UMS: Annual Report 2012 TH

Page 1

2555

รายงานประจำป

UMS….Being a part of your life

Unique Mining Services Public Co.,Ltd


2

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

สารบัญ 1 2 3 5 13 15 22 23 25 26 41 42 45 46 47

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป สารประธานกรรมการบริษัท สารกรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการ ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างบริษัทและภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ รายการระหว่างกัน ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทฯ


รายงานประจำ�ปี 2555

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป

ผลการด�ำเนินงาน

รายได้จากการขาย รายได้รวม ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ก�ำไรต่อหุ้น*

2555 (ต.ค. 54 - ก.ย. 55)

(ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (บาท)

3,242.42 3,315.35 561.44 60.52 0.39

3,397.73 3,427.65 260.46 (288.26) (1.88)

อัตราก�ำไรขั้นต้น อัตราก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อรายได้รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เฉลี่ย) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (เฉลี่ย)

(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)

17.14 1.83 6.03 1.72

7.60 (8.41) (32.75) (9.13)

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น* * มูลค่าทีต่ ราไว้เป็ น 0.50 บาทต่อหุน้

(ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (บาท)

3,569.68 2,529.99 1,039.69 6.78

2,745.05 2,024.32 720.74 4.70

อัตราส่วนทางการเงิน

2554 (ต.ค. 53 - ก.ย. 54)

1


2

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

สารประธานกรรมการบริษัท ในปี 2555 เป็นปีที่มีปัจจัยและเหตุการณ์ส�ำคัญหลายประการที่เกิดขึ้น ซึ่งมีผล ต่อการด�ำเนินงานของบริษัท • โรงงานสวนส้มหยุดกิจการตัง้ แต่เดือนกรกฎาคม 2554 จนถึงปัจจุบนั เพือ่ ปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขของจังหวัดสมุทรสาคร และขนย้ายสินค้าที่โรงงานสวนส้มให้หมด ภายใน 15 เดือน เพื่อเปิดโรงงานสวนส้ม • ภัยธรรมชาติในเดือนกันยายน – ตุลาคม ท�ำให้บริษทั ได้รบั ผลกระทบจาก เหตุการณ์ น�ำ้ ท่วม โรงงานถูกล้อมรอบด้วยน�ำ ้ จึงไม่สามารถด�ำเนินการขายสินค้าได้ • ราคาถ่านหินในตลาดโลกลดลงอย่างต่อเนื่อง ในช่วงต้นปี 2555 ราคาถ่านอยู่ ระดับราคา 56.94 เหรียญต่อตัน ในช่วงเดือนกรกฎาคมราคาถ่านหินปรับตัวลดลง อย่างมากอยูท่ รี่ ะดับราคา 46.38 เหรียญต่อตัน และยังลดอย่างต่อเนือ่ ง บริษทั บันทึกค่าเผื่อมูลค่าสุทธิจากสินค้าคงเหลือในระหว่างปี 2555 • มีการเปลีย่ นแปลงกรรมการและผูบ้ ริหาร เพือ่ ให้สอดคล้องกับการท�ำงานของธุรกิจ ถ่านหิน

พลตำ�รวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ ประธานกรรมการ

ทั้งนี้ ปัจจัยภายในและภายนอก คณะกรรมการตระหนักดีว่า ธุรกิจการน�ำเข้าและ จัดจ�ำหน่ายถ่านหินได้รับผลกระทบจากราคาถ่านหินในตลาดลดลงอย่างต่อเนื่อง บริษทั ได้เตรียมพร้อมทีจ่ ะรับมือกับภาวะราคาถ่านหินทีล่ ดลง ส�ำหรับการรักษายอดขาย ในปีนที้ างบริษัทได้วางเป้าหมายเจาะตลาดใหม่ ปรับปรุงรูปแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าทีอ่ าจเปลีย่ นแปลงตามสภาวะเศรษฐกิจ และยัง คงปรับปรุงระบบการผลิตเพือ่ ลดต้นทุน ควบคุมค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารโดยให้ เกิดประสิทธิผลสูงสุด บริษัทให้ความส�ำคัญและคุณค่าของทรัพยากรบุคคล ดังนั้น จึง มีนโยบายเรื่องการบริหารงานบุคคลที่ชัดเจน รวมทั้งการดูแลพัฒนาความก้าวหน้าใน สายอาชีพ เราเชื่อมั่นว่า การสร้างให้คนมีความสามารถ มีคุณธรรม และรักในองค์กร จะท�ำให้บุคลากรสามารถใช้ศักยภาพของตนได้เต็มที่ ซึ่งบุคลากรของเรานี้ จะเป็น รากฐานที่ส�ำคัญยิ่งในการน�ำพาบริษัทไปสู่ความส�ำเร็จที่ยั่งยืนต่อไป บริษัทให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติหน้าที่ของตนในเชิงการก�ำหนดทิศทางด้าน ยุทธศาสตร์ การก�ำกับดูแลติดตามการด�ำเนินงานและบริหารความเสีย่ งต่างๆ ของบริษทั ฯ เเละความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทเน้นกิจกรรมเพือ่ เยาวชน ด้าน การศึ ก ษาและการเสริ ม สร้ า งความรู ้ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งการรั บ รู ้ แ ละพั ฒ นาความคิ ด สร้างสรรค์ ด้านสิง่ แวดล้อม บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญกับชุมชนบริเวณรอบโรงงาน โดย บริษทั มีคลังสินค้าแบบปิด การควบคุมฝุ่นใช้สเปรย์น�้ำ ผ้าใบปิดกองถ่าน ปลูกต้นไม้รอบ รั้วโรงงาน ท�ำบ่อตกตะกอน เป็นต้น และในปี 2556 จะเป็นปีที่มีความท้าทายที่บริษัท จะต้องเร่งการจัดจ�ำหน่ายถ่านหินให้เพิ่มขึ้น ลดต้นทุนและเร่งเปิดโรงงานสวนส้มให้ กลับมาปฏิบัติงานได้ต่อไป คณะกรรมการบริษัทขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น คู่ค้า ลูกค้า พนักงาน สถาบันการ เงินและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่สนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทด้วยดีตลอดมา คณะกรรมการบริษทั จะมุง่ มัน่ ก�ำกับดูแลกิจการด้วยคุณธรรม ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ด�ำเนินธุรกิจตามขั้นตอนที่ถูกต้องตามกฎหมาย อีกทั้งรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ถือ หุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม ด�ำรงบทบาทการพัฒนาชุมชน สังคม สิ่ง แวดล้อม และการสร้างมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ำไปสู่ความมั่นคง เจริญเติบโต และยั่งยืนของธุรกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมต่อไป คณะกรรมการเชื่อมั่น ในความสามารถของทีมผู้บริหารซึ่งล้วนแต่มที กั ษะและประสบการณ์ในธุรกิจถ่านหิน ซึง่ องค์ประกอบเหล่านีจ้ ะช่วยสร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนให้กับธุรกิจต่อไป


รายงานประจำ�ปี 2555

สารกรรมการผู้จัดการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน คู่ค้า และมิตรสหายทุกท่าน ในปี 2555 ที่ผ่านมา ความเข้มแข็งของบริษัทได้รับการทดสอบอีกครั้ง ท่ามกลางความท้าทายและอุปสรรคที่รุมล้อม ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก บริษัท และก็เป็นอีกครั้งที่บริษัทพิสูจน์ให้เห็นถึงความมั่นคงและความสามารถใน การแข่งขันในช่วงวิกฤติการณ์ดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นการด�ำเนินธุรกิจด้วยฐานการ ผลิตเพียงแห่งเดียว แรงกดดันจากภาวะการณ์แข่งขันที่รุนแรง และราคาถ่านหิน ในตลาดโลกที่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันบริษัทได้ปรับตัวและมีความ พร้อมในการรองรับปัจจัยเสี่ยงทั้งมวลแล้ว บริษัทจะไม่สามารถพัฒนาและอยู่ รอดในช่วงที่ผ่านมาได้เลย หากไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ฝ่าย ซึ่งผมในฐานะผู้บริหารของบริษัท ใคร่ขอขอบพระคุณทุกท่านในเบื้องต้นนี้

นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ รักษาการ กรรมการผู้จัดการ

แม้ว่าปัญหาอุทกภัยครั้งใหญ่จะส่งผลให้บริษัทพบอุปสรรคอย่างมากในการ จัดจ�ำหน่ายสินค้าในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 นี้ (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) แต่รายได้รวมของบริษัทยังคงปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นในอัตราร้อยละ 4.79 จากปี 2554 ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า บริษัทยังคงรักษาความสามารถในการ แข่งขันไว้ได้ โดยปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลให้บริษัทบันทึกผลขาดทุนสุทธิส�ำหรับการ ด�ำเนินงานในปีงบประมาณ 2555 ได้แก่ 1) ต้นทุนขายเฉลี่ยที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่อ่อนค่าลง ค่าใช้จ่ายที่เป็นส่วนหนึ่งในการ ผลิตเพิ่มสูงขึ้นในช่วงน�้ำท่วม และการบันทึกค่าเผื่อมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ จากสินค้าคงเหลือ ตามที่มาตรฐานทางบัญชีกำ� หนดไว้ เพื่อให้สะท้อนถึงสภาวะ ของตลาดถ่านหินในปัจจุบัน 2) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารปรับเพิ่มสูงขึ้น สาเหตุที่ส�ำคัญคือ ค่าขนส่งสินค้าที่สูงขึ้นเป็นพิเศษ ซึ่งเกิดจากการหยุดด�ำเนิน การชั่วคราวของโรงงานสวนส้ม จังหวัดสมุทรสาคร โดยบริษัทได้ใช้ฐานการผลิตที่ โรงงานนครหลวง จังหวัดอยุธยาเพียงแห่งเดียวในการขนส่งถ่านหินให้กับลูกค้า ทุกราย ส่วนค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เพิ่มสูงขึ้นนั้น สืบเนื่องจากอัตราดอกเบี้ยใน ตลาดเงินที่เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา และการบันทึกผลขาดทุนจากการ ปรับมูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วง หน้า และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ ซึ่งเป็น ไปตามข้อก�ำหนดของมาตรฐานทางบัญชีที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแม้ว่าบริษัทจะมีภาระค่า ใช้จ่ายทางการเงินที่สูงขึ้น ในขณะเดียวกัน ในปีงบประมาณที่ผ่านมาบริษัท สามารถมีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่เกิดขึ้นจริงจากการป้องกันความ เสี่ยงโดยการท�ำสัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถึง 26 ล้านบาท จะเห็นได้วา่ ปัจจัยทีส่ ง่ ผลลบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษทั ในปีงบประมาณ 2555 นั้น ส่วนหนึ่งเป็นปัจจัยที่กระทบผู้ประกอบกิจการทุกราย เช่น อัตราแลก เปลี่ยนเงินตราที่อ่อนค่าลง อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินที่เพิ่มสูงขึ้น ราคาถ่านหิน อ้างอิงในตลาดโลกปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น ในขณะที่อีกส่วนหนึ่งเกิด จากข้อก�ำหนดในการน�ำเสนอข้อมูลทางการเงินตามมาตรฐานบัญชี ซึ่งส่วนใหญ่

3


4

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

สารกรรมการผู้จัดการ (ต่อ) เป็นผลการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ดังนั้น ปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงที่แท้จริงต่อผลประกอบการของบริษัทก็คือ ค่าขนส่งสินค้าที่สูงขึ้น เป็นพิเศษ ซึ่งเกิดจากการหยุดด�ำเนินการชั่วคราวของโรงงานสวนส้ม ซึ่งบริษัทได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในเรื่องนี้ และได้เร่งด�ำเนินการตาม เงื่อนไขของจังหวัดสมุทรสาครโดยเคร่งครัด คาดว่าบริษัทจะสามารถด�ำเนินการขนย้ายถ่านหิน และปรับปรุงสภาพการด�ำเนินงานของโรงงาน ได้แล้วเสร็จภายในกรอบเวลาที่ก�ำหนด และจะสามารถเปิดด�ำเนินการโรงงานสวนส้มได้โดยเร็ว แม้ว่าสภาวะการแข่งขันทางการตลาดจะมีความรุนแรงขึ้น ประกอบกับการมีเชื้อเพลิงทางเลือกอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น และราคาถ่านหินอ้างอิง ในตลาดโลกปรับตัวลดลง มูลค่าทางการตลาดของอุตสาหกรรมถ่านหินยังคงสามารถเติบโตขึ้นได้ เพราะถ่านหินยังคงเป็นเชื้อเพลิงที่มี ประสิทธิภาพและราคาถูก ซึ่งเหมาะสมกับการเลือกใช้ของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ต้องการลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงในภาวะที่ เศรษฐกิจโลกโดยรวมปรับตัวลดลง บริษัทเองก็ได้ปรับต�ำแหน่งทางการตลาด โดยเน้นการจ�ำหน่ายสินค้าและการให้บริการที่ดีมีคุณภาพใน ราคาที่เหมาะสม และการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย เพื่อรองรับความต้องการที่เฉพาะเจาะจงของลูกค้าแต่ละราย ในขณะที่บริษัทมี การปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อให้สอดคล้องกับท�ำงาน และเสริมทัพผู้บริหารโดยการว่าจ้างบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ตรงในอุตสาหกรรมถ่านหิน ประกอบกับการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นหัวใจส�ำคัญของการด�ำเนินงานของบริษัท ทางด้านความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทยังคงมุ่งเน้นการให้การสนับสนุนทางด้านการพัฒนาเยาวชน การศึกษา สิ่งแวดล้อม และการ สร้างรายได้ของชุมชน บริษัทมุ่งเป้าที่จะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนอย่างแท้จริง และน�ำความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และสิ่ง แวดล้อมมาสู่ชุมชนที่โรงงานของบริษัทตั้งอยู่ ในนามของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) ผมขอขอบพระคุณลูกค้าและคู่ค้าทุกท่านอีกครั้งหนึ่ง ที่ให้การสนับสนุนการ ด�ำเนินงานของบริษัทเป็นอย่างดียิ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา รวมทั้งผู้บริหารและพนักงานทุกท่านที่ได้ทุ่มเทการท�ำงานให้บริษัทอย่างเต็มที่ ในช่วงที่ยากล�ำบาก และสุดท้าย ขอขอบคุณผู้ถือหุ้นในความเชื่อมั่นที่มีต่อบริษัทเสมอมา


รายงานประจำ�ปี 2555

คณะกรรมการ

พลตำ�รวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ (อายุ 66 ปี) ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

• คุณวุฒิการศึกษา - ปริญญาเอก สาขาบริหารงานยุติธรรม สหรัฐอเมริกา (ทุนรัฐบาล) - ปริญญาโท สาขาบริหารงานต�ำรวจ สหรัฐอเมริกา (ทุนรัฐบาล) - ปริญญาตรี รป.บ.(ตร.) / นักเรียนนายร้อยต�ำรวจ รุ่นที่ 23 • หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 75/2008 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร ปรอ. รุ่นที่ 1 - ประกาศนียบัตร สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 10 พ.ศ. 2553 • ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง - เดือนมิถุนายน 55 ถึง ปัจจุบัน * ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและกรรมการตรวจสอบแทนนายณัฐพล ลีลาวัฒนานันท์ และ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการแทนม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต โดยมีผลตัง้ แต่ วันที่ 11 มิถนุ ายน 2555 • ประสบการณ์การท�ำงาน - รองประธานกรรมการ, บมจ.ธนาคารนครหลวงไทย - รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม - รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย - ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์อำ� นวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ - ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์อำ� นวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจน - รองผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ - ประธานคณะกรรมการปฏิรูปงานต�ำรวจเพื่อประชาชน - เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ส�ำนักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด - คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการระบบการเงินของประเทศเพื่อป้องกันการเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ (ศสปป.) - ผู้ช่วยผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ - ผู้บัญชาการส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง - ผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอื่นในปัจจุบัน - บริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จ�ำกัด (มหาชน) - กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• ประธานบริษัท บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการอุตสาหกรรม ระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท น�้ำตาล เอราวัณ จ�ำกัด • นายกสมาคมชาวอุบลราชธานี • นายกสภาการศึกษาโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ

• การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน/กิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ - ไม่มี • การถือหุ้นของบริษัทฯ (ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555) - ไม่มี • การเข้าร่วมประชุม ปี 2555 - ประชุมกรรมการบริษัท 4/4 ครั้ง - ประชุมกรรมการตรวจสอบ 4/4 ครั้ง

5


6

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการ (ต่อ)

นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ (อายุ 34 ปี) รองประธานกรรมการ

• คุณวุฒิการศึกษา - ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยซัฟฟอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 30/2547 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 53/2548 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง - เดือนมิถุนายน 2555 ถึง ปัจจุบัน *ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการแทนนางฐิติมา รุ่งขวัญศิริโรจน์ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน 55 • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอื่นในปัจจุบัน - บริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท โพสโค-ไทยน๊อคซ์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยฟิล์ม อินดัสตรี้ จำ�กัด (มหาชน) - กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • ประธานกรรมการ บริษัท 411 เอนเตอร์เทนเมนท์ จำ�กัด • กรรมการ บริษัท เลควูด คันทรีคลับ จำ�กัด • ประธานกรรมการ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จำ�กัด • กรรมการ บริษัท ปิโตรลิฟท์ จำ�กัด • กรรมการ บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี จำ�กัด • การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน/กิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ - ไม่มี • การถือหุ้นของบริษัทฯ (ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555) - ไม่มี • การเข้าร่วมประชุม ปี 2555 - ประชุมกรรมการบริษัท 4/4 ครั้ง


รายงานประจำ�ปี 2555

คณะกรรมการ (ต่อ)

ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต (อายุ 46 ปี) กรรมการ

• คุณวุฒิการศึกษา - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of California, Berkeley, USA - ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ (magna cum laude) University of Minnesota, USA • หลักสูตรการอบรม - Directors Certification Program (DCP) รุน่ 70/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั (IOD) • ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง - เดือนตุลาคม 2552 ถึง ปัจจุบัน * เดือนตุลาคม 2552 ถึงมิถุนายน 2555 ได้ดำ� รงต�ำแหน่งประธานกรรมการ บริษัท และเปลี่ยนเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน 2555 • ประสบการณ์การท�ำงาน - บริษัท มอร์แกน สแตนเลย์ (สิงคโปร์) - บริษัท เจพี มอร์แกน เอเซีย จ�ำกัด - ธนาคาร กรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) - ธนาคารแห่งอเมริกา ซานฟรานซิสโก (สหรัฐอเมริกา) ฮ่องกง และกรุงเทพมหานคร • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอื่นในปัจจุบัน - บริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ • กรรมการบริหาร บมจ. เมอร์เมด มาริไทม์ (จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์-สิงคโปร์) - กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • กรรมการ บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี จ�ำกัด บริษัท บาคองโค จ�ำกัด บริษัท บาเรีย เซเรส จ�ำกัด บริษัท ปิโตรลิฟท์ จ�ำกัด บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงค์โปร์ พีทีอี แอลทีดี จ�ำกัด บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. จ�ำกัด บริษัท ยูเอ็มเอส ไลท์เตอร์ จ�ำกัด บริษัท ยูเอ็มเอส ขนส่ง จ�ำกัด บริษัท ยูเอ็มเอส ลอจิสติกส์ แมแนจเมนท์ จ�ำกัด บริษัท ยูเอ็มเอส พอร์ต เซอร์วิสเซส จ�ำกัด บริษัทในกลุ่มธุรกิจเดินเรือโทรีเซน จ�ำกัด • การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน/กิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ - ไม่มี • การถือหุ้นของบริษัทฯ (ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555) - ไม่มี • การเข้าร่วมประชุม ปี 2555 - ประชุมกรรมการบริษัท 10/11 ครั้ง

7


8

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการ (ต่อ)

นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ (อายุ 53 ปี) กรรมการ / ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน

• คุณวุฒิการศึกษา - Master’s Degree (EMBA) from Sasin Graduate School of Business Chulalongkorn University in a joint program with Kellogg Graduate School of Management of Northwestern University - Singapore Polytechnic with a Diploma in Production Engineering - Completed Finance for Senior Executives at Harvard University • หลักสูตรการอบรม - Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 165/2555 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง - เดือนมิถุนายน 2555 ถึง ปัจจุบัน *ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการแทนนางเพ็ญรุง่ สุวรรณกูฏ โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 11 มิถนุ ายน 2555 • ประสบการณ์การท�ำงาน - ผู้อำ�นวยการบริหารอาวุโส, บริษัท แอดวานซ์ ไฟแนนซ์ จำ�กัด (มหาชน) • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอื่นในปัจจุบัน - บริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการดูเเลกำ�กับกิจการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการตรวจสอบ บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จำ�กัด (มหาชน) - กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • ผู้อำ�นวยการบริหารอาวุโส บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จำ�กัด • กรรมการ Qing Mei Pte. Ltd. • การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน/กิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ - ไม่มี • การถือหุ้นของบริษัทฯ (ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555) - ไม่มี • การเข้าร่วมประชุม ปี 2555 - ประชุมกรรมการบริษัท 4/4 ครั้ง - ประชุมกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 1/1 ครัง้


รายงานประจำ�ปี 2555

คณะกรรมการ (ต่อ)

นางสาวอุษณา มหากิจศิริ (อายุ 32 ปี) กรรมการ / กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

• คุณวุฒิการศึกษา - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ เอกการตลาดและการจัดการ สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นโครงการ่วมกับ Kellogg, Northwestern University, USA - ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 30/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง - เดือนมิถุนายน 2555 ถึง ปัจจุบัน *ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการแทนนายวิชาย ชืน่ สุขสวัสดิ์ โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 25 มิถนุ ายน 2555 • ประสบการณ์การท�ำงาน - กรรมการ, บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน) - ประธานบริหารฝ่ายปฏิบัติการ, บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จำ�กัด - กรรมการผู้จัดการ, บริษัท เมาน์เท่น ครีก ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอื่นในปัจจุบัน - บริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน) - กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมาน์เท่น ครีก ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด • ประธานบริหารฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จำ�กัด • การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน/กิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ - ไม่มี • การถือหุ้นของบริษัทฯ (ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555) - ไม่มี • การเข้าร่วมประชุม ปี 2555 - ประชุมกรรมการบริษัท -/3 ครั้ง - ประชุมกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน -/1 ครัง้

9


10 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการ (ต่อ)

นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ (อายุ 51 ปี) กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ

• คุณวุฒกิ ารศึกษา - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Northrop University, Los Angeles, CA, USA - ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรการอบรม - Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 84/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท (IOD) - Audit Committee Program (ACP) รุ่น 32/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท (IOD) • ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง - 9 เมษายน พ.ศ. 2553 ถึง ปัจจุบัน • ประสบการณ์การท�ำงาน - ฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ ธนาคาร บีเอ็นพี พาร์ริบาร์ - ผจก.ฝ่ายการเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. เอเชียนมารีนเซอร์วิสส์ - ผอ.ฝ่ายวาณิชธนกิจ บงล. เอกพัฒน์ - ผู้จัดการฝ่ายวาณิชธนกิจ บล. ไดวา - ผจก.ฝ่ายการตลาดต่างประเทศ บงล. ธนสยาม - ฝ่ายบริหารการเงิน ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) - ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบ Duty Free Shopper West, Los Angeles, USA. • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอืน่ ในปัจจุบนั - บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี - - กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • ที่ปรึกษาอาวุโส และ ผู้บริหาร ฝ่ายธุรกิจการบิน บริษัท คอร์ปอเรท เพอร์ฟอแมนซ์ แอดไวเซอร์ จำ�กัด • การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน/กิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ - ไม่มี • การถือหุน้ ของบริษทั ฯ (ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555) - ไม่มี • การเข้าร่วมประชุม ปี 2555 - ประชุมกรรมการบริษัท 11/11 ครั้ง - ประชุมกรรมการตรวจสอบ 9/9 ครั้ง


รายงานประจำ�ปี 2555

คณะกรรมการ (ต่อ)

นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล (อายุ 63 ปี) กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

• คุณวุฒิการศึกษา - นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - เนติบัณฑิตไทย - ปริญญาโท นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรการอบรม - Director Certification Program (DCP) รุน่ 60/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุน่ 27/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั (IOD) - Role of the Compensation Committee (RCC) รุน่ 11/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั (IOD) • ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง - พ.ศ. 2547 ถึง ปัจจุบัน • ประสบการณ์การท�ำงาน - คณบดี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - นายกสมาคมทรัพย์สินทางปัญญาแห่งประเทศไทย - อุปนายกฝ่ายวิชาการ สภาทนายความ - ประธานคณะกรรมการอ�ำนวยการ และ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักฝึกอบรมวิชาว่า ความแห่งสภาทนายความ - อุปนายกฝ่ายนโยบายและแผนงาน สภาทนายความ - กรรมการฝ่ายกฎหมาย และอนุกรรมการฝ่ายสัญญา - ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค - สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - กรรมการก�ำกับมาตรฐาน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - คณะกรรมการจัดท�ำกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุ โทรทัศน์ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ท�ำเนียบรัฐบาล - คณะกรรมการเครือ่ งหมายการค้า กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ - คณะกรรมการลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ - ผู้อำ� นวยการสถาบันวิชาชีพกฎหมายชั้นสูง สภาทนายความ - ผู้อำ� นวยการส�ำนักฝึกอบรมวิชาว่าความ สภาทนายความ - เลขาธิการส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - Country Head (Thailand Group) สมาคมทรัพย์สนิ ทางปัญญาแห่งอาเซียน (ASEAN Intellectual Property Association) - President Thailand Group สมาคมทนายความสิทธิบัตรแห่งเอเซีย (Asian Patent Attorneys Association) • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอื่นในปัจจุบัน - บริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บมจ. ยูนมิ ติ เอนจิเนียริง่ บมจ. โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป บมจ. เอ็ม เอฟ อี ซี - บริษัทมหาชนจ�ำกัด • กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ที.ซี. ยูเนีย่ น โกลบอล - กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • ศาสตราจารย์พิเศษ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) • อาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการ เนติบัณฑิตยสภา • คณะกรรมการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีและ สารสนเทศ • ประธานคณะกรรมการอนุญาโตตุลาการ สภาหอการค้าไทยและ มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย • การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน/กิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ - ไม่มี • การถือหุ้นของบริษัทฯ (ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555) - ไม่มี • การเข้าร่วมประชุม ปี 2555 - ประชุมกรรมการบริษัท 11/11 ครั้ง - ประชุมกรรมการตรวจสอบ 9/9 ครั้ง - ประชุมกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 2/2 ครัง้

11


12 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

ตอบสนองภาคอุตสาหกรรม เราได้รับการยอมรับจากผู้ผลิตทั้งขนาดกลาง และขนาดย่อมว่าเป็นผู้จ�ำหน่ายถ่านหินชั้นน�ำของประเทศไทย สามารถผลิต ถ่านหินป้อนสู่ตลาดภาคอุตสาหกรรมได้อย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ และในกระบวนการผลิตสินค้าเพื่อการอุปโภคบริโภคใน ปัจจุบัน หลากหลายอุตสาหกรรมใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงในการผลิต และใช้ในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นทุกวัน นั่นหมายถึงความ ต้องการผลิตภัณฑ์จะมีเพิ่มมากขึ้นทุกวันเช่นกัน


รายงานประจำ�ปี 2555

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

ชื่อบริษัท บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ เลขที่ 36/83 อาคาร พี.เอส.ทาวเวอร์ ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ที่ตั้งคลังสินค้า 1. คลังสินค้าชัยมงคล เลขที่ 20 หมู่ที่ 2 ต�ำบลชัยมงคล (บ้านบ่อ) อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 2. คลังสินค้าสวนส้ม เลขที่ 88/8, 88/9 หมู่ 5 ต�ำบลสวนส้ม อ�ำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร 74120 3. คลังสินค้านครหลวง เลขที่ 108 หมู่ 2 ต�ำบลคลองสะแก อ�ำเภอนครหลวง จังหวัดอยุธยา 13260 เลขทะเบียนบริษัท 0107547000095 (เดิมเลขที่ 0107574700099) ทุนจดทะเบียน 76,727,032.00 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 153,454,064 หุ้น ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 76,727,032.00 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 153,454,064 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท โทรศัพท์ (+662) 664-1701-8 โทรสาร (+662) 664-1700, (+662) 259-2467 โฮมเพจ www.umspcl.com

นายทะเบียนหลักทรัพย์ ชื่อบริษัท ที่ตั้งส�ำนักงาน โทรศัพท์ โทรสาร

ผู้สอบบัญชี

ชื่อผู้สอบบัญชี ชื่อบริษัท ที่ตั้งส�ำนักงาน โทรศัพท์ โทรสาร

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 (+662) 229-2800 (+662) 654-5642

นายชาญชัย ชัยประสิทธิ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3760 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด ชั้น 15 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ เลขที่ 179/74-80 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร 10120 (+662) 344-1000 (+662) 286-5050

13


14 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

มาตรฐานระดับสากล เราให้ความส�ำคัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ตอบสนองความต้องการของตลาด และความพึงพอใจ ของลูกค้า ในการผลิตอย่างมีคุณภาพ สะอาด ปราศจากมลพิษ ท�ำให้เราได้รับรางวัลอันทรงเกียรติจากสถาบันต่างๆ และนี่คือ หลักประกันในเรื่องคุณภาพและการบริการที่ดีของเรา


รายงานประจำ�ปี 2555

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัทฯประกอบธุรกิจการน�ำเข้าถ่านหินคุณภาพดี มีค่าพลังงานความร้อนปานกลางและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย โดยน�ำเข้าจาก ประเทศอินโดนีเซียเพื่อจัดจ�ำหน่ายให้กับโรงงานอุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมในกรุงเทพและปริมณฑลรวม ถึงจังหวัดใกล้เคียง บริษัทฯมีอุตสาหกรรมที่เป็นเป้าหมายหลักในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่อง ดื่ม อุตสาหกรรมกระดาษ และอุตสาหกรรมสิง่ ทอ โดยบริษทั ฯมีกลยุทธ์นำ� ถ่านหินดังกล่าวมาท�ำการคัดเลือกและปรับปรุงคุณภาพ เพือ่ ให้ถา่ นหิน มีคณ ุ ภาพตรงกับคุณสมบัตเิ ชิงวิศวกรรมของหม้อไอน�ำ้ ของแต่ละโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเข้าร่วมประมูลขายถ่านหินให้กับ บริษัทเอกชนในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ และอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าที่มีการประมูลจัดซื้อถ่านหินอีกด้วย เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯมีเป้าหมายในการเป็นผู้น�ำการขายถ่านหินส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศไทย โดยการคัดเลือก ถ่านหินทีม่ คี ณ ุ ภาพดี ตรงกับความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรมและมีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อย บริษทั ฯมีเป้าหมายทีจ่ ะมีรายได้เติบโต อย่างต่อเนื่อง โดยการขยายฐานลูกค้าไปในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการใช้น�้ำมันเตาให้เปลี่ยนมาใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงแทน โดยน�ำจุด เด่นของถ่านหินที่มีต้นทุนการใช้งานที่ต�่ำกว่าน�้ำมันเตาและการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องของการใช้ถ่านหินเป็นกลยุทธ์ในการขยายฐาน ลูกค้า รวมทั้งเน้นการกระจายความเสี่ยงทางด้านรายได้ของบริษัทฯโดยไม่พึ่งพาโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เพียงตลาดเดียว แต่จะเน้น การขยายตลาดไปยังโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก และกระจายไปยังหลายอุตสาหกรรมเพือ่ ลดความเสีย่ งจากการทีอ่ ตุ สาหกรรม ใดอุตสาหกรรมหนึง่ อาจมีผลกระทบจากวัฏจักรของเศรษฐกิจ บริษัทฯมีเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจควบคู่กับนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม โดยจัด ให้มีมาตรการในกระบวนการต่างๆของธุรกิจในการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งมีปริมาณส�ำรองอยู่มาก โดยแหล่งถ่านหินกระจายอยู่ในประเทศต่างๆมากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ท�ำให้ ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงที่มีความมั่นคงสูง ราคามีการแข่งขันกันสูง ส่งผลให้มีราคาถูกกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ก๊าซธรรมชาติและ น�้ำมันเตา โดยถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงธรรมชาติชนิดหนึ่งซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งและมีแร่ธาตุที่ส�ำคัญ คือ คาร์บอน โดยทั่วไปแล้วถ่านหินจะมีสี ด�ำหรือสีน�้ำตาลเข้มและแบ่งได้หลายประเภท ถ่านหินที่มีคุณภาพดีที่สุดเรียงตามล�ำดับ ได้แก่ แอนทราไซต์ บิทูมินัส ซับบิทูมินัส และลิกไนต์ โดยบริษัทฯเน้นการน�ำเข้าถ่านหินประเภทบิทูมินัสและซับบิทูมินัส เนื่องจากเป็นถ่านหินที่มีคุณภาพดี มีค่าความร้อนในระดับปานกลาง ค่า ความชื้นและปริมาณเถ้าที่ไม่สูงมากนัก รวมถึงมีปริมาณก�ำมะถันต�่ำใกล้เคียงกับน�้ำมันเตา (น�้ำมันเตามีปริมาณก�ำมะถันประมาณ 0.1-3.0 เปอร์เซนต์) ท�ำให้มีมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมน้อยมาก โดยส่วนใหญ่บริษัทฯจะน�ำเข้าถ่านหินประเภทซับบิทูมินัส และมีการน�ำเข้าถ่านหิน ประเภทบิทูมินัสเป็นครั้งคราว (Spot) ตามค�ำสั่งของลูกค้ารายใหญ่เท่านั้น เนื่องจากถ่านหินประเภทบิทูมินัสมีราคาแพง ส่วนถ่านหินประเภท แอนทราไซต์ บริษัทฯไม่ได้น�ำเข้าถ่านหินประเภทนี้เนื่องจากมีราคาสูงกว่ามาก บริษัทฯจึงไม่ได้เน้นท�ำการตลาดส�ำหรับถ่านหินประเภทนี้ ส่วน ถ่านหินประเภทลิกไนต์เป็นถ่านหินคุณภาพต�่ำ มีปริมาณก�ำมะถันมาก ท�ำให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูง ดังนั้นถ่านหินประเภทนี้จึงไม่เป็นที่ นิยมของลูกค้า มาตรฐานคุณภาพอากาศจากปล่องระบายซึ่งก�ำหนดโดยกระทรวงอุตสาหกรรมก�ำหนดให้สารมลพิษที่ปากปล่องระบายของโรงงาน อุตสาหกรรม เช่น ค่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีค่าไม่เกิน 700 ppm (part per million) ในขณะที่ถ่านหินของบริษัทฯ เมื่อน�ำไปใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรมและวัดค่าก๊าซที่ปากปล่องระบายได้ค่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์ได้น้อยกว่า 100 ppm ดังนั้นถ่านหินที่บริษัทฯจ�ำหน่ายจึงไม่ก่อให้เกิด ปัญหากับสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานที่ราชการก�ำหนด

15


16 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทฯได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) จ�ำนวน 2 ฉบับ มีสาระส�ำคัญดังนี้

สิทธิประโยชน์ บัตรส่งเสริมเลขที่

1499(2)/2551

1047(2)/2552

- ประเภทกิจการ

กิจการขนส่งทางเรือประเภท 7.2

บริการด้านขนถ่ายสินค้าสำ�หรับเรือ เดินทะเลประเภท 7.1

- ได้รบั การยกเว้นอากรขาเข้าสำ�หรับเครือ่ งจักร

ตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ

ตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ

- ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับกำ�ไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมรวมกันไม่เกิน ร้อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน

เริ่ม 24 มิ.ย. 2551 สิ้นสุด 23 มิ.ย. 2559

เริ่ม 19 ม.ค. 2552 สิ้นสุด 18 ม.ค. 2560

- ได้รับการยกเว้นไม่ต้องนำ�เงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริม ไปรวมคำ�นวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตลอดระยะเวลาที่ผู้ได้ รับการส่งเสริมได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น

เริ่ม 24 มิ.ย. 2551 สิ้นสุด 23 มิ.ย. 2559

เริ่ม 19 ม.ค. 2552 สิ้นสุด 18 ม.ค. 2560

ภาวะการแข่งขันและแนวโน้มอุตสาหกรรม ภาวะการแข่งขัน

การจ�ำหน่ายถ่านหินให้กับโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยเป็นธุรกิจที่มีผู้ประกอบการประมาณ 20 ราย โดยบริษัทฯมีคู่แข่งทางการ ค้าที่ส�ำคัญได้แก่ บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลานนารีซอร์สเซส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอเชีย กรีน เอนเนอจี จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท เอ็นเนอร์ยี่ เอิร์ธ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นต้น โดยบริษัทฯเป็นผู้น�ำตลาดในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก บริษัทฯเน้น การเพิ่มลูกค้าในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กมากกว่ากลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการ แข่งขันทางด้านราคา

2553

2554

2554 (ม.ค.-ก.ย.)

