาน


58 3) ในปี ทีฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน/ าํ ดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่น/ ี สามารถสร้ างรายได้ให้แก่ เกษตรกรได้โดยไม่เดือดร้อนในเรื องค่า ใช้จ่ายต่างๆ 4) ในกรณี ทีเกิดอุทกภัย เกษตรกรสามารถทีจะฟื/ นตัวและช่ วยตัวเองได้ในระดับหนึ ง โดยทางราชการไม่ตอ้ งช่วยเหลือมากนัก ซึ งเป็ นการประหยัดงบประมาณด้วย หลักการพึงตนเอง การพึงตนเองเป็ นสภาวะอิสระ หมายถึง ความสามารถของคนทีจะช่ วยเหลือตนเองให้ได้ มากทีสุ ด โดยไม่เป็ นภาระคนอืนมากเกินไป มีความสมดุล ความพอดีในชี วิต เป็ นสภาวะทางกายที สอดคล้องกับสภาวะทางจิตทีเป็ นอิสระ มีความพอใจในชี วิตทีเป็ นอยู่ มีสิงจําเป็ นปั จจัยสี พอเพียง เป็ นความพร้ อมของชี วิตทั/งทางร่ างกายและจิ ตใจ เศรษฐกิ จพอเพียงตามแนวพระราชดําริ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เป็ นรากฐานของการพึงตนเอง ทั/งระดับครอบครัว ระดับชุ มชน และ ระ ดั บ สั ง คมโ ดย ร วม ดั ง ที ทรง มี ก ร ะ แส รั บสั งเมื อวั น ที ๑ ๘ ก รก ฎ าคม ๒ ๕ ๑๗ ที มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วา่ การพัฒนาประเทศจําเป็ นต้องทําตามลําดับขั/น ต้องสร้างพื/นฐาน คือ ความพอมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่ วนใหญ่เบื/องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ทีประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมือได้พฒั นาบนความมันคงพอสมควรและปฏิ บตั ิ ได้แล้ว ค่อยสร้ าง ความเจริ ญและฐานะทางเศรษฐกิจขั/นสู งในลําดับต่อไป การพึงตนเองเป็ นความสามารถในการดํารงตนอยู่ได้อย่างอิสระ มันคง สมบูรณ์ ซึ งการ พึงตนเองได้น/ นั มีท/ งั ในระดับบุคคล และชุ มชน การพึงตนเอง ต้องสามารถผันเปลียนไปตามเวลา ได้ เพือให้เกิ ดความเหมาะสม สอดคล้อง และสมดุ ล เป็ นแนวทางให้ทวีศกั ดิ[ จันทะคุ ณ (2554) กล่าวว่าหลักการพึงพาตนเองต้องยึดหลักความพอดี 5 ประการ คือ ความพอดีดา้ นจิตใจ ความพอดี ด้านสังคม ความพอดีดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม ความพอดีดา้ นเทคโนโลยี และความ พอดีดา้ นเศรษฐกิจ ซึ งสุ เมธ ตันติเวชกุล (2544) ได้ขยายความพอดีในแต่ละด้านไว้ดงั นี/ ความพอดีด้านจิตใจ คนทีสมบูรณ์พร้อมต้องมีจิตใจทีเข้มแข็ง มีจิตสํานึ กว่าตนนั/นสามารถ พึงตนเองได้ ดังนั/นจึงควรทีจะสร้างพลังผลักดันให้มีภาวะจิตใจฮึกเหิ มต่อสู ้ชีวิตด้วยความสุ จริ ต แม้ อาจจะไม่ ประสบผลสํา เร็ จบ้า งก็ ตาม ไม่ค วรท้อแท้ ให้พยายามต่ อไป พึ งยึดพระราชดํา รั ส ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เรื องการพัฒนาคน บุคคลต้องมีรากฐานทางจิตใจทีดี คือ ความหนัก


59 แน่ นมันคงในสุ จริ ตธรรมและความมุ่งมันที จะปฏิ บตั ิหน้าที ให้จนสําเร็ จ ทั/งต้องมีกุศโลบายหรื อ วิธีการอันแยบยลในการปฏิบตั ิงานประกอบพร้อมกันด้วยจึงจะสัมฤทธิ ผลทีแน่นอนและบังเกิดอัน ยังยืนแก่ตนเองและแผ่นดิน ความพอดีด้านสั งคม ควรเสริ มสร้างให้แต่ละชุ มชนในท้องถินได้ร่วมมือช่วยเหลื อเกื/อกูล กัน นํา ความรู ้ ที ได้รั บ มาถ่ า ยทอดและเผยแพร่ ใ ห้ ไ ด้รั บ ประโยชน์ ซึ งกัน และกัน ดัง พระบรม ราโชวาททีว่า เพือให้งานรุ ดหน้าไปพร้อมเพรี ยงกันไม่ลดหลัน จึงขอให้ทุกคนพยายามทีจะทํางาน ในหน้าที อย่างเต็มที และให้มีการประชาสัมพันธ์ กนั ให้ดี เพือให้งานทั/งหมดเป็ นงานที เกื/ อหนุ น สนับสนุนกัน ความพอดี ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้ อ ม คื อ การส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารนํา เอา ศักยภาพของผูค้ นในท้องถิ นสามารถเสาะแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ หรื อวัสดุ ในท้องถินทีมีอยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ซึ งส่ งผลให้เกิดการพัฒนาประเทศได้อย่างดียิง สิ งดีก็คือการประยุกต์ใช้ภูมิ ปั ญญาท้องถิน (Local Wisdom) ซึ งมีอยูม่ ากมายในประเทศ ความพอดี ด้ า นเทคโนโลยี ควรส่ ง เสริ ม ให้มี ก ารศึ ก ษาทดลอง ทดสอบเพื อให้ไ ด้ม าซึ ง เทคโนโลยีใหม่ๆ ทีสอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศและสังคมไทย และสิ งทีสําคัญสามารถนําไปใช้ ปฏิ บตั ิ ได้อย่างเหมาะสมซึ งสอดคล้องกับพระราชดํารั สทีว่า จุดประสงค์ของศูนย์การศึกษาฯ คื อ เป็ นสถานทีสําหรับค้นคว้าวิจยั ในท้องที เพราะว่าแต่ละท้องที สภาพฝนฟ้ าอากาศและประชาชนใน ท้องทีต่างๆ กันก็มีลกั ษณะแตกต่างกันมาก ความพอดีด้านเศรษฐกิจ หมายถึงสามารถอยู่ได้ดว้ ยตนเองในระดับเบื/องต้น กล่าวคือ แม้ ไม่มีเงิ นก็ยงั มี ขา้ ว ปลา ผัก ผลไม้ ในท้องถิ นของตนเองเพือการยังชี พ และสามารถนําไปสู่ การ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระดับมหภาคต่อไปด้วย


60 แนวทางการประยุกต์ ใช้ การพึงพาตนเองในระดับต่ างๆ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เพือการพัฒนาอย่ างยังยืน โครงการวิจยั เศรษฐกิ จพอเพียง (2550) ได้กล่ าวถึ งแนวทางการประยุก ต์ใช้เศรษฐกิ จ พอเพียงในระดับต่างๆไว้ดงั นี/ 1. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับบุคคล/ครอบครัว เริ มต้นจากการเสริ มสร้ างคนให้มีการเรี ยนรู ้ วิชาการและทักษะต่างๆทีจําเป็ น เพือให้สามารถรู ้เท่าทันการเปลียนแปลงในด้านต่างๆ พร้อมทั/งเสริ มสร้างคุรธรรม จนมี ความเข้าใจและตระหนักถึ งคุ ณค่าของการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม และอยู่ร่วมกับ ระบบนิเวสวิทยาอย่างสมดุล เพือจะได้มีความเกรงกลัวและละอายต่อการประพฤติผิดมิ ชอบ ไม่ตระหนี เป็ นผูใ้ ห้ เกื/อกูล แบ่งปั น มีสติย/งั คิดพิจารณาอย่างรอบคอบ ก่อนทีจะ ตัดสิ นใจ หรื อกระทํา การใดๆจนกระทังเกิ ดเป็ นภู มิ คุม้ กันที ดี ใ นการดํา รงชี วิต โดย สามารถคิ ด และกระทํา บนพื/ น ฐานของความมี เ หตุ มี ผ ลพอเหมาะ พอประมาณกับ สถานภาพ บทบาทหน้าที ของแต่ละบุ คคล ในแต่ละสถานการณ์ แล้วเพียรฝึ กปฏิ บ ตั ิ เช่นนี/ จนตนสามารถทําตนให้เป็ นทีพึงของตนเองได้ และเป็ นทีพึงของผูอ้ ืนได้ในทีสุ ด 2. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชน ชุมชนพอเพียง ประกอบด้วย บุคคล/ครอบครัวต่างๆทีมีควมพอเพียงแล้ว คือ มี ความรู ้และคุณธรรมเป็ นกรอบในการดําเนินชีวติ จนสามารถพึงตนเองได้ บุคคลเหล่านี/ มารวมกลุ่ มกันทํากิ จกรรมต่างๆทีมี อยู่ในชุ มชนให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ด ผ่านการร่ วม แรง ร่ วมใจ ร่ วมคิด ร่ วมทํา แลกเปลียนเรี ยนรู ้กบั บุคคลหลายสถานภาพ ในสิ งทีจะสร้าง ประดยชน์สุขของคนส่ วนรวม และความก้าวหน้าของชุมชนอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยสติ ปั ญญา ความสามารถของทุกฝ่ ายทีเกียวข้อง และบนพื/นฐานของความซื อสัตย์สุจริ ต อด กลั/นต่อการกระทบกระทั/ง ขยันหมันพียร และมีความเอื/อเฟื อเผือแผ่ ช่วยเหลือแบ่งปั น กันระหว่างสมาชิกชุมชน จนในไปสู่ ความสามัคคีของคนในชุ มชนซึ งเป็ นภูมิคุม้ กันทีดี ของชุ มชน จึงนําไปสู่ การพัฒนาของชุ มชนทีสมดุ ลและพร้ อมรับต่อการเปลี ยนแปลง ต่างๆ จนกระทังสามารถพัฒนาไปสู่ เครื อข่ายระหว่างชุมชนต่างๆ


61 3. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร ได้แก่ เกษตรทฤษฎีใหม่ ขั/นตอนที 1 เป็ นแนวทางการจัด การพื/ น ที เกษตรกรรมในระดับ ครอบครั ว ที สอดคล้องสมดุลกับระบบนิเวศวิทยา เพือให้พออยู่ พอกิน สมควรแก่ อัตภาพในระดับทีประหยัด และเลี/ยงตนเอง/ครอบครัวได้ ขั/นตอนที 2 การรวมกลุ่มในรู ปสหกรณ์ ร่ วมมือกันในการผลิต จัดการตลาด และ พัฒ นาสวัส ดิ ก ารของชุ ม ชนในรู ป แบบต่ า งๆ เป็ นการสร้ า งความ สามัคคีภายในท้องถินและเตรี ยมความพร้อมก่อนเข้าสู่ โลกภายนอก ขั/นตอนที 3 ติ ด ต่ อ ประสานงานกับ หน่ ว ยงานภายนอกเพื อจัด หาทุ น วิช าการ ความรู ้ เทคโนโลยีจากธุ รกิ จเอกชน เช่ น ธนาคาร บริ ษทั ห้างร้ า น เอกชน ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐ มูลนิ ธิต่างๆ มาช่วยในการลงทุน และพัฒนาคุณภาพชีวติ โดยสรุ ป แนวพระราชดําริ ส่งเสริ มให้เกษตรกรสามารถพึงตนเองได้ และมี การรวมกลุ่มกัน และเชื อมโยงเครื อข่ายในด้านต่างๆ เพือให้เกิดความก้าวหน้าไป อย่างสมดุลกับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถินทีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื องและเป็ น ขั/นตอน โดยประยุกต์ใช้ความรู ้ ภูมิปัญญา และทรั พยากรด้านต่างๆที มี อยู่อย่าง เหมาะสม บนพื/นฐานของคุ ณธรรม ความซื อสัตย์สุจริ ต ขยันหมันเพียร เอื/อเฟื/ อ แบ่งปั น และใช้สติปัญญาในการตัดสิ นใจและดําเนินชีวติ 4. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับนักธุ รกิจ นักธุ รกิจพอเพียงจะคํานึงถึงความมันคงและยังยืนของการดําเนิ นธุ รกิจมากกว่า การแสวงหาประโยชน์ระยะสั/น ฉะนั/นจะต้องมีความรอบรู ้ในธุ รกิจทีตนดําเนิ นการอยู่ และมีการศึกษาข้อมูลข่าวสารอยูต่ ลอดเวลา เพือให้สามารถก้าวทันต่อการเปลียนแปลง ต่างๆ มี ความรอบคอบในการตัดสิ นใจในแต่ละครั/ง เพือป้ องกันข้อบกพร่ องเสี ยหาย


62 ต่างๆไม่ให้เกิดขึ/น และต้องมีคุณธรรม คือ มีความซื อสัตย์สุจริ ตในการประกอบอาชี พ ไม่ผลิตและค้าขายสิ นค้าทีก่อโทษหรื อสร้างปั ญหาให้กบั คนในสังคมและสิ งแวดล้อม มี ความขยันหมันเพียร อดทนในการพัฒนาธุ รกิจไม่ให้มีความบกพร่ อง และก้าวหน้าไป อย่างต่อเนือง โดยมีการพิจารณาประสิ ทธิ ภาพการผลิต การปรับปรุ งสิ นค้าและคุณภาพ ให้ ท ัน กับ ความต้อ งการของตลาดและการเปลี ยนแปลงทางเทคโนโลยี และใน ขณะเดี ยวกันต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม และระบบนิ เวศวิทยาในทุกขั/นตอนของ การดําเนินธุ รกิจ โดยการรักษาสมดุลในการแบ่งปั นผลผระโยชน์ของธุ รกิจในระหว่างผู ้ มีส่วนได้ส่วนเสี ยต่างๆอย่างสมเหตุสมผล ตั/งแต่ผบู ้ ริ โภค พนักงาน บริ ษทั คู่คา้ ผูถ้ ือหุ ้น และสังคมวงกว้าง รวมถึงสิ งแวดล้อม 5. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ มีแผนการบริ หารจัดการประเทศทีส่ งเสริ มให้บุคคล/ชุ มชนต่างๆมีวิถีปฏิบตั ิ มี ความร่ ว มมื อ และการพัฒ นาในสาขาต่ า งๆ ตามแนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และ ดําเนิ นการตามแผนดังกล่ าวอย่างรอบคอบ เป็ นขั/นตอน เริ มจากการวางรากฐานของ ประเทศให้ มี ค วามพอเพี ย ง โดยส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนส่ ว นใหญ่ ส ามารถอยู่ อ ย่ า ง พอมีพอกิน และพึงพาตนเองได้ ด้วยมีความรู ้และทักษะทีจําเป็ นในการดํารงชี วิตอย่าง เท่าทันต่อการเปลียนแปลงต่างๆ และมีคุณธรรม ซื อสัตย์สุจริ ต ขยันหมันเพียร เอื/อเฟื/ อ แบ่ ง ปั น และใช้ส ติ ปั ญ ญาในการตัด สิ น ใจและดํา เนิ น ชี วิ ต พร้ อ มทั/ง ส่ ง เสริ ม การ แลกเปลี ยนเรี ยนรู ้ ระหว่างกลุ่ มคนต่ างๆจากหลากหลายภูมิ สังคม หลากหลายอาชี พ หลากหลายความคิด ประสบการณื เพือสร้างความเข้าใจ และรู้ความเป็ นจริ งระหว่างกัน ของคนในประเทศจนนําปสู่ ความสามัคคี และจิตสํานึ กทีจะร่ วมแรงร่ วมใจกันพัฒนา ประเทศให้เจริ ญก้าวหน้าไปป อย่างสอดคล้องสมดุ ลกับสถาณภาพความเป็ นจริ งของ คนในประเทศอย่างเป็ นขั/นเป็ นตอนเป็ นลําดับต่อไป ปัจจัยบ่ งชี+ความยังยืนของชุ มชน แผนปฏิบตั ิการ 21 (Agenda 21) แห่ งสหประชาชาติ ได้นิยามการพัฒนาทียังยืนว่า เป็ นการพัฒนาทีตอบสนองความต้องการของคนรุ่ นปั จจุบนั โดยไม่รบกวนศักยภาพการ พัฒนาของคนรุ่ นอนาคต องค์ประกอบหลักของความยังยืนแบ่งเป็ น 3 มิติ ได้แก่ มิติทาง


63 เศรษฐกิจ มิติทางสังคม และมิติทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม โดยการพัฒนาที ยังยืนควรเป็ นการผสมผสานการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิ เวศเข้าไว้ดว้ ยกัน อย่างสมดุล โดยไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งซึ งกันและกัน

ภาพที 2-27 การพัฒนาทั/ง 3 มิติอย่างสมดุลตามกรอบการพัฒนาทียังยืนแห่ งสหประชาชาติ (แผนปฏิบตั ิการ 21) ทีมา: องค์การสหประชาชาติ, 2549 การพัฒนาทียังยืนมีพ/ืนฐานแนวคิดมาจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทีให้ความสํา คัญกับการพัฒนาทีมีดุลยภาพ ทั/งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ งแวดล้อม การพัฒนาทั/ง 3 มิติ จะต้องเกื/ อกูลและไม่เกิ ดความขัดแย้งซึ งกันและกัน โดยการพัฒนาเศรษฐกิ จให้ขยายตัว อย่างมีคุณภาพและแข่งขันได้ จะต้องคํา นึ งถึ งขีดจํา กัดของทรั พยากรธรรมชาติและ สิ งแวดล้อมทีสามารถสงวนรักษาไว้ใช้ประโยชน์ได้อย่างยาวนาน ใช้ทรัพยากรทุกชนิ ด อย่างประหยัดและมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด โดยไม่ส่งผลเสี ยต่อความต้องการของคนทั/งใน ปั จจุบนั และในอนาคต ทั/งนี/ เพือคงความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรธรรมชาติ ความ หลากหลายทางชี วภาพ และคุ ณภาพสิ งแวดล้อม เพือให้เป็ นฐานการผลิ ตของระบบ เศรษฐกิจและการดํา รงชีวติ ของมนุษย์ได้อย่างต่อเนืองตลอดไป และต้องดํา เนิ นการควบคู่


64 ไปกับการพัฒนาศักยภาพคนและยกระดับคุณภาพชี วิตของประชาชนให้ดีข/ ึน โดยบริ หาร จัดการทรั พ ยากรและผลประโยชน์ จากการพัฒนาและการคุ ม้ ครองอย่า งทัวถึ ง และเป็ น ธรรมมีการปลูกฝั งค่านิ ยมของคนไทยให้มีความพอเพียงและพึงตนเองได้ ขณะเดียวกัน ส่ งเสริ มการนํา ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยทีดํา เนิ นวิถีชีวิตอยูร่ ่ วมกับธรรมชาติได้อย่าง เกื/อกูล สามารถปรับตัวรู ้เท่าทันการเปลียนแปลงบนฐานของสังคมแห่งความรู ้ สิ งทีเป็ นตัวสะท้อนให้เห็ นถึ งความสําเร็ จของการพัฒนาทียังยืนของชุ มชน ก็คือ การที คนในชุ ม ชนสามารถดําเนิ นชี วิตได้อย่า งอยู่เย็นเป็ นสุ ข ซึ งกรมการพัฒนาชุ มชน กระทรวงมหาดไทย ได้ให้ความหมายของความอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข ว่า หมายถึง “สภาวะทีคนมี คุณภาพชีวติ ทีดี ดารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพทั/งจิต กาย ปั ญญา ทีเชือมโยงกับ เศรษฐกิจ สังคม และสิ งแวดล้อมอย่างเป็ นองค์รวมและสัมพันธ์กนั ได้ถูกต้องดี งาม นําไปสู่ การอยูร่ ่ วมกัน อย่างสันติระหว่างคนกับคน และระหว่างคนกับธรรมชาติและสิ งแวดล้อม” และนอกจากนี/ ยังได้เปิ ดเผยถึงองค์ประกอบหลัก 6 ประการ ในการสร้างความสุ ขภายในชุ มชนไปสู่ การ เป็ นชุมชนเข้มแข็งอย่างต่อเนือง ทีสามารถวัดได้จากคนในชุมชน ดังนี/ 1) การมีสุขภาวะ หมายความถึ งการดารงชี พของบุคคลอย่างมีสุขกาย ดาเนิ นชี วิตโดยใช้ ความรู ้ในการรักษาร่ างกายให้แข็งแรงไม่เจ็บป่ วย มีอายุยืนยาว มีสุขภาพจิตใจ ทีดี ยึดมันในคุณธรรมจริ ยธรรม “คิดเป็ น ทาเป็ น” มีความเป็ นเหตุเป็ นผล มี ทักษะในการใช้ชีวิตอย่างมี คุณค่า อยู่ในสังคมได้อย่างปกติ สุข สร้ างสรรค์ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัวและสังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ 2) เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งเป็ นธรรม หมายความถึง การกระทาใด ๆ อันก่อให้เกิด การผลิต การจาหน่ายและ การบริ โภค ให้เกิดรายได้ทีเพียงพอ เกิดจากการมีงานสุ จริ ต มีความมันคงและ ความปลอดภัยในการทางาน มีรายได้ทีเป็ นธรรมต่อเนื อง มีการรวมตัวเป็ น กลุ่มเพือช่วยเหลื อ แบ่งปั นกัน เพือให้เกิ ดการกระจายรายได้อย่างเป็ นธรรม และเกิดความยังยืน


65

3) ครอบครัวอบอุ่น หมายถึง ครอบครัวทีสมาชิ กมีความรัก ความผูกพันต่อกัน มุ่งมันทีจะ การดาเนิ นชี วิตร่ วมกันอย่างมีจุดหมาย สามารถปฏิ บตั ิบทบาทหน้าทีได้อย่าง เหมาะสม มีการอบรมเลี/ยงดูสมาชิ กวัยเยาว์ให้เติบโตอย่างมีคุณภาพในวิถีชีวิต ของความเป็ นไทย เลี/ยงดูผสู ้ ู งอายุให้สามารถดารงชี วิตได้อย่างมีความสุ ข และ รักษาสัมพันธภาพทีดีต่อกันเพือให้สามารถดารงความเป็ นครอบครัวได้อย่างมี คุณภาพทียังยืน 4) ชุมชนมีการบริ หารจัดการชุมชนดี หมายถึ ง ชุ ม ชนแสดงความสามารถบริ ห ารจัด การชุ ม ชน จัด กระบวนการพัฒนาชุมชน มีกิจกรรมการแก้ไขปั ญหาชุ มชนได้ดว้ ยตนเองอย่าง มีเหตุมีผลและมีการบริ หารจัดการทีดี ผูน้ า ประชาชนและองค์กรในชุ มชน สามารถร่ วมมือ ช่วยเหลือเกื/อกูลกันและอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข รวมทั/งมีภาคี การพัฒนาทีมีบทบาทเกื/ อหนุ นการทางานภายในชุ มชน มีการสื อสาร และ กระบวนการเรี ยนรู ้ในชุ มชนอย่างต่อเนื อง สามารถอนุ รักษ์คุณค่าของประเพณี วัฒ นธรรมและภู มิ ปั ญ ญาที เป็ นเอกลัก ษณ์ ข องแต่ ล ะชุ ม ชนท้อ งถิ นรวมถึ ง เอกลักษณ์ความเป็ นไทย 5) การมีสภาพแวดล้อมดีมีระบบนิเวศทีสมดุล หมายถึ ง บรรยากาศหรื อสภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการใช้ชีวิตของ คนในหมู่บา้ น สร้างความสะดวก สบาย ร่ มรื น ปลอดภัยทั/งชี วิตและทรัพย์สิน ครอบครัวมีทีอยู่อาศัยทีมันคง การมีปฏิ สัมพันธ์ทีดี กบั เพือนบ้าน และการมี บริ การสาธารณูปโภคทีพอเพียง มีทรัพยากรธรรมชาติทีอุดมสมบูรณ์มีคุณภาพ สมดุล ในระบบนิเวศเพือใช้ยกระดับคุณภาพชีวติ ทีดีของคนในชุมชน


66 6) เป็ นชุมชนประชาธิ ปไตยมีธรรมาภิบาล หมายถึง ชุ มชนเป็ นสังคมประชาธิ ปไตยทีมีธรรมาภิบาล ประชาชน มี สิ ทธิ เสรี ภาพได้รับการยอมรับและเคารพในศักดิ[ศรี ความเป็ นคนทีเท่าเทียมกัน ตามระบอบประชาธิ ปไตย ประพฤติ ปฏิบตั ิตามสิ ทธิ และหน้าทีของตนเองและ เคารพในสิ ทธิ และหน้าทีของคนอืน มีระเบียบวินยั มีระบบการบริ หารจัดการที ยึดหลักธรรมาภิบาล เพือให้เกิดความโปร่ งใส คุม้ ค่า และกระจายผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิ จและสังคมอย่างเป็ นธรรม นาไปสู่ สังคมสมานฉันท์มีสันติสุข อย่างยังยืน สํานักงานงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ (2546) ได้ กําหนดดังนี/ ความอยูด่ ี มีสุข ซึ งครอบคลุ มทุกมิติของการดํารงชี วิตทีเชื อมโยงกันอย่างเป็ น องค์รวมและสามารถจําแนกองค์ประกอบได้เป็ น 7 ด้าน คือ 1) สุ ขภาพอนามัย คือ ภาวะทีปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เกิดจากการสร้างสุ ขภาวะที สมบูรณ์ ท/ งั ร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา รวมถึ งการมี โภชนาการที ดี การรู ้ จ ัก ป้ องกัน ดู แ ละสุ ข ภาพที ดี ข องตนเองและสามารถเข้า ถึ ง บริ การ สาธารณสุ ข ซึ งจะทําให้คนมีอายุยืนยาว ดํารงชี วิตได้อย่างปกติสุข สร้างสรรค์ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ 2) ความรู ้ ซึ งถื อเป็ นปั จจัย ที สํา คัญที สุ ดในการยกระดับ ความอยู่ดีมี สุ ข เพราะ ความรู ้ช่วยเสริ มสร้างศักยภาพของคนให้มีทกั ษะความสามารถในการปรับตัว ได้อ ย่ า งเท่ า ทัน ในสั ง คมที มี ก ารเปลี ยนแปลงอย่ า งรวดเร็ ว การศึ ก ษาเป็ น เครื องมื อ สํา รั ญ ในการสร้ า งโอกาสและพัฒนาสติ ปั ญญาและกระบวนการ เรี ยนรู ้ของคนให้สามารถ คิดเป็ น ทําเป็ น 3) ชี วิตการทํางาน เป็ นตัวกําหนดความอยูด่ ีมีสุขของคน การทํางานเป็ นทีมาของ รายได้และอํานาจซื/ อ ซึ งนําไปสู่ การสร้ างความสําเร็ จและคุ ณภาพชี วิตทีดี ข/ ึน การมีงานทําทีดี มีความมันคงและปลอดภัยในการทํางาน มีรายได้อย่างต่อเนื อง


67 ย่อมส่ งผลให้คนเราสามารถดูแลความเป็ นอยูข่ องตนเองและครอบครัวให้อยูด่ ี มีสุขได้ 4) รายได้และการกระจายรายได้ ความขัดสนในด้านรายได้ในการยังชี พ ปั ญหา ความยากจน ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ล้วนสะท้อนการใช้ชีวิตอยูอ่ ย่าง เป็ นทุ ก ข์ ใ นสั ง คม ดัง นั/น การสร้ า งการเจริ ญเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที เอื/ อ ประโยชน์ต่อประชาชนให้มีฐานะความเป็ นอยูท่ ีดีข/ ึน มีอาํ นาจซื/ ออย่างเพียงพอ จะนําไปสู่ การพัฒนาทียังยืน 5) ชี วิ ต ครอบครั ว ครอบครั ว เป็ นสถาบัน พื/ น ฐานทางสั ง คมที สํ า คัญ ในการ ดํารงชี วิต ความสัมพันธ์ของคนในครอบครัวเป็ นสิ งสําคัญทีจะส่ งผลต่อความ อยู่ดีมีสุข เพราะความสัมพันธ์ อนั ดี ภายในครอบครัวจะช่ วยลดปั จจัยเสี ยงใน ด้านต่างๆลงได้ 6) สภาพแวดล้อมในการดํารงชี วิต เป็ นอี ก มิ ติทีสํา คัญ สภาพแวดล้อมที ดี ย่อม ส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพร่ า งกายและจิ ต ใจที ดี เอื/ อ ต่ อ การประกอบอาชี พ และการ ดํ า รงชี วิ ต ซึ งยัง หมายรวมถึ ง การมี ที อยู่ อ าศั ย ที มั นคง ได้ รั บ บริ การ สาธารณูปโภคทีเพียงพอ และมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน 7) การบริ หารจัดการทีดีของรัฐ ความอยูด่ ีมีสุขของประชาชน ส่ วนหนึ งขึ/นอยูก่ บั การบริ หารจัดการทีดีของรัฐ การดูแลคนในสังคมให้มีสิทธิ และเสรี ภาพในการ ดํารงชิวต มีส่วนร่ วมในการพัฒนาและตรวจสอบภาครัฐ ได้รับการปฏิบตั ิทีเท่า เที ยม รั ฐกับประชาชนมี ความสั มพันธ์ ทีดี ต่อกัน นํา ไปสู่ ชุ ม ชนที มี ความสุ ข อย่างยังยืน นอกจากนี/ ESCAP (1990) ก็ ยงั ได้มีก ารกล่ า วถึ งดัชนี ช/ ี วดั คุ ณ ภาพชี วิต (ความ มันคงของมนุษย์) ซึ งสามารถแบ่งออกเป็ น 7 องค์ประกอบ ด้วยกัน ได้แก่


68 1. สุ ขภาพ มี การพิ จารณาถึ งประเด็ นการตาย ประกอบด้วย การคาดคะเนอายุข ยั จํานวนการตายของทารก และจํานวนการตายของเด็ก คือ จํานวนการตายของ เด็ ก (อายุ 1-4 ปี ) ต่ อ การเกิ ด มี ชี พ 1,000 ราย ประเด็ น ความเจ็ บ ป่ วย ประกอบด้วย ประชาชนผูพ้ ิการหรื อสู ญเสี ยหน้าทีของอวัยวะ และอุบตั ิการณ์ การเจ็บป่ วยด้วยโรคร้ ายแรง และประเด็นโภชนาการ ประกอบด้วย นํ/าหนัก แรกเกิดทารก การได้รับแคลอรี และการบริ โภคโปรตีน 2. ระดับการศึกษา มี ก ารพิ จ ารณาถึ ง ประเด็ น การศึ ก ษาเบื/ อ งต้ น ประกอบด้ ว ย การ ลงทะเบียนเรี ยนในโรงเรี ยนประถมศึกษา ความสมบูรณ์ของหลักสู ตรการเรี ยน การสอนในโรงเรี ยนระดับประถมศึกษา และการรู ้หนังสื อ ประเด็นการศึกษา ประกอบด้ว ย การลงทะเบี ย นเรี ยนในโรงเรี ย นระดับ มัธ ยมต้น และการ ลงทะเบี ย นเข้า เรี ย นในโรงเรี ย นระดับ มัธ ยมปลาย และประเด็น การศึ ก ษา ต่อเนืองระดับสู ง ประกอบด้วย การลงทะเบียนเข้าเรี ยนในระดับมหาวิทยาลัย 3. การทํางาน มีการพิจารณาถึ งประเด็นการจ้างงาน ประกอบด้วย ภาวการณ์ จา้ งงาน และการจ้างงานแบบเต็มเวลา และประเด็นสภาพ ประกอบด้วย ชัวโมงการ ทํางานรวมเวลาทีใช้เดินทาง วันหยุดพักร้อนและวันหยุดสุ ดสัปดาห์ และการลา หยุดงานทีสาเหตุจากความเจ็บป่ วยหรื ออุบตั ิเหตุในการทํางาน 4. สิ งแวดล้อมทางกายภาพ มีการพิจารณาถึ งประเด็นสภาพที อยู่อาศัย ประกอบด้วย นํ/าดื ม ปั จจัย สนับสนุ นด้านสุ ขาภิ บาลสิ งแวดล้อม ไฟฟ้ า และความแออัดของสภาพที อยู่ ประเด็นการขนส่ งและการคมนาคม ประกอบด้วย ถนนหนทาง และโทรศัพท์


69 และประเด็นสิ งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประกอบด้วย อุ บ ตั ิ ก ารณ์ ข องความ เสี ยหายธรรมชาติ ภาวะแวดล้อมเป็ นพิษ และการทํางานทรัพยากรธรรมชาติ 5. สภาพครอบครัว ความเป็ นอยู่ มี ก ารพิ จ ารณาถึ ง ประเด็ นโครงสร้ า งและหน้า ที ของครอบครั ว ซึ งมี ความสั มพันธ์ ท างอ้อมกับ ขนาดของครอบครั ว เด็ก เร่ ร่อนจอนจัด ลักษณะ ครอบครัวเดียว และผูส้ ู งอายุทีอยูต่ ามลําพัง ประเด็นความมันคงของครอบครัว ประกอบด้วย อัตราการหย่าร้าง และความรุ นแรงในครอบครัว 6. สภาพความเป็ นอยูใ่ นชุมชน มีการพิจารณาถึ งประเด็น การมีส่วนร่ วมในชุ มชน ซึ งอาจพิจารณาได้ จาก โอกาสของประชาชนที มี ส่ ว นร่ วมในกระบวนการตัด สิ นใจ และ กระบวนการสร้างฉันทามติเกียวกับกิจการสาธารณะ และประเด็นความมันคง ของชุมชน ประกอบด้วย อัตราการเกิดอาชญากรรม อัตราการเสพยา และอัตรา การฆ่าตัวตาย 7. วัฒนธรรม จิตวิญญาณ ความเชือและงานอดิเรก มีการพิจารณาถึ งประเด็นวัฒนธรรมความเป็ นอยู่ ซึ งมี ความเกี ยวข้อง ทางอ้อมกับขอบเขตหรื อจํานวนการสนับสนุ นวัฒนธรรม ประเด็นจิตวิญญาณ ความเชือ ประเด็นการพักผ่อน (ทางกาย) ซึ งมีความเกียวข้องทางอ้อมกับ วิทยุ โทรทัศน์ และสิ งอํานวยความสะดวกสําหรับสันทนาการในเมือง และสุ ดท้าย คือประเด็นการพักใจ สภาพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ (2525) ได้กาํ หนดรู ปแบบลักษณะของ ข้อมูลความจําเป็ นพื/นฐาน (จปฐ.) ซึ งก็คือข้อมูลในระดับครัวเรื อนทีแสดงถึ งสภาพความ จําเป็ น ของคนในครัวเรื อนต่างๆ เกียวกับคุณภาพชี วิตทีได้กาํ หนดมาตรฐานขั/นตําเอาไว้วา่ คนควรจะมี คุ ณ ภาพชี วิตในเรื องนั/นๆอย่างไร ซึ งการพัฒนาเครื องชี/ วดั ความจํา เป็ นขั/น


70 พื/นฐานนั/น มีการพัฒนาทุก 5 ปี ตามแผนพัฒนาฯแต่ละฉบับ ซึ งเครื องชี/ วดั ความจําเป็ นขั/น พื/นฐานทีใช้เก็บข้อมูลในแผนพัฒนาฉบับที 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) ประกอบด้วย 6 หมวด ดังต่อไปนี/ 1. สุ ขภาพดี มี ตวั ชี/ วดั เช่ น หญิ ง ตั/ง ครรภ์ไ ด้รับ การดู แลก่ อนคลอด เด็ ก แรกเกิ ด มี นํ/าหนักไม่ตากว่ ํ า 2,500 กรัม เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ได้กินอาหารอย่างเหมาะสม และเพี ย บพอ คนในครั ว เรื อนได้ กิ น อาหารที มี คุ ณ ภาพ ถู ก สุ ขลัก ษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน และคนอายุ 35 ปี ขึ/นไป ได้รับการตรวจสุ ขภาพ ประจําปี เป็ นต้น 2. มีบา้ นอาศัย มี ต ัว ชี/ วัด เช่ น ครั วเรื อ นที มี ค วามมันคงในที อยู่อาศัย ครั วเรื อ นมี น/ ํา สะอาดสําหรับดื มและบริ โภคเพียงพอตลอดปี ครัวเรื อนมีการป้ องกันอุบตั ิภยั อย่างถู กวิธี ครั วเรื อนมี ความปลอดภัยในชี วิตและทรั พย์สิน และครั วเรื อนมี ความอบอุ่น เป็ นต้น 3. ฝักใฝ่ การศึกษา มีตวั ชี/ วดั เช่น เด็กอายุ 3 – 5 ปี ได้รับการเลี/ยงดูเตรี ยมความพร้อม เด็กที จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ได้เรี ยนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เด็กทีจบ การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี และไม่ได้เรี ยนต่อได้รับการฝึ กอบรมด้านอาชี พ คน อายุ 15 – 60 ปี อ่านออกและเขียนภาษาไทยได้ และคนในครัวเรื อนได้รับรู ้ ข่าวสาร เป็ นต้น


71 4. รายได้กา้ วหน้า มีตวั ชี/วดั ได้แก่ คนอายุ 18 – 60 ปี มีการประกอบอาชี พและมีรายได้ คน ในครัวเรื อนมีรายได้เฉลียไม่ตากว่ ํ าคนละ 20,000 บาทต่อปี และครัวเรื อนมีการ เก็บออมเงิน 5. ปลูกฝังค่านิยมไทย มีตวั ชี/ วดั ได้แก่ คนในครัวเรื อนไม่ติดสุ รา คนในครัวเรื อนไม่สูบบุหรี คนอายุต/ งั แต่ 6 ปี ขึ/นไปทุกคนไปปฏิบตั ิกิจกรรมทางศาสนา คนสู งอายุและคน พิการได้รับการดูแลเอาใจใส่ 6. ร่ วมใจพัฒนา มีตวั ชี/วดั ได้แก่ ครัวเรื อนมีคนเป็ นสมาชิ กกลุ่มทีตั/งขึ/นในหมู่บา้ น ตําบล ครัวเรื อนมีส่วนร่ วมแสดงความคิดเห็ นเพือประโยชน์ของชุ มชนหรื อท้องถิ น และคนมีสิทธิ[ได้ไปใช้สิทธิ[เลือกตั/ง จากผลการศึ กษาเอกสารที เกี ยวข้องกับแนวคิ ดปั จจัยบ่งชี/ ความยังยืนของชุ มชน พบว่า นักวิชาการและสถาบันต่างๆได้ให้นิยามความหมายและองค์ประกอบของการเป็ น ชุ ม ชนที ยังยืนไว้ค ล้ายคลึ ง กัน อาจจะมี ป ระเด็นที แตกต่ า งกันบ้า งเพีย งเล็ ก น้อย ซึ งบาง ประเด็ นมี ส่ วนเกี ยวข้องเชื อมโยงกันจึ ง สามารถนํา มาควบรวมเป็ นประเด็ นที พิ จารณา ร่ วมกันได้ นอกจากนี/ รายละเอียดของตัวชี/ วดั ในระดับทีย่อยลงไปจากองค์ประกอบแต่ละ ประการ อาจมีความแตกต่างกันบ้าง ขึ/นอยู่กบั วัตถุประสงค์และขอบเขตของการนําดัชนี ช/ ี วัดเหล่านั/นไปใช้ ซึ งคณะผูศ้ ึกษา สามารถเปรี ยบเทียบองค์ประกอบทีแสดงถึงความยังยืน ของชุมชนในทัศนะของนักวิชาการหรื อสถาบันต่างๆ ได้ดงั ต่อไปนี/


72 ภาวะผู้นํา ปัจจัยแห่ งความสํ าเร็จของเศรษฐกิจพอเพียง บทบาทของผูน้ าํ หรื อผูบ้ ริ หารองค์ก ารในการนํา พาธุ รกิ จสู่ แนวพอเพี ยงต้องมี ความหนัก แน่ นและเชื อมันในแนวคิ ด ขณะเดี ย วกันก็ตอ้ งมี วิสัยทัศ น์ทีกําหนดแนวทาง ธุ รกิจ บริ หารความเสี ยง เพือรักษาความสมดุลขององค์การ โดยผูน้ าํ ควรมีคุณสมบัติ ดังนี/ ประการแรก ต้องมีจิตวิญญาณในการบริ หารคน ในการบริ หารจัดการองค์การ จะต้องมีจิตวิญญาณในการบริ หารคนกลุ่ม หนึ งซึ งมี ทุ ก ระดับ และทั/ง ตัวอาคารและคนนี/ จะต้องบริ หารยัง ไงให้เ กิ ดกํา ไร ทรัพยากรมนุ ษย์ (Human Resource) เป็ นเรื องสําคัญทีสุ ด ถ้าคนมีความเก่งแล้ว มี ขี ด ความสามารถ มี ส ติ ปั ญ ญา วางแผนดี จิ ต วิ ญ ญาณมี ชี วิ ต ชี ว า จะทํา ให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุ ด 1. การให้ความสําคัญกับพนักงาน การตัดสิ นใจในเรื องต่างๆ จะต้องมี ตัวแทนของพนักงานเข้าไปมีส่วนร่ วมในการประชุ มและตัดสิ นใจ ด้วยทุกครั/ง 2. การพัฒนาพนักงานขององค์การ จะต้องพัฒนาองค์ความรู ้และทักษะ เฉพาะขององค์การ โดยหัวหน้าจะต้องเป็ นผูอ้ บรมให้กบั ลูกน้อง 3. การกระจายอํา นาจและการตัด สิ น ใจออกไปทุ ก ส่ ว นงาน การ ตัดสิ นใจจะต้องไม่ข/ ึนอยูก่ บั คนคนเดียวหรื อทีมงานเพียงทีมเดียว 4. องค์ ก ารจะต้อ งคํา นึ ง ถึ ง การทํา แผนการอนาคตด้า นบุ ค ลากรไว้ ล่วงหน้า (Succession Plan) 5. ให้ความสําคัญต่อการโปรโมตพนักงานจากคนในองค์การก่อนทีจะ มองหาคนนอกเข้ามา


73 6. หลีกเลียงการแก้ปัญหาโดยการปลดพนักงานออก 7. ต้องไม่ละเลยเรื องวัฒนธรรมองค์การ ประการทีสอง ต้องรู ้จกั ความพอประมาณ พอประมาณตัวเอง คือ อย่าทําล้น อย่าทําเว่อร์ มีขีดความสามารถแค่ไหน ทําแค่น/ นั ธุ รกิจหลัก (Core Business) เก็บไว้ ธุ รกิจรองทีมีอนาคตเราเลือกเก็บไว้ที บางตัว ทีมีศกั ยภาพ โดยสรุ ปแล้วแนวคิ ดการพึงพิ งตนเองได้มีก ารนํา ไปใช้ใ นทางปฏิ บ ตั ิ เพิมขึ/น ในฐานะทีเป็ นยุทธศาสตร์ การพัฒนาทีสําคัญ และการพึงตนเองได้น/ นั ต้อง มีความเชื อมันว่า ตนย่อมช่วยตนเองได้ก่อน โดยอาจรับความช่วยเหลือจากคนอืน ตามความจําเป็ น และช่วยเหลือผูอ้ ืนตามความจําเป็ น ซึ งช่วยเขาแล้วให้เขาสามารถ ช่วยตนเองได้


74

ตารางที 2-6 ตารางเปรี ยบเทียบปั จจัยบ่งชีความยังยืนของชุ มชน สํานักงานคณะกรรมการ สภาพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และสังคมแห่งชาติ แห่งชาติ สุ ขภาพ การศึกษา/ความรู ้ อาชีพ การงาน รายได้ ครอบครัว สภาพแวดล้อม การบริ หารจัดการทีดี วัฒนธรรม ค่านิยม จิตวิญญาณ ชุมชนประชาธิ ปไตย การมีส่วนร่ วม ทีมา: เปรี ยบเทียบโดยการวิเคราะห์ร่วมกันของกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน)

กรมพัฒนาชุมชน กระทรวง มหาดไทย

ESCP


75 งานวิจัยทีเกียวข้ อง ในการศึกษาปั ญหาพิเศษเรื อง แนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจเพือการพัฒนาอย่างยังยืน กรณี ศึ ก ษา ตํา บลวัง ตะกอ อํา เภอหลัง สวน จัง หวัดชุ ม พร ผลงานวิจ ัย ที มี ผูศ้ ึ ก ษาวิจยั ไว้มี ส่ ว น เกียวข้องกับการนําแผนชุมชนมาใช้เพือการพัฒนาอย่างยังยืน ดังนี/ 1. การพัฒนาศักยภาพและโอกาสคนจน โดยการจัดทําแผนชุ มชนพึงตนเอง ตําบลบ้าน ทําเนียบ อําเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี ศึกษาโดย ธิ ดารัตน์ เวชกุล (2549) 1.1 วัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื อศึ ก ษาบริ บทชุ ม ชนและบริ บทคนจน และเพื อค้ น หายุ ท ธศาสตร์ แก้ปั ญหาความยากจน โดยการจัดทํา แผนชุ มชนพึ งตนเอง ตํา บลบ้า นทํา เนี ย บ อําเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี 1.2 วิธีการศึกษา ใช้วิธีการศึกษาเอกสาร (Document Research) การทําแผนทีเดิ นดิ นการทํา แผนทีความคิด (Mind Map) การสนทนากลุ่ม (Focus Group) การสัมภาษณ์เชิ งลึก (In depth Interview) และการสังเกต (Observation) 1.3 ผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่าด้านบริ บทชุ มชน ตําบลบ้านทําเนี ยบ อําเภอคีรีรัฐนิ คม จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี เป็ นตําบลที มีเนื/ อที มากที สุ ดในอําเภอคีรีรัฐนิ คม สภาพภูมิ ประเทศของตํา บลบ้า นทํา เนี ย บเป็ นที ราบสู ง และลาดชัน ตามแนวเขา สภาพ เศรษฐกิ จส่ วนใหญ่ประกอบอาชี พเกษตรกรรม มีหน่ วยธุ รกิ จและโรงงานต่างๆ ด้านบริ บทคนจน สาเหตุแห่ งความยากจนในทรัพย์สินส่ วนใหญ่มีการย้ายถินฐาน มาจากทีอืนอันเนื องมาจากไม่มีทีดินทํากินเป็ นของตนเองหรื อมีอยูเ่ ดิมแต่ตอ้ งขาย มีขอ้ กําจัดในการเลือกประกอบอาชีพ มีรายจ่ายมากกว่ารายได้ ทําการเกษตรไม่คุม้


76 กับการลงทุน มีหนี/ สินติดตัวมา สาเหตุของการจนส่ วนใหญ่เพราะว่า ไม่ได้เรี ยน หนังสื อ โครงการช่วยเหลือรัฐถูกปิ ดบัง ฯลฯ ส่ วนในด้านยุทธศาสตร์ แก้ปัญหาความยากจน โดยการจัดทําแผนชุ มชน พึ งตนเอง ได้ผ ลการศึ ก ษาว่า ปั ญ หาที พบในชุ ม ชนก็ จ ะเป็ นเรื อง ต้น ทุ น ทาง การเกษตรสู ง ราคาผลผลิ ต ตํา หนี/ จากกองทุ น ที มี อ ยู่ใ นหมู่ บ ้า น ธนาคารเพื อ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธกส) และหนี/ นอกระบบซึ งเป็ นทีสําคัญมาก ในชุมชน การวางแผนเพือการพัฒนาประเทศและการพัฒนาชุ มชนจะถูกกําหนด และวางแผนมาจากหน่วยงานของรัฐทั/งส่ วนกลางและส่ วนท้องถิน โดยทีชาวบ้าน ไม่มีสิทธิ ไม่มีส่วนร่ วมในการกําหนดอนาคตของตนเอง แต่เป็ นแค่ผรู ้ อรับผลแห่ ง การพัฒ นา ซึ งผลที ออกมานั/น ก็ มี ท/ ัง ที ตรงและไม่ ต รงกับ ความต้อ งการของ ชาวบ้าน 2. แนวทางการเพิมประสิ ทธิ ภาพในการนําแผนชุ มชนไปปฏิบตั ิในท้องถิน เทศบาลตําบล โป่ งนํ/า ร้ อน อํา เภอโป่ งนํ/าร้ อน จังหวัดจันทบุ รี ทําการศึ ก ษาโดย ธราธร มิ ตรวิเชี ย ร (2553) 2.1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยศึกษาการนําแผนชุ มชนไปปฏิบตั ิของเทศบาลตําบลโป่ งนํ/าร้อน อําเภอ โป่ งนํ/าร้ อน จังหวัดจันทบุ รี ศึกษาปั ญหาและอุ ปสรรคในการนําแผนชุ มชนไป ปฏิ บ ัติ แ ละแนวทางในการแก้ไ ขปั ญ หาการนํา แผนชุ ม ชน ไปปฏิ บ ัติ เ พื อให้ มี ประสิ ท ธิ ภาพยิงขึ/ น โดยประชากรที ใช้ในการศึ กษาครั/ งนี/ ไ ด้แก่ ผูน้ ําชุ ม ชน 9 ชุมชน จํานวน 27 คน ประกอบด้วยประธาน คณะกรรมการชุ มชน รองประธาน คณะกรรมการชุมชน และกรรมการชุมชน 2.2 วิธีการศึกษา ใช้แบบสัมภาษณ์ทีเป็ นคําถามแบบเจาะลึก โดยสัมภาษณ์ถึงข้อมูลทีเป็ น ข้อเท็จจริ งและข้อมูลทีเป็ นความคิดเห็นส่ วนบุคคลและการวิจยั เอกสารโดยการ


77 ค้นคว้าเชิงวิเคราะห์จากเอกสารต่างๆทีเกียวข้อง แนวนโยบาย แนวทางการจัดทํา แผนชุมชน เอกสารแผนงาน บทความในวารสาร ตําราทางวิชาการ หนังสื อ ราชการและผลงานวิจยั ทีเกียวข้อง 2.3 ผลการศึกษา ผลจากการศึ ก ษาการนํา แผนชุ ม ชนมาบรรจุ ล งในแผนพัฒนาสามปี ของ เทศบาลตําบลโป่ งนํ/าร้ อน อําเภอโป่ งนํ/าร้ อน จังหวัดจันทบุ รี พบว่า โครงการที ได้รับการบรรจุลงในแผนพัฒนาสามปี ของเทศบาลนั/นเป็ นโครงการเกี ยวกับการ บริ การสาธารณะ อาทิเช่น ไฟฟ้ า นํ/าประปา ถนน รวมทั/งแหล่งนํ/าสําหรับนํามาใช้ ในการเกษตรและโครงการเกี ยวกับการแก้ปัญหาที ดิ นทํากิ นของประชาชน ใน ส่ วนของโครงการทีชุ มชนสามารถทีจะดําเนิ นการเองได้ไม่ได้รับการบรรจุลงใน แผนพัฒนาสามปี ของเทศบาล โดยมองว่าโครงการทีไม่ได้รับการบรรจุน/ นั มาจาก ผูบ้ ริ หารท้องถินและข้าราชการประจําไม่ให้ความสําคัญกับแผนชุมชน ผลจากการศึกษาการนําแผนชุมชนไปปฏิบตั ิ พบว่า แผนชุมชนทีนํามาบรรจุ ในแผนพัฒนาสามปี ของ เทศบาลมีจาํ นวนมาก จึงไม่สามารถจะดําเนิ นการได้ทุก โครงการและปั จ จัย สํา คัญที แผนชุ ม ชนไม่ ไ ด้นํา มาดํา เนิ น การคื อ นัก การเมื อ ง ท้องถิ นไม่นาํ แผนมาดําเนิ นการ แต่โครงการที นํามาดําเนิ นการนั/นบางครั/ งเป็ น โครงการที เกิ ดจากความนึ ก คิ ดขิ ง นัก การเมื องท้องถิ นเอง และมี ผ ลให้ผูไ้ ด้รับ ประโยชน์จากโครงการเป็ นฐานเสี ยงหัวคะแนนและพวกพ้องของนัก การเมื อง ส่ วนโครงการทีนําไปปฏิ บตั ิและผ่านการจัดลําดับความสําคัญจากชุ มชนแล้วนั/น เมือนํามาดําเนิ นการหรื อนํามาปฏิบตั ิจะสามารถแก้ไขปั ญหาทีเกิดขึ/นในชุ มชนได้ อย่างแท้จริ ง ผลจากการศึ ก ษาปั จ จัย ที มี ผ ลต่ อ การนํา แผนชุ ม ชนไปปฏิ บ ัติ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพ พบว่า ด้านนโยบายการบริ หารงานของคณะผูบ้ ริ หารตําบลโป่ งนํ/า ร้ อน ควรมี การนําเสนอให้เทศบาลนําแผนชุ มชนมาใช้เป็ นกรอบในการกําหนด นโยบายการทํางานและควรคํานึ งถึ งความต้องการของประชาชนในชุ มชนเป็ น หลัก เพื อให้ผ ลของการดํา เนิ นงานตอบสนองต่ อปั ญ หาและความต้องการของ


