วารสารวิชาการ อยุธยาศึกษา ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๙

Page 27

เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือพอดี ซึ่งวิทยาลัย เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือได้สร้างสะพานนี้ ขึ้นมาตั้ง แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นสะพานเหล็กเชื่อมทุ่น ลอยน้าไว้ใต้สะพาน ตรงกลางสะพานสามารถออกจาก กั น ได้ เพื่ อ ใช้ ปิ ด -เปิ ด ใช้ ง านเป็ น เวลาในช่ ว งระหว่าง ๐๕.๐๐-๑๘.๐๐ น. หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัย เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือฯ จะแยกสะพาน ข้ามแยกออกเพื่อให้เรือใหญ่สามารถแล่นผ่านได้ในช่วง กลางคืน และช่วยให้สวะผักตบชวาสามารถไหลไปตาม น้าได้ บ้ า นเรื อ นที่ อ ยู่ อ าศั ย บนเกาะลอยจะปลู ก เรียงรายหนาแน่นตามริม ฝั่ง แม่น้ ากระจายไปทุ ก ด้ า น ตามรู ป ทรงสามเหลี่ ย มของเกาะ ในการประชุ ม เพื่ อ จั ด ท าโครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพหมู่ บ้ า นและชุ ม ชน (S.M.L.) ในวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ได้ระบุว่า บนเกาะลอยมีบ้านเรือนทั้งสิ้นเป็นจานวน ๑๒๗ หลังคา เรื อ น (เทศบาลนครพระนครศรี อ ยุ ธ ยา, ๒๕๕๔) บริเวณที่อยู่อาศัยบนเกาะลอยจะแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม บ้านย่อยๆ (๑) กลุ่มบ้านท่าใต้ คือ บริเวณบ้านที่ติดกับ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละอุ ต สาหกรรมการต่ อ เรื อ ฯ (๒) กลุ่ ม บ้ า นท่ า เหลื อ คื อ บริ เ วณบ้ า นที่ อ ยู่ ติ ด กั บ วัดมณฑป และ (๓) กลุ่มบ้านท้ายเกาะ คือบริเวณด้าน โรงเจทางทิศเหนือของเกาะลอย ส่วนพื้นที่ตอนในของ เกาะ มีลักษณะเป็นท้องกระทะในช่วงหน้าน้าหรือฤดูฝน จึ ง มั ก เกิ ด น้ าท่ วมขัง และเป็ น พื้ น ที่ ป่ า หญ้ าและต้นไม้ ใหญ่ให้ร่มครึ้มอย่างต้นก้ามปูและต้นมะขามที่ขึ้นอยู่ใน ที่ดินรกร้างว่างเปล่า เพราะเจ้าของที่ดินบางรายเป็นคน ต่ า งถิ่ น ซื้ อ ที่ ดิ น ทิ้ ง ไว้ โดยยั ง ไม่ ไ ด้ เ ข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ ที่ดินบนเกาะลอยส่วนใหญ่ แล้วเป็นที่ดินราชพัสดุ ไม่ก็ เป็นที่ดินของวัดหรือธรณีสงฆ์ แต่ก็มีพื้นที่มีโฉนดปะปน อยู่ ด้ ว ยเช่ น กั น ครั ว เรื อ นที่ อ าศั ย อยู่ ใ นพื้ น ที่ ร าชพั ส ดุ จะต้องไปจ่ายค่าเช่าที่อาเภอพระนครศรีอยุธยาโดยเสีย ค่ า เช่ า รายปี ส่ ว นครั ว เรื อ นที่ อ ยู่ ใ นเขตวั ด มณฑป

ชาวบ้านจะจ่ายค่าเช่าให้กับทางวัดโดยตรง แต่ทางวัด ไม่ไ ด้กาหนดราคาค่า เช่ าที่ แน่นอน ขึ้นกับชาวบ้า นจะ จ่ายให้ตามศรัทธา ส่วนผู้ที่อาศัยในที่ดินของวัด แคจะ เสียค่าเช่าให้วัดแคในอัตราที่กาหนดชัดเจนตามขนาด พื้นที่ นอกจากนี้ยังมีผู้ที่อาศัยบนที่ธรณีสงฆ์ของวัดเก่าที่ ร้างอย่างวัดสะพานเกลือด้วย ผู้อาศัยในกลุ่มนี้จะต้อง เสียค่าเช่าให้กับกรมการศาสนาโดยไปเสียที่ศาลากลาง จั ง หวั ดทุ ก ปี ทว่ า เมื่ อ ไ ม่ กี่ ปี ม านี้ เ ท ศบ า ล น ค ร พระนครศรี อ ยุ ธ ยาได้ เ ริ่ ม อนุ ญ าตออกโฉนดที่ ดิ น บางแปลงให้แก่ชาวบ้านอาศัยอยู่มานานโดยมีการเสียค่า ที่ ดิ น ออกโฉนดตามกฎหมาย (สั มภาษณ์ ป้ า อุ ไ ร ยุ วณบุ ณย์ ) ดั ง นั้ นบนเกาะลอยจึ ง มี ทั้ ง ผู้ ที่ อ าศั ย บนที่ ราชพัสดุ ที่ธรณีสงฆ์ของวัด และที่ดินที่มีโฉนดปะปนกันไป เนื่องจากอยู่ติดกับแม่น้าทาให้เกิดน้าท่วมอยู่ บ่อยครั้ง ชาวบ้านจึง นิยมปลูกบ้านยกพื้น ใต้ถุน สูงเพื่อ ป้องกันผลกระทบจากน้าท่วม และใช้เป็ นที่เก็บข้าวของ เครื่องใช้หรือเก็บเรือพาย แต่ปัจจุบันหลายครัวเรือนได้ สร้างต่อเติมเป็นบ้านสองชั้นมากขึ้น บ้านเรือนตั้งกระจุก ตัวเรียงรายไปตามริมน้าและถนนทางเดิน บ้านเก่าที่อยู่ อาศัยมานานหน้าบ้านจะหันไปทางแม่ น้า ส่วนบ้านที่ อายุน้อยกว่า หน้าบ้านจะอยู่ติด ถนนทางเดินของชุมชน แทน แต่ละบ้านปลูกเรียงกันไปโดยรั้วเตี้ยๆหรือแนวพุ่ม ไม้ประดับปลูกไว้รอบๆพื้นที่บ้านเป็นการบ่งบอกอาณา เขตของบ้านมากกว่าการป้องกันการบุกรุก ครัวเรือนที่ อยู่ติดกันจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดแบบเครือญาติ พี่น้อง หลายครัวเรือนพื้นที่เปิด โล่งไม่มีรั้วกั้น ทั้งนี้บ้านเรือน หลายหลัง ก็ยัง มีสภาพไม่มั่นคงนักเพราะสร้ างขึ้ น จาก วัสดุ เช่น ไม้แผ่น ไม้ไผ่สังกะสี เศษไม้อัดหรือลังกระดาษ ผ้าพลาสติกกันแดดฝน และอื่นๆเท่าที่หาได้ตามมีตาม เกิด โดยเฉพาะกลุ่มที่อาศัยในที่ดินของวัดมณฑปและ วั ด แค ซึ่ ง ย้ า ยมาอาศั ย อยู่ ใ นที่ ดิ น ของวั ด ภายหลั ง บ้านเรือนจะมีสภาพแออัดเรียงชิดติดกันเป็นแนวและไม่ มีพื้นที่บริเวณบ้านมากนัก วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๙ I๒๕


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.