2555 (ม.ค.-ก.ย.)

อัตราการเติบโต (ร้อยละ)

การบริโภคลิกไนต์

18.02

20.02

15.52

13.73

-11.51

ผลิตกระแสไฟฟ้า (กฟผ.)

16.00

17.16

13.14

12.67

-3.58

2.02

2.86

2.38

1.06

-55.46

16.90

16.33

12.58

13.78

9.57

5.87

6.16

4.76

5.72

20.25

อุตสาหกรรม

11.03

10.17

7.82

8.06

3.07

ความต้องการโดยรวม

34.92

36.35

28.10

27.52

-2.07

ประเภท

อุตสาหกรรม การบริโภคถ่านหิน ผลิตกระแสไฟฟ้า (SPP และ IPP)

ปริมาณ (ล้านตัน)

ทีม่ า : ส�ำนักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน


รายงานประจำ�ปี 2555

17

พลังงานสะอาด เราตระหนักถึงหน้าที่องค์กรในฐานะเป็นผู้ผลิตพลังงาน ดังนั้นในทุกๆ กิจกรรมการดำ�เนินงานจะคำ�นึงถึงการดูแลรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เราให้ความสำ�คัญเป็นอย่างมากในเรื่องคุณภาพของถ่านหิน ใส่ใจในทุกกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้ ผลิตถ่านหินที่มีคุณภาพดี ปราศจากมลพิษ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม


18 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

แนวโน้มอุตสาหกรรม

การใช้ถ่านหินและลิกไนต์

การใช้ถ่านหินและลิกไนต์ ในปี 2555 (ม.ค.-ก.ย.) ปริมาณการใช้ถ่านหินและลิกไนต์รวมประมาณ 27.52 ล้านตัน ใกล้เคียงกันกับช่วงเดียวกันของปี 2554 ซึ่งมี ปริมาณการใช้รวมประมาณ 28.10 ล้านตัน การใช้ลิกไนต์ในปี 2555 (ม.ค.-ก.ย.) ประมาณ 13.73 ล้านตัน แบ่งเป็นภาคการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.จ�ำนวน 12.67 ล้านตัน และอีก 1.06 ล้านตัน น�ำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ การผลิตปูนซีเมนต์ กระดาษ อาหาร ในขณะที่การ ใช้ถ่านหินน�ำเข้าในปี 2555 ประมาณ 13.78 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.57 เป็นการใช้ในอุตสาหกรรมจ�ำนวน 8.06 ล้านตัน ที่เหลืออีกประมาณ 5.72 ล้านตันใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าของ SPP และ IPP จากก�ำลังการผลิตถ่านหินที่ไม่เพียงพอกับอุปสงค์ภายในประเทศ รวมถึงคุณภาพถ่านหินในประเทศไทยที่มีคุณภาพต�่ำเมื่อเปรียบเทียบ กับถ่านหินต่างประเทศ ท�ำให้ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องน�ำเข้าถ่านหินจากประเทศต่างๆ เช่น อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย เป็นต้น โดยในอดีตที่ผ่าน มา ประเทศไทยมีการน�ำเข้าถ่านหินเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2555 (ม.ค.-ก.ย.) ประเทศไทยมีการน�ำเข้าถ่านหินทุกประเภทประมาณ 13.62 ล้านตัน เนื่องจากบริษัทฯมีกลยุทธ์ในการขยายฐานลูกค้ารายใหม่โดยใช้ข้อได้เปรียบในด้านราคาของถ่านหินที่ต�่ำกว่าน�ำ้ มันเตา ดังนั้นลูกค้า หลายรายจึงมีแนวโน้มในการเปลี่ยนจากการใช้น�้ำมันเตามาใช้ถ่านหินเพิ่มขึ้น เพื่อลดต้นทุนการผลิต และเสริมศักยภาพในการแข่งขันระยะ ยาว จากตารางปริมาณการใช้น�้ำมันเตาในประเทศไทย พบว่าในปี 2553 และปี 2554 มีปริมาณการใช้ 2,615 ล้านลิตร และ 2,456 ล้านลิตร ตามล�ำดับ ส่วนในปี 2555 (ม.ค.-ก.ย.) มีปริมาณการใช้นำ�้ มันเตาทั้งหมด 1,854 ล้านลิตร ซึ่งมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากน�้ำมันเตาเป็นพลังงาน ที่มีราคาสูงกว่าก๊าซธรรมชาติและถ่านหิน ทั้งนี้ หากคิดมูลค่าการใช้น�้ำมันเตาเฉลี่ยของน�้ำมันเตาขายส่งที่โรงกลั่นในปี 2555 (ม.ค.-ก.ย.) เท่ากับ 23.54 บาทต่อลิตร (ที่มา: ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน) ดังนั้น มูลค่าตลาดของน�้ำมันเตาในปี 2555 จะมีมูลค่าประมาณ 58,191 ล้านบาท และหากแปลงเป็นมูลค่าตลาดของถ่านหินจะได้ประมาณ 20,367 ล้านบาท (สมมติให้ราคาพลังงานของถ่านหินต�ำ่ กว่า น�้ำมันเตาร้อยละ 65) ในขณะที่รายได้ในการขายถ่านหินของบริษัทในปี 2555 (ต.ค.54-ก.ย.55) ประมาณ 3,398 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทฯยังมี ช่องว่างการตลาดในการที่จะชักจูงให้ลูกค้าเปลี่ยนจากการใช้น�้ำมันเตามาใช้ถ่านหินซึ่งสามารถประหยัดพลังงานได้อีกมาก ซี่งจะช่วยในด้าน การลดต้นทุนของลูกค้าลง ปริมาณการน�ำเข้าถ่านหินประเภท coal solid fuels มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงปี 2550-2554 โดยมีปริมาณน�ำเข้า เท่ากับ 13,788 พันตัน 15,679 พันตัน 15,587 พันตัน 16,320 พันตัน และ 16,003 พันตัน ตามล�ำดับ ในขณะที่มูลค่าการน�ำเข้าถ่านหินมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดย มีมูลค่าน�ำเข้าในปี 2550-2554 เท่ากับ 24,770 ล้านบาท 34,089 ล้านบาท 33,448 ล้านบาท 34,835 ล้านบาท และ 39,179 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ โดยปริมาณน�ำเข้าในปี 2555 (ม.ค.-ก.ย.) เท่ากับ 13,621 พันตัน มีมูลค่าเท่ากับ 35,020 ล้านบาท สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2554 ที่มีปริมาณน�ำเข้าเท่ากับ 12,763 พันตัน มีมูลค่าเท่ากับ 30,550 ล้านบาท


รายงานประจำ�ปี 2555

ปริมาณการนำ�เข้า Coal Solid Fuels

พันตัน

16,320

18,000 16,000

15,679

14,000

16,003

15,587

13,778

12,000

12,763

13,621

10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

2550

2551

2552

2553

2554

2554 (ม.ค. - ก.ย.)

2555 (ม.ค. - ก.ย.)

มูลค่าการนำ�เข้า Coal Solid Fuels ล้านบาท

39,179

40,000

35,020

35,000

34,089

30,000 25,000

34,835 33,449

30,550

24,770

20,000 15,000 10,000 5,000 0

2550

ทีม่ า : ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

2551

2552

2553

2554

2554 (ม.ค. - ก.ย.)

2555 (ม.ค. - ก.ย.)

19


20 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

จากข้อมูลอุปสงค์ที่กล่าวแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่าแนวโน้มธุรกิจถ่านหินยังมีแนวโน้มที่สดใส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในภาวะที่โรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ มีการแข่งขันสูง การควบคุมต้นทุนในการผลิตจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการแข่งขัน การใช้ถ่านหินจึงมีแนวโน้มที่สูงขึ้นแทน พลังงานอืน่ เช่น น�ำ้ มันเตาซึง่ มีราคาสูงกว่าและมีโอกาสปรับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ดังนัน้ จึงเป็นโอกาสของบริษทั ฯ ในการขยายตลาดได้ตอ่ ไป กราฟแสดงการเปรียบเทียบราคาต่อค่าความร้อนของเชื้อเพลิง 3 ชนิด ราคา (บาทต่อ 1 ล้านกิโลเเคลอรี่) 3,000 2,500 2,000

2,283

2,045

1,729

1,533

1,472

1,500 1,000

2,478

555

641

365 0 2550

431

670

678

427

483

500

2553

2554

2555

500 429

2551 ถ่านหิน

2552 ก๊าซธรรมชาติ

873

729

น�ำ้ มันเตา

ทีม่ า : ส�ำนักงานนโยบายและแผนงาน www.eppo.go.th , กรมเชื อ้ เพลิ งธรรมชาติ www.dmf.go.th และ UMS ทีม่ า : 1. ราคาน�้ำมันเตาขายส่งเฉลีย่ ทีโ่ รงกลัน่ : www.eppo.go.th 2. ราคาก๊ าซธรรมชาติ : www.dmf.go.th 3. ราคาถ่านหิ นน�ำเข้าเฉลีย่ : www.eppo.go.th

ราคาต่อค่าความร้อนของถ่านหินยังคงต�่ำกว่าน�ำ้ มันเตาและก๊าซธรรมชาติ (ราคาถ่านหิน น�้ำมันเตา และก๊าซธรรมชาติดังกล่าวไม่รวมค่า ขนส่ง) ดังนั้น บริษัทฯยังคงสามารถขยายตลาดการใช้ถ่านหินได้อย่างต่อเนื่องจากจุดเด่นดังกล่าว

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่

บริษัทฯมีทีมงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ถ่านหินได้อย่างกว้างขวางมากขึ้นในหลายๆ อุตสาหกรรม โดย ทีมงานได้ท�ำการศึกษาโครงการต่างๆ โดยมีวัตุประสงค์ในการเพิ่มมูลค่าของถ่านหิน รวมทั้งสามารถใช้กับหม้อไอน�้ำของลูกค้าได้มี ประสิทธิภาพดีขึ้น ทั้งนี้ ทีมงานวิจัยและพัฒนามีแนวทางในการศึกษาเทคโนโลยีการใช้ถ่านหินจากต่างประเทศเพื่อน�ำมาประยุกต์กับ อุตสาหกรรมในประเทศอย่างต่อเนื่อง


รายงานประจำ�ปี 2555

21

เติบโตอย่างยั่งยืน ด�ำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของการเติบโตอย่างยั่งยืน สะท้อนให้เ ห็นจากการดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม การจ่ายผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเหมาะสม เป็นธรรม และต่อเนื่อง การส่งเสริมบุคคลกร ให้ปฎิบัติหน้าที่ด้วยความ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีจริยธรรม รวมถึงการดูแลลูกค้า คู่ค้า ตลอดจนสังคม อย่างต่อเนื่องเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน อย่างยั่งยืน.


22 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างบริษัทเเละภาพรวมประกอบธุรกิจของบริษัท บริษัทฯประกอบธุรกิจการน�ำเข้าถ่านหินคุณภาพดี มีค่าพลังงานความร้อนปานกลาง และมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อย ซึ่งบริษัทฯมี อุตสาหกรรมที่เป็นเป้าหมายหลัก คือ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ และอุตสาหกรรมสิ่ง ทอ โดยบริษัทฯมีกลยุทธ์น�ำถ่านหินดังกล่าวมาท�ำการคัดเลือกและปรับปรุงคุณภาพ เพื่อให้ถ่านหินมีคุณภาพ ตรงกับคุณสมบัติเชิงวิศวกรรม ของหม้อไอน�้ำของแต่ละโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บริษัทฯถือหุ้นร้อยละ 99.99 ในบริษัทย่อยทั้ง 4 บริษัท โดยมีรายละเอียดดังนี้

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน)

99.99%

บริษทั ยูเอ็มเอส ลอจิสติกส์ แมแนจเมนท์ จ�ำกัด (เดิมเป็นบริษทั ยูเอ็มเอส โคล บริคเครท จ�ำกัด ซึ่งเปลี่ยน ชื่อบริษทั เมือ่ วันที่ 13 ธันวาคม 2554) จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อ วันที่ 20 ตุลาคม 2549 ด�ำเนินธุรกิจด้าน Logistics

99.99%

บริษัท ยูเอ็มเอส ไลท์เตอร์ จำ�กัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2550 ด�ำเนิน ธุรกิจด้านการขนส่งและขน ถ่ายทางน�้ำ ได้แก่ การขนส่ง ทางเรือขนาดประมาณ 500 - 2,500 ตันต่อล�ำ

99.99%

บริษัท ยูเอ็มเอส ขนส่ง จ�ำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2550 ด�ำเนิน ธุรกิจด้านการขนส่งและขน ถ่ายทางบก ได้แก่ การ ขนส่งโดยรถบรรทุก

99.99%

บริษัท ยูเอ็มเอส พอร์ต เซอร์วิสเซส จ�ำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2551 ด�ำเนิน ธุรกิจด้านท่าเทียบเรือ ที่ อ�ำเภอนครหลวง จังหวัด อยุธยา


รายงานประจำ�ปี 2555

ปัจจัยความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงจากต้นทุนสินค้ามีราคาแปรผันไปตามราคาซื้อขายของตลาดโลก

ต้นทุนราคาถ่านหินที่บริษัทฯน�ำเข้ามีองค์ประกอบหลัก คือ ราคาถ่านหิน ค่าระวางเรือ และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่ง ปัจจัยเหล่านี้จะมีราคาผันแปรไปตามราคาตลาดโลก ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงด้านราคาขององค์ประกอบเหล่านี้จึงมีผลกระทบโดยตรงกับ ต้นทุนสินค้าของบริษัทฯ โดยหากราคาถ่านหิน ค่าระวางทางเรือมีการปรับราคาขึ้น และอัตราแลกเปลี่ยนมีการอ่อนค่าลง จะส่งผลให้ต้นทุน สินค้าของบริษัทฯ สูงขึ้น ราคาถ่านหินและค่าระวางเรือมีการปรับตัวขึ้นลงตามปัจจัยด้านอุปสงค์และอุปทานในตลาดโลก ทั้งนี้ บริษัทฯมีทีมงานในการติดตาม ข้อมูลของราคาถ่านหินและค่าระวางเรืออย่างใกล้ชิด เพื่อให้บริษัทฯสามารถบริหารต้นทุนสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการที่บริษัทฯ น�ำเข้าถ่านหินจากต่างประเทศทั้งหมดและจ�ำหน่ายให้กับโรงงานอุตสาหกรรมภายในประเทศ ส่งผลให้บริษัทฯ มี ต้นทุนเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา และรายได้ส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินบาท ท�ำให้บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นหาก ค่าเงินบาทมีการอ่อนค่าลง ส่งผลให้บริษัทฯมีต้นทุนที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีการป้องกันผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลก เปลี่ยน โดยการซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) ของราคาต้นทุนสินค้าที่น�ำเข้าทั้งหมด จากนโยบายดังกล่าว ท�ำให้ บริษัทฯ สามารถลดความเสี่ยงในเรื่องของอัตราแลกเปลี่ยนลงได้

2. ความเสี่ยงจากผู้ประกอบการรายใหม่

ธุรกิจการน�ำเข้าและจัดจ�ำหน่ายถ่านหินให้กับโรงงานอุตสาหกรรมภายในประเทศเป็นธุรกิจที่ผู้ประกอบการรายใหม่ไม่มีความจ�ำเป็นที่ จะต้องลงทุนในอุปกรณ์เครื่องจักรมากนักและเป็นตลาดที่มีผู้แข่งขันน้อยราย ท�ำให้มีโอกาสที่จะมีผู้แข่งขันรายใหม่เข้ามาประกอบธุรกิจนี้ ได้ ซึ่งปัจจุบันมีคู่แข่งเข้ามาแข่งขันเพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลกระทบต่ออัตราก�ำไรขั้นต้น ดังนั้นบริษัทฯจึงได้มีการวางกลยุทธ์ที่ส�ำคัญทางด้าน ผลิตภัณฑ์ให้แตกต่างจากบริษัทคู่แข่งทั่วไปเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มและสามารถสนองความต้องการของลูกค้าได้มากที่สุด โดยจะต้อง อาศัยประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการคัดเลือกและปรับปรุงคุณภาพถ่านหินดังกล่าวรวมถึงจะต้องมีความรู้ที่จะสามารถให้ค�ำ แนะน�ำกับลูกค้าให้ใช้ถ่านหินให้เหมาะสมกับประเภทของหม้อไอน�ำ้ ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันบริษัทฯเป็นผู้จ�ำหน่ายถ่านหินในประเทศไทยที่มีการคัดเลือกและปรับปรุงคุณภาพถ่านหินให้เหมาะสมกับหม้อไอน�้ำส�ำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและเล็ก เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการเผาผลาญเชื้อเพลิง และสามารถลดต้นทุนการผลิตของลูกค้า ได้เป็นอย่างดี ท�ำให้ลูกค้าให้ความไว้วางใจในการสั่งซื้อสินค้าจากบริษัทฯ ในปัจจุบันบริษัทฯมีลูกค้าเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้บริษัทฯสามารถ น�ำเข้าถ่านหินด้วยเรือขนาดใหญ่ ส่งผลให้บริษัทฯมีค่าระวางเรือที่ถูกกว่าค่าระวางเรือในกรณีที่นำ� เข้าถ่านหินจ�ำนวนน้อย ซึ่งผู้ประกอบการ รายใหม่ไม่สามารถน�ำเข้าถ่านหินจ�ำนวนมากในคราวเดียวกันส�ำหรับช่วงเริ่มต้นการด�ำเนินกิจการ ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบในการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทฯ

23


24 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

3. ความเสี่ยงด้านพลังงานอื่นทดแทนและการขยายฐานลูกค้า

โดยทั่วไป เชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมของประเทศไทยจะมีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ น�้ำมันเตา ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน น�้ำมันเตาเป็นแหล่งเชื้อเพลิงที่โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เลือกใช้ เนื่องจากการจัดหาซื้อท�ำได้สะดวก การใช้งานที่ไม่ยุ่งยากและการ บ�ำรุงรักษาหม้อไอน�ำ้ ท�ำได้ง่าย ส่วนก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่จะใช้ในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า เนื่องจากมีราคาถูกกว่าน�ำ้ มันเตา ส่วนการใช้ ถ่านหินยังไม่เป็นที่แพร่หลายในอุตสาหกรรมต่างๆ มากนักเนื่องจากผู้ใช้ยังขาดความรู้ในการใช้ถ่านหินได้ดีเพียงพอ จากอดีตจนถึงปัจจุบันถ่านหินมีจุดเด่นในเรื่องของการเป็นเชื้อเพลิงที่มีต้นทุนต�่ำ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากน�้ำมันเตาเป็น ถ่านหิน โรงงานอุตสาหกรรมจะต้องมีการลงทุนเปลี่ยนหม้อไอน�้ำจากที่ใช้กับน�ำ้ มันเตาเป็นหม้อไอน�้ำที่ใช้ส�ำหรับถ่านหิน แต่เมื่อพิจารณา รวมถึงผลกระทบ เช่น ด้านต้นทุนเชื้อเพลิงรวมถึงค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานและการบ�ำรุงรักษาหม้อไอน�้ำแล้ว ลูกค้ามีระยะเวลาคืนทุน เฉลี่ยประมาณ 9-24 เดือน ขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้ถ่านหินและประเภทของหม้อไอน�้ำ ดังนั้นในภาวะปัจจุบันที่โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ จ�ำเป็นต้องลดต้นทุนการผลิตเพื่อให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้น ในหลายอุตสาหกรรมจึงเริ่มพิจารณาการใช้ถ่านหินเป็นทาง เลือกหนึ่งแทนน�้ำมันเตา ประกอบกับถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงซึ่งมีปริมาณส�ำรองอยู่มากเมื่อเปรียบเทียบกับก๊าซธรรมชาติและน�้ำมันเตา อีกทั้ง แหล่งถ่านหินยังกระจายอยู่ในประเทศต่างๆมากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ท�ำให้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงที่มีความมั่นคงสูง บริษัทฯจึงคาด ว่าการใช้ถ่านหินในอนาคตมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม โดยในปัจจุบันบริษัทฯให้ความส�ำคัญในการขยายฐานลูกค้าโดยท�ำการ ตลาดในลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้หม้อไอน�้ำแบบใช้น�้ำมันเตาให้เปลี่ยนเป็นแบบใช้ถ่านหินกับทางบริษัทฯ

4. ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม

ถ่านหินทีน่ ำ� มาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมมีหลายประเภท สามารถจัดเรียงตามคุณภาพทีด่ ที สี่ ดุ ของถ่านหินโดยพิจารณาจากค่าความร้อนที่ สูงและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยได้แก่ แอนทราไซต์ บิทูมินัส ซับบิทูมินัสและลิกไนต์ โดยถ่านลิกไนต์จะก่อให้เกิดมลภาวะกับ สิ่งแวดล้อมสูง ในขณะที่ถ่านหินประเภทอื่นๆจะก่อให้เกิดมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมน้อยกว่ามาก ปัจจุบัน บริษัทฯน�ำเข้าถ่านหินประเภทบิทูมินัสและซับบิทูมินัส โดยถ่านหินทั้ง 2 ประเภทเป็นถ่านหินที่มีคุณภาพดีและมีก�ำมะถันใน ระดับต�่ำ (ปริมาณก�ำมะถันอยู่ในช่วง 0.1-1.5 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่น�้ำมันเตามีก�ำมะถันอยู่ในช่วง 0.1-3.0 เปอร์เซ็นต์) ท�ำให้มีผลกระทบกับ สิ่งแวดล้อมน้อยเมื่อน�ำมาใช้งาน และจากการที่บริษัทฯมีระบบในการจัดเก็บถ่านหินอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยมีมาตรการในการ ควบคุมฝุ่นอย่างรัดกุม เช่น การจัดให้มีผ้าใบคลุมรอบกองถ่านหิน การฉีดน�้ำดักฝุ่นไม่ให้ฟุ้งกระจาย การสร้างรั้วรอบคลังสินค้า การตรวจ สอบคุณภาพน�้ำและอากาศเป็นประจ�ำ รถที่บรรทุกถ่านหินจะมีผ้าใบปิดคลุมมิดชิดไม่ให้เศษถ่านหินตกพื้น และมีการล้างล้อรถบรรทุก ถ่านหินทุกคันก่อนออกจากคลังสินค้า เป็นต้น นอกจากนั้น บริษัทฯอยู่ระหว่างการด�ำเนินแผนงานเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันด้านสิ่ง แวดล้อม เช่น กระบวนการผลิตในระบบปิด มีระบบป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่น โดยติดตั้งม่านกันฝุ่น และใช้ระบบสเปรย์น�้ำ เพื่อเพิ่ม ความมั่นใจในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ ยิ่งไปกว่านั้น นอกจากมาตรการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมข้างต้น บริษัทฯยังได้ด�ำเนินมาตรการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ ชุมชนในด้านต่างๆ ได้แก่ การน�ำระบบจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001: 2004 มาใช้ในองค์กร ซึ่งเป็นมาตรฐานระบบการจัดการสิ่ง แวดล้อม (Environmental Management System: EMS) ที่ก�ำหนดขึ้นโดยองค์การมาตรฐานสากล การน�ำระบบการจัดการพลังงานและ การอนุรักษ์พลังงานมาใช้ในองค์กร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนรอบพื้นที่สถานประกอบการ รวมทั้งโครงการด้านการพัฒนาชุมชนและ ส่งเสริมอาชีพ ด้านการศึกษาและเยาวชน ด้านการส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และด้านสาธารณกุศล ต่างๆ


รายงานประจำ�ปี 2555

โครงสร้างการถือหุ้น รายชือ่ กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 10 อันดับแรกของบริษทั ฯ ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555 แสดงดังตารางด้านล่าง (มูลค่าทีต่ ราไว้เท่ากับ 0.50 บาท)

รายชื่อผู้ถือหุ้น

จ�ำนวนหุ้น

1. บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 2. นาย ชัยวัฒน์ เครือชะเอม 3. นาย ไพศาล ติยะวานิช 4. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด 5. นาย วิรัช บรรยงคนันท์ 6. นาง สาวิณี สินธู 7. นาย พินิจ ทัศนาภิรมย์ 8. น.ส. ณิชานันทน์ เจือติระรักษ์ 9. นาย นิธัช สุมิตร 10. นาย แสงชัย วสุนธรา 11. ผู้ถือหุ้นรายอื่น รวม

136,083,041 3,969,500 500,000 436,202 304,400 266,600 260,000 216,543 200,000 200,000 11,017,778 153,454,064

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

ร้อยละ

88.68 2.59 0.33 0.28 0.20 0.17 0.17 0.14 0.13 0.13 7.18 100.00

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ และ หักส�ำรองตาม กฎหมายของบริษัทฯ ทั้งนี้ ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความจ�ำเป็นต้องใช้เงินเพื่อการขยาย กิจการ

25


26 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการ ณ 30 กันยายน 2555

คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหาเเละกำ�หนด ค่าตอบเเทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายวางแผน

ตรวจสอบภายใน (ว่าจ้างบริษัทภายนอก)

ฝ่ายพัฒนาเเละวิจัย

สายงานธุรกิจ

สายงาน การผลิต

สายงาน ความสัมพันธ์ ชุมชน

สายงาน ปฏิบัติงาน

สายงาน ทรัพยากรมนุษย์

สายงาน บัญชีเเละการเงิน


รายงานประจำ�ปี 2555

27

โครงสร้างกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมด 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. คณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 7 ท่าน มีรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. พลต�ำรวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ รองประธานกรรมการ 3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต กรรมการ 4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ กรรมการ 5. น.ส. อุษณา มหากิจศิร ิ กรรมการ 6. นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ กรรมการอิสระ 7. นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล กรรมการอิสระ หมายเหตุ - นางฐิตมิ า รุง่ ขวัญศิริโรจน์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนายเฉลิมชัย มหากิจศิริ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมือ่ วันที ่ 11 มิถนุ ายน 2555 - นางเพ็ญรุ่ง สุวรรณกูฏ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมือ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 - นายณัฐพล ลีลาวัฒนานันท์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการอิ สระ โดยพลต�ำรวจเอก ดร.ชิ ดชัย วรรณสถิ ตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งแทนเมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 - นายวิชาย ชืน่ สุขสวัสดิ์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนางสาวอุษณา มหากิจศิริ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมือ่ วันที ่ 25 มิถนุ ายน 2555 - พลต�ำรวจเอก ดร.ชิ ดชัย วรรณสถิ ตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการแทน ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต เมือ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 โดยที ่ ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต ยังคงด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริ ษัท

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามได้แก่ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ หรือ นางสาวอุษณา มหากิจศิริ ลงลายมือชื่อร่วมกับ พลต�ำ ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ หรือ ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต หรือ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ รวมเป็นสองคนและประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ โดยมี นางสาวจรัสศรี เทียนทิพศิริ ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการบริษัทฯ ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ มีดังนี้ 1. อ�ำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัดและกฎหมายอื่นใดที่ก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการหรือคณะ กรรมการในบริษัทมหาชน 2. อ�ำนาจหน้าที่ตามข้อบังคับของบริษัทฯ ที่ก�ำหนดให้เป็นของคณะกรรมการ 3. พิจารณาอนุมัติแผนงานระยะยาว แผนงานงบประมาณ และงบลงทุนประจ�ำปี 4. พิจารณางบการเงินประจ�ำปี 5. พิจารณางบประมาณการปรับเงินเดือนประจ�ำปี งบประมาณจ่ายโบนัสพนักงาน สวัสดิการที่ส�ำคัญของผู้บริหาร น�ำเสนอเบี้ยประชุม และบ�ำเหน็จกรรมการ และอัตราจ่ายเงินปันผลต่อผู้ถือหุ้น 6. พิจารณาโครงสร้างบริหาร แต่งตั้งคณะผู้บริหาร กรรมการผู้จัดการ และคณะกรรมการอื่นตามความเหมาะสม 7. ควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ก�ำหนดให้รายการที่กรรมการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ ให้กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้น ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น


28 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

นอกจากนั้น ในกรณีต่อไปนี้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการและที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน • การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯทั้งหมดหรือบางส่วนที่สำ� คัญ • การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่น หรือบริษัทเอกชนมาเป็นของบริษัทฯ • การท�ำ แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกีย่ วข้องการให้เช่ากิจการของบริษทั ฯทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ ำ� คัญ การมอบหมายให้บคุ คลอืน่ เข้า จัดการธุรกิจของบริษัทฯ หรือการรวมกิจการกับบุคคลอื่นโดยมีวัตถุประสงค์จะแบ่งก�ำไรขาดทุนกัน • การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ • การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ การควบหรือเลิกบริษัทฯ

2. คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน มีรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล กรรมการตรวจสอบ 3. พลต�ำรวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ กรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ

- นายณัฐพล ลีลาวัฒนานันท์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบ โดยพลต�ำรวจเอก ดร.ชิ ดชัย วรรณสถิ ตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีรายงานทางการเงินที่ถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคล ดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ (ค) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) (ซ) รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบทีไ่ ด้มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ 7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงานประจำ�ปี 2555

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระอยูใ่ นต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจแต่งตัง้ ให้กลับมาใหม่ได้ ใน กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯแต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ครบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบเพื่อให้กรรมการตรวจสอบมีจำ� นวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯก�ำหนด โดยบุคคลที่เข้าเป็นกรรมการ ตรวจสอบแทนอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตรวจสอบซึ่งตนทดแทน

3. คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน มีรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 2. น.ส. อุษณา มหากิจศิริ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 3. นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน หมายเหตุ - นางเพ็ญรุ่ง สุวรรณกูฏ พ้นจากต�ำแหน่ง กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน โดยนายเชี ย วัน ฮัท โจเซฟ ด�ำรงต�ำแหน่งแทนเมื อ่ วันที ่ 25 มิ ถนุ ายน 2555 - เดือนมิ ถนุ ายน 2555 ได้เเต่งตัง้ นางสาวอุษณา มหากิ จศิ ริ ด�ำรงต�ำเเหน่งกรรมการสรรหาเเละก�ำหนดค่าตอบเเทน

ขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน มีดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาและน�ำเสนอโครงสร้างองค์ประกอบ รวมทั้งคุณสมบัติของคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ 2. เสนอแนะรายชือ่ ผูท้ เี่ หมาะสมทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการต่อคณะกรรมการเพือ่ น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งว่างลง เนื่องจากครบวาระ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการในกรณีอื่น ๆ 3. พิจารณากลัน่ กรองผูท้ เี่ หมาะสมทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การ ในกรณีทมี่ ตี ำ� แหน่งว่าง รวมทัง้ ก�ำหนดแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ผู้บริหารระดับสูง 4. แต่งตั้ง เลื่อนต�ำแหน่ง โยกย้าย ถอดถอนผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ระดับกรรมการผู้จัดการและผู้บริหาร รวมทั้ง ผู้บริหารของ บริษัทย่อยที่บริษัทฯ มีอ�ำนาจแต่งตั้งซึ่งมีระดับเทียบเท่าผู้บริหารของบริษัทฯขึ้นไป 5. ให้ความเห็นชอบผลประเมินการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ (ระดับกรรมการผู้จัดการและผู้บริหาร) 6. เสนอแนะโครงสร้างค่าตอบแทนกรรมการ กรรมการผู้จัดการ และผู้บริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมถึงค่าเบี้ยประชุม โบนัส ประจ�ำปี สวัสดิการ และผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน และมิใช่ตัวเงิน 7. พิจารณาความเสี่ยงเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน มีอ�ำนาจเรียก สั่งการให้ฝ่ายจัดการ หัวหน้าหน่วยงาน หรือพนักงานของบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น นอกจากนั้น ในการปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของข้อบังคับฉบับนี้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนอาจขอค�ำปรึกษาจาก ที่ปรึกษาอิสระภายนอก หรือผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพอื่นๆ หากเห็นว่ามีความจ�ำเป็นและเหมาะสม โดยบริษัทจะเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องค่า ใช้จ่ายทั้งหมด

4. คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน มีรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. พลต�ำรวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ ประธานกรรมการบริหาร 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิร ิ กรรมการบริหาร 3. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ กรรมการบริหาร หมายเหตุ

- ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต, นางธิ ติมา รุ่งขวัญศิ ริโรจน์, นางเพ็ญรุ่ง สุวรรณกูฏ เเละนายวิ ชาย ชื น่ สุขสวัสดิ์ พ้นจากต�ำเเหน่งกรรมการบริ หาร เมื อ่ เดือนมิ ถนุ ายน 2555 เเละคณะกรรมการบริ หารชุดใหม่ (ดังข้างต้น) ได้เเต่งตัง้ เมื อ่ เดือนตุลาคม 2555

29


30 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. มีอำ� นาจสั่งการวางแผน และด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด 2. ก�ำหนดกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ 3. ก�ำหนดแผนเกี่ยวกับการลงทุนและการระดมทุนตามนโยบายของบริษัทฯ 4. มีอำ� นาจจ้าง แต่งตัง้ ปลดออก ให้ออก ไล่ออก ก�ำหนดอัตราค่าจ้าง ให้บำ� เหน็จรางวัล ปรับขึน้ เงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัส ส�ำหรับ พนักงานระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการและผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการขึ้นไป 5. มีอำ� นาจพิจารณาก�ำหนดสวัสดิการพนักงานให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ ประเพณีปฏิบัติ และสอดคล้องกับกฎหมายที่บังคับใช้อยู่ 6. พิจารณาวาระต่างๆ ก่อนเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ 7. มีอำ� นาจอนุมตั กิ ารลงทุน การซือ้ ขายทรัพย์สนิ ถาวรของบริษทั ฯ การจัดซือ้ จัดจ้าง การเข้าท�ำสัญญา หรือการท�ำนิตกิ รรมใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับธุรกิจการค้าโดยปกติและตามวัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ โดยการอนุมตั ดิ งั กล่าวให้เป็นไปตามระเบียบอ�ำนาจอนุมตั แิ ละด�ำเนินการ ของบริษัทฯ ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทฯแล้ว ทั้งนี้ การอนุมัติรายการของคณะกรรมการบริหารข้างต้น จะไม่รวมถึงการอนุมัติรายการที่คณะกรรมการบริหารหรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทฯ รวมทั้งรายการที่ก�ำหนดให้ต้องขอความเห็น ชอบจากผู้ถือหุ้นในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อ ก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

คณะผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ (ณ 30 กันยายน 2555)

คณะผู้บริหารของบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้บริหารจ�ำนวน 7 ท่าน มีรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ รักษาการ กรรมการผู้จัดการ 2. นายพงษ์ระพี เครือชะเอม ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานความสัมพันธ์ชุมชน 3. นายวีรภัทร์ วิริยะโกวิทยา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานบัญชีและการเงิน 4. นายวศะ โฆษะทัต ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานเชิงพาณิชย์ 5. นายพัฒน์พงษ์ พงษ์เสถียรศักดิ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานผลิต 6. น.ส.วรรณภา พิพัฒนางกูร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานทรัพยากรมนุษย์ 7. นายมณเฑียร เพียรจรรยาวัฒน์ ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายการเงินและพัฒนาการลงทุน ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ 1. เป็นผูต้ ดั สินใจในเรือ่ งทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ ก�ำหนดภารกิจ วัตถุประสงค์ แนวทางตามนโยบายของบริษทั ฯ รวมถึงการก�ำกับดูแล การ ด�ำเนินงานโดยรวม ผลผลิต ความสัมพันธ์กับลูกค้า และต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัท 2. มีอำ� นาจอนุมัติค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินธุรกรรมตามปกติของบริษัทฯ ในวงเงินไม่เกิน 1 ล้านบาท 3. พิจารณาเรื่องการระดมทุนของบริษัทฯ เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร 4. มีอำ� นาจจ้าง แต่งตั้ง ปลดออก ให้ออก ไล่ออก ก�ำหนดอัตราค่าจ้าง ให้บำ� เหน็จรางวัล ปรับขึ้นเงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัสส�ำหรับ พนักงานระดับต�่ำกว่าผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการลงมา 5. มีอำ� นาจกระท�ำการ และแสดงตนเป็นตัวแทนบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอกในกิจการที่เกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ 6. อนุมัติการแต่งตั้งที่ปรึกษาด้านต่างๆ ที่จำ� เป็นต่อการด�ำเนินงาน โดยได้รับความเห็นชอบจากกรรมการบริหาร 7. ด�ำเนินกิจการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานทั่วไปของบริษัทฯ 8. ด�ำเนินกิจการอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ คณะกรรมการบริหารมอบหมาย แต่ทั้งนี้ การอนุมัติรายการของกรรมการผู้จัดการข้างต้นจะไม่รวมถึงการอนุมัติรายการที่ทำ� ให้กรรมการผู้จัดการ หรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทฯ รวมทั้ง รายการที่ก�ำหนดให้ต้องขอความ เห็นชอบจากผู้ถือหุ้นในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ในเรื่องดังกล่าว


รายงานประจำ�ปี 2555

คุณสมบัติของผู้บริหาร

ผู้บริหารขอรับรองว่า เป็นผู้มีจริยธรรม มีความสามารถ มีประสบการณ์ในธุรกิจ มีการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวัง เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจและรับผิดชอบต่อสาธารณชนและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามข้อ17 ของประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ กจ.12/2543 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอ ขายหุ้นที่ออกใหม่