78 ประชาชนอย่างแท้จริ ง ด้านงบประมาณ การนํางบประมาณไปใช้ในการดําเนิ น โครงการของคณะผูบ้ ริ หารไม่สามารถทีจะแก้ไขปั ญหาของประชาชนได้ เนื องจาก กิจกรรมและโครงการทีได้ดาํ เนิ นการนั/นส่ วนใหญ่ไม่ได้นาํ มาจากแผนชุ มชนแต่ เป็ นโครงการที คณะผูบ้ ริ หารคิ ดขึ/นเอง นอกจากนั/นการใช้จ่ายงบประมาณบาง โครงการสิ/ นเปลืองและไม่คุม้ ค่า อาทิเช่น โครงการปรับปรุ งอาคารและการจัดงาน เลี/ยงรื นเริ งต่างๆ เป็ นต้น 3. การวิจยั สร้ างยุทธศาสตร์ การพัฒนาแผนชุ มชนแบบชุ มชนแบบมีส่วนร่ วมของชุ มชน บ้านหนองเข้ หมู่ที 6 ตําบลหนองปรง อําเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ศึกษาโดย ศุภชัย เทพบุตร (2550) 3.1 วัตถุประสงค์ในการศึกษา เพือสร้างและทดลองยุทธศาสตร์ การพัฒนาชุ มชนแบบมีส่วนร่ วม และเพือ ศึกษาระดับความพึงพอใจในแผนชุ มชนแบบมีส่วนร่ วมของตัวแทนชุ มชนหนอง เข้ หมู่ที 6 ตําบลหนองปรง อําเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี 3.2 วิธีการศึกษา ใช้วิธีการศึกษาโดยได้จดั เก็บรวบรวมทั/งข้อมูลเชิ งคุ ณภาพและข้อมูลเชิ ง ปริ มาณ โดยทําการวิเคราะห์ ขอ้ มูลโดยใช้ค่าร้ อยละ ค่าเฉลี ย และส่ วนเบี ยงเบน มาตรฐาน การเปรี ยบเที ยบระดับความรู ้ ระดับ การมี ส่วนร่ วม ใช้สถิ ติค่าที ส่ วน ระดับความพึงพอใจของตัวแทนชุ มชนบ้านหนองเข้เกียวกับการจัดทําแผนชุ มชน ใช้ค่าเฉลีย และส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน 3.3 ผลการศึกษา จากผลการศึกษา ในด้านสร้างแผนชุ มชนแบบมีส่วนร่ วมพบว่า บ้านหนอง เข้ขาดแผนชุ มชนแบบมีส่วนร่ วม ขาดแคลนแหล่ งเงิ นทุนในการประกอบอาชี พ ต้นทุ นการผลิ ตภาคการเกษตรสู งแต่ราคาผลผลิ ตตํา ชาวบ้านขาดการรวมกลุ่ ม


79 ส่ วนในด้านระดับความพึงพอใจในแผนชุ มชนแบบมีส่วนร่ วมของตัวแทนชุ มชน บ้า นหนองเข้โดยใช้ค่ า สถิ ติใ นการศึ ก ษา สรุ ป ได้ว่า ระดับ ความรู ้ ค วามเข้า ใจ เกียวกับการจัดทําแผนชุมชนแบบมีส่วนร่ วมของชุมชนบ้านหนองเข้ ก่อนและหลัง การจัดทําแผน พบว่าตัวแทนชุ มชนระดับความรู ้ความเข้าใจการจัดทําแผนชุ มชน แบบมีส่วนร่ วมของชุมชน หลังจัดทําแผนสู งกว่าก่อนการจัดทําแผน ในด้านความ พึงพอใจของตัวแทนชุมชนในการจัดทําแผนชุ มชนแบบมีส่วนร่ วมของชุ มชนบ้าน หนองเข้ พบว่า ความพอพึงใจของสมาชิ กในการจัดทําแผนชุ มชนแบบมีส่วนร่ วม โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก 4. แผนแม่บทชุ มชน: กรณี ศึกษาบ้านบัวบาน หมู่ 8 และบ้านใหม่บวั บาน หมู่ 14 ตําบลกู่ ทอง อําเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ศึกษาโดย กุลสตรี มอญไธสง (2547) 4.1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพือศึกษาสภาพทัวไปของหมู่บา้ นและเพือศึกษาการจัดทําแผนแม่บทชุ มชน โดยการศึกษาในข้อมูลต่างๆ จากการจัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ รวมทั/งได้มี ส่ วนร่ วมในกิ จกรรมทีจัดขึ/นในหมู่บา้ นมีการสังเกตแบบมีส่วนร่ วมอย่างใกล้ชิด สัมภาษณ์สมาชิกชุมชนเช่นผูน้ าํ ผูร้ ู ้ เยาวชน ฯลฯ เพือเป็ นแนวทางในการศึกษา 4.2 วิธีการศึกษา ทํากิ จกรรมสร้างความสนิ ทสนมคุน้ เคยกับชาวบ้านโดยการพบปะสนทนา แลกเปลี ยนความคิ ดเห็ น การสังเกตแบบมี ส่วนร่ วมและไม่มีส่วนร่ วมทํา ให้ไ ด้ ข้อ มู ล ที เป็ นของชาวบ้า นที แท้จ ริ ง และใช้ ข ้อ มู ล ปฐมภู มิ ที ได้จ ากทางอํา เภอ องค์การบริ หารส่ วนตําบล สถานีอนามัย โรงเรี ยนและหนังสื อด้วย 4.3 ผลการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า จากการจัดทําแผนแม่บทชุ มชนทําให้ชาวบ้านมองเห็ น ทรั พ ยากรเป็ นทุ น ในการจัด การพัฒ นาทุ น ที มี อยู่โ ดยพัฒ นาแบบพึ งพาตนเอง


80 ชุมชนคิดเอง ทําเอง ดําเนินการเอง ด้วยทุนตัวเองทุกขั/นตอน ตั/งแต่การวางแผนไป จนการดําเนิ นงาน อย่างที ชุ ม ชนบ้า นบัวบานมองเห็ นศัก ยภาพชุ ม ชนเรื องภู มิ ปั ญญาการปั/ นหม้อ ซึ งภายในหมู่บา้ นมีดินเหนี ยวเนื/ อละเอียด และมีผูร้ ู ้ เรื องการ ปั/ นหม้อ จึงมีกลุ่มผูร้ ิ เริ มปั/ นหม้อเกิดขึ/นหลังจากสู ญหายจากหมู่บา้ นไปเกือบ 10 ปี แล้ว และเกิ ดการพัฒนาของกลุ่ มข้าวกระยาสารทบ้านใหม่บวั บานเป็ นแนวทาง สร้ างรายได้ให้กบั ชุ มชน พัฒนารู ปแบบผลิ ตภัณฑ์ซึงเป็ นแผนของกลุ่มทีนําไปสู่ วิสาหกิจชุมชน ผลการศึกษาพบว่า จากการจัดทําแผนแม่บทชุ มชนทําให้ชาวบ้านมองเห็ น ทรั พ ยากรเป็ นทุ น ในการจัด การพัฒ นาทุ น ที มี อยู่โ ดยพัฒ นาแบบพึ งพาตนเอง ชุมชนคิดเอง ทําเอง ดําเนินการเอง ด้วยทุนตัวเองทุกขั/นตอน ตั/งแต่การวางแผนไป จนการดําเนิ นงาน อย่างที ชุ ม ชนบ้า นบัวบานมองเห็ นศัก ยภาพชุ ม ชนเรื องภู มิ ปั ญญาการปั/ นหม้อ ซึ งภายในหมู่บา้ นมีดินเหนี ยวเนื/ อละเอียด และมีผูร้ ู ้ เรื องการ ปั/ นหม้อ จึงมีกลุ่มผูร้ ิ เริ มปั/ นหม้อเกิ ดขึ/นหลังจากสู ญหายจากหมู่บา้ นไปเกื อบ 10 ปี แล้วและเกิ ดการพัฒนาของกลุ่มข้าวกระยาสารทบ้านใหม่บวั บานเป็ นแนวทาง สร้ างรายได้ให้กบั ชุ มชน พัฒนารู ปแบบผลิ ตภัณฑ์ซึงเป็ นแผนของกลุ่มทีนําไปสู่ วิสาหกิจชุมชน หลังจากชาวบ้านตระหนักถึงศักยภาพของชุมชนแล้วก็ก่อให้เกิดแผนพัฒนา ตัวเองและชุ มชนในอนาคตขึ/นมา อาทิ แผนการเกษตรกรรมแบบยังยืน ชาวบ้าน ส่ วนใหญ่รวมกลุ่มทําอาชี พเกษตรกรรม ทั/งปลูกพืชและเลี/ ยงสัตว์ และมีการผลิ ต ปุ๋ ยอินทรี ยแ์ ละนํ/าหมักชี วภาพไว้ใช้เองในหมู่บา้ น แผนการส่ งเสริ มระบบสุ ขภาพ ชุ มชน ในชุ มชนปลูกพืชผักสวนครั วและสมุ นไพรซึ งเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ น จัด อบรมเยาวชนเรื องแพทย์แผนไทย แผนการจัดระบบสิ งแวดล้อม รณรงค์ปลูกป่ า ชุ ม ชนเพื ออนุ รัก ษ์ป่ าชุ ม ชนและเป็ นการรั ก ษาระบบนิ เ วศน์ แผนธุ รกิ จชุ ม ชน ร้านค้าชุมชนโดยสร้างระบบเครื อข่ายสหกรณ์ชุมชน มีการจัดศูนย์ขอ้ มูลการตลาด ในชุ ม ชน แลกเปลี ยนข้อ มู ล ภายในและนอกชุ ม ชน แผนอุ ต สาหกรรมชุ ม ชน จัดระบบจําหน่ ายเพื อแปรรู ปเนื/ อโค เนื/ อไก่ ผลิ ตภัณฑ์ทีได้จากโคและไก่ แผน กองทุ น และสวัส ดิ ก ารชุ ม ชน จัด ตั/ง กลุ่ ม ออมทรั พ ย์ป ระจํา ตํา บล มี ก ารจัด ตั/ง กองทุนพันธุ์พืชและสัตว์ เป็ นต้น


81 5. เปรี ย บเที ยบการนํา แผนชุ ม ชนไปสู่ การปฏิ บตั ิ ของภาคี ก ารพัฒนา อําเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ศึกษาโดย สุ พิชญา พยัคฆ์เกรง (2553) 5.1 วัตถุประสงค์ในการศึกษา เพือศึ กษาระดับการนําแผนชุ มชนไปสู่ การปฏิ บตั ิของภาคี การพัฒนาเพือ เปรี ยบเทียบการนําแผนชุ มชนไปสู่ การปฏิบตั ิของภาคีการพัฒนา ระหว่างภาคีการ พัฒ นาต่ า งหน่ ว ยงานและต่ า งสถานภาพ อํา เภอบางปะหั น จัง หวัด พระนครศรี อยุธยา 5.2 วิธีการศึกษา วิธีการศึกษาได้แก่ การใช้แบบสอบถาม สถิ ติทีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลีย ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) 5.3 ผลการศึกษา จากผลการศึกษาแบ่งเป็ นผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ดงั นี/ 5.3.1 วัตถุประสงค์ในเรื องระดับการนําแผนชุ มชนไปสู่ การปฏิบตั ิของภาคี การพัฒนา พบว่า ในภาพรวมมี ค่าเฉลี ยอยู่ในระดับมากและเมื อ พิจารณาเป็ นด้าน พบว่า มีค่าเฉลียอยูใ่ นระดับมาก 7 รายการโดย เรี ยงลําดับค่าเฉลี ยจากมากทีสุ ดคือ ด้านนโยบายขององค์กร ส่ วน ด้านทีมีค่าเฉลียน้อยทีสุ ด คือ ด้านการนําแผนชุ มชนไปใช้ประโยชน์ ขององค์กร และจําแนกเป็ นรายด้านดังนี/ ด้านนโยบายขององค์กรในภาพรวมมีค่าเฉลียอยูใ่ นระดับมาก คือ นโยบายการจัดทําแผนชุ มชนสอดคล้องกับแผนพัฒนาตําบล/ อําเภอ/จังหวัดและชาติ มีนโยบายส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ มีการ


82 กําหนดเป้ าหมายการจัดทําแผนชุ มชนชัดเจน และองค์กรมีเจ้าหน้าที ปฏิบตั ิงานในพื/นที ด้านบทบาทหน้าทีองค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลียอยู่ในระดับ มาก คือ มีบทบาทหน้าทีรับผิดชอบหรื อการมีส่วนร่ วมแผนชุ มชน มี การประชาสัมพันธ์บทบาทของหน่วยงานให้ชุมชนทราบ มีการรับ ฟั ง ปั ญหาและให้คาํ ปรึ ก ษา และมี ก ารสนับ สนุ นการปฏิ บ ตั ิ ของ ชุมชนด้านต่าง ๆ ด้านแผนปฏิ บตั ิการขององค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลี ยอยู่ใน ระดับมาก คือ มีแผนส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ แก่ ชุมชน มีการ ประสานการใช้ขอ้ มูลร่ วมกันระหว่างหน่วยงาน มีการประสานความ ร่ วมมือในการปรับปรุ งคุณภาพแผนชุ มชน และมีการบูรณาการแผน ชุมชนทุกหน่วยงาน ด้านงบประมาณขององค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลียอยูใ่ นระดับ มาก คือ มีงบประมาณในการประชาสัมพันธ์การจัดทําแผนชุ มชน มี งบประมาณในการสนับ สนุ นการขับ เคลื อนแผนชุ ม ชน มี ค วาม โปร่ งใสในการบริ หารงบประมาณ และมีงบประมาณในการบูรณา การแผนชุมชน ด้านการติดตามประเมินผลขององค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลี ย อยู่ในระดับมาก คื อ มี การติ ดตามประเมิ นผลแผนชุ มชน มี การ รายงานผลการดําเนินงานแผนชุ มชน มีการติดตามและประสานงาน ระหว่างหน่ วยงาน และมีการนําข้อมูลย้อนกลับมาใช้ในการพัฒนา แผนชุมชน ด้านการมี ส่วนร่ วมขององค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลี ยอยู่ใน ระดับมาก คือ มีส่วนร่ วมในการประสานแผนชุ มชน มีส่วนร่ วมใน การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ สถานทีในการจัดทําแผนชุ มชน มีการประสาน


83 แกนนําชุ มชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผูท้ รงคุ ณวุฒิ หรื อภูมิปัญญาชาว ท้องถิ นร่ วมกิจกรรมแผนชุ มชน และมีส่วนร่ วมด้านวิชาการในการ จัดทําแผนชุมชน ด้านการเรี ยนรู ้ร่วมกันขององค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลียอยูใ่ น ระดับปานกลาง คือ มีการฝึ กอบรมการจัดทําแผนชุ มชน มีกิจกรรม ส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ร่วมกันในการจัดทําแผนชุ มชน มีการฝึ ก ปฏิ บตั ิร่วมกันก่อนไปจัดทําแผนชุ มชน และ มีการศึกษาดูงานเพือ นํามาจัดทําแผนชุมชน ด้านการเรี ยนรู ้ร่วมกันขององค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลียอยูใ่ น ระดับปานกลาง คือ มีการฝึ กอบรมการจัดทําแผนชุมชน มีกิจกรรม ส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ร่วมกันในการจัดทําแผนชุมชน มีการฝึ ก ปฏิบตั ิร่วมกันก่อนไปจัดทําแผนชุมชน และ มีการศึกษาดูงานเพือ นํามาจัดทําแผนชุมชน ด้ า นกิ จ กรรมในแผนชุ ม ชนสอดคล้ อ งกับ แนวเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในภาพรวมมี ค่ า เฉลี ยอยู่ใ นระดับ มาก คื อ มี โ ครงการ/ กิ จกรรมด้า นการส่ ง เสริ ม ภู มิ ปั ญญาท้องถิ น และสิ งแวดล้อม มี โครงการ/กิ จ กรรมสร้ า งภู มิ คุ ้ม กัน ชุ ม ชนมี โ ครงการ/กิ จ กรรมที ส่ งเสริ มการออมทรัพย์ในรู ปแบบต่าง ๆ มีโครงการ/กิจกรรมทีคนใน ชุมชนช่วยเหลือซึ งกันและกัน และมีโครงการ/กิจกรรมพึงตนเอง ด้านการนําแผนชุมชนไปใช้ประโยชน์ขององค์กรในภาพรวม มีค่าเฉลียอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีการจัดสรรทรัพยากรร่ วมกัน ระหว่างภาคีการพัฒนามีการเพิมทักษะเพือนําไปพัฒนางานของภาคี การพัฒนา มีการประสานงานระหว่างภาคีการพัฒนาและมีค่าเฉลี ย อยูใ่ นระดับน้อย โดยเรี ยงลําดับค่าเฉลีย ดังนี/ มีการบริ หารหน่วยงาน ภาคีการพัฒนาทีมีประสิ ทธิ ภาพ และมีการประเมินผลการดําเนิ นงาน ของหน่วยงานภาคีการพัฒนา


84

5.3.2 วัตถุ ป ระสงค์ใ นเรื องการเปรี ย บเที ย บการนํา แผนชุ ม ชนไปสู่ ก าร ปฏิ บ ัติ ข ององค์ ก รระหว่ า งภาคี ก ารพัฒ นา ต่ า งหน่ ว ยงานพบว่ า ภาพรวมภาคีการพัฒนาต่างหน่ วยงานกัน มีการนําแผนชุ มชนไปสู่ การปฏิบตั ิขององค์กรไม่แตกต่างกัน 5.3.3 วัตถุ ประสงค์ในเรื องผลการเปรี ยบเทียบการนําแผนชุ มชนไปสู่ การ ปฏิบตั ิขององค์กรระหว่างภาคีการพัฒนาต่างสถานภาพ พบว่า ภาคี การพัฒนาต่างสถานภาพกันมีการนําแผนชุ มชนไปสู่ การปฏิ บตั ิของ องค์กรไม่แตกต่างกัน


85

กรอบแนวคิดในการศึกษา

ประเด็นการศึกษา 1. มูลเหตุสาํ คัญทีทําให้เกิดความล่มสลายของชุมชน 2. แนวทางการบริ หารจัดการ แก้ไขและนําไปสู่ ความ ยังยืนของแนวทางการจัดการ 3. วิธีการ 4. สรุ ปผลการบริ หารจัดการสู่ ความยังยืน

ผลของการศึกษา เปรี ยบเทียบผลการจัดทําแผนชุมชนตําบลวังตะกอเข้ากับ ปัจจัยบ่งชีความยังยืนของชุมชน


86

กําหนดวิธีการศึกษา ดังนี/ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูล ที ได้จากการสั มภาษณ์ ภาคสนามจากแหล่ งข้อมูลด้านบุ คคล โดยการ สั ม ภาษณ์ ผูน้ ํา ชุ ม ชนทั/ง ข้อ มู ล ที เป็ นทางการและไม่ เ ป็ นทางการ ผู ้ดู แ ลโครงการ ชาวบ้านในตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 2. ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลทีได้จากการศึกษาจากแหล่งข้อมูลเอกสาร วารสาร หนังสื อ รายงานจาก ส่ วนราชการ ภาคเอกชนรวมถึงงานวิจยั เกียวข้อง นําข้อมูลทีมีอยูแ่ ล้วมามาสังเคราะห์ นําผลการวิจยั จากนักวิจยั ต่างๆมาประมวลผลและศึกษาข้อมูลเพิมเติมในภาคส่ วนทีขาด ไปจากกรอบแนวคิดการศึกษา


87

บทที 3 ข้ อมูลทัวไปเกียวกับตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร ประวัติความเป็ นมา วังตะกอเป็ นตําบลหนึ งขึนกับอําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร เนื อที 125.47 ตารางกิโลเมตร สภาพพืนที เป็ นที ราบสลับกับที ราบสู งและภูเขา ประกอบด้วย 13 หมู่บ ้าน 1,674 ครั วเรื อน ประชากร 6,659 คน โดยมีอตั ราส่ วนของชายและหญิงใกล้เคียงกัน

ภาพที 3-1 แผนทีแสดงพืนทีของตําบลวังตะกอ ทีมา: เกษตรชุมชน, 2553 จากการบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่สืบทอดกันมา ทําให้ทราบว่าเมือหลายร้อยปี ก่อน มีกลุ่มคน กลุ่ ม หนึ งมาตังบ้า นเรื อนอยู่บริ เวณริ ม แม่ นาหลั ํ งสวน ตรงบริ เวณที มี นาลึ ํ ก หรื อที ภาษาถิ นทาง ภาคใต้เรี ยกว่า “วัง” ซึ งบริ เวณแห่ งนี มีตน้ ไม้ยืนต้นชนิ ดหนึ งทีเปลื อกของผลมีลกั ษณะเป็ นหนาม ห่ อหุ ้มเรี ยกว่า “ต้นกอ” ขึนอยูบ่ ริ เวณนี อย่างหนาแน่น แผ่กิงก้านปกคลุมทัวบริ เวณวังวนให้ร่มรื น ทําให้ชาวเรื อมาจอดเทียบท่า พักค้างแรม จนกลายเป็ นชุ มชนมีการแลกเปลียนสิ นค้าซึ งกันและกัน ระหว่างชาวบ้านที อยู่อาศัยเดิ มกับชาวเรื อที ผ่านไปมา กลายเป็ นตลาดนํา ซึ งชาวเรื อที ผ่านไปมา


88

มักจะเรี ยกชุ มชนแห่ งนี ว่า “วังกอ” หรื อ “ตลาดวังกอ” ตามลักษณะของพืนที และต้นไม้ทีขึนอยู่ บริ เวณนัน บ้างก็เรี ยกว่า “วังต้นกอ” ต่อมาเรี ยกผิดเพียนจนกลายเป็ น “วังตะกอ” มาจนถึงปั จจุบนั

ภาพที 3-2 ต้นกอ ทีมา: เกษตรชุมชน, 2553 การประกอบอาชี พ ชาววัง ตะกอส่ ว นใหญ่ มี อ าชี พ เกษตรกรรม เช่ น ทํา สวนผลไม้ จํา พวกมัง คุ ด กล้ว ย เล็บมือนาง สวนปาล์ม ยางพารา เลียงสัตว์ สภาพเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิ จของชุ มชนวังตะกอค่อนข้างดี มีห้วยหนองคลองบึงอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก แต่ เนื องจากการพัฒนาประเทศทีเน้นให้เกิ ดการเติบโตทางด้านเศรษฐกิ จโดยส่ งเสริ มการพัฒนาด้าน อุตสาหกรรมและการค้าการบริ การ ซึ งถูกกําหนดมาจากนโยบายแห่ งรัฐซึ งประชาชนไม่มีส่วนใน


89

การกําหนดทิศทางสภาพท้องถินของตนเอง จนก่อให้เกิดความเปลียนแปลงต่อวิถีการผลิต วิถีชีวิต ของประชาชนเป็ นอย่างมาก การคมนาคม สาธารณูปโภค ระยะทางห่ างจากที ว่าการอําเภอหลังสวน ประมาณ 5 กิ โลเมตร มี ถนนลาดยางตัดผ่าน ตําบล สภาพพืนที และระบบสาธารณู ปโภค มี จาํ นวนครั วเรื อนที มี ไฟฟ้ าใช้ในเขต อบต. ทังสิ น 2,555 ครัวเรื อน จํานวนบ้านทีมีโทรศัพท์ 1,778 หลังคาเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 63 ของจํานวนหลังคา เรื อนทังหมด อาณาเขตตําบล ทิศเหนือ ติดกับ ตําบลนาขา อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ทิศตะวันออก ติดกับ แม่นาหลั ํ งสวน ทิศตะวันตก ติดกับ ตําบลแหลมทราย อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ทิศใต้ ติดกับ ตําบลหาดยาย อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร การล่ มสลายของชุ มชน ในปี พ.ศ.2540 ขณะทีเศรษฐกิจทัวโลกตกตํา เศรษฐกิจไทยทีโตแบบฟองสบู่ทรุ ดลงทันทีที ได้รับผลกระทบ ความเดือดร้อนได้กระจายจากเมืองไปสู่ ชนบทและลุกลามไปทัวทั5งประเทศ ในปี เดียวกันนี5ทีคนวังตะกอถูกซํ5าเติมด้วยวิกฤตนํ5าท่วมใหญ่ ชุมชนกลายเป็ นทะเลจมอยูใ่ ต้น5 าํ ทีท่วมกว่า 2 เมตร สวนไร่ นาเสี ยหายกว่า 2,000 ไร่ สัตว์เลี5ยงล้มตายเป็ นจํานวนมาก คงเหลือแต่ความโศกเศร้า เสี ยใจของชาวบ้านทัวทั5งวังตะกอ ประกอบกับตลอดระเวลา 40 ปี ทีผา่ นมา ทีประเทศไทยได้มีการ เปลียนแผนพัฒนาประเทศ โดยยึดแบบอย่างจากประเทศแถบตะวันตก ซึ งให้ความสําคัญกับเรื อง ของเงินและอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจมากกว่าความสุ ขในการดําเนิ นชี วิต ทําให้สังคมชนบทที ห่างไกลค่อยๆเปลียนไป จากเดิมทีเคยพึงพาอาศัยช่วยเหลือเกื5อกูลกัน ผูค้ นทีเคยยืนหยัดบนขาของ ตนเองได้ ก็ค่อยๆอ่อนแอลง สังคมเกษตรกรรมกลายเป็ นอาชี พทียิงทําก็ยิงเพิมความทุกข์ ยิงอยาก รํ ารวยมากเท่ า ไรก็ ยิ งเป็ นหนี5 เป็ นสิ น มากเท่ า นั5น ด้ว ยเหตุ น5 ี จึ ง ทํา ให้ ห ลายๆชุ ม ชนย้อ นกลับ


90

มาตามหาว่า อะไรคือความสุ ขทีชุ มชนของตนเคยมี และจะสามารถเรี ยกคืนความสุ ขเหล่านั5นให้ กลับคืนมาได้อย่างไร ชุมชนวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร ก็เป็ นอีกหนึ งชุ มชนทีได้รับผลกระทบอย่าง หนักจากกระแสการพัฒนา ทําให้คนในชุ มชนเกิ ดความแตกแยก จากชุ มชนทีเคยมีพิธีกรรมแห่ ง ความเชื อ เป็ นเอกลักษณ์ เป็ นทีพึงพาและเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุ มชน เป็ นชุ มชนริ มแม่น5 าํ หลังสวน ทีในอดีตเคยสมบูรณ์มงคั ั งไปด้วยทรัพยากร ชาวบ้านดํารงชี พด้วยการทํานาและสวนสม รม ทีเต็มไปด้วยของกินได้ ทั5งพืชผัก ผลหมากรากไม้ หลายชนิด ชุมชนวังตะกอสมัยก่อน คนมีชีวิต เรี ย บง่ า ย บนวิถี แห่ ง การพึ งพาตนเอง เอื5 อเฟื5 อเกื5 อกูล กัน ช่ วยเหลื อกัน ไม่ จ าํ เป็ นต้องมี รายจ่ า ย มากมายก็สามารถดําเนิ นชี วิตอยู่ได้อย่างมีความสุ ข วิถิชีวิตของคนในชุ มชนนี5เริ มมาเปลี ยนแปลง เมือตอนทีมีคนเข้ามาบุกรุ กตัดไม้ทาํ ลายป่ า ทําให้ชุมชนทีเป็ นเสมือนอู่ขา้ วทีมีรากฐานทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิ จทีเข้มแข็ง ได้เริ มเปิ ดรับกระแสทีไหลเข้ามาจากภายนอก ตามทิศทางการ พัฒนาประเทศทีเปลียนไปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่ งชาติฉบับแรก ซึ งมีการกําหนดนโยบายให้ สอดคล้อ งกับ การปฏิ ว ตั ิ เขี ย วที มุ่ ง เปลี ยนฐานการผลิ ต แบบดั5ง เดิ ม มาเป็ นการผลิ ต เพื อขาย มุ่ ง เป้ าหมายไปที การผลิ ตเพื อให้ ไ ด้ก าํ ไรสู ง สุ ดตามแบบเกษตรกรรมแผนใหม่ ที มาพร้ อมกับ การ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และส่ งเสริ มให้มีการปลูกพืชเพียงอย่างเดียว มีการชวนเชือให้ชาวบ้านใช้ปุ๋ย ยา และสารเคมีทางเกษตรเพือเพิมผลผลิตให้ได้มากทีสุ ด การสนับสนุ นด้านสิ นเชื อ โดยธนาคารของรัฐเพือการปลูกพืชเชิ งเดียว ทําให้ชาวบ้านเป็ น หนีมากขึน ทังนีเพราะราคาพืชผลการเกษตรขึนอยูก่ บั ราคาของตลาดโลกทีชาวบ้านไม่อาจกําหนด ได้ ซึ งโดยภาพรวมแล้วดูเหมือนเศรษฐกิจจะดีขึน แต่โดยข้อเท็จจริ งชาวบ้านกลับเป็ นหนีมากขึน มี การพึ งพาภายนอกมากขึ น ทังด้า นเงิ นลงทุ นและค่า ใช้จ่ายในชี วิตประจําวัน ค่ าใช้จ่า ยประเภท ฟุ่ มเฟื อยทีหาซื อมาเพราะการแข่งขันในเรื องของหน้าตามากกว่าความจําเป็ น สังคมทีเคยพึงพา เอือ อาทรกันอย่างในอดี ตมี น้อยลง ซึ งสภาพเช่ นนี เป็ นสภาพลวงตาที ปิ ดบังจนชาวบ้านมองไม่เห็ น ตัวตนทีแท้จริ งของตนเอง


91

ประวัติกาํ นันเคว็ด

คุ ณ ประวิท ย์ ภูมิ ระวิ (กํา นันเคว็ด) อายุ 52 ปี เชื อชาติ ไ ทย สั ญชาติ ไ ทย ศาสนาพุ ท ธ สถานภาพ สมรส อาศัยอยู่บา้ นเลขที 12 หมู่ 2 ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร จบ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาปี ที 3 มีอาชี พหลักเดิ มคือรับจ้าง ปั จจุบนั ทําเกษตรแบบ ผสมผสาน ได้แก่ ปลู กปาล์ม พืชผัก สวนครั ว ผลไม้ เลี ยงหมู ปลา เป็ ด ไก่ วัว และทํานา มี รายได้ มากกว่า 30,000 บาทต่อเดื อน ฐานะทางเศรษฐกิ จ มี เงิ นใช้จ่ายเกิ นพอ มีระดับความพึงพอใจในชี วิตมาก ภรรยามีอาชี พแม่บา้ น/เกษตรกร มีบุตรสาว 2 คน คนแรกเรี ยนจบปริ ญญาตรี ปั จจุบนั กลับมาช่วย พ่อทํางานที บ้าน คนที สองกําลังศึ กษาอยู่ในระดับมหาวิทยาลัย ในอดี ต คุ ณประวิทย์เป็ น กํานัน ตําบลวังตะกอ 3 สมัย คนส่ วนมากรู ้จกั ในนาม “กํานันเคว็ด” เป็ นผูก้ ่อตังศูนย์การเรี ยนรู ้ เศรษฐกิจ พอเพียงของตําบลวังตะกอ หลักคิดและแนวทางในการดําเนินชี วติ กํานันเคว็ดยังได้รับแนวคิดการดําเนิ นชี วิตจากเศรษฐกิจพอเพียงซึ ง กํานันเคว็ดได้กล่าวถึง ความเข้า ใจกับ การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของตนเองว่ า “ผมก็ ใ ช้ ก ับ ชี วิตประจําวันโดยใช้วิธีเศรษฐกิจพอเพียง และก็ทาํ งานแบบครบวงจร ลดต้นทุนได้ 90 เปอร์ เซ็นต์ โดยใช้ธรรมชาติเป็ นตัวขับเคลือน จากการหล่อหลอมของระบบประเพณี และวัฒนธรรมดังเดิมของ วิถีชีวิตทีเรี ยบง่ายและ เอืออาทรแบบไทยๆ ทําให้กาํ นันเคว็ดมีความพอเพียง พอประมาณ และมี ภูมิคุม้ กันในตัวทีดี เนืองจากปั จจุบนั มีการพึงตนเองได้ในระดับหนึง สามารถลดการพึงพาภายนอก


92

ได้ ทํา ให้ มี ค วาม มันคงในการดํา เนิ น ชี วิ ต โดยไม่ ไ ด้รั บ ผลกระทบจากการเปลี ยนแปลงของ สิ งแวดล้อมภายนอกมากนัก ประกอบกับการได้รับแนวคิดเศรษฐกิ จพอเพียง ทําให้สามารถนํามา ประยุกต์ใช้กบั ชี วิตประจําวัน ของตนและครอบครัวได้ ทําให้สามารถดําเนิ นชี วิตได้อย่างพอเพียง และมีความสุ ข รายได้ ของกํานัน ปั จจุบนั กํานันเคว็ดไม่มีภาวะหนี สิ น และมีรายได้มากกว่า 30,000 บาท ต่อเดื อน ซึ งเป็ น รายได้ทีพอเพียงกับการใช้จ่ายในครัวเรื อน เนื องจากไม่ตอ้ งซื อผักหรื ออาหารส่ วนใหญ่ จะซื อก็แต่ เพียงข้าวสารบ้าง และมีค่าใช้จ่ายในครัวเรื อนด้านอืนๆ เนื องจากการทําเกษตรของ กํานันเคว็ดเป็ น การระบบการทําเกษตรทีลดต้นทุนและเพิมรายได้ ซึ งกํานันเคว็ดมีรายได้เป็ นรายสัปดาห์จากการ ขายพืชผักและกล้าไม้ สองถึงสามสัปดาห์จากการตัดปาล์มขาย ดังนันจึงสามารถ พึงตนเองทางด้าน เศรษฐกิจได้ มีรายได้ทีพอเพียงและรู ้สึกพอใจกับฐานะทางเศรษฐกิจของตนเองมาก จากการศึกษา พบว่ากํานันเคว็ดมีการดําเนิ นชี วิตทีสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง ในระดับบุคคล ระดับครอบครัว และระดับชุ มชนหลายประการ เช่น สามารถดําเนิ นชี วิตได้ อย่าง ไม่เดือดร้อน มีความเป็ นอยูท่ ีเรี ยบง่ายตามอัตภาพ ไม่ดินรนขวนขวายแสวงหาวัตถุ มีความเพียรใน การแสวงหาความรู ้และความก้าวหน้าในการพัฒนาชี วิต ไม่มีการหลงไปตามกระแส ของวัตถุนิยม รู ้สึกพอเพียงและมีความสุ ขกับการได้อยู่ทีบ้านและในสวนซึ งร่ มรื นไปด้วยต้นไม้นานา ชนิ ดและ สั ต ว์อี ก หลายชนิ ด ที เลี ยงไว้เ พื อการบริ โ ภคและการขยายพัน ธุ์ เช่ น ปลา หมู ไก่ วัว และเป็ ด นอกจากนี กํานันเคว็ดยังใช้ชีวติ อย่างเป็ นอิสระ มีทงอิ ั สรภาพและเสรี ภาพ จากการล่มสลายและความเสี ยหายทังหมดทีเกิดขึนกับชุ มชนและคนวังตะกอ กลายมาเป็ น บทเรี ยนสําคัญทําให้กาํ นันและเพือนหันมาคิ ดทบทวนถึ งชี วิตที ผ่านมา และเริ มต้นตังคําถามถึ ง สาเหตุ แ ห่ ง ความอ่ อ นแอของชุ ม ชนไปพร้ อ มๆกับ การหาแนวทางที จะเดิ น ต่ อ ไปข้า งหน้า จน กลายเป็ นจุดเริ มต้นและทีมาของแผนชีวติ ชุมชนคนวังตะกอ


93

แผนชี วติ ชุ มชนคนวังตะกอ ค้ นหาตัวตนคนวังตะกอ สภาพทีเกิ ดขึนดังกล่าว มีผูน้ าํ บางท่านทีได้มองเห็ นความเปลี ยนแปลง นําโดยนายวิทย์สุ แก้วชูสมัย ได้เสนอให้มีการนําแผนชี วิตชุ มชนพึงตนเองมาใช้ในปี พ.ศ. 2542 แต่เนื องจากความ คิดเห็ นยังไม่ตรงกัน จึงไม่ประสบผลสําเร็ จ จนกระทังได้เสนอความคิดนี อีกครังต่อนายประวิทย์ ภู มิ ระวิ กํา นันตํา บลวัง ตะกอ และนายสมบัติ ดึ ง สุ ว รรณ ประธานบริ หาร อบต. พร้ อ มด้ว ย กรรมการบริ หาร อบต. ผูใ้ หญ่บา้ น ซึ งแกนนําทังหมดเห็นด้วยและให้การตอบรับเป็ นอย่างดี จึงได้ ขยายแนวคิด “แผนชีวติ ชุมชนพึงตนเอง” สู่ ผนู ้ าํ คนอืนๆ ตลอดจนชาวบ้านทัวไปตังแต่นนมา ั อย่างไรก็ดี ก่อนหน้าทีจะมีการนําแผนชีวติ ชุมชนพึงตนเองมาใช้ในตําบลวังตะกอ ได้มีการ ทํากิจกรรมต่างๆ ร่ วมกันอยูบ่ า้ ง ไม่วา่ จะเป็ นการรณรงค์ให้หนั มาใช้ปุ๋ยชี วิภาพแทนปุ๋ ยเคมี การทํา กลุ่ ม ออมทรั พย์ กลุ่ มอาชี พต่ างๆ รวมทังกิ จกรรมต่อต้า นยาเสพติ ดซึ งเป็ นนโยบายที สํา คัญของ รัฐบาลอยู่ในขณะนัน ซึ งผลจากการต่อสู ้เพือเอาชนะยาเสพติดนีเอง ทําให้ชาววังตะกอ ได้กลุ่มคน อาสาที เรี ยกว่า “กลุ่ มคนเสื อขาว” จํานวนหนึ ง ไปเป็ นแกนนําในการดําเนิ นงานเรื องแผนชุ มชน อย่างต่อเนือง หลังการประกาศเอาชนะยาเสพติดได้อย่างเด็ดขาดในเดือนเมษายน 2546 กระบวนการจัดทําแผนชี วติ ชุ มชนพึงตนเอง 1. การกําหนดแกนนําและผูป้ ระสานงานแผนชี วติ ชุมชน 1.1 กําหนดให้มีผปู ้ ระสานงานประจําหมู่บา้ น การทําแผนชี วิตชุ มชนพึงตนเองของชาววังตะกอ ได้อาศัยทีม “คนเสื อขาว” มาเป็ นแกนหลักในการชวนคิดชวนคุย ซึ งแต่ละหมู่บา้ นประกอบด้วยผูใ้ หญ่บา้ นและ สมาชิ ก อบต. ประจําหมู่บา้ นๆ ละ 2 คน รวมเป็ น 3 คน โดยจะประชุ มกันทุกวันที 10 และ 25 ของทุกเดื อน ณ ศูนย์การเรี ยนรู ้ ตําบลวังตะกอ ซึ งทีมงานทัง 3 คนต่อหนึ ง หม่บา้ นนี เรี ยกว่า “คณะรถสามล้อ” ทีจะนําพาผูโ้ ดยสาร คือชาวบ้านให้ถึงจุดหมาย


94

ปลายทางนันคือ เป้ าหมายทีทุกคนในหมู่บา้ นจะต้องกําหนดร่ วมกันต่อไป และ “คณะ รถสามล้อ” นีได้เป็ นทีมาของตราประจําแผนแม่บทชุมชน ตําบลวังตะกอ

ภาพที 3-3 สัญลักษณ์ตาํ บลวังตะกอ ทีมา: สุ วฒั น์ คงแป้ น, 2547 ความหมายของสัญลักษณ์ มีคาํ อยู่ 3 คําคือ วัง, ตะ, กอ แต่ละคําจะมีสามเหลียมยืนออกมาภายนอก 3 รู ป อันได้แก่ ผูใ้ หญ่บา้ น และสมาชิ ก อบต. ประจําหมู่บา้ นอีก 2 คน โดยทีสามเหลียมทัง สามรู ปจะทับซ้อนกันเป็ นรู ปสามเหลี ยมเล็กตรงกลางอันหมายถึ ง “ทุกส่ วนงานจะ ทํางานร่ วมกันโดยมีเป้ าหมายอันเดียวกัน” 1.2 หน้าที ผูป้ ระสานงานประจําหมู่บ ้าน ทัง 3 คน นอกจากจะร่ วมกับทุ กชุ มชนเป็ น ทีมงานทังตําบลแล้ว ยังจะต้องกลับไปชี แจงทําความเข้าใจกับประชาชนในหมู่บา้ น รวมทังค้นหา และขยายแกนนําในหมู่บา้ นมาช่ วยทํางาน เพือให้การทํางานชี แจงต่อ ประชาชนในหมู่บา้ นได้ทวถึ ั ง เฉลี ยแกนนําหนึ งคนดู แลสมาชิ ก 9 ครอบครัว ด้วย แนวทางเช่นนี ทําให้ได้ผปู ้ ระสานทังตําบล 190 ตําบล 1.3 ผูป้ ระสานงานประจําหมู่บา้ นได้รวมตัวกันเป็ น “สภาผูน้ าํ ตําบลวังตะกอ” จํานวน 44 คน โดยมีหน่วยงานภายนอก และผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นทีปรึ กษาในอันทีจะขับเคลือนแผน ชีวติ ชุมชนพึงตนเองไปอย่างเป็ นขบวนทังตําบล (ดูผงั ประกอบ)


95

ภาพที 3-4 โครงสร้างกลไกการบริ หาร ตําบลวังตะกอ ทีมา: สุ วฒั น์ คงแป้ น, 2547


96

1.4 แกนนําทุกระดับ ได้มีการพูดคุยแลกเปลียนความคิดเห็นตลอดหนึงปี ทีผ่านมา (2546) ประมาณ 225 ครัง โดยเป็ นทีน่า เวทีประชาชนระดับหมู่บา้ นจะมีประชาชนให้ความ สนใจเข้าร่ วมเป็ นจํานวนมากทุกครัง อีกทังหากหมู่บา้ นหนึงหมู่บา้ นใดเปิ ดเวที แกน นํากลางรวมทังแกนนําจากหมู่บา้ นอืนก็จะไปช่วยเหลือกัน ซึ งการจัดเวทีแต่ละครังจะ มีเป้ าหมายทีแตกต่างกัน 2. การสร้างความเข้าใจระหว่างผูน้ าํ และชาวบ้านในชุมชน เวทีสร้างความเข้าใจโดยมีเนือหาในการพูดคุยแลกเปลียนความคิดเห็น เป็ นการช่วยกัน ค้นหาปั ญหาทีแท้จริ งของชาวบ้านตําบลวังตะกอ เป็ นทังการค้นหา การเรี ยนรู ้ และการพัฒนาผูน้ าํ ควบคู่กนั ไป อันจะนําไปสู่ การปรับวิธีคิดของทังผูน้ าํ และชาวบ้านในการพึงตนเอง บทสรุ ปของการเรี ยนรู ้พบว่า ชุมชนวังตะกอในอดีตเป็ นอู่ขา้ ว อู่นาของเมื ํ องหลังสวน มีนา ข้าว มีสวนผลไม้ สวนหมาก มีผลผลิตอาหารอุดมสมบูรณ์ มีตลาดวังตะกอเป็ นตลาดสําหรับ แลกเปลียนสิ นค้า แต่ในระยะต่อมาได้มีการเปลียนแปลงอันเนืองมาจากภัยธรรมชาติและการพัฒนา เพือความทันสมัย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 1 เป็ นต้นมา ยุคที 1 ช่วงปี พ.ศ. 2504-2512 ตามแผน 1 และแผน 2 ชุมชนตําบลวังตะกอกลายเป็ นตลาด ของสิ นค้าอุปโภคบริ โภคทดแทนการแลกเปลียน ใช้ถ่านหิ นทดแทนฟื น ใช้แปรงและยาสี ฟัน ทดแทนเปลือกไม้ ยุคที 2 ช่วงปี พ.ศ. 2513-2521 ตามแผนพัฒนา 3-4 เป็ นยุคของการส่ งออกสิ นค้าทางการ เกษตร เพือนําเงินตราเข้าประเทศ มีพืชเศรษฐกิจ กาแฟ ปาล์มนํามัน ยางพา เกิดการเพิมผลผลิต โดย ใช้สารเคมีและมีการค้าแบบนายหน้าหรื อตัวแทน พ่อค้าสิ นค้าการเกษตรรํารวย แต่คนชุมชนวัง ตะกอและพืนทีอืนๆยากจนลง เป็ นหนี เป็ นสิ นมาก ผลผลิตราคาตํา สิ นค้าจําเป็ นมีราคาแพง แต่ ค่าแรงงานถูก ยุคที 3 ช่วงปี พ.ศ. 2522-2531 ตามแผนพัฒนา 5-6 ยุคนีเรี ยกว่า การพัฒนาชนบทยากจน ใช้ หลักการพึงพาตนเองและมีส่วนร่ วมในการพัฒนาชนบท คนในตําบลวังตะกออยูใ่ นสภาพเดิม คือ


97

ซื อแพง-ขายถูก นํามันราคาสู ง ต้องชดเชยโดยทําลายธรรมชาติ เริ มมีการบุกรุ กป่ าเพือขยายทีทํากิน เพิมผลผลิตมากขึน ยุคที 4 ช่วงปี พ.ศ. 2531-2540 เป็ นยุคของการาเปลี ยนแปลงทีรวดเร็ ว นโยบายและการ เปลียนแปลงทีสําคัญ คือ เปลียนสนามรบเป็ นสนามการค้า เกิดอุตสาหกรรมใหม่มากมาย เกิดตลาด เงินเสรี นักเก็งกําไรตลาดเงิ น ตลาดหุ ้น ทีดิน รวยแบบรวดเร็ วทันตาเห็น เทคโนโลยีการสื อสาร มี ความก้าวหน้าในขณะทีชาวบ้านบริ โภคมากขึน จ่ายมากขึน เป็ นหนี มากขึน ทรัพย์สินของชาติถูก ครอบครองโดยคนอืน เวที สร้ า งความเข้าใจที มี ก ารจัด 11 ครัง มี ค ณะผูน้ ํา และแกนนําชุ ม ชน รวมกับพี น้อง ประชาชนเข้าร่ วมเวทีการเรี ยนรู ้ร่วมกันจํานวน 1,008 คน ผลทีได้ทาํ ให้ประชาชนได้รู้จกั รากเหง้า รู ้ จกั อดี ต รู ้ จกั ชุ ม ชนของตนเอง และรู ้ จกั โลกภายนอกมากขึ น ทํา ให้มองเห็ นเป้ าหมายของการ ทํางานได้อย่างชัดเจนยิงขึน 3. การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล หลังจากทีแกนนําชุมชน ได้รับรู ้ถึงทีไปทีมาและความเปลียนแปลงทีเกิดขึนแล้ว จึงได้กา้ ว ไปสู่ การเรี ยนรู ้ ทีลึ กลงไป นันก็คือการจัดเก็บข้อมูลรายครอบครัว เพือให้แต่ละครอบครัวได้รู้จกั ตัวเองอย่างแท้จริ ง ส่ วนระบบการทํางานและการแบ่งความรับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูลนัน จะอาศัยแกนนํา หมู่บา้ นทัง 190 คน เป็ นคนทํางาน โดยจัดเก็บทังข้อมูลรายครัวเรื อน ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลด้าน การพัฒนาและการอนุรักษ์ทรัพยากร ข้อมูลด้านการจัดการคุณภาพชุมชน คณะแกนนํา หมู่ บ ้า นได้ร วบรวมข้อ มู ล ที แต่ ล ะคนรั บ ผิ ด ชอบรวบรวมเป็ นข้อ มู ล ของ หมู่บา้ นแต่ละหมู่บา้ นรวมเป็ นข้อมูลระดับตําบล ใช้เวลาในการดําเนินงาน 3 เดือนเศษ


98

4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล จากการจัดเก็บข้อมูลของแกนนําพบว่า ชาวบ้านรู ้สึกเบือหน่ายในการตอบคําถาม เนื องจาก มี ห น่ ว ยงานต่ า งๆ จัด เก็ บ ข้อมู ล มาแล้ว หลายครั ง นอกจากนันก็ มี อุ ป สรรคต่ า งๆมากมาย เช่ น ชาวบ้านเกรงว่าจะนํา ข้อมูลไปเพือเสี ย ภาษี บางบ้านก็ ไม่ กล้า บอกข้อมูล การเป็ นหนี ต้องใช้วิธี อธิ บายชีแจงว่าเป็ นการทํางานของภาคชาวบ้าน แต่อาศัยความมุ่งมัน และความตังใจจริ งของแกนนํา ทุกคนจึงสามารถรวบรวมข้อมูลได้เป็ นผลสําเร็ จ จากนันก็นาํ ข้อมูลไปสู่ การวิเคราะห์ร่วมกัน ซึ งทําให้ทราบข้อมูลทีน่าสนใจหลายประการ ข้ อมูลด้ านรายได้ รายจ่ าย พบว่ารายได้ข องชาววัง ตะกอทังปี ประมาณ 160 ล้านบาท ส่ วนใหญ่เป็ นรายได้จาก การเกษตร ค้าขาย และอาชี พรับจ้าง ซึ งถือเป็ นอาชี พหลักของชาวบ้าน ในขณะทีมีรายจ่ายประมาณ ร้อยกว่ารายการ รวมทังปี สู งประมาณ 272 ล้านบาท ส่ วนใหญ่เป็ นค่าใช้จ่ายในการผ่อนชําระหนี สิ น ค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูก เช่ น ค่าปุ๋ ยเคมี ค่าขนม เครื องดื มทีไม่จาํ เป็ น และค่าอาหาร เป็ นต้น (ดู ตาราง) ตารางที 3-1 ตารางแสดงรายได้ต่อปี ของชาววังตะกอ รายได้ ต่อครอบครัว รายได้จากอาชีพการเกษตร รายได้จากอาชีพหัตถกรรม/การแปรรู ป/โรงงาน รายได้จากอาชีพการค้าขาย รายได้จากอาชีพการบริ การ รายได้จากอาชีพรับจ้าง รายได้จากลูกหลานส่ งมาให้ รายได้อืนๆ /ราชการ รวมรายได้ ทีมา: สุ วฒั น์ คงแป้ น, 2547

รายได้ ท1งั ปี (บาท) 54,105,529 60,840 26,755,800 2,836,800 61,942,576 1,474,980 12,581,503 159,758,028


99

ตารางที 3-2 ตารางแสดงรายจ่ายต่อปี รายการ ค่าอาหารประจําวัน ค่าอาหารสําเร็ จรู ป และเครื องปรุ ง เครื องดืมและขนมขบเคียว ยารักษาโรค ค่าใช้สอย (เครื องนุ่งห่ม สบู่ ยาสี ฟัน ฯลฯ นํามัน สาธารณู ปโภค) ค่าใช้จ่ายในการศึกษา ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าใช้จ่ายในการผ่อนชําระหนี ค่าใช้จ่ายทางสังคม (ซองผ้าป่ า งานบวช งานแต่ง) รวม ทีมา: สุ วฒั น์ คงแป้ น, 2547

มูลค่ า (บาท) 42,834,822 12,713,348 29,032,491 3,336,274 47,632,603 23,971,560 25,366,079 80,042,846 7,056,600 271,986,623

จากข้อมูลข้างต้น จะเห็ นว่ารายได้ของชาวตําบลวังตะกอน้อยกว่าค่าใช้จ่ายถึ ง 2 เท่า ซึ ง ส่ วนใหญ่เป็ นการใช้จ่ายทีไหลไปสู่ ระบบเศรษฐกิจนอกชุมชน และค่าใช้จ่ายจํานวนมากทีไม่จาํ เป็ น และก็สามารถหาซือได้ในชุมชน แต่ยงั ขาดการจัดการทีเป็ นระบบ ส่ วนหนีสิ นนัน ส่ วนใหญ่เป็ นหนี ธ.ก.ส. ซึ งกูม้ าเพือการเพาะปลูก การซือปุ๋ ยเคมี ตารางที 3-3 ตารางแสดงหนีสิ นของชาววังตะกอ แหล่ งเงินกู้ ธกส. สหกรณ์ กองทุนต่างๆ ในชุมชน หนีนอกระบบ เป็ นหนีของพีน้อง อืนๆ รวม ทีมา: สุ วฒั น์ คงแป้ น, 2547

