เอกสารประกอบกิจกรรมอยุธยาศึกษาวิชาการ ”พลวัตของท้องถิ่น กับการอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญา เพื่อความยั่งย

Page 62

สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “พลวัตของท้องถิ่น กับการอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญา เพื่อความยั่งยืนในกระแสวัฒนธรรมอาเซียน” I

๕๑

กลองทั้ ง ๓ ชนิ ด นี้ มี ห น้ าที่ บ รรเลงควบคุ ม จั ง หวั ด ของเพลงต่ าง ๆ เป็ น ผู้ น าวงในการ ขึ้นเพลงมีรูปแบบการตีที่หลากหลายเปลี่ยนไปตามลักษณะทานองเพลง การปรับเสียงกลองทาโดย ใช้ที่ติดหน้ากลองโดยเฉพาะ เรียกว่า “โป้วอี่” ซึ่งต้องสั่งซื้อมาจากร้านค้าในฝั่งประเทศพม่าและมี ขายที่ด่านเจดีย์สามองค์ ๔.วาเลเคาะ – จี เป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญ สาหรับกากับจังหวะ แบ่งเป็นสองคา คือ วาเลเคาะ หมายถึง เกราะไม้ และจี หมายถึง ฉิ่ง โดยตอกฉิ่ง ติ ด กั บ ด้ า นบนของเกราะตี ต ามจั ง หวะของเพลงมี เสียงดัง “ฉิ่ง เกราะ ฉิ่ง เกราะ” สลับกัน ช้า – เร็ว ตามจัง หวะของเพลง ผู้ที่ตีวาเลเคาะ – จี นี้จะต้อง เป็นผู้ที่รู้เพลง และจังหวะเป็นอย่างดี ทาหน้าที่เป็นผู้ ควบคุมจังหวะของวง วาเลเคาะ – จี ค าว่ า วาเลเคาะ-จี แบ่ ง เป็ น ๓ ค า ได้ แ ก่ วา แปลว่า ไม้ไผ่ และคาว่า เลาเคาะ มาจากภาษา พม่ า คื อ เล-โคว่ หมายถึ ง เครื่ อ งดนตรี ป ระเภท เครื่องตี หรือจาพวกเครื่องประกอบจังหวะที่ทาจาก ไม้ ไ ผ่ และค าว่ า “จี ” มาจากภาษาพม่ า คื อ เจ หมายถึง เครื่องดนตรีที่ทาจากโลหะ๔ ๕.เจ่ ง จี เป็ น เครื่ อ งดนตรี ก ลุ่ ม ประกอบ จังหวะ เช่นเดียวกับ วาเลเคาะ-จี หรือ เรียกว่าฉาบ ใหญ่ มี ห น้ า ที่ ก ากั บ จั งหวะส าคั ญ ช้ า – เร็ ว ตาม เจ่งจี ทานองเพลง การตีเจ่งจีสามารถทาได้ ๒ วิธี คือ ตีสองฝาประกบกัน หรือใช้ไม้ตีเพียงฝาเดียว การตีเจ่งจี จะต้องตีให้เสียงดังฟังชัดเจน เพื่อกากับจังหวะช้า – เร็วของเพลง

กลุ่มชะอู (เครื่องเป่า) ขะน่วย (ปี่) เป็นเครื่องดนตรี ทาหน้าที่บรรเลงทานอง มีสองขนาด คือ ขนาดเล็กเรียกว่า “ขะน่ วยปี้ ” มีเสียงเล็ กแหลม เจิ ดจ้า ส่วนปี่ ขนาดใหญ่ เรียกว่า “ขะน่วยผะดู ” มี เสีย งนุ่ม นวล กว่าขะน่วยปี้ มีส่วนประกอบ ๓ ส่วน คือ ลิ้นปี่ เลาปี่ และลาโพงปี่ ทาจากโลหะ ๔ Khin Maung Tin. Traditional

Ministry or Culture, Mayanmar.

Music Ensemble of Myamar”. Department of Fine Arts.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.