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ

ชื่อ – นามสกุล ต�ำแหน่ง ค่าตอบแทน (บาท/ปี)

2555 (ต.ค. 54 – ก.ย. 55) ค่าเบี้ยประชุม (บาท/ปี) กรรมการ กรรมการ กรรมการสรรหาและ บริษัท ตรวจสอบ ก�ำหนดค่าตอบแทน

1. พลต�ำรวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ ประธานกรรมการ / 73,333.33 72,000 กรรมการตรวจสอบ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ รองประธานกรรมการ 13,333.33 15,000 3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต กรรมการ 100,000 72,000 4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ กรรมการ / ประธานกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 73,333.33 60,000 5. น.ส. อุษณา มหากิจศิริ กรรมการ / กรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน 64,000 0 6. นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ 240,000 165,000 7. นายสุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์กลุ กรรมการอิสระ/ กรรมการ ตรวจสอบ / กรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน 240,000 165,000 หมายเหตุ -

60,000

-

- - -

9,000

-

0

162,000

-

135,000

15,000

นางฐิ ติมา รุ่งขวัญศิ ริโรจน์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนายเฉลิ มชัย มหากิ จศิ ริ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 นางเพ็ญรุ่ง สุวรรณกูฏ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนายเชี ย วัน ฮัท โจเซฟ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 นายณัฐพล ลีลาวัฒนานันท์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการอิ สระ โดยพลต�ำรวจเอก ดร.ชิ ดชัย วรรณสถิ ตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 นายวิ ชาย ชื น่ สุขสวัสดิ์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนางสาวอุษณา มหากิ จศิ ริ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 25 มิ ถนุ ายน 2555 พลต�ำรวจเอก ดร.ชิ ดชัย วรรณสถิ ตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการแทน ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 โดยที ่ ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต ยังคงด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริ ษัท

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหารของบริษัทฯ

ในรูปของเงินเดือน (ไม่รวม ผู้จัดการฝ่ายการเงิน และผู้จัดการฝ่ายบัญชี) ในปี 2555 รวมทั้งสิ้น 7,442,556 บาท (ณ 30 กันยายน 2555) เนื่องจากโบนัสจ่ายเดือนธันวาคม จึงมิได้แสดงในรายงานประจ�ำปี 2555 นี้

ค่าตอบแทนอื่นๆ

บริษัทฯได้จัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้กับพนักงานบริษัทฯ โดยมีเงื่อนไขการสมทบกองทุนในอัตรา ร้อยละ 5 ร้อยละ 7 และร้อยละ 10 โดยในปี 2555 ผู้บริหารได้รับเงินสมทบจากบริษัทฯ ทั้งสิ้นจ�ำนวน 401,037.96 บาท

การก�ำกับดูแลกิจการ

หลักการประพฤติปฏิบัติและจรรยาบรรณ บริษัทฯได้ปฏิบัติตามหลักการของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยได้มีการจัดแบ่งหมวดหมู่ออกเป็น 5 หมวด ตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เนื่องจากการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จะช่วยให้บริษัทฯมีความน่าเชื่อถือเพิ่มขึ้นสร้างความสามารถในการ แข่งขันระยะยาวกับบริษัทอื่นๆได้ โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้

31


32 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯให้ความส�ำคัญสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงได้ก�ำหนดแนวทางด�ำเนินการต่างๆเพื่อสร้างความมั่นใจว่าผู้ถือหุ้นได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้น พื้นฐาน อันได้แก่ การซื้อขายหรือโอนหุ้น การได้รับข้อมูลของบริษัทฯอย่างเพียงพอ การเข้าร่วมการประชุมผู้ถือหุ้นรวมถึงการใช้สิทธิลง คะแนนในเรื่องที่ส�ำคัญๆของบริษัทฯ รวมทั้งการมีส่วนแบ่งในก�ำไร เป็นต้น ดังนี้ (1) จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างครบถ้วน โดยหนังสือเชิญประชุมมี รายละเอียดระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ หนังสือมอบ ฉันทะทุกแบบตามที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด และรายชื่อของกรรมการอิสระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้า ประชุมแทนได้ รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุม ซึ่งในหนังสือเชิญประชุมจะแจ้งรายละเอียดของเอกสารที่ผู้ถือหุ้นจะต้องน�ำมา แสดงในวันประชุมด้วย เพื่อรักษาสิทธิในการเข้าประชุม รวมถึงข้อบังคับบริษัทฯเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น และการออกเสียงลง คะแนน นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังสามารถเข้าดูข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของแต่ละครั้งได้ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้าก่อนได้รับเอกสารการประชุมด้วย ซึ่งบริษัทฯได้เปิดให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุมอย่างน้อยหนึ่ง ชั่วโมง (2) ก่อนเริ่มการประชุมทุกครั้ง ประธานกรรมการจะชี้แจงวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนตามที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในข้อบังคับของ บริษัทฯ โดยบริษัทฯได้ดำ� เนินการนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่ยังไม่ได้ลงคะแนนทุกระเบียบวาระในห้องประชุม และแสดงผลสรุป ของคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระอย่างชัดเจนในห้องประชุม ซึ่งบริษัทฯจะจัดแยกการลงคะแนนเสียงส�ำหรับแต่ละเรื่องอย่างชัดเจน เพื่อรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นด้วย (3) ประธานกรรมการจัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอ และด�ำเนินการประชุมอย่างเหมาะสมและโปร่งใส โดยในระหว่างการประชุม จะเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้แสดงความคิดเห็นและซักถามอย่างทัว่ ถึงก่อนจะให้ลงคะแนน และสรุปมติทปี่ ระชุมของแต่ละระเบียบวาระ (4) ให้สิทธิผู้ถือหุ้นที่มาร่วมประชุมผู้ถือหุ้นภายหลังเริ่มการประชุมแล้ว มีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนนในระเบียบวาระที่อยู่ระหว่างการ พิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ (5) กรรมการทุกคนเข้าร่วมการประชุมผู้ถือหุ้น โดยกรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการเฉพาะเรื่องต่างๆ จะร่วมชี้แจงรายละเอียด ที่เกี่ยวข้องของระเบียบวาระต่างๆ รวมถึงตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น (ถ้ามี) ด้วย (6) เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารให้แก่ผถู้ อื หุน้ อย่างสม�ำ่ เสมอ ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ สือ่ หรือสิง่ พิมพ์ตา่ งๆ รวมทัง้ เว็บไซต์ของบริษทั ฯ (7) จัดให้มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงทาง E-mail Address ของบริษัทฯ นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นรายย่อยยัง สามารถติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงจากเลขานุการบริษัทฯ หรือหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (8) เปิดเผยโครงสร้างการถือหุน้ ในบริษทั ย่อยอย่างชัดเจน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มัน่ ใจว่ามีโครงสร้างการด�ำเนินงานทีม่ คี วามโปร่งใสและตรวจสอบได้ (9) ด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพในการสร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนแก่องค์กร เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯให้ความส�ำคัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม โดยได้ด�ำเนินการต่างๆ ดังต่อไปนี้ (1) เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอเพิ่มระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นได้ล่วงหน้าก่อนการประชุม ซึ่งได้ประกาศแจ้งให้ทราบโดย ทั่วกันผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยล่วงหน้าก่อนการประชุม รวมทั้งได้แจ้งให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาว่าจะรับเรื่องที่เสนอมานั้นอย่างชัดเจน โดยได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯด้วย (2) ด�ำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามล�ำดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมเสมอ และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระใน ที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบระเบียบวาระก่อนตัดสินใจ (3) เสนอรายชื่อของกรรมการอิสระในหนังสือมอบฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดการลงคะแนนเสียงได้เอง รวมทั้งเป็นทางเลือก ในการมอบฉันทะ และมีโอกาสสามารถเลือกการมอบแก่กรรมการอิสระคนใดคนหนึ่ง (4) ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกระเบียบวาระ โดยจัดท�ำบัตรลงคะแนนแยกตามเรื่องที่ส�ำคัญๆ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น สามารถลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร ซึ่งจะมีการเก็บบัตรลงคะแนนดังกล่าวในห้องประชุม เพื่อน�ำผลคะแนนมารวมค�ำนวณกับ คะแนนเสียงที่ได้ลงไว้ล่วงหน้าในหนังสือมอบฉันทะ ก่อนที่จะประกาศแจ้งมติของคะแนนเสียงในห้องประชุม และเพื่อความ โปร่งใส บริษัทฯ จะจัดเก็บบัตรลงคะแนนจากผู้ถือหุ้นเพื่อการตรวจสอบในภายหลังได้ด้วย (5) บันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน จัดส่งรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และก.ล.ต. แล้วหลังการประชุมเสร็จสิ้น 14 วัน และได้เผยแพร่รายงานดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯด้วย


รายงานประจำ�ปี 2555

(6) คณะกรรมการบริษทั ฯได้กำ� หนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ หมายถึง คณะกรรมการ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ และพนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล (รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะของบุคคลดังกล่าว) นอกจากนี้ ในกรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงมีการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ภายใน 3 วัน ท�ำการให้ส�ำนักงาน ก.ล.ต.ทราบเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนต่อไป หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (The Role of Stakeholders) บริษัทฯ ยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อประโยชน์ร่วมกันอย่างยั่งยืน โดยการบริหารจัดการหรือการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯไม่ว่าในเรื่องใดๆ จะต้องไม่กระทบสิทธิหรือสร้างความเสียหายต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง และกรณีที่เกิดความเสียหาย บริษัทฯจะเป็นผู้ก�ำหนดมาตรการที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์กับทุกฝ่าย บริษัทฯได้ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยมีรายละเอียดดังนี้ • ผู้ถือหุ้น : นอกจากสิทธิขั้นพื้นฐาน สิทธิที่ก�ำหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับบริษัทฯ สิทธิในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียงลง คะแนน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงสิทธิที่จะได้รับผลตอบแทนอย่างเป็นธรรมแล้ว บริษัทยัง ได้ให้สิทธิผู้ถือหุ้นในการเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯในฐานะเจ้าของบริษัทฯผ่านกรรมการอิสระ ของบริษัทฯ โดยทุกๆข้อคิดเห็นจะได้รับการกลั่นกรองเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไป • พนักงาน : บริษัทฯถือว่าพนักงาน คือ ทรัพยากรที่มีค่าที่ส�ำคัญยิ่ง และยังคงด�ำเนินการพัฒนาพนักงานทุกระดับให้มีขีดความสามารถ ในการรองรับนโยบายในการขยายธุรกิจ นอกจากนี้ บริษัทฯยังคงมุ่งเน้นการดูแลให้พนักงานปฏิบัติงานอย่างมีความสุข โดยปรับปรุง สภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้ปลอดภัย ทันสมัย ดูแลสวัสดิการทัง้ ด้านสุขภาพ และนันทนาการต่างๆอย่างเหมาะสม • คู่ค้า : บริษัทฯมีการซื้อสินค้าและบริการจากคู่ค้าเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า รวมถึงการปฏิบัติตามสัญญาต่อคู่ค้าอย่างยุติธรรม • เจ้าหนี้ : บริษทั ฯได้กำ� หนดเงือ่ นไขกับเจ้าหนีท้ กุ รายให้เหมาะสมกับสภาวะการด�ำเนินธุรกิจ และปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการกูย้ มื เงินตามข้อตกลง • ลูกค้า : บริษัทฯเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า โดยการจัดหาสินค้าที่มีคุณภาพและมาตรฐาน รักษาความลับของลูกค้า และมี หน่วยงานที่ติดต่อกับลูกค้า รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นจากลูกค้า • คู่แข่ง : บริษัทฯประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี หลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริตเพื่อท�ำลายคู่แข่ง • ชุมชน : บริษัทฯมีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมของชุมชนและสังคม ทั้งนี้ บริษัทฯจะปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของกฎหมายและ กฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านี้ได้รับการดูแลอย่างดี • ผู้สอบบัญชีอิสระ : บริษัทฯให้ความร่วมมือกับผู้สอบบัญชีในการเปิดเผยข้อมูลต่างๆ อย่างถูกต้องและโปร่งใส • สังคม : บริษัทฯมุ่งจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณภาพของสังคมด้านต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อม การศึกษา การสร้างอาชีพในชุมชน เป็นต้น (รายละเอียดอยู่ในรายงานแห่งความยั่งยืน (Sustainable Report) ปี 2555 หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส การเปิดเผยสารสนเทศ เป็นหนึ่งในหลักการที่มีความส�ำคัญต่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับข้อมูลข่าวสารที่ต้อง แจ้งแก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ และผู้ถือหุ้น ทั้งในด้านของความถูกต้อง ความเพียงพอ ความรวดเร็วและความเท่าเทียมกันของการให้ข้อมูลแก่ ทุกกลุ่ม โดยบริษัทฯจะเปิดเผยข้อมูลใน www.umspcl.com หรือ สอบถามได้ที่ investor@uniquecoal.com โดยคุณมณเฑียร เพียรจรรยา วัฒน์ ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายการเงินและพัฒนาการลงทุน จะคอยดูแลให้ข้อมูลและตอบข้อซักถาม ซึ่งบริษัทฯจัดให้มีขั้นตอนที่ชัดเจนในการ เปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งในกรณีปกติและกรณีเร่งด่วน สารสนเทศที่ส�ำคัญของบริษัทฯ ประกอบด้วย ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงิน ในปี 2555 การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน โดยเฉพาะในส่วนของงบการเงินนั้น ได้ผ่านการสอบทาน/ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีว่าถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไป และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการบริษัทฯก่อนเปิดเผยแก่ผู้ถือหุ้น โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้เปิดเผยรายงานความรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจ�ำปีด้วย บริษัทฯได้เปิดเผยรายการระหว่างกัน บทวิเคราะห์ของ ฝ่ายจัดการ รวมถึง รายงานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีไว้ในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) เป็นต้น

33


34 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลต่างๆของบริษัทฯที่ได้เปิดเผยแก่สาธารณชน รวมถึงผู้ถือหุ้นและนักลงทุนแล้วจะเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ เช่น รายงานประจ�ำปี ข้อมูลบริษัทฯ ในการจัดผลการด�ำเนินงานที่น�ำเสนอต่อนักวิเคราะห์รายไตรมาส ข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทฯได้มีการปรับปรุงหน้าเว็บไซต์อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ทันต่อเหตุการณ์ เข้าถึงได้โดยสะดวก และได้รับประโยชน์มากที่สุด บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญของการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีมาโดยตลอด และมีความมุ่งมั่นที่จะทุ่มเทในการด�ำเนินการอย่างดีที่สุด หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างของคณะกรรมการ ก. องค์ประกอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 7 ท่าน ซึง่ เป็นจ�ำนวนทีเ่ หมาะสมกับขนาดของกิจการ โดยมีองค์ประกอบของคณะ กรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย • กรรมการที่เป็นผู้บริหารและเป็นกรรมการที่มีส่วนได้เสีย จ�ำนวน 4 ท่าน • กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและไม่มีส่วนได้เสีย ไม่มีความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้นใหญ่ ไม่เป็นกรรมการ หรือผู้บริหารของผู้ถือหุ้นใหญ่ หรือไม่เป็นผู้บริหารหรือตัวแทนผู้ถือหุ้นของผู้ถือหุ้นใหญ่ จ�ำนวน 3 ท่าน ข. การก�ำหนดวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการและจ�ำนวนบริษัทที่กรรมการแต่ละคนไปด�ำรงต�ำแหน่ง คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการ 7 ท่าน เป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 คน ซึ่งสัดส่วนของกรรมการอิสระมากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมดตามมาตรฐานที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ก�ำหนดไว้ โดยกรรมการที่อยู่ในต�ำแหน่งนานจะหมุนเวียนกัน ออกตามวาระคราวละ 1 ใน 3 และสามารถกลับมาด�ำรงต�ำแหน่งได้ นอกจากนี้ คณะกรรมการยังเห็นชอบให้น�ำเรื่องจ�ำนวนบริษัทที่กรรมการแต่ละคนด�ำรงต�ำแหน่งอยู่มาเป็นส่วนประกอบส�ำคัญในการ พิจารณาเลือกตั้งกรรมการ และได้เปิดเผยรายละเอียดข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการแต่ละคนในบริษัทอื่นไว้ในเอกสารแนบ 2 ของแบบ 56-1 และในรายงานประจ�ำปี รวมทั้งเว็บไซต์ของบริษัทฯ ค. คุณสมบัติของกรรมการอิสระ บริษัทฯ ก�ำหนดองค์ประกอบคณะกรรมการให้ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 หรือไม่น้อยกว่า 3 คนเสมอ และได้ ก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระตามกฎระเบียบของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้น จากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่ กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ (3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย (4) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ใน ลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือ ผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้น แต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของผู้ขออนุญาต บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของ บริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อย กว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง


รายงานประจำ�ปี 2555

(6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่า บริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะ ได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (7) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่ มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ หนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับ กิจการของบริษัทฯหรือบริษัทย่อย (9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ง. การแยกต�ำแหน่งประธานและกรรมการผู้จัดการ รวมทั้งการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ บริษัทฯ ก�ำหนดให้ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการเป็นคนละบุคคลกันเสมอ โดยประธานกรรมการจะเลือกตั้งมาจาก กรรมการบริษัทฯ ในขณะที่กรรมการผู้จัดการจะมาจากการสรรหา ประธานกรรมการเป็นผู้น�ำ และมีส่วนส�ำคัญในการตัดสินใจเรื่อง นโยบายของบริษัทฯ ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ได้พิจารณาและก�ำหนดเป้าหมายทางธุรกิจร่วมกับฝ่ายจัดการ และเป็นผู้ควบคุมการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการสนับสนุนและผลักดันให้กรรมการทุกคนมี ส่วนร่วมในการประชุม เช่น การตั้งค�ำถามที่สำ� คัญต่างๆ พบปะหารือ ช่วยเหลือแนะน�ำ สอดส่องดูแล และสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจ ของฝ่ายจัดการผ่านทางกรรมการผู้จัดการอยู่อย่างสม�่ำเสมอ แต่จะไม่เข้าไปก้าวก่ายในงานประจ�ำหรือธุรกิจประจ�ำวัน ที่ฝ่ายจัดการ มีหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบดูแล โดยมีกรรมการผู้จัดการเป็นหัวหน้าของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการได้มอบอ�ำนาจให้กรรมการผู้จัดการ หรือ ผู้รักษาการแทนหรือผู้รับมอบอ�ำนาจเท่านั้น เป็นผู้ที่มีอ�ำนาจลงนามผูกพันแทนบริษัทฯตามอ�ำนาจที่มอบไว้ กรรมการผู้จัดการได้มอบ อ�ำนาจให้กับฝ่ายจัดการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพตามอ�ำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ จะเห็นว่า อ�ำนาจของคณะกรรมการและฝ่ายจัดการได้มีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนไม่ก้าวก่ายต่อกัน จ. เลขานุการบริษัท บริษัทฯได้จัดให้มีเลขานุการบริษัทคือ นางสาวจรัสศรี เทียนทิพศิริ โดยก�ำหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้ • จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสาร - ทะเบียนกรรมการ - หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ - หนังสือนัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น - เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร • ติดต่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้นและดูแลผู้ถือหุ้นอย่างเหมาะสม • ติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานก�ำกับดูแลที่เกี่ยวข้อง 2 คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดให้มีคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในด้านต่างๆ เพื่อช่วยศึกษาและกลั่นกรองรายละเอียด และได้ก�ำหนด คุณสมบัติ และขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องไว้อย่างชัดเจนในระเบียบของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องแต่ละ คณะ โดยมีสมาชิกส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ซึ่งประธานกรรมการจะไม่เป็นประธานหรือสมาชิกของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ทุกคณะ และคณะกรรมการเฉพาะเรื่องจะรายงานผลการประชุมของแต่ละครั้งต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบอย่างสม�ำ่ เสมอ ปัจจุบัน บริษัทฯมีคณะกรรมการเฉพาะเรื่องจ�ำนวน 2 คณะ ประกอบด้วย (1) คณะกรรมการตรวจสอบ และ (2) คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับรายชื่อ หน้าที่ความรับผิดชอบ และรายงานของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในข้อ 2 ถึง 3 ตามล�ำดับ

35


36 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

3. จรรยาบรรณธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดจรรยาบรรณธุรกิจไว้ในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เพื่อใช้เป็นวิถีทางชี้น�ำการด�ำเนินธุรกิจที่ดี โดยการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเสมอภาคเป็นธรรม ตรวจสอบได้ และเคารพสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซึ่งจะสร้างให้เกิด ความเชื่อมั่นและยอมรับในการด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใสของบริษัทฯ โดยประกอบด้วย 8 หัวข้อได้แก่ • ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น • ความรับผิดชอบต่อพนักงาน • ความรับผิดชอบต่อลูกค้า • ความรับผิดชอบต่อคู่ค้า • การปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้า • ความรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม • การติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติ 4. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ ได้มีนโยบายในการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยได้ก�ำหนดมาตรการให้กรรมการ และพนักงานไม่ใช้โอกาส แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน โดยก�ำหนดเป็นข้อปฏิบัติสำ� หรับกรรมการ และพนักงานของบริษัทฯ ดังต่อไปนี้ 1. ห้ามไม่ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน น�ำข้อมูลภายในของบริษทั ฯไปใช้เพือ่ ประโยชน์ของตนในการซือ้ ขายหุน้ ของบริษทั ฯ หรือให้ ข้อมูลภายในแก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายหุ้นของบริษัทฯ หรือน�ำข้อมูลภายในของบริษัทฯในการท�ำธุรกิจที่แข่งขันกับ บริษัทฯ หรือท�ำธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง 2. หลีกเลี่ยงการท�ำรายการที่เกี่ยวข้องกับตนเองที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ 3. หากมีการท�ำรายการเช่นนั้นเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯให้กระท�ำรายการนั้นเสมือนท�ำรายการกับบุคคล ภายนอก ทั้งนี้ กรรมการ หรือ พนักงาน ที่มีส่วนได้เสียในรายการนั้น จะต้องไม่มีส่วนในการพิจารณาอนุมัติ 4. หากบริษัทฯมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ก�ำหนดให้คณะกรรมการ ตรวจสอบให้ความเห็นชอบในธุรกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ รายการที่เกี่ยวโยงกันจะได้รับการพิจารณาจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯถึงความเหมาะสมของรายการ และคณะกรรมการ ตรวจสอบจะให้ความเห็นชอบในการเปิดเผยข้อมูลในแบบ 56-1 และรายงานประจ�ำปี 5. การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการเป็นผู้ก�ำหนดวันประชุมเองเป็นการล่วงหน้าแต่ละปี และมีการก�ำหนดระเบียบวาระประจ�ำของแต่ละไตรมาสไว้ชัดเจน ส่วนระเบียบวาระที่นอกเหนือจากนี้ ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการจะร่วมกันพิจารณาตามความส�ำคัญและจ�ำเป็น อย่างไรก็ดี กรรมการแต่ละคนก็สามารถเสนอเรื่องต่างๆได้ด้วย การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯในปี 2555 มีการประชุมทั้งสิ้น 11 ครั้ง ทั้งนี้ คณะกรรม การบริษทั ฯ ได้รบั หนังสือเชิญประชุม รายงานการประชุมและข้อมูลประกอบระเบียบวาระการประชุม เพือ่ พิจารณาล่วงหน้าก่อนการประชุมเสมอ ทั้งนี้ การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ตามปกติแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง ซึ่งเลขานุการบริษัทฯ เข้าร่วมการประชุมด้วย ทุกครั้ง โดยเป็นผู้บันทึกรายงานการประชุม และจัดเก็บข้อมูล หรือเอกสารเกี่ยวกับการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน รวมทั้งให้ค�ำแนะน�ำใน ด้านกฎเกณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องด้วย รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครอบคลุมสาระส�ำคัญต่างๆอย่างครบถ้วน และเป็นมติที่เป็น เอกฉันท์ทั้งหมด โดยมีการบันทึก การอภิปรายของที่ประชุม รวมทั้งข้อคิดเห็นของกรรมการไว้อย่างชัดเจน และมีการจัดเก็บรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ เอกสารประกอบอย่างเป็นระบบ มีการรักษาความปลอดภัยอย่างดี โดยปกติคณะกรรมการบริษัทฯ เข้าร่วมการประชุมทุกคนทุกครั้ง ยกเว้น แต่มีเหตุจ�ำเป็น ซึ่งหากทราบเป็นการล่วงหน้าก็จะมีหนังสือแจ้งขอลาการประชุมต่อประธานกรรมการเสมอ ทั้งนี้ รายงานการเข้าร่วมประชุม


รายงานประจำ�ปี 2555

ของคณะกรรมการบริษัทฯ ในปี 2555 มีรายละเอียดดังนี้ การเข้าร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) รายชื่อกรรมการ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน 1. พลต�ำรวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ 4/4 4/4 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 4/4 - 3. ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต 10/11 - 4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ 4/4 - 1/1 5. น.ส. อุษณา มหากิจศิริ -/3 - -/1 6. นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ 11/11 9/9 7. นายสุชาต ิ ธรรมาพิทักษ์กุล 11/11 9/9 2/2 หมายเหตุ

-

นางฐิ ติมา รุ่งขวัญศิ ริโรจน์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนายเฉลิ มชัย มหากิ จศิ ริ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 นางเพ็ญรุ่ง สุวรรณกูฏ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนายเชี ย วัน ฮัท โจเซฟ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 นายณัฐพล ลีลาวัฒนานันท์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการอิ สระ โดยพลต�ำรวจเอก ดร.ชิ ดชัย วรรณสถิ ตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 นายวิ ชาย ชื น่ สุขสวัสดิ์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ โดยนางสาวอุษณา มหากิ จศิ ริ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน เมื อ่ วันที ่ 25 มิ ถนุ ายน 2555 พลต�ำรวจเอก ดร.ชิ ดชัย วรรณสถิ ตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการแทน ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต เมื อ่ วันที ่ 11 มิ ถนุ ายน 2555 โดยที ่ ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต ยังคงด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริ ษัท

6. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ก. ค่าตอบแทนกรรมการ ที่ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2555 ได้พจิ ารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง โดยค�ำนึงถึงความ เหมาะสมเกี่ยวกับประเภท ขนาด และความเกี่ยวโยงกับผลการด�ำเนินงาน รวมถึงความเหมาะสมกับการท�ำหน้าที่และความ รับผิดชอบ และได้อนุมัติค่าตอบแทนคณะกรรมการในปี 2555 ให้เหมือนกับปี 2554 เพื่อให้เหมาะสมกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้ • ค่าตอบแทนประธานกรรมการและกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร เดือนละ 20,000 บาทต่อท่าน และค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ที่ไม่เป็นผู้บริหาร 15,000 บาทต่อครั้งต่อท่าน • ค่าเบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ 15,000 บาทต่อครั้งต่อท่าน • ค่าเบี้ยประชุมกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 7,500 บาทต่อครั้งต่อท่าน ทัง้ นี้ ประธานของแต่ละคณะกรรมการจะได้รบั ค่าเบีย้ ประชุม 1.2 เท่าของค่าเบีย้ ประชุมแต่ละครัง้ ซึง่ ค่าเบีย้ ประชุมดังกล่าวจะจ่าย เฉพาะผู้เข้าร่วมประชุมเท่านั้น ข. นโยบายค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทย่อย บริษัทย่อยของบริษัทฯที่บริษัทฯจัดตั้งขึ้น หรือที่บริษัทฯเข้าร่วมลงทุนโดยการถือหุ้นทางตรง เพื่อให้เป็นกลไกในการด�ำเนินกิจการ ถ่านหินหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง และเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ ตามเงื่อนไขทางธุรกิจต่างๆ ถือเป็นสถานที่เก็บรวบรวมทรัพย์สิน เพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ทางกฎหมายหรือเงื่อนไขการลงทุนนั้น บริษัทย่อยต่างๆจะมีกรรมการบริษัทฯน้อยที่สุด เช่น จะมีเพียง กรรมการผู้จัดการของบริษัทฯ กับผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบโดยตรง ในความส�ำเร็จของโครงการลงทุนนั้นๆตามนโยบายและแผน กลยุทธ์ของบริษัทฯ และจะใช้ระเบียบปฏิบัติงานของบริษัทฯเป็นหลัก ซึ่งเป็นรูปแบบและวิธีการบริหารทรัพย์สินเพื่อประโยชน์สูงสุด ของบริษัทฯ ดังนั้น กรรมการผู้จัดการและผู้บริหารระดับสูงที่ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานแทนบริษัทฯในฐานะกรรมการบริษัทย่อย จะไม่ได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม ยกเว้น เบี้ยประชุมเท่านั้น เพราะเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน ซึ่งได้ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนในการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯด้วย

37


38 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

ค. ค่าตอบแทนของกรรมการผู้จัดการ ค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การ มีการก�ำหนดอย่างเหมาะสมด้วยความชัดเจนและโปร่งใส โดยประธานกรรมการจะเป็นผูพ้ จิ ารณา ค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การ โดยพิจารณาจากความเหมาะสมตามภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และเชือ่ มโยงกับผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ง. ค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง กรรมการผู้จัดการจะเป็นผู้พิจารณาความเหมาะสมในการก�ำหนดอัตราค่าตอบแทนรายบุคคล ในการปรับเงินเดือนประจ�ำปีของผู้ บริหารระดับสูง โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานรายบุคคลและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังพิจารณาประกอบกับผล การปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าของแต่ละสายงานด้วย บริษทั ฯได้เปิดเผยค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารระดับสูงโดยรวมเป็นประจ�ำไว้ใน 56-1 นอกจากนี้ ได้เปิดเผยการถือครองหลักทรัพย์ฯ และ การได้รับสิทธิใบส�ำคัญแสดงสิทธิของบริษัทฯเป็นรายบุคคล เพื่อความโปร่งใส และเป็นการเสริมสร้างการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บริษัทฯด้วย 7. การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ โดยได้เข้าร่วมการสัมมนา/อบรม/ประชุมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และน�ำความรู้ที่ได้มาใช้ประโยชน์กับ บริษัทฯต่อไป 8. บุคลากร ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีพนักงานทั้งหมด 304 คน โดยเป็นพนักงานประจ�ำส�ำนักงาน 75 คน พนักงานที่คลัง สินค้ามีทั้งสิ้น 200 คน และบริษัทย่อย 29 คน โดยแบ่งออกเป็นฝ่ายต่างๆ ดังนี้

ฝ่าย

1. ส่วนงานบริหาร 2. สายงานธุรกิจ 3. สายงานการผลิต 4. สายงานความสัมพันธ์ชุมชน 5. สายงานการเงินและบัญชี 6. สายงานทรัพยากรมนุษย์ 7. สายงานปฏิบัติการ 8. ฝ่ายวิจัยและพัฒนา 9. ฝ่ายประสานงานต่างประเทศ 10. ฝ่ายวิศวกรรม 11. บจ. ยูเอ็มเอส ไลท์เตอร์ 12. บจ.ยูเอ็มเอส พอร์ต เซอร์วิสเซส 13. บจ.ยูเอ็มเอส ลอจิสติกส์ แมแนจเมนท์ จ�ำกัด

รวม

30 ก.ย. 54 11 33 200 15 26 15 20 37 6 4 15 13 0

30 ก.ย. 55

5 31 122 28 24 13 16 28 4 4 13 15 1

395

304


รายงานประจำ�ปี 2555

โดยมีค่าตอบแทนของพนักงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยในปี 2554 และปี 2555 แยกตามลักษณะค่าตอบแทนดังนี้ หน่วย : พันบาท ค่าตอบแทน ปี 2554 ปี 2555 เงินเดือน 85,133.54 72,415.68 โบนัส 6,545.92 -* เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพและเงินประกันสังคม 6,102.19 4,288.77 รวม 91,235.73 76,704.44 * โบนัสจ่ายเดือนธันวาคม

นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ไม่มขี อ้ พิพาทด้านแรงงานทีส่ ำ� คัญในระยะ 3 ปีทผี่ า่ นมา

นโยบายในการพัฒนาพนักงาน

UMS เริ่มต้นธุรกิจจากแนวคิดที่จะน�ำเสนอถ่านหินซึ่งถือเป็นสินค้าพลังงานราคาถูกให้กับลูกค้า เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระต้นทุนด้าน พลังงานให้กับลูกค้า จากความมุ่งมั่นของกลุ่มคนเล็กๆ เติบโตมากว่า 17 ปี ปัจจุบันเรามุ่งมั่นและตั้งใจจะด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นมืออาชีพ ผ่านทรัพยากรอันมีค่าที่สุดของเรา นั่นก็คือ ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อผลักดันให้เราสามารถฝ่าฟันความท้าทายที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอก ทรัพยากรมนุษย์ : ผู้สร้างความเปลี่ยนแปลงและการเติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทได้สร้างความเข้มแข็งให้กบั สายงานทรัยพากรมนุษย์ เพือ่ ให้หน่วยงานดังกล่าวด�ำเนินหน้าทีห่ ลักในการผลักดันให้เกิดกาเปลีย่ นแปลง อย่างขนานใหญ่ขึ้นกับบริษัท หรือ Transform บริษัทไปสู่การเปลี่ยนกรอบความคิด (Mindset) และกระบวนทัศน์ (Paradigm) หรือกล่าวได้ ว่า หน่วยงานนี้ต้อง “แปลงโฉม” UMS ไปสู่ความเป็นมืออาชีพมากกว่าที่เคยเป็นมาในอดีต และท�ำให้ UMS เติมโตได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว สายงานทรัพยากรมนุษย์จึงด�ำเนินงานต่างๆ เพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นกับบริษัท ผ่าน 4 บทบาทหลักซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. บทบาทการเป็นหุน้ ส่วนทางกลยุทธ์ (Strategic Partner) สายงานทรัพยากรมนุษย์เข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ของการท�ำหน้าทีเ่ ป็นคนกลางคอย ให้ความช่วยเหลือในการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ คือ ไม่เพียงเข้าไปมีสว่ นร่วมในการออกแบบโครงสร้างของหน่วยงานต่างๆ โดย ค�ำนึงว่า จะท�ำอย่างไรให้โครงสร้างของแต่ละหน่วยงานมีความสอดคล้องกับกลยุทธ์และมีประสิทธิภาพในการน�ำกลยุทธ์ไปปฏิบตั ิ แต่ ยังเข้าไปมีสว่ นร่วมในการวางแผนก�ำลังคนพร้อมทัง้ ออกแบบงานให้มคี วามเป็นระบบและครอบคลุมความต้องการของหน่วยงานและ ของธุรกิจในภาพรวมด้วย นอกจากนีย้ งั เข้าไปมีสว่ นรับผิดชอบในการน�ำกลยุทธ์ไปใช้ในการปฏิบตั ใิ นหน่วยงานต่างๆ ผ่านระบบบริหาร ผลการปฏิบตั งิ าน (Performance Management System) ทีม่ กี ารก�ำหนดตัวชีว้ ดั ผลการปฏิบตั งิ านหลัก (KPI) ทีจ่ ะสะท้อนถึงความส�ำเร็จ ของแผนกลยุทธ์ทวี่ างไว้ นอกจากนีแ้ ล้วยังเข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ของการปฏิบตั เิ ชิงกลยุทธ์ คือการน�ำเสนอวิธกี ารทีจ่ ะน�ำไปใช้ในการปรับ เปลีย่ นบริษทั ผ่านการบทบาทการเป็นทีป่ รึกษา (Consultant) ในการประชุมผูบ้ ริหาร และแนะน�ำเครือ่ งมือต่างๆ เช่น Organization Transition เพือ่ ช่วยให้บริษัทสามารถผ่านพ้นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ไปได้ด้วยดี 2. บทบาทการเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในการปฏิบตั งิ าน (Administrative Expert) กล่าวคือเป็นผูท้ สี่ ามารถท�ำงานเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ท�ำงานทัง้ ในหน่วยงานของตนเองและขององค์การ โดยการพัฒนาระบบการท�ำงานให้ดขี นึ้ และเสียค่าใช้จา่ ยน้อยลง หรือมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพิม่ ขึน้ นัน่ เอง ในส่วนนีส้ ายงานทรัพยากรมนุษย์ได้เริม่ ต้นปรับปรุงระบบการท�ำงานในหน่วยงานของตนเองก่อน ผ่าน การปรับโครงสร้างในหน่วยงาน เพือ่ ให้เกิดความชัดเจนในการท�ำงาน และเพือ่ ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าภายในได้รวดเร็ว ยิง่ ขึน้ กว่าเดิม สร้างการท�ำงานทีม่ มี าตรฐานและเป็นเชิงรุกมากขึน้ ปรับแก้กระบวนทัศน์ของผูป้ ฏิบตั งิ านในหน่วยงาน จากการท�ำงาน แบบ “ตามค�ำขอและตามหน้าที”่ มาเป็นการท�ำงานแบบ “พยากรณ์ปญ ั หาล่วงหน้า คิดหาทางป้องกัน เพือ่ ผลลัพธ์ขององค์กร” ปรับปรุง ระบบงานเอกสารทีม่ คี วามยุง่ ยาก หลายขัน้ ตอนให้ลดลง เหลือแต่เฉพาะทีจ่ ำ� เป็น เช่น การปรับปรุงระบบการสรรหาและว่าจ้างพนักงาน ผ่านโครงการ QCC เป็นต้น นอกจากนีย้ งั สร้างความเป็นมาตรฐานการท�ำงานของหน่วยงานต่างๆ ผ่านการจัดท�ำใบพรรณาลักษณะงาน (Job Description) ใหม่ ที่ปรับแก้และให้คำ� แนะน�ำในการก�ำหนดลักษณะให้สอดคล้อง ครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้นด้วย