เงินต้ น (บาท) 55,192,971 25,033,000 15,500,000 8,091,142 2,575,280 8,945,364 115,337,757


100

5. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจํากัดต่างๆ 5.1 จุดแข็งของตําบลวังตะกอ พบว่า 1) มี ทุ นทางสัง คม มี ความเป็ นพี น้อง ภูมิ ปัญญาชาวบ้าน ผูร้ ู ้ ด้านต่า งๆ ตลอดจนมี วัฒนธรรม ประเพณี อ ันดี ง าม และทรั พ ยากรธรรมชาติ ที ยัง มี อ ยู่อ ย่า งสมบู ร ณ์ สามารถพัฒนาให้เกิดประโยชน์ 2) ทีตังของตําบลเป็ นจุดเชื อมและเป็ นศูนย์กลางการตลาด ผลผลิ ตทางการเกษตรที เอื อประโยชน์ต่อการพัฒนา ซึ งสามารถขยายไปสู่ การพัฒนาด้านอุ ตสาหกรรม และพาณิ ชย์กรรมได้ 3) ผู ้นํา ท้อ งถิ นส่ ว นใหญ่ ร วมตัว กัน ได้ อ ย่ า งเป็ นเอกภาพ มี ค วามสามัค คี และ ประชาชนให้ความร่ วมมือในการพัฒนา 4) ด้านการผลิ ต ประชากรประกอบอาชี พเกษตรทีมี ความหลากหลาย และกระจาย ตามหมู่บา้ นต่างๆ ในปริ มาณทีมาก และเพียงพอต่อการนําไปเพิมมูลค่า 5) สภาพภูมิประเทศเอืออํานวยต่อการพัฒนาด้านการเกษตร และทางคมนาคมผ่านสู่ จังหวัดต่างๆ ทางภาคใต้ รวมทังด้านทะเลอันดามัน และเป็ นเส้ นทางหลักไปสู่ กรุ งเทพมหานคร 5.2 โอกาสในการพัฒนาของตําบลวังตะกอ เอือต่อการทํางานหลายประการ คือ 1) รัฐธรรมนู ญฉบับประชาชนปี 40 และแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที 9 เปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนา 2) ทิศทางการพัฒนาประเทศและนโยบายรัฐบาล กําหนดให้ใช้พืนทีเป็ นตัวตัง ชุ มชน เป็ นศูนย์กลาง ชาวบ้านเป็ นเจ้าของเรื องเพือพัฒนาไปสู่ ชุมชนเข้มแข็ง


101

3) ใช้แผนแม่บทชุ มชนเป็ นเครื องมือในการพัฒนาโดยชุ มชน ของชุ มชน เพือชุ มชน โดยหน่ ว ยงานของรั ฐ เข้า มาสนับ สนุ น แบบบู ร ณาการสามารถสร้ า งเครื อ ข่ า ย เชือมโยงไปสู่ การแลกเปลียนเรี ยนรู ้ร่วมกัน 4) การบริ หารจังหวัดบูรณาการเพือการพัฒนา (CEO) เอือประโยชน์ต่อชุ มชนในการ จัดทําแผนแม่บทชุมชน 5.3 จุดอ่อน ในขณะทีพบว่ายังมีขอ้ ทีจะต้องพัฒนาแก้ไขในหลายประการเช่นกัน อาทิ 1) ทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ ป่ าไม้ ภูเขา แหล่งนําถูกทําลาย เพือขยายทีทํามาหากิ น จนขาดจิตสํานึกในการดูแลรักษา 2) สภาพทีดินทํากินส่ วนใหญ่เป็ นทีลาดชัน เวลาฝนตกจะถูกกระแสนําพัดพาเอาหน้า ดินไปกับกระแสนํา ทําให้สภาพดินเสื อมเร็ วกว่าปกติ 3) เกษตรกรส่ วนใหญ่ขาดความร่ วมมืออย่างจริ งจัง ในการรวมกลุ่มจัดกิ จกรรมเพือ ต่อรองราคา มีตลาดของตําบล แต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์เท่าทีควร 4) ผูน้ ํา ท้องถิ นบางคนขาดจิ ตสํา นึ ก ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาหมู่บา้ น ขาด ความรับผิดชอบ ต่อภาระหน้าทีทีต้องกระทํา และขาดภาวการณ์เป็ นผูน้ าํ ไม่สนอง ต่อความต้องการและการแก้ไขปั ญหาของประชาชน 5) เกษตรกรและประชาชนส่ วนมากมีภาระหนีสิ นจํานวนมาก บริ โภค-อุปโภคของที ไม่จาํ เป็ น สิ งฟุ่ มเฟื อย ตามกระแสบริ โภคนิ ยม รวมทังบางคนยังติดการพนันอี ก ด้วย 6) ประชาชนไม่นิยมปลูกพืชสวนครัว ทําของกินของใช้ ปุ๋ ยชีวภาพ เพือลดต้นทุนการ ผลิตและรายจ่ายในครัวเรื อน


102

5.4 ข้อจํากัดของตําบลวังตะกอ ซึ งเป็ นปั จจัยภายนอกอีกหลายประการ เช่น 1) ประชาชนส่ วนใหญ่ทาํ การเกษตร รายได้หลักมาจากการขายผลิ ตผลการเกษตร ราคาสิ นค้าเกษตรของประชาชนผูกพันกับราคาสิ นค้าตลาดโลก และราคาตลาด สิ นค้าของประเทศ 2) ภัยธรรมชาติ ภูมิอากาศ มีแนวโน้มทีจะเกิดความแห้งแล้งมากขึน มีการทําลายป่ า ส่ งผลให้เกิดนําท่วมในฤดูฝน ส่ งผลกระทบต่อการผลิตพืชผลการเกษตร 3) หน่ วยงานของรั ฐขาดความร่ วมมื อในกระบวนการเรี ย นรู ้ แบบมี ส่วนร่ วมอย่า ง บูรณาการ ขาดการสนับสนุนอย่างจริ งจังและต่อเนือง 4) พืชเศรษฐกิจหลักของตําบล คือ เงาะ มังคุด กล้วยเล็บมือนาง มะพร้าว ปาล์มนํามัน ราคาตํากว่าต้นทุนการผลิต ทังนีเพราะการจําหน่ายจะต้องอาศัยตลาดภายนอกเป็ น ผูก้ าํ หนดราคา 6. การกําหนดวิสัยทัศน์ โดยมี การกําหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนาตําบลระยะ 5 ปี (2546-2550) คื อ “ทีมงานดี มี คุณธรรม ตําบลน่าอยู่ สร้ างความเชื อมัน ฟื นฟูความสัมพันธ์ มุ่งมันพัฒนาคุ ณภาพชี วิต เพือตําบล เข้มแข็ง ครอบครัวอบอุ่น และสงบสุ ข” 7. การกําหนดภารกิจหลัก ในการทํางาน 4 ประการ คือ 1) พัฒนาคน พัฒนางานแบบบูรณาการและมีคุณธรรม 2) มุ่งส่ งเสริ มการพัฒนาอาชีพ และสวัสดิการให้แก่ชาวชุมชนมีคุณภาพชีวติ ทีดี 3) สร้างหมู่บา้ นให้เข้มแข็งด้วยแผนแม่บทชุมชน เชือมโยงสู่ วสิ าหกิจชุมชน


103

4) การประสานงาน ความต่อเนือง สู่ ความเป็ นอยูอ่ ย่างสงบสุ ขของครอบครัวอย่างยังยืน 8. การกําหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนา มีเป้ าหมายสู่ การพึงตนเองของชาววังตะกอ โดยการจัดวางรากฐานใหม่ให้เป็ นการพัฒนาที สร้างสมดุลระหว่างคนทุกกลุ่มในสังคม ระหว่างภาคการผลิต ระหว่างเมืองกับชนบท มากกว่าการ คล้อยตามกระแสการพัฒนาทางสากลทีเน้นเฉพาะด้านใดด้านหนึง และต้องการการพัฒนาทีเน้น สร้างระบบ “พึงตนเอง” มากกว่าการพัฒนาทีรัฐต้องเป็ นฝ่ ายอุม้ ชูตลอดไป ชุ มชนต้องมีระบบ “การ จัดการ” เพือพึงตนเอง แต่เป็ นการพัฒนาจากภายในชุ มชนโดยคนในชุ มชน ต้องวางบนหลักการ พืนฐาน 4 ประการ คือ 1) ยุทธศาสตร์ การสร้างความเชื อมัน โดยการสร้ า งความเชื อมันให้ ก ลับ คื น มา ตังแต่ ก ารเริ มค้นหาศัก ยภาพของ ตนเอง ค้นหาภูมิปัญญา ค้นหา “ทุน” ทียังเหลืออยู่ เช่น ทุนทางปั ญญา ทุนทางสังคม อัน หมายถึ ง ระบบคุ ณ ค่ า ความเป็ นพี เป็ นน้อ ง ความเอื ออาทรต่ อกัน ความเป็ นชุ ม ชน ตลอดจนทุ นทางเศรษฐกิ จ ทุ นโภคทรั พย์ แม้จะยังเหลื ออยู่อย่างจํากัดแต่ก็เป็ นทุ นที เพียงพอเพือการพึงตนเอง ทีผ่านมา ชุ มชนมองข้าม “ทุ น” ทีมี อยู่ในชุ มชน มองเห็ นแต่ปัญหา การสร้ าง ความเชื อมัน จึ งไม่สามารถทําได้ หากเริ มต้นจากการค้นหาปั ญหาและความต้องการ ของชุมชน โดยมองไม่เห็นทุนเดิมทียังมีอยูม่ ากมายในหมู่บา้ นในตําบล การค้นพบทุนทางสังคมของชุ มชนเป็ นการค้นพบที สําคัญ นําไปสู่ การสร้ าง ความเชื อมันให้คนในชุ มชนเกิ ดความมันใจ ยังมีความหวังทีรอดได้หากอยากอยู่แบบ เพียงพอ แต่คงไม่สามารถทําให้ทุกคนรํารวยได้


104

สิ งสําคัญทีสุ ด คือ การค้นพบปั ญญาในชุ มชน ในท้องถิน ทําให้เกิดความภูมิใจ ในเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรม เกิ ดพลังทางปั ญญาทีก่อให้เกิ ดอิสรภาพ และเป็ นตัวของ ตัวเอง 2) ยุทธศาสตร์ การฟื นฟูความสัมพันธ์ โดยการฟื นฟูคุณค่าความสัมพันธ์ทีหายไป อาทิ ความสัมพันธ์กบั ดิ น นํา ป่ า กับธรรมชาติรอบตัว การสู ญเสี ยความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติ ระหว่างคนกับ คน เพราะที ผ่านมาชาวบ้านถู กเปลี ยนวิธี คิด วิธี ปฏิ บตั ิ ทําให้มองเห็ นมู ลค่ามากกว่า คุ ณ ค่ า ของทรั พ ยากรและการอยู่ร่ว มกัน ความสั ม พัน ธ์ ใ นครอบครั วค่ อ ยๆคลายลง เพราะปั ญหาสารพัดในการทํามาหากิน หนี สิ นและวิถีทีเปลียนไป จึงต้องเอา “ชุ มชน” กลับ คื นมา สร้ า งชุ ม ชนเข้ม แข็ง เพื อจะได้พึ งพาอาศัย กันเหมื อนก่ อ น ในรู ป แบบที เหมาะสม สร้ างองค์กรชุ มชนทีมีประสิ ทธิ ภาพทีเป็ นเวทีความร่ วมมือระหว่างผูค้ นให้ สามารถช่วยเหลือเกือกูลกัน การฟื นฟูธรรมชาติ ให้กลับคืนมา การหันมาทําเกษตรธรรมชาติ เกษตรอินทรี ย ์ การฟื นฟูความสัมพันธ์ ฉันท์พีน้องของคนในชุ มชน การฟื นฟูประเพณี อนั ดี งาม เช่ น การลงแขก เป็ นต้น ตลอดจน สนับสนุ นให้เกิดองค์กรชาวบ้านทีรวมตัวกันเพือดําเนิ น กิ จกรรมร่ วมกันทังการเกษตร สิ งแวดล้อม ออมทรั พย์ สวัสดิ การชุ มชน การแปรรู ป ผลผลิต อุตสาหกรรมชุมชน การจัดการธุ รกิจชุมชน 3) ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบการจัดการ ทังการจัดการทรั พยากรธรรมชาติ นํา ป่ า ผลผลิ ต การศึกษา สุ ขภาพ จัดการ เงินทุน จัดการสวัสดิการ ทังนีเพราะทรัพยากรเสื อมโทรม และมีอยูน่ อ้ ยลง ไม่มีทีดินให้ บุกเบิกใหม่ และไม่มีทีดิ นทํากินเป็ นร้อยไร่ อีกแล้ว จัดการการผลิตบนทีดิน 10-15 ไร่ ให้อยู่ได้อย่างพอเพียง จัดการหนี สิ นและเงิ นทุ น กองทุนสวัสดิ การ จัดการกับปั ญหา สุ ขภาพ ให้พึงพาตนเองได้โดยพึงพาโรงพยาบาลเท่าทีจําเป็ น


105

นอกจากนียังต้องพัฒนาระบบการจัดการด้วยตัวเอง ลด ละ การพึงพาคนทีมีทุน มี ค วามรู ้ มี อาํ นาจมากกว่า เป็ นระบบการจัดการใหม่ที แตกต่ า งจากการจัดการแบบ วัฒ นธรรมเดิ ม สร้ า งรู ป แบบการจัด การใหม่ ที ดํา รงคุ ณ ค่ า ความสั ม พัน ธ์ เ ดิ ม และ สนับสนุ นระบบพึงตนเองของชุ มชน เป็ นระบบการจัดการทีให้ความสําคัญกับคุ ณค่า ของ “คน” ให้ “คน” เป็ นแกนกลางของการจัดการ 4) ยุทธศาสตร์ ส่งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ ในการสร้ างความเชื อมัน การฟื นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาระบบการจัดการ ใหม่ ชุ มชนจําเป็ นต้องเรี ยนรู ้ ทังการเรี ยนรู ้ จาก “ครู ” เรี ยนรู ้จาก “ต้นแบบ” เรี ยนรู ้จาก “การปฏิ บตั ิ” เรี ยนรู ้ จาก “ชี วิตจริ ง” เพือให้เกิ ดความเชื อมันในตัวเอง และให้สามารถ บริ หารจัดการทุกอย่างได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เป็ นการเรี ยนรู ้ ทีเน้นให้รู้จกั ชุ มชน และ โลกกว้างทีสัมพันธ์เกียวข้องกับชุมชน 9. การกําหนดแผนงาน และกิจกรรมโครงการ จากยุทธศาสตร์ การพัฒนาทัง 4 ประการ ดังกล่าว ได้นาํ ไปสู่ การจัดทําแผนงานโครงการ โดยคํานึงถึงองค์ประกอบหลัก 3 ประการ 1) ด้านครอบครัว ครอบครัวคือผูว้ างแผนการผลิตทางการเกษตรทีสัมพันธ์กบั การบริ โภค ความจําเป็ นพืนฐานของสมาชิ กในครอบครั วและการจัดการผลผลิ ต การเก็บ ถนอม อาหาร เพือให้เพียงพอต่อครอบครัว เป็ นการพึงตนเองในระดับครอบครัว 2) ด้านชุ มชน องค์กรชุ มชนหรื อระบบจัดการในระดับชุ มชนที เกิ ดจากการร่ วมมื อของ ชาวบ้านในชุ มชนหลายครอบครัวร่ วมกัน เพือจัดการกับผลผลิตส่ วนเกิน ความจําเป็ น พืนฐานของครอบครั ว กระจายความพอเพียงให้กบั ทุ กครอบครั วในชุ มชน เป็ นการ สร้างระบบการพึงพาตนเองของชุมชน 3) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน คือ ระบบการแลกเปลียนและการพึงพาระหว่างชุ มชน หรื อองค์ก รชุ มชนในด้านความรู ้ ประสบการณ์ ผลผลิ ต ทรั พยากรและเงิ นทุ น และ


106

พัฒนาความร่ วมมื อระหว่า งองค์ก รชุ ม ชน เพื อจัดการภารกิ จเพื อการพึ งตนเองของ ชุมชน เป็ นการสร้างระบบระหว่างชุมชน สําหรับรายละเอียดของกิจกรรมโครงการต่างๆ แสดงไว้ในภาคผนวก


107

ภาพที 3-5 ศักยภาพตําบลวังตะกอ ทีมา: สุ วฒั น์ คงแป้ น, 2547


108

ตารางที 3-4 การเปรี ยบเทียบข้อมูลค่าใช้จ่ายและการกําหนดแผนงานเพือแก้ไขปั ญหา ตําบลวอ.หลังสวน รายจ่ าย แผนงานและโครงการ จ.ชุ มพร ทั1งตําบล (ต่ อปี ) ประเภทการใช้ จ่าย ด้ านการเกษตร ด้ านอุตสาหกรรม ด้ านธุรกิจชุ มชน 1. ค่ าอาหาร 42,834,822.41 ข้าวสาร 16,924,272.50 ทํานา โรงสี ขา้ ว ร้านค้าชุมชน เนือวัว 601,250.74 การเลียงวัวพืนเมือง โรงฆ่าสัตว์ เนือควาย 212,586.79 เลียงสัตว์บริ โภค อาหารสัตว์ โรงอาหารสัตว์ แหนม,หมูยอ,กุนเชี ยง กลุ่มชําแหละหมู เนือหมู 9,584,016.89 การเลียงหมู กลุ่มชําแหละเป็ ด-ไก่ เนือไก่ เป็ ด 8,077,232.37 เลียงไก่เนือ-เป็ ดเนือ อาหารสัตว์ ไข่ไก่/ไข่เป็ ด 2,443,093.56 เลียงไก่ไข่-เป็ ดไข่ ไข่เค็ม กลุ่มผลิตไข่เค็ม ปลานําจืด 1,082,071.17 การเลียงปลา เพาะขยายพันธุ์ปลา กลุ่มแปรรู ปปลา อาหารทะเล 4,253,408.67 การแปรรู ปปลา ผัก/ผลไม้ 4,656,889.72 ผักสวนครัว การปลูกพืชแซม กลุ่มปลูกผักปลอด 2. อาหารสํ าเร็จรู ป ชูรส นําตาลทรายขาว นําปลา นํามันพืช ซอส/ซีอVิว/นํามันหอย

มาม่า/ไวไว ปลากระป๋ อง กะปิ เครื องเทศ

12,713,348.10 343,771.44 1,377,438.85 883,566.14 หมักนําปลา 1,591,857.23 727,159.32 ปลูกพืชตระกูลถัว 992,617.06 961,493.79 1,544,140.43 4,291,333.83 ปลูกพืชทําเครื องแกง

ร้ านค้ าชุ มชน

นําปลา นํามันมะพร้าว ทําซี อVิว

โรงงานนําปลา โรงงานทําซี อVิว

กลุ่มทําเครื องแกง


109

ตารางที 3-4 การเปรี ยบเทียบข้อมูลค่าใช้จ่ายและการกําหนดแผนงานเพือแก้ไขปั ญหา (ต่อ) ตําบลวังตะกอ รายจ่ าย แผนงานและโครงการ อ.หลังสวน จ.ชุ มพร ทั1งตําบล (ต่ อปี ) ประเภทการใช้ จ่าย ด้ านการเกษตร ด้ านอุตสาหกรรม ด้ านธุรกิจชุ มชน 29,032,490.95 3. เครืองดืม/ขนม นํา/นําแข็ง 1,473,768.39 ถังนําฝนสะอาด โรงนําแข็ง โรงงานนําดืม นําอัดลม 1,469,521.80 แปรรู ปนําผลไม้ นําผลไม้พร้อมดืม นําผลไม้ 769,606.83 ผลไม้อดั ถุง แปรรู ปนําผลไม้ กลุ่มแปรรู ปนําผลไม้ นมจากสัตว์ 2,633,932.66 การเลียงวัวนม นมถัวเหลือง 1,122,827.39 ปลูกถัวเหลือง แปรรู ปถัวเหลือง เต้าหู ้ กระทิงแดง/M150/ฯ 1,224,322.69 เหล้า/เบียร์ 11,438,507.55 ปลูกข้าวเหนียว ผลิตเหล้าพืนบ้าน โรงงานผลิตเหล้า/ไวน์ บุหรี 5,441,350.41 ขนมไทย ทุเรี ยนทอด ขนมกรุ บกรอบ 3,458,653.22 ขนมพืนบ้าน 4. ยารักษาโรค ยาแก้ปวดเมือย ยาแก้โรคกระเพาะ ยาแก้ปวดหัว ยาแก้ปวดท้อง/ท้องเสี ย

3,336,274.26 1,025,486.76 ปลูกพืชสมุนไพร แปรรู ปยาสมุนไพร นวดแผนโบราณ 768,595.73 ยาสมุนไพร หมอแผนไทย 759,790.04 หมอชาวบ้าน หมอชาวบ้าน ยาสมุนไพร 782,401.74 หมอชาวบ้าน หมอชาวบ้าน ยาสมุนไพร


110

ตารางที 3-4 การเปรี ยบเทียบข้อมูลค่าใช้จ่ายและการกําหนดแผนงานเพือแก้ไขปั ญหา (ต่อ) ตําบลวังตะกอ รายจ่ าย แผนงานและโครงการ อ.หลังสวน จ.ชุ มพร ทั1งตําบล (ต่ อปี ) ประเภทการใช้ จ่าย ด้ านการเกษตร ด้ านอุตสาหกรรม ด้ านธุรกิจชุ มชน 5. ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ 47,632,603.27 เสื อ 2,360,404.57 การตัดเย็บเสื อผ้า การตัดเย็บเสื อผ้า ร้านค้าชุมชน กางเกง 1,841,475.15 การตัดเย็บเสื อผ้า การตัดเย็บเสื อผ้า รองเท้า 1,614,806.60 ผ้าห่ม 370,684.88 จาน/ชาม/ช้อน 132,508.26 ยาสี ฟัน/แปรงสี ฟัน 1,022,104.19 ปลูกพืชสมุนไพร ผลิตยาสี ฟัน ร้านค้าชุมชน สบู่ 1,188,732.23 ทําสบู่ ผลิตสบู่เหลว ร้านค้าชุมชน ยาสระผมสมุนไพร ยาสระผม 1,325,431.93 ร้านค้าชุมชน ผงซักฟอก 1,319,144.78 นํายาซักผ้า ร้านค้าชุมชน ยาล้างจาน 958,148.00 นําหมักชีวภาพ ผลิตนํายาล้างจาน ร้านค้าชุมชน นํามันก๊าด/แก๊ส 3,430,379.40 แก๊สชีวภาพ ร้านค้าชุมชน ค่าไฟฟ้ า 5,190,029.59 ค่านําประปา 1,485,037.48 ค่าโทรศัพท์ 5,197,493.29 ค่านํามันรถมอเตอร์ ไซค์ 10,299,943.89 ปัV มนํามันชุมชน ค่านํามันรถยนต์ 9,896,279.01 ปัV มนํามันชุมชน 6. ค่ าใช้ จ่ายในการศึกษา ค่าเทอม/ค่าบํารุ งการศึกษา

ค่าอาหาร ค่ารถ ค่าสมุด/ดินสอ/ปากกา ค่าหนังสื อ ค่าเครื องแต่งกาย

23,971,559.48 8,972,466.79 8,319,915.37 1,031,119.77 962,503.35 1,432,949.36 3,252,604.83

ทุนการศึกษา กองทุนสวัสดิการ

รถรับส่ งนักเรี ยน ร้านค้าชุมชน การตัดเย็บชุดนักเรี ยน


111

ตารางที 3-4 การเปรี ยบเทียบข้อมูลค่าใช้จ่ายและการกําหนดแผนงานเพือแก้ไขปั ญหา (ต่อ) ตําบลวังตะกอ รายจ่ าย แผนงานและโครงการ อ.หลังสวน จ.ชุ มพร ทั1งตําบล (ต่ อปี ) ประเภทการใช้ จ่าย ด้ านการเกษตร ด้ านอุตสาหกรรม ด้ านธุรกิจชุ มชน 7. ค่ าใช้ จ่ายในการผลิต 25,366,078.14 ค่าปุ๋ ยเคมี 15,807,338.56 ปลูกข้าวโพด ปุ๋ ยเคมีผสม ปุ๋ ยหมัก ร้านค้าชุมชน ค่าจ้างแรงงาน 4,489,788.31 กลุ่มรับจ้าง กลุ่มแรงงาน ค่ายาฆ่าแมลง 1,903,122.68 ปลูกพืชสมุนไพร ยาปราบศัตรู พืช จากสมุนไพร ค่าอุปกรณ์การผลิต 1,444,523.31 ร้านค้าชุมชน ร้านค้าชุมชน ค่าต้นพันธุ์ 316,864.13 เพาะชํากล้าไม้ เพาะชํากล้าไม้ เพาะชํากล้าไม้ ค่านํามันรถไถ 263,999.31 ค่าขนส่ งผลผลิต 1,140,441.84 กลุ่มรับจ้างขนส่ ง กลุ่มรับจ้างขนส่ ง กลุ่มรับจ้างขนส่ ง 8. ค่ าผ่ อนหนีส1 ิ น ธกส. สหกรณ์ กองทุนหมูบ่ า้ น/กลุ่ม

หนีนอกระบบ ดอกเบียรวม อืนๆ

80,042,864.25 32,050,032.10 กลุ่มออมทรัพย์ 10,624,794.12 15,591,893.14 5,619,561.59 วัดและโรงเรี ยน 5,878,202.11 10,278,363.20

9. ค่ าใช้ จ่ายทางสังคม 7,056,599.75 กฐิน/ผ้าป่ า 627,880.77 บวชนาค 1,792,954.17 งานศพ 1,861,490.18 งานแต่งงาน 2,268,088.77 งานขึนปี ใหม่ 507,085.86 รวม 271,986,622.59 ทีมา: สุ วฒั น์ คงแป้ น, 2547

กองทุนหมู่บา้ น

ธนาคารตําบล

ธนาคารหมู่บา้ น กองทุนสวัสดิการ


112

ความสํ าเร็จของแผนชี วติ ชุ มชน การทําแผนชี วิตชุ มชน กล่ าวได้ว่า ได้ทาํ ให้แกนนําทุกคนมีความเข้าใจถึ งการแก้ปัญหา อย่างเป็ นระบบ ชาวบ้านรู ้จกั ตนเอง และมีความพร้อมทีจะเข้าร่ วมขบวนการแก้ไขปั ญหา แม้วา่ ก่อน การทําแผน ชาววังตะกอได้มีการร่ วมกันทํากิ จกรรมอยู่แล้วหลายอย่าง ซึ งเป็ นการทําตามกระแส การพัฒนา แต่การทําแผนทําให้มีการดําเนิ นกิจกรรมต่างๆเหล่านันอย่างเข้าใจ และมีการเชื อมโยง กับปั ญหาได้อย่างเป็ นระบบ รวมทังได้มีการสร้ างกิ จกรรม โครงการใหม่ๆขึนหลายโครงการ ซึ ง เกิดผลสําเร็ จให้เห็นเป็ นรู ปธรรมชัดเชน อาทิ 1. เครื องตัดหญ้าเดินตาม กํา นั น ต้อ งการทํา ให้ ส วนสวยและได้ผ ลผลิ ต ดี โ ดยไม่ ต้อ งเสี ย เงิ น ซื5 อ ปุ๋ ย วิทยาศาสตร์ ปุ๋ ยเคมี ยากําจัดวัชพืชรวมทั5งเครื องตัดหญ้าทีมีแต่รายจ่าย กํานันหาคําตอบ โดยการมองย้อนกลับไปในอดีตทีเคยอยูก่ นั มาโดยไม่ตอ้ งพึงพาสิ งเหล่านี5 ก็พบว่า สัตว์ เลี5ยงอย่างวัวควาย คือทางออกของทุกคําถาม เป็ นต้นทุนทางปั ญญาของคนรุ่ นเก่าทีถูก มองข้าม วิธีการเลี5ยงวัวเลี5ยงควายของคนในสมัยก่อน ก็คือ บริ เวณไหนทีมีหญ้าสู ง ก็เอา วัวไปผูกตรงนั5น เรี ยกได้วา่ เป็ น เครื องตัดหญ้าเดินตาม และสิ งทีดีไปกว่านั5นก็คือ ถ้าวัว ขี5ออกมาไส้เดือนในดินมันก็ยงั สามารถอยูไ่ ด้ แต่ถา้ เป็ นนํ5ามันเครื องจากเครื องตัดหญ้า จะทํา ให้ ไ ส้ เดื อ นตาย กํา นัน กล่ า วว่า วัว ตัว หนึ งสามารถทํา งานขับ เคลื อนไปตาม ธรรมชาติได้อย่างครบวงจร เป็ นเครื องตัดหญ้าเดิ นตาม เขียวบดหญ้า ผลิ ตออกมาเป็ น ปุ๋ ย เลียงดูตน้ ไม้ในสวนให้งอกงาม ไม่ตอ้ งเติมนํามัน สวนโล่งเตียนและได้ปุ๋ยด้วย ลด ทังแรงและต้นทุนให้เจ้าของได้เกือบ 100 % แต่สิงทีมีคุณค่าและไม่อาจตีเป็ นมูลค่าและ นับได้เป็ นเปอร์ เซ็ นต์ก็คือ การได้ฟืนวิถีของการแบ่งปั น พึงพาอาศัย จนเกิ ดเป็ นสาย สัมพันธ์ทีเชื อมโยงระหว่างคนต่อคน และจากคนค่อยๆไหลออกไปสู่ ชุมชน ถื อเป็ น ภูมิคุม้ กันอย่างหนึง


113

ภาพที 3-6 เครื องตัดหญ้าเดินตาม ทีมา: ศูนย์เรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงตําบลวังตะกอ, 2553 2. การบริ หารจัดการนํ5า โดยการใช้หลักการง่ายๆตามภูมิปัญญาชาวบ้าน ก็คือ กํานันใช้ภูมิปัญญายกนํ5า ขึ5นเหนื อพื5นดิ นเพือเก็บนํ5าหน้าฝนไว้ใช้ในหน้าแล้ง โดยการสร้ างบ่อพักนํ5าขึ5น 2 บ่อ โดยทีบ่อหนึงจะสู งกว่าอีกบ่อหนึ งอยู่ 80 เซนติเมตร บ่อทีอยูส่ ู งกว่าเรี ยกว่าบ่อบน บ่อที อยูต่ ากว่ ํ าเรี ยกว่าบ่อล่าง แต่ตอ้ งสํารวจภูมิประเทศก่อน เช่น ทิศทางนํ5าไหล ดูฟ้า ดูน5 าํ ดู ลม ดูทุกๆอย่างประกอบกัน แล้วขุดทางนํ5าล้นเชือมระหว่างบ่อ 2 บ่อเพือเป็ นทางระบาย นํ5าเรี ยกว่า By pass เมือเราไม่ตอ้ งการระบายนํ5าก็เพียงแค่เอากระเบื5องมาปิ ดรู ไว้ แต่ถา้ เมือใดทีมีฝนตกหนัก ก็จะต้องทําการระบายนํ5าโดยการเปิ ดแผ่นกระเบื5อง สิ งนี5 ถือได้วา่ เป็ นฝายชะลอนํ5าตามแนวพระราชดําริ ทีเรี ยบง่ายและได้ประโยชน์สูงสุ ด 100% โดยที บ่อนํ5าตื5 นข้างๆบ้านของกํา นันก็ จะได้ใ ช้น5 าํ กันหมด เพราะนํ5าจะซึ ม ไปตามดิ น เป็ น เหมือนการส่ งท่อไปใต้ดิน เป็ นท่อธรรมชาติของแม่พระธรณี


114

ภาพที 3-7 การบริ หารจัดการนํ5า ทีมา: ภาพถ่ายจากสถานทีจริ งโดยกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน) 3. การเลี5ยงหมูหลุม ซึ งเป็ นอีกองค์ความรู ้ หนึ งทีเกิ ดขึนจากการต้องการแก้ปัญหาการเลี ยงหมูตาม ระบบที ต้อ งลงทุ น สู ง ทังต้น ทุ น ค่ า โรงเรื อ น ระบบการให้ อ าหารและนําในคอก สมัยใหม่ ซึ งต้องใช้เงินเป็ นจํานวนมาก เพือลดต้นทุนให้ชาวบ้านทัวไปสามารถเลียง หมู เพื อผลิ ตปุ๋ ยใช้ใ นสวน กิ น และชํา แหละขายในชุ ม ชนได้ โดยไม่ ต้องไปพึ งพา ภายนอกมากเกินไป กํานันจึงหันมาเลียงหมูหล่านทีลงทุนตํา แต่อาจต้องลงแรงสู งกว่า การเลียงหมูตามแบบแผน วิธีการของกํานันก็คือ กํานันจะรอรับเศษอาหารเพือเอาไป ให้หมู ให้เป็ ด ให้ไก่ ซึ งเศษอาหารเหล่านีถ้าคิดเป็ นมูลค่าแล้วเยอะพอสมควร วันหนึ ง


115

ประมาณซัก 200 กิโลกรัมทีต้องทิงไปโดยเปล่าประโยชน์ ก็เก็บไปให้หมูกิน ให้เป็ ด กิน ให้ไก่กิน แล้วเราก็ลดต้นทุนไปด้วย กํานันส่ งเสริ มให้ชาวบ้านเลียงหมูดว้ ยการให้ ลู กหมูไปเลี ยง แต่ ไม่ใช่ เพือความรํารวย แต่แค่ตอ้ งการให้อยู่รอด กํานันแนะนําว่า เลียงหมูทาํ ขายเอง ขีหมูก็เอาไปใส่ ตน้ ปาล์ม ปาล์มก็โตขึนดี ผลผลิตก็ดี ทีสําคัญได้ลด ต้นทุน โดยกํานันมีขอ้ แม้วา่ ใครก็ตามทีมาเอาลูกหมูจากกํานันไปเลี ยง จะต้องเอาขี หมูทีได้ไปใส่ เป็ นปุ๋ ยให้กบั พืชผักผลไม้ในสวนของตน และจะต้องขายหมูในชุ มชน ตัวเลขจากการสํารวจรายได้และค่าใช้จ่ายของครัวเรื อนพบว่า ชุ มชนวังตะกอบริ โภค หมูปีละ 7 ล้านบาท ซึ งส่ วนใหญ่ก็ซือจากบริ ษทั ใหญ่ทีราคาก็ขึนลงตามตลาด แต่การ เลี5ยงหมูแบบครบวงจรในชุมชน นอกจากทําให้คนวังตะกอได้กินหมูในราคายุติธรรม ไม่ข5 ึนลงตามราคาท้องตลาด เงิ นทองไม่ไหลออกข้างนอกแล้ว ยังเป็ นหมูทีเลี5 ยงโดย คนในบ้าน ขายในร้ านค้าทีเป็ นร้ านค้าสหกรณ์ ชุมชน ไม่ตอ้ งจ่ายค่าเดิ นทางออกไป ตลาด และทีสําคัญไม่ตอ้ งกังวลเรื องความปลอดภัยและสารเคมีปนเปื5 อน

ภาพที 3-8 การเลี5ยงหมู ทีมา: ภาพถ่ายจากสถานทีจริ งโดยกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน)


116

4. การเพาะเห็ด ซึ งต้นทุนในการเพาะเห็ ดทังหมดก็มาจากทะลายปาล์มทีใช้ทาํ แปลงเห็ ด เชื อ เห็ ด ค่านํามันสําหรับรดนํา พลาสติกทีใช้คลุ ม ซึ งทังหมดนี สามารถใช้ได้หลายรอบ รอบหนึ งชาวบ้านสามารถขายเห็ดได้ราว 2 หมืนกว่าบาท การเพาะเห็ดจะต้องเปลียน พืนทีไปเรื อยๆจึงจะทําให้ได้ดอกเห็ดทีขึนดี สวยและให้ผลผลิตเยอะ การเปลียนแปลง เห็ดไปเรื อยๆจะทําให้เกิดซากปาล์มเหลือใช้ ซึ งส่ วนนี สามารถนําไปเป็ นปุ๋ ยให้กบั ต้น ปาล์มต่อได้ ก็จะถือเป็ นการเกือกูลกันทังระบบ สรุ ปสิ งทีได้จากการเพาะเห็ดทังหมด ก็คือ ชาวบ้านมีเห็ ดไว้บริ โภคเองภายใน ครัวเรื อน ชาวบ้านมีรายได้เสริ ม และผลพลอยได้ก็คือการนําเอาทะลายปาล์มไปทําปุ๋ ย

ภาพที 3-9 การเพาะเห็ด ทีมา: ภาพถ่ายจากสถานทีจริ งโดยกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน)


117

5. การปลูกปาล์ม โดยไม่ใช้สารเคมี ซึ งในช่ วงปี สองปี แรกกํานันยอมรับเลยว่าสภาพของต้นปาล์มนันไม่สมบูรณ์ เหมือนก่อน เพราะต้องใช้เวลาในการปรับสภาพ แต่เมือเวลาผ่านไปปริ มาณผลผลิตที ได้ก็เพิมมากขึนเรื อย จนทุกวันนี กํานันตัดปาล์มได้ 16 ตันกับอีก 800 กิโลกรัม ซึ ง ปาล์มในขณะนีกิโลกรัมละ 4.20 บาท คิดเป็ นเงินกว่า 70,000 บาท

ภาพที 3-10 สวนปาล์ม ทีมา: ภาพถ่ายจากสถานทีจริ งโดยกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน) 6. ร้านค้าชุมชน คือส่ วนหนึ งของการพยายามพึงตนเองของคนวังตะกอ ด้วยการพัฒนาระบบ การจัดการธุ รกิจชุมชนขึ5นโดยชาวบ้านเพือชาวบ้าน ร้านค้าชุ มชนเล็กๆ ซึ งดําเนินการ ในรู ปแบบของสหกรณ์ ทาํ ให้เกิ ดประโยชน์ร่วมของคนในชุ มชน เป็ นสถานทีพบปะ กันระหว่างผูซ้ 5ื อผูข้ าย และยังเป็ นส่ วนหนึ งของจุดเริ มต้นทีช่ วยรื5 อฟื5 นความเข้มแข็ง และความสุ ขจากการเกื5 อกูลพึงพาซึ งกันและกัน เหมื อนอดี ตชุ ม ชนในวันวานของ ชุ มชนวังตะกอให้กลับคืนมาอีกทางหนึ งด้วย กํานันให้แง่คิดง่ายๆว่า การทีเราไปซื5 อ ของตามห้างร้าน สิ งทีเราจะได้รับคืนมาในหนึ งปี ก็คือ ปฏิทินหนึ งเล่ม ซึ งมันแตกต่าง จากร้านค้าสวัสดิการชุมชนของเราตรงที เป็ นทุนของพวกเราเอง สิ5 นปี คิดแบ่งผลกําไร เฉลี ยคื น สิ น ค้า ที ขายในร้ า นค้า สวัส ดิ ก ารชุ ม ชน ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นสิ น ค้า ที ผลิ ต จาก ชาวบ้า นในชุ ม ชน ซึ งล้วนเป็ นของดี มี คุ ณ ภาพและขายให้ก ับ สมาชิ ก ในราคาถู ก


118

ยกตัวอย่างเช่น เนื5 อหมู 1 กิโลกรัม ทีร้านค้าชุ มชนขาย 100 บาท แต่ถา้ ไปซื5 อทีตลาด ข้างนอกชุ มชน จะต้องซื5 อในราคา 110-120 บาท ซึ งถื อได้ร้านค้าชุ มชนขายถูกกว่า ประมาณ 10% เป็ นต้น ร้านค้าสหกรณ์เป็ นสถานทีทีซื5 อหาของสะดวก อีกทั5งยังได้ปัน ผลกลับมาเมือมีการลงหุ ้น ซึ งหุ ้นทั5งหมดมีประมาณ 100,000 หุ ้น หุ ้นละ 100 บาท หนึ งคนกําหนดให้ลงได้ไม่เกิ น 30 หุ ้น ซึ งในปี ก่อนนี5 ร้านค้าสหกรณ์มียอดขายกว่า 7,000,000 บาท เมื อหัก ต้นทุ นและค่ าใช้จ่ายทั5ง หมดแล้วเหลื อเป็ นกําไรประมาณ 700,000 บาท ซึ งนอกจากเงิน 7,000,000 กว่าบาทจะไม่ไหลออกไปข้างนอกแล้วยัง สร้ างกําไรให้เกิ ดขึ5นภายในชุ มชนอีกด้วย ซึ งกําไรส่ วนนี5 ได้นาํ มาปั นผลให้ลูกหลาน ของสมาชิกเป็ นค่าเล่าเรี ยน เป็ นทุนการศึกษา เป็ นเงินปั นผล และเป็ นเงินกองกลางเพือ เอาไปใช้กบั สาธารณะประโยชน์ในชุมชนด้านต่างๆ ร้ านค้าชุ มชนไม่เพียงช่ วยอุ ดรู รัวรายจ่ายของชุ ม ชนที ไหลออกข้างนอกปี ละ หลายล้านบาทและการได้รับประโยชน์ร่วมเป็ นเงินปั นผลและสวัสดิการเพียงเท่านัน แต่การบริ หารกิจการจนเกิดผลกําไรทําให้ชุมชนได้ตระหนักถึงศักยภาพในการจัดการ โดยพึงพิงตัวเองและเรี ยนรู ้ทีจะลดละความรู ้สึกต่อการพึงพาภายนอกทีมีทุน มีความรู ้ และมีอาํ นาจมากกว่า 7. การเลี5ยงผึ5ง ในชุ มชนมีคนเลี5ยงผึ5งอยูป่ ระมาณ 7-8 ราย ซึ งรวมตัวกันเป็ นกลุ่มคนเลี5ยงผึ5ง มี นํ5าผึ5งโพรงไทยเป็ นของกลุ่มเลี5ยงผึ5งตําบลวังตะกอ ซึ งรายได้เฉลียทีได้รับจากการขาย นํ5าผึ5งต่อปี ของชาวบ้านบางคนนั5นมากกว่ารายได้จากอาชี พหลักของเกษตรกรบาง พื5นทีเสี ยอีก


119

ตารางที 3-5 รายได้ต่อปี จากการขายนํ5าผึ5งโพรงไทยของกลุ่มชาวบ้านวังตะกอ รายการ ขายปลีก ขายส่ ง จํานวนหน่วยทีผลิตได้ (ขวด) 350 350 ราคาต่อหน่วย (บาท) 200 180 รายได้ท5 งั หมด 70,000 63,000 ทีมา: จากการคํานวณร่ วมกันของกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน) จากตารางที 3-5 แสดงให้เห็ นว่าหากชาวบ้านผลิตนํ5าผึ5งได้ปีละ 350 ขวด ถ้า ขายปลีกได้ท5 งั หมด ก็จะมีรายได้เสริ มทั5งสิ5 น 70,000 บาท แต่ถา้ ขายส่ งทั5งหมดก็จะมี รายได้อยูท่ ี 63,000 บาท ซึ งถื อเป็ นตัวเลขทีค่อนข้างมากพอสมควรเมือเทียบกับการ ลงทุนเพียงน้อยนิด เพราะการเลี5ยงผึ5งสามารถทําได้โดยการวางรังไว้ได้ทวบริ ั เวณสวน ซึ งเพือนบ้านต่างก็ยินดี และเต็มใจ เพราะผึ5งช่ วยผสมเกสรให้ดอกไม้ การดูแลก็ไม่ ยุง่ ยากเพียงแค่หมันมาดูอย่าให้กิงไม้ตกลงมาพาด และคอยดูน5 าํ ทีหล่อเลี5ยงให้มีอย่าง สมําเสมอเพราะจะช่ วยป้ องกันไม่ให้มดเข้ามาในรังได้ นอกเหนื อจากนี5ก็ไม่ตอ้ งดูแล แค่ปล่อยให้ธรรมชาติเลี5ยงตัวมันเอง เวลามาเอานํ5าผึ5งก็แค่ใส่ เสื5 อแขนยาว ใส่ ถุงมือ ใส่ หมวกกันน็อคเพียงเท่านี5ก็จะได้น5 าํ ผึ5งไปจําหน่ายแล้ว

ภาพที 3-11 การเลียงผึง ทีมา: รักบ้านเกิด, 2552


120

8. โรงผลิตนําดืมวังตะกอ เกิ ดขึ นภายใต้หลักการเดี ยวกันกับร้ านค้าชุ มชนนันคื อ ร่ วมกันคิด ช่ วยกันทํา ผลิตเอง ใช้เอง ทําการตลาดเองแบบครบวงจรจนเกิดผลกําไรไหลเวียนแบ่งปั นกันใน ชุ มชน เป็ นการลดรายจ่า ย เสริ ม รายได้ เพิมดุ ลการค้าบนหลักการพึงพาตนเอง ใน โรงงานนําดื มมีการบริ หารจัดการแบบระบบกลุ่ม มี คณะกรรมการ มี สมาชิ ก 30-40 คน โดยให้ชาวบ้านมาลงหุ ้นกันแล้วจากนันก็มาช่ วยกันบริ หารจัดการ มีการเลื อกตัง คณะกรรมการขึนมาโดยสมาชิ ก ซึ งคณะการเหล่านี ต้องมีการหมดวาระและต้องทํา การเลื อกตังขึ นมาใหม่เสมอ กําไรที ได้มาส่ วนหนึ งจะให้แก่ ผูถ้ ื อหุ ้น ส่ วนหนึ งให้ กรรมการเป็ นค่าบริ หารจัดการดูแล อีกส่ วนหนึ งก็เก็บไว้เป็ นสวัสดิการชุ มชน เหตุผล ทีมีการจัดตังโรงงานนําดื มก็เนื องมาจากการสํารวจค่าใช้จ่ายทีชาวชุ มชนต้องเสี ยไป กับการซื อนําดื มข้างนอกเฉลี ยแล้วประมาณ 2-3 ล้านบาทต่อปี ซึ งโรงงานนําดื มนี ไม่ได้ถูกตังขึนมาเพือทีจะแข่งขันกับบริ ษทั ใหญ่ๆ แต่ตงขึ ั นมาเพือต้องการทีจะผลิ ต นําทีมีคุณภาพสู งไว้ดืมเอง มีเครื องชีวัดคุณภาพ ก็คือ การใช้เครื องกรองนําทีกรองด้วย อุลตร้ าไวโอเล็ตจํานวน 2 ตัว การทีต้องยอมลงทุนอย่างนี เพราะอยากจะให้สุขภาพ ของคนในชุมชนดีขึน ได้ดืมนําทีมันใจได้วา่ สะอาด 100% 9. ปั มนํามันชุมชน เป็ นปั มที ชาวบ้า นรวมหุ ้นกันจัดตังขึ นเพืออํานวยความสะดวกให้กบั ชุ มชน เป็ นการประหยัดพลังงาน ประหยัดเวลา และลดความสิ นเปลื องจากการต้องออกไป ซื อหานํามันภายนอกชุ มชน เริ มต้นจากการทีเกษตรกรต่างก็เห็นพ้องต้องกันว่ามีการ ใช้นามั ํ นทางด้านการเกษตรเป็ นจํานวนมาก และหากต้องไปหาซื อนํามันจากทีไกลๆ ก็ จ ะต้อ งเสี ย ค่ า ใช้จ่ า ยต่ า งๆมากมาย จึ ง ทํา การประชุ ม กัน และร่ ว มทุ น กัน ในการ ก่ อสร้ า ง คนที ถื อหุ ้ นก็ จะได้รั บ เงิ น ปั น ผลตอนสิ นปี ต่ อ มาก็ มี ก ารเพิ มหุ ้น เพิ มทุ น จนกระทังมีการขยายสาขามาจนถึงทุกวันนี


121

10. การผลิตปุ๋ ยชีวภาพทีอาศัยวัตถุดิบจากธรรมชาติ สําหรับสังคมเกษตรทีถูกครอบงําโดยเกษตรแผนใหม่ ทีชักจูง โน้มนํา โฆษณา ชวนเชื อให้เชื อว่าปุ๋ ยวิทยาศาสตร์ อย่างสารเคมี คือปั จจัยหลักที ช่ วยเพิมผลผลิ ตทาง การเกษตร จากการสํารวจข้อมูลในการทําแผนชี วิตชุ มชน พบว่าวังตะกอเพียงตําบล เดียวมีตวั เลขรายจ่ายสําหรับค่าปุ๋ ย ยา และสารเคมี ปี หนึ งๆรวมเกือบ 20 ล้านบาท นี เป็ นบาดแผลทีใหญ่ทีสุ ดทีทําให้เกษตรกรยิงทํายิงจน ยิงขยันยิงเป็ นหนี ไม่นบั รวมถึง ผลข้างเคียงทีส่ งผลต่อสิ งแวดล้อมและธรรมชาติทีเกิดขึนตามมาอีกมากมาย เพือเป็ น การห้ามเลือด หรื ออุดรู รัวรายจ่ายทีไหลออกจากชุ มชนมากทีสุ ด รวมถึงเป็ นการรักษา อาการคนไข้ของสิ งแวดล้อมคืนสู่ สภาวะทีดีให้ชุมชน ตารางที 3-6 แสดงการเปรี ยบเทียบราคาปุ๋ ยชีวภาพและปุ๋ ยเคมีต่อ 1 กระสอบ รายการ ปุ๋ ยชี วภาพ ปุ๋ ยเคมี ปริ มาณ (กระสอบ) 1 (50 กิโลกรัม) 1 ราคาต่อหน่วย (บาท) 100 1,200 ทีมา: จากการคํานวณร่ วมกันของกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน) จากตารางที 3-6 จะเห็นได้ว่าต้นทุนในการทําการเกษตรทีชาวบ้านจะต้องเสี ย ไปกับค่าปุ๋ ยเคมีนนมี ั จาํ นวนมากมายมหาศาลเมือเทียบกับค่าใช้จ่ายของปุ๋ ยชี วภาพ เมือ ชาวบ้านหันมาผลิ ตปุ๋ ยชี วภาพขึนมาใช้เองภายในชุ มชน จะช่ วยลดต้นทุ นลงไปได้ กว่า 90% อีกทังยังมีคุณภาพทําให้ดินร่ วนซุ ย ทุกคนพยายามแต่จะเอาชนะธรรมชาติ แต่กาํ นันกําลังคิดว่าวิธีการทีจะให้ธรรมชาติอยูค่ ู่กบั มนุ ษย์และรู ้ จกั การใช้ธรรมชาติ ให้เป็ นประโยชน์ นี จึงเป็ นทีมาของการผลักดันให้เกิ ดโรงปุ๋ ยชี วภาพที อาศัยวัตถุ ดิบ จากธรรมชาติ ซึ งหาได้ภายในท้องถิน เป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้อม อาทิเช่น แกลบกาแฟ ขี วัว ขี หมู กากกาแฟ เป็ นต้น ภายใต้ก ารร่ วมมื อ ร่ วมแรง และร่ วมใจกันของคนใน ชุมชน


122

ภาพที 3-12 การร่ วมมือของชาวบ้าน ทีมา: กรมพัฒนาทีดิน, 2551

ภาพที 3-13 การผลิตและการใช้ประโยชน์ปุ๋ยอินทรี ย ์ ทีมา: สถานีพฒั นาทีดินชุมพร, 2549 11. โครงการธนาคารต้นไม้และการสร้างป่ าชุมชน โครงการเหล่านี5 ทาํ ให้ชาวบ้านมีงานทําอย่างต่อเนื อง เห็นเป็ นรู ปธรรม เริ มต้น โดยธนาคารจะส่ ง กล้าไม้ไปให้ชาวบ้านปลู ก ซึ งธนาคารก็ ตอ้ งทําการเพาะกล้าไม้ ขึ5นมาทดแทนอยูเ่ รื อยๆ โดยการเข้าไปหาพันธุ์กล้าไม้ในป่ า ซึ งเมือก่อนชาวบ้านจะไม่ เห็ นคุ ณ ค่ า ของกล้า ไม้เล็ ก ๆเหล่ า นี5 ที ขึ5 นอยู่ใ นสวนของตน แต่เมื อธนาคารได้ออก นโยบายให้ชาวบ้านสามารถนําพันธุ์กล้าไม้มาขายให้กบั ธนาคารได้ ต้นละ 30 สตางค์