39


40 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

3. บทบาทการเป็นผู้สนับสนุนพนักงาน (Employee Champion) สายงานทรัพยากรมนุษย์รับผิดชอบในการท�ำให้พนักงานทุกคนทุ่มเท กับท�ำงานอย่างเต็มที่ โดยให้ความส�ำคัญกับขวัญและก�ำลังใจของพนักงานเป็นหลัก ได้มกี ารปรับปรุง ทบทวน ผลประโยชน์และ สวัสดิการต่างๆ ของพนักงานเพือ่ ให้สามารถแข่งขันกับตลาดได้ผา่ นทางโครงสร้างเงินเดือนใหม่ ปรับอัตรารายได้ของพนักงาน เช่น ค่าฝุน่ ค่ากะ ค่าเดินทาง เป็นต้น และส�ำหรับในกรณีทพี่ นักงานเกิดปัญหาสายงานทรัพยากรมนุษย์ ได้เข้าพูดคุยกับพนักงาน ร่วมประชุม หารือกับคณะกรรมการสวัสดิการลูกจ้างในสถานประกอบการ เพือ่ ร่วมกันหาสาเหตุและวิธกี ารแก้ไข พร้อมกันนีไ้ ด้สร้างช่องทางสือ่ สาร ใหม่กบั พนักงานในบริษทั ผ่าน Internal Communication Chanel เพือ่ แจ้งข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ให้พนักงานได้รบั ทราบ และเพือ่ สร้างให้พนักงานมีความผูกพันธ์หรือสัญญาใจกับบริษทั (Commitment) ได้มกี ารจัดกิจกรรมเพือ่ สร้างความมีสว่ นร่วมของ พนักงานผ่านกิจกรรม ต่างๆ เช่น จัดงานปีใหม่ทกุ ปี กิจกรรมให้พนักงานร่วมบริจาคโลหิต กิจกรรมร่วมกันท�ำความสะอาดฟืน้ ฟู วัด และ โรงเรียน หลังน�ำ้ ท่วม แต่ทงั้ นีเ้ พือ่ สร้างความผูกพันธ์ของพนักงานกับบริษทั เกิดขึน้ และด�ำรงอยูอ่ ย่างมัน่ คง จะมีการสร้งความมีสว่ นร่วม ของพนักงาน หรือ Employee Engagement ผ่านการกิจกรรมทีม่ รี ะบบและจัดท�ำอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้พนักงานรูส้ กึ ว่า การทุม่ เทในการ ท�ำงาน (Contribution) เพื่อความส�ำเร็จของบริษัท เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวันของทุกคน 4. บทบาทการเป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) สายงานทรัพยากรมนุษย์รับผิดชอบในการท�ำให้พนักงานมีสมรรถนะในการ เปลีย่ นแปลงทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ องค์การ สร้างให้พนักงานตระหนักถึงความส�ำคัญของการเปลีย่ นแปลงเพือ่ พัฒนา โดยในเบือ้ งต้น ต้องพัฒนาพนักงานให้มที กั ษะใหม่ๆ เพือ่ พร้อมรับกับความเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ตลอดปีทผี่ า่ นมา เราได้มกี ารจัดฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาพนักงานทัง้ ในเชิงความรูท้ างเทคนิคของแต่ละต�ำแหน่งงานและทักษะทางการบริหารจัดการ เพื่อเป็นพื้นฐานในการจัดท�ำ โครงสร้างการฝึกอบรมให้กบั 3 ส่วนงานหลักของบริษทั คือ ส่วนงาน Sourcing สายงานธุรกิจ และสายงานการผลิต นอกจากนีแ้ ล้วยัง เป็นผู้ประสานงานให้การเปลี่ยนแปลงสามารถด�ำเนินไปได้อย่างราบรื่น ต้องพยายามลดการต่อต้านโดยชีใ้ ห้พนักงานเห็นว่าการ เปลีย่ นแปลงเป็นประโยชน์สำ� หรับทุกคน พยายามสร้างความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงให้กบั พนักงานทุกคน พยายามเปลีย่ นความกลัว ของพนักงานให้เป็นความตืน่ เต้นทีจ่ ะบรรลุเป้าหมายใหม่ที่บริษัทร่วมกันสร้างขึ้น ผ่านบทบาททั้ง 4 ดังกล่าวข้างต้น UMS เชื่อเป็นอย่างยิ่งว่า เราจะสามารถพัฒนาพนักงานให้เป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าที่สุดส�ำหรับบริษัท เพื่อให้บริษัทสามารถยืนหยัดและปรับตัวเข้ากับความเปลี่ยนแปลงและความท้าทายทุกๆ รูปแบบที่ต้องเผชิญต่อไปในอนาคต


รายงานประจำ�ปี 2555

รายการระหว่างกัน บริษัทฯ มีรายการระหว่างบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งกันในปี 2554(ต.ค. 53-ก.ย. 54) และ 2555(ต.ค. 54-ก.ย. 55) ดังนี้ บุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งกัน

ความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน)

ถือหุ้นบริษัทอะธีน โฮลดิ้งส์ จำ�กัด ร้อย ละ 99.99 ซึ่งบริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์เป็นผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท โดยถือหุ้น ร้อยละ 88.68

ปี 2555 : บริการที่ปรึกษา การ ผลิต การขาย กลยุทธ์การตลาด การพัฒนาระบบสารสนเทศของ องค์กร และการวางแผนทาง ธุรกิจ (ปี 2554 : บริการที่ปรึกษา การผลิต การขาย กลยุทธ์ การตลาด การบำ�รุงรักษาระบบเครือข่าย และการวางแผนทางการเงิน)

บริษัท โทรีเซน เซอร์วิส เซ็นเตอร์ จำ�กัด

บริษัท โทรีเซนไทย เอยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้น ในบริษัท โทรีเซน เซอร์วิส เซ็นเตอร์ จำ�กัด ร้อยละ 99.9

บริการที่ปรึกษาด้านกฎหมาย และบำ�รุงรักษาระบบเครือข่าย

บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ จำ�กัด

บริษัท โทรีเซนไทย บริการด้านโลจิสติกส์ (การนำ�เข้า เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด สินค้าทางเรือ) (มหาชน) ถือหุ้นใน บริษัท โทรีเซน ชิป ปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ จำ�กัด ร้อยละ 49.0

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

มูลค่ารายการ ปี 2554 (ต.ค.-ก.ย.) (บาท)

มูลค่ารายการ ปี 2555 (ต.ค.-ก.ย.) (บาท)

ยอดคงค้างสุทธิ ณ 30 ก.ย. 2555 (บาท)

7,165,965

9,346,500

2,784,140

-

2,835,682

515,166

-

1,000,000

1,070,000

กลุ่มบริษัทโทรีเซน (บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน), บริษัท โทรีเซน เซอร์วิส เซ็นเตอร์ จำ�กัด และบริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ จำ�กัด) ได้ให้บริการแก่บริษัทฯ ครอบคลุมในด้านการผลิต การขาย กลยุทธ์การตลาด กฎหมาย โลจิสติกส์(การนำ�เข้าสินค้า ทางเรือ) การพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร การบำ�รุงรักษาระบบเครือข่าย และการวางแผนทางธุรกิจ ซึ่งจะช่วยพัฒนาธุรกิจของบริษัท ตลอดจนให้ผลตอบแทนที่ดีแก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งถือว่ามีความสมเหตุสมผลในการทำ�รายการดังกล่าว

41


42 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน ในปี 2553 บริษัทฯได้ท�ำการเปลี่ยนรอบบัญชีจากสิ้นสุดเดือนธันวาคมเป็นสิ้นสุดเดือนกันยายนเพื่อให้สอดคล้องกับการปิดรอบบัญชี ของบริษัทแม่ ได้แก่ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีรายละเอียดดังนี้ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้รวมในปี 2554 และ 2555 เท่ากับ 3,275.58 และ 3,427.65 ล้านบาท ตามล�ำดับ มีอัตราการเพิ่มขึ้นของ รายได้ในปี 2555 เท่ากับร้อยละ 4.64 และมีผลขาดทุนสุทธิในปี 2555 เท่ากับ 288.26 ล้านบาท เทียบกับผลก�ำไรสุทธิในปี 2554 ที่ 60.52 ล้านบาท อุตสาหกรรมการจ�ำหน่ายถ่านหินในช่วงปี 2555 มีการเติบโตจากสภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่ยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยหลังจาก เหตุการณ์น�้ำท่วมในช่วงเดือน ต.ค.-ธ.ค. 54 อุปสงค์และการลงทุนภายในประเทศเริ่มฟื้นตัวและเติบโตตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลดีต่อกลุ่ม อุตสาหกรรมที่เป็นลูกค้าหลักของบริษัทฯ ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมกระดาษและอุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์ โดยบริษัทฯ ได้รับประโยชน์จากค�ำสั่งซื้อที่อย่างต่อเนื่องจากลูกค้ากลุ่มดังกล่าว

ภาพรวมของผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา

ก. รายได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายถ่านหินในปี 2554 และ 2555 เท่ากับ 3,242.42 และ 3,397.73 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดย รายได้จากการขายในปี 2555 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.79 จากปี 2554 ในขณะที่ปริมาณขายในปี 2555 ไม่ขยายตัวจากปี 2554 ทั้งนี้เนื่องจาก เหตุการณ์น�้ำท่วมในช่วงไตรมาส 1 (ต.ค.-ธ.ค.55) บริษัทฯไม่สามารถท�ำการขนส่งสินค้าไปยังลูกค้าได้ ส่งผลให้ปริมาณขายของบริษัทฯขาด หายไปประมาณ 2 เดือน หรือประมาณ 400-500 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ภายหลังเหตุการณ์น�้ำท่วม กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เริ่มฟื้นตัวและ เริ่มการผลิต ประกอบกับอุปสงค์ในประเทศที่ยังคงแข็งแกร่ง ภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังคงขยายตัวและโครงการสาธารณูปโภคของรัฐที่ทยอย เริ่มด�ำเนินการ ส่งผลให้บริษัทฯได้รับค�ำสั่งซื้อในปริมาณมากอย่างต่อเนื่องจากกลุ่มลูกค้าขนาดใหญ่ ได้แก่ อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โดย ปริมาณการขายในกลุ่มลูกค้าขนาดกลางและเล็ก ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมสิ่งทอ มีปริมาณการขายไม่ เปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โดยบริษัทฯยังคงสามารถรักษาฐานลูกค้ากลุ่มนี้ไว้ได้เป็นอย่างดี ข. ต้นทุนขาย ต้นทุนขายถ่านหินของบริษัทฯมีองค์ประกอบหลัก คือ ค่าถ่านหินและค่าระวางเรือ โดยในปี 2554 และ 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีต้นทุนขายเท่ากับ 2,689.60 และ 3,159.21 ล้านบาท ตามล�ำดับ คิดเป็นร้อยละ 82.95 และ 92.98 ของรายได้จากการขาย สัดส่วนของ ต้นทุนขายต่อรายได้จากการขายในปี 2555 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญจากปี 2554 เป็นผลจากต้นทุนการน�ำเข้าถ่านหินของบริษัทฯโดยเฉลี่ย สูงขึ้น อัตราแลกเปลี่ยนที่อ่อนค่าลง และค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าปกติในช่วงเหตุการณ์น�้ำท่วม นอกจากนั้น ในระหว่างปี 2555 บริษัทได้บันทึกค่า เผื่อมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับจากสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 107 ล้านบาท โดยรวมแสดงรายการอยู่ในต้นทุนขายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ของบริษัทฯ ส่งผลให้ต้นทุนขายของบริษัทฯเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญจากปีที่ผ่านมา ค. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารในปี 2554 และ 2555 เท่ากับ 394.35 และ 478.67 ล้านบาท โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสัดส่วนของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารคิดเป็นร้อยละ 11.89 และ 14.44 ของรายได้รวม สัดส่วนค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหารต่อรายได้รวมในปี 2555 ปรับตัวสูงขึ้นจากปี 2554 ทั้งนี้ เนื่องจากค่าขนส่งสินค้าที่สูงขึ้นเป็นพิเศษ ซึ่งเกิดจากการหยุดด�ำเนินการ ชั่วคราวของโรงงานสวนส้มจังหวัดสมุทรสาคร อันเป็นผลจากค�ำสั่งของทางจังหวัดให้โรงงานถ่านหินทุกแห่งในจังหวัดสมุทรสาครหยุด ด�ำเนินงานชั่วคราวท�ำให้บริษัทใช้ฐานการผลิตที่โรงงานนครหลวงจังหวัดอยุธยาเพียงแห่งเดียวในการขนส่งถ่านหินให้กับลูกค้าทุกราย รวม ถึงลูกค้าในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร โดยเมื่อโรงงานสวนส้มเริ่มเปิดด�ำเนินการ คาดว่าค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของบริษัทฯจะเข้าสู่ ระดับปกติ


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนทางการเงินในปี 2554 และ 2555 เท่ากับ 83.58 และ106.36 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.52 และ 3.07 ของรายได้รวม โดยในปี 2555 บริษัทได้ท�ำการบันทึกผลขาดทุนจากการปรับมูลค่ายุติธรรมของสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้า ซึ่งหากคิดเฉพาะดอกเบี้ยจ่ายในปี 2555 พบว่าเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2554 เนื่องจากระดับต้นทุนสินค้าน�ำเข้าโดยเฉลี่ยสูงกว่าช่วง เดียวกันของปีที่ผ่านมา นอกจากนั้น อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินในปี 2555 โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับที่สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ส่ง ผลให้ตน้ ทุนทางการเงินส�ำหรับเงินทุนหมุนเวียนของบริษทั ฯในการน�ำเข้าถ่านหินและรวมถึงเงินกูร้ ะยะยาวของบริษทั เพิม่ มากขึน้ อย่างไรก็ตาม ดอกเบี้ยจ่ายของบริษัทมีลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญหลังจากไตรมาส 2 จากการทยอยช�ำระสินเชื่อทรัสต์รีซีทและสินเชื่อระยะยาวจ�ำนวนมาก ซึ่ง เป็นผลจากการระบายสินค้าคงคลังในปริมาณมากของบริษัทฯ ง. ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินนิติบุคคลในปี 2554 และ 2555 เท่ากับ 62.75 และ 0.12 ล้านบาทตามล�ำดับ โดยในปี 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลตามผลก�ำไรของบริษัทย่อย จ. ก�ำไร บริษัทฯและบริษัทย่อย มีอัตราก�ำไรขั้นต้นในปี 2554 และ 2555 เท่ากับร้อยละ 17.14 และ 7.60 ตามล�ำดับ โดยอัตราก�ำไรขั้นต้นของ ปี 2555 ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญจากปี 2554 ซึ่งโดยหลักเกิดจากต้นทุนขายที่สูงขึ้นจากเหตุผลเรื่องมูลค่าสินค้าน�ำเข้าโดยเฉลี่ยสูงขึ้นและการ บันทึกค่าเผื่อมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับจากสินค้าคงเหลือในปี 2555 ตามที่ได้กล่าวมา นอกจากนั้น สัดส่วนของปริมาณขายในปี 2555 ใน กลุ่มลูกค้าขนาดใหญ่ของบริษัทฯรวมถึงการขายในรูปแบบปริมาณมากต่อครั้ง (big lot) เพิ่มขึ้น ซึ่งโดยปกติการขายลักษณะดังกล่าวจะมี อัตราก�ำไรขั้นต้นต�่ำกว่าการขายให้กับกลุ่มลูกค้าขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งเป็นรายได้หลักของบริษัทฯ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงานในปี 2554 และ 2555 เท่ากับร้อยละ 6.31และ (5.30) ตามล�ำดับ บริษัทฯและ บริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิในปี 2554 และ 2555 เท่ากับ 60.52 และ (288.26) ล้านบาทตามล�ำดับ คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 1.85 และ (8.41) ตามล�ำดับ ในปี 2555 ก�ำไรสุทธิและอัตราก�ำไรสุทธิปรับลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญจากปี 2554 เนื่องจากต้นทุนขายที่เพิ่มขึ้น การบันทึก ค่าเผือ่ มูลค่าสุทธิทคี่ าดว่าจะได้รบั จากสินค้าคงเหลือในปี 2555 และค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารทีส่ งู ขึน้ เป็นพิเศษดังเหตุผลทีก่ ล่าวข้างต้น ฉ. อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในปี 2554 และ 2555 มีค่าเท่ากับร้อยละ 6.03 และ (32.75) ตามล�ำดับ โดยปี 2555 บริษัทฯงดจ่าย เงินปันผลเพื่อเก็บไว้เป็นเงินทุนหมุนเวียนและขยายกิจการต่อไป

การวิเคราะห์ฐานะการเงิน

สินทรัพย์ สินทรัพย์ของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 และวันที่ 30 กันยายน 2555 มีมูลค่าเท่ากับ 3,569.68 และ 2,745.05 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยสินทรัพย์ของบริษัทฯประกอบด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นส่วนใหญ่ โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และวันที่ 30 กันยายน 2555 มีมูลค่าเท่ากับ 2,597.50 และ 1,822.13 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 72.77 และ 66.38 ของสินทรัพย์รวมตามล�ำดับ สินทรัพย์ หมุนเวียนลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ เนื่องจากบริษัทฯมีการจ�ำหน่ายถ่านหินในปริมาณมากให้กับลูกค้ารายใหญ่ และการบันทึกค่าเผื่อมูลค่า สุทธิที่คาดว่าจะได้รับจากสินค้าคงเหลือในปี 2555 ส่งผลให้ระดับมูลค่าสินค้าคงเหลือลดลงจาก 1,861.19 ล้านบาทในปี 2554 เหลือเพียง 1,086.65 ล้านบาทในปี 2555

43


44 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และวันที่ 30 กันยายน 2555 มีมูลค่าเท่ากับ 972.17 และ 922.92 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนหลัก ได้แก่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ โดยทรัพย์สินส่วนใหญ่ ได้แก่ คลังสินค้า เครื่องจักรและท่าเทียบเรือที่ ต�ำบลสวนส้ม จังหวัดสมุทรสาคร คลังสินค้า เครื่องจักรและท่าเทียบเรือที่อ�ำเภอนครหลวง จังหวัดอยุธยา และเรือล�ำเลียง

คุณภาพของสินทรัพย์

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น-สุทธิ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น-สุทธิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และวันที่ 30 กันยายน 2555 เท่ากับ 657.47 และ 639.22 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยในปี 2555 ยอดลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นของบริษัทฯอยู่ในระดับใกล้เคียงกับปี 2554 สืบเนื่องจากยอดขาย เฉลี่ยต่อเดือนที่ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก โดยบริษัทฯและบริษัทย่อยมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยในปี 2554 และ 2555 ประมาณ 69 และ 70 วัน ตามล�ำดับ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อยจากนโยบายระยะเวลาการช�ำระค่าสินค้า 45 วัน เนื่องจาก สัดส่วนการขายของลูกค้าขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งใช้ระยะเวลาในการเก็บหนี้นานกว่าลูกค้าขนาดกลางและขนาดย่อมเล็กน้อย แต่เป็นการ ด�ำเนินงานทางธุรกิจตามปกติ​ิ สินค้าคงเหลือ-สุทธิ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินค้าคงเหลือ-สุทธิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และวันที่ 30 กันยายน 2555 เท่ากับ 1,861.19 และ 1,086.65 ล้านบาท ตามล�ำดับ บริษัทฯมีระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยในปี 2554 และ 2555 ประมาณ 240 และ 168 วัน ตามล�ำดับ ระยะเวลาขายสินค้า เฉลี่ยในปี 2555 ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยในปี 2555 เนื่องจากบริษัทสามารถลดจ�ำนวนสินค้าคงเหลือได้มากจากปริมาณสั่งซื้อที่สูงและต่อ เนื่องจากกลุ่มลูกค้ารายใหญ่ของบริษัทฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ นอกจากนั้น ในระหว่างปี 2555 บริษัทได้ บันทึกค่าเผื่อมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับจากสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 107 ล้านบาท สภาพคล่อง ในปี 2554 และ 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 1.34 และ 0.92 เท่า ตามล�ำดับ และมีอัตราส่วนสภาพคล่อง หมุนเร็ว 0.37 และ 0.36 เท่า ตามล�ำดับ บริษัทฯมีอัตราส่วนสภาพคล่องเปลี่ยนแปลงไปจากปี 2554 โดยมีสาเหตุจากการจัดประเภทเงินกู้ยืม ระยะยาวที่จะถึงก�ำหนดช�ำระเกินหนึ่งปีจ�ำนวนหนึ่งไปเป็นหนี้สินหมุนเวียน โดยเป็นผลสืบเนื่องจากที่บริษัทฯได้รับหนังสือรับรองจากธนาคาร ยกเว้นการปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทีก่ ำ� หนดในสัญญาเงินกูภ้ ายหลังวันทีใ่ นงบการเงิน ซึง่ ไม่ได้สง่ ผลต่อสภาพคล่องในการด�ำเนินงานจริงของบริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม ในงบการเงินในงวดถัดไป เงินกู้ยืมดังกล่าวจะถูกจัดประเภทเป็นหนี้สินไม่หมุนเวียนตามก�ำหนดช�ำระคืนเงินกู้ยืม ซึ่งคาดว่าจะ ท�ำให้อัตราส่วนสภาพคล่องของบริษัทฯจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน เมื่อพิจารณาความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน พบว่า ณ 30 กันยายน 2554 และวันที่ 30 กันยายน 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยมี อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 2.43 และ 2.81 ตามล�ำดับ อัตราส่วนนี้ปรับเพิ่มขึ้นในปี 2555 เนื่องจากหนี้สินรวมลดร้อยละ 20 ในขณะที่ส่วนของผู้ถือหุ้นลดลงร้อยละ 31 โดยหนี้สินรวมลดลงในอัตราที่น้อยกว่าการลดลงในส่วนของผู้ถือหุ้น นอกจากนั้น บริษัทฯและ บริษัทย่อยมีอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 2.10 และ 2.39 ตามล�ำดับ โดยหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยในปี 2555 ลดลงจากปี 2554 ถึงประมาณ 462 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการช�ำระสินเชื่อทรัสต์รีซีทและสินเชื่อระยะยาวจ�ำนวนมากตามกระแสเงินสดที่ บริษัทฯได้รับจากการระบายสินค้าคงคลัง


รายงานประจำ�ปี 2555

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ด้านการบริหารธุรกิจ ด้านการเงิน ด้านการบริหารองค์กร และด้านกฎหมาย โดยมี นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ เป็น ประธานกรรมการตรวจสอบ พลต�ำรวจเอก ดร.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการตรวจสอบแทนคุณณัฐพล ลีลาวัฒนานันท์ ตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน 2555) และ นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล เป็นกรรมการตรวจสอบ และตามที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ และความรับผิดชอบ จากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ร่วมการ ประชุมทุกครั้ง เป็นจ�ำนวน 9 ครั้ง ในรอบระยะเวลาปีบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน 2555 และ ได้มีการประชุมร่วมกับฝ่ายบริหารที่เกี่ยวข้อง ผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อ พิจารณาเรื่องต่างๆ สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ดังนี้ • สอบทานงบการเงินของบริษัทฯ งบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี ก่อน น�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้มนั่ ใจรายงานทางการเงิน รายการบัญชีกบั บริษทั ที่เกี่ยวข้องกันจัดท�ำขึ้นอย่างถูกต้องและมีความโปร่งใสตามมาตรฐานบัญชีและข้อ ก�ำหนดทางกฎหมาย รวมทัง้ มีการเปิดเผยไว้ในหมายเหตุฯ ประกอบงบอย่างเพียงพอ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ และรับทราบแนวทางการแก้ไขปัญหาให้เกิดประโยชน์แก่ บริษัทฯ

นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ ประธานกรรมการตรวจสอบ

• พิจารณาอนุมัติแผนงานการตรวจสอบภายในประจ�ำปี 2555 ซึ่งจัดล�ำดับงาน ตรวจสอบตามความเสี่ยงรวมไปถึงการสอบทานการบริหารความเสี่ยงและเน้นการ ปฏิบตั กิ ารให้เป็นไปตามทีก่ ำ� หนดอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล มีการพัฒนา ระบบการตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีระบบการควบคุมภายในและมีการ บริหารความเสี่ยงที่ดีและเหมาะสม ทั้งนี้ ปีบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน 2555 บริษัท เคพี เอ็มจี ภูมไิ ชย ทีป่ รึกษาธุรกิจจ�ำกัด (KPMG) เป็นผูร้ บั ผิดชอบงานการตรวจสอบภายใน ของบริษัท • เสนอแนะเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และสอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎข้อ บังคับของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ฯ ตลาดหลักทรัพย์และกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข้อง • คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและให้ความเห็นต่อการท�ำรายการระหว่างกัน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเป็นรายการทีผ่ า่ นกระบวนการอนุมตั ทิ โี่ ปร่งใส โดยผูม้ สี ว่ นได้เสียไม่ได้ มีสว่ นร่วมในการตัดสินใจและเป็นรายการทีก่ ระท�ำโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษทั รวมถึงมีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ตามประกาศข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ทบทวนผลการปฏิบตั งิ านและความเป็นอิสระของผูส้ อบบัญชี และน�ำเสนอ นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3445 นายชาญชัย ชัยประสิทธิ์ ผูส้ อบ บัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3760 และ นาง ณฐพร พันธุอ์ ดุ ม ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3430 แห่ง บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ขออนุมตั ทิ ปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2555 เพือ่ แต่งตัง้ เป็นผูส้ อบบัญชีสำ� หรับปีบญ ั ชี 2555

45


46 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของ แต่ละปีของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการ แสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการ ทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชี ที่กจิ การใช้และประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำ�ขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสม ของการแสดงรายการที่นำ�เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการ แสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 ผลการดำ�เนินงานรวมและผลการดำ�เนินงานเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด เฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

ชาญชัย ชัยประสิทธิ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3760 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด กรุงเทพมหานคร 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ยูนิค ไมนิ�ง เซอร์วิสเซส จํากัด (มหาชน) งบเเสดงฐานะการเงิ น งบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 ณ วันที� 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

7 8 27.2 9

รวมสินทรัพยหมุนเวียน

81,480,370 639,222,846 1,086,647,571 14,781,126

68,007,289 657,471,216 1,861,186,592 10,835,759

75,118,144 629,953,756 659,278 1,103,140,038 14,642,211

59,092,046 650,061,432 1,631,921 1,877,914,375 10,661,523

1,822,131,913

2,597,500,856

1,823,513,427

2,599,361,297

912,793,453 8,432,297 1,695,447

966,699,511 3,545,378 1,931,416

137,706,803 758,067,594 8,304,988 1,685,339

137,706,803 831,607,173 3,231,294 1,916,415

922,921,197

972,176,305

905,764,724

974,461,685

2,745,053,110

3,569,677,161

2,729,278,151

3,573,822,982

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

10 11 12

กรรมการ _____________________________________________

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนของงบการเงินนี้

47


48 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

บริ ษัท ยูนปิคระกอบงบการเงิ ไมนิ่ง เซอร์วนิสรวมและงบการเงิ เซส จ�ำกัด (มหาชน) หมายเหตุ นเฉพาะบริษัทเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบเเสดงฐานะการเงิ น (ต่ ) จํากัด (มหาชน) บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร วิสอเซส ณงบแสดงฐานะการเงิ วันที่ 30 กันยายนน (ตพ.ศ. อ) 2555 และ พ.ศ. 2554 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน 13 เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น 14 เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน 27.3 เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน 27.4 เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป 15 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 16 ภาษีเงินไดคางจาย คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

1,258,163,080 244,290,741 4,369,306 -

1,406,285,760 257,830,082 2,752,409 -

1,258,163,080 241,684,513 10,487,043 6,700,000

1,406,276,713 254,166,487 9,446,571 20,800,000

422,047,756

200,964,000

410,047,756

188,964,000

944,392 42,551,842 3,840,616

1,304,169 1,240,156 51,902,326 19,867,398

944,392 41,254,667 3,428,474

1,304,169 50,761,775 19,357,371

1,976,207,733

1,942,146,300

1,972,709,925

1,951,077,086

41,566,309 2,647,142 3,895,663

578,520,309 112,432 9,207,554

20,180,000 2,647,142 3,554,138

545,134,000 112,432 8,675,718

48,109,114

587,840,295

26,381,280

553,922,150

2,024,316,847

2,529,986,595

1,999,091,205

2,504,999,236

หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

15 16 17

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนของงบการเงินนี้


รายงานประจำ�ปี 2555

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริบริษษัทัทยูยูนนิคิคไมนิ (มหาชน) ไมนิ่ง่ง เซอร์ เซอรววิสิสเซส เซส จ�จําำกักัดด(มหาชน) งบเเสดงฐานะการเงิ งบแสดงฐานะการเงินน(ต(ต่ออ) ) ณณวัวันนทีที่ 30 พ.ศ.2555 2555และ และพ.ศ. พ.ศ.2554 2554 ่ 30 กักันนยายน ยายน พ.ศ.

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

76,727,032

76,727,032

76,727,032

76,727,032

76,727,032 241,390,751

76,727,032 241,390,751

76,727,032 241,390,751

76,727,032 241,390,751

10,500,000 392,118,480

11,096,402 710,476,381

10,500,000 401,569,163

10,500,000 740,205,963

720,736,263

1,039,690,566

730,186,946

1,068,823,746

2,745,053,110

3,569,677,161

2,729,278,151

3,573,822,982

หนี้สินและสวนของผูถือหุน (ตอ) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ จํานวน 153,454,064 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท

19

ทุนที่ออกและชําระแลว หุนสามัญ จํานวน 153,454,064 หุน มูลคาที่ไดรับชําระแลวหุนละ 0.50 บาท สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม จัดสรรแลว - ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

19 21

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนของงบการเงินนี้

49


50 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

บริษษัทัทยูนยูิคนไมนิ ิค ไมนิ ่ง เซอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริ �ง เซอร์ วิสเซสวิสจําเซส กัด (มหาชน) งบก�าไรขาดทุ ำไรขาดทุ เบ็ดจ เสร็จ งบกํ นเบ็นดเสร็ กันพ.ศ. ยายน และ พ.ศ. 2554 สํส�าำหรัหรับปีบสปีิ�นสสุิ้นดสุวันดทีวั� น 30ทีกั่ น30 ยายน 2555พ.ศ. และ 2555 พ.ศ. 2554

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ

3,397,726,302 29,922,782

3,242,415,208 33,169,322

3,397,726,302 -

3,242,415,208 -

รวมรายได

3,427,649,084

3,275,584,530

3,397,726,302

3,242,415,208

ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ

3,159,205,978 7,979,708

2,689,596,506 24,549,767

3,169,127,444 -

2,696,651,689 -

รวมตนทุน

3,167,185,686

2,714,146,273

3,169,127,444

2,696,651,689

กําไรขั้นตน รายไดอื่น

260,463,398 36,415,675

561,438,257 39,768,390

228,598,858 40,041,254

545,763,519 33,324,144

กําไรกอนคาใชจาย

296,879,073

601,206,647

268,640,112

579,087,663

คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร ตนทุนทางการเงิน

283,479,570 195,188,263 106,357,335

212,715,364 181,638,516 83,577,080

285,436,741 186,857,882 104,291,676

215,875,184 179,556,386 78,618,149

รวมคาใชจาย

585,025,168

477,930,960

576,586,299

474,049,719

กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได ภาษีเงินได

(288,146,095) (117,595)

123,275,687 (62,753,270)

(307,946,187) -

105,037,944 (56,107,990)

กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

(288,263,690) (288,263,690)

60,522,417 60,522,417

(307,946,187) (307,946,187)

48,929,954 48,929,954

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน

(1.88)

0.39

(2.01)

0.32

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนปรับลด

(1.88)

0.39

(2.01)

0.31

ตนทุน

กําไร(ขาดทุน)ตอหุน

24

25

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนของงบการเงินนี้


241,390,751 230,461,835 10,928,916 241,390,751

76,727,032 76,039,164 687,868 76,727,032

ยอดยกมาตนปวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ สวนเกินมูลคาหุน กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายปวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554

19 19

22

ยอดคงเหลือปลายปวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555

ยอดยกมาตนปวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เงินปนผลจาย การปรับปรุงรายการ ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

241,390,751 -

หมายเหตุ

ทุนที่ออก และชําระแลว บาท

11,096,402

11,096,402 -

10,500,000

11,096,402 (596,402) -

710,476,381

649,953,964 60,522,417

392,118,480

710,476,381 (30,690,613) 596,402 (288,263,690)

งบการเงินรวม กําไรสะสม สวนเกิน ที่จัดสรรแลว มูลคาหุน ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร บาท บาท บาท

76,727,032 -

สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ยูนิค ไมนิ�ง่ยเซอร์ วิสเซสวจํนของผู ากัด (มหาชน) งบเเสดงการเปลี นเเปลงส่ ้ถือหุ้น หุ้น 2555 และ พ.ศ. 2554 ส�ำงบแสดงการเปลี หรับปีสิ้นสุดวั�ยนนแปลงส่ ที่ 30 กัวนของผู นยายน้ถือพ.ศ.

1,039,690,566

967,551,365 687,868 10,928,916 60,522,417

720,736,263

1,039,690,566 (30,690,613) (288,263,690)

รวม บาท

6

รายงานประจำ�ปี 2555

51


241,390,751 230,461,835 10,928,916 241,390,751

76,727,032 76,039,164 687,868 76,727,032

ยอดยกมาตนปวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ สวนเกินมูลคาหุน กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายปวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554

19 19

22

ยอดคงเหลือปลายปวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555

ยอดยกมาตนปวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เงินปนผลจาย ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

241,390,751 -

หมายเหตุ

ทุนที่ออก และชําระแลว บาท

10,500,000

10,500,000 -

10,500,000

10,500,000 -

740,205,963

691,276,009 48,929,954

401,569,163

740,205,963 (30,690,613) (307,946,187)

งบการเงินเฉพาะบริษัท กําไรสะสม สวนเกิน ที่จัดสรรแลว มูลคาหุน ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร บาท บาท บาท

76,727,032 -

สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ยูนิค ไมนิ�ง เซอร์ วิสเซส จํวากันของผู ด (มหาชน) งบเเสดงการเปลี ่ยนเเปลงส่ ้ถือหุ้น (ต่อ) ้ถือหุ้นพ.ศ. (ต่อ)2555 และ พ.ศ. 2554 ส�งบแสดงการเปลี ำหรับปีสิ้นสุด�ยนแปลงส่ วันที่ 30วนของผู กันยายน

1,068,823,746

1,008,277,008 687,868 10,928,916 48,929,954

730,186,946

1,068,823,746 (30,690,613) (307,946,187)

รวม บาท

7

52 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) งบกระเเสเงิ นสด บริษัท ยูนิค ไมนิ �ง เซอร์วิสเซส จํากัด (มหาชน) ส�งบกระแสเงิ ำหรับปีสนิ้นสดสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2555 บาท

พ.ศ. 2554 บาท

พ.ศ. 2555 บาท

พ.ศ. 2554 บาท

538,414,382

80,082,459

518,252,445

69,417,958

(31,234,545) 6,047,013 (6,041,454)

(92,026,905) 27,787,257 (2,794,196)

(1,500,000) 1,500,000 (29,287,569) 28,905,944 (6,041,454)

32,983,860 (40,000,000) (112,306,097) 6,057,944 (2,957,361)

(31,228,986)

(67,033,844)

(6,423,079)

(116,221,654)

(145,244,482) (202,670,214) 10,919,529 - 500,000,000 (315,870,244) (338,736,000) (1,900,997) (22,710,739) (30,687,530) -

(145,244,482) (14,100,000) (303,870,244) (1,900,997) (30,687,530)

(202,670,214) 20,800,000 10,919,529 500,000,000 (299,796,000) (3,076,021) -

(493,703,253)

(53,197,424)

(495,803,253)

26,177,294

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป

13,482,143 67,998,227

(40,148,809) 108,147,036

16,026,113 59,092,031

(20,626,402) 79,718,433

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป

81,480,370

67,998,227

75,118,144

59,092,031

หมายเหตุ เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินจายใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินรับจากเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินจายลงทุนในบริษัทยอย เงินจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน

26

10

12

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง - สุทธิ เงินรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินจายคืนเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินรับจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ เงินรับจากเงินกูยืมระยะยาว เงินจายคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินจายคืนหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน เงินปนผลจาย

15 15

เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และพ.ศ. 2554 ประกอบดวย งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็หมายเหตุ นส่วนของงบการเงินนี้ บาท เงินสดและเงินฝากธนาคาร

7

81,480,370

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2554 บาท

พ.ศ. 2555 บาท

พ.ศ. 2554 บาท

68,007,289

75,118,144

59,092,046

53


เงินจายคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินจายคืนหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน เงินปบริ นผลจ ษัท ายูยนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

15

(315,870,244) (338,736,000) (1,900,997) (22,710,739) (30,687,530) -

(303,870,244) (1,900,997) (30,687,530)

(299,796,000) (3,076,021) -

(493,703,253)

(53,197,424)

(495,803,253)

26,177,294

เงิงบกระเเสเงิ นสดและรายการเที ยบเท นสด (ต่ อ) าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป

13,482,143 67,998,227

(40,148,809) 108,147,036

16,026,113 59,092,031

(20,626,402) 79,718,433

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป

81,480,370

67,998,227

75,118,144

59,092,031

54

เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

และ พ.ศ.2554 2554 ประกอบด ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และพ.ศ.