123

ทําให้ชาวบ้า นไม่ ตดั ต้นหญ้าเล็กๆ ไม่ ฉีดยา มองเห็ นคุ ณค่ าของต้นไม้มากขึ5น เมื อ ชาวบ้านขายกล้าไม้ให้กบั ธนาคาร ธนาคารก็จะนําไปขายต่อ ซึ งกําไรทีได้จากการขาย กล้าไม้ ก็จะมาตั5งเป็ นกองทุนสวัสดิ การของหมู่บา้ นเน้นเรื องทุนการศึกษาเป็ นหลัก ผลกําไรจากธนาคารต้นไม้ งอกเงยมาเป็ นสวัสดิการชุ มชน แบ่งออกเป็ นทุนการศึกษา สําหรับเยาวชนในตําบล เป็ นค่ารักษาพยาบาลสําหรับสมาชิ กทีเจ็บป่ วย และนําส่ วน หนึ งมาใช้ในงานสาธารณะกุศล งานศพ งานบวช งานประเพณี ต่างๆของชุ มชน เพือ เป็ นแรงจูงใจให้คนในชุมชนหันมาปลูกต้นไม้ให้มากทีสุ ด

ภาพที 3-14 การเพาะกล้าไม้ ทีมา: ชุมชน (วารสารปตท.), 2555 แต่จุดประสงค์หลักของการจัดตั5งโครงการธนาคารต้นไม้ก็คือ ต้องการสร้ าง เป็ นบํานาญชี วิตให้กบั ชาวบ้า น เพราะในบั5นปลายชี วิตของชาวบ้า นนั5นไม่มี ความ มันคงเหมือนกับข้าราชการทีจะได้รับเงินบําเหน็จบํานาญ มีหวังอย่างเดียวก็คือได้เงิน เบี5ยผูส้ ู งอายุเดือนละ 500 บาท กํานันจึงคิดว่า ถ้าเราเริ มปลูกต้นไม้ตอนอายุ 40 ปี เมือ เราอายุ 60 ปี ซึ งต้นไม้อายุ 20 ปี ปั จจุบนั นี5คิดเป็ นเงินจะได้ราวๆ ต้นละ 10,000 บาท


124

แต่ถา้ นับไปอี กสิ บปี ข้างหน้าก็น่าจะมีมูลค่าราวๆ 50,000 บาท ซึ งตัวเลขทีเห็ นนี5 ก็ น่าจะเป็ นเบี5ยบํานาญทีมากพอสมควรสําหรับชาวบ้านทีปลูกต้นไม้ไว้ ต้นไม้ที ถู ก ปลู ก ขึ5 น มาจนกระทังเกิ ด ขึ5 นเป็ นป่ าชุ ม ชนทั5ง หมดนี5 กํา นัน และ ชาวบ้านไม่เคยคิดทีจะเอาไม้ไปขายหรื อตัดแม้แต่ตน้ เดี ยว แต่ทีกํานันคิดก็คือ เมือทํา แผนชุ มชนแล้ว ทําให้รู้วา่ หนี5 สาธารณะของชุ มชนมีอยูก่ ว่า 147 ล้านบาท ซึ งชาวบ้าน แทบไม่ มี โ อกาสที จะหลุ ด พ้น จากหนี5 ก้อ นใหญ่ น5 ี ได้ แต่ ก ารที กํา นัน ชัก ชวนให้ ชาวบ้านมาปลูกต้นไม้ สร้างป่ า ปลูกเอง ดูแลเอง ไม่ได้พึงงบประมาณของรัฐ จะทําให้ วันหนึ งอาจจะมีสักรัฐบาลหนึ งทีเห็นคุณค่าของการกระทําเหล่านี5 อาจจะอนุ ญาตให้ นํามาต้นมาใช้หนี5ได้โดยไม่ตอ้ งตัดทําลาย 12. สร้างทีอยูอ่ าศัย การที สังคมจะเป็ นสุ ขเป็ นสังคมที ดี สังคมที น่ าอยู่อย่างแท้จริ งนันต้องไม่ใช่ สังคมแบบตัวใครตัวมัน ชุ มชนวังตะกอเป็ นชุ มชนตัวอย่างหนึ งครับทีมีหวั ใจในการ สร้ า งชุ ม ชนเป็ นสุ ข โดยการพลิ ก ฟื นความสั ม พันธ์ เชิ ง พี น้อง การพึ งพาอาศัย การ ช่วยเหลือดูแลเกือกูลกันอย่างเป็ นรู ปธรรม ซึ งกํานันได้มีแนวคิดทีจะชักชวนชาวบ้าน มาร่ วมกันทําประชามติเรื องการให้ความช่วยเหลือด้านทีอยูอ่ าศัยแก่ผทู ้ ีประสบปั ญหา เมือเกิดอุทกภัยชาวบ้านหลายคนต้องสู ญเสี ยทีดินทํากัน ทีอยูอ่ าศัยไม่มีเหลือ กํานันจึง ใช้วธิ ี การขอความคิดเห็นจากพีน้อง เพือขอยกทีดินว่างเปล่าและระดมเงินทุนมาสร้าง ทีอยูอ่ าศัยให้กบั ผูป้ ระสบภัย ซึ งชาวบ้านทุกคนก็ต่างให้การสนับสนุ นเป็ นอย่างดี บาง คนเสี ยสละแรงกาย บางคนให้แรงใจ หลายคนให้เงินทอง ให้อิฐ ให้ปูน ให้ตน้ ไม้ ให้ ความเอืออาทรที ไหลมารวมกันคนละเล็กคนละน้อยกลายเป็ นสายธารนําใจทีสร้ าง ความสุ ขและความอิมเอมใจให้กบั ครอบครัวของผูป้ ระสบภัย ระยะเวลาทีใช้ในการ สร้ างบ้าน 1 หลังใช้เวลาประมาณ 5-6 วัน บ้าน 1 หลัง หากคิดเป็ นเงิ นก็อยูท่ ีราวๆ 40,000 บาท


125

13. การออกเอกสารสิ ทธิZ ทีดิน เกษตรกรจํานวนหนึ งในตําบลวังตะกอก็เป็ นชาวบ้านทีไม่มีกรรมสิ ทธิZ ในทีดิน ทํากิ น หลายชัวอายุคนสําหรับการครอบครองทีดิ นทํากินจํานวน 1,950 ไร่ โดยไม่มี เอกสารสิ ทธิZ รั บรองตามกฎหมาย สิ งที ชาวบ้านต้องการทีสุ ดไม่ใช่ เอกสารสิ ทธิZ แต่ ต้องการความสุ ขทางด้านจิตใจ ต้องการมีความมันใจ มันคงทางด้านจิตใจ ต่างคนต่าง ไม่บุกรุ ก ไม่ลาแดนกั ํ น ไม่มีการบุกรุ กทีหลวง ไม่มีการบุกรุ กระหว่างแดนต่อแดนจะ มีความสามัคคีกนั ทีผ่านมาชาวบ้านอยูด่ ว้ ยความสงสัยว่า เราอยูบ่ นแผ่นดิ นของใคร ประโยชน์ของใคร ไม่มีอะไรรับรอง ไม่สามารถเอาทีดิ นไปกูเ้ งิ นได้ ไม่สามารถทํา หลักประกันให้กบั บุตรหลานได้ ไม่สามารถทําหลักประกันนิติกรรมใดๆได้ทงสิ ั น แต่ เอกสารฉบับนีสามารถทํานิ ติกรรมได้ทาํ ได้เหมือนกับโฉนดทุกอย่าง ต่อมาก็มีการทํา สัญญาใจกันว่าจะไม่มีการบุกรุ กพืนทีป่ า เพราะเป็ นผลประโยชน์ร่วมกัน 14. การปลูกข้าวกินเอง กว่า 15 ปี นับแต่นาข้าวถูกเปลี ยนเป็ นนาปาล์ม ควายและการทํานาได้หายไป จากวัง ตะกอ ซึ งเคยได้ชื อว่าเป็ นอู่ข ้าวอู่นาของเมื ํ องหลัง สวน วิกฤตราคาข้าวแพง กลายเป็ นโอกาสให้กาํ นันชักชวนคนในชุ มชนเพือหันมาฟื นนาร้างเพือคืนวิถีแห่ งการ พึงตนเองหรื อรื อฟื นการปลูกข้าวซึ งครังหนึ งในอดีตเคยเป็ นอาชี พหลักดังเดิมของคน วัง ตะกอ กํานันได้เริ มทํา นาบนที ของชาวบ้า นที ถู ก ทิ งร้ า งไว้ โดยมี ก ารทํา ร่ วมกัน ชาวบ้าน มีการเฉลียการออกค่าใช้จ่ายกัน 4-5 คน โดยพืนทีนา 3 ไร่ ให้ผลผลิตข้าว ประมาณ 117-118 ถัง ราคาถังละประมาณ 2,000 บาท สามารถกินได้ทงครอบครั ั วไม่ เดือนร้อน แต่เนื องจากพืนที ทางการเกษตรกว่า 90%ของตําบลวังตะกอทีเคยเป็ นผืนนา อุดมสมบูรณ์ได้ถูกเปลียนเป็ นสวนปาล์ม สวนยางพารา สวนผลไม้ทีเป็ นพืชเศรษฐกิจ ไปเกื อบหมดสิ นด้วยข้อจํากัดอย่างพืนที และองค์ความรู ้ เรื องการทํานาทีสู ญหายไป หลายด้ า นจากตํา บลวัง ตะกอทํา ให้ ก ํา นัน รวมกลุ่ ม กับ ชาวบ้า นดํา เนิ น การตาม ยุทธศาสตร์ ทีกําหนดไว้ในแผนแม่บทชุ มชนคือการแลกเปลี ยนและประสานความรู ้ ทางภู มิ ปั ญ ญากับ สั ง คมและชุ ม ชนอื น วัง ตะกอเชื อมโยงเครื อ ข่ า ยไปยัง ชุ ม ชน


126

พึงตนเอง ต.ขอบขัน อ.ชะอวด จ.นครศรี ธรรมราช ซึ งเป็ นชุ มชนพันธมิตร ทีพืนทีนับ แสนไร่ ถูกทิ งร้ างไว้มากพอที จะเปลี ยนเป็ นนาข้าวหล่ อเลี ยงผูค้ นได้อีกหลายตําบล การพัฒนาความร่ วมมื อไปสู่ ก ระบวนการเรี ย นรู ้ และการพึงพา เกื อกูล กันระหว่า ง ชุมชนจึงเกิดขึน ซึ งผลประโยชน์ได้มาเท่าไร ก็เอาจํานวนคนทีทํามาแบ่งกัน

ภาพที 3-15 การทํานา ทีมา: ปรี ดา สาระเห็ด, 2554


127 บทที 4 ผลของการศึกษา หลักปรัชญาทีใช้ ยดึ ถือในการดําเนินการ จากการศึกษาพบว่า วังตะกอคือชุ มชนต้นแบบทีเอาอดีตและความล้มเหลวมาเป็ นบทเรี ยน ความผิดพลาดและปั ญหามากมายทีเกิดขึ+นจากการหลงไปกับค่านิยมภายนอก ทําให้คนวังตะกอหัน กลับมาค้นหารากเหง้าจนรู ้จกั ตัวเองและรู ้เท่าทันโลกภายนอก ต้นทุนทางสังคมเดิมและภูมิปัญญาที สังสมมาแต่บรรพบุรุษทําให้คนวังตะกอหันกลับมาเรี ยนรู ้ ทีจะพึงตนเอง มีความสุ ขอย่างพอเพียง และเปลียนวิถีคิดใหม่ในเรื องของการอยู่ดีกินดี ซึ งหลักการและปรัชญาทีผูน้ าํ ชุ มชนได้ยึดถือและ นํามาใช้ในการดําเนินการตามแผนพัฒนาชุมชนตําบลวังตะกอ สามารถสรุ ปได้ดงั นี+ 1. ยึ ด หลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งตามแนวพระราชดํา ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระ เจ้าอยู่หัว ชาวชุ มชนวังตะกอได้ใช้ศาสตร์ การจัดการชุ มชน จัดการดิ น นํ+า ป่ า ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระเจ้าอยูห่ วั ทีให้ความเคารพและเลียนแบบวิถีธรรมชาติ ใช้ทรัพยากรอย่างรู ้คุณค่าและมีประสิ ทธิ ภาพมากทีสุ ด การคิดใหม่ทาํ ใหม่ตามรอยพ่อ เพือลดต้นทุนได้ 90% โดยใช้ธรรมชาติเป็ นตัวขับเคลือน ถือเป็ นวิถีทางทีจะทําให้คน สามารถอยู่ร่วมกันธรรมชาติได้อย่างสมดุ ลและยังยืน เป็ นการทําให้คนในยุคปั จจุบนั สามารถดํารงชีวติ ได้อย่างมีความสุ ข โดยไม่ทาํ ให้คนรุ่ นลูกรุ่ นหลานต้องเดือดร้อน 2. ยึดถือและเชือมันในต้นทุนภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ และให้ธรรมชาติเป็ นตัวขับเคลือน พึงพาซึ งกันและกันแทน โดยต้องเริ มจากการมองตัวตนของคนวังตะกอว่าในอดี ตเรา เคยมีสิงดีงามอะไร และเรามีความสามารถอะไรบ้าง เราจะต้องดึงข้อมูลออกมาแล้วมา ทําเป็ นองค์ความรู ้ ร่วมกันมากําหนดทิศทางสําหรับวันพรุ่ งนี+ ร่วมกัน กํานันหาคําตอบ โดยหวนกลับไปมองวันวานทีเคยอยูก่ นั มาโดยไม่ตอ้ งพึงพาสิ งเหล่านี+ สัตว์เลี+ยงอย่างวัว ควาย คือทางออกของทุกคําถาม เป็ นต้นทุนทางปั ญญาของคนรุ่ นเก่าทีถูกมองข้าม การ ขับเคลือนไปตามธรรมชาติได้อย่างครบวงจรถือเป็ นการใช้ภูมิปัญญาท้องถิน ภายใต้วิถี ของชุ มชนนั+นเอง การนําภูมิปัญญาชาวบ้าน ผูร้ ู ้ดา้ นต่างๆ ตลอดจนการมีวฒั นธรรม


128 ประเพณี อนั ดี งาม และทรัพยากรธรรมชาติ ทีมี ยงั อุ ดมสมบูรณ์ สามารถพัฒนาให้เกิ ด ประโยชน์และทําให้เกิดกิจกรรมทีสร้างอาชีพให้กบั คนวังตะกอมากมาย 3. ยึดมันในหลักการพึงพาตนเอง โดยหัวใจสําคัญก็คือการเลิ กพึงพาภายนอก แล้วก็ให้ ธรรมชาติเป็ นตัวจัดการ กํานันมองว่าการทีเราจะเริ มต้นทําสิ งใดอย่างจริ งจังนั+นจะต้อง เริ มมองทีตัวเองก่อน อย่ารอคอยแต่ความช่วยเหลื อจากผูอ้ ืน ไม่เช่ นนั+นแล้วปั ญหาก็จะ ไม่ถูกแก้ไข จะไม่มีสิงใดพัฒนาไปได้ ฉะนั+นสิ งไหนทีทําได้ ถ้าช่วยกันได้ก็ตอ้ งเริ มทํา แล้วทุกคนจะอยู่รอด โดยวิธีการของกํานันก็เริ มต้นจากตนเองก่อน โดยการทําให้ดู อยู่ ให้เห็ น ช่ วยให้องค์ความรู ้ ในแผนแม่บทก่อตัวเป็ นรู ปเป็ นร่ าง กลายเป็ นความจริ งทีจับ ต้องได้ ค่อยๆขับเคลื อนออกไปสู่ ชุมชน เมือผลของความรู ้ การพยามยามพึงพาตัวเอง และการลดต้นทุนให้เห็นเป็ นตัวอย่างในศูนย์การเรี ยนรู ้ของกํานันเริ มเป็ นทีประจักษ์ชดั มากขึ+น ชาวบ้านทีเคยรอดูทีท่าอยูห่ ่ างๆก็เริ มเข้ามาเรี ยนรู ้ แนวคิดจากศูนย์เริ มไหลออก สู่ ชุ ม ชน ความหวัง ที จะสร้ า งชุ ม ชนให้ พึ งพาตัว เองได้เพื อความสุ ข อย่า งยังยืน เริ ม ปรากฏเป็ นจริ งทีละเล็กทีละน้อยค่อยๆกระจายออกไปไม่ต่างจากนํ+าซึ มบ่อทราย 4. การให้ค่ากับความสัมพันธ์ของคนมากกว่าผลกําไร คนส่ วนใหญ่มกั จะมองว่าการใช้ ชีวติ อยูอ่ ย่างไม่ยงุ่ ยากไม่ตอ้ งลงมือลงแรงอะไรนันคือชีวติ ทีสบาย บางคนบอกว่าการทํา ปุ๋ ยหมักมันลําบาก มันไม่ง่ายเหมื อนกับการควักเงิ นจากกระเป๋ าแล้วก็เอาขึ+ นท้ายรถ ปิ กอัพ มันก็ให้ผลประโยชน์ การตัดหญ้าบํารุ งสวนไม่ง่ายเหมือนกับการจ้างคนมาฉี ด ยาฆ่าหญ้า แต่กาํ นันมองว่าสิ งทีนําความสะดวกสบายและเอาเงิ นมาเป็ นตัวตั+งนั+นคื อ หนทางทีจะเดินเข้าไปในความลําบากในอนาคต แต่ความพยายามทีจะพึงตนเองก็ไม่ได้ หมายความว่าพลิกจากหน้ามือเป็ นหลังมือได้เลย แต่ตอ้ งค่อยๆตัดทอนส่ วนทีพึงตัวเอง ไม่ได้ออกไปให้เหลือน้อยทีสุ ด แล้วหันมาพลิกฟื+ นความสัมพันธ์เชิ งพีน้อง การพึงพา อาศัย การช่วยเหลือดูแลเกื+อกูลกันอย่างเป็ นรู ปธรรม


129

ปัจจัยทีทําให้ เกิดความมันคงในครัวเรือนหรือชุ มชน

รู ้

ได้รับการ สนับสนุนจาก

รู ้

รู ้ รู ้กาล

มีผนู ้ าํ ที!

รู ้

รู ้

ความ

ศักยภา

รู ้

ความ มัน! คงใน ชุมชน

ความเข้มแข็ง ของพลังคนรุ่ น

การพัฒนาตามลําดับ มีตน้ ทุนทาง ภูมิปัญญา

การร่ วมแรงร่ วม ใจของคนใน

ภาพที 4-1 แสดงปั จจัยทีทําให้เกิดความมันคงในชุมชนวังตะกอ ทีมา: การวิเคราะห์ร่วมกันของกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน) จากภาพที 4-1 แสดงถึ งปั จจัยทีทําให้เกิ ดความมันคงในชุ มชนวังตะกอ ซึ งจากการศึกษา แผนชีวติ ชุมชนพึงตนเองตําบลวังตะกอ ทําให้พบว่ามีปัจจัยหลายประการทีมีส่วนช่วยสนับสนุ นให้ เกิดการพัฒนาทียังยืนและมันคงภายในชุมชน ซึ งสามารถสรุ ปได้ดงั นี+ 1. มีผูน้ าํ ทีดี มีความคิดทีจะพัฒนาชุ มชนอย่างจริ งจัง จึงนํามาซึ งการพูดคุ ย ขยายแนวคิด เกิดการเปิ ดเวทีการเรี ยนรู ้ของผูน้ าํ ในการร่ วมคิด ร่ วมทํา ก่อนจะนําแนวคิดไปเผยแพร่ ต่อชุ มชน การทีกํานันทําเป็ นตัวอย่าง และสร้างแรงกระตุน้ ทําให้ชาวบ้านเกิดกําลังใจ และแรงบันดาลใจในการทีจะเปลียนแปลงตนเอง เปลียนแปลงวิถีชีวิต และนําไปสู่ การ พัฒนาชุมชนได้อย่างเป็ นผลสําเร็ จ ซึ งจากการศึกษาพบว่า กํานันประวิทย์ ภูมิระวิ หรื อ


130 กํานันเคว็ด ถือเป็ นผูน้ าํ ทีมีคุณสมบัติของผูน้ าํ ทีดีตาม พระธรรมปิ ฎก ซึ งมีอยูด่ ว้ ยกัน 7 ประการ ได้แก่ 1.1 รู ้หลักการ 1.2 รู ้จุดหมาย 1.3 รู ้ตน 1.4 รู ้ประมาณ 1.5 รู ้กาล 1.6 รู ้ชุมชน 1.7 รู ้บุคคล ซึ งกํานันเคว็ดเมือดํารงตําแหน่ งอยู่ในฐานะกํานัน ทั+งยังถื อเป็ นผูน้ าํ ชุ มชน ดังนั+นก่อนจะคิดจะทําอะไรก็จะรู ้หลักการ รู ้งาน รู ้หน้าที ตั+งตนอยูใ่ นหลักการให้ได้ ทั+ง ยังรู ้ จุดหมาย ยึดมันและมีใจทีมุ่งสู่ จุดหมายอย่างแท้จริ ง แม้มีอะไรมากระทบกระทังก็ ไม่หวันไหว จึงสามารถนําชาวบ้านและชุ มชนไปถึงจุดหมายได้ รู ้ตน กํานันเคว็ดถือได้ ว่า เป็ นผู ้ที รู ้ จ ัก ตนเองเป็ นอย่ า งดี รู ้ ว่ า ตนเองคื อ ใคร มี ค วามพร้ อ ม มี ค วามถนัด มี ความสามารถอย่างไร มีกาํ ลังแค่ไหน จุดแข็งจุดอ่อนเป็ นอย่างไร รู ้ประมาณ กํานันเป็ น คนทีรู ้จกั ความพอดี รู ้จกั ขอบเขตทีเหมาะสมในการทีจะทําสิ งต่างๆ รู ้กาล คือ กํานันรู ้วา่ เวลาไหนควรจะทําอะไร และยังรู ้จกั วางแผนการใช้เวลาได้อย่างเหมาะสม รู ้ชุมชน คือ กํา นันรู ้ ว่า ชุ ม ชนวัง ตะกอกํา ลัง ตกอยู่ใ นสถานการณ์ อ ย่า งไร มี ปั ญหาอะไร มี ค วาม ต้องการอย่างไร จึงสามารถสนองความต้องการของชาวบ้านได้ถูกต้องหรื อแก้ไขปั ญหา ได้ตรงจุด และสุ ดท้ายคือ รู ้บุคคล กํานันรู ้จกั บุคคลทีเกียวข้องกับการทํางานอย่างทัวถึง อีกทั+งยังรู ้จกั การใช้คนให้เหมาะสมกับงาน จึงทําให้กาํ นันสามารถนําพาชุ มชนวังตะกอ ไปสู่ ความสําเร็ จอย่างยังยืนได้ไม่ยาก


131

2. มี ตน้ ทุ นทางปั ญญา วังตะกอถื อได้ว่าเป็ นชุ มชนที มี ประวัติความเป็ นมาที เก่ าแก่ และ ยาวนานอีกชุ มชนหนึ ง เป็ นชุ มชนทีเคยมี พิธีกรรมแห่ งความเชื อที เป็ นเอกลักษณ์ เคย อุดมสมบูรณ์มงคั ั งไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เคยมีรากฐานทางสังคม วัฒนธรรมและ เศรษฐกิจทีเข้มแข็งมาจากเนื+อในของชุมชน ต้นทุนทางภูมิปัญญาของบรรพบุรุษทีมีมาก นี+ จึงทําให้ชาวบ้านสามารถดํารงชี วิตอยูบ่ นวิถีการพึงพาตนเองได้โดยตลอดมา ดังนั+น หลังจากทีชุ มชนต้องประสบกับภาวะวิกฤตในด้านต่างๆ แกนนําชุ มชนเพียงแค่หนั มา ค้นหาศัก ยภาพที ชุ มชนเคยมี และเดิ นตามรอยบรรพบุ รุษอี ก ครั+ ง ก็ เป็ นปั จจัยที ทําให้ ชุมชนพลิกฟื+ นคืนสภาพได้ไม่ยาก 3. การร่ วมแรงร่ วมใจของคนในชุมชน ชาวบ้านทุกคนมีความมุ่งมันพยายามและทุ่มเทเพือ การจัดทําแผนแม่บทหรื อแผนชีวติ ชุมชนร่ วมกันเป็ นอย่างมาก ทําให้คนวังตะกอได้รับรู ้ และมองเห็ น ความจริ ง จากปั ญ หาที รุ ม เร้ า อยู่ และหั ว ใจสํ า คัญ ก็ คื อ การได้ส ร้ า ง กระบวนการเรี ยนรู ้ ให้เกิ ดขึ+นกับผูค้ นในชุ มชน การได้หนั กลับมาทําความรู ้ จกั กับราก เง้า รู ้อดีต รู ้จกั ตัวเอง จนเกิดเป็ นความภาคภูมิใจในวิถีของชุ มชน รู ้เท่าทันโลกภายนอก และเปลี ยนวิธี คิดเดิ ม ไปสู่ วิธี คิ ดใหม่ เพื อพาชุ ม ชนให้หลุ ดพ้นไปจากกรอบคิ ดแบบ พึงพาและรอความช่วยเหลือจากรัฐหรื อภายนอกแต่เพียงอย่างเดียว ทําให้ชุมชนมีความ เข้มแข็งมากขึ+น คนมามี ส่วนร่ วมกับชุ มชนมากขึ+น มี การคิ ดร่ วมกัน ทําร่ วมกัน และ ผลประโยชน์ก็เกิ ดร่ วมกัน ชาวบ้านมีความมันใจในการดํารงชี วิตมากขึ+น นําไปสู่ การ รู ้จกั รักษาและหวงแหนชุมชนของตน 4. การพัฒนาตามลําดับขั+นอย่างค่อยเป็ นค่อยไป กํานันกล่าวเสมอว่าถ้าตัดกล้วยมาเครื อ หนึ งแล้วเอาแก๊สใส่ ไปเพือบ่มกล้วยเพียงวันเดี ยวกล้วยก็สุกพร้ อมรั บประทาน แต่ถ้า ถามถึงรสชาติวา่ เป็ นอย่างไร ก็ตอบได้เลยว่าไม่อร่ อย ในทางกลับกันถ้าปล่อยให้มนั สุ ก ไปที ล ะลู ก จนหมดเครื อ มัน จะได้ก ล้ว ยที มี ร สชาติ กิ น อร่ อ ยเก็ บ ได้น านคุ ณ ภาพดี เพราะฉะนั+นก็เช่ นเดี ยวกันกํานันไม่อยากให้ชุมชนใดชุ มชนหนึ งเปลี ยนวิธีทาํ วิถีการ ดําเนิ นชี วิตแบบหน้ามือเป็ นหลังมือ การเปลียนแปลงโดยเร็ วแล้วทําให้ตนเองลําบากก็ ไม่ได้เรี ยกว่าเป็ นการพัฒนา แต่การที ค่อยๆเปลี ยนไปตามเหตุ ปัจจัยมันจะทําให้การ เปลียนแปลงนั+นมันคงยังยืน ซึ งก็คือการดํารงไว้ซึงความรู ้ เดิ นช้าๆอย่างมันคง ความ ผิดพลาดก็จะมีไม่มาก หรื อหากมีก็จะสามารถกลับมาทบทวนเพือแก้ไขใหม่ได้


132

5. การได้รับการสนับสนุ นจากหน่วยงานของรัฐ ซึ งรวมถึงองค์กรต่างๆทั+งในท้องถินและ ส่ วนกลางให้การสนับสนุ น ทั+งกํานัน ผูใ้ หญ่บา้ นสามารถทํางานเข้ากับ อบต.ได้ดี ไม่มี การลํ+าเส้นกัน อีกทั+งยังสามารถทํางานเป็ นทีม ประสานงานกันดี แบ่งหน้าทีกันชัดเจน สนั บ สนุ น กัน ตามภารกิ จ มุ่ ง พัฒ นาชุ ม ชนโดยรวม จึ ง ทํา ให้ ก ารทํา งานประสบ ความสําเร็ จ นอกจากนี+ยงั มีเครื อข่ายภาคประชาชนเข้ามาเป็ นพันธมิตรหนุ นเสริ ม จึงทํา ให้การดําเนินงานเป็ นไปอย่างราบรื น 6. ความเข้มแข็งของพลังคนรุ่ นใหม่ เนื องจากความยังยืนและความสุ ขของชี วิตในชุ มชน ใดก็ตามไม่ได้สร้างให้เกิดขึ+นได้ภายในชัวอายุคนแล้วจะยืนยงถาวรตลอดไป เพราะบน ความพยายามแก้ปัญหา ก็ยอ่ มมีปัญหาและนวัตกรรมใหม่ๆเกิดขึ+นตามมาเสมอ ชุ มชน จะเป็ นสุ ขได้จึงต้องเท่าทันปั ญหา เท่าทันความเปลียนแปลง เท่าทันความต้องการและกิ เลศอยู่ตลอดเวลา ชุ ม ชนจึ ง ต้องมี ค นรุ่ นใหม่ ที จะเติ บ โตเป็ นพลัง ความเข้ม แข็ง ของ ชุมชนในวันข้างหน้า เข้ามาสื บสานสิ งทีคนรุ่ นก่อนก่อเอาไว้ จึงจะทําให้ชุมชนสามารถ พัฒนาไปได้อย่างยังยืน การบริหารงานแบบพึงพาตนเองของชุ มชน จากการศึกษา พบว่า กํานันประวิทย์ ภูมิระวิ ผูน้ าํ ชุ มชนวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัด ชุ มพร ได้นาํ แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงมาใช้ในการบริ หารจัดการชุ มชน โดยมีการประยุกต์ รวมเข้าไปในทุกๆขั+นตอนของการบริ หารจัดการ เมื อเปรี ยบเทียบกับ deming cycle แล้ว มีผล ดังต่อไปนี+


133

ลักษณะ ปั ญหาปั ญหา

Plan

Do

1.กําหนดแกนนํา 2.สร้างความเข้าใจ 3.จัดเก็บและรวบรวมข้อมูล 4.วิเคราะห์ขอ้ มูล 5.เรี ยนรู้ทรัพยากรในท้องถิ!น 6.กําหนดวิสยั ทัศน์ตลอดจน แผนงานโครงการ

การสื! อสาร

การจูงใจ

Check

การควบคุม

Act

ภาพที 4-2 การบริ หารคุณภาพโดยใช้เครื องมือ Deming Cycle ของชุมชนวังตะกอ ทีมา: การวิเคราะห์ร่วมกันของกลุ่มปั ญหาพิเศษ (การบริ หารต้นทุน) จากภาพที 4-2 สามารถอธิ บายได้วา่ 1. การวางแผน (Plan: P) การวางแผนในการนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพือการพัฒนาที ยังยืนมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชุมชนวังตะกอ มีวธิ ี การต่างๆ แสดงในภาพที 4-2 ดังนี+ 1.1 กําหนดแกนนํา และผูป้ ระสานงานแผนชี วิตชุ มชน โดยมี การคัดเลื อกแกนหลัก ขึ+ นมาเป็ นตัวแทนของชาวบ้า นแต่ละหมู่ บา้ น ซึ งจะมี หน้าที เข้าร่ วมการประชุ ม ระดับตําบลเพือกําหนดแผนงานและทิศทางของแผน และกลับไปชี+ แจงทําความ เข้าใจกับประชาชนในหมู่บา้ น รวมทั+งค้นหา และขยายแกนนําในหมู่บา้ นเพือมา ช่ ว ยทํา งาน อี ก ทั+ง ยัง มี ก ารแต่ ง ตั+ง ที ปรึ ก ษา ซึ งได้แ ก่ ห น่ ว ยงานภายนอก และ


134 ผูท้ รงคุ ณ วุ ฒิ เพื อมาเป็ นผูช้ ่ ว ยริ เ ริ มวางแผนกระบวนการดํา เนิ น งานและช่ ว ย ขับเคลือนแผนชีวติ ชุมชนไปอย่างเป็ นขบวนทั+งตําบล 1.2 สร้างความเข้าใจระหว่างผูน้ าํ และชาวบ้าน มีการจัดประชุ มพูดคุยแลกเปลียนความ คิดเห็น เป็ นการค้นหาปั ญหาทีแท้จริ งของชาวบ้าน เป็ นทั+งการค้นหา เรี ยนรู ้ และ พัฒนาผูน้ าํ ควบคู่กนั ไป เป็ นการปรับวิธีคิดของผูน้ าํ และชาวบ้านให้ตรงกัน ซึ งจาก การจัดเวทีสร้ างความเข้าใจร่ วมกันนี+ ก็ทาํ ให้ทราบ ถึ งสาเหตุของปั ญหา ปั ญหาที เกิดขึ+น ตลอดจนการเปลียนแปลงทีเกิดขึ+นทั+งหมดกับตําบลวังตะกอตลอดระเวลา 40 ปี ทีผ่านมา ทําให้ชาวบ้านได้รู้จกั รากเหง้า รู ้จกั อดีต รู ้จกั ชุ มชนของตนเอง และ รู ้จกั โลกภายนอกมาขึ+น ทําให้มองเห็นเป้ าหมายของการทํางานได้อย่างชัดเจนมาก ยิงขึ+น 1.3 การจัดเก็ บ และรวบรวมข้อมู ล หลัง จากที แกนนํา ได้ท ราบถึ ง ปั ญหาและความ เปลี ยนแปลงที เกิ ดขึ+ นในชุ ม ชน ก็ไ ด้มี ก ารวางแผนที จะเก็ บ รวบรวมข้อมู ล ราย ครอบครัว เพือให้แต่ละครอบครัวได้รู้จกั ตนเองอย่างแท้จริ ง 1.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล จากการเก็บรวบรวมข้อมูล นํามาสู่ การวิเคราะห์ร่วมกัน ทําให้ ทราบข้อมูลทีสําคัญทีจะช่วยในการวางแผนการดําเนิ นงานหลายประการด้วยกัน เช่ น ข้อมูลด้านรายได้ของชุ มชน ทําให้ทราบว่ารายได้หลักของชาวบ้านมาจาก อาชี พเกษตรกรรม และอาชี พรั บจ้า ง ส่ วนข้อมูลด้านรายจ่ ายของชุ ม ชน ทําให้ ทราบว่า ค่าใช้จ่ายหลักทีชาวบ้านต้องจ่ายเป็ นจํานวนมาก คือ ค่าใช้จ่ายในการผ่อน ชํา ระหนี+ ค่ า ใช้สอย และค่ า อาหารประจํา วัน และพบว่า ค่ า ใช้จ่า ยของชาวบ้า น มากกว่ารายได้ถึง 2 เท่า ซึ งส่ วนใหญ่เป็ นรายจ่ายทีไหลไปสู่ ระบบเศรษฐกิจนอก ชุมชน และค่าใช้จ่ายจํานวนมากเป็ นรายจ่ายทีไม่จาํ เป็ น สามารถหาซื+ อได้ในชุ มชน แต่ย งั ขาดการจัดการที เป็ นระบบ ซึ งข้อมูลส่ วนนี+ เป็ นส่ วนที สําคัญที แกนนําจะ สามารถนําไปกําหนดทิศทางของแผนได้อย่างถูกต้องมากขึ+น 1.5 การเรี ยนรู ้ทรัพยากรในท้องถิน ตลอดจนศึกษาถึงต้นทุนภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ทีเคยมีมาในครั+งอดีต ทําให้ชาวบ้านรู ้จกั รากเหง้า รู ้จกั ชุ มชน รู ้จกั ตนเอง แกนนําก็ จะสามารถวางแผนการจัดการได้ดียิงขึ+น ทีสําคัญคือทรัพยากรอาหาร หรื อพืชทีมี


135 ในท้อ งถิ น ซึ งถื อ เป็ นปั จ จัย หลัก ในการดํา เนิ น ชี วิ ต แกนนํา ต้อ งสามารถวาง แผนการจัดการเพือให้เกิดความยังยืนทางอาหาร โดยแกนนํามีการวางแผนในการ ให้ชาวบ้านปลู กข้าว และพืชผักสวนครัว เพือใช้ในการบริ โภคภายในครั วเรื อน โดยมีเครื อข่ายภายนอกร่ วมด้วย ซึ งจะเป็ นการช่ วยลดการรัวไหลของเงิ นภายใน ชุมชนออกสู่ ภายนอก 1.6 มีการกําหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ การพัฒนา แผนงานและกิ จกรรม โครงการ ซึ งทุ ก ส่ ว นถู ก กํา หนดขึ+ น มาอย่า งสอดคล้อ งและเป็ นไปในทิ ศ ทาง เดียวกัน โดยมีแนวทางในการพัฒนาคน ส่ งเสริ มอาชี พ สร้างหมู่บา้ นให้เข้มแข็ง สู่ ความเป็ นอยูอ่ ย่างสงบสุ ขของครอบครัวอย่างยังยืน และทุกแผนงานโครงการถูก กําหนดขึ+นมาโดยคํานึงถึงองค์ประกอบหลัก 3 ประการ ได้แก่ ด้านครอบครัว ด้าน ชุมชน และด้านความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน 2. ขั+นตอนการปฏิ บตั ิ (Do: D) เป็ นขั+นตอนการลงมือปฏิ บตั ิตามแผนงานโครงการทีได้ กํา หนดไว้ใ นขั+นตอนการวางแผน ซึ งในขั+น ตอนนี+ ต้อ งมี ท+ งั การสั งการ (Directing) ระหว่า งปฏิ บ ัติ ด้ว ยว่า ได้ด ํา เนิ น ไปในทิ ศ ทางที ตั+ง ใจหรื อ ไม่ พร้ อ มกับ มี ก ารสร้ า ง แรงจูงใจ (Motivating) ให้กบั ชาวบ้านภายในชุ มชนเพือเป็ นการกระตุน้ ให้เกิดกําลังใจ และความพยายามในการทําให้บรรลุเป้ าหมาย 2.1 การสังการ (Directing) เป็ นขั+นตอนทีปฏิบตั ิตามแผนทีได้วางไว้ หลังจากทีแกนนํา ได้เข้าร่ วมประชุ มเพือรับทราบถึงแผนงานโครงการต่างๆแล้ว ก็ได้มีการชี+ แจงทํา ความเข้า ใจกับ ชาวบ้า นภายในหมู่ บ ้า นของตน เพื อทํา การแบ่ ง หน้ า ที ความ รับผิดชอบตามกิ จกรรมต่างๆ และเริ มลงมื อปฏิ บตั ิ ตามความรั บผิดชอบที ได้รับ มอบหมาย โดยชาวบ้านได้มีการจดบันทึกรายรั บรายจ่ายภายในครัวเรื อนและมี การวางงบประมาณเพือควบคุ มค่าใช้จ่ายและเป็ นตัววัดผลในการดําเนิ นกิ จกรรม นอกจากนี+ยงั ได้มีการเผยแพร่ ความรู ้ไปสู่ ชมชนรอบข้างอีกด้วย 2.2 การสร้ างแรงจูงใจ (Motivating) ผูน้ าํ ชุ มชนได้แก่ นายประวิทย์ ภูมิระวิ เป็ นผูม้ ี บทบาทสําคัญในการสร้างแรงจูงใจให้กบั ชาวบ้านในชุ มชน กํานันเคว็ดไม่ใช่ผนู ้ าํ แบบสังการให้พนักงานทําตามคําสังเท่านั+น แต่ยงั เป็ นผูน้ าํ ทีปฏิบตั ิให้เห็นจริ งโดย


136 การปฏิ บตั ิให้ดูเป็ นตัวอย่าง ซึ งวันที 15 ตุลาคม 2546 เป็ นวันที ชาววังตะกอ ประกาศใช้แผนแม่บทชุ มชน แต่งานของกํานัน ประวิทย์ ซึ งเป็ นหนึ งในคนตั+งต้น ยังไม่สิ+นสุ ดลงเพียงเท่านั+น กว่าแผนแม่บทชุ มชนจะสําเร็ จลงไม่ใช่ เรื องง่าย การ ผลักดันให้คน 7,000 คน 13 หมู่บา้ น ทั+งตําบล วังตะกอ นําแผนแม่บทชุ มชนไป ปฏิบตั ิให้เป็ นจริ ง เป็ นเรื องทียากยิงกว่า ในฐานะทีตนเองประสบปั ญหา ถูกโรคภัย จากการพัฒนารุ มเร้าไม่ต่างจากชาวบ้านคนอืนๆ กํานันจึงจับจอบ จับเสี ยม แปลง ตัวหนังสื อในแผนออกมาเป็ นต้นไม้ หมู เห็ด เป็ ด ไก่ ใส่ ลงในพื+นทีดินพรุ 27 ไร่ เพือรักษาโรคความยากจนให้เห็นเป็ นต้นแบบ การทําให้ดู อยู่ให้เห็น ช่ วยให้องค์ ความรู ้ ในแผนแม่บทก่อตัวเป็ นรู ปเป็ นร่ าง กลายเป็ นความจริ งทีจับต้องได้ ค่อยๆ ขับเคลื อนออกไปสู่ ชุ มชน เพือแก้ไขโรคความจนและความทุ กข์ให้ตรงจุ ดตาม ข้อมูลแผนชี วิตชุ มชนทีระบุชดั ว่า หนี+ สินของคนวังตะกอมาจากรายได้ทีน้อยกว่า รายจ่าย และรู รัวทีใหญ่ทีสุ ดของเกษตรกรก็คือ การพึงพิงตลาดภายนอกในแทบทุก ปั จจัยในการดํา รงชี พ โดยเฉพาะ ปุ๋ ย ยา และสารเคมี ทางการเกษตรที ต้องจ่า ย ออกไปไม่ตากว่ ํ าปี ละ 8 ล้านบาท ซึ งการกระทําในลักษณะนี+ทาํ ให้ชาวบ้านเห็นถึง ความตั+งใจ ความพยายามของผูน้ าํ ทําให้มีกาํ ลังใจ เกิ ดแรงกระตุน้ ในการทํางาน ผูน้ ํา เองก็ จ ะทราบถึ ง ลัก ษณะและอุ ป สรรคที แท้จ ริ ง ของงาน เพื อที จะนํา ไป ปรับปรุ งแก้ไขอย่างรวดเร็ ว 3. การตรวจสอบ (Checking: C) เป็ นการควบคุ ม การเฝ้ าระวัง การตรวจติดตาม การวัด และการประเมินผลการดําเนิ นงาน โดยชุ มชนวังตะกอมีการตรวจสอบและควบคุมจาก การเริ มนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพือการพัฒนาทียังยืนมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา ชุมชนดังนี+ หลังจากทีได้สาํ รวจและวิเคราะห์ขอ้ มูลแล้ว ได้จดั ให้แกนนําไปศึกษาดูงานการทํา แผนชี วิตชุ มชน ณ ตําบลต้นแบบ เพือใช้ใ นการเปรี ย บเที ย บและประเมิ นถึ งโอกาส ความสําเร็ จของแผนของตนเอง อีกทั+งยังเป็ นการเพิมวิสัยทัศน์ให้กบั ผูป้ ฏิ บตั ิงาน เช่ น การดูงานทีตําบลเกาะขันฑ์ อําเภอชะอวด จังหวัดนครศรี ธรรมราช ตลอดจนการเข้าร่ วม เวทีแผนชี วิตชุ มชนที จัดขึ+นเมื อวันที 12-14 มี นาคม 2546 ซึ งการศึ กษาดูงานตําบล ต้นแบบทําให้กระบวนการในการแก้ไขปั ญหาเพือการพัฒนาศักยภาพชุ มชน ตลอดจน


137 การเชื อมโยงกิ จกรรมต่างๆทีเกิ ดขึ+น ซึ งความรู ้ เหล่านี+ ได้ถูกนํามาปรับใช้เป็ นแนวทาง ในการพัฒนาของวังตะกอ นอกเหนื อจากนี+ การดําเนิ นงานในกิ จกรรมโครงการต่างๆ มีหลายๆโครงการทีมี ลักษณะของการบริ หารจัดการแบบสหกรณ์ อาทิ เช่ น ร้ านค้าชุ มชน ปั+ มนํ+ามันชุ มชน และโรงงานนํ+าดืมวังตะกอ เป็ นต้น โครงการเหล่านี+ จึงมีการจัดตั+งคณะกรรมการขึ+นมา ดูแลบริ หารงาน ซึ งคณะกรรมการจะถูกเลือกขึ+นมาดํารงตําแหน่งโดยการออกเสี ยงของ สมาชิ กโครงการ ซึ งคณะกรรมการเหล่านี+ จะมีวาระการดํารงตําแหน่ง เมือหมดวาระก็ จะต้อ งเปลี ยนชุ ด กรรมการ ซึ งคณะกรรมการแต่ ล ะชุ ด ก็ จ ะมี ห น้า ที บริ ห ารจัด การ ควบคุมดูแล ตรวจสอบติดตาม วัดผลและประเมินผลการดําเนินงาน และคณะกรรมการ เหล่านี+ ก็จะถูกตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบตั ิงานโดยสมาชิ กในโครงการอีกทอด หนึ ง หากสมาชิ กเห็นว่าคณะการมีผลการปฏิบตั ิงานทีดี เป็ นทีน่าพอใจ ก็อาจจะได้รับ เลือกให้ดาํ รงตําแหน่งในวาระสมัยต่อไป แต่หากพบว่าคณะกรรมการมีการละเลยการ ปฏิบตั ิหน้าที ไม่ให้ความสนใจในการปฏิบตั ิหน้าที หรื อมีการทุจริ ต สมาชิกก็อาจจะทํา การพิจารณาเลื อกคณะกรรมการท่านอืนให้ข+ ึนมาปฏิบตั ิหน้าทีแทนคณะกรรมการชุ ด เดิม กํา นัน มี ห ลัก คิ ด ในการพัฒ นาก็ คื อ กํา นัน ไม่ ต้อ งการให้ ชุ ม ชนใดชุ ม ชนหนึ ง เปลียนแปลงวิถีชีวติ ไปเลยแบบหน้ามือเป็ นหลังมือ หากเปลียนแปลงเร็ วเกินไปก็จะทํา ให้ตนเองลําบาก แต่การทีค่อยๆเปลี ยนไปตามเหตุปัจจัยมันจะทําให้การเปลี ยนแปลง นั+นมันคงยังยืน ซึ งก็คือการดํารงไว้ซึงความรู ้ ค่อยๆก้าวเคลือนไปช้าๆ อย่างมันคง ก็จะ เกิดความผิดพลาดไม่มาก สามารถกลับมาทบทวนใหม่ได้ตลอดเวลา ซึ งจากการดําเนิ น กิ จกรรมโครงการต่างๆ สามารถสรุ ปผลการดําเนิ นงานในภาพรวมออกเป็ น 2 ส่ วน ดังต่อไปนี+ ส่ วนที 1 การลดรายจ่าย เท่ากับการเพิมรายได้ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจ และพลังงาน ในภาพรวมของตําบลวังตะกอระหว่างปี 2552 – 2553 พบว่า รายรับรวมปี 2553 เพิมขึ+น 31.68 ล้านบาท คิดเป็ น 190% ของรายรับรวมปี 2552 ดังแผนภูมิที 4-1


138

แผนภูมิที 4-1 แผนภูมิเปรี ยบเทียบรายรับรวมระหว่างปี 2552 และ 2553 ทีมา: วารสารรวมองค์ความรู ้ จากโครงการรักษ์ป่า สร้างคน ๘๔ ตําบล วิถีพอเพียง (2554) หน้า 36 ส่ วนที 2 ปริ มาณการปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ทีลดลง ตําบลวังตะกอลดการ ปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ลงได้ ๑,๐๖๘,๓๙๙ กิโลกรัม จากกิจกรรม การปลูกต้นไม้ การทําปุ๋ ยอินทรี ย ์ กิจกรรมรณรงค์การประหยัดพลังงาน การแปรรู ปผลิตภัณฑ์ จากเศษ วัสดุ ธรรมชาติ และพลัง งานทดแทนที ใช้แทนแก๊ส หุ งต้ม แสดงได้ดงั ตารางที 4-1 ต่อไปนี+


139 ตารางที 4-1 แสดงปริ มาณการปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ทีลดลง หน่วย : กิโลกรัม CO2 กิจกรรม ปริมาณ CO2 ทีลดการปล่ อยลง ปลูกต้นไม้ แปรรู ปผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุธรรมชาติ การทําปุ๋ ยอินทรี ย ์ พลังงานทดแทนทีใช้แทนแก๊สหุ งต้ม กิจกรรมรณรงค์การประหยัดพลังงาน

803,190 5,444 223,260 1,638 7,867

รวม 1,068,399 หมายเหตุ: เก็บข้อมูลจากกลุ่มครัวเรื อนพอเพียงทีเข้าร่ วมโครงการ ทีมา: วารสารรวมองค์ความรู ้ จากโครงการรักษ์ป่า สร้างคน ๘๔ ตําบล วิถีพอเพียง (2554) หน้า 38 4. การปรับปรุ งแก้ไขส่ วนทีมีปัญหา (Act: A) หรื อถ้าไม่มีปัญหาใดๆก็ยอมรับแนวทางการ ดําเนิ นงานตามแผน โดยชุ มชนวังตะกอมีการปรับปรุ งและแก้ไขจากการเริ มนําแนวคิด เศรษฐกิ จพอเพี ย งเพื อการพัฒนาอย่า งยังยืนมาประยุก ต์ใ ช้ใ นการดํา เนิ นการพัฒนา ชุมชนดังนี+ กระบวนการจัดทําแผนชี วิตชุ มชนพึงตนเองตําบลวังตะกอ ได้มีการยึดหลักการ การปรับปรุ งแก้ไขส่ วนทีมีปัญหา มาตั+งแต่กระการเริ มต้นของแผน นันก็คือเมือค้นพบ ถึงปั ญหาทีชุ มชนกําลังประสบแล้ว จากนั+นจึงเกิ ดการพูดคุยและขยายแนวคิดไปสู่ ผนู ้ าํ ท้องถิน ผูน้ าํ ท้องที และผูน้ าํ ตามธรรมชาติ มีการเปิ ดเวทีย่อยหมุนเวียนปรับเปลียนไป ในแต่ละหมู่บา้ นเพือให้เป็ นเวทีการเรี ยนรู ้ ของผูน้ าํ ในการร่ วมคิ ด ร่ วมทํา ก่ อนจะนํา แนวคิดเผยแพร่ ต่อไปในชุมชน การเปิ ดเวทียอ่ ยและการทําแบบฟอร์ มออกสํารวจข้อมูล ชี วิตและความเป็ นจริ งของชุ มชนอย่างครบถ้วน ครอบคลุ มทุกด้าน ทําให้คนวังตะกอ ค้นพบตัวเอง มองเห็ นจุดแข็งและต้นทุนทางสังคมทียังเหลื ออยู่ พร้ อมกับพบจุดอ่อน เป็ นข้อมู ล ตัวเลขที น่ า จะนํา มาซึ งสาเหตุ แห่ ง ความป่ วยไข้อ่อนแอลงของสั ง คมและ ชุมชน หลังจากนั+นก็ได้มีการร่ วมกันคิด วางแผนการปฏิบตั ิกิจกรรมโครงการ ซึ งแต่ละ กิจกรรมจะมีการนําไปทดลองปฏิบตั ิโดยผูน้ าํ ชุ มชน หากผูน้ าํ พบว่ากิ จกรรมโครงการ


140 ใดที วางแผนไว้มี ปั ญ หาหรื ออุ ป สรรค ทํา ให้ก ารดํา เนิ น ตามแผนไม่ ราบรื นหรื อไม่ ประสบผลสําเร็ จ ก็จะทําการประชุ มหารื อกัน เพือหาทางออกทีเหมาะสม เพือให้ได้มา ซึ งแนวทางการดําเนิ นกิ จกรรมทีถู กต้องเหมาะสมและมีลกั ษณะครอบคลุ มวงจรชี วิต และวิถีการดําเนินชีวติ ของชาวบ้านในชุมชนมากทีสุ ด วัง ตะกอคื อชุ ม ชนต้น แบบที เอาอดี ต และความล้ม เหลวมาเป็ นบทเรี ย น ความ ผิดพลาดและปั ญหามากมายทีเกิ ดขึ+นจากการหลงไปกับค่านิ ยมภายนอก ทําให้คนวัง ตะกอหันกลับ มาค้นหารากเหง้าจนรู ้ จกั ตัวเองและรู ้ เท่าทันโลกภายนอก ต้นทุ นทาง สังคมเดิ มและภูมิปัญญาทีสังสมมาแต่บรรพบุรุษทําให้คนวังตะกอหันกลับมาเรี ยนรู ้ ที จะพึงตนเอง มีความสุ ขอย่างพอเพียงและเปลียนวิถีคิดใหม่ในเรื องของการอยูด่ ีกินดี