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2555 บาทนนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทหมายเหตุ เปนสวนหนึ่งของงบการเงิ

พ.ศ. 2554 บาท

พ.ศ. 2555 บาท

พ.ศ. 2554 บาท

ษัท ยูนิคนไมนิ ่ง เซอรวิสเซส จํากัด (มหาชน) เงิบรินสดและเงิ ฝากธนาคาร 7 นสด เงิงบกระแสเงิ นเบิกเกินบัญ ชี (ตอ) 13 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

81,480,370 -

68,007,289 (9,062)

75,118,144 -

59,092,046 (15)

81,480,370

67,998,227

75,118,144

59,092,031

รายการที่มิใชเงินสด 8

รายการที่มิใชเงินสดที่สําคัญสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2555 บาท

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2554

บาท

พ.ศ. 2555 บาท

7,871,829

12,784,534

7,871,829

12,784,534

บาท

หนี้สินคงคางและหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน จากการซื้อสินทรัพยถาวร

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนของงบการเงินนี้


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)

บริ ษัท ยูนคิ ปไมนิ ่ง เซอร์ วสิ เซส จํนากัรวมและงบการเงิ ด (มหาชน) หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ นเฉพาะบริษัท หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และษัทพ.ศ. 2554 สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 1

ขอมูลทั่วไป บริ กัด ด(มหาชน) (“บริษัท”)ษเปัทน”)บริเป็ษนัทบริ มหาชน จํากัด จำ�กั ซึ่งจัดดตัซึ้ง่งและจดทะเบี ยนในประเทศไทย ตามที่อยูตาม  บริษษัทัทยูยูนนิคิคไมนิ ไมนิ่ง่งเซอร เซอร์วิสวเซส ิสเซสจําจำ�กั (มหาชน) (“บริ ษัทมหาชน จัดตั้งและจดทะเบี ยนในประเทศไทย ทีที่ไ่อดยูจ่ทดทะเบี ยนไวดยังนไว้ ตอไปนี ี่ได้จดทะเบี ดังต่้ อไปนี้ สํานักงานใหญ : 36/83 อาคาร พี เอส ทาวเวอร ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 21 (อโศก) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 สํานักงานสาขา ประกอบดวย 1) เลขที่ 20 หมูที่ 2 ตําบลชัยมงคล อําเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 2) เลขที่ 88/ 8-9 8-9 หมู หมู่ท ี่ 5 ตำ�บลสวนส้ ตําบลสวนสมม อํอำ�เภอบ้ าเภอบาานแพ นแพ้ววจัจังหวั งหวัดสมุ ดสมุทรสาคร ทรสาคร74120 74120 3) เลขที่ 108 หมูที่ 2 ตําบลคลองสะแก อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13260 หุนสามัญและใบสําคัญแสดงสิทธิของบริษัทไดจดทะเบียนในตลาด Market for Alternative Investment (“mai”) เพื่อวัตถุประสงคใน การรายงานขอมูลจึงรวมเรียกบริษัท และบริษัทยอยวาเปน “กลุมบริษัท” การประกอบการธุรกิจหลักของกลุมบริษัท คือการนําเขาถานหินเพื่อจําหนายแกอุตสาหกรรมภายในประเทศ การขนสงทางน้ําและบริ บริกการ าร ทาเทียบเรือ บริษัทใหญลําดับสุดทายของบริษัท คือ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) จดทะเบียนในประเทศไทย งบการเงิ ษัทษได รับรการอนุ มัตมิจัตากคณะกรรมการของบริ ษเมืัท่อษวันัททีเมื ่ 27่อวันพฤศจิ กายน พ.ศ. 2555 2555 งบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะบริ เฉพาะบริ ัทได้ ับการอนุ ิจากคณะกรรมการของบริ ที่ 27 พฤศจิ กายน พ.ศ.

2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สําคัญซึ่งใชในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังตอไปนี้

2.1

เกณฑในการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนรวมและงบการเงิ าขึ้นน้ ตามหลั 25432543 ซึ่ง งบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะบริ เฉพาะบริษษัททั ได ได้จจัดดั ทํทำ�ขึ ตามหลักกการบั การบัญญชีชีทที่รร่ี ับบั รองทั รองทั่วว่ ไปภายใต ไปภายใต้พพระราชบั ระราชบัญญญัญัตติกกิารบั ารบัญญชี ชีพ.ศ.พ.ศ. งมาตรฐานการบั ญชีทญี่อชีอกภายใต พระราชบั ญญัตญิวิชญัาชีตพิวิชบัาชี ญชีพบัพ.ศ. อกําหนดของคณะกรรมการกํ ากับหลักทรัพยแบละ ซึหมายถึ ่งหมายถึ งมาตรฐานการบั ที่ออกภายใต้ พระราชบั ญชี2547 พ.ศ.และข 2547 และข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กั ตลาดหลั พย (ก.ล.ต.)กวทรั าดพวยการจั ดทําและนํ าเสนอรายงานทางการเงิ นภายใตพระราชบัญนญั ติหลักพทรัระราชบั พยและตลาดหลั หลั กทรัพกย์ทรั และตลาดหลั ย์ (ก.ล.ต.) ว่าด้วยการจั ดทำ�และนำ�เสนอรายงานทางการเงิ ภายใต้ ญญัติหลักทรัพย์ยและ

ตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน ยกเวน ในกรณีที่ไดมีการอธิบายในนโยบายการบัญชีในลําดับตอไป งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้ ที่ได้นมใหีการอธิ บายในนโยบายการบั นลำ�ดั่วไปในประเทศไทยกํ บต่อไป การจันดทํในกรณี างบการเงิ สอดคล องกับหลักการบัญชีทญี่รชีับใรองทั าหนดใหใชประมาณการทางบัญชีที่สําคัญและการใช ดุลยพินิจของผูบริหาร ซึ่งจัดทําขึ้นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกลุมบริษัทไปถือปฏิบัติและตองเปดเผยเรื่องการใช การจั นให้หรืสออดคล้ ญบชีทขอี่รับสมมติ รองทัฐ่วานไปในประเทศไทยกำ�หนดให้ ญชีที่สำ�คัญนและ ดุลยพิดนทำ�งบการเงิ ิจของผูบริหาร ความซัองกั บซบอหลั น หรืกการบั อเกี่ยวกั และประมาณการที่มีนัยสําใคัช้ญปตระมาณการทางบั องบการเงินรวมและงบการเงิ การใช้ ดุลษยพิ นิจของผู้บริปหระกอบงบการเงิ าร ซึ่งจัดทำ�ขึน้นขตามกระบวนการในการนำ�นโยบายการบั ญชีของกลุ่มบริษัทไปถือปฏิบัติและต้องเปิด เฉพาะบริ ัทในหมายเหตุ อ4 เผยเรื่องการใช้ดุลยพินิจของผู้บริหาร หรือความซับซ้อน หรือเกี่ยวกับข้อสมมติฐาน และประมาณการที่มีนัยสำ�คัญต่องบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4

55


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 56บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

2 2.1

นโยบายการบัญชี (ตอ) เกณฑในการจัดทํางบการเงิน (ตอ) ตัวเลขที่นนําำ�มาแสดงเปรี บเทียยบได บได้มีกมารจั ีการจั ดประเภทรายการใหม่ เปรียยบได บเทีกับยการแสดงรายการที บได้กับการแสดงรายการที ่เปลี่ยนแปลงไป มาแสดงเปรียยบเที ดประเภทรายการใหม เพื่อใหเพื เปรี่อยให้บเที ่เปลี่ยนแปลงไป ในปี และเพื่อ่อใหให้เปเป็นนไปตามประกาศของกรมพั ไปตามประกาศของกรมพั นาธุ จการค้ า ลงวั กันยายน ่องกำ�หนดรายการย่ อ ใน ในปปปจัจจุจุบบันันและเพื ฒฒ นาธุ รกิรจกิการค า ลงวั นที่ น28ที่ กั28นยายน พ.ศ. พ.ศ. 25542554 เรื่องกําเรืหนดรายการย อที่ตองมี ทีงบการเงิ ต่ อ้ งมีในงบการเงิ น พ.ศ. งคัวบันใช้ที่ ต1ง้ั มกราคม แต่วนั ที่ 1พ.ศ. มกราคม 2554 ผลกระทบของการจั ดประเภทใหม่ น พ.ศ. 2554 ซึ่งมี2554 ผลบังคัซึบง่ มีใชผตลบั ั้งแต 2554พ.ศ. ผลกระทบของการจั ดประเภทใหม ดังกลาว มีดดังงั นีกล่ ้ าว มีดงั นี้ ขอมูลทางการเงินรวม ตามที่ไดรายงาน การจัดประเภทใหม ไวเดิม เพิ่มขึ้น(ลดลง) บาท บาท งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ สินคาคงเหลือ - อะไหลและวัสดุสิ้นเปลือง สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น

590,346,363 83,580,565 3,345,928 227,355,374 50,342,106

67,124,853 7,034,465 (72,744,806) (1,414,512) 30,474,708 (30,474,708)

ขอมูลทางการเงินเฉพาะบริษัท ตามที่ไดรายงาน การจัดประเภทใหม ไวเดิม เพิ่มขึ้น(ลดลง) บาท บาท งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ สินคาคงเหลือ - อะไหลและวัสดุสิ้นเปลือง สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น

586,030,345 79,992,531 3,330,928 224,707,885 48,815,973

64,031,087 6,714,434 (69,331,008) (1,414,513) 29,458,602 (29,458,602)

ตามที่จัด ประเภทใหม บาท

657,471,216 7,034,465 10,835,759 1,931,416 257,830,082 19,867,398

ตามที่จัด ประเภทใหม บาท

650,061,432 6,714,434 10,661,523 1,916,415 254,166,487 19,357,371

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่เปนภาษาไทย ในกรณีที่มีเนื้อความ ขัดแยงกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกตางกัน ใหใชงบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเปนหลัก

11


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 2 2.2

57

รายงานประจำ�ปี 2555

นโยบายการบัญชี (ตอ) มาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุงที่เกี่ยวของและมีผลกระทบตอ งบการเงินของกลุมบริษัท มีดังตอไปนี้ มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เรื่องการนําเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวของกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่องงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เรื่องภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรื่องผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรื่องสวนงานดําเนินงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) ไดกําหนดใหกิจการสามารถแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยเลือกแสดงแบบงบเดี่ยว มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) ได้กำ�หนดให้กจิ การสามารถแสดงงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยเลือกแสดงแบบงบเดีย่ ว (งบกําไรขาดทุนนเบ็ าไรขาดทุน และงบกํ าไรขาดทุนเบ็ดเสร็ ในกรณี ี่กิจการมี งยอนหลั อจัด ง (งบกำ�ไรขาดทุ เบ็ดดเสร็ เสร็จจ)) หรืหรือสองงบ อสองงบ(งบกํ(งบกำ�ไรขาดทุ น และงบกำ�ไรขาดทุ นเบ็จด) เสร็ จ) ทในกรณี ที่กกิจารปรั การมีบปรุ การปรั บปรุงงย้หรือนหลั ประเภทรายการใหม กิจการตอกิงแสดงงบแสดงฐานะการเงิ น ณ ตนงวดของงวดที ่นํามาเปรียบเที ยบลาสุยดบเที นอกเหนื หรื อจัดประเภทรายการใหม่ จการต้องแสดงงบแสดงฐานะการเงิ น ณ ต้นงวดของงวดที ่นำ�มาเปรี ยบล่าอสุจากการแสดงงบ ด นอกเหนือจากณ วันสิ้นงวดปจณ จุบันวันและ ณ วันจสิจุ้นบงวดก อน ณ อยาวังไรก็ ีสําหรัอบนงบการเงิ นซึด่งีสมีำ�หรั รอบระยะเวลาบั ่มในหรือหลังวันญทีชี่ 1ทมกราคม การแสดงงบ สิ้นงวดปั ัน และ นสิ้นดงวดก่ อย่างไรก็ บงบการเงินญซึ่งชีมีทรี่เริอบระยะเวลาบั ี่เริ่มในหรืพ.ศ. อหลัง2554 รอบระยะเวลาบั ญชีแรกที ่กิจการนํ ามาตรฐานการบั ชีฉบั่กบิจทีการนำ�มาตรฐานการบั ่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาใชญแชีตฉกบัิจบการสามารถเลื ่จะแสดงงบแสดง วัและเป นที่ 1 นมกราคม พ.ศ. 2554 และเป็ นรอบระยะเวลาบั ญชีญแรกที ที่ 1 (ปรับปรุองกที 2552) มาใช้แต่ นเพียงสองงวดโดยไม แสดงงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันตนงวดของงวดที ่นํามาเปรียบเทียบนกลุณ มบริวัษนัทต้เริน่มงวดของงวดที นํามาตรฐานการ กิฐานะการเงิ จการสามารถเลื อกที่จะแสดงงบแสดงฐานะการเงิ นเพียงสองงวดโดยไม่ แสดงงบแสดงฐานะการเงิ ่นำ� มาเปรี บ กลุบ่มัตบริ ญชีฉโดยบริ บับนี้มษาปฏิ ัติต่จั้งะนํแต่าเสนองบกํ วันที่ 1 ตุลาาคม พ.ศ.นเบ็2554 ษัทเลื่ยอวกที่จะนำ�เสนอ บัญชีฉยบับเที บนี้มยาปฏิ ิตั้งษแตัทวเริัน่มทีนำ�มาตรฐานการบั ่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ัทเลือบกที ไรขาดทุ ดเสร็โดยบริ จแบบงบเดี งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จแบบงบเดี่ยว มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) กําหนดใหกิจการตองรวมตนทุนที่ประมาณในเบื้องตนสําหรับการรื้อ การขนยาย และการ บูรณะสถานที่ตญ ั้งของสิ พยซ(ปรั ึ่งเปบนปรุภาระผู กพันกำ�หนดให้ ของกิจการเป นสวนหนึ ่งของราคาทุ ของที่ดิน อาคารและอุ ทั้งกิจการต งคิดคา มาตรฐานการบั ชีฉบับนทีทรั่ 16 ง 2552) กจิ การต้ องรวมต้ นทุนทีป่ นระมาณในเบื อ้ งต้นสำ�หรัปบกรณ การรือีอ้ กการขนย้ าย อและ เสื่อมราคาสํ าหรับส่ตวั้งนประกอบของที กรณจแการเป็ ตละสวนนแยกต ่อสวนประกอบแต ละสวนนั ้นมีตนทุอีนกทีทั่ม้งี การบู รณะสถานที ของสินทรัพย์ซึ่ง่ดเป็ินนอาคารและอุ ภาระผูกพันปของกิ ส่วนหนึา่งงหากจากกั ของราคาทุนนเมืของที ่ดิน อาคารและอุ ปกรณ์ สําคัญองคิ เมื่อดเทีค่ายเสื บกั่อบมราคาสำ�หรั ตนทุนทั้งหมดของสิ นทรัพยนั้น กลุ่ดมินบริษอาคารและอุ ัทไดแยกสวนประกอบที ของสินาทรั พยโดยเลืนอกทีเมื่จะปรั ปรุงผลกระทบ กินัจยการต้ บส่วนประกอบของที ปกรณ์แต่ล่สะส่ําคัวญ นแยกต่ งหากจากกั ่อส่วบนประกอบ โดยวิ รับไปข มีผลทํ ่อมราคาในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ เพิ่มขึว้นนประกอบที 2,208,345 บาท นนอกจากนี แต่ ละส่ธีปวนนั น้ มีตาน้ งหน ทุนาทีม่ นี ซึยั ่งสำ�คั ญาเมืใหอ่ คเทีายเสืบกั บต้นทุนทั้งหมดของสิ นทรัพย์นั้น กลุน่มเฉพาะบริ บริษัทได้ษแัทยกส่ ส่ ำ�คัญของสิ ทรัพย์ ้ มาตรฐานที ีการปรั งใหมยังกําหนดให การต องทบทวนอายุ การใหปคระโยชน มูลคาคงเหลือ และวิ ธีการคิดคาเสื่อมราคาอย างน โดยเลื อกที่จ่มะปรั บปรุบงปรุ ผลกระทบโดยวิ ธีปรักบิจไปข้ างหน้ า ซึ่งมีผลทำ�ให้ ่าเสื่อมราคาในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษัทอยทุก เพิสิ้น่มรอบป ขึ้น 2,208,345 บาท นอกจากนี ่มีการปรั ใหม่ยังกำ�หนดให้ ิจการต้ ารให้ประโยชน์ มูนลรวมและ ค่า บัญชี กลุมบริษัทไดทบทวนอายุ้ มาตรฐานที การใหประโยชน และมูบลปรุคางซากของเรื อลําเลียกงใหม ซึ่งมีอผงทบทวนอายุ ลทําใหคาเสื่อกมราคาในงบการเงิ คงเหลื อ และวิ ธีการคิษัทดลดลง ค่าเสื่อ10,859,032 มราคาอย่างน้ อยทุกสิ้นรอบปีบัญชี กลุ่มบริษัทได้ทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าซากของเรือ งบการเงิ นเฉพาะบริ บาท ลำ�เลียงใหม่ซึ่งมีผลทำ�ให้ค่าเสื่อมราคาในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทลดลง 10,859,032 บาท

12


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 58บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

2 2.2

นโยบายการบัญชี (ตอ) มาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี (ตอ) ญชีญที่มชี​ีกทารปรั บปรุบงทีปรุ ่เกีง่ยทีวข่เกีอ่ยงและมี ผลกระทบต องบ อ มาตรฐานการบัญชีใหม หม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินนใหม ใหม่และมาตรฐานการบั และมาตรฐานการบั ี่มีการปรั วข้องและมี ผลกระทบต่ งบการเงิ นของกลุ งั ต่อ้ ไปนี การเงินของกลุ มบริ่มษบริ ัท มีษดัทังตมีอดไปนี (ตอ)้ (ต่อ) จากการสอบทานอายุการใหประโยชนของสินทรัพย กลุมบริษัทไดเปลี่ยนประมาณการอายุการใหประโยชนของสินทรัพยในระหวางป ดังนี้ อายุการใหประโยชน (ป) พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 เรือลําเลียง เครื่องจักร

15 - 29 1 - 10

5 - 10 5 - 10

มาตรฐานการบัญ ่มเติม่ มเติคํามจํคำ�จำ�กั ากัดความของบุ คคลหรื อกิจอการที ่เกี่ยวข งกัอนงกัโดยให รวมถึรงวมถึ บุคคลหรื อ มาตรฐานการบั ญชีชีฉฉบับับบทีที่ ่ 2424(ปรั(ปรับปรุ บปรุง ง2552) 2552)ไดมได้ีการเพิ มกี ารเพิ ดความของบุ คคลหรื กิจการที เ่ กีย่ อวข้ น โดยให้ งบุคคล กิจอการที ่มีอําม่ นาจควบคุ มรวมในกิ จการจกิการ จการร มคาวทีมค้ ่กิจาการเป นผูรวมค ตอบแทนหลั งออกจากงานของ หรื กิจการที อี ำ�นาจควบคุ มร่วมในกิ กิจวการร่ ทีก่ จิ การเป็ นผูาร้ ว่ และโครงการผลประโยชน มค้า และโครงการผลประโยชน์ ตอบแทนหลั งออกจากงานของ พนั ก งานของกิ จ การ กลุ ม  บริ ษ ท ั จะเริ ม ่ นํ า มาตรฐานการบั ญ ชี ฉ บั บ ปรั บ ปรุ ง มาปฏิ บ ต ั ต ิ ง ้ ั แต 1 ตุ ล าคม พ.ศ. 2554 ซึ ง ่ จะมี ผ ลกระทบเฉพาะการ พนักงานของกิจการ กลุม่ บริษทั จะเริม่ นำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงมาปฏิบตั ติ ง้ั แต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ซึง่ จะมีผลกระทบเฉพาะ เปดเผยข อมูลอกิมูจลการที ่เกี่ยวข งกัอนงกั ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นเทานนัเท่้น านัน้ การเปิ ดเผยข้ กิจการที เ่ กีย่อวข้ นในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) กําหนดใหผลกระทบกับสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมทุกรายการจะตองรับรูในสวนของ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) กำ�หนดให้ผลกระทบกับส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ�นาจควบคุมทุกรายการจะต้องรับรูใ้ นส่วนของ เจาของหากรายการนั้นไมเปนการสูญเสียอํานาจการควบคุม และรายการเหลานั้นไมมีผลกระทบตอคาความนิยม หรือกําไรหรือขาดทุน เจ้ าของหากรายการนัน้ ไม่เป็นการสูญเสียอำ�นาจการควบคุม และรายการเหล่านัน้ ไม่มผี ลกระทบต่อค่าความนิยม หรือกำ�ไรหรือขาดทุน มาตรฐานการบั ธีกธารบั ญชีญในกรณี ที่สูญ มวาสมวว่นได ยคงเหลื อที่กิจการถื ตอองวัอยู ดมู่ตล้อคงวัาดดวมูยมู ติธรรม มาตรฐานการบัญญชีชีไดได้กํากหนดวิ ำ�หนดวิ ีการบั ชีในกรณี ท่ีสเสีูญยการควบคุ เสียการควบคุ าส่วเสีนได้ เสียคงเหลื อที่กอิจอยู การถื ลค่ลาคด้าวยุยมู ลค่า และรั บ รู ก  า ํ ไรหรื อ ขาดทุ น ในงบกํ า ไรขาดทุ น กลุ ม  บริ ษ ท ั จะเริ ม ่ นํ า มาตรฐานการบั ญ ชี ฉ บั บ ปรั บ ปรุ ง มาปฏิ บ ต ั ต ิ ง ้ ั แต 1 ตุ ล าคม พ.ศ. 2554 โดย ยุตธิ รรม และรับรูก้ ำ�ไรหรือขาดทุนในงบกำ�ไรขาดทุน กลุม่ บริษทั จะเริม่ นำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงมาปฏิบตั ติ ง้ั แต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. จะใชวโดยจะใช้ ิธีการเปลีว่ยธิ นทั นทีเปย่นนทั ตนนไปสํ สวนไดเสีบยทีส่ว่ไมนได้ มีอเําสีนาจควบคุ ม 2554 กี ารเปลี ทีเป็าหรั นต้บนรายการกั ไปสำ�หรับบรายการกั ยทีไ่ ม่มอี ำ�นาจควบคุ ม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เกี่ยวของกับภาษีเงินได ซึ่งรวมถึงภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน และภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินหรือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เกีย่ วข้องกับภาษีเงินได้ ซึง่ รวมถึงภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนีส้ นิ หรือ ทรัพพย์ยภภาษี านวณจากจํานวนที่คค่ าดว อัตอราภาษี สิสินนทรั าษีเเงิงินนได ได้ขของงวดป องงวดปัจจจุจุบบันนั คํคำ�นวณจากจำ�นวนที าดว่าาจะต จะต้อองจงจ่าายแก ยแก่หรืหรือได อได้รับรบัคืนคืนจากหน จากหน่วยงานจั วยงานจัดเก็ดเก็บภาษี บภาษีโดยใช โดยใช้ ตั ราภาษี และกฎหมายภาษี อ ากรที บ ่ ง ั คั บ ใช อ ยู ห  รื อ ที ค ่ าดว า จะมี ผ ลบั ง คั บ ใช ภ ายในสิ น ้ รอบระยะเวลาที ร ่ ายงาน ภาษี เ งิ น ได ร อการตั ด บั ญ ชี ค า ํ และกฎหมายภาษีอากรทีบ่ งั คับใช้อยูห่ รือทีค่ าดว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิน้ รอบระยะเวลาทีร่ ายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีนวณโดย คำ�นวณ อางอิงาจากผลแตกต างชั่วาคราวของฐานภาษี ของสินขทรั และมู คาตามบั ชีของสิ พยนหทรั รือพหนีย์ห้สินรือนัหนี ้นด้สวินยอันัต้นราภาษี ําหรับ โดยอ้ งอิงจากผลแตกต่ งชั่วคราวของฐานภาษี องสิพยนหทรัรือพหนี ย์ห้สรืินอหนี ้สินลและมู ลค่าญตามบั ญชีนขทรัองสิ ด้วยอัตสราภาษี งวดที่กบิจงวดที การคาดว าจะไดรับาประโยชน จากสินทรัจพากสิ ยภนาษีทรัเงิพนย์ไดภราษี อการตั ญชีหรือดในงวดที การ คาดว จะตองจาายชํ าระหนี ินภาษี โดยใช สำ�หรั ่กิจการคาดว่ จะได้รับประโยชน์ เงินได้ดบัรอการตั บัญชีหรื่กอิจในงวดที ่กิจาการคาดว่ จะต้ องจ่า้สยชำ�ระหนี ้สิน อัตราภาษี อากรที่บังคับอใชากรที อยูหบ่ รืงัอคัทีบ่คใช้ าดได งแนวคาอ่จะมี ลบังวคัา่ บจะมี ใชภผายในสิ ่รายงาน กลุมบริ ษัทจะ ภาษี โดยใช้และกฎหมายภาษี อตั ราภาษีและกฎหมายภาษี อยูห่ ครืออนข ทีค่ าาดได้ นข้ผางแน่ ลบังคั้นบรอบระยะเวลาที ใช้ภายในสิน้ รอบระยะเวลาที ร่ ายงาน เริ่มม่ นํบริ ามาตรฐานการบั ญชีฉบับนี้มาปฏิ ันที1่ บตุตั ลติ าคม ปรุงยอโดยการปรั นหลัง ซึ่งคาดว จะทํางใหซึง่ มคาดว่ ีเกิดรายการ กลุ ษทั จะเริม่ นำ�มาตรฐานการบั ญชีบฉัตบัิตบั้งแต นีม้ วาปฏิ ง้ั แต่พ.ศ. วนั ที2556 ่ 1 ตุลโดยการปรั าคม พ.ศ.บ2556 บปรุงาย้นอานหลั าน่าจะทำ�ให้ มีภาษี เกิดเรายการภาษี บัญชี และมี ลกระทบต่อกำ�ไรสะสมและค่ าใช้ผูจบา่ ริยภาษี เงินได้จการอยู ผูบ้ ริใหนระหว ารของกิ จการอยูใ่ นระหว่ างการ งินไดรอการตัเงิดนบัได้ ญรชีอการตั และมีดผลกระทบต อกําผไรสะสมและค าใชจายภาษีเงินได หารของกิ างการประเมิ นผลกระทบ ประเมิ นผลกระทบจากการปฏิ บตั ติ ญามมาตรฐานการบั ญชีฉบับนี้ จากการปฏิ บัติตามมาตรฐานการบั ชีฉบับนี้ มาตรฐานการบัญ กําหนดให กิจการต องกํอางกำ�หนดสกุ หนดสกุลเงินลทีเงิ่ในชทีในการดํ าเนินงานนงาน ซึ่งคือซึสกุ มาตรฐานการบั ญชีชีฉฉบับับบทีที่ ่ 2121(ปรั(ปรับปรุ บปรุง 2552) ง 2552) กำ�หนดให้ กจิ การต้ ใ่ ช้ในการดำ�เนิ ง่ คืลอเงิสกุนทีลเงิ่ใชนใทีนใ่ ช้ในสภาพ สภาพแวดล อมทางเศรษฐกิ ซึ่งกิจการดํ าเนินงานอยู  รายการที นตราต างประเทศต องแปลงค นสกุ ในการ นงาน แวดล้ อมทางเศรษฐกิ จหลักจซึหลั ง่ กิจกการดำ�เนิ นงานอยู ่ รายการที เ่ ป็น่เปเงินนเงิตราต่ างประเทศต้ องแปลงค่ าให้าให เป็เนปสกุ ลเงิลนเงิทีนใ่ ทีช้่ใใชนการดำ�เนิ ดําเนินองานโดยใช อัตราแลกเปลี ที่เกิดรายการ างของอั ตราแลกเปลี ขึ้นจากการชําระเงิ นของรายการที อ โดยใช้ ตั ราแลกเปลี ย่ น ณ ่ยวันนทีณเ่ กิวัดนรายการ ผลต่ผลต างของอั ตราแลกเปลี ย่ นที่ยเ่ นที กิด่เขึกิน้ ดจากการชำ�ระเงิ นของรายการที เ่ ป็น่เปตันวเงิตัวนเงิหรืนอหรืจาก จากการแปลงค ารายการที เงินในสกุ ตางประเทศให ปนกําไรหรื อขาดทุ นในงวดบั การแปลงคาผลการดำ�เนิ ผลการดําเนินงานและ การแปลงค่ ารายการที เ่ ป็น่เตัปวนเงิตันวในสกุ ลเงินลต่เงิานงประเทศให้ รบั รูรเ้ ป็ับนรูเกำ�ไรหรื อขาดทุ นในงวดบั ญชีญนน้ั ชีนั้น การแปลงค่ ฐานะการเงินของกิจการในกลุม่ บริษษัททซึซึ่งง่ มีมีสสกุกุลลเงิเงินนทีที่ใใ่ ชช้ใในการดํ นการดำ�เนิ งานแตกต่าางจากสกุ งจากสกุลลเงิเงินนทีที่ใใ่ชช้นนําำ�เสนองบการเงิ งแปลงค่าโดย าโดยก) ก) าเนินนงานแตกต เสนองบการเงินนตต้อองแปลงค สินทรัพย์ยและหนีส้ นิ ให ให้แปลงค ปลงค่าดด้วยอัตตราป ราปิดด ณณวันวันทีที่ของแต ข่ องแต่ละงบแสดงฐานะการเงิ ละงบแสดงฐานะการเงิน นข) ข)รายได รายได้ และค่ จา่ ยให้ แปลงค่ ด้วตยอัราตราแลก และค าใชาจใช้ายให แปลงค าดวายอั เปลี ย่ น ณ่ยนวัณ นทีวัเ่ กินดทีรายการ และและ ค) ผลต่ างของอั ตราแลกเปลี ย่ นทั่ยนทั ง้ หมดให้ รบั รูรใ้ ับนกำ�ไรขาดทุ นเบ็นดเบ็เสร็ จอืจน่ อืกลุ ม่ บริมบริ ษทั ษจะเริ ม่ นำ�มาตรฐาน แลกเปลี ่เกิดรายการ ค) ผลต างของอั ตราแลกเปลี ้งหมดให รูในกําไรขาดทุ ดเสร็ ่น กลุ ัทจะเริ ่มนํา การบั ญ ชี ฉ บั บ นี ม ้ าปฏิ บ ต ั ต ิ ง ้ ั แต่ ว น ั ที ่ 1 ตุ ล าคม พ.ศ. 2556 โดยใช้ ว ธ ิ ป ี รั บ ปรุ ง ย้ อ นหลั ง ผู บ ้ ริ ห ารของกิ จ การอยู ใ ่ นระหว่ า งการประเมิ นผลกระ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 โดยใชวิธีปรับปรุงยอนหลัง ผูบริหารของกิจการอยูในระหวางการ ทบจากการปฏิ บตั ติ ามมาตรฐานการบั ญชีฉบับนี้ ญชีฉบับนี้ ประเมินผลกระทบจากการปฏิ บัติตามมาตรฐานการบั

13


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

59

รายงานประจำ�ปี 2555

2 2.2

นโยบายการบัญชี (ตอ) มาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการบัญญชีชีฉฉบับับบทีที่ 8่ 8กํก�าำหนดให ่อใหอ่ ให้ ผูบผริบู้ หริารใช มาตรฐานการรายงานทางการบั หนดให้กกิจจิ การเป การเปิดดเผยข เผยข้ออมูมูลลสส่วนงานตามเกณฑ วนงานตามเกณฑ์การเสนอรายงานภายในเพื การเสนอรายงานภายในเพื หาร ใช้ ทั จะเริ น�ำมาตรฐานรายงานทางการเงิ นีม้ าปฏิ ตุลาคม ริหารอยู ใ่ นระหว่ างการประเมิ กลุกลุ มบริม่ ษบริัทษจะเริ ่มนําม่ มาตรฐานรายงานทางการเงิ นฉบันบฉบั นี้มบาปฏิ บัติตบั้งตั แตติ งั้วแต่ ันทีว่ 1นั ทีตุล่ 1าคม พ.ศ.พ.ศ. 25562556 ผูบริผูหบ้ ารอยู ในระหว างการประเมิ นผลน ผลกระทบในรายละเอี ด จํานวนของส แต่จำ� นวนของส่ วนงานที ร่ ายงานตลอดจนวิ ธกี ารรายงานส่ วนงานจะเปลี ย่ นแปลงไปเพื อ่ ให้อสงกั อดคล้ กระทบในรายละเอียด ยแต วนงานที ่รายงานตลอดจนวิ ธีการรายงานส วนงานจะเปลี ่ยนแปลงไปเพื ่อใหสอดคล บวิธอีกงกั ารบวิธี การน� ำเสนอรายงานภายในต่ อี ำ� นาจตั สินงใจสู ดด้านการด� เนินงาน นําเสนอรายงานภายในต อผูมอีอผูําม้นาจตั ดสินดใจสู สุดดงาสุนการดํ าเนินำงาน

2.3

เงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทยย่อยหมายถึ ยหมายถึงงกิกิจจการ การ(ซึ(ซึ่งรวมถึ ่งรวมถึงกิงจกิการเฉพาะกิ จการเฉพาะกิ อำ�นาจในการควบคุ มนโยบายการเงิ นและการดำ�เนิ งาน และ จ) จที)่กทีลุ่กมลุบริ่มษบริัทษมีัทอํามีนาจในการควบคุ มนโยบายการเงิ นและการดํ าเนินงานนและ โดยทั่วไปแล ไปแล้ววกลุ กลุม่มบริบริษษัทัทจะถื จะถืออหุหุน้นทีที่มีส่มิทีสธิ​ิทอธิอกเสี ออกเสี ยงมากกว่ กึ่งหนึ ่ง ในการประเมิ ัทมีการควบคุ ษัทออืไม่นหรื ไม่ อกิงจการ ยงมากกว ากึา่งหนึ ่ง ในการประเมิ นวาบรินษว่าัทบริ มีกษารควบคุ มบริษัทมอืบริ ่นหรื กิจอการต ต้พิอจงพิ จารณาถึ อยู่และผลกระทบจากสิ ทธิในการออกเสี งที่เป็ทนี่กไปได้ ที่กิจการสามารถใช้ สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนั ใน ง ารณาถึ งการมีงการมี อยูและผลกระทบจากสิ ทธิในการออกเสี ยงที่เปนยไปได ิจการสามารถใช สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนั ้นในปจจุบัน้นรวมถึ ปัสิทจธิจุใบนการออกเสี ันรวมถึงสิทยธิงที ในการออกเสี ่เป็น่นไปได้ การอื อยู่ด้วย กลุนของบริ ่มบริษษัทัทรวมงบการเงิ นของบริ ษัทย่้งแต อยไว้ ่เปนไปไดซึ่งกิยจงที การอื ถืออยูซดึ่งวกิยจกลุ มบริ่นษถืัทอรวมงบการเงิ ยอยไวในงบการเงิ นรวมตั วันใทีนงบการเงิ ่บริษัทควบคุนม รวมตั วันที่บริษ่งัทอํควบคุ มบริษมัทจะหมดไป ย่อยจนกระทั อำ�นาจควบคุ จะหมดไป กลุ่มษบริัทษยัทอยมารวมไว จะไม่นใน ำ�งบการเงิ ัทย่อยมารวมไว้ บริษัท้งยแต่ อยจนกระทั านาจควบคุ กลุม่งบริ ษัทจะไมนํามงบการเงิ นของบริ งบการเงินนของบริ รวมนับษจากวั นที่กลุม ใน งบการเงิ บจากวันทีม่กลุ่มบริษัทสูญเสียอำ�นาจควบคุม บริษัทสูญนเสีรวมนั ยอํานาจควบคุ กิจการจะตัดรายการบัญชีระหวางกิจการ ยอดคงเหลือ และรายการกําไรหรือขาดทุนที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงระหวางกลุมบริษัท นโยบายการ บัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมบริษัท เงินลงทุนในบริษัทยอยแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทโดยวิธีราคาทุน รายชื่อของบริษัทยอยไดเปดเผยไวในหมายเหตุ 10

2.4

การแปลงคาเงินตราตางประเทศ รายการตางๆ ในงบการเงินของแตละกิจการในกลุมบริษัทวัดมูลคาโดยใชสกุลเงินบาท งบการเงินรวมนําเสนอในสกุลเงินบาท กลุมบริษัทแปลงคารายการที่เปนเงินตราตางประเทศใหเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ และแปลงคาสินทรัพย และหนี้สินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินใหเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบแสดงฐานะ การเงิน รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจายชําระที่เปนเงินตราตางประเทศ และที่เกิดจากการแปลงคาสินทรัพยและ หนี้สินที่เปนตัวเงินดังกลาว ไดบันทึกไวในกําไรหรือขาดทุน

2.5

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงิ สดรวมและงบกระแสเงินนสดเฉพาะบริ สดเฉพาะบริษษัททั เงิเงินนสดและรายการเที สดและรายการเทียบเท ยบเท่าเงิาเงินนสดหมายรวมถึ สดหมายรวมถึ นสดในมื นฝากธนาคาร งเงิงนเงิสดในมื อ เงิอ นเงิฝากธนาคาร ประเภทจ่ ยคืนนเมืเมื่อ่อทวงถาม ทวงถามเงิเงินนลงทุ ลงทุนนระยะสั ระยะสั้นอื้น่นอืที่น่มที​ีส่มภาพคล ีสภาพคล่ มีอไายุ กินสามเดื บจากวั ่ได้มาและเงิ ประเภทจาายคื องสูองงสูซึ่งงมีซึอ่งายุ มเกิไม่นเสามเดื อนนัอบนนั จากวั นที่ไดนมทีาและเงิ นเบิกนเกิเบินบักเกิ ญนชี บัเงิญนชี เงิเบินกเบิ ก เกิ น บั ญ ชี จ ะแสดงไว้ ใ นส่ ว นของหนี ส ้ น ิ หมุ น เวี ย นในงบแสดงฐานะการเงิ น รวมและงบแสดงฐานะการเงิ น เฉพาะบริ ษ ท ั เกินบัญชีจะแสดงไวในสวนของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท

2.6

ลูกหนี้การคา ลคลาค่ตามใบแจ งหนีง้ หนี และจะวั ดมูลดคมูาตลอค่มาด ยจํานวนเงิ นที่เหลืนอทีอยู่เหลื หักอดอยู วยค่หาักเผืด้่อวหนี จะสู้สญงสัยจะสูญ ลูลูกกหนี หนี้ก้การค ารค้าารัรับบรูรูเริ้เ่มริ่มแรกด แรกด้วยมู วยมู าตามใบแจ้ ้ และจะวั าต่อวมาด้ วยจ�ำนวนเงิ ยค่้สางสั เผื่อยหนี งสัย้สจะสู หมายถึ งผลตงาผลต่ งระหว างราคาตามบั ญชีของลู ้การค า ้การ ซึ่งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลื ประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ อณ ณวันสิวั้นปสิ้นคปีาเผืค่​่อาหนี เผื่อ้สหนี งสัยญจะสู ญหมายถึ างระหว่ างราคาตามบั ญกชีหนี ของลู กหนี ยบเที ยบกัยบบกัมูลบคมูาลทีค่​่คาาดว าจะได รับจากลู กหนี้การค หนี้สาูญหนี ที่เกิ้สดูญขึ้นทีจะรั วในกํบารู้ไไรหรื นสวนหนึ าใช่งจของค่ ายในา ค้เปรี าเปรี ยบเที ที่คาดว่ าจะได้ รับจากลู หนี้กาารค้ ่เกิดบขึรู้นไจะรั ว้ในก�อขาดทุ ำไรหรืนอโดยถื ขาดทุอเป นโดยถื อเป็น่งของค ส่วนหนึ ใช้ จ่ายในการบริ หาร การบริ หาร

14


บริษัท ยูนิค ไมนิ ่ง เซอร์วิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 60บริ บริษษั​ัทท ยูยูนนคคิ​ิ ไมนิ ไมนิ่ง่ง เซอร์ เซอร์ ววสสิ​ิ เซส เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะบริ เฉพาะบริษษั​ัทท สํสําาหรั หรับบปีปี สิสิ้​้นนสุสุ ดดวัวันนทีที่​่ 30 30 กักันนยายน ยายน พ.ศ. พ.ศ. 2555 2555 และ และ พ.ศ. พ.ศ. 2554 2554

22 2.7 2.7

นโยบายการบั นโยบายการบัญ ญชีชี (ต (ตออ)) สิสินนคคาาคงเหลื คงเหลืออ ธธีถีถธัวัวถี เฉลี ่ย่ยถถย่ ววถ่งน้ ําําหนั กก ก สิสินนค้คคาาคงเหลื แสดงด้ววยราคาทุ ยราคาทุนนนหรื หรือออมูมูมูลลลคคค่าาาสุสุสุทททธิธิธิททที่จี่จจี่ ะได ะได้รรรับับบั แล แล้วววแต แต่รรราคาใดจะต่ าคาใดจะต�ําําำกว ่ กว่าาาราคาทุ ราคาทุนนของสิ นของสินนคคนาาค้คํคําาาค�นวณโดยวิ ำนวณโดยวิ วั เฉลี ำ้ หนั คงเหลืออแสดงด แสดงด ยราคาทุ หรื ะได แล แต าคาใดจะต่ กว ราคาทุ ของสิ นวณโดยวิ เฉลี งน้วงน� หนั ต้ตตนนทุทุนนของการซื ประกอบด้ววยยย ราคาซื ราคาซื้อ้ออ้ และค่ าใช้จจาาจยที า่ ยที่เ่เกีกีเ่ ่ย่ยกีวข ย่ วข้อองโดยตรงกั องโดยตรงกับบการซื บการซื อากรขาเข้าาาและค และค่าาาขนส ขนส่งงงหัหัหักกกดดด้วววยยย และค ้อ้อสิสิอ้ นนสิคคนาาค้นันัา้น้นนัน้ เช่ เช คคาาาอากรขาเข ของการซื้อ้อประกอบด ประกอบด ราคาซื และคาาใช ใช ยที วข งโดยตรงกั การซื เชนนน ค่ อากรขาเข และค ขนส ส่สวนลดจากการจ นลดจากการจ่ายเงินตามเงื่ออ่ นไข นไข ต้นทุนของสินนคค้าาคงเหลื คงเหลือประกอบด้ววยค ยค่าวัตถุดบิ ค่าแรงทางตรงคค่าาใชใช้จจาา่ ยอืยอื่นน่ ทางตรง ทางตรง และค่าาโสหุ โสหุย้ ใน สวนลดจากการจายเงินนตามเงื ตามเงื่อนไข ตตนนทุทุนนของสิ ของสินคาคงเหลืออประกอบด ประกอบดวยคาาวัวัตตถุถุดดิบิบ คคาาแรงทางตรง แรงทางตรง คาใชจายอื่นทางตรง และค และคาโสหุยยใน ใน การผลิ ตซึซึ่งง่ ปปันนสส่ววนตามเกณฑ นตามเกณฑ์กการดํ ารด�าำเนิเนินนงานตามปกติ งานตามปกติแตแต่ไมไรม่วมต รวมต้ นนทุการกู นการกู ย้ มืมูลมูคลาสุค่ทาสุธิทที่จธิะได ทจี่ ะได้ รประมาณจากราคาที บั ประมาณจากราคาที ค่ าดว่ าจะขาย การผลิ ต น ทุ ย  ม ื ร บ ั ค ่ าดว า จะขายได การผลิตซึ่งปนสวนตามเกณฑการดําเนินงานตามปกติ แตไมรวมตนทุนการกูยืม มูลคาสุทธิที่จะไดรับ ประมาณจากราคาที่คาดวาจะขายได ได้ ตามปกติของธุ รกิจหักด้วยค่ าใช้จา่ ยที จ่ ำ� เป็น่อเพืใหอ่ สให้ินคสานิ นัค้​้นาสํนัาน้ เร็ส�จำรูเร็ปจรวมถึ รูปรวมถึงค่าจใช้ จา่ ยในการขาย กลุ ม่ บริษทั บันชีทึคกาบัเผืญ่อชีการลด คา่ เผือ่ การลด ตามปกติ ตามปกติขของธุ องธุรรกิกิจจหัหักกดดววยค ยคาาใช ใชจจาายที ยที่จ่จําําเป เปนนเพื เพื่อใหสินคานั้นสําเร็จรูปรวมถึงงคคาาใช ใชจาายในการขาย ยในการขายกลุ กลุมมบริ บริษษัทัทบับันนทึทึกกบับัญ ญชีคาเผื่อการลด มูมูลลคค่าาของสิ ของสินค้าเก่าา ลล้าาสมั สมัยหรืออเสืเสื่ออ่ มคุ มคุณภาพเท ภาพเท่าทีจ่ ำ� เป็นน มูลคาของสินนคคาาเก เกา ลาสมัยยหรื หรือเสื่อมคุณ ณภาพเทาาทีที่จ่จําําเป เปน

2.8 2.8

สิสินนทรั ทรัพ พยยไไมมมมีตีตัวัวตน ตน สิสินนทรั พ ย ไ ม ม ต ี ว ั ตนของกลุ ทรัพยไมมีตัวตนของกลุมมบริ บริษษัทัท ได ไดแแกก โปรแกรมคอมพิ โปรแกรมคอมพิววเตอร เตอร สิสิททธิธิกการใช โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร โ ดยที ซ ่ อ ้ ื มามี ล ก ั ษณะเฉพาะบั ารใชโปรแกรมคอมพิวเตอรโดยที่ซื้อมามีลักษณะเฉพาะบันนทึทึกกเป เปนนสิสินนทรั ทรัพพยย โดยคํ โดยคําานวณจากต นวณจากตนนทุทุนนในการได ในการไดมมาและการดํ าและการดําาเนิ เนินนการ การ ให โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร น น ้ ั สามารถนํ า มาใช ง านได ต ามประสงค โดยจะตั ด จํ า หน า ยตลอดอายุ ป ระมาณการให ป ระโยชน ภ ายในระยะเวลา ใหโปรแกรมคอมพิวเตอรนั้นสามารถนํามาใชงานไดตามประสงค โดยจะตัดจําหนายตลอดอายุประมาณการใหประโยชนภายในระยะเวลา ไม ไมเเกิกินน 33 -- 10 10 ปป

2.9 2.9

ทีที่ด่ดินิน อาคาร อาคาร และอุ และอุปปกรณ กรณ ทีที่ด่ดินิน อาคาร และอุ ป กรณ แสดงในงบแสดงฐานะการเงินนดดววยต นนทุทุนนเริเริ่ม่มแรกหั กกคคาาเสื ่อมราคาสะสมและค าาเผื ออยค (ถ )) ตตนนทุทุนน มราคาสะสมและค เผื่อ่อาการด การด ยคาาอยค่ (ถาาามีมี(ถ้ ที่ดิน อาคาร อาคาร และอุ และอุปปกรณ กรณ์แแสดงในงบแสดงฐานะการเงิ สดงในงบแสดงฐานะการเงินด้ยต วยต้ นทุนเริแรกหั ่มแรกหั กเสืค่า่อเสื ่อมราคาสะสมและค่ เผื่อการด้ ามี) ต้นทุน เริ เริ่ม่มแรกจะรวมต แรกจะรวมตนนทุทุนนทางตรงอื ทางตรงอื่น่นๆๆ ทีที่เ่เกีกี่ย่ยวข วขอองกั งกับบการซื การซื้อ้อสิสินนทรั ทรัพพยยนนั้นั้น

เริ่มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินทรัพย์นั้น ญ ชีชีขขชีองสิ นนทรั ยยหหพรืรืออย์รัรัหบบรืรูรูอแแรัยกเป นนอีอีกกสิสินนนอีทรั หหนึนึพ่ง่งย์ตามความเหมาะสม เมื ทุทุนน่อนันัต้​้น้นนเกิ ภายหลั จะรวมอยู นมู ตามบั ญญ องสิ ทรันพพทรั ยกเป ทรั ตามความเหมาะสม เมื่อ่อตตนนเมื เกิทุดดนขึขึนั้น้น้น ต้ตตนนทุทุนนทีที่เ่เกิกิดดดขึขึขึ้น้น้นภายหลั ภายหลังงงจะรวมอยู จะรวมอยูใในมู ่ในมูลลคคลาาค่ตามบั าตามบั ของสิ บรู้แยกเป็ กสิพพนยยทรั หนึ่งตามความเหมาะสม และคาดว าาจะให ชิชิงงเศรษฐกิ ในอนาคตแก บบริริษษัทัทและต ดัดังงกล ดดมูมูลลคคาาได ตามบั เกิ ดขึ้นและคาดว่ จะให้ปเเระโยชน์ เชิงจจเศรษฐกิ จในอนาคตแก่ บรินนษทุทุัทนนและต้ นดังกล่าวสามารถวั ลค่าาาเชื งน่จจาะตั เชืดด่อมูมูถืลลอคคาาและจะตั และคาดว จะใหปปาระโยชน ระโยชน เศรษฐกิ ในอนาคตแก และต กลนาาทุวสามารถวั วสามารถวั ไดออดยยมูาางน งน เชืได้่อ่ออถืถืย่ออาและ และ ะตั ตามบัญ ญชีชีด สสววนที ่ถ่ถูกูกชีเปลี ่ย่ยนแทนออก าาหรั คคาาซซออมแซมและบํ ่น่น ๆๆ บริ รูรูตตนน่นทุทุนนๆดัดังงบริ กล นนคคบาารูใช าาไรหรื มูของชิ ลค่า้น้นตามบั ของชิ ้นส่วนที่ถูกสํสํเปลี ส�ำหรับาาค่รุรุงงารัรัซ่กกอษาอื มแซมและบ� งรักบบษาอื ัทจะรั นดังกล่ าวเป็ออขาดทุ นค่าใช้นนจเมื ของชิ นทีญ เปลี นแทนออก หรั่ยบบนแทนออก มแซมและบํ ษาอื บริษษัทัทำรุจะรั จะรั กลษาาวเป วเป ใช้ต้นจจาาทุยในกํ ยในกํ ไรหรื ขาดทุ เมื่า่อ่อย เกิ ในก� เกิดดขึขึำ้น้นไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ทีที่ด่ดินินไม ไมมมีกีการคิ ารคิดดคคาาเสื เสื่อ่อมราคา มราคา คคาาเสื เสื่อ่อมราคาของสิ มราคาของสินนทรั ทรัพพยยออื่นื่นคํคําานวณโดยใช นวณโดยใชววิธิธีเีเสสนนตรงเพื ตรงเพื่อ่อลดราคาทุ ลดราคาทุนนแต แตลละชนิ ะชนิดดตลอดอายุ ตลอดอายุกการให ารใหปประโยชน ระโยชน ทีที่ป่ประมาณการไว ข องสิ น ทรั พ ย ด ง ั ต อ ไปนี ้ ระมาณการไวของสินทรัพยดังตอไปนี้ สสววนปรั นปรับบปรุ ปรุงงทีที่ด่ดินิน อาคาร อาคาร ยานพาหนะ ยานพาหนะ เรื เรืออลํลําาเลี เลียยงง เครื เครื่อ่องจั งจักกรร อุอุปปกรณ กรณสสําํานันักกงาน งาน

ตามอายุ ตามอายุสสัญ ัญญาเช ญาเชาาทีที่ด่ดินิน 33 -- 20 20 ปป 33 -- 20 20 ปป 55 ปป 15 15 -- 29 29 ปป 11 -- 10 10 ปป 55 ปป

ทุทุกกสิสิ้น้นรอบระยะเวลารายงาน รอบระยะเวลารายงาน ได ไดมมีกีการทบทวนและปรั ารทบทวนและปรับบปรุ ปรุงงมูมูลลคคาาคงเหลื คงเหลืออและอายุ และอายุกการให ารใหปประโยชน ระโยชนขของสิ องสินนทรั ทรัพพยยใใหหเเหมาะสม หมาะสม ในกรณี าคาตามบั าดว าาจะได รับคืนน ราคาตามบั ญชีชีจจะถู กปรับบลดให เทากับมูลคาทีที่ค่คาดว าจะไดรรับับคืคืนนทัทันนทีที ในกรณีทที่รี่ราคาตามบั าคาตามบัญญ ญชีชีชีสสสงู ูงูงกว่กว กวาาามูมูมูลลลค่คคาทีาาทีทีค่ ่ค่คาดว่ าดวาจะได้ จะได ราคาตามบั ลดให รบั รคืับนคืราคาตามบั ญชีญจะถู กะถูปรักบปรัลดให้ เท่ากัเทบามูกัลบค่มูาลทีคค่ าาดว่ าาดว จะได้าจะได รบั คืนทันที (หมายเหตุ 2.10) (หมายเหตุ (หมายเหตุ 2.10) 2.10) ผลก� ำไรหรืออขาดทุ ขาดทุนทีเ่ กิดจากการจ�าำหน หน่ายที่ดด่ ินนิ อาคาร อาคาร และอุปปกรณ กรณ์คำ� นวณโดยเปรียยบเที บเทียบจากสิ่งงตอบแทนสุ ่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั จากการจ�าหน ำหน่าย ผลกํ ผลกําาไรหรื ไรหรือขาดทุนนทีที่เ่เกิกิดดจากการจํ จากการจําหนาายที ยที่ดิน อาคาร และอุ และอุปกรณคคําํานวณโดยเปรี นวณโดยเปรียบเทียยบจากสิ บจากสิ่งตอบแทนสุททธิธิทที่ไี่ไดดรรับับจากการจํ จากการจําหนาายย สิสินนทรั ทรัพย์กับมูลค่าตามบัญญชีชีขของสิ องสินทรัพพย ย์และจะรวมไว และจะรวมไว้ในก� ำไรหรือขาดทุ น สินทรัพพยยกกับับมูมูลลคคาาตามบั ตามบัญชีของสินนทรั ทรัพย และจะรวมไวใในกํ นกําาไรหรื ไรหรืออขาดทุ ขาดทุนน

ดอกเบีย้ จากการกูย้ มื เงินมาใช้ในการได้มาซึง่ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ได้บนั ทึกเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนของสินทรัพย์นนั้ ตลอดช่วงเวลา ดอกเบี ้ย้ยจากการกู ยยืมืมเงิ นมาใชใในการได มาซึ่ง่งทีที่ด่ดินิน อาคาร และอุปปกรณ ไไดดบบันันทึทึกกเป ่งของตนนทุทุนนของสิ นทรัพยนนั้นั้นตลอดช วงเวลาการ ดอกเบีอสร้ จากการกู อาคาร เปต้นนนทุสสนววนหนึ นหนึ ตลอดช การก่ างและเตรี ยเงิมสินมาใช นทรัพย์นการได นนั้ ให้อมยูาซึ ใ่ นสภาพพร้ อมทีและอุ จ่ ะใช้ได้กรณ ตามประสงค์ การกู่งย้ ของต มื อืน่ รับรูเ้ ของสิ ป็นค่านใช้ทรัจพา่ ยยในก� ำไรหรือวงเวลาการ ขาดทุน กกออสร สราางและเตรี งและเตรียยมสิ มสินนทรั ทรัพพยยนนั้นั้นให ใหออยูยูใในสภาพพร นสภาพพรออมที มที่จ่จะใช ะใชไไดดตตามประสงค ามประสงค ตตนนทุทุนนการกู การกูยยืมืมอือื่น่นรัรับบรูรูเเปปนนคคาาใช ใชจจาายในกํ ยในกําาไรหรื ไรหรืออขาดทุ ขาดทุนน

15 15


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) บริ ษษั​ัทท ยูยูนนคคิ​ิ ไมนิ จํจําากักัดด (มหาชน) บริ ไมนิ่ง่ง เซอร์ เซอร์ ววสสิ​ิ เซส เซส (มหาชน)นเฉพาะบริษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ นนรวมและงบการเงิ นนเฉพาะบริ ษษั​ัทท รวมและงบการเงิ เฉพาะบริ สํหมายเหตุ าหรับปี สิ้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 สํสําาหรั หรับบปีปี สิสิ้​้นนสุสุ ดดวัวันนทีที่​่ 30 30 กักันนยายน ยายน พ.ศ. พ.ศ. 2555 2555 และ และ พ.ศ. พ.ศ. 2554 2554 2 22 2.10 2.10 2.10

61

รายงานประจำ�ปี 2555

นโยบายการบัญชี (ตอ) นโยบายการบั ญ อ) นโยบายการบั ญชีชีน(ต (ต การดอยคาของสิ ทรัอพ) ย การด อยคาาของสิ นนทรั ยย การด ทรัพ พประโยชน สินทรัอพยค ยย์ทที่มี่มของสิ ีอีอายุ กการให น คนาความนิ ยม)ยซึม)่งไมซึม่งไม่ ีการตั จําหน กทดสอบการด อยคาเป นประจํ ทุกป ำทุกปี ายุ ารให้ ป ระโยชน์ไไมมไม่ทททราบแน ราบแน่ชชัดัดชัด(เช (เช่ ค่าความนิ มีกดดารตั ดจ�าาำยจะถู หน่ายจะถู กทดสอบการด้ อยค่ าเป็นาาประจ� สิสินนทรั พพยยทที่มี่มีอีอายุ กการให ปประโยชน ราบแน (เช นน คคาาความนิ ยยม) ซึซึ่ง่งไม มมีกีการตั จํจําาหน ยจะถู กกทดสอบการด ออยค าาเป นนประจํ ทุทุกกปป ทรั ายุ ารให ระโยชน ไ ม ท ราบแน ช ด ั (เช ความนิ ม) ไม ารตั ด หน า ยจะถู ทดสอบการด ยค เป ประจํ า สินทรัพยย์ออื่นื่นทีที่ม่มีกีการตั อยค า เมืา ่อเมืมี่อเหตุ หรือหสถานการณ บงชี้วบา่งราคาตามบั ญชีอาจต่ กวามูำ่ ลกว่ คาทีมู่คลาดว ารตัดดจํจ�าำหน หน่าายจะมี ยจะมีการทบทวนการด การทบทวนการด้ อยค่ มีเกหตุารณ การณ์ รือสถานการณ์ ชี้ว่าราคาตามบั ญชีอําาจต� ค่าทีา่ สิสินนทรั พพยยออื่นื่นทีที่ม่มีกีการตั ดดจํจําาหน าายจะมี กการทบทวนการด ออยค าา เมื ่อ่อมีมีเเหตุ กการณ หหรืรืออสถานการณ บบงงชีชี้ว้วาาราคาตามบั ญ ชีชีออาจต่ ําํากว าามูมูลลคคาาทีที่ค่คาดว า ทรั ารตั หน ยจะมี ารทบทวนการด ยค เมื หตุ ารณ สถานการณ ราคาตามบั ญ าจต่ กว าดว คาดว่ รับคืน รายการขาดทุ จะรับรู้เมื่อญ ราคาตามบั ลค่าาจะได สุทธิทรับี่คคืาดว่ าจะได้งรจํับานวน คืน ซึ่งา จะไดราับจะได้ คืน รายการขาดทุ นจากการดนอจากการด้ ยคาจะรับอรูยค่ เมื่อาราคาตามบั ชีของสินทรัญพชียขสองสิ ูงกวนาทรั มูลพคย์าสุสทูงกว่ ธิทาี่คมูาดว ซึน่งหมายถึ จะได รับคืนน รายการขาดทุ นนจากการด อยคาาจะรั บบรูรูเเมืมื่อ่อราคาตามบั ญชีชีขของสิ นนทรั พยยสสูงูงกว าามูมูลลคคาาสุสุททธิธิทที่คี่คาดว าจะได รับคืซึซึนน่ง่งหมายถึ งจํานวน จะได จากการด องสิยบกั ทรั หมายถึ จ�ำรายการขาดทุ นวนที ากงมูตนลทุอค่ยค ตจะรั ิธรรมหั กต้ยราคาตามบั นบกั ทุนบในการขายเที ลพค่ยากวจากการใช้ ทรัาดว ย์า่เจะถู นหมายถึ หน่วยทีงจํ่เล็านวน กที่สุดที่ ที่สูงกวรับางคืระหว างมูล่สคูงากว่ ยุตาิธระหว่ รรมหั นายุในการขายเที มูลคาญจากการใช สบินพมูทรั จะถู กจัดเปสนินหน วพยที ล็จะได กทีก่สจัรุดับดทีคืเป็ ่สามารถแยก ทีสามารถแยกออกมาได้ ่ทีส่สูงูงกว า ระหว า งมู ล ค า ยุ ต ธ ิ รรมหั ก ต น ทุ น ในการขายเที ย บกั บ มู ล ค า จากการใช ส น ิ ทรั พ ย จะถู ก จั ด เป น หน ว ยที เ ่ ล็ ก ที ส ่ ด ุ ที ส ่ ามารถแยก กวาระหว ายุตเพื ิธรรมหั ทุนในการขายเที มูทรัลพคายอจากการใช สินพพทรัยย์ททพางการเงิ ่เล็นกานอกเหนื ทีความนิ ่สุดที่สยามารถแยก วัตกถุตปนระสงค์ องการประเมิ ทรั ไี่ ยม่จะถู ใช่สกนิ นจัทรัดนอกเหนื พเปย์นทหน างการเงิ อมซึ จากค่ ออกมาได เพื่อาวังมู ตถุลปคระสงค ข่อองการประเมิ นขการด อยคยาบกัสินบนการด้ ทยค่ ี่ไมาใ สิ ชสินนทรั อวยที จากค ่งรับารูรความนิ ายการยม ออกมาได เพื อ ่ วั ต ถุ ป ระสงค ข องการประเมิ น การด อ ยค า สิ น ทรั พ ย ท ไ ่ ี ม ใ ช ส น ิ ทรั พ ย ท างการเงิ น นอกเหนื อ จากค า ความนิ ย มซึ ง ่ รั บ รู ร  เพื่อวัตอถุยค ประสงค นนการด อยคนกาไปได สินทรั ยทบี่ไมรายการขาดทุ ใชนสไปได้ ินทรัพทยี่จทะกลั นนอกเหนื ความนิ รับรูรวัายการ ายการ ซึออกมาได ่งรับรูน้รจากการด ายการขาดทุ นาจากการด้ อยค่ าไปแล้ ว จะถู ประเมิ ความเป็ บรายการขาดทุ อยค่ยมซึ า ่งณ นสิ้นรอบ ขาดทุ ไปแลของการประเมิ ว จะถู กประเมิ ความเป ที่จนพะกลั นางการเงิ จากการด อยคา ณอนจากค วัจากการด้ นสิ้นารอบระยะเวลารายงาน ขาดทุ น จากการด อ ยค า ไปแล ว จะถู ก ประเมิ น ความเป น ไปได ท จ ่ ี ะกลั บ รายการขาดทุ น จากการด อ ยค า ณ วั น สิ น ้ รอบระยะเวลารายงาน ระยะเวลารายงาน ขาดทุนจากการดอยคาไปแลว จะถูกประเมินความเปนไปไดที่จะกลับรายการขาดทุนจากการดอยคา ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน

2.11 สัญญาเชาระยะยาว 2.11 2.11 สัสัญ ญญาเช ญาเชาาระยะยาว ระยะยาว กรณีที่กลุ่มบริ ษัทเป็ นผูเ้ ช่า กรณี ทที​ี ่ก่กลุลุ่ม่มบริ กรณี บริ ษษัทัทเป็ เป็่อนนเชผูผูเเา้​้ ช่ช่สิาานทรัพยซึ่งผูใหเชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเปนสวนใหญ สัญญาเชานั้นถือเปน สัญญาระยะยาวเพื ญญาระยะยาวเพื ่อ่อ่อเช พยซึ่งึ่งซผูผูึ่งใใผูหห้ใเเห้ชชเาาช่เป นนผูผูนรรผูับับ้รความเสี ่ยงและผลตอบแทนของความเป นเจาของเป นสวนใหญ สัญญาเช นันั้น้นถืถืออาเป สัสัสัญ ญาระยะยาวเพื ่ย(สุงและผลตอบแทนของความเป็ เจ้าของเป็ น) ส่จะบั วนใหญ่ สัญาาาญาเช่ นั้นนนถือน เชเช่เงิาาาสิสินสินนทีนทรั ทรั ของเป เป ญญาระยะยาวเพื ญาเช าดําเนินงาน ่ตทรั อพงจพยย์าซยภายใต สเปาัญเป็ ญาเชความเสี าับดัความเสี งกลา่ยวงและผลตอบแทนของความเป ทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไนดเจรับานจากผู ในหสเชวานใหญ นสัทึญกญาเช ในกํ ไรหรื อขาดทุ สัสัญ าดําเนิ นนทีที่ต่ตเงิออนงจ สัญญาเช ดัดังงกล ททธิธิาจจวากสิ งงใจที จากผู าา)) จะบั าาไรหรื ขาดทุ เป็ สัญวิธญาเช่ เนินเงิเงิงาน ้องจ่ายภายใต้ สัญาาญาเช่ (สุท่ง่งตอบแทนจู ธิจากสิ่งตอบแทนจู ้ให้นนเช่ทึทึากก)ในกํ จะบั นทึกออในก� ำไรนน ญนญาเช ญาเช เนิาด�นนำงาน งาน งจทีญาา่ตยภายใต ยภายใต กลาาววดัง(สุ (สุกล่ ากสิ ตอบแทนจู ใจที่ไ่ไดดรรับับงใจที จากผู่ได้ใใรหหับเเชชจากผู จะบั ในกํ ไรหรื ขาดทุ โดยใช ีเาสดํนาตรงตลอดอายุ ของสั ญาเช านัส้นัญญาเช โดยใช ววิธิธีเีเสสนนนโดยใช้ ตรงตลอดอายุ ขของสั ้น้น ญญาเช่านั้น หรื อขาดทุ วิธีเส้นตรงตลอดอายุ โดยใช ตรงตลอดอายุ องสัญ ญญาเช ญาเชขาานันัองสั สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณซึ่งผูเชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเกือบทั้งหมดถือเปนสัญญาเชา นผูนรผูับ้รความเสี ่ย่ยงและผลตอบแทนของความเป นเจาานของเกื อบทั้ง้งอหมดถื อเปนนสัสัอญ สัสัญ ญาเช่าาาทีทีที่ด่ด่ดินินินอาคาร อาคารและอุ และอุปปกรณ กรณ์ซซึ่งึ่งซผูผูึ่งเเผูชช้เาาช่เป าเป็ ับความเสี ่ยงและผลตอบแทนของความเป็ เจ้าของเกื บทั้งหมดถื เป็ญาเช นสัญาาญาเช่า ญญาเช ญาเช กรณ งและผลตอบแทนของความเป หมดถื ญาเช การเงิ น ซึ่งจะบันอาคาร ทึกเปนและอุ รายจาปยฝ ายทุนดวยมูเปลนคผูารยุับตความเสี ิธรรมของสิ นทรัพยที่เชา หรือมูลคาปจจุบนเจ ันสุทของเกื ธิของจํอบทั านวนเงิ นทีอ่ตเปองจ าญยตามสั ญญา การเงิ ซึ่งจะบั ทึกนนเป็ นรายจ่ ยฝ่นนาดดยทุววยมู นด้ลลวคคยมู ายุติธรรมของสิ ย์ทออี่เมูมูช่ลลาคคาาปปหรืจจอจุจุบบมูันันลสุสุค่ททาธิธิปัขขจองจํ จุบันาานวนเงิ สุทธิขนนองจ� นที่ตญ ้องจ่ นนน ซึซึ่ง่งจะบั นนทึทึนกกเป รายจ าายฝ าายทุ าายุยุลตตค่ิธิธรรมของสิ นนทรั พพยยนทททรั ี่เี่เชชาาพหรื ทีที่ต่ตำออนวนเงิ งจ าายตามสั ญา การเงิ จะบั เป รายจ ยฝ ยทุ ยมู รรมของสิ ทรั หรื องจํ นวนเงิ งจ ยตามสั ญ ญาาย เชา แลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา ตามสั ญาเช่ วแต่ําํามกว ูลค่าาาใดจะต�่ำกว่า เช มมูลูลคคา าาแล้ ใดจะต่ เชาา แล แลญววแต แต ใดจะต่ กว นที่ตองจายดังกลาวจะปนสวนระหวางหนี้สินและคาใชจายทางการเงินเพื่อใหไดอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอหนี้สินคงคางอยู โดย จ�จํจํจํำาาานวนเงิ งจ่าาายดั ยดังงงกล กล่าาาวจะป วจะปันนนสสววส่นระหว วนระหว่ างหนี ินและค่ จ่ายทางการเงิ ่อไไดดให้ออไัตัตด้ราดอกเบี อัตราดอกเบี ้ย่ต่ตคงที ้สินาาคงค้ งอยู่ โดย นวนเงิ นนนทีทีที่ต่ต่ตออ้องจ าางหนี ้ส้สินิน้สและค าาใช าายทางการเงิ นนเพื ให ้ย้ยคงที ออหนี ินินหนี คงค งอยู าโดย นวนเงิ งจ ยดั กล วจะป นระหว งหนี และค ใชาจจจใช้ ยทางการเงิ เพืน่อ่อเพื ให ราดอกเบี คงที หนี่ตา้ส้ส่อการเงิ คงค งอยู โดย พิพิจจารณาแยกแต ล ะสั ญ ญา ภาระผู ก พั น ตามสั ญ ญาเช า หั ก ค า ใช า  ยทางการเงิ น จะบั น ทึ ก เป น หนี ส ้ น ิ ตามสั ญ ญาเช น ส ว นดอกเบี ารณาแยกแต่ลละสัะสัญญญาญาภาระผู ภาระผู พันตามสั ญญาเช่ กจค่าายทางการเงิ ใช้จ่ายทางการเงิ ทึก้สเป็ินตามสั นหนี้สญินญาเช ตามสัาญ ญาเช่ น ้ย้ยส่วน พิพิจจารณาแยกแต กกพัพันนกตามสั ญ ญาเช าาหัหักกคคาาาหัใช นนจะบั นนนทึทึจะบั กกเป นนนหนี การเงิ นน สสาววการเงิ นดอกเบี ารณาแยกแต ล ะสั ญ ญา ภาระผู ตามสั ญ ญาเช ใช จ า  ยทางการเงิ จะบั เป หนี ส ้ น ิ ตามสั ญ ญาเช า การเงิ นดอกเบี ้ย้สินที่ จายจะบั้ยนจ่ทึากยจะบั ในกํานไรหรื อขาดทุ นตลอดอายุ ขตลอดอายุ องสัญญาเชขาองสั เพื่อญทําญาเช่ ใหอัตาราดอกเบี ้ยแต ลราดอกเบี ะงวดเปน้ยอัแต่ ตราคงที ่สําหรันบอัยอดคงเหลื อหรั ของหนี ดอกเบี ทึ ก ในก� ำ ไรหรื อ ขาดทุ น เพื ่ อ ท� ำ ให้ อ ั ต ล ะงวดเป็ ต ราคงที ่ ส � ำ บ ยอดคง จจาายจะบั นทึกในกําาไรหรื อขาดทุ ขของสั ญ าาเพื ่อ่อทํทําาให ้ย้ยแต ะงวดเป อัอัตตราคงที ่ส่สําําหรั บบ ยอดคงเหลื ออของหนี ้สินินทีที่​่ ขาดทุนนญตลอดอายุ ตลอดอายุ องสั ญญาเช ญาเช เพื่อมราคาตลอดอายุ ใหออัตัตราดอกเบี ราดอกเบี แตงลลานของสิ ะงวดเปนนนทรั ยอดคงเหลื ของหนี เหลืยจะบั อออยู  นสิทึนกทรั้สในกํ พนยทีท่เไรหรื ี่ไดมออาตามสั ญาเช าทการเงิ นจะคิ ดคญาญาเช่ เสื กค่ารใช พราคงที ยที่เชกาารใช้ หรืหรัองอายุ ของสัญ ญาเช า ี่เแล ว้สหรื แตอ เหลื ของหนี ิ หลื อยู ่ สิ น ทรั พ ย์ ่ ี ไ ด้ ม าตามสั า การเงิ น จะคิ ด า เสื อ ่ มราคาตลอดอายุ านของสิ น ทรั พ ย์ ท ช่ า เหลื อออยู  สิสินนทรั พพยยทที่ไี่ไดดมมาตามสั ญ ญาเช าาการเงิ นนจะคิ ดดคคาาเสื ่อ่อมราคาตลอดอายุ กการใช งงานของสิ นนทรั พพยยทที่เี่เชชาาหรื อออายุ ขของสั ญ ญาเช าา แล ววแต เหลื อยู ทรั าตามสั ญ ญาเช การเงิ จะคิ เสื มราคาตลอดอายุ ารใช านของสิ ทรั หรื อายุ องสั ญ ญาเช แล แต ระยะเวลาใดจะน อายุ ของสัญญาเช่ออายกว แล้าาวแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า ระยะเวลาใดจะน ยกว ระยะเวลาใดจะนอยกวา กรณีที่กลุ่มบริ ษัทเป็ นผูใ้ ห้เช่า กรณี ที่กลุ่มบริ ษษัทัทเป็ ใใ้​้ ห้ห้เเช่ช่าา กรณี เป็ นนผูผูญ สินทรัทพี ่กยลุท่มี่ใบริ หเชาตามสั ญาเชาดําเนินงานรวมแสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินในสวนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และตัดคาเสื่อมราคา สิสินนทรั พพยยย์ททที่ใี่ใี่ใหหห้เเเชชช่าาาตามสั ญ าดําเนิ ในงบแสดงฐานะการเงิ นนในส ววนที ินิน อาคาร และอุ ปกรณ และตั ดดคคและตั าาเสื มราคา ทรั ตามสั ญ ญาเช งานรวมแสดงอยู ในส นทีปว่ด่ดกรณ อาคาร และอุ เสืา่อ่อยคลึ มราคา ญญาเช ญาเช่ ำพเนินนยงานรวมแสดงอยู นดงานรวมแสดงอยู นในส่ นที ่ดขินองกลุ อาคาร ดค่งากัเสืน่อม ตลอดอายุการใหปตามสั ระโยชน ของสิาดํนาด�าทรัเนิ วยเกณฑเดียวกัในงบแสดงฐานะการเงิ น่ใกันงบแสดงฐานะการเงิ บรายการที่ดิน อาคารและอุ มบริษปและอุ ัทกรณ ซึ่งมีปและตั ลักกรณ์ ษณะคล ตลอดอายุ ก ารให ป ระโยชน ข องสิ น ทรั พ ย ด ว  ยเกณฑ เ ดี ย วกั น กั บ รายการที ด ่ น ิ อาคารและอุ ป กรณ ข องกลุ ม  บริ ษ ท ั ซึ ง ่ มี ล ก ั ษณะคล า ยคลึ นน ตลอดอายุ ระโยชน ของสินขทรัองสิ พงใจที ยนดทรั ว่ไยเกณฑ เดีแยกวกั ่ดรายการที ินธีเอาคารและอุ ปกรณ ขและอุ องกลุมปบริ ่งมีลักษณะคล ราคาตลอดอายุ ้วยเกณฑ์ ่ดิน อาคาร กรณ์ ่มบริษัทาซึยคลึ ่งมีลงงักกักัษณะ รายไดคาเชกาารให (สุทกปธิารให้ จากสิป่งระโยชน์ ตอบแทนจู ดพจย์าดยให ผูในหกัเเชดีบายรายการที )วกั รับนรูดกัวบยวิ สนตรงตลอดช วงเวลาการให เชาษัทซึของกลุ รายได คคาางเช ททธิธิจจากสิ ่ง่งตอบแทนจู งงใจที ่ไ่ไดดจจาายให ผผูใูใหห่ไเเชชด้าาจ))่ารัรัยให้ บบรูรูดดแววก่ยวิ เเชชาา วงเวลาการให้เช่า คล้ ายคลึ ค่าเช่ า (สุทธิจากสิ ) รับรู้ด้วยวิววงเวลาการให ธีเส้นตรงตลอดช่ รายได เชกัาาน(สุ (สุรายได้ ากสิ ตอบแทนจู ใจที่งตอบแทนจู ยใหแแงกกใจที ยวิผู้ใธธห้ีเีเสสเช่นนาตรงตลอดช ตรงตลอดช งเวลาการให 2.12 2.12 2.12