141 บทที 5 สรุ ปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ จากการศึกษาเรื อง การบริ หารต้นทุนตามแนวทางการจัดการแผนเศรษฐกิจเพือการพัฒนา อย่างยังยืนของชุ มชน กรณี ศึกษา ตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัดชุ มพร ทําให้ทราบถึ งการ ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง โดยพบว่าชุ มชนวังตะกอได้มีการศึกษาถึ งแนวคิดหลัก คื อ การพึงตนเองและนํามาประยุกต์ใช้โดยน้อมนําหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว มาใช้อย่างค่อยเป็ นค่อยไป จนสามารถนําชุ มชนให้ประสบความสําเร็ จ สามารถพึงตนเองได้ และ เผยแพร่ ไปสู่ ชุมชนรอบข้างเพือนําไปสู่ ความยังยืนของสังคมและประเทศชาติสืบไป องค์ ประกอบของชุ มชนทีจะพัฒนาไปสู่ ความยังยืน จากการศึกษาแผนชีวติ ชุมชนพึงตนเอง ตําบลวังตะกอ พบว่า วังตะกอมีองค์ประกอบหลาย ประการทีมีส่วนทําให้ชุมชนสามารถพัฒนาไปสู่ ความยังยืนได้ โดยเมือนําไปวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ กับ 8 เป้ าหมายสู่ วถิ ีแห่งความพอเพียง จากบันทึกเดินทางคนพอเพียง โครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ตําบลวิถีพอเพียง บริ ษทั ปตท.จํากัด พบว่าได้ขอ้ สรุ ปดังนี8


142

ภาพที 5-1 8 เป้ าหมายสู่ วถิ ีแห่งความพอเพียง ทีมา: บันทึกเดินทางคนพอเพียง โครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ตําบลวิถีพอเพียง บริ ษทั ปตท. จํากัด 2550 – 2552 1. วิ เ คราะห์ ชุ ม ชน กํา นัน เคว็ ด ซึ งเป็ นแกนนํา ของชุ ม ชนวัง ตะกอได้ท ํา แผนชุ ม ชน พึงตนเองโดยเริ มจากการมุ่งให้ชาวบ้านในชุ มชนรู ้จกั ตัวตนด้วยการวิเคราะห์ตนเอง ให้ ชาวบ้านได้ทาํ บัญชี ครัวเรื อนเพือสํารวจ รายรับ-รายจ่าย และร่ วมกันวิเคราะห์สาเหตุ ของปั ญหาและนําไปสู่ การจัดทําแผนและกิจกรรมโครงการต่างๆ อาทิเช่น การผลิตปุ๋ ย หมักชี วภาพ โครงการธนาคารต้นไม้ ร้ านค้าชุ มชน เป็ นต้น เพือสนับสนุ นและแก้ไข ปั ญหาได้อย่างประสบผลสําเร็ จ 2. ทักษะชุ มชน กิ จกรรมโครงการและแนวทางทีใช้ในการแก้ปัญหาของชุ มชนวังตะกอ นั8น ล้วนแล้วแต่มีความครอบคลุมวงจรชี วิตและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในชุ มชน มีการส่ งเสริ มให้พึงพาตนเองในการดํารงชี วิต รวมทั8งทักษะในการประกอบอาชี พบน พื8 น ฐานของความถนัด ความสามารถ และทรั พ ยากรที มี อ ยู่ พัฒ นาสู่ ก ารรวมกลุ่ ม กิจกรรมทีหลากหลายในชุ มชน เพือสร้างรายได้และความสัมพันธ์ภายในชุ มชน ควบคู่ กับการพัฒนาระบบบริ หารจัดการ ทั8งด้านต้นทุนการผลิต การตลาด และการจัดทําบัญชี ขยายผลสู่ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน สหกรณ์ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ลไกคณะทํา งานเพื อชุ ม ชนที


143 หลากหลาย ต่อเนือง มีการสื บทอด สร้างผูน้ าํ รุ่ นใหม่ ซึ งเป็ นหนึงในรากฐานสําคัญของ การดําเนินชีวติ แบบพอเพียง 3. ทรัพยากรชุ มชน กํานันเคว็ดปลูกฝังให้ชาวบ้านรู ้จกั ทีจะอยูร่ ่ วมกับธรรมชาติ ให้รู้จกั รู ้ ใช้ รู ้ รักษาและเพิมพูนทรัพยากร ซึ งจะเปรี ยบเสมือนทุนชี วิต ที ประกอบด้วย ทุนทาง สั ง คมซึ งได้แ ก่ ประวัติศ าสตร์ ชุ ม ชนวัง ตะกอที เก่ า แก่ ย าวนาน พิ ธี ก รรม ความเชื อ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิ ปัญญา ส่ วนกฎระเบี ยบต่ างๆนั8น ได้แก่ ดิ น นํ8า ป่ า และทุ น ทรัพยากรบุคคล ได้แก่ ผูร้ ู ้ในท้องถิน ปราชญ์ชาวบ้าน คนต้นแบบ ซึ งเมือพิจารณาโดย ภาพรวมแล้ว ชุมชนวังตะกอถือได้วา่ มีครบถ้วนทุกองค์ประกอบจึงทําให้ชุมชนสามารถ พัฒนาไปสู่ ความพอเพียงอย่างยังยืนได้ 4. พลังงานชุ มชน ชุ มชนวังตะกอเป็ นพื8นที ที สามารถปลู กปาล์มนํ8ามัน ซึ งถื อได้ว่าเป็ น วัตถุดิบหลักในการผลิตพลังงานทดแทนซึ งก็คือนํ8ามัน แต่ชาวบ้านนิ ยมทีจะขายวัตถุดิบ เหล่านี8ให้กบั นายทุนในราคาทีตํา จึงทําให้ชุมชนวังตะกอยังต้องพึงพา หาซื8 อนํ8ามันจาก ภายนอก การพัฒนาแหล่งวพลังงานทดแทนในชุ มชน เช่ น พลังงานชี วมวล พลังงาน จากแก๊สชี วภาพ พลังงานไบโอดี เซล เป็ นต้น ยังไม่ถูกกระทําอย่างแพร่ หลาย จึงทําให้ การพึงพาตนเองด้านพลังงานของชุมชนวังตะกอยังไม่ประสบผลสําเร็ จเท่าทีควรนัก 5. พัฒนาจิตใจ กํานันเคว็ดเน้นการปลูกฝั งคุ ณงามความดี ให้เกิ ดขึ8นในจิตใจของชาวบ้าน ไปพร้ อมๆกับการพัฒนาชุ มชน ให้คุณค่าความสําคัญกับความสัมพันธ์ของคนมากกว่า เงิ น ทอง สร้ า งคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมให้ เ กิ ดขึ8 น ในตัว บุ ค คลและชุ ม ชน ทั8ง ความ ซื อสั ต ย์สุ จ ริ ต ความขยัน อดทน การแบ่ ง ปั น การเสี ย สละเพื อส่ ว นรวม มี จิ ต อาสา คํานึ งถึ งสังคมและสิ งแวดล้อมและลูกหลานควบคู่กบั การอนุ รักษ์และฟื8 นฟูประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิน การพัฒนาเช่นนี8 ก็จะทําให้สิงดี งามทีเคยมีมานับแต่อดีตไม่ถูก ทําลาย หรื อสู ญหายไป แต่จะยังคงดํารงอยูร่ ่ วมกับปั จจุบนั ได้อย่างงดงาม 6. โรงเรี ยนครู เยาวชน การบริ หารจัดการความรู ้ในท้องถินหรื อชุ มชนวังตะกอ ยังไม่ได้ถูก ดําเนิ นการอย่างแพร่ หลายเท่าทีควรนัก มีแต่เพียงการเน้นยํ8าเรื องการรวบรวม พัฒนา ประยุกต์ใช้และเผยแพร่ ความรู ้เกียวกับเศรษฐกิจพอเพียงเท่านั8น มีการให้ทุนการศึกษา เพื อเป็ นสวัส ดิ ก ารให้ ก ับ บุ ต รหลานของคนในชุ ม ชน แต่ ย งั ไม่ ไ ด้มี ก ารสนับ สนุ น


144 ทางด้านการศึ กษาอย่างเป็ นรู ปธรรม หรื อแก้ปัญหาความขาดแคลนภายในชุ มชนได้ อย่างเฉพาะด้านหรื อตรงจุด ซึ งหากชุ มชนวังตะกอได้รับการพัฒนาสนับสนุ นทางด้าน การศึกษา ก็จะทําให้ชุมชนสามารถเข้าใกล้ความเป็ นชุ มชนพอเพียงอย่างยังยืนได้มาก ขึ8นไปอีก 7. สิ งแวดล้อมและสุ ข ภาวะ ความต้องการในการที จะเปลี ยนความคิ ดและวิถีชี วิตของ ชาวบ้า นในชุ ม ชนสู่ ค วามพอเพี ย ง โดยการบริ หารจัดการดู แลรั กษาสภาพแวดล้อม ชุ มชน สร้ างจิ ตสํานึ กในการดํารงชี วิตอย่างเกื8 อกูลต่อธรรมชาติ การอาศัยอยู่ร่วมกับ ธรรมชาติได้อย่างสมดุ ล ทําให้คนวังตะกอในยุคปั จจุบนั สามารถดํารงชี วิตได้อย่างมี ความสุ ขโดยไม่ ทาํ ให้ค นรุ่ นหลัง ต้องเดื อนร้ อน ถื อได้ว่า เป็ นแนวทางในการพัฒนา ชุมชนสู่ ความยังยืนทีสําคัญอีกแนวทางหนึง 8. กองทุ นชุ มชน ชาวชุ มชนวังตะกอมีการจัดตั8งระบบสวัสดิ การชุ มชนในรู ปแบบต่างๆ เช่ น กองทุ นกู้ยื ม ธนาคารต้นไม้ การให้ ทุ นการศึ ก ษา การสร้ า งที อยู่อาศัย เป็ นต้น สวัสดิการเหล่านี8ลว้ นแล้วแต่จดั ตั8งขึ8นมาเพือสร้างความมันคงให้เกิดขึ8นกับชี วิตของคน ในชุมชน ให้สามารถดํารงชี วิตอยูไ่ ด้อย่างมันใจ สบายใจ ปลอดภัย ซึ งถือได้วา่ เป็ นการ สร้างระบบภูมิคุม้ กันให้กบั ชาวบ้านในชุมชนได้เป็ นอย่างดี ข้ อเสนอแนะเพิมเติม จากการศึกษาจัดทําแผนชี วิตชุ มชนพึงตนเองตําบลวังตะกอก็พบว่า ชุ มชนยังมีจุดบกพร่ อง ที ยังสามารถจะพัฒนาเพิมเติ มเพือจะเป็ นปั จจัยสนับสนุ นทําให้ชุมชนสามารถพัฒนาไปสู่ ความ ยังยืนได้อย่างแท้จริ ง ดังนี8 1. การพัฒนาด้านพลังงาน พบว่า ตําบลวังตะกอเป็ นตําบลทีสามารถผลิ ตปาล์มนํ8ามันซึ ง เป็ นพื ช พลัง งานทดแทนขึ8 นมาได้เป็ นจํา นวนมาก แต่ส่ วนใหญ่ จะทําการขายให้ก ับ นายทุน ซึ งก็จะขายได้ในราคาทีไม่สูงมากนักทําให้ชาวบ้านไม่ได้รับรายได้ในจํานวนที ควรจะได้รับ ทางกลุ่ มปั ญหาพิเศษจึงพิจารณาเห็ นว่า หากชุ มชนก่อตั8งโรงกลันนํ8ามัน ขึ8นมาเอง และทําการกลันนํ8ามัน ให้เป็ นนํ8ามันสําเร็ จรู ปที สามารถใช้ได้ในครัวเรื อน หรื อในการประกอบอาชีพ โดยอาจจัดตั8งขึ8นมาในรู ปแบบสหกรณ์ขายนํ8ามันให้สมาชิ ก


145 ในราคาทีถูก หากมีสินค้าเหลือก็จะสามารถนําไปขายให้กบั ภายนอกชุ มชน ก็จะทําให้ สามารถขายผลิตภัณฑ์ได้ในราคาทีสู งขึ8น ไม่ตอ้ งพึงพานายทุน และเป็ นการสร้างรายได้ ให้กบั ชาวบ้านในชุมชนได้อีกทางหนึง นอกจากนี8 ยงั พบว่า ทําเลที ตั8งของชุ มชนวังตะกอนั8นมี อาณาเขตติ ดต่อกับแม่น8 าํ หลัง สวน ในช่ ว งฤดู ฝ นจะมี น8 ํา มาก ไหลเชี ยวและแรง ดัง นั8น กลุ่ ม ปั ญ หาพิ เ ศษจึ ง พิจารณาเห็นว่า อาจจะสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าจากพลังงานนํ8าได้ หากสามารถผลิต พลังงานขึ8นใช้ได้เองภายในชุ มชน ก็จะเป็ นการลดการพึงพิงจากภายนอก ถือเป็ นการ พัฒนาชุมชนสู่ ความยังยืนได้อีกทางหนึง 2. การพัฒ นาด้ า นการศึ ก ษา พบว่ า ตํา บลวัง ตะกอยัง มี ค วามขาดแคลนด้ า นแพทย์ ผูเ้ ชียวชาญในการรักษาโรค ดังนั8นจึงควรมีการจัดตั8งทุนการศึกษาให้กบั บุตรหลาน เพือ เป็ นการสนับสนุนให้บุตรหลานไปศึกษาทางด้านการแพทย์ แล้วทําการชักชวนให้บุตร หลานกลับมาประกอบอาชี พทีบ้านเกิด ก็จะเป็ นการช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ ในชุ มชน อีกทั8งยังส่ งเสริ มความสัมพันธ์ของคนในชุ มชนให้แน่ นแฟ้ นมากยิงขึ8นด้วย แสดงถึงความเข้มแข็งของชุมชนทีจะสามารถพัฒนาไปสู่ ความยังยืนได้


146 บรรณานุกรม กรมป่ าไม้. 2550. ข้ อมูลบริ การประชาชน (Online). www.forest.go.th, 4 มีนาคม 2556. กระทรวงอุตสาหกรรม. 2554. ทีมาและความหมายของศู นย์ บริการร่ วม (Online). www.industry.go.th/servicelink/Lists/List/view.aspx, 26 มกราคม 2556. กลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร กรมปศุสัตว์. 2554. PMQA คืออะไร (Online). www.dld.go.th/manage/index.php?option=com_content&view=article&id=43&Itemid=4 7, 26 มกราคม 2556. กลุ่มวิจยั และวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง. 2550. สถิติการประมง (Online). www.fisheries.go.th/it-stat, 13 มีนาคม 2556. การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย. 2554. วารสารรวมองค์ ความรู้ จากโครงการรักษ์ ป่า สร้ างคน ๘๔ ตําบล วิถีพอเพียง. เกษตรสบาย. ลักษณะภูมิศาสตร์ ภาคใต้ (online). www.kasetsbuy.com/forecast06.html, 27 มกราคม 2556. ไกรสิ ทธิS ตันติศิรินทร์ . 2554. เตือนอนาคตไทยเผชิ ญหน้ าวิกฤตความมันคงอาหาร หวันชาวนา สู ญพันธุ์ไม่ มีคนปลูกข้ าว (Online). www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1314615631&grpid=03&catid=03, 28 ธันวาคม 2555. ชุมพรทริ ป. ม.ป.ป.. คุณประวิทย์ ภูมิระวิ (กํานันเคว็ท) (Online). chumphontrip.com/pawitphoomrawi-resume.html, 5 มกราคม 2556. เชษฐา มันW คง. 2551. วิกฤติอาหารโลก. ใน ความมันคงทางอาหารกับภาวะสุ ขภาพของเด็กไทย (Online). www.oknation.net/blog/print.php?id=254210, 28 ธันวาคม 2555.


147 ฐิติพร โชติดี. 2552. ความมันคงทางอาหารในครัวเรือนของผู้มีรายได้ น้อยในเขต กรุ งเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต การบริ หารและ นโยบายสวัสดิการสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . ณรงค์ เพชรประเสริ ฐ และ พิทยา ว่องกุล. 2543. แนวคิดพึWงตนเองทางเศรษฐกิจในระดับประเทศ. ใน เศรษฐศาสตร์ เพือชุ มชน (Online). www.baanjomyut.com/library_2/economic_community/13.html, 27 ธันวาคม 2555. ณรงค์ โวหารเสาวภาคย์. 2546. เอกสารประกอบการเรียน วิชาพระพุทธศาสนา ม.3 (Online). mediacenter.mcu.ac.th/data/caipyo/m3/Unit7/unit7-1.php11 ธันวาคม 2555. ณัฏฐา พาชัยยุทธ และ ทศพร ดิเรกสุ นทร. ม.ป.ป. Capital Charge (Online). www.opdc.go.th/oldweb/Knowledge/File_download/1094475457.pdf, 26 มกราคม 2556. ดวงใจ หนูโสด. 2552. Balanced Scorecard คืออะไร (Online). portal.in.th/innodoung/pages/1250/, 26 มกราคม 2556. ดวงใจ หนูโสด. 2552. ทําไมองค์ กรจึงจําเป็ นต้ องมีการนํา Balanced Scorecard มาใช้ (Online). portal.in.th/inno-doung/pages/1257/, 26 มกราคม 2556. ดวงใจ หนูโสด. 2552. ประโยชน์ ทองค์ ี กรจะได้ รับจากการใช้ Balanced Scorecard (Online). portal.in.th/inno-doung/pages/1258/, 26 มกราคม 2556. เดลินิวส์. 2555. ภัยนําO ก็สัญญาณเตือน ‘ปัญหาอาหาร’ ‘ไทย’ใช่ ว่าไม่ น่าห่ วง! (Online). www.dailynews.co.th/article/223/155820, 28 ธันวาคม 2555. ทยุติ อิสริ ยฤทธานนท์. 2550. การบริ หารต้ นทุนโครงการ (Cost Management) อีกหนึงกลไก ขับเคลือนโครงการก่ อสร้ างขนาดใหญ่ ส่ ู ความสํ าเร็จ (Online). www.eptg-acsc.co.th/mixacs/images/Column/column2.pdf, 26 พฤศจิกายน 2555.


148 ทวีศกั ดิS จันทะคุณ. 2554. หลักการพึงตัวเอง (Online). thaweesak.igetweb.com/?mo=3&art=584766, 12 ธันวาคม 2555. ทีมงานชาวมัธยมศึกษาและประถมศึกษา. 2549. หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว (Online). www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6/sri09/html/project2.htm, 27 ธันวาคม 2555. ธราธร มิตรวิเชียร. 2553. แนวทางการเพิมประสิ ทธิภาพในการนําแผนชุ มชนไปปฏิบัติในท้ องถิน เทศบาลตําบลโป่ งนําO ร้ อน อําเภอโป่ งนําO ร้ อน จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ธี รพล แซ่ตh งั . 2550. อย่ าทําแค่ ลดต้ นทุน แต่ ต้อง “บริ หารต้ นทุน!” (Online). www.arip.co.th/businessnews.php?id=412034, 26 พฤศจิกายน 2555. ธี รพล สยามพันธ์. 2551. การบริหารความเสี ยงในนโยบายและแผนของความรู้ ในการปฏิบัติงาน (online). www.udompanya.in.th/content.php?content_id=7, 26 มกราคม 2556. ธี รรักษ์ ภารการ. 2551. ความหมายของการบริ หาร (Online). www.learners.in.th/blogs/posts/231769, 30 พฤศจิกายน 2555. นวลใย วัฒนกูล. 2547. “กินตามแม่ คือ แนวทางสู่ ความมันW คงทางอาหารในสังคมไทย.” มฉก วิชาการ 8 (15): 6. นิรนาม. 2550. ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง (Online). www.rtafa.ac.th/admin/economics_philosophy/economicsphilosophy.htm 26 พฤศจิกายน 2555. นิรนาม. ม.ป.ป.. กระบวนการจัดทําแผนชุ มชนพึงตนเองตําบลวังตะกอ อําเภอหลังสวน จังหวัด ชุ มพร (online). www.codi.or.th/downloads/exlearn/group_exlearn/ภาคใต้/ชุมพร/แผน ชุมชน-วังตะกอ.pdf, 27 มกราคม 2556.


149

นิรนาม. ม.ป.ป.. ธรณีวิทยาของจังหวัดชุ มพร “ประตูภาคใต้ ไหว้ เสด็จในกรม ชมไร่ กาแฟ แลหาด ทรายรีดีกล้ วยเล็บมือ ขึนO ชื อ รังนก” (online). www.dmr.go.th/download/article/article_20110118133719.pdf, 27 มกราคม 2556. เนตรนภา รักษายศ. 2555. Value Chain Analysis (Online). netnaparaksayot.blogspot.com/2012/09/value-chain-analysis.html, 26 มกราคม 2556. บุญส่ ง ปั ทมพงศ์พร. 2552. แนวทางพัฒนาเครือข่ ายความร่ วมมือในการจัดบริการสาธารณะของ บุษยมาศ แสงเงิน. 2553. "Benchmarking คืออะไร ?" (online). www.gotoknow.org/posts/357003, 26 มกราคม 2556. ปรัชญา พลพุฒินนั ท์. 2555. แนวคิดและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Online). webthaisong.com/index.php/economy, 6 พฤศจิกายน 2555. ปิ ยนาถ อิWมดี. 2552. ความมันคงทางอาหารของชุ มชนชนบท : ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านป่ าคา หมู่ที 2 ตําบลสวก อําเภอเมืองน่ าน. วิทยานิพนธ์พฒั นาชุมชนมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . พงศา ชูแนม. 2551. ชุ มชนวังตะกอวิถีวฒ ั นธรรม...ริมสายนําO หลังสวน (online). pttinternet.pttplc.com/greenglobe/2551/community-12.html, 27 มกราคม 2556. พัฒนพัฒน์ พิชญธรรมกุล. ม.ป.ป.. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา (Online). www.kroobannok.com/blog/26661, 11 ธันวาคม 2555. พีรศักดิS วิลยั รัตน์. 2555. หลักของการวางแผนเชิ งกลยุทธ์ (Strategic Planning) (Online). www.pantown.com/group.php?display=content&id=36749&name=content89&area=3, 26 มกราคม 2556.


150 เพ็ญพิสุทธิS หอมสุ วรรณ. 2550. Sustainable development is development that meets the needs of the present without compromising the ability of future generations to meet their own needs. สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิW งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยมหิ ดล. ภัทรพร และ วสุ นธรา. 2555. สร้ างความเข้ าใจเรือง ระบบงานระบบการบริ หาร ยุทธศาสตร์ ขององค์ กรภาครั ฐ (GSMS) ให้ กบั เจ้ าหน้ าทีสํ านักงาน ก.พ.ร. (Online). 164.115.5.66/newsletter/enews34/dec2007/gsms.htm, 26 มกราคม 2556. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . มปป. องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถินในอําเภอแม่ สอด จังหวัดตาก (Online). kucon.lib.ku.ac.th/Fulltext/KC5010003.pdf, 26 มกราคม 2556. มาฆะ ภู่จินดา. 2555. การบริหารโครงการ ทักษะง่ ายๆ ทีผู้บริหารโครงการควรรู้ (Project Management) (online). www.dekdev.com/การบริ หารโครงการ-ทักษะง่ายๆ-ทีWผบู ้ ริ หาร โครงการควรรู ้-project-management-62012/, 26 มกราคม 2556. ระบบการบริ หารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์. 2547. วัตถุประสงค์ ของระบบ GFMIS (Online). www.gfmis.go.th, 26 มกราคม 2556. ราชกิจจานุเบกษา. 2551. เล่มทีW 125 ตอนทีW 31ก, หน้า 40. วรภัทร อาปะโม. ม.ป.ป.. แผนทียุทธศาสตร์ Strategy Maps (Online). arcm.rmu.ac.th/kmcorner/wp-content/uploads/แผนทีWยทุ ธศาสตร์ -Strategy-Maps.pdf, 26 มกราคม 2556. วันดี บุญยิงW . 2547. GFMIS คืออะไร (Online). www.kmitl.ac.th/plandiv/plan%20web2/GFMIS/GFMIS01.pdf, 26 มกราคม 2556. วาสิ ณีย ์ ตันติการุ ณย์ และคณะ. 2549. หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว (Online). www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6/sri09/html/project2.htm, 26 พฤศจิกายน 2555.


151

วิกิพีเดีย. 2555. วิกฤติราคาอาหารโลก ( พ.ศ. 2550 – 2551) (Online). th.wikipedia.org/wiki/วิกฤติ ราคาอาหารโลก_(พ.ศ._2550–2551), 26 พฤศจิกายน 2555. วิชิต นันทสุ วรรณ. 2549. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นําการพัฒนาเศรษฐกิจชุ มชน (Online). www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006october15p1.htm, 27 ธันวาคม 2555. วิสุทธิS ลือชัยเฉลิมสุ ข. 2554. ทําไมต้ องปรับปรุ งกระบวนการ? (ปรับปรุ งอย่ างอืนไม่ ได้ หรือ?) Why focus on process improvement? (online). www.vlbcs.com/index.php?option=com_content&view=article&id=83:-why-focus-onprocess-improvement&catid=48:cmmi&Itemid=99, 26 มกราคม 2556. ศูนย์ทนายความทัวW ไทย. 2551. พรบ. คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 (Online). www.thailandlawyercenter.com, 30 พฤศจิกายน 2555. สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2556. ระดับของ เศรษฐกิจพอเพียง (Online). sufficiencyeconomy.blogspot.com/2006/02/3.html, 12 มีนาคม 2556. สถาบันเพิWมผลผลิตแห่งชาติ. 2555. Customer Satisfaction Survey (Online). jinnyjunior.wordpress.com/2011/08/21/, 26 มกราคม 2556. สถาบันระหว่างประเทศเพืWอการค้าและการพัฒนา. 2555. องค์ ประกอบความมันคงทางอาหาร (Online). www.itd.or.th, 27 ธันวาคม 2555. สมพร อิศวิลานนท์. 2553. พลวัตชนบทไทย (2): แรงงานกับความเปลียนแปลงของสั งคมไทย (Online). www.siamintelligence.com, 12 มกราคม 2556. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2544. บัญชี ประชาชาติ (Online). www.nesdb.go.th, 3 มีนาคม 2556.


152

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2550. การประยุกต์ ใช้ หลัก เศรษฐกิจพอเพียง (Online). www.nesdb.go.th/Md/book/booksuffwork_thai.pdf, 26 ธันวาคม 2555. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2551. ความมันคงทางอาหาร (Online). www.nesdb.go.th, 27 ธันวาคม 2555. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2552. ข้ อมูลการผลิตสิ นค้ าเกษตร (Online). www.oae.go.th, 30 พฤศจิกายน 2555. สํานักงานสถิติแห่งชาติ 2551. ข้ อมูลสถิติ (Online). www.nso.go.th, 6 พฤศจิกายน 2555. สํานักบริ หารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2549. ข้ อมูลประชากรและบ้ าน (Online). www.dopa.go.th, 20 มกราคม 2556. สํานักพัฒนาระบบบริ หาร. 2554. คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนงานปรับปรุ งโครงสร้ างส่ วน ราชการ (Online). www.moac.go.th/download/file_upload/koomee-1.pdf, 26 มกราคม 2556. สิ ทธิ พร กฤดากร. 2549. เงินทองเป็ นของมายา ข้ าวปลาเป็ นของจริง (Online). www.newwavefarmer.com, 26 ธันวาคม 2555. สิ รินภา กิจเกืhอกูล. 2554. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Online). office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง-สิ ริ นภา.pdf, 11 ธันวาคม 2555. สุ จิตรา ยอดเสน่หา. 2554. มาทําความรู้ จักระบบสมรรถนะ (Competency) กันดีกว่ า (online). www.webblog.rmutt.ac.th/phasure/2011/08/23/competency/, 26 มกราคม 2556.


153 สุ ธานี มะลิพนั ธ์. 2552. ความมันคงทางอาหารของชาวลัวะบ้ านป่ ากํา อําเภอบ่ อเกลือ จังหวัดน่ าน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการทรัพยากรชีวภาพ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี. สุ ภา ใยเมือง. 2555. เหลียวหน้ าแลหลังเกษตรอินทรี ย์ประเทศไทย กับ สุ ภา ใยเมือง (Online). www.thaigreenmarket.com, 26 พฤศจิกายน 2555. สุ เมธ ตันติเวชกุล. 2544. เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (Online). www.uinthai.net/index.php/รู ้จกั กับเศรษฐกิจพอเพียง/หลักการพึWงตนเองตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง.html, 27 ธันวาคม 2555. สุ ริสาย ผาทอง. 2552. เพราะเหตุใดประชากรจึงเพิมขึนO อย่ างรวดเร็ว... (Online). urisay.blogspot.com, 20 มกราคม 2556. สุ วชั รา จุ่นพิจารณ์. 2548. การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) (online). www.pharmacy.cmu.ac.th/admin/files_team/knowledge.pdf, 26 มกราคม 2556. สุ วฒั น์ คงแป้ น. 2547. แผนชี วติ ชุ มชนพึงตนเอง ตําบลวังตะกอ. 2,000 เล่ม. กรุ งเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน. เสถียร ยุระชัย. 2550. “เศรษฐกิจพอเพียง จากทฤษฎีสู่ การปฏิบตั ิ.” วารสารวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 37-38. อภิชาติ รอดสม. 2553. การพึงตนเอง (self-reliance) (Online). www.cco.moph.go.th/apichart/?p=149, 27 ธันวาคม 2555. อวยพร แต้ชูตระกูล. 2552. “โครงการศึกษาการถือครองและใช้ประโยชน์ทีWดิน และมาตรการทาง เศรษฐศาสตร์ และกฎหมายเพืWอให้การใช้ประโยชน์ทีWดินเกิดประโยชน์สูงสุ ด.” นิตยสาร โลกสี เขียว (10 มิถุนายน 2552).


154 อํานาจ ภิญโญศรี . 2554. กลไกการขับเคลือนยุทธศาสตร์ ส่ ู การปฏิบัติ (online). www.dld.go.th/pvlo_pbn/data_pamune/konkai.pdf, 26 มกราคม 2556. อําพล เสนาณรงค์. 2542. “การเกษตร ทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดําริ .” วารสารพัฒนาทีดิน. 36 (373): 8-15. อุบล อยูห่ ว้า. 2555. สิ ทธิเกษตรกรและความมันคงทางอาหาร (Online). www.sathai.org, 24 ธันวาคม 2555. โอเคเนชันW . 2552. เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาทียังยืน (Online). www.oknation.net/blog/print.php?id=462056, 26 ธันวาคม 2555. AAd. 2551. ความหมายของการจัดการ (Online). www.oknation.net/blog/AAd/2008/01/03/entry-1, 30 พฤศจิกายน 2555. ThaiStudyFocus. 2553. หลักเศรษฐกิจพอเพียง (Online). www.thaistudyfocus.com, 6 พฤศจิกายน 2555.


155

ภาคผนวก


156 บทสั มภาษณ์ คุณประวิทย์ ภูมิระวิ: กํานันตําบลวังตะกอ

1. แรงบันดาลใจทีทําให้ ลุงกํานันจัดทําโครงการนี?O ความจน ลุ งกํานันเริW มต้นจากศูนย์หรื อว่าลบยีWสิบ ลุ งกํานันไม่ได้เป็ นคนดี ลุ งกํานันชอบ เทีWยว ไม่ค่อยมี สาระ เทีWยวไปทัวW ประเทศ ไปพบกับแม่บา้ นทีWจงั หวัดสมุทรสงคราม พบแม่บา้ น พ.ศ.2525 ก็ไปทํางานรับจ้างทัวW ไป แล้วก็แต่งงานกัน แล้วก็มีลูกจ้างด้วยกันสองคน คนโตชืW อพีWมน คนเล็กชืW อเมธยา สร้ างครอบครัวด้วยเงิ น 370 บาท ก็มีลูก 2 คนอยูท่ ีWสมุทรสงคราม บ้านก็ตอ้ งเช่ า ข้าวก็ตอ้ งซืh อ ต้องไปขายของ ต้องไปเข็นรถเข็น ต้องไปรับจ้าง เอาเงิ นมาให้ค่าเช่าบ้าน พีWชายเลย บอกว่าให้กลับบ้านดีกว่า ก้กลับมาทีWบา้ น พีWชายให้เงินครัhงแรกวันละร้อย ให้มาอยูบ่ า้ น สมัย 25 ปี ทีW แล้ววันละร้อยก็พออยูไ่ ด้ พีWชายให้เบืhองต้นมา 3 เดื อนหลังจากนัhนก็ตอ้ งต่อสู ้ดว้ ยตนเอง ต่อสู ้ดว้ ย ต้นเองสักพักก็คลอดน้องเมย์ ไม่มีความสามารถทีWจะคลอดทีWหลังสวนได้เพราะไม่มีเงิ น ก็ตอ้ งไป คลอดทีWสมุทรสงคราม โรงพยาบาลสมุทรสงคราม ให้เงินไป 650 บาท พอคลอดเสร็ จ น้องเมย์ก็นงWั รถไฟกลับมากับแม่ อยู่ทีWนีWก็กินหัวมันกับ หน่ อไม้ มันเป็ นวิถีชี วิตทีW อยากจะพึWงลํา แข้งลํา ขาของ ตนเอง แล้วก็ทุกวันทีW 4 เราย้อนหลังไปทุกวันทีW 4 มันก็จะมีอะไรให้เราศึกษาเยอะ พอถึง พ.ศ.2528 ทฤษฎีใหม่ทีWเริW มจากวัดชัยมงคล จังหวัดสระบุรี ทฤษฎีใหม่คุยเรืW องเศรษฐกิจพอเพียงตัhงแต่นh นั แต่ ทุกฝ่ ายก็ยงั ไม่ได้ทาํ แต่ลุงไม่มีทางเลือก ลุ งดูเรืW องการจัดการนํhา การบริ หารจัดการนํhาทําให้พออยู่ พอกิ น ก็เริW มทํา บ่อทีWลูกเห็ นทัhงหลายเนีW ยปรับปรุ งเป็ นครัhงทีW 7 ทีW 8 มันคิดของใกล้ๆตัวทัhงหมดเรา ทําเพืWอกินไม่ได้ทาํ เพืWอรวย ถ้าเรามองว่าเราทําอะไรให้ได้กิน แล้วก็เริW มศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง แล้ว


157 พอขยับมาเรืW อยๆเรืW อยๆ มันตอกยํhาทุกวันทีW 4 โดยเฉพาะปี 2536 ยีWสิบกว่าปี ทีWผ่านมา พระเจ้าอยูห่ ัว บอกว่าข้าวต้องปลูก เพราะอีก 20 ปี ต่อไปนีhขา้ วก็จะไม่พอกิน เรืW องอะไรคนไทยจะไปซืh อข้าวเขากิน ก็เลยยิWงชัดใหญ่เลย ยิWงชัดขึhนมาเรืW อยๆ นีW คือทีWมาคร่ าวๆ หลักของลุ งโดยภาพรวมก็คือ เงินทองเป็ น ของมายาข้าวปลาสิ โว้ยของจริ ง คําพูดคํานีhลูกรู ้ไหมว่าใครเป็ นคนพูดมาก่อน (ไม่ทราบค่ะ) ต้องไป ดูทีWสะพรี มันจะเป็ นแท่นจารึ กของบิดาแห่งการเกษตรคนหนึWงทีWต่อสู ้เรืW องนีh มาโดยตลอด แล้วลูกไป ดุมนั มีแท่นจารึ กอยู่ทีWชุมพรเรา ชุ มพรเรามีอะไรตัhงเยอะ ลุ งก็เลยตอกยํhาเนีW ยเงิ นทองเป็ นของมายา ข้าวปลายสิ โว้ยของจริ ง โว้ยอะลุงเติมลองไปดูๆอ่านดูพระบิดาแห่งการเกษตร 2. ลุงกํานันเล่ าถึงเรืองการบริหารจัดการนําO เรืW องการบริ หารจัดการนํhา พอเราไปดูไปศึกษาทีWสระบุรี การจัดการนํhาเนีW ยลุงก็ไม่อยากพูด ว่า พระเจ้าอยูห่ วั เนีW ยไม่ได้บอกว่าเป็ นสู ตรสําเร็ จนะ ลุงเข้าใจอย่างนีh พระเจ้าอยู่หวั จะคิดยังไงไม่รู้ แต่ลุงเข้าใจว่าไม่ได้ พระเจ้าอยูห่ วั ไม่ได้คิดสู ตรสําเร็ จให้คนปฏิบตั ิ แต่หลักก็คือทําให้มนั ใช้ได้กบั พืhนทีWและเหมาะสมทีWสุดและใช้ประโยชน์สูงสุ ด เรี ยบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุ ดต่างหากทีWลุงเข้าใจ ถ้า เราไปศึกษาตามห้องเรี ยนต่างๆเนีW ย เขาจะแบ่งสู ตรให้เราเรี ยบร้อยเลย ทีWอยู่ 10% ใช่ไหม ปลูกสวน 30% เนีW ย เขาจะแบ่ ง ให้อ ย่า งเนีW ย ลุ ง ก็ ไ ม่ รู้ ลุ ง ก็ ไ ม่ ไ ด้ว่า เขาผิ ด นะ แต่ ลุ ง เข้า ใจเอาเองว่า ความ เหมาะสมเท่านัhน หนทางการศึกษาของลุงก็คือ ศึกษาภูมิประเทศทีWเราอยู่ อย่างทีWของลุงเนีW ย ทีW ฝัWงนีh จะสู งกว่าฝัWงตะวันออกเนีW ย สู งกว่าอยู่ 4 เมตร โดยใช้ ภูมิปัญญา แต่ถา้ เราบวกกับวิทยาการ ใหม่ๆในปั จจุบนั เนีW ย เราสามารถใช้จีพีเอชจับได้เลย มันง่ายกว่านัhนอีก ลุ งก็ใช้สายยาง ใช้วิชาช่ าง ของลุ งทีWมีทีWไปรับจ้างมาเนีW ย เอาสายยางปั กหลัก วัดว่านํhามันไหลลงไปสู่ นีWเท่าไหร่ เมืWอมันรู ้ ว่านํhา ไหลลงไปสู่ เท่าไหร่ ฝนตกเท่าไหร่ ปริ มาณฝนเท่าไหร่ พืhนทีWสูงเท่าไหร่ ก็เลยมาจัดการนํhา ทําฝาย ชะลอนํhา ลุงมีทีW28 ไร่ ลุงจัดการนํhาประมาณ 6 ไร่ ในนํhา 6 ไร่ นh ี ลุงก็จะบอกว่า เมืWอมีนh าํ เสร็ จทุกอย่าง จบเลย ขอให้มีนh าํ อย่างเดียว คนอยูไ่ ด้และมีความสุ ข ในนํhาก็จะมีเครืW องกรองนํhาทีWลุงเรี ยกว่ามันใหม่ และสดเสมอ มีชีวิตมีจิตวิญญาณ ในนํhาลุงเลีh ยงปลา หน้านํhาเลีh ยงผักกระเฉด ริ มบ่อนํhาเลีhยงบอนซึW ง เป็ นความจงใจ บอนก็จะเป็ นดูดซับสารพิษต่างๆทีWอยูใ่ นนํhา ส่ วนผักกระเฉดยอดก็จะเป็ นอาหารของ เรา ปลาก็ จะเป็ นอาหารของเรา แต่ ด้วยความทีW ม นั เอืh อด้วยกัน ลู ก ปลาเล็ กก็ จะไปซ่ อนอยู่ในผัก กระเฉดปลาใหญ่ก็จะกินไม่ได้ ปลากินพืชก็จะกิ นรากผักกระเฉดอ่อนได้ ปลาขีhเยอะก็จะทําให้ นํhาเสี ยเยอะ นํhาเสี ยเยอะผักกระเฉดก็งามเยอะ งามเยอะคนก็จะเด็ดไปกินเยอะ คนกินไม่หมดก็เอาไป ให้หมูกิน พอหมูขh ีออกมาก็จะเปลีWยนเปลีWยนจากขีhหมูไปเป็ นปุ้ ยทีWเราไม่ตอ้ งซืh อเลย ลุงเรี ยกว่างานนีh ทํางานครบวงจร ลดต้นทุน 90% โดยใช้ธรรมชาติเป็ นตัวขับเคลืW อน (แล้วปลาขีhเยอะนํhามันไม่เสี ย เหรอค่ะ?) นีW ไงเครืW องกรองนํhา ถ้าพระเจ้าอยูห่ วั จะบอกว่า อธรรมปราบอธรรม ซึW งต้องลงลึกเข้าไป


158 อีก คนเราชอบใหม่ๆ ถ้ากลัวนํhาเสี ยก็ตอ้ งซืh อเครืW องมาทําออกซิ เจนลงไปในนํhาใช่ไหม เสี ยบปลัก‚ ก็ เสี ยเงิ นแล้ว แต่เครืW องกรองนํhาทีW มีชีวิตมี จิตวิญญาณใหม่และสดเสมอมันให้ประโยชน์กบั เรา ให้ ประโยชน์กบั สัตว์นh าํ ให้ประโยชน์กบั เศษอาหารทีW เหลื อกิ น ก็เอาไปทําปุ้ ยได้ (ถามเกีW ยวกับแผน ชุมชน) นันW เป็ นเรืW องของชุมชน นีWเป็ นเรืW องส่ วนตัว การทีWจะทํางานให้ประสบความสําเร็ จระดับหนึW ง เนีW ยต้องทําด้วยความเพียร การให้ เชืW อมันW ว่าทานมีฤทธิS ทานมีฤทธิS คือการให้ ให้กบั ทุ กสิW ง ให้กบั ธรรมชาติ ให้กบั คนรอบข้าง ให้กบั ผูอ้ ืWน แล้วต้องขยับไปทีWชุมชน ลองไปดูรายการชุ มชนเป็ นสุ ข ลู ก ก็ จ ะได้ ร ายละเอี ย ดทัhง หมดเลยของที วี บู ร พา ที วี ไ ทย ลองไปดู ใ นยู ทู ป ย้อ นหลัง ก็ จ ะได้ รายละเอียดของลุงทัhงหมดเลยว่าทําแผนชุมชนได้อย่างไร พอเรามาขยับทางนีhป‚ั ป เราทําเสร็ จมันเกิด ความเชืWอมันW และศรัทธาของคนรอบข้าง มันกลายเป็ นภูมิคุม้ กันให้เรา คนก็จะอิจฉาเราบ้างก็ช่างเขา ประไร เราก็นWิงไว้ แต่คนทีWเห็นด้วยกับเราเขาจะทําตามเราเพราะฉะนัhนเราจะมีภูมิคุม้ กันทันที เลยทํา ให้ชุมชนทําแผนชี วิตชุ มชนหรื อว่าแผนแม่บทชุ มชนได้ การทําแผนแม่บทชุ มชนได้นักวิชาการ หลายคนไม่เข้าใจหรื อว่าไม่เข้าใจเอาเลย แผนชุ มชนไม่ใช่แผนของบประมาณ ไม่ใช่การบ้านส่ งครู และไม่ใช่ของคนใดคนหนึW ง แผนชี วิตชุ มชนต้องมีชีวิตมีจิตวิญญาณ ต้องดิhนได้เสมอ ซึW งไม่ใช่ตอ้ ง ทําไปตามแผนอย่างทีWราชการเขาทํา เรืW องนีh ยาก คุ ยกันเยอะ คุ ยกันนาน คุ ยกันเป็ นวันไม่จบ แต่ถา้ รายละเอียดลูกไปดูในยูทูป 3. ลุงกํานันมีอะไรเด็ดๆเล่ าให้ ฟังไหมค่ ะ? เด็ดทุ กเรืW อง ถามว่าชี วิตหนึW งทีWมนั ลบแล้วจนทําให้เป็ นบวก จนทําให้คนทัhงประเทศรู ้ จกั จังหวัดชุมพร อําเภอหลังสวน ตําบลวังตะกอเนีW ยไม่ได้เป็ นเรืW องง่าย แต่ถา้ ลุงจะอัพเดตตัวเองขึhนเนีW ย ไม่มีทาง เพราะนัhนต้องค้นหาตัวเองให้เจอ ลูกก็เหมือนกัน ถ้าลูกบอกว่าลูกดี ลุ งกํานันบอกว่าลุ ง กํานันเก่งจังเลย ไม่มีทาง แต่ถา้ คนรอบข้างเป็ นคนอืWนทีWยกขึhนนีW สิมามันเป็ นภูมิคุม้ กัน มันเป็ นเรืW อง ยาก มันเป็ นมิติทีWยุ่งยาก ถ้าเราตัhงใจพืhนฐานทีWว่าวันนีh เราทําดีรึยงั ทุกนาทีทาํ ดี ชี วิตของลุ งแสนสัhน ไม่กีWวนั ลุงก็ตายแล้วหละ งัhนก่อนตายลุงต้องทําอะไรให้ดีทีWสุด คิดสัhนๆ อะไรทีWลุงให้ได้ก็ให้ (ทีWลุง เรี ยนมาเนีWย มันเกีWยวกับเกษตรมารึ เปล่าคะ?) ไม่อะลุงจบ ป.4 เรี ยน ก.ศ.น. 8 ปี เขาไม่ให้สอบ เขา บอกว่าลุ งแต่งตัวไม่สุภาพ ลุ งก็ไปถามว่า คําว่าสุ ภาพมันประมาณไหนหละ เหมือนลูกเนีW ยสุ ภาพ ไหม อย่างนีh สุภาพไหม เหมือนคุณแม่สุภาพไหม คําว่าสุ ภาพแค่ไหนหละ ลุงเข้าสอบลุงนุ่ งกางเกง ขาสัhนสี กากี นะ มีกระเป๋ า ใส่ เสืh อลายสก็อต ใส่ รองเท้าผ้าใบ ใส่ ถุงเท้า รี ดเรี ยบ อย่างนีh ลูกเรี ยกว่า สุ ภาพไหม อาจารย์ก็ บอกว่าไม่ สุภาพลุ ง ก็ ไ ปถามว่า ไม่ สุภาพตรงไหน แล้วทํา ไมระเบี ยบของ กระทรวงศึกษาทําไมเขาไม่ให้เด็กนุ่งกางเกงขายาว เด็กก็นุ่งกางเกงขาสัhนแล้วก็บอกว่าสุ ภาพ แล้ว เราเป็ นนักศึกษารึ เปล่า ก็เถี ยงกัน 8 ปี อะ 5555 ด้วยเหตุผลอยากรู ้ว่าสุ ภาพมันแค่ไหน วันนีh ยงั ไม่มี


159 คําตอบให้เลย คําว่าสุ ภาพมันแค่ไหน สุ ภาพทีWแต่งกาย หรื อสุ ภาพทีWใช้วาจา หรื อสุ ภาพทีWการกระทํา และชุดมันสุ ภาพตรงไหนหละ ขอบข่ายมันหาคําตอบไม่ได้ อาจารย์ก็หาคําตอบไม่ได้ อาจารย์หลาย คนต้องลาออก ก็ลองหาคําตอบกันดูสนุกๆ 4. รายได้ หลักๆของลุงกํานันมาจากทีไหนค่ ะ? ถามว่าลุ งกํานันเนีW ยเคยเป็ นลูกจ้างเขามาก่อน การเป็ นลูกจ้างชี วิตนีh ไม่มีอิสระเลยสักนิ ด เดียว แล้วการเป็ นลูกจ้างเนีW ยคิดเองได้ตอ้ งผิด ถ้าคิดก่อนเจ้านายเขาว่าเสื อก ถ้าคิดตามหลังเขาว่าโง่ ถ้าอยู่เฉยๆเขาว่าคิ ดอะไรไม่เป็ น ไม่มีทาง และลุ งก็ปฏิ ญาณว่าไม่อยากเป็ นลูกจ้างใคร และก็ไม่ อยากให้ลูกหลานเป็ นลูกจ้างใคร แรงเฉืW อยของลุงทีWทาํ งานทีWนีWเนีW ยด้วยความอุตสาหะเนีW ย แรงเฉืW อยทีW ลุ ง มี อาชี พ หลัก ก็ท าํ สวน ทํา สวนปาล์ม แต่ ก ารทํา สวนปาล์ม เนีW ยลู ก สั ง เกตสิ ก็ จะไม่ เหมื อนของ ชาวบ้า นเขา ของลุ ง ทํา สวนปาล์ ม รอบนึ ง เขาจะได้ป ระมาณ 8-10 ตัน ทุ ก ๆ 15 วัน 17 วัน ก็ โดยประมาณ รายได้ขh ึนอยูก่ บั ราคาปาล์ม สิW งทีWไม่เหมือนปาล์มคนอืWนก็คือ ลุงไม่เชืW อว่าสารเคมีมนั ใช้ได้ เราไม่เชืW อว่าเอ็นบีเคเนีW ยมันดี จริ ง เอ็นบีเคชาวบ้านรู ้จกั เฉพาะเอ็นบีเคเท่านัhน แต่อะไรคือเอ็น บีเค เอ็นคืออะไร ทํามาจากอะไร ถ้ามันเป็ นฟอสฟอรัส ฟอสฟอรัสประกอบไปด้วยอะไรลงลึกไป ลุงก็จะไม่ใส่ ใจมัน ลุงก็จะทําปุ้ ยใช้เอง ก็วนกลับไปทีWการทํางานครบวงจร ลดต้นทุน 90% โดยใช้ ธรรมชาติ เป็ นตัวขับเคลืW อน บรรพบุ รุษของเรามีขh ีววั ก็อยู่ได้ มี ขh ีหมูก็อยู่ได้ มี ขh ี ไก่ ก็อยู่ได้ เผืWอให้ ความจํามันเตื อนใจเกิ ดขึh นคื อ ขีh หมูกินหัว ขีh ววั กิ นใบ ขีh ไก่กินผล ก็เท่ากับสู ตร15:15 มันก็ใช้ได้ อย่างยังW ยืน และไม่ไปทําลายสิW งแวดล้อม มันเป็ นมิตรต่อคนและสัตว์ทh งั หลาย ก็เลยใช้อนั นีh มา ใน สวนปาล์มถ้าเราไปคุ ยกับฝ่ ายวิชาการเนีW ย ปาล์มเขาต้องปลูก 9 เมตรสามเหลีW ยมเพืWอรับแสง ห้ามมี ต้นไม้อืWนอย่างเช่น กองทุนอย่างเงีWยก็ห้ามมีตน้ ไม้อืWนอยูใ่ นสวนปาล์ม กลัวได้ผลผลิต เห็นไหม เขา คิดในมุมเดียวเลย ในเชิงเดีWยวหมดเลย จริ งๆแล้วคนเราอยูไ่ ม่ได้ในเชิงเดีWยว ลุงไม่เชืW อ ลุงสร้างความ มันW คงให้กบั ลูกหลาน เรี ยกว่ารุ่ นรวยเบ็ดเสร็ จเจ็ดชัวW โคตร ความยังW ยืนทัhงหลายเหล่านีh เนีW ยลุ งก็จะ ปลูกไม้ตะเคียนทองไว้ในสวนปาล์ม มีไม้ตะเคียนทอง มีไม้จาํ ปาทอง มีไม้มะฮอกกานี ซึW งปาล์มก็มี ลูก ต้นไม้พวกนีhก็ใหญ่โตเราอยากมีบา้ นก็ทาํ บ้านได้ แต่สWิ งทีWสาํ คัญทีWสุด ลูกลองสังเกตดูวา่ ลูกมาทีWนีW กับ บรรยากาศรอบๆบ้า นลุ ง กํานันเนีW ย ต่ า งกันขนาดไหน ทีW นีWร่ม รืW น เย็นสบายเพราะเรามี ต้นไม้ ต่างหากหละ เอานีWคือสิW งทีWลุงทําบุญกับสรรพสัตว์ทh งั หลาย คนอืWนเขาปลูกเพืWอผลประโยชน์ไว้กิน ทีW ป้ าภาทําอยู่ลูกมักเม่าเป้ าหมายเนีW ย เม่า ต้นหว้า ต้นซัม ต้นไทร ต้นพวกนีh เป็ นอาหารนกหมดเลย 100% ลุงไม่ได้ปลูกไว้เพืWอเรา แต่จะปลูกไว้เพืWอนก แต่คนก็กินได้ นกก็กินได้ แต่ไม่มีเป้ าหมายทีWจะ ขาย ลู กตะขบ มีพนั ธุ์ ไม้เยอะแยะทีW เป็ นไม้ป่าทัhงหมด ลู กสาวคนโต จบป.ตรี เทคโนโลยีชีวภาพ อะไรก็ไม่รู้ จบป.โท บริ หารจัดการ มาทําไอศกรี มขาย ไอศครี มมักเม่า ไม่แต่งสี ชิมได้ทีWหนองใหญ่


160 หาดใหญ่ เซนทรัล รสชาติเปรีh ยว ใส่ พริ กเกลือประมาณนีh ไอศกรี มกระทกรกทําขาย ธรรมชาติมกั ให้เรา นกก็มีความสุ ข เราก็อยู่ได้ การทีWเรี ยน 28 ปี จบปริ ญญาโท ไม่ได้เอาความรู ้ทีWเรี ยนมาทํางาน รับจ้างเลย แต่กลับมาเอามักเม่าทีWลุงปลูกให้นกเนีW ยไปทําไอศกรี มขายแข่งกับสเวนเซ่ น สิW งทีWสําคัย ทีW สุดคนทีW ทานไปแล้วมันเป้ นรสเปรีh ยวมันทําให้สุขภาพดี ขh ึนไม่มีสาร ก็ ถือว่าทําบุ ญร่ วมกันเขา ทํางานก็ตอ้ งมีกาํ ไรบ้างประมาณนีh (แล้วนีh ลุงปลูกต้นไม้ในสวนแบบมัวW ๆ?) มัวW ๆมัวW ไปหมด จริ งๆ แล้วมันจะมีสองโลกอะ โลกหนึW งโลกนักวิชาการคืออยากให้ตน้ ปาล์มเป็ นแถว อยากให้ตน้ ไม้เป็ น แถว แต่ถ้าเราไปดู อาจารย์พุทธธาตุ อาจารย์พุทธธาตุคิดปลูกป่ าเมืW อ 80 ปี ทีW แล้ว ลุ งแค่คิดช้ากว่า อาจารย์สั ก 70 ปี กว่าๆเอง แต่ ถ้าเราไปดู ของอาจารย์พุทธธาตุ ก็คือป่ าไง ป่ าสามารถขึh นได้อย่า ง หลากหลาย มีตน้ เล็กต้นใหญ่ ไม่ตอ้ งเป็ นแถว ไม่มีแถวเลย แต่พอเราเรี ยนเยอะมากขึhน นักวิชาการ มากขึhน ขับรถเร็ วขึhน มองช่องเดียวเลย อยากได้เป้ าหมายอันเดียวสู งสุ ด ปลูกอะไรเชิ งเดีWยวหมด แต่ ด้วยความเป็ นจริ งเรากินอย่างเดียวเราอยูไ่ ม่ได้นะ สิW งทีWสาํ คัญทีWสุดความมันW คงของบ้านเราเขาจะเน้น ไปเรืW องของอาวุธยุทโธปกรณ์ แต่ถา้ ลุ งตีความตามคําพูดของพระเจ้าอยูห่ วั เศรษฐกิจพอเพียงเนีW ยมี ความมันW คงของประเทศคือ ด้านอาหาร ลุงก็เลยทําเรืW องนีh เราอยากปลูกอะไรก็ปลูก ปลูกต้นไม้ไม่ ต้องมีแผน แค่คิดให้สh ันทีW สุด เรามี โอกาสปลู กต้นไม้บา้ งรึ ยงั ถ้าไม่เราต้องหาโอกาสปลู กมันซะ ตรงไหนก็ได้ ต้นอะไรก็ได้ เดี… ยวมันก็จะมี ป่าขึhนมาเอง เอาอะไรใส่ ลงไปทุ กอย่าง เดี… ยวก็มีสมุ น ตามมา เรี ยกว่าสมุนไพรในป่ าก็จะมีหมด (แล้วเรืW องนํhาท่วม?) นันW มันเป็ นเรืW องของธรรมชาติ แต่เรา ต้องเรี ยนรู ้ วา่ จะอยู่กบั มันได้อย่างไร ปี ทีWแล้วทีWนีWนh าํ ท่วมสู ง 75 เซนติเมตร ลุ งนอนอยูบ่ นบ้านก็คุย กับแม่บา้ นว่าพุง่ นีhนh าํ ท่วมแล้วเราจะทําอะไร สิW งทีWลุงไม่เดือดร้อนคือ ลุงมีขา้ วไว้บนบ้าน ลุงมีฝืน ลุง มี เ รื อ ลุ ง มี อ วน ลุ ง มี ป ลา ลุ ง มี ผ กั กะเฉด นํhา ท่ วมขนาดไหนผัก กะแดลอยตามนํhา มา แล้ว ลุ ง จะ เดือดร้อนอะไร (ลุงปลูกข้าวด้วยเหรอคะ?) ปลูกสิ ข้าวต้องปลูก มันเป้ นอาหารหลักของมนุ ษย์ (แล้ว ดินทีWนีWเหมาะไหม? ต้องปรับอะไรยังไง?) ดินทุกทีWในประเทศไทไยปลูกได้ ประเทศไทยดินนํhาแดด ดี เหมาะทุ กทีW โอกาสเราทีW ไม่ได้ทาํ สิ คิ ดมากเกิ นไป มันปรั บได้ทุก สถานการณ์ ต้องมี ชีวิตมี จิต วิญญาณใช่ไหม ต้นขึhนมาเหลื องแสดงว่ามันขาดอาหาร ต้องการใบ จําได้ไหม ขีhหมูกินหัวขีhววั กิ น ใบขีhไก่กินผล ก็ใส่ ๆเข้าไป (นีW สูตรลุ งคิดเองหรื อว่ายังไง?) ก็พูดให้มนั จําได้แต่ปกติมนั ก็ใช้ได้อยู่ แล้ว ถ้าลุ งไม่พูด บรรพบุรุษก็ใช้กนั มา แล้วต่อมาคนก็อยากรวย มันโลภะ เลยทําการค้าให้มีเงิ น เยอะๆ แล้วมันวัดค่าของคนเป็ นจีดีพีมนั ก็เลยยิWงเจ๊ง พอจีดีพีมากก็ไปกูเ้ งิ นได้เยอะ ประเทศเราก็ยิWง แย่ ถ้ามองทางพระ การเป็ นหนีhเป็ นทุกข์ทีWสุดในโลก งัhนถ้าเราไม่มีหนีh ก็จะมีความสุ ข มีเสี ยงไก่ร้อง เสี ยงนกร้อง มองไปเห็นปลา วัว ควาย แพะ มีทุกอย่าง แล้วมันจะเอาไรนักหนา ถ้าเนีW ยไม่ใช่สวรรค์ แล้วตรงไหนคือสวรรค์ ในเทคเหรอ มันไม่ใช่ลุงอะ แต่ของลูกลุงไม่รู้ ทุกคนมีสิทธิ เลือกไง แล้วเรา จะเลือกทางไหนหละ สิW งสําคัญต้องคนหาตัวตนให้เจอก่อนว่าเราชอบอะไร ลุ งเป็ นคนโชคดี ทีWลูก


161 เรี ย นจบแล้วลู ก ไม่ ไ ปทํา งานทีW ไ หนเลย ถ้า ไม่ ไ ด้ท าํ งานอะโชคดี นะ เราจะเป็ นเครืW องซี ดีทีW เค้า โฆษณาทนเหมือนแรดมัย‚ เครืW องทีWดีเครืW องป่ าวไม่ต่างกับเราทีWจบปริ ญญาตรี ป้ายแดงมา แล้วก็ไป รับจ้างทํางานไม่ตอ้ งคิดอะไร คิดก่อนเค้าก็ด่า คิดช้าก็วา่ โง่ ถ้าไม่คิดอะไรเลยเค้าก็ว่ามึงไม่มีอะไร เลย เค้าก็คิดทําของเราดี กว่า งานเราต้องทํา แต่เราต้องค้นหาตัวเองให้เจอ น้องเมย์ลูกของลุ งจบ ปริ ญญาตรี ดา้ นคอมพิวเตอร์ วันนีh ไปรับจ้างปั กสายกันแนวของทีโอที รับเหมามาก็ 120 บาท วัน หนึW ง มันปั ก ได้ซัก 80 ต้นจ้า งลู ก น้อง 3 คน ก็ แบ่ งครึW งหนึW ง เดื อนหนึW ง ทํา 5 วัน แบบนีh ก็ ทาํ งาน เหมื อนกัน ก็ทาํ ตามชอบ ถ้าชอบเทีW ยวก็ตอ้ งศึ กษาในการเทีW ยว ลู กชอบอะไรลู กก็ลงไปศึ กษาหา ตัวตนของลูกให้เจอ ทําในสิW งทีWชอบ อะไรก็ได้ทีWลูกชอบ ลูกก็ไปทํามัน ลุงไม่เคยบอกว่าลูกไม่ควร ทําอย่างนัhนอย่างนีh โตแล้วคิดเองได้ จบปริ ญญาตรี ให้ทีWแปลงนึ ง จบก็จบคุณมีอิสระ (แล้วอย่างนีh ลุง ดูแลเองหมดรึ เปล่า?) ของใครของมัน โตแล้วอะ พอจบ ป.ตรี ก็โอนให้เลยไงทรัพย์สิน ทีWแปลงนึ ง รถคันนึ ง ต้นทุนแสนนึ ง เงิ นสดแสนนึ ง คุ ณจะไปลงทุนอะไรก็เอา ไม่พอก็กูเ้ อา คํhาประกันให้ จะ ไปทําไรก็ทาํ ค้นหาตัวเองเอา หาตัวตนให้เจอนีWหายากมาก ลุงหาตัวตนมาเยอะนะ ลําบากเหมือนกัน นาน 50 กว่าปี อะ 28 ปี ลุ ง ทํา ทีW มนั เห็ นเป็ นภาพอย่า งนีh บ้า นหลัง นีh ลุง ก็ ไ ม่ไ ด้อยู่ ลุ ง อยุ่บา้ นหลัง กระต๊อบ อันนีh ก็จะไว้เป็ นทีWประชุ ม ใครมา ใครเดิ นทางจากภาคใต้ก็มาพักนอนทีW นีWไม่ตอ้ งเสี ยค่า โรงแรม ฟรี ใครอยากกินก็เอา มีตูเ้ ย็น มีขา้ วกิน แต่ลุงไม่มีเตาแก๊สไว้บริ การ ใครอยากกินข้าวทีWนีWตอ้ องสับไม้ฝืนก่อไฟ ลุงไม่มีเตาแก๊ส พลังงานของลุงไม่มีวนั หมดในชาตินh ี ต้นไม้โตทุกวัน ลุงจะไป ไหนต้นไม้ก็โตทุกวัน ตัดแต่งกิWงเอามาทําฝื น แก๊สมันจะขึhนกิโลละร้อยก็ช่างมันไม่เกีWยวกับกู ปลามี อยากกิ นปลาตัวไหนเอาเชิ ญ ใหม่และสดเสมอ ของหวานก็กล้วนนํhาหว้า ตีห้าก็ปWั นจักรยานห้าสิ บ กว่าโล ไปกลับ ไปนังW กับลูกบ้านอะไรเสร็ จเอาจักรยานมาจอดกิ นข้าวไรเสร็ จก็มีนดั นัดกับลูก กับ อําเภอ กับอบต. ไปบ้านงาน เอานํhาหมักไปให้คนทีWไม่สบาย นํhาหมักสู ตรป้ าเชงนันW แหละ ทีWเป็ นขยะ ผัก ผลไม้ เอามาทาหน้าเป็ นสิ วเป็ นฝ้ า เป็ นโลชันW นํhามันมะพร้าวสกัดเย็น ลองไปซืh อนี เวียขวดละร้อย กว่าบาท นํhามันมะพร้าวสกัดเย็นวันนีh ชาวสวนขายมะพร้าวลูกละสามบาท เอามะพร้าวมาสองลูก มาทํานํhามันมะพร้าวสกัดเย็นใช้ได้เดือนนึ ง ภูมิปัญญาอย่างนีh ของคนไทยมีตh งั นานคนลืม แล้วสิW งทีW คนไทยลื ม”หิ วเมืWอไหร่ แวะมา” (เซเว่นอิเลฟเว่น) จบมันจบเลยไง ต้นข้าวไม่รู้จกั เลย อันนีh คือเสี ย ความสมดุ ล การทรงตัวของประเทศ แล้วยิWงโฆษณาว่าอาเซี ยนจะมา ต้องแบบนัhนต้องแบบนีh ตาย ไม่มีทางรอดเลย ต้องพยายามศึกษาพระราชดํารัสของพระเจ้าอยูห่ วั ให้เยอะๆ รักพระเจ้าอยูห่ วั แล้ว ทําตามพระเจ้าอยูห่ วั ให้เยอะ แล้วเราจะรอดปลอดภัยทุกคน ถ้าเห็นประโยชน์ส่วนตนมาเป็ นอันดับ หนึW งเจ๊ง ต้องเห็ นประโยชน์ส่วนตนเป็ นอันดับสองถึ งจะอยูไ่ ด้ ลุงจะทํางานไม่ทาํ งานปาล์มลุงเป็ น ลูกทุกวัน มันจะแพงมันจะถูกไม่เกีW ยวเพราะไม่ใส่ ปุ๋ยเคมี ทีW ลุงพูดทัhงหมดเนีW ยลองเดิ นไปดูว่าการ จัดการนํhาทัhงหมดของลุงเป็ นยังไง สํารวจ เรี ยนภูมิศาสตร์ ในทีWของตนเอง 28 ไร่ นํhาไหลไปทางไหน


162 จัดการนํhายังไง เอาความรู ้สมัยใหม่มาบวก วันนีh ฝนตกปริ มาณเท่าไหร่ ในพืhนทีWจงั หวัดชุ มพรทุกคน ทราบ เอาโทรศัพท์มาดูรู้ว่าพายุหมุนมันจะเข้ากีW รอบ เนีW ยเอามาประยุกต์ใช้กบั ของโบราณ ใช้ได้ อย่างดี รู ้วา่ ปริ มาณฝนจะตกเยอะ ฝายชะลอนํhาทีWทาํ กลัวมันพังก็เอากระสอบออกสักสองลูกสามลูก ดูปริ มาณนํhาฝนตกเท่าไหร่ ไม่อยากได้นh าํ ก็ปิด อยากได้นh าํ ก็เปิ ด เดี…ยวพาไปดู มีไรถามอีก นึ กอะไร ได้ก็ถาม ขาดตกบกพร่ องอะไรทีWจะเอามาช่วยเสริ มก็เสริ ม ไม่มีทางถ้าเราไม่ช่วยกัน 5. ลุงกํานันพาไปดูรอบๆบ้ าน เนีW ย คื อ การจัด การนํhา เราเอานํhาตกมาทีW บ ้า นได้ ซ้ า ยมื อ กับ ขวามื อ มัน ต่ า งกัน สั ก 82 เซนติเมตร แต่วา่ การทําบ้านหลังนีhก็ทาํ บนคันนา ก็ใช้ภูมิปัญญาประยุกต์ นาทุกทีW เมืWอก่อนก็จะมีนh าํ ขังอยูท่ ุกทีWนา นีWก็คือร่ องนํhาในนาเท่านัhนเอง แต่การได้มาของนํhาเนีW ยเดี…ยวไปดู (ลุงคะทีWนh าํ มันไหลนีW ก็คือมันช่วยให้ออกซิ เจนเพิWมขึhนหรื อว่าอะไรยังไงคะ?) ก็นh าํ ถ่ายเทดี ปลาเจริ ญเติบโตดี ทุกอย่างก็ดี หมด มันร่ มรืW นอะ นํhาอันนีh ตรงกลางก็จะเป็ นแอ่งอยู่ พอหน้าแล้งก็จะดูดเลนขึhนมาใส่ ปุ๋ย ผักเหลียง อันนีhพิลงั กาสาเป็ นยา อันนีhมะแดง อันนีhตน้ จําปาทอง อันนีhตะเคียนทอง อันนีhตน้ ตีนเป็ ด ตายไม่ทนั ท่าว ต้นหว้า อันนัhนเป็ นผักอายุยนื หยงชุน ลุงเลีhยงหมูป่า เลีhยงแพะ เนีW ยฝายชะลอนํhาเวลาฝนตกเยอะ ใช่ มะ ถ้าเราสํารวจดูอะ เราก็จะทําแพงให้รh ัว ขุดคลองไส้ไก่ไว้ บ่อนํhาทัhงหมดลุ งขุดเอง จัดการเอง ใหม่หมดเลย โดยลุงต้องศึกษาภูมิประเทศว่าทีWมนั เอียงยังไง ควรจะทําไร่ ยงั ไงประมาณนีh นํhาตกเนีW ย ลุงจะเอารึ เปล่า ถ้าลุงไม่เอาก็ปิดนํhา คนทีWคิดใหม่ๆ เนีW ยเขาก็จะใช้วาว ใช้ก๊อก แต่เนีW ยง่ายมากใช้แรง โน้มถ่วงของโลกเอาแผ่นกระเบืhองปิ ดนํhาๆก็จะไม่ไหลใช่มะก็จบ มันก็ง่ายอะ มันเรี ยบง่ายแต่มนั ได้ ประโยชน์สูงสุ ดเห็ นไหมลู ก เดี… ยวนํhาออกทางนีh ไม่ได้มนั ก็จะล้นไปโดยธรรมชาติ ถ้าฝนตกเยอะ เดี… ยวนํhาจะท่วมบ้านลุ งก็ปล่อยให้มนั ล้นออกไปตามธรรมชาติก็จบมันทําง่ายมะ อันนีh เราก็ดูนh าํ ตก เล่นๆเราก็เปิ ดไว้ ทีนh ีตรงนีhนh าํ มันจะเท่ากัน แต่ถา้ เรายืนทีWบา้ นเมืWอกีhมนั มีฝายชะลอนํhาตัวทีWสองนํhาจะ เตีh ยกว่านีh ประมาณ 60 เซนติ เมตร เห็ นมะเดี… ยวลองไปดู ลุ งเลีh ยงแพะเฉยๆเลีh ยงสนุ กๆ (ลุ งคะทีW ห้อยๆสี ส้มๆนีWคืออะไรเหรอคะทีWเหมือนดินนํhามันอะ?) ดินโป่ งวิทยาศาสตร์ แพะมันเลีย มีไวตามิน อันนีh เป็ นลูกหมูป่า นันW พ่อมัน แม่มนั นํhามันจะเชืW อมกันได้หมด ทีW นีWก็จะมีปลาเยอะ มีปลาสวาย มี ปลานํhาจืดทุกชนิ ดอะ ไม่แยกเผ่าพันธุ์ โดยธรรมชาติ (แล้วนํhามันลึกมากไหมคะ?) ตรงนีhลึก 2 เมตร ไอ้ตรงนีh ลึก 5 เมตร ไอ้ตรงนัhนลึกประมาณ 2.5 เมตร (อันนีhตh งั ใจให้เป็ นแบบนีh?) อ่า 2.5 เมตรก็ไว้ กลันW กรองตะกอนพวกยาฆ่าหญ้าอะไรทีWเขาใช้อะ เราไม่สามารถทําให้คนคิดเหมือนเราได้ไง แต่เรา ก็ตอ้ งป้ องกันของเราให้ได้ (คือลุงกะเอาเองว่าอันนีhจะเท่านีh ๆ?) ใช่ๆๆ อันนีh ผกั กินได้ เม็ดชุ นภาษา ใต้ กับเสม็ดแดงภาษากลาง


163 พูดถึงแพะ แพะมันจะไม่กินของทีWตกดิน ลุงปล่อยสัตว์ทุกอย่างแล้วแต่มนั เราก็จะมีความ ทุกข์ถา้ เราไปกําหนดทุกอย่าง ถ้าลุงไม่กาํ หนดเขาลุงก็จะมีความสุ ข อันนีhไผ่เกี ยมจุงจะเลีhยงไว้กิน หน่ อ เขาใช้ฉีW นอนกลางคืนก็เอาฉีW ใส่ แกลอนไว้เช้าขึh นมาก็ผสมนํhา ใช้ฉีWเราเอามารด ปี นึ งจะออก หน่ อ มาก ประมาณ 100 หน่ อ (ลุ ง คิ ด เองเหรอเรืW อ งฉีW ?) ฉีW เ นีW ย เป็ นเรืW อ งของพระพุ ท ธเจ้า ใน พระไตรปิ ฎกนานมาก แต่วา่ คนไม่เชืW อ(นํhามูก) กินฉีW เพืWอขับสารต่างๆได้ เป็ นเรืW องจริ ง เอามากินเอา มาทา แก้สิวแก้ฝ้า เอามานวดอะไรแบบนีh ถ้าเมืWอกีhเราดุเนีW ยใช่มะ นํhามันจะต่างกันมากเลย ถ้าเราไม่ จัดการนํhา บ้านลุงฝนตกปั‚ปนํhาก็จะหมด ใช่มะฝัWงนูน้ เตีhยกว่า เมืWอกีhเตีhยกว่าสัก 60 เซนติเมตร ลูกลอง สังเกตดูวา่ ถ้าฝัWงนีhจะเตีhยกว่าสักกีWเซนแล้วสักเมตรยีสW ิ บแล้ว อันเนีW ยมันก็จะหายไปหมด เนีW ยๆคือการ จัดการทัhงหมด อันนีhก็จะเป็ นบ้านของพีWเมย์ อันนีhเป็ นป่ าทีWพีWเมย์ชอบ ในป่ านีhก็จะมีทุกอย่างอายุประ มารสัก 4 ปี ทีWปลูกเห็นมะก็เย็น อันนีh ปลูกใหม่เองหมดเลย แล้วก็จะมีมะม่วง ผักเหลียง ต้นแมงดา เทียม ธรรมมัง เล็บเปราะ (ลุงแล้วมันมีสัตว์อะไรไหม?) มี งูก็มี เราต้องอยูด่ ว้ ยกันอยูแ่ ล้ว อันนีh ทีW บอกว่ารุ่ นรวยเบ็ดเสร็ จเจ็ดชัวW โคตร ไม้อนั นีh บา้ นหนึW งหลังเนีW ยใช้ไม้กระถิWนเทพาเนีW ย 36 ต้น ทีWมีอายุ 6 ปี ถ้าเราเก็บเงินจะสร้างบ้าน 6 ปี เนีWยยาก แต่เราปลูกต้นไม้ไว้ 6 ปี แล้วมีทีWดินปลูกเห็นมะ แค่แสน กว่าบาทจบ ทําง่าย ตูเ้ สืh อผ้าทีWมนั เป็ นไม้อดั อะไว้ไม่ได้ชhืน ขึhนราหมด แปลงนีhก็จะเป็ นของลูกสาวคนโต พีWมนเขายังไม่ได้ทาํ บ้าน เขาไปขายไอติมอยูย่ งั ไม่มา แต่ ว่าไม้ครบแล้ว บ้านหลังนีhก็ทาํ ให้คนทีWไม่มีญาติอยู่ ใครก็ได้ ตอนนีh อย่สองคน ตายไปคนและ สร้าง บ้านให้เขา นันW คือควายชืW อแสงจันทร์ มันถูกขายไปทีWโรงฆ่าสัตว์แล้วลุงเห็นลุงก็ไถ่ชีวิตไว้ 20,000 หลายปี แล้ว ลุงก็จะทํานาไว้ประมาณสองไร่ เห็นมะการทํานาของลุงก็จะไม่เดือดร้อน ถ้าลุงไม่เก็บ นํhาไว้อย่างงีhเนีWยนํhาก็จะดูดขึhนนา นํhาจะอยูเ่ ตีhยกว่านา แต่ถา้ ลุงจัดการนํhาไว้อย่างนีh นh าํ อยูส่ ู งกว่านามัน ก็ลงได้เลย ลุ งก็ใช้กระเบืh องเปิ ดเหมื อนสักครู่ เอานํhาเข้านา ต้องการก็เปิ ดเข้านา ซึW งถ้าทํานาแล้ว ควบคุ มนํhาได้ทุกอย่างก็จบ มันก็ลดต้นทุ นหมดไม่ตอ้ งใช้เครืW องสู บอะ (แล้วพวกเรืW องเพลีh ยอะไร แบบนีh หละคะ?) ก็อธรรมปราบอธรรม จริ งๆแล้วถ้าเราไม่ใช้ยาฆ่าแมลงนะ ธรรมชาติก็จะบําบัด ของมันเอง เนีWยหญ้าก็มีลุงไม่ได้ฉีดยาฆ่าหญ้าเลย หญ้าก็มี ข้าวก็มี นกก็มี ฮุย้ ยย มีก็มีไป (คือปริ มาณ ข้าวเนีW ยเพียงพอให้ลุงกิ นเลยใช่ ไหมคะ?) เยอะแยะเลย ได้ 70-80 ถังก็เอาแล้ว ก็กินกันแค่ในบ้าน อันนีhเป็ นบ้านแพะอีกสามตัว นันW เป็ นนํhาไว้ทาํ นา พูดถึงการลดต้นทุนนะ ถ้าการจัดการนํhาดีทุกอย่าง มันจบเลย อันนีhก็จะมีระสอบไว้เปิ ดนํhาไหลไปได้ อันนีhให้นh าํ เข้านา อันนีhไม่ให้นh าํ เข้านา ทุกอย่างทํา ทะลุกนั หมด ทุกอย่างถ้าจัดการดีๆก็จะง่ายหมด นํhาตรงนีhลึกประมาณ 7 เมตร ลุงจะนอนบ้านหลังนีh นีW เป็ นตูพ้ ลังงานแสงอาทิตย์ก็ทาํ ได้ร้อนมาก อันนีhก็โลชันW ทําเองจาก นํhามะพร้าวกับหัวมะหาด ไม่มีนh าํ หอมไม่ใช้ ลุงตากเม็ดโกโก้ไว้ดว้ ย ลุงให้กินกล้วยนํhาหว้า (ลุงปลูก บอนเพืWออะไรคะ?) บอนเป็ นเครืW องกรองนํhา ไหล(45.50) มันก็กินได้นะเป็ นอาหาร ต้นนาง


164 ช้องนางคลีWอะไรไม่รู้สักอย่าง อย่าไปจับ จับแล้วมันจะเฉา มีเกล็ดปลาช่อน ปลาดุก ก็ทุกคนทําได้ มีสิทธิS หาตัวเองให้เจอแล้วลูกก็จะทําได้ทุกคน ยายทีWอยูต่ รงนัhนเขาไม่มีญาติผมสร้างบ้านให้เขา ให้ เงินเดือนด้วย จะเอาอะไรก็มาเก็บทีWนีWได้ เงินเดือนผูส้ ู งอายุผมเป็ นผูร้ ับทายาท มาเบิกได้ทุกวัน (ลุง อันนีhอะไร?) โลชันW นํhามันมะพร้าวแม่บา้ นเขาเป็ นคนทํา มีขายทีWหนองใหญ่ มันเป็ นกลิWนมะพร้าว ไม่ มีแพ้ 100% ทาแล้วผิวชุ่มชืh น ทาหัว ผมขึhน ให้ไปซืh อมาใช้ ถ้าไม่ซhื อก็ไปเรี ยนทําใช้เอง เช่น ยาสระ ผมดอกอัญชัญกับว่านย่านาง ทําให้ผมดกดํา คนผมน้อยเชิ ญ ถ้าอยากได้กลิWนอะไรก็ซhื อใส่ เอง ใช้ ควบคู่กบั นํhามันมะพร้าว แต่วา่ สิW งทีWลุงบอกไปไม่มีประโยชน์อะไรกับลุงเลยเพราะ ลุงไม่ได้ขาย ถ้า อยากได้ไปหาซืh อเอาเอง ถ้าไม่อยากซืh อก็ไปเรี ยนทําเองมี สอนฟรี นอกจากทําใช้เองแล้วลู กยังมี ความรู ้ในการทํา วันสองวันก็รู้เรืW องให้แม่บา้ นของลุงไปสอนแล้วให้คนทีWแม่บา้ นไปสอนไปสอน คนอืWนต่อ มีอีกอันนํhาหมักมะเฟื อง(52) ต้องหมักเองสักปี นึง ถ้าอยากได้ขอ้ มูลเพิWมเติมไปดูในทีวบี ูรพา ยูทูปเขียนกํานันเคว็ด รายการทีวไี ทยตอนชุ มชน เป็ นสุ ข รายการคนหวงแผ่นดิ น รายการพระปกเกล้า ขาดตกบกพร่ องอะไรก็โทรมาถามทีWเบอร์ 084-838-8136 โอเคขอบพระคุ ณค่ะ กินผลไม้ก็ดีนะผมขับรถไปน่านใช้เวลา 13 ชัวW โมง หยุดแค่ฉีW เจ็บฉีW ตอนนีh ลุงอายุ 57 (2499) เช้าก็ปWั นจักยาน ถ้ามีเวลาออกกําลังก็ทาํ ทุกครัhง ถ้าไม่จาํ เป็ นไม่เข้า เซเว่น สิW งทีWน่ากลัวสําหรับทุกคนไม่อยากให้กินไก่ ไม่อยากให้กินเคเอฟซี โดยเด็ดขาด ลูกลองคิดดู ไก่ขาย 99 บาทแถมโค้กมีประโยชน์อะไรกับร่ างกายนอกจากอิWม สิW งทีWสําคัญทีWสุดไก่จะต้องเสี ยชี วิต ภายใน32 วัน จากออกมาเป็ นลูกเจี‚ยบ วิธีกินอาหารอย่างนึ ง แต่สWิ งทีWมากทีWสุดคือต้องฉี ดยาเร่ ง แล้ว เราจะเหลือเหรอ คนทีWกินไก่กบั โค้กทุกวันจะอ้วน ผักสวนครัวลุงปลูกมัวW ๆ ปลูกฟั กทอง แตงกวา ถัวW พลู บวบ ปลูกเป็ นรุ่ นๆ ไม่ตอ้ งปลูกให้ เป็ นแปลง ผักหวานก็กินได้ หมูก็ไปซืh อตลาด แต่ส่วนใหญ่จะกินไก่เพราะเลีhยงไว้กินเองจะไม่กินไก่ ซี พี ถ้าคนไม่เชืWอลุงก็ไม่เป็ นไร ลุงเลีhยงรังผึhงด้วย ปลูกทีWเอาไว้ให้มนั มาเอง ถ้าธรรมชาติมนั เอืhอมัน ก็จะมาอยูก่ บั เรา เราไม่ได้เลีhยงมันแต่มนั เลีhยงเรา เราเอานํhาผึhงมันมากิน


165 ถอดคําพูดจากคลิปวีดีโอจากรายการแผ่ นดินไทย ตอนวังตะกอ ชุ มชนเป็ นสุ ข บรรยาย: ตลอดระเวลา 40 ปี ที ผ่านมาทีW ไทยเปลีW ยนแผนพัฒนาประเทศ โดยยึดแบบ ตะวันตก โดยให้ควาสําคัญกับเรืW องของเงินและอัตราการเติบโตทางเสดถะกิ จมากกว่าความสุ ขใน ทุกๆมิติชีวิต ทําให้สังคมชนบททีWห่างไกลซึW งเป็ นคนส่ วนใหญ่ค่อนๆเปลีW ยนไป จากทีWพW ึงพาอาศัย ช่วยเหลือเกืhอกูล ยืนหยัดบนขาของตนเองได้ ก็ค่อยๆ อ่อนแอลง สังคมเกษตรกรรมกลายเป็ นยิWงทํา ยิงW ทุกข์ อกยารวยมากเป็ นหนีhมาก นันW ทําให้หลายๆชุ มชนย้อนกลับมา ตาหาว่า อะไรคือความสุ ขทีW ชุมชนของตนเคยมี และมีหนทางอะไรทีWจะสามารถเรี ยกคืนความสุ ขเหล่านัhนกลับคืนมา ชุ มชนวังตะกอทีWชุมพร บาดเจ็บสาหัสมาจากกระแสจากการพัฒนา ทําให้คนในชุ มชนเกิด ความแตกแยก และตัhงคําถามว่าอะไรคื อความสุ ขทีW แท้จริ ง จนทุ กวันนีh คน้ หาคําตอบเจอแล้ว แต่ ไม่ใช่ตน้ แบบในเทพนิยาย แต่น่าจะเป็ นต้นแบบทีWดีสุดในการถ่ายทอดประสบการในการร่ วมมือกัน ในชุมชนในการสร้างความสุ ขให้เกิดขึhน ตําบลทีWมีพิธีเข้าทรง พิธีกรรมแห่ งความเชืW อ เป็ นเอกลักษณ์ เป็ นทีWพW ึงทางใจ เป็ นชุ มชนริ ม แม่นh าํ หลังสวน อดีตเคยสมบูรณ์มงWั คังW ไปด้วยทรัพยากร คนดํารงชีพด้วยการทํานาและสวนสมรม ทีW เต็ม ไปด้วยของกิ นได้ ทัhง พื ช ผัก ผลหมากรากไม้ หลายชนิ ด สมัย ทีW ท าํ นา มี เงาะผมขาว มัง คุ ด ลางสาด ลองกอง มีหลากหลาย ทุกชนิ ด ลูกมะปริ ง ลูกจันทน์ มะพร้าว ส้มระกํา ขนุ น กระท้อน มี ทุกอย่าง วังตะกอสมัยก่อน คนมีชีวติ เรี ยบง่ายสงบสุ ข บนวิถีแห่งการพึWงพาตนเอง เอืhอเฟืh อเกืhอกูลกัน คนช่วยเหลื อกัน ไม่ตอ้ งมีรายจ่ายอะไร เริW มมาเปลีWยนแปลงตอนมีคนเข้ามาอยู่มากตัดไม้ทาํ ลายป่ า เข้ามาอยู่ แต่แล้วแผ่นดินอู่ขา้ วทีWเคยมีรากฐานทางสังคมและวัฒนธรรมและเศรษฐกิจทีWเข้มแข็งมา จากเนืh อในของชุ มชน เริW มเปิ ดรับกระแสทีWไหลบ่ามาจากภายนอก ตามทิศทางการพัฒนาประเทศที เปลีW ยนไปของแผนพัฒนาเศรษฐกิ จแห่ งชาติฉบับแรก ซึW งกําหนดนโยบายการพัฒนาประเทศให้ สอดคล้องกับการปฏิวตั ิเขียวทีWมุ่งเปลีWยนฐานการผลิตแบบดัhงเดิมมาเป็ นการผลิตเพืWอขาย มุ่งเป้ าไปทีW ผลผลิ ตและกําไรสู งสุ ดตามแบบเกษตรกรรมแผนใหม่ทีWมาพร้ อมกับการถ่ายทอดเทคโนโลยี และ ส่ งเสริ มให้การปลูกพืชเพียงอย่างเดี ยว ชวนเชืW อให้ใช้ปุ๋ย ยาและสารเคมีทางเกษตรเพืWอเพิWมผลผลิ ต ให้ได้มากทีWสุด เมืWอการเพาะปลูกเป็ นเพียงกิ จกรรมการผลิตสิ นค้าตามกลไกของทุนนิ ยม แต่ไม่ใช่ เพืWอความไพบูลย์แห่ งจิตวิญญาณอี กต่อไป วังตะกอก็ไม่ต่างจากชุ มชนอืWนในแผ่นดิ นทีWเคยพึWงพิง ตนเองได้ ทีWผนื ดินอันอุดม เคยมีนาข้าวนับพันๆไร่ เรื อกสวนนาไร่ บริ บูรณ์ซW ึ งค่อยๆถูกเบียดทําลาย ไปจาการทําเกษตรแผนใหม่ และพืชเชิ งเดีW ยว อย่างแรกคือ ปาล์มนํhามัน มังคุ ด ทุเรี ยนหมอนทอง เงาะโรงเรี ยน ปลูกเป็ นแถวตรงสวย เป็ นจุดเปลีW ยนสําคัญทีWทาํ ให้ชาวบ้านอ่อนแอลง พึWงพาตนเอง ไม่ได้ เวลาไม่ถึง 10 ปี สวนสมรมถูกเปลีW ยนเป็ นสวนเชิ งเดี ยว มายาคติ ความใฝ่ ฝั นความรํWารวยก็


166 ค่อยๆถูกปลอกด้วยความจริ งทีWปรากฏให้เห็น เปลือกออก คนทีWอยากรวยมากเท่าไหร่ ยิงW เป็ นหนีh มาก เท่านัhน เกษตรกรยิWงทํายิWงจน แต่คนขายปุ๋ ย ขายสารเคมีกลับมีเงิ นในธนาคารมากมาย พืชผลราคา ตกตํWา เกษตรกรขายถูกแต่ตอ้ งซืh อแพง สังคมอบอุ่นเกืhอกูลกัน เปลีWยนเป็ นตัวใครตัวมัน ขณะทีWคนทีW เคยเข้ามาสัญญาว่าการทําเกษตรเชิ งเดีWยวเพืWอขายคือหนทางทีWจะเยียวยาความยากจนก็หายหน้าไป นับ แต่ ว นั ทีW ปั ญ หาและความจริ ง เริW ม ปรากฏ มันฮัhว กับ พ่ อ ค้า พวกเราถู ก ลอยแพ คนคิ ด ไม่ เ คย รับผิดชอบ ในความคิด ยกตัวอย่างเช่น การเปลีWยนนาเป็ นสวนปาล์ม นักวิชาการคิด ไม่ใช่ชาวบ้าน คิด เค้าบอกว่าจะรวยเพราะปาล์มนํhามัน เพราะยางพารา ทําให้คนเอาทีWนาไปปลูกปาล์มนํhามัน เพราะ ทํานาเหลือแต่ขา้ ว เหลือแต่ซงั กับหนีh แต่ถา้ ทําปาล์มจะต้องรวยวันรวยคืน ท้ายทีWสุขปลูกข้าวกิโลละ ห้าสิ บ ปาล์มก้อตัhงกองไม่รู้จะขายใคร ชาวบ้านวังตะกอถูกทิhงให้อยูก่ บั ซากนาร้างและเดินเข้าสู่ บ่วง ของนักล่าทีWมาในนามของกลไกการตลาดและระบบทุนนิ ยม ชาวบ้านบอกโค่นทัhงสวนเพืWอปลูก ปาล์ม ต้นทุนทีWหนักๆอยูท่ ีWค่าปุ๋ ย ค่าแรงงาน ค่าใช้นh าํ ช่วงหน้าแล้ง ค่าแรงขึhนกิ โลละ 3 บาท ผมแก่ แล้วขึhนไม่ไหว ก็ตอ้ งจ้างคนมาขึhนให้ กํานันเคว็ด: ในชีวติ มนุษย์หนึWงชีวติ น่าจะเป็ นโศกนาฏกรรมทีWแสนสาหัสทีWสุดแล้วเพราะว่า จะเปลีWยนแปลง ตัดมังคุด 7 นาที แต่ตอ้ งเปลีWยนแปลงการดํารงชี วิตตลอดไป นับหนึW งใหม่ตอนอายุ 60 ไม่ใช่เรืW องเล่นๆ บรรยาย: แต่นนWั คื อวังตะกอในวันวาน ปั จจุ บนั วังตะกอคื อชุ มชนต้นแบบทีWเอาอดี ตและ ความล้มเหลวมาเป็ นบทเรี ยน ความผิดพลาดและปั ญหามากมายทีWเกิดขึhนจากการหลงไปกับค่านิ ยม ภายนอก ทํา ให้ค นวัง ตะกอหันกลับ มาค้นหารากเหง้า จนรู ้ จกั ตัวเองและรู ้ เท่ า ทันโลกภายนอก ต้นทุนทางสังคมเดิมและภูมิปัญญาทีWสWงั สมมาแต่บรรพบุรุษทําให้คนวังตะกอหันกลับมาเรี ยนรู ้ทีWจะ พึWงตนเอง มีความสุ ขอย่างพอเพียงและเปลีWยนวิถีคิดใหม่ในเรืW องของการอยูด่ ีกินดีโดยมีชายสองคน เป็ นผูเ้ ริW มต้นจุดประกาย คนหนึW งคือ วิสุทธิS แก้วชูสมัย พนักงาน ธ.ก.ส. คนบ้านวังตะกอ ทีWมีความ สํานึกรักในบ้านเกิดอยากให้คนในบ้านได้รู้เท่าทันข้อมูลและเหตุการณ์จากภายนอก ส่ วนชายอีกคน ทีWลุกขึhนมาปฏิวตั ิความคิดเปลีWยนความเชืW อด้วยมองเห็นความผิดพลาดในสิW งทีWตวั เองหลงเชืW อและทํา ตามตลอดระยะเวลาหลายปี ทีW ผ่า นมา เขาเป็ นผูท้ ีW มี บ ทบาทสํา คัญในการนํา วัง ตะกอไปสู่ ค วาม เปลีWยนแปลง คนๆนีh ก็คือกํานันแหนบทองคําทีWชืWอประวิทย์ ภูมิระวิ หรื อทีWคนทัhงวังตะกอเรี ยกขาน กันว่า กํานันเคว็ด กํานันเคว็ด: สิW งทีW ลาํ บากทีWสุดคือ เราคิดอยากรวย ปลูกมังคุ ดก็ตอ้ งใส่ ปุ๋ยเคมี อยากได้ผล ผลิตมาก อยากได้เงินมาก แต่ก็ขายไม่ได้หรื อถ้าขายได้ตน้ ทุนก็ไปอยูท่ ีWอืWนหมด ผมเลยเปลีWยนแปลง ใหม่คิดทําเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ เพืWอลดต้นทุนได้ 90% โดยใช้ธรรมชาติเป็ นตัวขับเคลืWอน


167 (ตําบลวังตะกอก่อนหน้านีh สภาพโดยรวมเป็ นอย่างไรครับ?) เมืWอสิ บปี ทีWแล้ว แยกเป็ นกลุ่ม เป็ นหมู่และแต่ละกลุ่มมักจะทะเลาะกัน สาเหตุส่วนใหญ่ทีWทะเลาะกันมักมาจากผูส้ ู งอายุ เพืWอน พวก วัยรุ่ นรุ่ นพีW ซึW งถื อหางว่าต้องมี ศกั ดิS ศรี ของตัวเอง ยอมกันไม่ ได้ เขตไหนเขตนัhน แบ่ง กันเหมื อน สัญชาติ ก็เลยมียาว่าลูกจ้างแห่งเมืองหลังสวน บรรยาย: ในปี พ.ศ.2540 ขณะทีWเศรษฐกิ จทัวW โลกตกตํWา เศรษฐกิ จไทยทีWโตแบบฟองสบู่ ทรุ ดลงทันทีทีWได้รับผลกระทบเพียงเบาๆ ความเดือดร้อนกระจายจากเมืองไปสู่ ชนบทลุกลามไปทัวW ทัhงประเทศไม่ต่างจากไฟลามทุ่ง ในปี เดียวกันนัhนเองทีWคนวังตะกอถูกซํhาเติมด้วยวิกฤตนํhาท่วมใหญ่ ชุ มชนกลายเป็ นทะเลจมอยู่ใต้นh าํ ทีWท่วมกว่า 2 เมตร สวนไร่ นาเสี ยหายกว่า 2,000 ไร่ สัตว์เลีhยงล้ม ตายจนแทบไม่เหลื ออะไรเลย ความโศกเศร้ าเสี ยใจ เสี ยงร้ องไห้ดงั ระงมไปทัวW ทัhงวังตะกอ วิกฤติ และทุกข์โศกครัhงนัhนนีWเองทีWกลายมาเป็ นบทเรี ยนสําคัญทําให้กาํ นันและเพืWอนเหลียวหลังแลหน้าคิด ทบทวนถึงชี วิตทีWผา่ นมา และเริW มต้นตัhงคําถามถึ งสาเหตุแห่ งความป่ วยไข้ของชุ มชนไปพร้อมๆกับ การหาแนวทางทีW จะเดิ นต่อไปข้า งหน้าจนกลายเป็ นจุ ดเริW มต้นละทีW มาของแผนชี วิตชุ มชนคนวัง ตะกอ กํานั นเคว็ด: จากประสบการณ์ ชีวิตทีWผ่านมาทีWมนั เกิ ดวิกฤติของหมู่บา้ น ของตําบล ของ ภาพรวมของประเทศ อย่างทีWพอยกตัวอย่างได้ก็คือ วิกฤติ พ.ศ.2540 หรื อว่าวิกฤติปี40 เนีW ยถือว่ามัน สาหัสเป็ นบทเรี ยนสําหรับชีวติ (ตอนนัhนทําให้ชุมชนต้องลุกขึhนมาทบทวน?) ก็ตอ้ งทบทวน สิW งแรก ทีWเราต้องทบทวนคือหน่วยงานส่ วนหนึW ง ผมไม่อยากพูดว่าหน่ วยงานไหนนะ กักเก็บข้อมูล ข้อมูล ในชุมชนเก็บไปไหน ชุ มชนไม่มีโอกาสรู ้เลยแต่เขาบอกว่าเก็บไว้ทาํ แผน ทีWนh ี แผนอะไร แผนทีWวา่ นีh แผนของใครและเจ้าของชุ มชนเขามีโอกาสรู ้ดว้ ยไหม (คือคนอืWนกําลังวางแผนให้เราแต่ว่าเราไม่รู้ เลย?) คิดให้หมดเลย คนอืWนคิดว่าชุมชนนีh ตอ้ งทําอันนัhนต้องทําอันนีh ก็ถามว่าใครคิดให้?นักวิชาการ คิดให้ พอเรามาคิดตรงนีhก็จดั คิดทําแผนชี วิตชุ มชนขึhน (คือตรงนัhนเป็ นจุดเริW มต้นว่าเราต้องวางแผน ชีวติ ชุมชน?) คือตรงนัhนจุดประกายเลย วิสุทธิt แก้ วชู สมัย เจ้ าหน้ าที ธ.ก.ส. สาขาละแม จ.ชุ มพร : เราต้องมองตัวตนของคนวัง ตะกอ เมืWอวานเนีWยเรามีสWิ งดีงามอะไรคือตัวอดีต และเรามีความสามารถในตัวตนของเราคืออะไร เรา ต้องเอาความสามารถในส่ วนนัhนออกมานะ ปั จจุบนั นีhเรามีศกั ยภาพอะไรทีWเราสามารถจะกระทําได้ นะครับ ความเป็ นจริ งในข้อมูลต่างๆทีWมีอยู่ ตรงนีh เนีW ยเราพยายามทีWจะดึ งออกมาแล้วก็มาทําความรู ้ ร่ วมกันนะครั บ แล้วก็ในวันพรุ่ งนีh เราจะทําอะไร ก็หมายความว่าเรามาคิ ด มากําหนดร่ วมกันว่า พรุ่ งนีhของตําบลวังตะกอเราจะทําอะไร บรรยาย: จากต้นทางความคิดของชาย 2 คน นําไปสู่ การพูดคุยและขยายแนวคิดไปสู่ ผนู ้ าํ ท้องถิW น ผูน้ าํ ท้องทีW และผูน้ าํ ตามธรรมชาติ มี การเปิ ดเวที ย่อยหมุ นเวียนปรั บเปลีW ยนไปในแต่ละ


168 หมู่บา้ นเพืWอให้เป็ นเวทีการเรี ยนรู ้ของผูน้ าํ ในการร่ วมคิด ร่ วมทํา ก่อนจะนําแนวคิดเผยแพร่ ต่อไปใน ชุ มชน การเปิ ดเวทีย่อยและการทําแบบฟอร์ มออกสํารวจข้อมูลชี วิตและความเป็ นจริ งของชุ มชน อย่างครบถ้วน ครอบคลุ มทุกด้าน ทําให้คนวังตะกอค้นพบตัวเอง มองเห็ นจุดแข็งและต้นทุนทาง สังคมทีWยงั เหลืออยู่ พร้ อมกับพบจุดอ่อนเป็ นข้อมูลตัวเลขทีWน่าจะนํามาซึW งสาเหตุแห่ งความป่ วยไข้ อ่อนแอลงของสังคมและชุมชน กํานันเคว็ด: (ถ้าพูดว่าเป็ นการวินิจฉัยโรค พบไอ้ตวั โรคหรื อว่าสาเหตุทีWสําคัญของโรคนัhน คืออะไรบ้างครับ?) หนึW งคนกินเหล้ากับกินข้าวสารเนีW ยเท่ากันเลย คนกินเหล้าเนีW ย 14 ล้านเศษๆ คน กินข้าวก็ 13-14 ล้านเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน ในขณะทีWคนกินเหล้าส่ วนมากเฉพาะผูช้ าย ผูห้ ญิงส่ วน น้อย พอคนกิ นเหล้าเยอะมันกระทบอะไร รถมอเตอร์ ไซด์ลม้ ทะเลาะกัน ด่ากัน ฟั นกัน ตีผวั ตีเมีย บ้านแตกสาแหรกขาด ก็ลว้ นแล้วแต่มาจากอบายมุขชัดๆเลยแต่เรายากทีWเราจะแก้ได้ แต่เรารู ้ว่ามัน เป็ นโรคนีh แ ล้วล่ ะ ต่ อ มาขนมกรุ บ กรอบทีW เ ราพบว่า สมัย นัhน ทีW เ ซเว่นหลัง สวนตัhง ใหม่ ๆ เด็ ก ไป โรงเรี ยนสวนศรี ตอ้ งแวะเซเว่น เมืW อก่อนมันกิ นต้นกล้วย มันกิ นกล้วยทอด มันกิ นกล้วยแขก แต่ วันนีhมนั ต้องไปกินอะไร ไอ้.....อะไรสักอย่างทีWในเซเว่นไม่งh นั ไม่เท่ห์ นีW ต่างหากทีWทาํ ให้จน (ปี หนึW ง สักเท่าไหร่ ครับ?) กินขนมกรุ บกรอบปี หนึWงประมาณ 3 ล้านเศษ และโดยเฉพาะเครืW องดืWม นํhามันข้าง ต่างๆเนีW ย นํhามันข้างต่างๆทีWผมเรี ยกก็คือเครืW องชู กาํ ลังทัhงหลายครับปี หนึW ง 7 ล้านเศษ (ตัวเลขปุ๋ ย สารเคมีทีWได้ทาํ สํารวจออกมาปี ๆหนึW งเท่าไหร่ ครับ?) ปี หนึW งก็ปุ๋ยสารเคมีประมาณ 8-9 ล้านในตําบล ต่อปี ในขณะเดี ยวกันคนทีWกินกับข้าวกินหมู ปี ๆหนึW งประมาณ 7 ล้าน แล้วซืh อหมูทีWไหน ตําบลวัง ตะกอเล็กๆซืh อหมูบริ ษทั ใหญ่บริ ษทั หนึWงทีWครอบคลุมจักรวาลอยู่ ณ บัดนีh ราคาก็ขh ึนลงตามตลาด (ณ เวลานัhนนีWขา้ วก็ตอ้ งซืh อข้างนอกหมดแล้วใช่ไหมครับ?) ซืh อหมด ไม่มีปลูก ทุกอย่างไม่มีปลูก (นีW มนั แสดงให้เห็ นว่าชุ มชนเนีW ยพึWงข้างนอกหมดเลย เอาเงิ นไปให้ขา้ งนอกหมดเลย?) 100% ปลูกอย่าง เดียว ทีWเหลือก็ซhื อข้างนอกหมด ซืh อร้อยแปดพันเก้า บรรยาย: ความมุ่ งมันW พยายามและทุ่ มเทเพืW อการจัดทํา แผนแม่ บ ทหรื อแผนชี วิตชุ ม ชน ร่ วมกัน ไม่เพียงทําให้คนวังตะกอได้รับรู ้ และมองเห็ นความจริ งจากปั ญหาทีW รุมเร้ าอยู่เท่านัhน แต่ หัวใจสําคัญคือ การได้สร้ างกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้เกิ ดขึhนกับผูค้ นในชุ มชน การได้หันกลับมาทํา ความรู ้ จกั กับรากเง้า รู ้ อดี ต รู ้ จกั ตัวเอง จนเกิ ดเป็ นความภาคภูมิใจในวิถีของชุ มชน รู ้ เท่าทันโลก ภายนอก และเปลีWยนวิธีคิดเดิมไปสู่ วิธีคิดใหม่เพืWอพาชุ มชนให้หลุดพ้นไปจากกรอบคิดแบบพึWงพา และรอความช่วยเหลือจากรัฐหรื อภายนอกแต่เพียงอย่างเดียว “ ชาวบ้านเรา พวกเรานีW ตอ้ งรวมตัวกัน แล้วคิดในเรืW องของเราให้ได้ ถ้ารวมกันแล้วก็ตอ้ งรวมให้จริ งๆ จังๆ ด้วย ถ้ารวมกันไม่จริ งก็ยิWงแย่ แล้วก็อย่างทีWดาํ พูดนันW แหละ ต้องมองทีWตวั เองก่อน อย่ารอ อย่ารอให้ อบต. มาช่ วย กํานันมาช่ วย ประเทศมาช่วย จะตายด้วยกันทัhงหมด สิW งไหนทีWทาํ ได้ ถ้าช่วยกันทํา ก็จะอยูร่ อด” กํานันเคว็ดกล่าว