เงินกูยืม เงิ นกูยืม เงิ เงินนกูกูยยืมืมรับรูเริ่มแรกดวยมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ไดรับหักดวยตนทุนการจัดทํารายการที่เกิดขึ้น ในเวลาตอมาเงินกูยืมวัดมูลคาดวยวิธี เงิ นนกูกู้ ยยืมืมรัรับบรูรู้เเริริ่ม่มแรกด้ แรกด ววยมู ่งตอบแทนที ่ไดรับหักดวยต นนทุทุนนนทุการจั ดดทํทํดาารายการที ่เ่เกิกิดด่เขึขึกิ้น้นดขึในเวลาต ออมาเงิ กูกูยยืมืมนวัวักูดดย้ มูมูมื ลลวัคคดาาดดมูววลยวิ เงิ แรกด ยมู รรมของสิ การจั รายการที ในเวลาต มาเงิอนนมาเงิ ยวิค่าธธี​ี ยมูลลลลคคค่คาาาายุยุยุทีตตต่จิธิธิธารรมของสิ รรมของสิ ่งาตอบแทนที วยต้ นการจั ท�ำรายการที น้ ในเวลาต่ ราคาทุ นตัดจําหน ายตามมู ยคื นเพื่อชํ่งตอบแทนที ระหนี้นั้น ่ได่ไรด้ับรหั​ับกหัดกวด้ยต ตัตัดดจํจําานหน คคาาทีที่จ่จาาลยคื ราคาทุ หนตัดาายตามมู ยตามมู ยคื เพื่จ่อ่อาชํชํยคืาาระหนี ระหนี ด้ราคาทุ วยวิธนนีราคาทุ จ�ำหน่าลลยตามมู ค่านนทีเพื นเพื่อ้น้นช�ั้นั้นำระหนี้นั้น เงินกูยืมจัดประเภทเปนหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุมบริษัทไมมีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขใหเลื่อนชําระหนี้ออกไปอีกเปนเวลาไมนอยกวา สิบสอง เงิ ดดประเภทเป นนหนี เงินนอกูกูนยยนัืมืมบจัจัจากวั ประเภทเป หนี้ส้สินินหมุ หมุนนเวี เวียยนเมื นเมืน่อ่อกลุ กลุมมบริ บริษษัทัทไม ไมมมีสีสิทิทธิธิออันันปราศจากเงื ปราศจากเงื่อ่อนไขให นไขใหเเลืลื่อ่อนชํ นชําาระหนี ระหนี้อ้ออกไปอี อกไปอีกกเป เปนนเวลาไม เวลาไมนนออยกว ยกวาา สิสิบบสอง สอง นที่ในงบแสดงฐานะการเงิ เงิเดื น กู ย ้ ม ื จั ด ประเภทเป็ น หนี ส ้ น ิ หมุ น เวี ย นเมื อ ่ กลุ ม ่ บริ ษ ท ั ไม่ ม ส ี ท ิ ธิ อ น ั ปราศจากเงื อ ่ นไข ให้ เ ลื อ ่ นช� ำ ระหนี อ ้ อกไปอี ก เป็ น เวลาไม่ น้อยกว่า เดื อ น นั บ จากวั น ที ่ ใ นงบแสดงฐานะการเงิ น น นับจากวั ่ในงบแสดงฐานะการเงิ น สิเดืบอสองเดื อน นันบทีจากวั นที่ในงบแสดงฐานะการเงิ น

16 16


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 62บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.13 ภาษีเงินได ภาษีเงินได้ ไดซซงึ่ ึ่งแสดงในงบก� แสดงในงบกํำาไรขาดทุ ไรขาดทุนนเบ็เบ็ดเสร็ ดเสร็ จรวมและกํ าไรขาดทุ ดเสร็ จเฉพาะบริ านวณจากกํ าไร(ขาดทุ ธิทางภาษี จรวมและก� ำไรขาดทุ นเบ็นดเบ็เสร็ จเฉพาะบริ ษทั ษัทซึง่ ซึค�่งำคํนวณจากก� ำไร(ขาดทุ น)สุนท)สุธิ ทางภาษี ของกิของ จการ กิซึง่จไม่ การซึ ง ่ ไม ไ ด ร บ ั การส ง เสริ ม การลงทุ น และในอั ต ราภาษี ท ใ ่ ี ช บ ง ั คั บ อยู ใ  นประเทศไทย กิ จ การที ไ ่ ม ไ ด ร บ ั การส ง เสริ ม การลงทุ น ได แ ก การ ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนและในอัตราภาษีทใี่ ช้บงั คับอยูใ่ นประเทศไทย กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน ได้แก่ การจ�ำหน่ายถ่านหิน และการให้ ริการด้ านโลจิสติกบส์ริการดานโลจิสติกส จําหนายถาบนหิ น และการให กลุม่ มบริ บริษษทั ัทไม่ ไมรรบั ับรูรูภ้ ภาษี าษีเงิเงินนได้ไดคคา้ งจ่ างจายและภาษี ายและภาษี ่จะเกิ ขึ้นในอนาคตในส วนของผลต งชั่วคราวระหว างฐานภาษี พย ้ กลุ เงินเงิได้นได คา้ คงรัาบงรัทีบจ่ ทีะเกิ ดขึน้ดในอนาคตในส่ วนของผลต่ างชัว่ าคราวระหว่ างฐานภาษี ของสิขนองสิ ทรัพนย์ทรั และหนี ้สินกับราคาตามบั ญชีทใี่แ่ นงบการเงิ สดงอยูในงบการเงิ ผลตางชัก่วเกิ คราวหลั จากคาเสื่อมราคาของอาคารและอุ ลคาาจะได้ สุทธิทรบั ี่ สิและหนี นกับราคาตามบั ญชีทแี่ สดงอยู น ผลต่างชันว่ คราวหลั ดจากค่กาเกิ เสืดอ่ มราคาของอาคารและอุ ปกรณ์ ค่าเผือ่ปมูกรณ ลค่าสุคทาธิเผืท่อคี่ มูาดว่ คาดวนาค้จะได รับของสิ นคาคงเหลื อและการบั นทึกภาระผูพกพันักนงาน ผลประโยชนพนักงาน ของสิ าคงเหลื อและการบั นทึกภาระผู กพันผลประโยชน์ 2.14 ผลประโยชนพนักงาน

กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ กองทุนสํารองเลีย้ งชี พ กลุ่มบริษัทจัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพซึ่งเป็นแผนการจ่ายสมทบตามที่กำ� หนดไว้ สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกไป กลุมบรินทรั ษัทพจัย์ดขใหองกลุ มีกองทุ พซึ่งหเปารโดยผู นแผนการจ ายสมทบตามที ่กําหนดไว พยขย้ องกองทุ ้ยงชีาพกองทุ ไดแยกออกไปจาก จากสิ ม่ บรินษสําทั รองเลี และมี้ยกงชีารบริ จ้ ดั การกองทุ นภายนอก กองทุนสิส�นำทรัรองเลี งชีพได้รนบั สํเงิารองเลี นสะสมเข้ นจากพนักงาน สิและเงิ นทรัพนยสมทบจากกลุ ของกลุมบริษัท่มบริ และมี ก ารบริ ห ารโดยผู จ  ด ั การกองทุ น ภายนอก กองทุ น สํ า รองเลี ย ้ งชี พ ได ร บ ั เงิ น สะสมเข า กองทุ น จากพนั กงานและ ษัท เงินจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับรอบระยะเวลา นสมทบจากกลุ มบริ้นษัท เงินจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิด บัเงิญ ชีที่เกิดรายการนั รายการนั้น ผลประโยชน์เมื อ่ เกษี ยณอายุ ผลประโยชน์ เมื ่อเกษี ยณอายุ ผลประโยชน์เมือ่ เกษียณอายุ คือ ผลประโยชน์ทพี่ นักงานจะได้รบั ตามกฎหมายแรงงานไทยเมือ่ เกษียณอายุ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั อายุและจ�ำนวนปี ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ คือ ผลประโยชนที่พนักงานจะไดรับตามกฎหมายแรงงานไทยเมื่อเกษียณอายุ ซึ่งขึ้นอยูกับอายุและจํานวนปที่ ที่ท�ำงาน ทํางาน หนี ผลประโยชน์เมืเ่อมืเกษี ่อเกษี ยณอายุ รู้ในงบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะการเงิ ัทโดยคิ ค่า หนี้ส้สินินผลประโยชน ยณอายุ จะถูจกะถู รับกรูรัใบนงบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะการเงิ นของบริษนัทของบริ โดยคิดษจากมู ลคดาปจากมู จจุบันลของ ปัภาระผู จจุบันกของภาระผู ก พั น ณ วั น ที ใ ่ นงบแสดงฐานะการเงิ น และต้ น ทุ น บริ ก ารในอดี ต ผลประโยชน์ เ มื อ ่ เกษี ย ณอายุ ถ ก ู ค� ำ นวณขึ น ้ โดยนั พัน ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน และตนทุนบริการในอดีต ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุถูกคํานวณขึ้นโดยนักคณิตศาสตร ก คณิ นภัยวอิ​ิธสีคระ โดยใช้ วิธีควิดยที ลดแต่ ละหน่วยที่ปมูระมาณการไว้ มูลค่าปัจกจุพับนันผลประโยชน ของภาระผูกเมืพั่อนเกษี ผลประโยชน์ ่อเกษียณอายุ ประกัตศาสตร์ นภัยอิสประระกั โดยใช ิดลดแต ละหน ่ประมาณการไว ลคาปจจุบันของภาระผู ยณอายุคําเมืนวณจากการ ค�ำนวณจากการคิดลดกระแสเงินสดที่คาดว่าจะจ่ายออกไปในอนาคตโดยใช้อัตราดอกเบี้ยตามพันธบัตรรัฐบาลที่ใช้สกุลเงินเดียวกับ คิดลดกระแสเงินสดที่คาดวาจะจายออกไปในอนาคตโดยใชอัตราดอกเบี้ยตามพันธบัตรรัฐบาลที่ใชสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของภาระผูกพัน สกุลเงินของภาระผูกพันและมีอายุการครบก�ำหนดช�ำระใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องจ่ายผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ ก�ำไรขาดทุนทาง และมีอายุการครบกําหนดชําระใกลเคียงกับระยะเวลาที่ตองจายผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ กําไรขาดทุนทางสถิติที่เกิดจากการปรับปรุง สถิตทิ ี่เกิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ์ และการเปลี่ยนสมมติฐานทางสถิติถูกบันทึกเข้าก�ำไรหรือขาดทุน จากประสบการณ และการเปลี่ยนสมมติฐานทางสถิติถูกบันทึกเขา กําไรหรือขาดทุน 2.15 ประมาณการหนี้สิน ่อกลุ มบริ ษัทษมีัทภมีาระผู กพักนพัในป จจุบจันจุตามกฎหมายหรื อตามข อตกลงที ่จัดทํา่จไวัดท�ำไว้ อันเป็น กลุม่ บริษัทัทจะบั จะบันนทึทึกกประมาณการหนี ประมาณการหนี้สิน้สก็ินตก็อตเมื ่อเมื ่อกลุ ่มบริ ภาระผู นในปั บันตามกฎหมายหรื อตามข้ อตกลงที อันเปบนเนืผลสื บเนื่องมาจากเหตุ ารณตในอดีซึตง่ การช� ซึ่งการชํ าระภาระผู ความเป นไปได างแน วาจะส งผลให ย พยากร ผลสื อ่ งมาจากเหตุ การณ์ใกนอดี ำระภาระผู กพักนพันัน้ นัมี้นคมีวามเป็ นไปได้ คอ่ คนข้อนข างแน่ วา่ จะส่ งผลให้ บริบษริทั ษต้ัทอตงสูองสู ญญ เสีเสี ยทรั ออกไป และตามประมาณการที ่น่าเชื่อถือ่นของจ� ้องจ่าย่ตองจาย ทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที าเชื่อถืำอนวนที ของจํ่ตานวนที 2.16 ทุนเรือนหุน หุนสามัญจะจัดประเภทไวเปนสวนของผูถือหุน

ต้ตนนทุทุนนทีที่เเ่ พิพิ่มม่ ขึขึ้นน้ เกี เกี่ยย่ วกั วกับบการออกหุ การออกหุนน้ ใหม ใหม่หหรืรืออสิสิททธิธิในการซื ในการซื้อขายหุ อ้ ขายหุนทีน้ ่จทีาจ่ ยออกไปโดยแสดงรายการดั า่ ยออกไปโดยแสดงรายการดั ำนวนเงิ ธิจากภาษี งกลงกล่ าวดาวด้ วยจํวยจ� านวนเงิ นสุทนธิสุจทากภาษี ไวเปไนว้ เป็ นรายการหั วนของผู หุน้ โดยน� กจากสิ ง่ ตอบแทนที ด้รบั จากการออกหุ รายการหั กในสกในส่ วนของผู ถือหุถ้ นอื โดยนํ าไปหัำกไปหั จากสิ ่งตอบแทนที ่ไดรับไ่ จากการออกหุ น น้

17


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

63

รายงานประจำ�ปี 2555

2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.17 การรับรูร ายได รายไดประกอบด้ ระกอบดวยมูลคค่ายุติธรรมที วนลด โดยไม รายได้ รรมที่จจ่ ะได ะได้รรับบั จากการขายสิ จากการขายสินนคค้าาและบริ และบริกการที ารที่ใใ่หห้เปเป็นนจํจ�าำนวนเงิ นวนเงินนสุสุททธิธิจจากภาษี ากภาษีขาย ขายเงินเงิคืนนคืและส นและส่ วนลด โดย รวมรายการขายภายในกลุ ม  บริ ษ ท ั สํ า หรั บ งบการเงิ น รวม รายได จ ากการขายสิ น ค า รั บ รู เ  มื อ ่ ผู ซ  อ ้ ื รั บ โอนความเสี ย ่ งและผลตอบแทนที เ ่ ป น ไม่รวมรายการขายภายในกลุม่ บริษทั ส�ำหรับงบการเงินรวม รายได้จากการขายสินค้ารับรูเ้ มื่ ผูซ้ อื้ รับโอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ ป็น สาระส� ของความเป็นเจเจ้าของสินนคค้าา รายได รายได้จจากการให ากการให้บบริริกการแก ารแก่ลลูกกู คค้าารับรับรูโรูดยอ โ้ ดยอ้าางอิงอิงตามขั งตามขั้นน้ ของความสํ ของความส�าเร็ำเร็จของงานที จของงานที่ทําท่ เสร็ ำ� เสร็ โดยใช้ สาระสํำาคัญของความเป จ จโดยใช วิธี วิอัธตอี ราส ตั ราส่ ว นของบริ ก ารที ใ ่ ห้ จ นถึ ง ปั จ จุ บ น ั เที ย บกั บ บริ ก ารทั ง ้ สิ น ้ ที ต ่ อ ้ งให้ วนของบริการที่ใหจนถึงปจจุบันเทียบกับบริการทั้งสิ้นที่ตองให รายไดดดอกเบี อกเบี้ยย้ รัรับบรูรูตต้ ามเกณฑ ตราดอกเบี ้ยทีย้ ่แทีทแ่ จท้ริงจของช วงเวลาจนถึ งวันงครบอายุ และพิ จารณาจาก รายได้ ามเกณฑ์สสัดดั สส่ววนของเวลาโดยพิ นของเวลาโดยพิจารณาจากอั จารณาจากอั ตราดอกเบี ริงของช่ วงเวลาจนถึ วันครบอายุ และพิ จารณาจาก จํจ�ำานวนเงิ นวนเงินนต้ตนนทีทีเ่เ่ ปป็นนยอดคงเหลื อ ในบั ญ ชี ส า ํ หรั บ การบั น ทึ ก ค า งรั บ ของกลุ ม  บริ ษ ท ั ยอดคงเหลือในบัญชีสำ� หรับการบันทึกค้างรับของกลุม่ บริษทั รายไดเงินปนผลรับรูเมื่อสิทธิที่จะไดรับเงินปนผลนั้นเกิดขึ้น รายได้เงินปันผลรับรูเ้ มือ่ สิทธิทจี่ ะได้รบั เงินปันผลนัน้ เกิดขึน้ 2.18 การจายเงินปนผล ผลจะรับบรูรูใ้ ในงบการเงิ นงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะบริ เฉพาะบริษษทั ัทในงวดที ในงวดทีม่ ่มกี ีการอนุ ารอนุมมตั ัตโิ ิโดยคณะกรรมการของบริ ดยคณะกรรมการของบริษษทั ัทส�สํำาหรั หรับบเงิเงินนปัปนนผลระหว่ ผล างกาล เงินปัปนนผลจะรั และเมื ่ มีการอนุ มตั ่อโิ มีดยผู ถ้ อื หุมน้ ัตของบริ หรับเงิษนัทปัสํนาผลประจ� ระหวาองกาล และเมื การอนุ ิโดยผูถษือทั หุส�นำของบริ หรับเงินำปปีนผลประจําป 3 3.1

การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน ปจจัยความเสี่ยงทางการเงิน งความเสี ่ยงจากอั ตราแลกเปลี ่ยน ย่ น กิจกรรมของกลุม่ บริษัทยย่อมมีความเสี วามเสี่ยย่ งทางการเงิ งทางการเงินนทีที่หห่ ลากหลายซึ ลากหลายซึ่งง่ไดได้แแกก่ความเสี ความเสี่ยงจากตลาด ย่ งจากตลาด(รวมถึ (รวมถึ งความเสี ย่ งจากอั ตราแลกเปลี ่ยงด านการให สินสเชืนิ ่อเชืและความ ความเสีย่ งด งด้านกระแสเงินสดอันนเกิเกิดดจากการเปลี จากการเปลี่ยย่ นแปลงอั นแปลงอัตตราดอกเบี ราดอกเบี้ยย้ และความเสี และความเสี่ยย่งดงด้านราคา) านราคา)ความเสี ความเสี ย่ งด้ านการให้ อ่ และความ เสีย่ งด้ แผนการจั ดการความเสี ย่ งโดยรวมของกลุ นความผั นผวนของตลาดการเงิ นและแสวงหาวิ ธกี ารลด งดานสภาพคล่ นสภาพคลอง แผนการจั ดการความเสี ่ยงโดยรวมของกลุ มบริม่ ษบริัทจึษงทั มุจึงงเนมุงน่ เน้ ความผั นผวนของตลาดการเงิ นและแสวงหาวิ ธีการลด ผลกระทบทีท่ ําำ� ให ให้เสียหายต หายต่อผลการดํ ผลการด�าำเนิเนินนงานทางการเงิ งานทางการเงินนของกลุ ของกลุมม่ บริบริษษัททั ใหให้เหลื เหลืออนน้ออยที ยที่สส่ ุดดุ เทเท่าาทีที่เปเ่ ป็นนไปได ไปได้กลุกลุมบริ ม่ บริษัทษใช ทั ใช้ อ่ งมื ออนุ เครืเครื ่องมื ออนุ พันพธนั ธ์ ทางการเงิ วอย่างเช างเช่น นสัญสัญาอั ญญาอั ตราแลกเปลี นตราต่ างประเทศล่ าและสั ญญาการแลกเปลี นอัตราดอกเบี เพืนอ่ ป้ความ องกัน ทางการเงินน ตัวตัอย ตราแลกเปลี ่ยนเงิย่ นนเงิ ตราต างประเทศล วงหนวางหน้ และสั ญญาการแลกเปลี ่ยนอัตย่ ราดอกเบี ้ย เพื่อย้ ปองกั ความเสี ่ งทีดจ่ ขึะเกิ เสี่ยงที่จยะเกิ ้น ดขึน้ การจัดการความเสี่ยงดํ หารหารทาง งด�าำเนินนการโดยฝ การโดยฝ่าายบริ ยบริหหารทางด ารทางด้าานการเงิ นการเงินนเปเป็นนไปตามนโยบายที ไปตามนโยบายที่ออ่ นุนุมมัตตั ิโดยคณะกรรมการบริ โิ ดยคณะกรรมการบริษษัท ทั สวส่นงานบริ วนงานบริ านการเงิ นของกลุ ษัทจะชี ้ประเด็ น ประเมิ น และป นความเสี ่ยงทางการเงิ ดวยการร างานอย างใกล บหน วย บตั ิ ด้ทางด านการเงิ นของกลุ ม่ บริมษบริ ทั จะชี ป้ ระเด็ น ประเมิ น และป้ องกัอนงกั ความเสี ย่ งทางการเงิ นด้วนยการร่ วมมืวมมื อกัอนกัท�นำทํงานอย่ างใกล้ ชดิ ชกัิดบกัหน่ วยปฏิ งานต่ ม่ บริษมทั บริคณะกรรมการบริ ษทั จะก� ำหนดหลั กการบริ หารความเสี ย่ งโดยภาพรวมเพื อ่ จั่อดจัการความเสี ย่ ง่ยงและก� ปฏิบัตาิงงๆานตภายในกลุ างๆ ภายในกลุ ษัท คณะกรรมการบริ ษัทจะกํ าหนดหลั กการบริ หารความเสี ่ยงโดยภาพรวมเพื ดการความเสี และ ำหนด นโยบายที เ่ กีย่ วข้อ่เงไว้ เป็นองไว ลายลั มความเสี ย่ งอย่า่ยงเฉพาะเจาะจง เช่น เชนความเสี กําหนดนโยบายที กี่ยวข เปนกษณ์ ลายลัอกั ษรเพื ษณออ่ ักครอบคลุ ษรเพื่อครอบคลุ มความเสี งอยางเฉพาะเจาะจง ความเสีย่ งอั ่ยงอัตราแลกเปลี ตราแลกเปลีย่ ่ยนเงิ นเงินนตราต่ ตรา าง ประเทศ ความเสี ย่ งอั่ยตงอัราดอกเบี ย้ ความเสี ย่ งการให้ งส่ววนเกิ นเกินน ตางประเทศ ความเสี ตราดอกเบี ้ย ความเสี ่ยงการใหสนิ สเชื ินเชือ่ ่อและใช้ และใชตตราสารอนุ ราสารอนุพพนั ันธ์ธททางการเงิ างการเงินนและการลงทุ และการลงทุนนโดยใช้ โดยใชสสภาพคล่ ภาพคลอองส ในการจั ในการจัดดการความเสี การความเสี่ยย่ งง

3.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากกลุม่ บริ งยงอย่มมี ความเสี ่ยงอัย่ ตงอัราแลกเปลี ่ยนเงิย่ นนเงิ ตราต างประเทศซึ ่งเกิดง่ จาก บริษษัททั มีมีกการซื ารซื้ออ้ สิสินนคค้าาจากคู จากคูคค่าในต า้ ในต่างประเทศจึ างประเทศจึ อมมี ความเสี ตราแลกเปลี นตราต่ างประเทศซึ เกิดจากสกุลเงิน สกุลเงินดอลลาร สหรั ฐฯลเป สกุลกเงิโดยฝ่ นหลักายบริ โดยฝ ายบริหารทางด ัทรับผิดชอบในการป องกันย่ ความเสี ่ยงของรายการ ดอลลาร์ สหรัฐฯ เป็ นสกุ เงินหลั หารทางด้ านการเงิานนการเงิ ของกลุนม่ ของกลุ บริษทั รัมบบริ ผิดษชอบในการป้ องกันความเสี งของรายการดั งกล่าวโดย ใช้ ญ ั าญาอั ตราแลกเปลี วงหน้าเพื่ยอ่ นลป้อวงกั นความเสี งจากอั ตราแลกเปลี นตราต่า่ยงประเทศโดยมี คสู่ ญ ั ญาเป็นบุคคูสคลภายนอก ดังสกล วโดยใช สัญญาอัย่ตนล่ ราแลกเปลี งหน าเพื่อปอย่ งกั นความเสี ่ยงจากอัย่ ตนเงิ ราแลกเปลี นเงินตราตางประเทศโดยมี ัญญาเปน บุคคลภายนอก

18


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 64บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

3 การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ตอ) 3.1.2 ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ รายได นงานของกลุ มบริ่มษบริัทษสัทวนใหญ ไมขไึ้นม่กัขบึ้นการเปลี ่ยนแปลงอั ตราดอกเบี ้ยการใช อนุพันอธนุดพานอั รายได้แและกระแสเงิ ละกระแสเงินนสดจากการดํ สดจากการด�าเนิำเนิ นงานของกลุ ส่วนใหญ่ กับการเปลี ่ยนแปลงอั ตราดอกเบี ้ยการใช้ ันธ์ตดรา้านอัตรา ดอกเบี้ยยตต้อองได ยืมแบบอั ตราดอกเบี ้ยผันย้ แปรและใช สัญญา งได้รรับบั อนุ อนุมมัตตั ิจจิ ากผู ากผูออ้ ําำ� นวยการฝ นวยการฝ่าายการเงิ ยการเงินนกก่ออนเข นเข้าาทํท�าำรายการ รายการกลุมกลุบริม่ ษบริัทมีษกทั ารกู มีการกู ย้ มื แบบอั ตราดอกเบี ผันแปรและใช้ สญ ั ญา แลกเปลี ่ ย นอั ต ราดอกเบี ้ ย เพื ่ อ เป็ น การป้ อ งกั น ความเสี ่ ย งกระแสเงิ น สดของจ� ำ นวนเงิ น ดอกเบี ้ ย ที ่ จ ะต้ อ งจ่ า ยในอนาคตโดยพิ จ ารณาถึ ง แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเพื่อเปนการปองกันความเสี่ยงกระแสเงินสดของจํานวนเงินดอกเบี้ยที่จะตองจายในอนาคตโดยพิจารณาถึง ผลกระทบเชิงงเศรษฐกิ เศรษฐกิจจของการเปลี ของการเปลี ่ยนเงิ ืมจากอั ตราดอกเบี ้ยลอยตั ให้กลายเป็ นอัตราดอกเบี ่ สัญญาแลกเปลี ่ยนอัต้ยรา ผลกระทบเชิ ่ยนเงิ นกูนยกูืม้ยจากอั ตราดอกเบี ้ยลอยตั วใหกวลายเป นอัตราดอกเบี ้ยคงที่ สั้ยญคงที ญาแลกเปลี ่ยนอัตราดอกเบี ำให้ษัทกสามารถระดมทุ ลุม่ บริษทั สามารถระดมทุ ย้ มื วระยะยาวด้ วยอั้ยตลอยตั ราดอกเบี ย้ ลอยตั ย่ นอั ตราดอกเบี กลายเป็ นอัตบราที่ ทํดอกเบี าใหกลุย้ มท�บริ นโดยการกูนยโดยการกู ืมระยะยาวด ยอัตราดอกเบี วและเปลี ่ยนอัวและเปลี ตราดอกเบี ้ยให กลายเปนย้ อัให้ ตราคงที ่ในระดั ใ่ นระดั ทีน่ อ้ ยกว่้ยาลอยตั อัตราดอกเบี บริษทั ต้องกูย้ มื ระยะยาวโดยตรง การท�่ยำนอั สัญตญาแลกเปลี ย้ ท�ำให้ นคงที อยกว าอัตบราดอกเบี ว กรณีทย้ ี่กลอยตั ลุมบริวษัทกรณี ตองกูทกี่ยลุืมม่ ระยะยาวโดยตรง การทําสัญญาแลกเปลี ราดอกเบี้ยทํย่ านอั ใหกตลุราดอกเบี มบริษัทตกลง ัทตกลงกั บคู่สัญ ญาที่จางระหว ะแลกเปลี นผลต่นาตามดอกเบี งระหว่างจ�้ยำคงที นวนเงิ ตามดอกเบี ้ยคงที ่กับตามอั ราดอกเบี ลอยตัวโดยอ ในช่าวงอิ งเวลาที กักลุ บคู่มสบริ ัญษญาที ่จะแลกเปลี ่ยนผลต างจํา่ยนวนเงิ ่กับนตามอั ตราดอกเบี ้ยลอยตั วในชตวงเวลาที ่กํา้ยหนดไว งจาก ่ หนดไว้ โดยอ้ งจากจ�คําำนวณเงิ นวนฐานที เป็นเกณฑ์ คำ� นนวณเงิ กลงกั ว่ นต่ารับงทีตามสั จ่ ะต้อญงจ่ญาแลกเปลี าย หรือจะได้ ญญา จํก�าำนวนฐานที ่ใชเปานงอิเกณฑ นตนใ่ ช้ตามที ่ตกลงกั ไวและรันบต้นรูสตามที วนตาต่ งที ่จะตนอไว้งจแาละรั ย หรืบรูอส้ จะได ่ยนอัรบั ตตามสั ราดอกเบี ้ย แลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ ไว้เป็นส่วนประกอบของรายได้ดอกเบีย้ หรือดอกเบีย้ จ่าย ณ วันทีส่ ญ ั ญาครบก�ำหนดช�ำระ ไวเปนสวนประกอบของรายไดดอกเบี้ยหรือดอกเบี้ยจาย ณ วันที่สัญญาครบกําหนดชําระ 3.1.3 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษษัททั ไม ไม่มมีคคี วามเสี วามเสี่ยย่ งจากการกระจุ งจากการกระจุกกตัตัววดด้าานสินสินนเชืเชื่ออ่ อยอย่างมี างมีนนัยยัสํส�าคัำคัญญนโยบายของกลุ นโยบายของกลุ อท�เำชืให้ ได้ขนายสิ นค้าและ กลุม่ บริ มบริม่ษบริ ัทคืษอทั ทํคืาให ่อมัเ่นชือ่ไดมัวน่ าได้ ไดวขา่ ายสิ คาและ ให้บบริริกการแก ารแก่ลลูกกู คค้าาทีที่มม่ ีปปี ระวั ระวัตติสสิ ินนิ เชืเชื่ออ่ ทีที่เหมาะสม เ่ หมาะสมนอกจากนี นอกจากนี ลือ่จกที ำรายการกั บสถาบั นการเงิ คี ณ ุ ภาพและมี ให ้ กลุ้ มกลุบริม่ ษบริัทษไดทั เลืได้อเกที ะทํจ่ าะท� รายการกั บสถาบั นการเงิ นที่มนีคทีุณม่ ภาพและมี ความความ น่นาาเชื เชื่ออ่ ถืถืออสูสูงงในการทํ ในการท�าำสัสัญญญาอนุ ญาอนุพพันนั ธธ์ททางการเงิ างการเงินนและรายการเงิ และรายการเงินนสดสด 3.1.4 ความเสี่ยงดานสภาพคลอง จํจ�าำนวนเงิ งเพียยงพอย่ งพอยออมแสดงถึ มแสดงถึงงการจั การจัดดการความเสี การความเสีย่ ่ยงของสภาพคล่ งของสภาพคลอองอย่ งอยาางรอบคอบ งรอบคอบ ความสามารถในการหาแหล แสดง นวนเงินนสดที สดที่มม่ ีออี ยย่าางเพี ความสามารถในการหาแหล่งงเงิเงินนทุทุนนแสดง ให แลแวล้อยวอย่ างเพี ยงพอ สวนงานบริ หารเงิหนารเงิ ของกลุ มบริษม่ ัทบริไดษทั ได้ตงั้ ให้เเห็ห็นนได ได้จจากการที ากการที่มม่ ีววี งเงิ งเงินนอํอ�าำนวยความสะดวกในการกู นวยความสะดวกในการกูยืม้ยทีืม่ไทีด่ไมด้ีกมารตกลงไว ีการตกลงไว้ างเพี ยงพอ ส่วนงานบริ นของกลุ ตัเป้​้งเป าหมายว าจะใชคความยื วามยืดดหยุ หยุ่นนในการระดมเงิ ในการระดมเงินนทุทุนนโดยการรั ใหใเห้พีเยพีงพอ เทาาทีที่จ่จะหามาได้ ะหามาไดเเนืนื่อ่องจากลั าหมายว่ าจะใช้ โดยการรักกษาวงเงิ ษาวงเงินนสิสินนเชืเชื่อที่อ่ตทีกลงไว ่ตกลงไว้ ยงพอเท่ งจากลักกษณะ ษณะ ธรรมชาติ ข องธุ ร กิ จ ที เ ่ ป น ฐานของกลุ ม  บริ ษ ท ั มี พ ลวั ต เปลี ย ่ นแปลงได ธรรมชาติของธุรกิจทีเ่ ป็นฐานของกลุม่ บริษทั มีพลวัตเปลีย่ นแปลงได้ 3.2