169 15 ตุลาคม 2546 ชาววังตะกอ ประกาศใช้แผนแม่บทชุ มชน แต่งานของกํานัน ประวิทย์ ซึW ง เป็ นหนึW งในคนตัhงต้นยังไม่สิhนสุ ดลงเพียงเท่านัhน กว่าแผนแม่บทชุ มชนจะสําเร็ จลงไม่ใช่ เรืW องง่าย การผลักดันให้คน 7,000 คน 13 หมู่บา้ น ทัhงตําบล วังตะกอ นําแผนแม่บทชุ มชนไปปฏิบตั ิให้เป็ น จริ งในแผ่นดิ น เป็ นเรืW องทีW ยากยิWงกว่า ในฐานะทีW ตนเองประสบปั ญหา ถู กโรคภัยจากการพัฒนา รุ มเร้ าไม่ต่างจากชาวบ้านคนอืWนๆ กํานันจึงจับจอบ จับเสี ยม แปลงตัวหนังสื อในแผนออกมาเป็ น ต้นไม้ หมู เห็ด เป็ ด ไก่ ใส่ ลงในพืhนทีWดินพรุ 27 ไร่ เพืWอรักษาโรคความยากจนให้เห็นเป็ นต้นแบบ การทําให้ดู อยูใ่ ห้เห็น ช่วยให้องค์ความรู ้ในแผนแม่บทก่อตัวเป็ นรู ปเป็ นร่ าง แต่กลายเป็ นความจริ ง ทีWจบั ต้องได้ ค่อยๆขับเคลืW อนออกไปสู่ ชุมชน เพืWอแก้ไขโรคความจนและความทุกข์ให้ตรงจุดตาม ข้อมูลแผนชีวติ ชุมชนทีWระบุชดั ว่า หนีhสินของคนวังตะกอมาจากรายได้ทีWนอ้ ยกว่ารายจ่าย และรู รWัวทีW ใหญ่ทีWสุดของเกษตรกรก็คือ การพึWงพิงตลาดภายนอกในแทบทุกปั จจัยในการดํารงชี พ โดยเฉพาะ ปุ๋ ย ยา และสารเคมีทางการเกษตรทีWตอ้ งจ่ายออกไปไม่ตWาํ กว่าปี ละ 8 ล้านบาท ยุทธศาสตร์ สําคัญทีWกาํ นันนํามาใช้ในศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงวังตะกอ จึงเป็ นการ ลดต้นทุนรายจ่ายในชีวติ ลงให้มากทีWสุด โดยเริW มต้นจากการเลิกใช้ปุ๋ยเคมีทุกชนิ ด ไม่พW ึงพาภายนอก แต่หนั มาอาศัยต้นทุนภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ และให้ธรรมชาติเป็ นตัวขับเคลืWอนพึWงพาซึW งกันและ กันแทน กํานันเคว็ด: เริW มต้นจากตัวเราเอง เพราะพูดไปไม่มีใครเชืW อแล้วแหละ พูดให้คนเชืW อไม่เชืW อ แล้วแหละ เพราะงัhนต้องทําให้ดูก่อนทีW ก าํ นันจะมาเปลีW ยนแปลง ก่ อนหน้านัhนกํา นันก็ ใช้ปุ๋ ยเคมี เหมือนเพืWอน ซืh อยาฉี ดหญ้าทีWมนั 48 % เพราะ 16% มันเจือจางแล้วเดี…ยวมันตายช้า ปี 46 ผมก็ปรับ มองจากพืhนทีW ว่ามันควรจะปรั บจากทีW เรารอแม็คโค เราไม่ตอ้ งรอได้มย‚ั คิ ดยกนํhาขึh นมาได้มย‚ั ทํา ธนาคารนํhาได้มย‚ั ก็เลยจัดการ มันเป็ นห้วยอยูด่ า้ นหลังเนีWย ทํานกดักนํhาเลย ฝนตกเยอะก็ให้ลน้ ลงไป ตามธรรมชาติ แต่ว่าสิW งทีW ผมไม่เอาก็ตอ้ งปิ ดตรงนีh ตรงนีh เป็ นนํhาทีW ตอ้ งเอาไว้ในธนาคารไง ถ้าผม ต้องการนํhาก็เปิ ดให้นh าํ มันไหล ถ้าไม่ตอ้ งการก็ปิด ปิ ดนํhาเดี…ยวนํhาก็เอ่อ ล้นลงไปตามธรรมชาติ ถ้า นํhาดี ทุกอย่างมันก็ปรั บสภาพดี ไปหมด พอเปลีW ยนแปลงโดยใช้ธรรมชาติ เป็ นตัวขับเคลืW อน ตัhงแต่ เรืW องของการจัดการนํhา ลดต้นทุน ทําวาวทีW ใช้เศษกระเบืhองปิ ดในเรืW องของการผันนํhา มาเลีh ยงหมู เลีhยงเป็ ด เลีhยงวัว ทํางานครบวงจรแล้ว แล้วส่ งไปให้ตน้ ปาล์มมันกิ น ทําต่อเนืW องแบบนีh 4 ปี โดย เริW มปฏิวตั ิทีWดินของตนเอง 4 ปี โดยหัวใจสําคัญก็คือว่า เลิกพึWงพาภายนอก แล้วก็ให้ธรรมชาติเป็ นตัว จัดการ บรรยาย: ในโจทย์สําคัญคือการทําให้สวนสวย และให้ผลผลิตดีโดยไม่ตอ้ งเสี ยเงินให้ปุ๋ย วิทยาศาสตร์ ยากําจัดวัชพืช รวมทัhง เครืW องตัดหญ้าทีWมีแต่รายจ่ายเหมือนทีWผา่ นมา กํานันหาคําตอบ


170 โดยหวนกลับไปมองวันวานทีWเคยอยูก่ นั มาโดยไม่ตอ้ งพึWงพาสิW ง เหล่านีh สัตว์เลีhยงอย่างวัว ควาย คือ ทางออกของทุกคําถาม เป็ นต้นทุนทางปั ญญาของคนรุ่ นเก่าทีWถูกมองข้าม กํานันเคว็ด: ภูมิปัญญาไทยของบรรพบุรุษบริ เวณนีh เมืWอก่อน เค้าสร้ างสวน ทําแล้วอยู่ได้ อย่างมีความสุ ข เลีhยงควาย เลีhยงวัว หญ้าสู งตรงไหนก็เอาวัวไปผูกตรงนัhน เค้าเรี ยกว่า เครืW องตัดหญ้า เดิ นตาม แต่สWิ งทีWดีไปกว่านัhน ถ้าวัวขีh ไส้เดื อนมันอยู่ได้ไง แต่ถ้านํhามันเครืW องเนีW ยไส้ เดื อนตาย เลย เปลีWยนความคิดว่าซืh อเครืW องตัดหญ้าเดินตามมาไว้ดีกว่า วัวตัวหนึWงสามารถทํางานขับเคลืWอนไปตามธรรมชาติได้อย่างครบวงจร เป็ นเครืW องตัดหญ้า เดินตาม เขีhยวบดหญ้า ผลิตออกมาเป็ นปุ๋ ย เลีhยงดูตน้ ไม้ในสวนให้งอกงาม ลดทัhงแรงและต้นทุนให้ เจ้าของได้เกือบ 100 % แต่สWิ งทีWมีคุณค่าและไม่อาจตีเป็ นมูลค่าและนับได้เป็ นเปอร์ เซ็นต์ก็ คือ การ ได้ฟhื นวิถีของการแบ่งปั น พึWงพาอาศัย จนเกิดเป็ นสายสัมพันธ์ทีWเชืW อมโยงระหว่างคนต่อคน และจาก คนค่อยๆไหลออกไปสู่ ชุมชน กํานันเคว็ด: “วันนีhผมมีอยูท่ ีWบา้ นทัhงหมด 14 ตัว แต่ในขณะเดียวกัน ถ้าใครอยากเอาไปเลีhยง ก็ให้เขาไปเลีhยงเลย ทัhงหมดน่าจะมีอยูส่ ัก 30 -40 ตัว ไม่ตอ้ งเติมนํhามัน สวนเตียนและได้ปุ๋ยด้วย มัน เป็ นเหมือนภูมิคุม้ กันอย่างหนึW งทีWทาํ ให้เกิดความเชืW อมโยง เหมือนยุคของบรรพบุรุษ เมืWอก่อนบรรพ บุรุษเราเป็ นอย่างนีh ลงแขกช่วยเหลือกัน เลีhยงวัวแบ่งกัน ผมไม่ใช่คนแรกทีWคิด” บรรยาย: การเรี ยนรู ้ทีWเกิดจากการต้องการลดต้นทุนและการลองผิดลองถูกจากการทํางาน โดยไม่เอาเงินมาเป็ นตัวตัhง งอกเงย กลายเป็ นองค์ความรู ้ และเริW มปรากฏผลเป็ นรู ปเป็ นร่ าง จับต้อง ได้มากขึhนเรืW อยๆ การเลีh ยงหมูหล่านเป็ นอีกองค์ความรู ้ หนึW งทีWเกิ ดขึhนจากการต้องการแก้ปัญหาการเลีh ยงหมู ตามระบบทีWตอ้ งลงทุนสู ง ทัhงต้นทุนค่าโรงเรื อน ระบบการให้อาหารและนํhาในคอกสมัยใหม่ ซึW ง ต้องใช้เงินเป็ นจํานวนมาก เพืWอลดต้นทุนให้ชาวบ้านทัวW ไปสามารถเลีh ยงหมูเพืWอผลิ ตปุ๋ ยใช้ในสวน กินและชําแหละขายในชุ มชนได้ โดยไม่ตอ้ งไปพึWงพาภายนอกมากเกินไป กํานันจึงหันมาเลีhยงหมู หล่ า นทีW ล งทุ นตํWา แต่ อาจต้องลงแรงสู ง กว่า การเลีh ย งหมู ตามแบบแผน เพืW อให้ช าวบ้า นเห็ นเป็ น ตัวอย่าง กํานันเคว็ด: รอรับเศษอาหาร เอาเศษอาหารไปให้หมู ให้เป็ ด ให้ไก่ เศษอาหารเหล่านีh ถา้ คิด เป็ นมูลค่าแล้วเยอะพอสมควร คนมีเงินทัhงนัhนทีWกินแล้วทิhงเนีWย วันหนึWงประมาณซัก 200 กิโลทีWทิhงไป โดยเปล่าประโยชน์ ก็เก็บไปให้หมูกิน ให้เป็ ดกิน ให้ไก่กิน แล้วเราก็ลดต้นทุนไปด้วย บรรยาย: เมืW อผลของความรู ้ การพยามยามพึW ง พาตัวเองและการลดต้นทุ นให้เ ห็ น เป็ น ตัวอย่างในศูนย์การเรี ยนรู ้ของกํานันเริW มเป็ นทีWประจักษ์ชดั มากขึhน ชาวบ้านทีWเคยรอดูทีท่าอยูห่ ่ างๆก็ เริW มเข้ามาเรี ยนรู ้ แนวคิดจากศูนย์เริW มไหลออกสู่ ชุมชน ความหวังทีWจะสร้างชุ มชนให้พW ึงพาตัวเองได้


171 เพืWอความสุ ขอย่างยังW ยืน เริW มปรากฏเป็ นจริ งที ละบ้านสองบ้าน ค่อยๆกระจายออกไปไม่ต่างจาก นํhาซึ มบ่อทราย ชาวบ้ าน: (พีWเลีhยงหมูนานหรื อยังครับ?) เลีhยงประมาณ 3-4 ปี ตอนเริW มไม่มีทุน กํานันเป็ นผู ้ อุดหนุ น ส่ งเสริ ม แกช่วยเหลื อให้ลูกหมูมาเลีhยงก่อน กํานันบอกว่าให้มาเลีh ยงไม่ได้ตอ้ งการให้รวย แต่ตอ้ งการให้อยู่รอด แกแนะนําว่า เลีh ยงหมูทาํ ขายเอง ขีhหมูก็เอาไปใส่ ตน้ ปาล์ม ปาล์มก็โตขึhนดี ผลผลิตก็ดี ทีWสาํ คัญได้ลดต้นทุน กํานันเคว็ด: ก็คนทีWเอาไปเลีhยงแล้ว ก็มาเอาลูกหมูไปก่อนได้ สองน่ะมันมีขอ้ แม้วา่ คุณต้อง เอาขีhหมูมาใส่ สวนคุณด้วยและก็ตอ้ งขายในชุมชนถ้าเอาไปขายทีWไหนไม่ได้ก็เอามาขายทีWเราได้ (คือ หมูทีWเลีh ยงเนีW ย ไม่ได้จะเลีh ยงเพืWอทีWให้พ่อค้าข้างนอกมาจับไปขายชําแหละในโรงฆ่าสัตว์?) ไม่ใช่ (เพืWอทีWจะบริ โภคในชุ มชน?) ใช่ เพืWอทีWจะชําแหละบริ โภคในชุ มชนเรา เราเลีhยงหมูเนีW ยเลีh ยงตาม ข้อมูลบริ โภคตามแผนชี วิตชุ มชน ชุ มชนเรากิ นหมูปีละ7ล้า น แล้วซืh อจะหมูทีWไหนล่ ะ ชุ มชนวัง ตะกอเล็กๆ ซืh อหมูบริ ษทั ใหญ่บริ ษทั หนึW งทีWครอบคลุ มจักรวาลอยู่ ณ บัดนีh เค้าคิดหมดแหละขึhนลง ตามตลาด บรรยาย: การเลีhยงหมูแบบครบวงจรในชุมชน นอกจากทําให้คนวังตะกอได้กินหมูในราคา ยุติธรรม ไม่ขh ึนลงตามราคาท้องตลาด เงินทองไม่ไหลออกข้างนอกแล้ว ยังเป็ นหมูทีWเลีhยงโดยคนใน บ้าน ขายในร้านค้าทีWเป็ นร้านค้าสหกรณ์ชุมชน ไม่ตอ้ งจ่ายค่าเดินทางออกไปตลาด และทีWสําคัญไม่ ต้องกังวลเรืW องความปลอดภัยและสารเคมีปนเปืh อน พืhนทีWเกษตรในวังตะกอมากกว่า 70% เป็ นสวนปาล์ม ซึW งเจ้าของสวนต้องหมดเปลืองต้นทุน ไปกับค่ายา ค่าปุ๋ ยเคมี เกินกว่าครึW งของรายรับ เมืWอแนวคิดเรืW องลดรายจ่ายเพิWมรายได้ ลดต้นทุนการ พึWงพาภายนอกในมากทีWสุดจากศูนย์การเรี ยนรู ้ เริW มกระจายออกสู่ ชุมชน ไม่เพียงแนวคิดเรืW องการ ผลิ ตปุ๋ ยจากหมูและวัวเท่านัhนทีWได้รับการตอบรับ แต่ทะลายปาล์มทีWเคยถูกทิhงไว้อย่างไร้ ค่าก็ถูกนํา กลับมาใช้ประโยชน์ เป็ นทัhงปุ๋ ยและวัสดุสาํ หรับเพิWมรายได้ให้กบั ชาวสวน กํานันเคว็ด: (นีWคือแปลงเพาะเห็ดทีWทาํ จากทะลายปาล์มเป็ นของชาวบ้านทีWขยายผลมาจากทีW กําลังทําทีWศูนย์?) ครับผม ปี สองปี ทําเห็ดเนีW ยต้องขยับเขยืhอนไปเรืW อย พืhนทีWใหม่เนีW ยดอกเห็ดจะขึhนดี สวย และก็ได้ผลผลิตเยอะ นันW ก็ปัจจัยหนึWง ส่ วนทีWจะต้องเลืWอนเรืW อยก็เพราะเพืWอจะได้ปุ๋ย ซากทะลาย ปาล์มทีWเหลือแล้วจะได้เป็ นปุ๋ ยให้กบั ต้นปาล์มต่อ มันจะช่วยเหลือเกืhอกูลกันตลอด ป้าชาวบ้ าน: (ต้นทุนมีอะไรบ้างครับ?) ต้นทุนก็มีทะลายปาล์ม เชืhอเห็ด ค่านํhามันสําหรับรด นํhา มีพลาสติกคลุม (แต่วา่ ก็ใช้ได้หลายรอบใช่ไหม?) ค่ะ หลายรอบ (รอบหนึW งขายได้เท่าไหร่ ครับ?) ก็ประมาณ 2 หมืWนกว่าบาท แต่ตอ้ งช่วยกันหลายคน ก็ทาํ กันสามสีW คนแม่ลูก ในครัวเรื อนนันW แหละ


172 กํานันเคว็ด: (ประโยชน์ทีWได้หนึW งคือ ได้รายได้เสริ มด้วย?) ได้รายได้เสริ มได้บริ โภคและก็ ได้ปุ๋ยใส่ สวนด้วย ผลพลอยได้ก็คือได้ปุ๋ย คือทะลายปาล์มนีh สุ ดท้ายแล้วก็ยอ่ ยสลายไปเป็ นปุ๋ ย บรรยาย: หลายปี ทีWเดินทวนกระแส เพืWอเพียรสร้างตัวอย่างและโน้มนําชุ มชนให้หนั กลับมา พึWงตนเอง กํานันต้องเผชิ ญทัhงแรงเสี ยดทาน แรงเสี ยดสี และกระแสต่อต้านจากสังคมบางส่ วน แต่ ด้วยศรัทธาและความมุ่งมันW อย่างแรงกล้าทีWจะเลื อกเดิ นไปบนหนทางทีWเป็ นผูก้ าํ หนดเองและนําพา สังคมวังตะกอกลับไปสู่ ความสุ ข วันนีh ความหวังของกํานันแห่ งวังตะกอเริW มบังเกิ ดผล ความสุ ข ค่อยๆ ไหลคืนกลับมาสู่ ชุมชน แม้จะเป็ นไปอย่างช้าๆ กํานันเคว็ด: พอผมเปลีWยนแปลงมาเป็ นแบบนีh ปี แรกสองปี ก็แย่ ถูกเพืWอนค่อนขอดว่าทําไม ปาล์มมึงต้นสี เหลืองล่ะ ทําไมมันซูบซี ดอย่างนีh ก็จาํ เป็ นต้องจํายอม เพราะมันก็เป็ นแบบนัhนจริ งๆ สีW ปี ปี นีhปีทีWหา้ แรกๆ ก็ได้ซกั สามตัน ห้าตัน หกตัน วันนีhตดั ครัhงสุ ดท้ายเมืWอวานผมได้ สิ บหกตันแปด ร้อยกิโลกรัม คูณ 4.20 บาท ให้ค่าคนตัดซัก70ก็ได้ เหลือไม่ตอ้ งให้ใครเลยเหลือล้วนๆ (เท่าไหร่ ครับ ตัวเลขครับ?) ก็คาํ นวณเศษๆ ยีWสิบวัน รอบเดียว ไม่แบ่งให้บริ ษทั เลยซักบาทเดี ยว ผมเชืW อเหลือเกิ น ว่าถ้าคุณตัhงใจเดินบุกป่ าลุยไฟกันแล้ว ยังไงมันก็ถึงสวรรค์แน่นอน บรรยาย: ร้ านค้าชุ มชนคือส่ วนหนึW งของการพยายามพึWงตนเองของคนวังตะกอ ด้วยการ พัฒนาระบบการจัดการธุ รกิจชุ มชนขึhนโดยชาวบ้านเพืWอชาวบ้าน ร้ านค้าชุ มชนเล็กๆ ซึW งดําเนินการ ในรู ปแบบของสหกรณ์ ทาํ ให้เกิดประโยชน์ร่วมของคนในชุ มชน เป็ นสถานทีWพบปะกันระหว่างผู ้ ซืh อผูข้ าย และยังเป็ นส่ วนหนึW งของจุดเริW มต้นทีWช่วยรืh อฟืh นความเข้มแข็งและความสุ ขจากการเกืhอกูล พึWงพาซึW งกันและกัน เหมือนอดีตชุมชนในวันวานของชุมชนวังตะกอให้กลับคืนมาอีกทางหนึWงด้วย ชาวบ้ าน: (ลิตรละเท่าไหร่ ครับ?) ปั‚มนํhามันหลอด 42 บาท กํานันเคว็ด: (ร้านค้าชุมชนตัhงอยูท่ ีWบา้ นหนามแดง หมู่12 อันนีh ทาํ ให้เกิดประโยชน์อะไรกับ ชุมชนครับ?) คิดง่ายๆ ว่าในชีวติ เราชีวติ เนีWย ทีWเราไปซืhอของตามร้าน ห้างร้านต่างๆ ในตลาดเนีW ย สิW ง ทีWเราได้คืนมาก็คือ หนึWงปี ปฏิทินหนึWงเล่มในฐานะคนรู ้จกั ขาประจําอย่างอืWนไม่มี จะซืh อกีWหมืWนกีWแสน กีWลา้ นไม่รู้ นีhมนั แตกต่างกับร้านค้าสวัสดิการชุมชนได้ยงั ไงเนีW ยหรอ ร้านค้าสวัสดิการชุ มชนเป็ นทุน ของพวกเราและระดมทุนลงมาทําร้านค้าชุ มชน สิh นปี คิดแบ่งผลกําไรเฉลีWยคืน สิW งนีh มนั เปรี ยบเทียบ ได้วา่ ดีกว่าปฏิทินหนึWงเล่ม แม่ ค้าหมู: (เหลือ2ชิhนเองนะครับ นีW วนั นีhฆ่ากีWตวั ครับ?) ฆ่าตัวเดียว (นีW ขายกิโลกรัมเท่าไหร่ ครับเนีW ย?) หนึW งร้ อยบาท (แล้วเนืhอแบบนีh ในตลาดขายกิโลกรัมละเท่าไหร่ ครับ?) กิ โลกรัมละ 110120 บาท


173 (ทีWนีWถูกกว่าสิ บเปอร์ เซ็นต์?) ค่ะถูกกว่า (แล้วหมูทีWขายเอามาจากไหนครับ?) เลีhยงเองค่ะ เลีhยงเองก็ ขายเอง (เลีh ยงเอง ฆ่าเอง ขายเอง นีW ชาวบ้านก็จะมาอุดหนุ นร้ านค้าของตัวเอง?) เจ้าประจํามาแล้วค่ะ (มีหมู ของเพืWอนบ้านมาขายในหมู่บา้ น ดี สําหรับคนซืh ออย่างไรบ้างครับ?) สําหรับคนซืh อ..ได้ของถูกใน หมู่บา้ นของเราเอง ถึงจะถูกหรื อแพงก็ดีกว่าไปซืh อในตลาด ก็ช่วยอุดหนุ นคนในหมู่บา้ นให้มีรายได้ ดีกว่าไปขายข้างนอก ผจก ร้านสหกรณ์ชุมชนบ้านบากแดง ซืhอหาของสะดวก ได้ปันผลกลับมา ก็มีการลงหุ ้นแล้วก็ได้ปัน ผลกลับมา ผูจ้ ดั การร้านสหกรณ์ชุมชนบ้านบากแดง : (นีWชาวบ้านมาลงหุ ้นกันหรื อครับนีW ทัhงหมดกีWหุ้น ครับ?) ทัhงหมดก็แสนกว่าหุ ้น (ทัhงหมดแสนกว่าหุ ้น หุ ้นละเท่าไหร่ ครับ?) หุ ้นละ 100 บาท คนนึ ง ไม่ให้เกิน 30 หุ ้น (แล้วปี ทีWแล้วขายได้เท่าไหร่ ครับนีW ?) ยอดขายได้ 7 ล้านกว่า พอหักค่าใช้จ่ายแล้ว เป็ นกําไร 7 แสนกว่าค่ะ (นีW นอกจากเงิน7 ล้านกว่าจะไม่ไหลออกไปข้างนอกแล้วยังได้กาํ ไรอยูใ่ นชุ มชนอีก?) ก็เอากําไรมา ปั นผลให้กบั สมาชิก แล้วก็มาปั นผลให้กบั ลูกหลานของสมาชิ กเป็ นค่าเล่าเรี ยนการศึกษาเป็ นทุนละ หนึWงพันบาท กําไรทีWได้นีWเอาเป็ นทุนการศึ กษาด้วย ปั นผลด้วย แล้วก็เป็ นเงิ นกองกลางทีWเอาไปใช้กบั สาธารณะ ประโยชน์ในชุมชุนในด้านต่างๆ บรรยาย: ร้านค้าชุมชนไม่เพียงช่วยอุดรู รัWวรายจ่ายของชุ มชนทีWไหลออกข้างนอกปี ละหลาย ล้า นบาทและการได้รับ ประโยชน์ ร่วมเป็ นเงิ นปั นผลและสวัสดิ ก ารเพี ยงเท่ านัhน แต่ การบริ หาร กิจการจนเกิดผลกําไรทําให้ชุมชนได้ตระหนักถึงศักยภาพในการจัดการโดยพึWงพิงตัวเองและเรี ยนรู ้ ทีWจะลดละความรู ้สึกต่อการพึWงพาภายนอกทีWมีทุน มีความรู ้ และมีอาํ นาจมากกว่า การจัดการแบบชาวบ้านทีW ใ ห้ค่ ากับความสั มพันธ์ ข องคนมากกว่า ผลกํา ไรทํา ให้ร้า นค้า ชุมชนเป็ นทีWกลางทีWชาวบ้านในชุมชนสามารถนําของทีWผลิตเองในท้องถิWน ในรัhว ในสวน ในบ้านมา วางขายโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายใดๆ ชาวบ้ าน: (มีของอะไรบ้างทีWเป็ นผลิตผลจากชาวบ้านในชุ มชนครับ?) เครืW องแกงของกลุ่ม ชาวบ้านทีWทาํ เอง ห่อหมก พริ ก ซึW งใช้วตั ถุดิบในหมู่บา้ นของตนเอง ลุงเทียง: นํhาผึhงโพรงไทยของกลุ่มเลีh ยงผึhงตําบลวังตะกอ (นํhาผึhงนีh ของลุ งเหรอครับ?) ครับ (ทีWนีWมีคนเลีhยงผึhงเยอะไหมครับ?) มีอยู่ 7-8 รายรวมกันเป็ นกลุ่มเลีhยงผึhง (ขายขวดเท่าไหร่ ครับ?) ขาย ปลีกขวดละสองร้อย ขายส่ งคิดร้อยแปดสิ บ (ปี หนึW งได้หลายขวดไหมครับ?) ปี นีhได้สามร้อยห้าสิ บ กว่าขวด (เลีhยงผึhงอย่างเดียวได้ 60,000 กว่าบาทต่อปี ?) ครับ (เลีhยงในสวนไหนบ้างครับ?ข้างบ้าน?)


174 วางทัวW ไปเลยในบริ เวณหมู่ 12 ผมวางไว้ทวัW ไปเลย (เพืWอนบ้านก็ยินดี?) เขายินดี เขาเต็มใจให้เลีhยง มันช่วยผสมเกสร บรรยาย: รังผึhงหรื อบ้านผึhงนีW มีอยู่ทวWั ไปจริ งๆนะครับ นีW ขา้ งศาลาอเนกประสงค์นีWก็มีสาม บ้าน อาชีพเสริ มทีWทาํ รายได้ให้กบั ชาวบ้านทีWนีW ซึW งอาจจะได้รายได้มากกว่าอาชี พหลักของเกษตรกร บางพืhนทีWหรื อบางรายอีกนะครับ ก็คือการเลีhยงผึhงครับ ลุงเทียง: (บ้านผึhงมันเป็ นแถวไปตามลําห้วย?) ตามลําห้วยยาวไปถึ งตรงโน้น (ลุ งเทีWยงมี ทัhงหมดกีWรังครับ?) ทัhงหมด 185 รัง (แล้วลุงเทีWยงต้องมาดูแลอะไรมันบ้างครับ?) ก็มาดูแลอย่าให้กิWง ไม้พาดแบบนีhเพราะว่ามันจะลงไปในรัง แล้วก็ดูนh าํ ให้มนั มีนh าํ อยู่ประจํา พวกมดจะขึhนต้องหล่อนํhา ไว้ (นีW นอกจากมดแล้วก็ไม่มีอะไรมายุ่งแล้วใช่ ไหมครับ?) ไม่มีอะไรนอกจากมดอย่างเดี ยว เราก็ ปล่อยให้ธรรมชาติมนั เลีhยง (แล้วตอนทีWมาจับมันทําอย่างไร ต้องใส่ ชุด?) ใส่ เสืh อแขนยาว ใส่ ถุงมือ สวมหมวกกันน็อค สวมชุ ดแล้วก็ใส่ รองเท้าบู๊ท (อ่อจับแบบนีh เหรอครับ แล้วนีW ผมต้องอยูห่ ่ างลุงแค่ ไหนครับ?) เข้ามาใกล้ๆก็ได้ ไม่เป็ นไรเข้ามาเลย (ชี วิตลุ งเทีWยงทุกวันนีh มีความสุ ขดี ไหมครับ?) มี ความสุ ขดี ไม่มีเรืW องกลุม้ ใจอะไรเลย กํานันเคว็ด: (นีW แสดงว่าความเปลีW ยนแปลงนีhสามารถทีWจะสร้างได้ใช่ไหมครับ?) สร้างได้ ค่อยๆเป็ นค่อยๆไป แต่ทุกอย่างถ้าถามว่าได้เงินมาสักพันแล้วสร้างโรงปุ๋ ยแล้วบอกว่าต้องทําให้เสร็ จ ผลิ ต จําหน่ ายเลยทํานองนีh เนีW ย ถ้าในเชิ งธุ รกิ จน่าจะทําได้แต่ถา้ ในเชิ งของชุ มชนทําไม่ได้ มันต้อง ปล่อยให้มนั สุ กไปตามธรรมชาติ ถ้าทําแบบนัhนเหมือนกับเราบ่มกล้วยกับแก๊สจะเห็ นได้ว่าถ้าตัด กล้วยมาเครื อหนึW งแล้วเอาแก๊สใส่ ไปแล้วบ่มไว้วนั เดี ยวมันสุ กพร้ อมกันแล้วรสชาติมนั จะไม่อร่ อย แต่ถา้ ปล่อยให้มนั สุ กไปทีละลูกๆจนหมดเครื อ มันจะได้รสชาติกินอร่ อยเก็บได้นานคุณภาพมันจะดี เพราะฉะนัhนไม่อยากให้ชุมชนใดชุ มชนหนึW งเนีW ยเปลีW ยนวิธีทาํ โดยหน้ามื อหลังมื อ เปลีW ยนแปลง โดยเร็ วแล้วก็ลาํ บากตัวเอง (การทีWค่อยๆเปลีWยนไปตามเหตุปัจจัยมันทําให้การเปลีWยนแปลงนัhนมันW คง ยังW ยืน?) มันW คงยังW ยืน ดํารงความรู ้ ด้วย เดิ นช้า ๆอย่า งมันW คง ผิดพลาดก็ ไม่ เยอะ สามารถกลับ มา ทบทวนใหม่ได้ (คือตอนนีhสWิ งนีhกาํ ลังเกิดขึhนกับชุมชนวังตะกอ?) ครับ บรรยาย: จากชุ มชนทีWเคยแตกแยกและเต็มไปด้วยปั ญหานะครับ แต่วา่ วังตะกอวันนีhสมัคร สมานสามัคคีเกิ ดการร่ วมมือ ร่ วมแรง ร่ วมใจกันของคนเล็กๆในชุ มชนโดยยืนอยู่บนพืhนฐานของ ความคิดทีWวา่ พวกเขานัhนก็เป็ นส่ วนหนึWงของชุมชนและชุมชนนัhนก็เป็ นส่ วนหนึW งของทุกๆคนนันW เอง นะครับ วังตะกอนัhนตัhงโจทย์ขh ึนเองและพยายามทีWจะหาคําตอบและหาผลลัพธ์ดว้ ยตัวของชาวบ้าน ในชุมชนเองนะครับ ถึงแม้วา่ คําตอบนัhนจะไม่ใช่คาํ ตอบทีWถูกต้องทัhงหมด แต่สWิ งทีWชาวบ้านวังตะกอ แสดงให้เห็นนัhนก็คงเป็ นเรืW องของความพยายามในการทีWจะพึWงพาตนเองและแก้ไขปั ญหาด้วยตัวเอง นะครับ


175 จากแผนแม่บทชุมชนทีWกาํ หนดยุทธศาสตร์ ให้คนวังตะกอสามารถมีชีวิตทีWพW ึงพาตัวเองและ พึWงพาอาศัยซึW งกันและกันโดยยึดพืhนทีWเป็ นตัวตัhง ชุ มชนเป็ นศูนย์กลาง ชาวบ้านเป็ นเจ้าของ ทําให้ ธุ รกิ จชุ ม ชนทีW มี ช าวบ้า นร่ วมกันเป็ นเจ้าของทยอยเกิ ดขึh น โรงผลิ ตนํhาดืW มวังตะกอเกิ ดขึh นภายใต้ หลักการเดียวกันกับร้านค้าชุมชนนันW คือ ร่ วมกันคิด ช่วยกันทํา ผลิตเอง ใช้เอง ทําการตลาดเองแบบ ครบวงจรจนเกิ ด ผลกํา ไรไหลเวี ย นแบ่ ง ปั นกัน ในชุ ม ชน เป็ นการลดรายจ่ า ย เสริ ม รายได้ เพิW ม ดุลการค้าบนหลักการพึWงพาตนเอง ผู้จัดการโรงงานนํOาดืม ต.วังตะกอ: (โรงนํhานีh ตh งั มากีW ปีแล้วครับ?) ตัhงมาสองปี แล้วครั บ (บริ หารจัดการอย่างไรครับ?) ใช้แบบระบบกลุ่ม มีคณะกรรมการ มีสมาชิ ก มีสมาชิ ก 30-40 คน และมีกลุ่มต่างๆรวมกัน 4-5 กลุ่ม (ตัวหลักการก็คือ ชาวบ้านมาลงหุ ้นกัน?)ครับมาลงหุ ้นก่อน(แล้วก็ มาช่ วยกันบริ หารจัดการดู แล?) ครั บ แล้วก็จดั การเลื อกตัhงคณะกรรมการขึhนมา คือ สมาชิ กเลื อก คณะกรรมการขึhนมา ครัhงแรกก็ 9 คน เมืWอครัhงทีWผา่ นมาก็หมดวาระไปแล้ว ก็ตอ้ งเลือกตัhงใหม่ขh ึนมา คราวนีh เอาแค่ 7 คน แล้วก็ปันหุ ้น รุ่ นทีWผ่านมาได้หุ้นละ 7 บาทต่อ 1 หุ ้น (แล้วกําไรแบ่งกันอย่างไร ครั บ กําไรส่ วนหนึW งก็ใ ห้ผูถ้ ื อหุ ้น?) ครั บ เอาส่ วนหนึW งให้ผูถ้ ื อหุ ้น ส่ วนหนึW งให้กรรมการเป็ นค่ า บริ หารจัดการดูแล อีกส่ วนหนึWงก็เก็บไว้เป็ นสวัสดิการชุมชน (เฉลีWยต่อวันขายได้เท่าไหร่ ครับ?) วันหนึW งไปส่ งเทีWยวละ 100 ถัง ทีWไปส่ งตามร้ านค้า (แล้ว นํhาขวดเล็กละครับ?) นํhาขวดเล็กเฉพาะวันนีh ขายได้ประมาณ 50 โหล ทีWเอาไปส่ งตามบ้านทีWมีงาน ตามร้ านค้าบ้าง 50 โหลวันนีh ตอนนีh ก็มีคนยอมรับมากขึhน เมืWอก่อนชืW อของเรามันไม่ติดตลาด ตอน แรกๆลูกค้าเขานิยมซืhอจากบริ ษทั ข้างนอก ตอนนีhก็ติดตลาดมากขึhนเริW มมาเอากันมากขึhน กํานันเคว็ดพูด: เหตุผลทีWคิดเรืW องนํhาดืW มก็มาจากแผนชี วิตชุ มชนเหมือนกัน เรารู ้ วา่ ปี หนึW ง ชุมชนเราต้องไปซืhอนํhาข้างนอกเนีWยสัก 2-3 ล้านต่อปี ทีนh ี ถา้ องค์การบริ หารส่ วนตําบลมีงบประมาณ สัก 7-8 ล้าน ทําโรงนํhาสักโรงหนึW ง 7 แสนบาท แล้วคนเราใช้ไปได้สัก 10 ปี เนีW ยถือว่าสุ ดคุม้ แล้ว แต่ สิW งทีWเรามองเราไม่ได้มองว่าเราจะทํานํhาเพืWอจําหน่ายแข่งขันกับบริ ษทั ใหญ่ๆไม่ใช่ ความคิดของเรา ไม่ใช่ ความคิดของเราเราจะทํานํhาคุณภาพสู งไว้ดืWมเอง เพราะฉะนัhนตัวชีh วดั ว่าของเราดี อย่างไรเนีW ย เครืW องกรองนํhาทีWกรองด้วยอุลต้าไวโอเล็ตเนีW ย ของเราเนีW ยเราใช้สองตัว แสดงว่าถ้าเครืW องกรองหนึW ง ตัวเราใช้เครืW องกรองสีW ตวั เป็ นสีW เท่ า ทีW เราลงทุ นอย่างนีh เนีW ยก็ เพราะอยากจะให้สุข ภาพของคนใน ชุมชนดีขh ึน เราได้ดืWมนํhาทีWเรามันW ใจว่าสะอาด 100% บรรยาย: เพืWอสร้างระบบเศรษฐกิจแบบพึWงตนเอง พึWงกันเอง และลดการพึWงพิงจากภายนอก ให้มากทีWสุด ไม่เพียงร่ วมกันผลิตนํhาดืWมไว้ดืWมเอง แต่ชาววังตะกอยังมีปh ั มนํhามันขนาดเล็กของชุ มชน ทีWชาวบ้านนรวมหุ ้นกันจัดตัhงขึh นเพืWออํานวยความสะดวกให้กบั ชุ มชน เป็ นการประหยัดพลังงาน ประหยัดเวลา และลดความสิh นเปลืองจากการต้องออกไปซืhอหานํhามันภายนอกชุมชน


176 ประเวง ใจเย็น ประธานกลุ่มปัO มนํOามันรวมใจ ต.วังตะกอ: เริW มจากการทีWเรารวมทุนกัน หลายๆคน เกษตรกรทุกคนเนีWยก็คิดว่าการใช้นh าํ มันด้านการเกาตรเขาใช้นh าํ มันเยอะ แต่วา่ การไปซืh อ นํhามันจากไกลๆมันก็เสี ยค่าใช้จ่ายอะไรต่างๆมาก ทีนh ี เราคิดกันว่ารวมทุนกันตัhงปัh มนํhามันขึhนมา ก็ ประชุ มกันราษฎรเกื อบทัhงตําบลครับ เข้าไปเป็ นตัวแทนแล้วก็ร่วมทุนกันในการก่อสร้ าง คนทีWเขา ซืh อหุ ้นครัhงแรกนีW ก็ได้รับเงินปั นผลตอนสิh นปี เขาก็เออใช้ได้ๆ เขาก็เลยมาร่ วมทุนกันหลายๆคนขึhน ไปอีกเพิWมหุ น้ เพิWมทุน อะไรต่างๆกันมาเรืW อยๆปัh มนํhามันเราก็อยูไ่ ด้ แล้วก็ขยายสาขาขึhนมาตรงนีh บรรยาย: สําหรับสังคมเกษตรทีWถูกครอบงําโดยเกษตรแผนใหม่ ทีWชกั จูง โน้มนํา โฆษณา ชวนเชืW อให้เชืW อว่าปุ๋ ยวิทยาศาสตร์ อย่างสารเคมีคือปั จจัยหลักทีWช่วยเพิWมผลผลิ ตทางการเกษตร จาก การสํารวจข้อมูลในการทําแผนชีวติ ชุมชน พบว่าวังตะกอเพียงตําบลเดียวมีตวั เลขรายจ่ายสําหรับค่า ปุ๋ ย ยา และสารเคมี ปี หนึWงๆรวมเกือบ 20 ล้านบาท นีWเป็ นบาดแผลทีWใหญ่ทีWสุดทีWทาํ ให้เกษตรกรยิWงทํา ยิWงจน ยิWงขยันยิWงเป็ นหนีh ไม่นับรวมถึ งผลข้างเคียงทีW ส่งผลต่อสิW งแวดล้อมและธรรมชาติทีWเกิ ดขึh น ตามมาอีกมากมาย เพืWอเป็ นการห้ามเลือด หรื ออุดรู รWัวรายจ่ายทีWไหลออกจากชุ มชนมากทีWสุด รวมถึง เป็ นการรักษาอาการคนไข้ของสิW งแวดล้อมคืนสู่ สภาวะทีWดีให้ชุมชน นีW จึงเป็ นทีWมาของการผลักดัน ให้เกิดโรงปุ๋ ยชี วภาพทีWอาศัยวัตถุดิบจากธรรมชาติ ซึW งหาได้ภายในท้องถิWน เป็ นมิตรต่อสิW งแวดล้อม ภายใต้การร่ วมมือ ร่ วมแรง และร่ วมใจกันของคนในชุมชน กํานันเคว็ด: วัสดุมีแกลบกาแฟ มีขh ีววั มีขh ีหมู กากกาแฟได้มาจากอําเภอพะโต๊ะ ขีhหมูขh ีววั ได้มาจากชุมชนทีWกลุ่มเลีhยงวัวเขาเลีhยงแล้วก็นาํ มาร่ วมกลุ่มกัน ในส่ วนของตําบลวังตะกอส่ วนใหญ่ เราจะคํานึ งถึ งผลผลิตไม่มากไม่เป็ นไร แต่ตน้ ทุนการผลิตน้อยลง ก็วนั นีh ก็รู้กนั กว้างขวางมากว่ามี ข้อดีขอ้ เสี ย 1.ปุ๋ ยเคมีราคาแพงเกินไปกระสอบละ 1,200 บาทในขณะทีWปุ๋ยหมักกิโลกรัมละ 2 บาท ซึW งเทียบกันยากเลย และทีนh ีคุณภาพก็ทาํ ให้ดินร่ วนซุ ย ทุกคนเนีW ยกําลังจะเอาชนะธรรมชาติ แต่สWิ งทีW เราทําเนีW ยเราจะช่ วยให้ธรรมชาติอยูค่ ู่กบั เราและใช้ธรรมชาติให้เป็ นประโยชน์อย่างยิWง แล้วก็ยงั ได้ ออกกําลังกายด้วย ช่วยกันทําอย่างนีh ลงแขกอย่างนีh ยังมีส่วนร่ วมอืWนๆอีกเยอะแยะ วันนีh ทีWเรี ยนรู ้ร่วมกันเนีW ยก็ได้ความสามัคคี แล้วสิW งทีWได้มากกว่าทีWคิดคือ ได้พูดคุ ย ได้ความ สนิ ทชิ ดเชืh อ ได้ความเป็ นพีWน้อง ทีWมนั มากกว่าปุ๋ ยมันกลายเป็ นคนครอบครัวเดี ยวกัน มันมากกว่า ความเป็ นคนไทยด้วยกัน (คนในชุ มชนวังตะกอ 13 หมู่บา้ นหันมาทําเกษตรแบบไม่ใช้สารเคมีหรื อใช้น้อยลงสักกีW เปอร์ เซ็นต์?) สัก 40% ทีWหนั มาแล้ว 30% ไม่มาเลยหัวชนฝาไม่เอาเลยไม่เห็นด้วยเลย อีก 30% ตรง กลางเนีWยไม่รู้จะไปไหนดี กําลังชังW ใจอยู่ กําลังรอดูทีท่าคือ ถ้าไอ้นีWมนั ไปได้ก็ไปด้วย แต่ถา้ ไม่เข้าท่า ก็ไปฝัW งนู ้นเลย (อะไรทีWทาํ ให้ชาวบ้านบางส่ วนไม่เชืW อว่าเปลีW ยนมาทางนีh แล้วดี ?) คือคนทีWอยู่ง่ายๆ แล้วมันก็ สบายไง คนทีW ยงั ไม่เห็ นกับกองปุ๋ ยหมักทีW มหึ ม าทีW ตาํ บลเราทําอยู่ เขาบอกว่าการทําปุ๋ ย


177 หมักเนีWยมันลําบาก มันไม่ง่ายเหมือนกับควักเงินจากกระเป๋ าแล้วก็เอาขึhนท้ายรถปิ กอัพ แล้วก็ไปเควีh ยงให้เลยแล้วมันก็ให้ผลประโยชน์ การตัดหญ้าบํารุ งสวนมันไม่ง่ายเหมือนกับการจ้างมาฉี ดยาฆ่า หญ้า สิW งทีWนาํ ความสะดวกสบายและเอาเงิ นมาเป็ นตัวตัhงเนีW ยเขากําลังจะเดิ นเข้าไปในความลําบาก แล้วในอนาคต (ความพยายามทีWจะพึWงตนเองเนีW ยมันไม่ได้หมายความว่าพลิ กเลยแต่ตอ้ งค่อยๆตัด ทอนส่ วนทีWพW ึงตัวเองไม่ได้ออกไปให้เหลือน้อยทีWสุด?) ครับ บรรยาย: ในช่ วงเวลาเกื อบ 20 ปี ทีWคนวังตะกอหลงไปกับกระแสของการพัฒนาแบบไม่ สมดุ ล ผูค้ นในตําบลถูกเปลีW ยนวิธีคิด เปลีW ยนวิถีชีวิต และเปลีW ยนวิธีปฏิ บตั ิ ต่อธรรมชาติ ทีWเคยเป็ น ส่ วนหนึW งของวิถีชีวิต ผืนดิ น แม่นh าํ และผืนป่ าถูกตีราคาเป็ นเงินและมูลค่ามากกว่าจะสํานึ กถึงคุ ณ ค่าทีWมีต่อสรรพชี วิตเหมือนอย่างในอดีต ธรรมชาติถูกทําลายเพืWอเงิ น ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับ ธรรมชาติห่างเหิ นและสู ญเสี ยไปในทีWสุด ความจริ งจากแผนชี วิตชุ มชนทีWเกิดขึhน จึงไม่เพียงช่วยเปิ ด หู เปิ ดตา แต่ย งั เปิ ดใจให้ค นวัง ตะกอกวนคิ ดถึ งคุ ณค่ าและความสุ ข จากความสัม พันธ์ เดิ มทีW สู ญ หายไป โครงการธนาคารต้นไม้และการสร้ างป่ าชุ มชนจึงเป็ นเสมือนดอกผลในการพยายามฟืh นฟู ความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกบั คนให้กลับคืนมาสู่ แผ่นดินวังตะกอ กํานันเคว็ด: พามาดูธนาคารต้นไม้ (ต้นไม้ทีWเห็นอยูน่ ีW ประมาณเท่าไหร่ ครับ?) ตอนนีhมีเกือบ 2 แสนต้นแล้วครับ (กํานันทํามากีWปีแล้วครับ?) ปี นีW ปีWทีWสามทีWเป็ นใหญ่ๆอย่างเนีW ย แต่วา่ ทีWเล็กๆปี ละ 2-3 พันเนีW ยทําหลายปี แล้ว (สามปี ทีWผ่านมามีตน้ ไม้ทีWถูกส่ งออกไปจากทีWนีWกีWตน้ ครับ?) 5-6 แสนต้น ได้ โดยประมาณ ประธานธนาคารต้ นไม้ : (พอมันมีธนาคารต้นไม้ขh ึนมา มันเกิ ดความเปลีW ยนแปลงอะไร ขึhนมาบ้าง) ความเปลีWยนแปลงเรืW องชาวบ้านมีงานทํา เห็ นชัดเจนครับ เห็ นเป็ นรู ปธรรม ชาวบ้านมี งานทําคือคนทีWว่างงานจะไม่ว่างงาน มี งานทําอย่างต่อเนืW อง เมืWอส่ งต้นกล้าไม้ออกไปให้ชาวบ้าน ปลูก ขณะเดียวกันเราก็ตอ้ งเพาะกล้าไม้ทดแทนมาเรืW อยๆ (มีงานทําจากอะไรบ้างครับ?) ใส่ ถุง แล้ว ต้องไปหาต้นกล้าไม้ในป่ า ก่อนหน้านัhนชาวบ้านจะมองต้นไม้เป็ นสิW งไม่มีค่า ต้นไม้ทีWเกิดขึhนในสวน ต้นเล็กๆจะถูกมองไม่เห็นค่า แต่หลังจากทีWผมบอกว่าให้เอามาขายให้ผมต้นละ 30 สตางค์ผมรับซืh อ ตอนนีhหญ้าก็ไม่ตดั ยาก็ไม่ฉีด เขาต้องการกล้าไม้ในสวนเขา มาขายผมได้เลยเป็ นการมองให้เห็นว่า ต้นกล้า ไม้ทีW เกิ ดขึh น ในสวนของเขามี ค่ า เริW ม มองเห็ นค่ า ของต้น ไม้ แล้ว ก็ เมืW อชาวบ้า นมี ง านทํา ชาวบ้านได้ขายต้นกล้าไม้ให้ทางธนาคาร แล้วก็เมืWอธนาคารมีกาํ ไรจากการขายต้นกล้าไม้ ตัวกําไร ตัวนีhผมจะตัhงเป็ นกองทุนสวัสดิการของหมู่บา้ นในเรืW องของทุนการศึกษาเป็ นหลัก (นีW คือเริW มทําแล้ว ใช่ไหมครับ?) เริW มทําแล้ว ของผมประสบความสําเร็ จแล้ว สามารถทีWจะเลีhยงตัวเองได้แล้ว ยืนบนลํา แข้งของตัวเองได้แล้ว แล้วก็สามารถหล่อเลีhยงชาวบ้านในรู ปแบบของสวัสดิการได้แล้ว


178 บรรยาย: ผลกํา ไรจากธนาคารต้นไม้ งอกเงยมาเป็ นสวัส ดิ ก ารชุ ม ชน แบ่ ง ออกเป็ น ทุนการศึกษาสําหรับเยาวชนในตําบล เป็ นค่ารักษาพยาบาลสําหรับสมาชิ กทีWเจ็บป่ วย และนําส่ วน หนึW งมาใช้ในงานสาธารณะกุศล งานศพ งานบวช งานประเพณี ต่างๆของชุ มชน เพืWอเป็ นแรงจุงใจ ให้คนในชุมชนหันมาปลูกต้นไม้ให้มากทีWสุด กํานันเคว็ด: สิW งทีWผมอยากทําทีWสุดก็คือ เป็ นบํานาญครับ เป็ นบํานาญชี วิต ทีWคิดทําตอนนัhนก็ บอกว่าคนไทยส่ วนใหญ่ทีWอายุได้ 60 ปี ก็หวังอย่างเดี ยวทีWจะได้เงิ น 500 บาท ซึW งมันแตกต่างกับ ข้าราชการ 5% ราชการก็เกษียณถ้าเงินเดือนแพงก็ได้เยอะ ได้บาํ เน็จบํานาญ แต่วา่ ชาวบ้านไม่มีหวัง อย่างเดียวเงินเบีhยผูส้ ู งอายุ 500 บาทต่อหัวต่อคน ก็เลยคิดอย่างนีh ก็เลยบอกว่ามีอีกวิธีหนึW งถ้าเราปลูก ตอนอายุ 40 ปี เนีW ยพออายุ 60 ปี เรามีตน้ ไม้ทีWอายุ 20 ปี ถ้าเราคิดอย่างนีh ได้ก็มองว่าเราน่ าจะมีเงิ น บํานาญมากกว่าข้าราชการสัก 20 เท่าหรื อไม่นอ้ ยกว่า 10 เท่า (ต้นหนึW งประมาณเท่าไหร่ ครับถ้าคิด เป็ นเงิ น?) ก็ถา้ คิด ณ ปั จจุบนั ก็ตน้ ละหมืW นแต่ถ้าสิ บปี ข้างหน้าน่ าจะคู ณด้วย 5 นัWนน่ าจะเป็ นเบีhย บํานาญทีWพอสมควรสําหรับคน ทีWปลูกต้นไม้ไว้ พาไปดูตน้ ไม้ทีWปลูกไว้มีตน้ ตะเคียนทอง ลูกผสมระหว่างกระถิWนเทพากับกระถิWนณรงค์เป็ น เทพเทพาลําต้นโตประมาณ 6 เมตร แต่ดินมันไม่ดีตอ้ งมีปุ๋ยหมักไว้ใส่ เฉพาะของชุ มชน เป็ นแปลง ทดลองว่าดิ นทีWไม่ดีเนีW ยถ้าเราเอาปุ๋ ยหมักมาปรั บสภาพดิ นแล้วมันจะดี ขh ึน มันจะเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ของพีW น้องเราทีW หันไปทางปุ๋ ยเคมี ถ้า เกิ ดว่า แปลงนีh ม นั ได้ผ ลพีW น้องเราน่ า จะกลับ มาเป็ นเกษตร อินทรี ย ์ คือเราตัhงความหวังไว้ลึกๆแต่ยาวไกล พาไปดูตน้ ไม้ทีWปลูกไว้ทีWสถานี เพาะชํากล้าไม้จงั หวัดชุ มพร มี 25,000 ต้น 65 ไร่ ใช้เวลา ปลูกวันเดียว ทุกอย่างวันเดียวหมด มาทีWนีWแล้วมีความสุ ข เวลาทุกคนมาทีWนีWแล้วขนลุก ธรรมชาติสด ชืW น ทุ กอย่างได้หมดเลย แล้วทีW นีWเป็ นปอดของคนหลังสวนในอนาคต ปอดของคนชุ มพร ไม่แน่ อาจจะเป็ นปอดของประเทศไทยก็ได้ (ปลูกมากีW ปีแล้วครับ?) ปลูกมาตัhงแต่ปลายปี 42 ก็ 9 ปี แล้ว (ตอนนีh มนั ต้องเป็ น 13 ปี ) ตอนปลายเดื อนตุ ลา งานแห่ พระแข่งเรื อ ผมเอาเด็กมาเข้า ค่าย เด็ ก นักเรี ยนพาพักทีWบา้ นแล้วก็ปลูก (ทีWดินส่ วนนีh เดิมก็คือถูกบุกรุ ก?) อืมถูกบุกรุ ก ทีWหลวงทีWรัฐ ไม่ใช่ ทีW สาธารณะ แต่เป็ นทีWๆมีคนอยากจะประสงค์เป็ นเจ้าของ แล้วพวกเราก็มาขอ ขอได้ไหม ตอนแรกก็ คิดว่าผมจะมาเอาไปเป็ นของส่ วนตัว แต่วา่ พอคุยกันจริ งๆแล้วก็ก็รู้วา่ มาหลายคน มีเจ้าหน้าทีWป่าไม้ มีชาวบ้าน มีคณะทํางานเราครบ รู ้อย่างนีh เขาก็ยินดีให้ ไม่ตอ้ งใช้งบประมาณสักกะบาท ทุกคนเป็ น เจ้าของ คือแนวความคิดของเราเราไม่ได้เอาเงินมาเป็ นตัวตัhง เราเอาพืhนทีWเราเป็ นตัวตัhง เราเอาชุ มชน เราเป็ นศูนย์กลาง แต่วา่ นีWคือของเราและเราพูดได้เต็มปากว่านีWคือของเรา ทุกคนเป็ นเจ้าของ บรรยาย: ผืนป่ าทีWฟhื นคืนด้วยสองมือของมนุ ษย์ทีWเคยเป็ นผูท้ าํ ลายเพราะรู ้เท่าไม่ถึงการบวก กับหยาดเหงืWอ แรงใจและปรงกาย กลายเป็ นมูลค่าแห่งความสุ ขทีWไม่อาจตีราคาหรื อนับเป็ นมูลค่าได้


179 ป่ าชุมชมไม่เพียงเรี ยกคืนสายสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติ คนกับสรรพชีวติ และระหว่างคนกับ ผืนแผ่นดินเท่านัhน แต่ยงั ฟืh นคืนสายใยระหว่างคนกับคนอีกด้วย กํานันเคว็ด: ฝนตกใหม่ๆ เนีW ยคนมาเก็บเห็ดวันหนึW ง 50-60 คน สิW งทีWผมได้มากกว่าป่ าก็คือ คนในชุมชนตําบลวังตะกอได้รู้จกั กับคนชุมชนห้วยเหมือง ได้รู้จกั กับคนละแม ได้รู้จกั กับคนทีWอืWนทีW จุดนัดพบคือป่ าทีWนีW ฤดูกาลเก็บเห็ด (อนาคตถ้าสมมติวา่ จะเอาไม้ไปใช้ประโยชน์หรื อเพืWอหารายได้ เข้าชุมชนมีวธิ ี การดูแลอย่างไรครับ?) ผมกับคณะทํางานไม่เคยคิดทีWจะเอาไม้ไปขายหรื อไม่เคยคิดทีW จะตัดแม้แต่ตน้ เดียว แต่ทีWคิดเนืW องจากผมทําแผนชี วิตชุ มชนไง แล้วผมรู ้วา่ หนีh สาธารณะของผมเนีW ย มันเยอะพอสมควร ทัhงตําบล 147 ล้าน และโอกาสทีWพีWนอ้ งของผมจะหลุดพ้นจากหนีhก่อนมหึ มาของ ชุ มชนเนีW ยไม่สามารถทีW จะหลุ ดพ้นได้ แต่ถา้ รวมทุน รวมใจมาปลูกต้นไม้ไว้ แล้วสักวันหนึW งคงมี โอกาสเปรี ยบเทียบกับรัฐลงทุน ไอ้ทีWจา้ งคนไปปลูกต้นไม้ ให้กรมป่ าไม้ดูแล ปลูกต้นไม้หนึW งต้นใช้ ต้นทุนปี ละเท่าไหร่ แล้วเราชุ มชนไม่เคยใช้งบประมาณของรัฐแล้วดูแลจนต้นไม้ใหญ่ เผืWอจะมีสัก รัฐบาลหนึWงเห็นค่ามัน ให้ตน้ ไม้ไม้ไปใช้หนีhได้ โดยไม่ตอ้ งตัด รักษาสิW งแวดล้อมด้วยแล้วก็ลดภาวะ โลกร้อนทีWพดู ๆกันอยูท่ ีWประจักษ์แก่สายตา มันไม่ได้มีตาํ รา ไม่ได้เขียนเป็ นตัวหนังสื อแม้แต่ตวั เดียว แต่มนั เป็ นภาพความทรงจําของคนตําบลวังตะกอทัhงตําบลทีWเรายินดีทาํ ร่ วมกัน บรรยาย: ไม่วา่ ทีWไหนนะครับย่อมมีทh งั คนจนและก็คนรวย มีทh งั คนทีWพW ึงพาตนเองได้และ คนตกทุ กข์ได้ยากทีWพW ึงพาตนเองไม่ได้นะครับ การทีWสังคมจะเป็ นสุ ขเป็ นสังคมทีWดี สังคมทีWน่าอยู่ อย่างแท้จริ งนัhนต้องไม่ใช่ สังคมแบบตัวใครตัวมัน ชุ มชนวังตะกอเป็ นชุ มชนตัวอย่างหนึW งครับทีWมี หัวใจในการสร้ า งชุ ม ชนเป็ นสุ ข โดยการพลิ ก ฟืh นความสั ม พันธ์ เ ชิ ง พีW น้อง การพึW ง พาอาศัย การ ช่ วยเหลื อดู แลเกืh อกูลกันอย่า งเป็ นรู ป ธรรม วันนีh กาํ นันนัดชาวบ้า นหมู่ 10 บ้านทุ่งแร่ เพืWอมาทํา ประชามติเรืW องการให้ความช่วยเหลือด้านทีWอยูอ่ าศัยแก่ชาวบ้านคนหนึWงทีWประสบปั ญหาครับ กํานันเคว็ด (มาพบชาวบ้ าน): อย่างทีWรู้วนั นีh ทีWผมมาประชุ มเป็ นเรืW องของตาร่ วม ไม่ตอ้ ง อารัมภบท ตาร่ วม มะมัดเหม หลายครัhงทีWนh าํ ท่วม ทีWดินของแกหมดไม่มีเหลือเลย ตาร่ วมอายุ 81 ปี วันนีhแกอยู่ 2 คนกับเมียแล้วก็เป็ นเรืW องทีWน่าจะต้องช่วยกันดูแล แล้วเราจะปล่อยให้คนแก่ 2 คนไม่มี ทีWอยูไ่ ด้อย่างไร ผมเลยคิดว่าจะขอความคิดเห็นจากพีWนอ้ ง จะขอทีWดินว่างเปล่าให้แกอยูส่ ัก 20 ตาราง วา พอสร้างบ้านได้มุมใดมุมหนึWงในชีวติ บัhนปลายของตาร่ วม สิW งเหล่านีhทีWผมพูดจะเป็ นได้หรื อไม่ได้ สุ ดแล้วแต่พีWนอ้ งหมู่ 10 สุ ดแล้วแต่ผอู ้ าวุโส ลุง ป้ า น้า อา คนทีWเป็ นผูใ้ หญ่ทีWอยูท่ ีWนีWจะมีความคิดเห็น แบบไหน จะเห็นด้วยหรื อไม่ก็สุดแล้วแต่ ถ้าใครเห็นด้วยให้ยกมือขึhนครับ (ชาวบ้านยกมือกันหมด) ก็ไม่ตอ้ งนับนะครับ เพราะไม่มีมือไหนทีWไม่ได้ยก ขอบคุณมากครับ ขอบคุณมากครับ อีกอย่างหนึW ง ทีWพอจะช่วยเหลือตาร่ วมได้เล็กๆน้อยๆ ลงขันได้รึเปล่าสักคนละ 10 บาท 20 บาท ตามกําลังศรัทธา


180 คิดว่าจะช่วยเหลื อปลูกบ้านให้ตาร่ วมคนละเท่าไหร่ ควักออกมาได้เลยครับ เชิ ญตรงนีh สําหรับวันนีh ขอบคุณมากครับ สวัสดีครับ เดิ มเขามี ทีW ดินอยู่ 3 ไร่ 3 งานเศษ เขาหากิ นอยู่ก ะแม่นh ําชี วิตอยู่กบั คลองในท้า ยทีW สุดภัย ธรรมชาติก็มา สายนํhาทีWเคยไหลเชีW ยวกรากหักเหเส้นทางเข้าทีWดิน เซาะทีWดินเขาไปหมดทัhงแปลง ทํา ให้บา้ นเรื อนสองชัhนทีWเคยอยูอ่ ย่างมีความสุ ขก็อนั ตรธานหายไปภายในไม่กีWวนั ทีWดินทํากินก็ไม่มี ทีW ของตัวเองก็ไม่มี ตอนนีhอาศัยอยูก่ บั เพืWอนบ้าน ตาร่ วม(พาไปดูท):ี นีWไงทีWตรงนีhแต่วา่ มันหมดไปแล้ว ตรงนีhเป็ นทีWของคนอืWนทัhงหมดของผม ไม่มีแล้ว นํhาท่วมมา 3 หลังแล้ว ย้ายมา 4 ครัhงแล้ว ชาวบ้านมาช่วยกันย้ายให้ ย้ายจากทีWตรงนีhไปตรง นัhน พังตรงนัhนไปตรงโน้น ไปจนถึงทีWของหลานแล้ว แม่นh าํ มันเปลีWยนทาง (ตอนนีhธรรมชาติมนั เอา คืนหมดแล้ว?) เอาคืนหมดแล้ว (นีW ใช้เวลาสักกีWปีทีWนh าํ กัดเซาะจนหมด?) ไม่เหลือเลย หมดเลยตัhงแต่ 50 คื อตอนนีh ไ ม่เหลื อเลยสั กตารางวาเดี ย ว (บ้านตาอยู่ก ันกีW คน?) 3 คนรวมทัhง ลู ก ทีW ส ติ ไ ม่ค่ อย สมประกอบด้วย กํานันเคว็ด: (ปี ๆหนึW งมันพังไปสักกีWเมตรได้ครับ?) ครัhงละไม่ตWาํ กว่า 10 เมตร แต่วา่ ปี หนึW ง มันขึhนอยูก่ บั ว่านํhาจะมากีWครัhงกีWหน ทําอะไรไม่ได้ โครงการจากภูผาสู่ มหานทีเนีW ยมันจะเป็ นแบบนีh มาตลอด จริ งๆแล้วมันเป็ นตํารามันเป็ นบทเรี ยนของคนทีWอยูร่ ิ มห้วย ริ มหนอง ริ มคลอง ริ มบึง มัน จะเป็ นตําราเล่มใหญ่มหึ มาทีWหลายคนไม่ค่อยพลิ กอ่าน ถ้าพลิกแล้วอ่านอย่างถีW ถว้ นละเอียดจะได้รู้ ซึh งถึงภัยธรรมชาติทีWเราไปรังแกมันแล้วมันเอาคืน (นีWคือบริ เวณทีWเราไปเพิกถอนสิ ทธิ มาแล้วจะเอามาทําบ้านให้ตาร่ วมเหรอครับ?) ครับ (นีW คือ เดิ มเป็ นทีWทีWชุมชนยกให้โรงเรี ยน?) ครับยกให้โรงเรี ยนแล้วโรงเรี ยนก็ร้างไปแล้ว ไม่มีเด็กมาเรี ยน ไม่มีครู สอน ไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไร แล้วจะให้คนแก่ๆอยูส่ ักคนมันจะผิดอะไรหนักหนา ให้ลุงอยู่ ตรงนีh มีบ่อนํhา อยูใ่ กล้ทางเจ็บไข้ได้ป่วยเรี ยกกันได้ นีW บา้ นพีWไหมอยูน่ ีW มองกันเห็นนะ เอากว้างสัก 3 เมตร 6 ศอกนะตาร่ วมนะ ยาวสั ก 9 ศอก 6x9 นะ ยกเสา 6 ต้นเป็ นชานยืWนออกมานิ ดหน่ อยพอ นังW เล่นได้ หาซีW ไม้ไผ่มาปูพhืน ส้วมห้องนํhาทําด้วยอิฐเดี…ยวผมซืhอมาให้เลย ไปบ้านสายันต์ขอไม้มาต้น หนึWง ยกเสาเอกวันอาทิตย์ตอนเช้า 9 โมง บรรยาย: เมืWอการพึWงตนเองและการพึWงพาอาศัยกันไม่ได้แยกส่ วนออกจากกัน ความทุกข์ ของคนหนึWงคนในหมู่บา้ นจึงกลายเป็ นความรู ้สึกร่ วมของชุ มชน บ้านหลังเล็กๆทีWอาจเป็ นทีWพกั พิงทีW สุ ดท้ายของชายชราอย่างตาร่ วมก็เกิ ดเป็ นรู ปเป็ นร่ างขึhนจากพลังนํhาใจของพีWน้องร่ วมชุ มชน ทีWบาง คนเสี ยสละแรงกาย บางคนให้แรงใจ หลายคนให้เงินทอง ให้อิฐ ให้ปูน ให้ตน้ ไม้ ให้ความเอืhออาทร ทีWไหลมารวมกันคนละเล็กคนละน้อยกลายเป็ นสายธารนํhาใจทีW สร้ างความสุ ขและความอิWมเอมใจ ให้กบั ครอบครัวของชายชราทีWเดินทางมาถึงช่วงปลายของชีวติ


181 ถามชาวบ้ านทีให้ ต้นไม้ : (พีWให้ตน้ ไม้กีWตน้ ครับ? แล้วทําไมถึงให้?) ให้ 2 ต้นค่ะ ให้เพราะว่า สงสารเขา จะได้สร้างบ้าน ถามชาวบ้ าน: (คนทีWมาช่วยทํานีWเป็ นใครกันบ้างครับ?) เป็ นชาวบ้านทัhงหมดครับ ชาวบ้านทีW อยู่ในชุ มชนนีh เขามาช่ วยกัน (ทํากันกีW วนั แล้วครับ?) รวมเวลาทํากันประมาณ 5-6 วันก็เสร็ จ (แล้ว ชาวบ้า นเขารู ้ สึ ก อย่า งไรกันบ้า งครั บ ทีW ได้ม าช่ วยตาร่ วม?) เขาสงสาร เขาเห็ นใจ ก็ เลยระดมมา ช่วยกัน (ค่าบ้านทัhงหมดนีW ก็ราคาเกือบ 4 หมืWนหรื อครับ?) ถ้าคิดเป็ นเงิ นก็ประมาณ 4หมืWนกว่าบาท (ซึW งคนอย่างตาร่ วมไม่มีสิทธิS เลยใช่ไหมครับ?) ไม่มีสิทธิS ครับ ตาร่ วม: ผมก็ไม่คิดไม่ฝันว่าจะสร้างได้ถึงขนาดนีh ก็รู้สึกภูมิใจอย่างมาก เพราะชาวบ้านบาง คนทีWเขาไม่ชอบเรายังเห็นเขายกมือให้ ผมก็รู้สึกภูมิใจ ผมไม่เคยคิดว่าเขาจะมาช่วยกันถึงขนาดนีh ผม ก็ขอขอบใจชาวบ้านเป็ นอย่างมาก รู ้สึกว่าหัวใจมันโล่งสว่างมันสบายใจ ไม่เครี ยดเหมือนทีWผา่ นมา เมืWอก่อนผมเครี ยดมากว่านํhามาเราจะไปอยูท่ ีWไหน เด็กบ้าๆคนหนึW งจะไปอยูท่ ีWไหน ถ้าผมเสี ยไปสัก คนมันจะอยูก่ บั ใครได้ (ในชีวติ นีhดีใจเหมือนวันนีhได้กีWครัhงแล้ว?) ไม่มี ไม่มีเลย บรรยาย: ไม่ได้มีเพียงตาร่ วมเท่านัhนทีWมีรอยยิมh เพราะความงดงามจากการเสี ยสละเอืhอเฟืh อ ผูอ้ ืW น ทีW เป็ นต้นทุ นทางสั งคมทีW เข้ม แข็ง ของคนวังตะกอ แม้แต่ ค นต่ า งถิW นอย่าง สามารถ สารี บ ก สุ วรรณ ทีWเข้ามารับจ้างทํามาหากินอยูใ่ นวังตะกอก็เคยได้สัมผัสความสุ ข และได้รับนํhาใจจากความ ห่วงหาอาทรจากคนในชุมชน ชาวบ้ าน: สามารถเป็ นคนช่วยสังคมหลายอย่าง ก็ช่วยแบบนีh วันนีh ก็มาช่วย ช่วยหมดเลยก็ อยูแ่ บบช่วยเหลือกัน ช่ วยตลอดงาน สามารถเริW มเข้ามาอยูใ่ นหมู่บา้ น เขาก็ช่วยเหลือมาตลอดไม่ว่า ใครจะไหว้วานเรืW องอะไรก็ได้ทh งั นัhน แบบว่าเข้ากับเด็กได้ ผูใ้ หญ่ก็ได้ ผูส้ ู งอายุก็ได้ ไม่เหลวไหล ทํางานเอง แล้วก็ช่วยเหลือสังคม ในหมู่บา้ นมีงานอะไรก็เรี ยกใช้เขาได้ กํานันเคว็ด: สามารถใช้ชีวติ เป็ นตัวอย่างให้กบั คนอืWนๆได้หลายอย่าง อย่างเช่น สามารถเนีW ย เป็ นคนทีWร่อนเร่ มาจากทีWอืWน เรี ยกว่า คนพลัดถิWนมาอาศัยอยูใ่ นตําบลวังตะกอแล้วก็ทาํ มาหาเลีhยงชี พ ด้วยการรับจ้าง ทําทุกอย่าง แล้วเงินส่ วนหนึW งของสามารถเนีW ยไปลงในรู ขวดเหล้ากับบุหรีW สามารถ มาอยู่ทีWนีWหลายปี ชี วิตก็แย่ลง บ้านก็ไม่มีทีW แต่ความดี ทีWสามารถมีก็คือสามารถเป็ นคนทีW ช่วยเหลื อ เพืW อนมนุ ษ ย์ด้ว ยกัน ฉะนัhนทางหมู่ บ ้า นก็ เห็ น ว่า สามารถควรจะเปลีW ย นแปลงชี วิ ตแล้วก็ เลยนัด ประชุมประชาคมขึhน โดยให้สามารถเนีW ยรับปากในทีWประชุ มว่าสามารถจะเลิกเหล้า เลิกบุหรีW จะทํา แต่ความดี สามารถก็ออกไปรับปากกับพีWน้อง ในขณะเดี ยวกันชุ มชนก็ลงขันคนละ 100-200 บาท ตามมีตามเกิด แล้วก็ซhื ออุปกรณ์สร้างบ้าน โดยผูใ้ หญ่บา้ นได้นาํ เรืW องราวต่างๆเล่าในทีWประชุ มอย่าง ละเอียด ประชุมประชาคมยกทีWสาธารณะ 20 ตารางวาให้นายสามารถอยูช่ วัW นิจนิรันดร์


182 ชาวบ้ าน: ชาวบ้านก็ถือว่าเขาเป็ นคนดี ก็เลยยกทีWให้เขาสร้างบ้านคือโหวตกันว่ายกทีWแปลง นัhนให้ วันนัhนชาวบ้านหมู่ทีW 12 80-90 คน ร้องไห้กนั หมดทุกคน วันทีWเขายกมือโหวตเสี ยง ต่างคน ต่างก็ร้องไห้กนั ซาบซึh งกันหมดทุกคน เขาปฏิ ญาณตนทีWประชุ มว่าเขาจะเลิกเหล้า หลังจากวันนัhน เขาก็เลิกได้ ชาวบ้านก็ช่วยกันบอกให้หยุดกินเหล้า แล้วจะสร้างบ้านให้อยู่ ก็ช่วยเหลือกระเบืhองให้ มามุงหลังคา ชาวบ้านบางคนก็ให้อิฐ บางคนให้เสาแล้วแต่ใครจะช่วย พีWให้โถส้วม พีWไม่ให้ของอืWน เวลาปลดทุกข์นอ้ งจะได้นึกถึงพีW กํานันเคว็ด: (ถ้าสมมติว่าชุ มชนเข้มแข็งจริ งๆนีW ก็คือสามารถทีWจะจัดการช่ วยเหลื อ แก้ไข ปั ญหากันเองได้?) ได้ๆทุกอย่าง ทีWสาธารณะประโยชน์เนีWยประชาชนใช้ร่วมกัน แต่ในเมืWอประชาชน คิดร่ วมกันแล้วยกทีWสาธารณะให้กบั คนใดคนหนึWงเนีWยในแง่กฎหมายไม่รู้ แต่ในแง่ของชุ มชนเนีW ยทุก คนเป็ นทีWประจักษ์วา่ ทีW 20 ตารางวานีhต่อไปนีhเป็ นของนายสามารถ 100% ทีWเปลีW ยนได้ชัดเลยคือเปลีW ยนในเรืW องความเข้มแข็งของชุ มชน คนมามี ส่วนร่ วมกับชุ มชน มากขึhน ความทีWคิดร่ วมกัน ทําร่ วมกัน และผลประโยชน์ร่วมกัน คนเรามีความมันW ใจในการดํารงชี วิต มากขึh น อย่างเช่ นเราทํางานแล้วคนอืW นคิ ดให้ท าํ วันนีh ผูใ้ หญ่ตอ้ งทํานัhนทํานีh ชาวบ้านต้องทํานัhน ตามทีWเขาสัWงมา วันนีh เราสามารถปฏิ เสธได้ว่าโครงการทีWคุณให้มาแต่เราไม่ตอ้ งการ เราไม่เอาก็ได้ พอเราเข้มแข้งอย่างนีh มนั ทําให้ชุมชนส่ วนใหญ่คิดเป็ นทําได้รู้จกั หวงแหนชุ มชน อย่างสิW งทีWบ่งบอก ได้เลยว่าเมืWอก่อนเนีW ยส่ วนราชการก็อยูแ่ ต่กบั ส่ วนราชการ คําว่าบูรณาการไม่มีแต่พอเปลีW ยนแปลง ความคิดว่านีWเป็ นสมบัติของเรานะทุกคนก็มีส่วนร่ วม พอเรารู ้สึกว่ามันเป็ นของเราทุกคนจัดการเอง หมด เอาอะไรมาวัดว่าความสุ ขผมไม่รู้แต่วา่ วันนีhผมถือว่าผมมีความสุ ขระดับหนึWงร่ วมกัน บรรยาย: ความพยายามในการสร้ างชุ มชนแห่ งความสุ ขของชาวบ้านวังตะกอ รวมถึ ง เรืW องราวมากมายทีWเกิดขึhนในชุมชนแห่งนีh ผมเชืWอว่าอีกหลายๆชุมชนในประเทศนีhก็คงจะได้บทเรี ยน และสามารถนําสิW งเหล่านีh มาเป็ นบทเรี ยนทีWจะพัฒนาเพืWอนําพาชุ มชนของตนเองนัhนให้กลายมาเป็ น ชุมชนแห่งความสุ ขได้นะครับ ถึงแม้วา่ วังตะกอจะไม่ใช่ตน้ แบบทีWสมบูรณ์แบบหรื อว่าเป็ นต้นแบบ แห่ งความสําเร็ จมากทีWสุดนะครับเพราะว่ามีเงืW อนไขทัhงในเรืW องของวิถีความเชืW อ วัฒนธรรม สังคม หรื อแม้กระทังW ลักษณะทางภูมิประเทศทีWแตกต่างกันออกไปนะครับ แต่สWิ งสําคัญสิW งหนึW งทีWสามารถ มาเป็ นบทเรี ยนให้กบั อีกหลายๆชุ มชนได้นนWั ก็คือการตัhงหัวใจของการพัฒนาโดยการหวนกลับไป มองว่าความสุ ขนัhนเป็ นตัวตัhงแรกในการพัฒนานะครับ และเมืWอมีการร่ วมมือกันของคนในชุ มชน การกอดคอกันและก้า วเดิ นไปข้างหน้าร่ วมกันนะครั บ เพืW อทีW จะทําให้ชุ มชนแห่ งนีh เป็ นชุ ม ชนทีW สามารถพึWงพาตนเองได้โดยไม่จาํ เป็ นทีWจะต้องรอคอยความช่ วยเหลื อจากภายนอกความสําเร็ จก็ สามารถเกิดขึhนได้ และอีกสิW งหนึWงทีWน่าจะเป็ นบทเรี ยนสําคัญทีWชาววังตะกอมอบให้ก็คือว่า ศักยภาพ ของทุกคน ทุกชุ มชนในการออกแบบความสุ ขให้ชุมชนของตนเองให้เกิ ดขึhนได้นh ันสามารถทีWจะ


183 เป้ นจริ งได้นะครับ เพียงแต่วา่ อาจจะต้องมีตน้ ทุนทางปั ญญา มีผนู ้ าํ ทีWดี และทีWสําคัญก็คือมีการร่ วม แรงร่ วมใจกันของคนในชุมชนนะครับ บรรยาย: เกษตรกรจํานวนหนึWงในตําบลวังตะกอก็เป็ นชาวบ้านทีWไม่มีกรรมสิ ทธิS ในทีWดินทํา กินเช่ นกัน หลายชัวW อายุคนสําหรับการครอบครองทีWดินทํากิ นจํานวน 1,950 ไร่ โดยไม่มีเอกสาร สิ ทธิS รับรองตามกฎหมายของชาวบ้านพลุ ชิน เขาขวาง เขาตุ่ย ในหลายหมู่บา้ นของตําบลวังตะกอ หลายปี สํา หรั บ การต่ อสู ้ เพืW อให้ได้ก รรมสิ ท ธิS ในทีW ท าํ กิ นอย่า งถู กต้อง สํา เร็ จลงในวันนีh จากการ ร่ วมมือร่ วมใจจนเกิดเป็ นพลังภายใต้การนําของกํานันแห่งวังตะกอ กํานันเคว็ด: สิW งทีWชุมชนเราร้อยกว่าคนทีWไม่มีเอกสารสิ ทธิS ช่วงตัhงแต่ยุค 1 ยุค 2 ยุค 3 มารุ่ น ลูกรุ่ นหลานเนีW ยเสี ยชี วิตไปแล้ว ยังไม่เคยมีความสุ ขเพราะคนเรามีความรู ้ สึกว่าเอกสารสิ ทธิS ต่างๆ เนีWยมันเป็ นสิ ทธิ อนั ชอบธรรมทีWประชาชนอยู่ ทุกครัhงทีWเขาคิดถึงว่าถ้ามีคนใดคนหนึW งมาเอาทีWเขา เขา ก็ไม่มีความสุ ขแล้วเพราะฉะนัhนทีWเราต้องการทีWสุดไม่ใช่ เอกสารสิ ทธิS นะ แต่เราต้องการความสุ ข ทางด้านจิตใจของคนเรามากกว่า ทําให้ชาวบ้านมีความมันW ใจ มันW คงทางด้านจิตใจ (กํานันพูดกับชาวบ้ าน): ผมดีใจแทนทุกคน กว่าเราจะได้รับเอกสารสิ ทธิS ตายไปแล้วหลาย ชัวW คน ตายไปแล้วกีWคนไม่รู้กว่าทีWเราจะได้มีเอกสารสิ ทธิS ขัhนตอนทัhงหลายเราต้องใช้เวลาต่อสู ้ถึง 2 ปี กว่า ถูกแช่งไปบ้าง ถูกด่าไปบ้าง ถูกบ่นไปบ้าง ถูกว่าไปต่างๆนาๆ ถึงวันนีhมนั ประจักษ์แล้ว ชาวบ้ าน: (ดี ใจไหมวันนีh ได้เอกสารสิ ทธิS ?) ดี ใจสิ เหมื อนกับว่าเพิWมความมันW ใจให้กบั ชาวบ้านมากขึhนว่าทีWเข้ามาอยูเ่ นีWยมีหลักฐานมีอะไรแบบนีh ต่อไปในอนาคตก็มอบต่อให้ลูกหลานได้ ทีWดินของหลวงในความรู ้ สึกของพีWคาํ ว่าทีWของหลวงมันผิดกฎหมาย แต่นีWมนั ถูกกฎหมายแล้วซึW งก็ดี ใจมากทีWได้ทีWแล้ว นอนไม่หลับเลยเมืWอคืน มีคนโทรไปบอกทีWนครศรี ฯว่าให้รีบมา ขึhนรถด่วนมาเลย (การทีWเราได้รับเอกสารสิ ทธิS และสามารถทํากิ นในทีWดินได้อย่างมันW คงมันมีผลกับการทําให้ชุมชน เป็ นสุ ขหรื ออยูอ่ ย่างสงบไหม?) มีผลค่ะ มีผลตรงทีWวา่ ต่างคนต่างไม่บุกรุ ก ไม่ลh าํ แดนกัน ไม่มีการบุก รุ กทีWหลวง ไม่มีการบุกรุ กระหว่างแดนต่อแดนจะมีความสามัคคีกนั กํานันเคว็ด: ทีWมีผลต่อชุ มชนในวันนีh คืออย่างน้อยในช่วงชี วิตหนึW งเขาได้มีความสุ ข เขาจะ รู ้สึกว่าเราในฐานะคนไทยคนหนึW งวันนีhได้อยูอ่ ย่างถูกต้องตามกฎหมายในแผ่นดิ นของเรามันบอก ได้ชดั เจนเลย แต่ทีWผ่านมาเราเป็ นคนไทยก็จริ ง แต่อยู่ดว้ ยความสงสัยว่าเราอยู่ในแผ่นดิ นของใคร ประโยชน์ ประโยชน์ เราไม่รู้ประโยชน์ของใคร (คื อทํากิ นบนทีW ดินแต่ไม่มีอะไรรั บรอง?) ไม่มี อะไรรับรอง เขาไม่สามารถเอาทีWดินไปกูเ้ งินได้ ไม่สามารถทําหลักประกันให้กบั บุตรหลานได้ ไม่ สามารถทําหลัก ประกันนิ ติก รรมใดๆได้ทh งั สิh น แต่เอกสารฉบับ นีh ส ามารถทํา นิ ติก รรมได้ทาํ ได้ เหมือนกับโฉนดทุกอย่าง แล้วเราก็สัญญาใจกันเวลาทีWเราทําประชาคมกัน เราก็พูดแล้วว่า ถ้าสมมติ ว่าคุณมี 15 ไร่ แล้วคุณจะไม่บุกรุ กพืhนทีWป่าต่อนะ สัญญาประชาคม สัญญารุ่ นลูกรุ่ นหลานต่อๆไปว่า


184 เราจะไม่บุกรุ กต่อ เพราะฉะนัhนส่ วนทีWเป็ นป่ าเราก็กนั ไว้เป็ นป่ า 100 เปอร์ เซ็นต์ ไม่ตอ้ งไปแตะต้อง เป็ นผลประโยชน์ร่วมกัน ก็ดีใจแทนเขามีความสุ ขเราก็มีความสุ ขไปด้วย ถ้าเขามีทุกข์เราก็ทุกข์ไป ด้วยเราอยูด่ ว้ ยกัน สิW งใดทีWพีWนอ้ งได้มาไม่ใช่ว่าเพราะกํานันเก่ง ไม่ใช่ว่านายกเก่ง อบต.เก่ง ไม่ใช่ว่า คนใดคนหนึW งเก่ง แต่เป็ นการรวมตัวของพีWนอ้ งประชาชนทีWรวมตัวกันเป็ นกลุ่มก้อนและผลักดันให้ กํานันและทีมงานมีแรงทีWจะไปต่อกร ไปต่อเรืW อง ไปทํางานได้ เพราะฉะนัhนถ้าพลังและภูมิคุม้ กัน เหล่านีhไม่มีกาํ นันก็คงเหมือนท่อนไม้ เหมือนขอนไม้ผๆุ ทีWทาํ อะไรไม่ได้ บรรยาย: กว่า 15 ปี นับแต่นาข้าวถูกเปลีWยนเป็ นนาปาล์ม ควายและการทํานาได้หายไปจาก วังตะกอ ซึW งเคยได้ชืWอว่าเป็ นอู่ขา้ วอู่นh าํ ของเมืองหลังสวน วิกฤตราคาข้าวแพงกลายเป็ นโอกาสให้ กํานันชักชวนคนในชุมชนเพืWอหันมาฟืh นนาร้างเพืWอคืนวิถีแห่ งการพึWงตนเองหรื อรืh อฟืh นการปลูกข้าว ซึW งครัhงหนึWงในอดีตเคยเป็ นอาชีพหลักดังW เดิมของคนวังตะกอ กํานันเคว็ด: (เดิมพืhนทีWตรงนีhเป็ นพืhนทีWทาํ นาหรื อเปล่าครับ?) เดิมเป็ นทีWทาํ นาแต่วา่ เขาไม่ได้ ทํามานานแล้วเป็ นนาร้าง แปลงนีhผมทํามา 2 ปี แล้ว (กีWไร่ ครับตรงนีh ?) เดิมทีทาํ 3 ไร่ ถึงแค่ตน้ ไม้ตน้ นัhนแต่วา่ ปี นีh ขา้ งล่างเขาบอกให้ทาํ ปี นีhจะทําสักประมาณ 8 ไร่ เศษๆ (คือไม่ใช่ทีWของกํานัน?) ไม่ใช่ เป็ นทีWทีWชาวบ้านปล่อยทิhงร้ างไว้ (ทํานากันด้วยวิธีไหนครับ?) ทําแล้วก็แบ่งกัน ค่าใช้จ่ายก็หารกัน ออก 4-5 คน (ปี ทีWแล้ว 3 ไร่ ได้ขา้ วเท่าไหร่ ครับ?) ผมได้ขา้ วปี ทีWแล้วประมาณ 117-118 ถังครับ กิน ครอบครัวเดียวไม่เดือดร้อนแล้ว ปี หน้าถังละ 2,000 บาทก็ไม่กลัวแล้ว ชาวบ้ าน: (ลุงเคยทํานามาก่อนไหมครับ?) เคยทํา ทํามาเป็ นอาชี พเพิWงมาเลิกเมืWอตอนปลูก ปาล์มนีWแหละ หวังว่าปลูกปาล์มซืhอข้าว ตอนนีh ขา้ วก็ถงั ละหลายตังค์แล้ว ตอนนีhขา้ วสารแพง ถ้าเรา ชวนกันมาร่ วมหุ ้นปลูกข้าวกินกัน มันลดต้นทุนเยอะไม่ตอ้ งซืh อราคาแพง แล้วอีกอย่างเราเป็ นผูน้ าํ ถ้าเราไม่จูงใจด้วยวิธีนh ีชาวบ้านก็ไม่ทาํ ถ้าเราทําเป็ นตัวอย่างชาวบ้านส่ วนหนึW งเขาก็คิดว่าเขาคงทํา ได้แล้วต่อไปเขาก็จะทําเป็ นการลดต้นทุน บรรยาย: เนืW องจากพืhนทีWทางการเกษตรกว่า 90%ของตําบลวังตะกอทีWเคยเป็ นผืนนาอุดม สมบูรณ์ ได้ถูกเปลีWยนเป็ นสวนปาล์ม สวนยางพารา สวนผลไม้ทีWเป็ นพืชเศรษฐกิจไปเกือบหมดสิh น ด้วยข้อจํากัดอย่างพืhนทีWและองค์ความรู ้เรืW องการทํานาทีWสูญหายไปหลายด้านจากตําบลวังตะกอทํา ให้กาํ นันรวมกลุ่มกับชาวบ้านดําเนิ นการตามยุทธศาสตร์ ทีWกาํ หนดไว้ในแผนแม่บทชุ มชนคือการ แลกเปลีWยนและประสานความรู ้ทางภูมิปัญญากับสังคมและชุมชนอืWน วังตะกอเชืWอมโยงเครื อข่ายไป ยังชุ มชนพึWงตนเอง ต.ขอบขัน อ.ชะอวด จ.นครศรี ธรรมราช ซึW งเป็ นชุ มชนพันธมิ ตรในยุคนํhาป่ า พะนัง ทีWพhืนทีWนบั แสนไร่ ถูกทิhงร้างไว้มากพอทีWจะเปลีWยนเป็ นนาข้าวหล่อเลีhยงผูค้ นได้อีกหลายตําบล การพัฒนาความร่ วมมือไปสู่ กระบวนการเรี ยนรู ้และการพึWงพา เกืhอกูลกันระหว่างชุมชนจึงเกิดขึhน


185 วันนีh กาํ นันเคว็ดเดินทางจากวังตะกอหลังสวน มาทีW อ.ชะอวด จ.นครศรี ธรรมราช นะครับ เพืWอทีWจะมารับข้าวส่ วนแบ่งทีWร่วมหุ น้ กันทํานาไว้กบั สมาชิกเครื อข่ายทีWนีWนะครับ กํานันเคว็ด: (ทําไมกํานันต้องเดิ นทางถึ ง 300 กิ โลเมตรมาปลูกข้าวถึ งทีWนีWครับ?) นีW เป็ น แหล่งเพาะบ่มความคิด ต้นความคิด เป็ นแหล่งทีWรวม 15 ตําบลของ 14 จังหวัดภาคใต้ เรามาคิดกัน ทีW นีW แ ล้ว พอดี ทีW ชุ ม พรนาเราปลู ก ปาล์ ม หมดแล้ว ทีW นีW เ ขายัง ไม่ ไ ด้ป ลู ก ก็ ช วนกัน มาปลู ก ข้า วทีW นีW (หมายความว่าทีWนีWก็เป็ นเครื อข่ายชุมชน?) เครื อข่ายชุ มชนของแผนชี วิตชุ มชนภาคใต้ (มาทําร่ วมกัน ในลักษณะไหนอย่างไรครับ?) ก็ทาํ นาแบ่งกัน ได้ผลประโยชน์เท่าไหร่ ก็เอาจํานวนคนทีWมาทําแบ่ง กัน โกเมศ ทองบุญชู : ในบริ บทของลุ่มนํhาทะเลสาบสงขลามันจะมีพhืนทีWกว้างซึW งในอดีตจะมี การทํานามายาวนาน แต่พอช่วงหลังระบบการทํานาเปลีWยนไปคนหนุ่มสาวในเขตพืhนทีWก็เข้าเมืองทิhง คนแก่กบั เด็กไว้ เพราะฉะนัhนอาชีพทํานาก็ถูกมองว่าเป็ นอาชี พทีWทาํ แล้วขาดทุน ทําแล้วไม่มีศกั ดิSศรี ก็เลยปล่อยทิhงนาร้างไว้ (มันมีมากน้อยแค่ไหนครับ?) อันนีhถา้ ผมมองภาพผมอาจจะให้ภาพใหญ่เท่า ลุ่มนํhาทะเลสาบสงขลาก็เป็ นนับแสนได้ทีWถูกทิhงร้างไว้ ไม่ได้ทาํ อะไร ทีนh ี พอเห็นภาพกว้างแน่นอน เราทําไม่ได้เราก็เลยมาจับเอาพืhนทีWในบริ บทตําบล เราก็มองว่าตําบลเครงเนีW ยเส้นทางคมนาคมมัน มันใกล้เราก็ตกลงกันว่าชุ มพรเขากิ นข้าวแต่ไม่มีนา ตาโบสถ์เองก็กินข้าวแล้วก็ไม่มีนาเหมือนกัน หลายๆพืhนทีWเราไม่มีพhืนทีWนาข้าว เราก็เลยยึดตําบลเครงเป็ นทีWทาํ นาเพราะมีพhืนทีWนาร้างอยูเ่ ยอะก็เป็ น การพลิกฟืh นนาร้าง พาไปดูนาข้าว(ทีWตรงนีh ทh งั หมดกีW ไร่ ครับ?) ทัhงหมดเลย 470 ไร่ ซึW งตอนนีh เราจะเห็ นอยู่ 2 แบบ ตรงนีh 100 ไร่ เราก็ทดลองทํา 100 ไร่ พลิกฟืh นนาร้างมาเพืWอจะทําพันธุ์ขา้ วส่ งเสริ ม ในภาวะทีW ข้าวแพงนะครับเราก็ลองดูวา่ พันธุ์ขา้ วส่ งเสริ มเป็ นพันธุ์ขา้ วทีWให้ผลผลิตสู งเราก็ทดลองทําบริ เวณนีh 100 ไร่ แล้วส่ วนทีWเหลืออยูต่ รงนีhเราเตรี ยมไว้เพืWอจะทําข้าวนาปี โดยใช้พนั ธุ์ขา้ วพืhนเมือง 370 ไร่ ผมคิดว่าเรามีเป้ าหมายลึ กๆทีWตอ้ งการเปลีW ยนแปลงพฤติ กรรมของคนอันนีh สําคัญมากเลย ครับ วันนีh เนีW ยถามว่าทําไมไม่ทาํ นาเพราะขาดทุนแต่ตวั ยังไม่เคยทําเลยแล้วจะตอบได้วา่ ขาดทุนได้ อย่างไร เพียงแต่ถูกบอกโดยนักวิชาการ โดยเจ้าหน้าทีWภาครัฐบางหน่วยงานเท่านัhนบอกว่าอย่าทําเลย นาปลังข้าวพืhนเมืองเพราะผลผลิตมันน้อยให้หนั กลับมาทําพันธุ์ขา้ วส่ งเสริ มเพราะผลผลิตเยอะ แต่ พูดไม่หมดไม่ได้บอกถึงต้นทุนในการผลิตเพราะฉะนัhนเราต้องทําให้ดูวา่ เอาพืhนทีWไร่ มาเปรี ยบเทียบ กันเลยแล้วทําเป็ นข้อมูลแล้วให้นกั วิชาการมารองรับเรานันW คือเรืW องหนึW งทีWเราต้องการเปลีWยนแปลง สิW งสําคัญผมเห็นว่าเราไม่ได้เปลีWยนแปลงเชิ งแนวคิดของคนอย่างเดี ยวแต่เราไปเปลีWยนแปลงกลไก ของภาครัฐหรื อหน่วยงานของรัฐ อันนีh เป็ นมุมมองทีWลึกนะครับทีWเราหวังไหว บทบาทของเครื อข่าย แผนชุ ม ชนทีW เรารวมตัวกันเราต้องการยกระดับ นโยบายท้องถิW นขึh นไปภายใต้ก ารเปลีW ย นแปลง


186 พฤติกรรมของคน ทําให้เห็ น คุ ย คิด วางแผน แล้วก็ทาํ ทําแล้วก็สกัดความรู ้ เพืWอสืW อสารกับสังคม ภายนอก แต่สุดท้ายเราต้องการให้คนยืนอยูบ่ นขาตัวเองภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บรรยาย: โดยแนวคิดว่าเด็กเป็ นอนาคตของชาติ ของสังคม ของชุ มชน การให้โอกาสเด็ก ให้ได้รับการบ่มเพาะ ได้รับการศึกษาทีWดีคือโอกาสของทุกผ่ายในชุมชน ด้วยเหตุนh ีเองกํานันและคน ทีWพอมีในชุ มชนจึงรับภาระเข้าไปดูเด็กจํานวนหนึW งทีWดอ้ ยโอกาส ฐานะครอบครัวยากจน มีปัญหา พ่อแม่แยกทางกันเดิน หรื อเป็ นกําพร้าในเรืW องการให้การศึกษากับเด็กตัhงแต่อุปกรณ์การเรี ยน เสืh อผ้า กระเป๋ าหนังสื อ รวมถึ งการจัดหาสถานศึกษาและเป็ นผูป้ กครองดูแลสุ ขทุกข์ของเด็กๆไม่ต่างจาก การดูแลลูกหลานของตนเอง ในวันเปิ ดภาคการศึกษาใหม่กาํ นันจึงกลายเป็ นพ่อลูกดกต้องพาลูกๆ ต่างวัยเกือบสิ บคนไปส่ งเข้าโรงเรี ยน กํานันเคว็ด: (กํานันมาส่ งเด็กทัhงหมดกีWคนครับ?) 11 คนครับ (มาทําหน้าทีWอะไรบ้างครับ?) เป็ นผูป้ กครอง สิW งทีWเขายังขาดเรารับผิดชอบทุกเรืW องเพราะว่าถ้าเด็กไม่มีโอกาสเรี ยนในวันนีhก็ชีวิต ของเขาก็ เ หมื อ นไม่ มี แ สงเที ย นทีW จุ ด นํา ทางแสงสว่า งชี วิต เขา ก็ อ ยากจะมี แ สงสว่า งในชุ ม ชน เล็กๆน้อยๆทีWพอจะช่วยได้ก็อยากช่วย ในวันนีh เพาะบ่มเด็ก ยินดีให้กบั เด็กก็ถือว่าเป็ นโอกาสกับทุก ฝ่ ายครั บ เพราะถ้าเรายืWนมื อเข้าช่ วยเหลื อแล้วเกลีW ยจากทีW สูงไปลงทีWตW าํ บ้างชุ มชนเราน่ าจะอยู่ดีขh ึ น น่าจะมีความสุ ขมากขึhน บรรยาย: การดูแลช่วยเหลือเกืhอกูลหยิบยืWนโอกาสให้คนทีWมีโอกาสน้อยกว่าช่วยลดช่องว่าง และเฉลีW ยความสุ ขให้กบั คนทีWมีมากและคนทีWมีน้อยกว่าในชุ มชนไม่ให้แตกต่างกันจนมากเกิ นไป และการเอาภาระทีW มี ต่ อลู ก ของสั ง คมมาเป็ นภาระร่ วมกัน ของชุ ม ชนในวันนีh อาจเป็ นการสร้ า ง บุคลากรทีWดีให้กบั ประเทศชาติ สร้างมนุ ษย์ทีWมีสํานึ กทีWดีในการเป็ นผูใ้ ห้ต่อชุ มชน หรื อต่อสังคมใน อนาคตข้างหน้า ความยังW ยืนและความสุ ขของชี วิตในชุ มชนใดก็ตามไม่ได้สร้ างภายในชัวW อายุคนแล้วจะยืน ยงสถาวรตลอดไป บนความพยายามแก้ปัญหามี ปัญหาและนวัตกรรมใหม่ๆเกิ ดขึh นตามมาเสมอ ชุมชนจะเป็ นสุ ขได้จึงต้องเท่าทันปั ญหา เท่าทันความเปลีWยนแปลง เท่าทันความต้องการและกิเลศอยู่ ตลอดเวลา ชุ มชนจึงต้องมีคนรุ่ นใหม่ทีWจะเติบโตเป็ นพลังความเข้มแข็งของชุ มชนในวันข้างหน้า เข้ามาสื บสานสิW งทีWคนรุ่ นก่อนก่อเอาไว้ อภินันท์ ทองวัง: (นีW ทาํ บอร์ ดอะไร?) เป็ นบอร์ ดเกีW ยวกับการทําปุ๋ ยหมักทีWเราได้ดาํ เนิ นการ ในชุ มชนตอนนีh ครับ เป็ นบอร์ ดเกีWยวกับความรู ้ เบืhองต้น วิธีการดําเนิ นการ ทําไว้ให้ชาวบ้านทีWมาทีW ศูนย์ดู (ในความคิดของเรามันมีความจําเป็ นมากน้อยแค่ไหนในการทีWคนรุ่ นใหม่ตอ้ งเข้ามาช่วยกัน กอบกูฟ้ hื นฟูบูรณะชุ มชนของเรา?) ตอนนีh สังคมเรามันเปลีW ยนไป แต่ถา้ จะทําให้สังคมดี ขh ึนมันเกิ ด


187 จากความร่ วมมือร่ วมใจกัน ผมก็เลยคิดว่าในคนรุ่ นใหม่เนีW ยน่าจะทําอะไรให้กบั สังคม ประเทศได้ ยิงW ๆขึhนไป ก็คือการทีWคนรุ่ นกํานันทํางานงานต่างๆเอาไว้ก็ตอ้ งมีคนรุ่ นใหม่มาสานต่อ บรรยาย: ต้นทุนทางสังคมทีWแข็งแรงได้ทาํ ให้วงั ตะกอเป็ นชุ มชนทีWทาํ ให้ผทู ้ ีWอยูอ่ าศัยอบอุ่น และมีความสุ ข ประการสําคัญก็คือความสัมพันธ์ทีWแน่ นแฟ้ น การให้คุณค่าต่อการเป็ นพีWน้อง การ ร่ วมมือร่ วมใจกัน มีจิตเสี ยสละต่องานส่ วนรวม ชาวบ้ าน(งานวันผู้สูงอายุ): (โดยปกติชาวบ้านเขามาช่ วยงานกันเยอะแบบนีh รึเปล่าครับ?) มากันเยอะนะ ทุกครัhงครับ ไม่วา่ งานส่ วนตัว งานวัด งานทุกอย่างก็ช่วยแบบนีh กํานันเคว็ด: วันนีh คงจะเป็ นอีกวันหนึW งเหมือนกับวันผูส้ ู งอายุในหลายๆปี ทีWผา่ นมา วันนีhผม เชืW อเหลื อเกิ นว่าผูส้ ู งอายุทุกท่านทีWมาทีWนีWมาด้วยใจบริ สุทธิS มาเพืWอจะให้ลูกหลานได้รดนํhาได้ขอพร สํา หรั บ วันนีh สWิ ง ทีW ผ มอยากได้ม ากทีW สุ ดคื ออยากขอพร แล้วก็ อยากให้ผูส้ ู ง อายุทุ ก คนมี ค วามสุ ข ตลอดไป สวัสดีครับ บรรยาย: ถ้าหากเรามองย้อนกลับไปในอดี ตเราจะเห็ นนะครั บว่าชุ มชนในอดี ตของเรา หลายชุ มชนทีWเดี ยวทีWมีส่วนสําคัญอย่างยิWงทีWร่วมกันสร้างประวัติศาสตร์ ของชาติไทย มีส่วนอย่างยิWง ในการกําหนดทิศทางของสังคม กําหนดบทบาทในการวางรากฐานด้านวัฒนธรรมการปกครอง รวมถึ ง ในเรืW อ งของเศรษฐกิ จการค้า ของชุ ม ชนด้ว ยนะครั บ แต่ ว่า เมืW อยุ ค สมัย เปลีW ย นไปชุ ม ชน เหล่านัhนกลับถูกทําให้หลายบทบาทถูกครอบงําและอ่อนแอลงไปเรืW อยๆ การได้หนั กลับมาเหลี ยว หลังมองถึงอดีต มองถึงการพัฒนาโดยใช้ความสุ ขของชุมชนเป็ นตัวตัhง การหันกลับไปมองรากเหง้า ทางวัฒนธรรม ทางสังคมของตนเอง การรู ้เท่าทันปั จจุบนั รวมถึงการวางแผนร่ วมกันในการเดินก้าว ไปในอนาคต สิW งเหล่านีh สําหรับชาวบ้านในชุ มชนวังตะกอจึงถื อว่าเป็ นบทเรี ยนทีWสําคัญทีWพวกเรา ควรศึกษาอย่างยิงW นะครับเพราะว่าชุ มชนนัhนถือว่าเป็ นรากฐานหน่วยย่อยของสังคมถ้าหากว่าชุ มชน แข็งแรงหมายความว่าสังคมโดยรวมจะแข็งแรง ประเทศชาติของเราก็จะต้องแข็งแรงและแข้งแกร่ ง เช่ นเดียวกันครับ แต่ทh งั นีh ทh งั นัhนชุ มชนจะแข็งแรงและเป็ นสุ ขได้ก็ตอ้ งเริW มมาจากการมีผนู ้ าํ ทีWดีและ เกิดจากการร่ วมแรงร่ วมใจกันของคนในชุมชนเองนะครับ



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.