การบัญชีสําหรับอนุพันธที่เปนเครื่องมือทางการเงินและกิจกรรมปองกันความเสี่ยง กลุ วยสั ญญ ญาซื ้ออัอ้ ตอัราแลกเปลี ่ยนลย่ นล่ วงหน าและสั ญญา กลุมม่ บริ บริษษัททั เปเป็นนคูคูสส่ ัญญ ั ญาในอนุ ญาในอนุพพันนั ธธ์ทที่เปเี่ ป็นนเครื เครื่ออ่ งมืงมืออทางการเงิ ทางการเงินนซึ่งซึสง่ วส่นมากจะประกอบด วนมากจะประกอบด้ วยสั ญาซื ตราแลกเปลี วงหน้ าและสั ญญา แลกเปลี ย ่ นอั ต ราดอกเบี ย ้ เครื อ ่ งมื อ ดั ง กล า วไม ร บ ั รู ใ  นงบการเงิ น ในวั น เริ ม ่ แรก ยกเว น สั ญ ญาซื อ ้ อั ต ราแลกเปลี ย ่ นล ว งหน า แลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ เครือ่ งมือดังกล่าวไม่รบั รูใ้ นงบการเงินในวันเริม่ แรก ยกเว้น สัญญาซือ้ อัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้า กลุ งหนาาทุทุกกสัสัญ ญญา ญา ณณวันวัทีน่ททีําท่ สัำ� ญ ้อเงิอ้ เงิ นตราต ม ม่ กลุมม่ บริ บริษษัททั บับันนทึทึกกสัสัญ ญญาซื ญาซื้ออ้ เงิเงินนตราต ตราต่าางประเทศล งประเทศล่ววงหน้ สัญญาซื ญาซื นตราต่างประเทศกั างประเทศกับบธนาคารคู ธนาคารคูสส่ัญญ ั ญา ญาโดยกลุ โดยกลุ บริ ตราในสกุลลเงิ บาทใหแแก่กธธนาคารคู นาคารคูส่ สญ ญาและธนาคารคูส่ สญ ญาก็มมภี ีภาระในการส่ าระในการสงงมอบเงิ มอบเงินนตราต่ ตราตาางประเทศให้ งประเทศ แก่ บริษษัททั มีมีภภาระที าระที่ตต่ ออ้ งชํ งช�าำระเงิ ระเงินนตราในสกุ เงินนบาทให้ ั ัญญาและธนาคารคู ั ัญญาก็ ให ่สัญญาถึ งกําหนดชํ ทึกรายการบั ดังากล าวในด ้และเจ ้ตามสั ญญาซื กลุแม่ กบริกลุษมทั บริณษัทวันณทีวัส่ นญ ั ทีญาถึ งก�ำหนดช� ำระ าดัระงนัดัน้ งนักลุ้น ม่ กลุบริมษบริทั จึษงัทบัจึนงทึบักนรายการบั ญชีญ ดงั ชีกล่ วในด้ านลูากนลู หนีกแ้ หนี ละเจ้ าหนีาต้ หนี ามสั ญญาซื อ้ เงิน้อตรา เงิต่านงประเทศล่ ตราตางประเทศล า ผลแตกต างยอดลู กหนี้แาหนี ละเจ หนีา้ดวจะบั ังกลานวจะบั เปนนสหรื วนเกิ หรือสวนลด รูเปนารายจ อ วงหน้า วงหน ผลแตกต่ างระหว่างระหว างยอดลู กหนีแ้ ละเจ้ ด้ งั ากล่ ทึกเป็นนทึส่กวนเกิ อส่นวนลด ซึง่ จะรัซึบ่งจะรั รูเ้ ป็นบรายจ่ ยหรือายหรื รายได้ ตลอดระยะเวลาของสั ญญาซืญ อ้ เงิญาซื นตราต่ วงหน้าฉบั บนัาน้ ฉบั ๆ บนั้นๆ รายได ตลอดระยะเวลาของสั ้อเงิานงประเทศล่ ตราตางประเทศล วงหน

ละเจ้าหนีต้ ามข้ ลูกหนี้และเจ ามขอผูกพันในสัญญาซือ้ เงินตราต่ ตราตางประเทศล่ งประเทศลววงหน้ งหนาาคงเหลื คงเหลืออ ณณ วัวันสิน้ ปีป ซึง่ เป็ เปนนจ�จํำานวนเงิ นวนเงินนตราต่ ตราตาางประเทศที งประเทศทีจ่ ่จะได้ ะไดรรบั ับจาก และช�ำระให้ แก่ธแนาคารคู ส่ ญ ั ญา ณ วัณนทีวัก่ นำ� ทีหนด จะปรั บมูลบค่มูาลเป็คนาเป เงินนบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลี ย่ นที่ยธ่ นที นาคารแห่ งประเทศไทยประกาศใช้ เป็น จากและชํ าระให กธนาคารคู สัญญา ่กําหนด จะปรั เงินบาทโดยใช อัตราแลกเปลี ่ธนาคารแห งประเทศไทย อัตราอ้างอิงเปผลต่ งจากการปรั บมูาลงจากการปรั ค่ารับรูเ้ ป็นรายได้ า่ ยทัง้ หจ�รืำอนวน ประกาศใช นอัตาราอ างอิง ผลต บมูลคหารัรืบอค่รูเาปใช้นจรายได คาใชจายทั้งจํานวน ญญาซื ญาซื้ออ้ เงิเงินนตราต ตราต่าางประเทศล งประเทศล่ววงหน้ จะแสดงหั กกลบกั บัญ กู หนี าหนี้ตามสั ต้ ามสัญญญาซื ญาซื้อขายเงิ อ้ ขายเงินตรา นตรา สัสัญ งหนาาทีทีค่ ่คงเหลื งเหลือออยู อยู่  ณณวันวัสิน้นสิปน้ จปีะแสดงหั กกลบกั นไวนไว้ เปเนป็บันญ ชีลชีูกลหนี ้หรืห้ อรืเจอเจ้าหนี งประเทศล่ววงหน้ ตต่าางประเทศล งหนาา ญญาแลกเปลี ญาแลกเปลีย่ย่ นอั ย้ ้ยส่สววนต่ ายหรื อทีอจ่ ทีะได้ รบั รจากสั สัสัญ นอัตตราดอกเบี ราดอกเบีย้ ้ยช่ชววยป้ ยปอองกั งกันนกลุ กลุม่ มบริ บริษษทั ัทจากความเคลื จากความเคลือ่ ่อนไหวของอั นไหวของอัตตราดอกเบี ราดอกเบี นตาางทีงทีจ่ ่จะต้ะตองจ่ องจ ายหรื ่จะได ับจากญญา แลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ รับรูเ้ ป็นส่วนประกอบของรายได้ดอกเบีย้ หรือดอกเบีย้ จ่ายตลอดอายุของสัญญา รายการก�ำไรและรายการขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยรับรูเปนสวนประกอบของรายไดดอกเบี้ยหรือดอกเบี้ยจายตลอดอายุของสัญญา รายการกําไรและรายการ จากการเลิกสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ ก่อนก�ำหนดหรือจากการจ่ายช�ำระเงินกูย้ มื จะรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ขาดทุนจากการเลิกสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกอนกําหนดหรือจากการจายชําระเงินกูยืมจะรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายละเอียดของอนุพนั ธ์ทเี่ ป็นเครือ่ งมือทางการเงินทีก่ ลุม่ บริษทั เป็นคูส่ ญ ั ญาได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18

รายละเอียดของอนุพันธที่เปนเครื่องมือทางการเงินที่กลุมบริษัทเปนคูสัญญาไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 18

19


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 3 3.3

65

รายงานประจำ�ปี 2555

การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ตอ) การประมาณมูลคายุตธิ รรม ทางการเงินนทีทีม่ ่มกี ีการซื ารซือ้ ้อขายในตลาดซื ขายในตลาดซือ้ ้อขายคล่ ขายคลอองง ราคาตลาดในตลาดซื ้อขายคล องเป นหลั กฐานที ่ดีทด่ ี่สที ุดสี่ ของมู ลคลาค่ยุาตยุิธตรรม ส�สํำาหรับเครือ่ งมือทางการเงิ ราคาตลาดในตลาดซื อ้ ขายคล่ องเป็ นหลั กฐานที ดุ ของมู ธิ รรม ตามปกติกลุม่ บริษทั จะต้ จะตองวัดมูลค่คายุตธิ รรมของสินทรัพย์ยทางการเงินทีถ่ อื อยูห่ รือหนีส้ นิ ทางการเงินทีก่ ลุม่ บริษทั ก�กํำาลังจะออกด้ จะออกดวยราคาเสนอ ซือ้ ปัปจจุบนั และวัดมูลค่คาสินทรัพย์ยททางการเงิ างการเงินนทีทีก่ ่กลุลุม่ มบริ บริษษทั ัทก�กํำาลัลังงจะซื จะซือ้ ้อหรื หรืออหนี หนีส้ ้สนิ ินทางการเงิ ทางการเงินนทีทีม่ ่มอี ีอยูยูด่ ดว้ วยราคาเสนอขายปั ยราคาเสนอขายปจจจุจุบบนั ันหากกลุ หากกลุม่ มบริษทั ไม่ อ้ หรือเสนอขายในปั จจุบนั ได้จจุบกลุันมได ่ บริกลุษทัมอาจใช้ ราคาซืรอ้ าคาซื ขายล่้อาขายล สุดเมืาอ่ สุสถานการณ์ ทางเศรษฐกิ จไม่เปลีจย่ ไมนอย่ บริสษามารถหาราคาเสนอซื ัทไมสามารถหาราคาเสนอซื ้อหรือเสนอขายในป บริษัทอาจใช ดเมื่อสถานการณ ทางเศรษฐกิ เปลีา่ยงเป็ นน สาระส� นับจากวั กี ารซืนอ้ ทีขายครั สุดจนถึ้งลงาวัสุนดทีจนถึ ว่ ดั มูงลวัค่นาที่วัดมูลหากบริ ษทั ท�ษำการจั คูส่ ถานะระหว่ างสินทรั ทางการเงิ นและหนี ส้ นิ อยางเปำคันญ สาระสํ าคัญนนัทีบม่ จากวั ่มีการซืง้ ล่้อาขายครั คา หากบริ ัท ทําบการจั บคูสถานะระหว างสิพนย์ทรั พยทางการเงิ นและ ทางการเงิ น กลุม่ นบริกลุ ษทั มใช้บริรษาคาเฉลี ย่ ระหว่า่ยงราคาเสนอซื อ้ กับราคาเสนอขายเป็ นเกณฑ์นในการประเมิ นมูลค่ายุนตมูธิ ลรรม หนี้สินทางการเงิ ัทใชราคาเฉลี ระหวางราคาเสนอซื ้อกับราคาเสนอขายเป เกณฑในการประเมิ คายุติธรรม ทางการเงินนทีทีไ่ ่ไม่มสสามารถหาราคาตลาดได้ ามารถหาราคาตลาดได หรื หรืออเครื เครือ่ ่องมื งมืออทางการเงิ ทางการเงินนทีทีม่ ่มรี ีราคาตลาดรองรั าคาตลาดรองรับบ แต่ แตตตลาดนั ลาดนัน้นไม่ ไมมมคี ีคณ สมบัตตพิ ิพอที อทีจ่ ่จะะ ส�สํำาหรับเครื่องมือทางการเงิ ุ ุณสมบั เปนตลาดซือ้ ขายคล่ ขายคลอองเช่ งเชนน ความเคลื ่อนไหวของราคาตลาดเกิ ดขึด้นขึไมน้ ไม่ บอบยหรื อปริ มาณการซื ้อขายในตลาดมี นอนยเมื ่อเทีอ่ เที ยบการปริ เป็ ความเคลื อ่ นไหวของราคาตลาดเกิ อ่ ยหรื อปริ มาณการซื อ้ ขายในตลาดมี อ้ ยเมื ยบการปริมาณของ มาณของ เครือ่ งมือทางการเงิ ามารถใช้รราคาตลาดเป าคาตลาดเป็นนตัตัววแทนที แทนที่เชืเ่ ชื่ออ่ ถืถืออไดได้ขของมู องมูลลคค่าายุยุตติธธิ รรม รรม กลุกลุ ม่ บริ องประมาณ ทางการเงินนทีทีก่ ่กำ� ําลัลังงวัวัดดมูมูลลค่คาาอยู อยู่  ทํท�าำใหให้ไมไม่สสามารถใช มบริ ษัทษตทั อต้งประมาณ มูลค่คายุตธิ รรมของเครือ่ องมื งมืออทางการเงิ ทางการเงินนดัดังงกล่ กลาาวโดยใช้ วโดยใชววธิ ิธวี ีวดั ัดมูมูลลค่คาาซึซึง่ ่งให้ใหผผลการประมาณที ลการประมาณทีน่ ่นา่ าเชืเชือ่ ่อถืถืออและสมเหตุ และสมเหตุสสมผล มผลเช่เชนน ใช้ ใชววธิ กี การประมาณ ารประมาณ การมู ล ค่ า ยุ ต ธ ิ รรมที ใ ่ ช้ ก น ั โดยทั ว ่ ไปในตลาดการเงิ น รวมถึ ง การอ้ า งอิ ง ราคาตลาดในปั จ จุ บ น ั ของเครื อ ่ งมื อ ทางการเงิ น อื น ่ ที เ ่ หมื การมูลคายุติธรรมที่ใชกันโดยทั่วไปในตลาดการเงินรวมถึงการอางอิงราคาตลาดในปจจุบันของเครื่องมือทางการเงินอื่นที่เหมือนกัอนนกั หรือนหรือ คล้ หรือใช อใช้แบบจํ แบบจ�าลองในการตี ำลองในการตีราคาสิ ราคาสิททธิเธิลืเลืออกและการวิ กและการวิเคราะห เคราะห์กกระแส ระแสเงินสด คลาายคลึ ยคลึงงกักันนกักับบเครื เครือ่ ่องมื งมืออทางการเงิ ทางการเงินนทีทีม่ ่มตี ีตลาดซื ลาดซือ้ ้อขายคล่ ขายคลอองรองรั งรองรับบหรื ในการน� ำการวิเคราะห์ ระแสเงิกนระแสเงิ สดคิดลดมาประยุ กต์ใช้ กลุ ษทั มต้บริ องใช้ บเท่​่เาทีกัยบบเท อัตราผลตอบแทนของเครื อ่ งมือทางการ เงินสด ในการนํ าการวิกเคราะห นสดคิดลดมาประยุ กตม่ ใบริ ช กลุ ษัทอตตั อราคิ งใชดอลดที ัตราคิเ่ ทีดยลดที ากับอัตราผลตอบแทนของ เงิเครืนที่อมงมื ่ เี งืออ่ ทางการเงิ นไขลักษณะระยะเวลาที หลืออยูค่ วามน่าเชื่เหลื อ่ ถือออยู ของลู กหนีาแ้ เชืละสกุ เงินทีกเ่ หมื บเครื ทางการเงิ นมาพิ นที่มีเงื่อนไขลักเ่ ษณะระยะเวลาที ความน ่อถือลของลู หนีอ้แนกั ละสกุ ลเงิอ่ นงมืทีอ่เหมื อนกับเครื ่องมืจอารณา ทางการเงินมา พิจารณา

มูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ และสัญญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้าค�ำนวณโดยใช้อตั ราทีก่ ำ� หนดโดยธนาคารคูส่ ญ ั ญา โดยถื อนว่าได้ยญ กเลิญาแลกเปลี กสัญญาเหล่ านัตน้ ราดอกเบี ณ วันที่ ้ยในงบแสดงฐานะการเงิ น ่ยนลวงหนาคํานวณโดยใชอัตราที่กําหนดโดยธนาคารคูสัญญา มูลคาอยุเสมื ติธรรมของสั ่ยนอั และสัญญาอัตราแลกเปลี 4

โดยถือเสมือนวาไดยกเลิกสัญญาเหลานั้น ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงิน

ประมาณการทางบัญชีทสี่ ำ� คัญ ข้อสมมติฐานและการใช้ดลุ ยพินจิ กลุม่ บริษทั มีการประมาณการทางบั ญชีฐานและการใช และใช้ขอ้ สมมติ านทีนเ่ ิจกีย่ วข้องกับเหตุการณ์ในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชีอาจไม่ตรงกับ 4 ประมาณการทางบั ญชีที่สําคัญ ขอสมมติ ดุลฐยพิ ผลที กิดษขึัทน้ มีจริกงารประมาณการทางบั ประมาณทางการบัญญชี ชีและใช ทสี่ ำ� คัขญอและข้ คี วามเสี งอย่าใงเป็ นสาระส�ผลของประมาณการทางบั ำคัญทีอ่ าจเป็นเหตุให้เกิดญการปรั บปรุตงรงกั ยอดบ กลุมเ่ บริ สมมติอฐสมมติ านที่เฐกีานที ่ยวขอม่ งกั บเหตุกย่ ารณ นอนาคต ชีอาจไม คงเหลื พย์และหนีส้ นิ อย่าญงเป็ ำคัญอในรอบระยะเวลาบั ญชีห่ยน้งอย า มีาดงเป งั นี้ นสาระสําคัญที่อาจเปนเหตุให เกิดการปรับปรุงยอด ผลที่เกิอดของสิ ขึ้นจรินงทรัประมาณทางการบั ชีทนี่สสาระส� ําคัญและข สมมติฐานที่มีความเสี คงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินอยางเปนสาระสําคัญในรอบระยะเวลาบัญชีหนา มีดังนี้

การรับรู้รายได้ บริ ษทั บย่รูอ้รยแห่ การรั ายได้งหนึง่ ใช้วธิ กี ารรับรูร้ ายได้ตามขัน้ ความส�ำเร็จ กลุม่ บริษทั ต้องประมาณการการให้บริการ ณ วันทีค่ ำ� นวณเทียบเป็นสัดส่วนของ การบริ ง้ หมดที ต่ อ้ วงท� บริษัทยกอารทั ยแห งหนึ่งใช ิธีกำารรับรูรายไดตามขั้นความสําเร็จ กลุมบริษัทตองประมาณการการใหบริการ ณ วันที่คํานวณเทียบเปนสัดสวนของ การบริการทั้งหมดที่ตองทํา

ค่าเผือ่ มูลค่าสุทธิ ทีค่ าดว่าจะได้รบั ค่าษเผืทั อ่ ต้มูอลงประมาณค่ ค่าสุทธิ ที่คาดว่ บริ าเผือา่ จะได้ มูลค่ารสุบั ทธิทคี่ าดว่าจะได้รบั ของถ่านหิน โดยประมาณจากราคาถัวเฉลีย่ ของข้อมูลการซือ้ ขายในปัจจุบนั และแนว บริมษราคาขายในอนาคต ัทตองประมาณคาเผื่อทัมูง้ นีลคร้ าคาที าสุทธิจ่ ทะขายได้ ี่คาดวาจะได รับของถานหิ น โดยประมาณจากราคาถั วเฉลี่ยของข การซื้ออขาย บันและ โน้ ในอนาคตอาจมี ความผั นผวนขึน้ อยูก่ บั ราคาตลาดของถ่ านหิอนมูลความต้ งการถ่ในป านหิจนจุในตลาด แนวโนมราคาขายในอนาคต ทั้งนี้ราคาที่จะขายไดในอนาคตอาจมีความผันผวนขึ้นอยูกับราคาตลาดของถานหิน ความตองการถานหินใน และสภาวะการแข่ งขันภายในประเทศ ตลาด และสภาวะการแขงขันภายในประเทศ

การด้อยค่าของสินทรัพย์ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ บริษทั ได้ประมาณการมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของเงินลงทุนในบริษทั ย่อยจากการค�ำนวณมูลค่าจากการใช้ กระแสเงินสดทีค่ าดว่าจะได้รบั บริษัทไดประมาณการมู คาที่คอาดว าจะได รับคืนของเงิ นลงทุม่นบริ ในบริ ยอายจากการคํ คาจากการใช าจะไดรับ ในอนาคตได้ ถกู ประเมินลจากข้ สมมติ ฐานแผนธุ รกิจของกลุ ษทั ษัทอย่ งไรก็ตามมูาลนวณมู ค่าทีค่ ลาดว่ าจะได้รบั คืกระแสเงิ นของทีด่ นนิ สดที ได้ถกู ่คพิาดว จารณาจาก ูกประเมิ นจากข มูในอนาคตได ลค่าประเมินถโดยผู ป้ ระเมิ นอิสอระสมมติฐานแผนธุรกิจของกลุมบริษัท อยางไรก็ตามมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของที่ดินไดถูกพิจารณาจากมูลคา ประเมินโดยผูประเมินอิสระ

20


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 66บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

4

ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐานและการใชดุลยพินิจ (ตอ)

ภาระผูกกพัพันนผลประโยชน์ ผลประโยชน์พพนันักกงาน งาน ภาระผู ของภาระผู บ�ำเหน็ บ�ำนาญขึ ่กับหลายปั ที่ใช้ใานการค� ำนวณตามหลั กคณิปตระกั ศาสตร์ ประกันภัยโดยมีข้อ มูมูลลคค่าาปปัจจจุจุบบันันของภาระผู กพักนพับํนาเหน็ จบําจนาญขึ ้นอยู้กนับอยูหลายป จจัยที่ใจชจัใยนการคํ นวณตามหลั กคณิตศาสตร นภัยโดยมี สมมติฐานหลายตัว รวมถึงข้อสมมติฐานเกี่ยวกับอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงของข้อสมมติฐานเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อมูลค่าของ ขอสมมติฐานหลายตัว รวมถึงขอสมมติฐานเกี่ยวกับอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงของขอสมมติฐานเหลานี้จะสงผลกระทบตอมูลคาของ ภาระผูกพันบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ภาระผูกพันบําเหน็จบํานาญ กลุม่มบริ บริษษัทัทไดได้พพิจิจารณาอั ารณาอัตตราคิ ราคิดลดที ดลดที่เหมาะสมในแต ่เหมาะสมในแต่ ละปี อัตราดอกเบี ้ยที่ควรจะใช้ ในการก� จจุบันของประมาณ ละป ซึ่งไดซึแ่งกได้อแัตก่ราดอกเบี ้ยที่ควรจะใช ในการกํ าหนดมูำหนดมู ลคาปจลจุค่บาันปัของประมาณการ การกระแสเงิ องจ่ายภาระผู พันจบ�บํำาเหน็ จบ�ในการพิ ำนาญ จารณาอั ในการพิ จารณาอั ราคิดลดทีม่เหมาะสมกลุ ่มบริษอั​ัทตพิราจารณาใช้ กระแสเงิ นสดทีน่คสดที าดว่คาาดว่ จะตาอจะต้ งจายภาระผู กพันบํากเหน็ นาญ ตราคิ ดลดที่เตหมาะสมกลุ บริษัทพิจารณาใช อัตราผลตอบแทนในตลาดของพั ตรรัซึฐ่งบาล ่ต้องจ่ายช�ำระผลกระโยชน์ เมื่อและมี เกษียอณอายุ ผลตอบแทนในตลาดของพั นธบัตรรันฐธบั บาล เปนสกุลซึเงิ่งนเป็เดีนยสกุ วกัลบเงิสกุนเดี ลเงิยนวกัที่ตบอสกุ งจลาเงิยชํนาทีระผลกระโยชน เมื่อเกษียณอายุ ายุครบ และ ายุครบก�เำคีหนดใกล้ เคียงกับ่ตระยะเวลาที ่ต้องจ่ายช� นบ�ำเหน็ บ�ำอนาญที กํมีาอหนดใกล ยงกับระยะเวลาที องจายชําระภาระผู กพัำนระภาระผู บําเหน็จบํกพัานาญที ่เกี่ยจวข ง ่เกี่ยวข้อง ขข้อสมมติ ่มเติ มเป ดเผยในหมายเหตุ สมมติฐฐานหลั านหลักกอือื่นน่ ๆสํ ๆส�าำหรั หรับบภาระผู ภาระผูกกพัพันนบํบ�าำเหน็ เหน็จจบํบ�าำนาญอ นาญอ้าางอิงอิงกังกับบสถานการณ สถานการณ์ปปจจุจั บจุบันในตลาด นั ในตลาดขอข้มูอลมูเพิ ลเพิ ม่ เติ มเปิ ดเผยในหมายเหตุ1717 5

การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัวัตตถุถุปประสงค หารทุ นของบริ ษัทษนั​ัท้นนัเพื้น่อเพืดํา่อรงไว ซึ่งความสามารถในการดํ าเนินำงานอย างตอเนื ่องของกลุ มบริษัท่มเพื ระสงค์ขของกลุ องกลุม่มบริบริษษัทัทในการบริ ในการบริ หารทุ นของบริ ด�ำรงไว้ ซึ่งความสามารถในการด� เนินงานอย่ างต่ อเนื่องของกลุ บริ่อษัท สร อผูถืออหุผูน้ถและเป นประโยชน ตอผูทตี่มีส่อวผูนได อื่นเและเพื ารงไวอ่ ซด�ึ่งโครงสร ่เหมาะสมเพื ่อลดตนทุอ่นลดต้ ทาง นทุน เพืาอ่ งผลตอบแทนต สร้างผลตอบแทนต่ ือหุ้นและเป็ นประโยชน์ ้ที่มีสเสี่วยนได้ สียอื่น ่อดํและเพื ำรงไว้ซางึ่ งของทุ โครงสร้นาทีงของทุ นทีเ่ หมาะสมเพื การเงิ นของทุ น น ทางการเงิ นของทุ ในการดํารงไวหรือปรับโครงสรางของทุน กลุมบริษัทอาจปรับนโยบายการจายเงินปนผลใหกับผูถือหุน การคืนทุนใหแกผูถือหุน การออกหุน ในการด�ำรงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริษัทอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น การคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น การ ใหม การขายทรั พยสินเพื่อพลดภาระหนี ้สิน ออกหุหรื้นอใหม่ หรือการขายทรั ย์สินเพื่อลดภาระหนี ้สิน

6

ขอมูลจําแนกตามสวนงาน บริ าหน ายถ านหิ นใหนกให้ับกอุับตสาหกรรมภายในประเทศ สวนบริ ัทยอษยดํัทาย่เนิ นธุำรกิเนิจนหลัธุรกกิเกีจ่ยหลั วกักบเกีการ บริษษัทัทดํด�าำเนิเนินนธุธุรรกิกิจจในการนํ ในการน�าเขำเข้าและจํ าและจ� ำหน่ ายถ่ านหิ อุตสาหกรรมภายในประเทศ ส่วษนบริ อยด� ่ยวกับการ ให าเทีาเที ยบเรื อใหอกให้ับกบริับษบริัท ษซึ่งัทถือซึเป่งนถืการให บริการทีบ่เริกีก่ยารที วเนื่เอกีงกั่ยวเนื นอีก่อทังกั ้งรายการและยอดคงเหลื อไมมี อ ให้บบริริกการขนส ารขนส่งงทางน้ ทางน�ํา้ำและให และให้บบริกริารท การท่ ยบเรื อเป็นการให้ นอีกทั้งรายการและยอดคงเหลื สาระสํ าคัญำตคัอญ งบการเงิ นรวม นดัรวม งนั้นจึดังงไม อมูลจําอแนกตามส วนงาน วนงาน ไม่มีสาระส� ต่องบการเงิ นั้นมจึีกงารแสดงข ไม่มีการแสดงข้ มูลจ�ำแนกตามส่

21


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 7

67

รายงานประจำ�ปี 2555

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมื่อทวงถาม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

144,848 81,335,522 81,480,370

111,729 75,006,415 75,118,144

108,421 67,898,868 68,007,289

10,974 59,081,072 59,092,046

เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมื่อทวงถามมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยอยูที่รอยละ 0.75 ตอป (พ.ศ. 2554 : รอยละ 0.87 ตอป) สําหรับขอมูลในงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและเงินเบิกเกินบัญชีประกอบดวยรายการดังนี้

เงินสดในมือและเงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี (หมายเหตุ 13)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

81,480,370 -

75,118,144 75,118,144

81,480,370 8

68,007,289 (9,062) 67,998,227

59,092,046 (15) 59,092,031

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท ลูกหนี้การคา คาใชจายจายลวงหนา รายไดคางรับ ลูกหนี้กรมสรรพากร ลูกหนี้อื่น หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้การคา - ลูกหนี้อื่น

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

598,999,561 5,432,774 164,940 33,096,251 12,519,855 650,213,381

593,035,536 6,797,906 18,454,742 37,243,835 13,906,554 669,438,573

593,636,592 4,983,685 140,997 29,663,211 12,519,806 640,944,291

588,719,518 6,274,850 18,454,742 34,673,156 13,496,523 661,618,789

(2,122,351) (8,868,184) 639,222,846

(2,689,173) (9,278,184) 657,471,216

(2,122,351) (8,868,184) 629,953,756

(2,689,173) (8,868,184) 650,061,432

22


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 68บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

8

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น – สุทธิ (ตอ) ลูกหนี้การคา ณ วันที่ 30 กันยายน สามารถวิเคราะหตามอายุหนี้ที่คางชําระไดดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท ไมถึงกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ - นอยกวา 3 เดือน - 3 ถึง 6 เดือน - 6 ถึง 12 เดือน - เกินกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

217,050,576

313,067,991

215,214,546

312,966,635

375,788,277 4,007,526 2,153,182 598,999,561 (2,122,351)

275,741,755 418,556 3,807,234 593,035,536 (2,689,173) 590,346,363

372,268,627 4,007,526 2,145,893 593,636,592 (2,122,351) 591,514,241

271,534,382 418,555 3,799,946 588,719,518 (2,689,173) 586,030,345

596,877,210 9

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

สินคาคงเหลือ - สุทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท สินคาคงเหลือ อะไหลและวัสดุสิ้นเปลือง หัก คาเผื่อมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ - สินคาคงเหลือ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

1,314,713,895 9,360,007

1,984,660,429 7,034,465

1,331,761,709 8,804,660

2,001,708,243 6,714,434

(237,426,331) 1,086,647,571

(130,508,302) 1,861,186,592

(237,426,331) 1,103,140,038

(130,508,302) 1,877,914,375

ในระหวาางป นคนาค้คงเหลื อ เนือ่อเนื งจากการปรั บมูลบคมูาให จํานวน ลานบาท ในระหว่ งปี บริ บริษษัทัทรัรับบรูรูม้มูลูลคค่าาทีที่ล่ลดลงของสิ ดลงของสิ าคงเหลื ่องจากการปรั ลค่เทาาให้กับเท่มูาลกัคบาสุมูทลธิค่ทาี่จสุะได ทธิทรับี่จะได้ ร107 ับจำ�นวน 107 ล้านบาท (พ.ศ. 2554 : ไม ม ี ) และรวมแสดงรายการอยู ใ  นต น ทุ น ขายในงบกํ า ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ (พ.ศ. 2554 : ไม่มี) และรวมแสดงรายการอยู่ในต้นทุนขายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 สินคาคงเหลือบางสวนของบริษัท ซึ่งมีมูลคารวม 461 ลานบาท (พ.ศ. 2554 : 1,028 ลานบาท) ไดนําไป ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 สินค้าคงเหลือบางส่วนของบริษัท ซึ่งมีมูลค่ารวม 461 ล้านบาท (พ.ศ. 2554 : 1,028 ล้านบาท) เปนหลักประกันเงินกูยืมระยะยาวกับธนาคารแหงหนึ่งตามที่กลาวในหมายเหตุ 15 ได้ นำ�ไปเป็นหลักประกันเงินกู้ยืมระยะยาวกับธนาคารแห่งหนึ่งตามที่กล่าวในหมายเหตุ 15

23


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 10

69

รายงานประจำ�ปี 2555

เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ

า ณษัทวัยนอทีย่ 30ณกัวันนยายน เคราะห์ ามอายุ ท้ ค่ี า้ งชำ�ระได้ ดงั นี้ ้ เงิลูกนหนี ลงทุก้ นารค้ ในบริ ที30 ่ กันสามารถวิ ยายน พ.ศ. 2555ตและ พ.ศ.หนี2554 มีดังตอไปนี

บริษัทยอย

ลักษณะธุรกิจ

- บริ บริษษัททั ยูยูเอ็เอ็มมเอส เอสลอจิ ลอจิสสติติกกสส์ แมแนจ บริการดานโลจิสติกส (เดิม : ผลิตและ เมนท จํากัด (เดิ ม:ดบริ(เดิ ษัทม : บริษทั จําหนายถานหินอัดกอน) แมแนจเมนท์ จำ�กั ยูเอ็มเอส โคลบริคเครท จํากัด) - บริษัท ยูเอ็มเอส ไลทเตอร จํากัด ขนสงทางน้ํา - บริษัท ยูเอ็มเอส พอรต บริการทาเทียบเรือ เซอรวิสเซส จํากัด - บริษัท ยูเอ็มเอส ขนสง จํากัด* ขนสงทางบก

ประเทศ ที่จดทะเบียน

อัตรารอยละของหุนที่ถือ พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554

ประเทศไทย

99.9

99.9

ประเทศไทย ประเทศไทย

99.9 99.9 99.9 99.9

99.9 99.9 99.9 99.9

ประเทศไทย

* ในป พ.ศ. 2555 บริษัทนี้ไดหยุดดําเนินการ รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทยอยสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน มีดังตอไปนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท ราคาตามบัญชีตนงวด - สุทธิ การลงทุนเพิ่ม รายการขาดทุนจากการดอยคา ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ

137,706,803 137,706,803

111,000,000 40,000,000 (13,293,197) 137,706,803

เมื บริษบริัทษยูทั เอ็ยูมเอ็เอส ไลทไลท์ เตอร จํากัจำ�กั ด ออกหุ นสามั ญเพิญ่มเพิ ขึ้น่มจํขึา้นนวน 4,000,000 หุน ราคามูหุล้นคาราคามู หุนละ10ลค่บาท เมื่ออวัวันนทีที่ 99กักันนยายน ยายนพ.ศ. พ.ศ.2554 2554 มเอส เตอร์ ด ออกหุ ้นสามั จำ�นวน 4,000,000 าหุ้นละ 10 บาท บริษษัทัทซืซื้อ้อหุหุน้นสามั สามัญญทีที่เพิ่เพิ่ม่มขึ้นขึทั้น้งทัหมดของบริ ้งหมดของบริ มเอส ดำ�รงสั ส่วนการถื บริ ษัทษยูัทเอ็ยูมเอ็เอส ไลทไลท์ เตอรเตอร์ จํากัจำ�กั ด เพืด่อเพื ดํา่อรงสั ดสวดนการถื อหุน อหุ้น ในป นจากการด อยคอายค่ จําานวน 13.3ล้าลนบาท านบาทของเงิ ของเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ ในบริษษัทัท ยูยูเเอ็อ็มมเอส กัด ดไดได้ ถูกถรับูกรูรับรู้ซึ่งเป็น ในปี พ.ศ. พ.ศ.2554 2554การขาดทุ การขาดทุ นจากการด้ จำ�นวน 13.3 เอสขนส ขนส่ง งจําจำ�กั ซึผลมาจากการหยุ ่งเปนผลมาจากการหยุ เนินงานของบริ ่คาดว าจะได นแสดงใหเห็เห็นนถึถึงงมูมูลลค่คาาจากการใช้ จากการใช ซึซึ่งถู่งถูกพิกพิจารณาจากการคํ านวณ ดดำ�เนิดดํนางานของบริ ษัท ษมูัทลมูค่ลาคทีา่คทีาดว่ าจะได้ รับรคืับนคืแสดงให้ จารณาจากการคำ�นวณ กระแสเงิ อนภาษี เงินได องงบประมาณทางการเงิ นที่ไดรนับทีการอนุ มัติจากผูมบัตริ​ิจหากผู าร ้บริหาร การขาดทุนจาก กระแสเงินนสดที สดที่ค่คาดว าดว่าจะได าจะได้รับรในอนาคตก ับในอนาคตก่ อนภาษี เงินขได้ ของงบประมาณทางการเงิ ่ได้รับการอนุ การขาดทุ ยคาสํ2554 าหรับปถูกพ.ศ. 2554 ถูก่ใแสดงรวมอยู ในคาใชจาหยในการบริ หาร การด้อยค่นาจากการด สำ�หรับปีอพ.ศ. แสดงรวมอยู นค่าใช้จ่ายในการบริ าร

24


11 11 11

ณ วัวันนทีที่​่ 11 ตุตุลลาคม พ.ศ. 2554 ณ ณ วันทีน่ 1 ตุลาคม าคม พ.ศ. พ.ศ. 2554 2554 ราคาทุ ราคาทุ น ราคาทุ หัหักก คคาานเสื เสื่อ่อมราคาสะสม มราคาสะสม หัหักก คคาาเสื อ ่ มราคาสะสม ่อการดออยค า หัหักก คคาาเผื เผื เผื่อ่อการด การดอยค ยคาา ราคาตามบั ญชีชี -- สุสุททธิธิ ราคาตามบั ราคาตามบัญ ญชี - สุทธิ สํสําาหรั บบปปสสิ้นิ้นสุสุดด หรั สําวัหรั บปสิ้นกัสุนดยายน พ.ศ. 2555 วัวันนนทีทีที่​่​่ 30 30 พ.ศ. 2555 30 ญกักันนชียายน ยายน พ.ศ. ราคาตามบั ตตนนงวด -- สุสุททธิธิ2555 ราคาตามบั ญ ชี งวด ราคาตามบั ญชีตางป นงวด - สุทธิ ซืซื้อ้อเพิ ่มขึ้น้นระหว เพิ ซืจํ้อาหน เพิ่ม่มาขึขึยระหว ้นระหว ระหวาาางปงป งป- สุทธิ จํจําาหน ยระหว างป -- สุสุททธิธิ หนนาาทรั ยระหว โอนสิ พพยยเเขขาาางป/(ออก) โอนสิ น ทรั โอนสิ นบทรัรายการค พยเขา/(ออก) /(ออก) การกลั าาเผื ่อการดออยค า การกลั บบรายการค การกลั รายการค าเผื เผื่อ่อการด การดอยค ยคาา คคาาเสื อ ่ มราคา คาเสื เสื่อ่อมราคา มราคา ราคาตามบั ญชีชีปปลายงวด - สุทธิ ราคาตามบั ราคาตามบัญ ญชีปลายงวด ลายงวด -- สุสุททธิธิ ณ วัวันนทีที่​่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ณ ณ วันทีน่ 30 30 กักันนยายน ยายน พ.ศ. พ.ศ. 2555 2555 ราคาทุ ราคาทุ น ราคาทุ หัหักก คคาานเสื ่อมราคาสะสม หัก คาเสื เสื่อ่อมราคาสะสม มราคาสะสม ราคาตามบั ญชีชี -- สุสุททธิธิ ราคาตามบั ราคาตามบัญ ญชี - สุทธิ

ทีที่ด่ดินิน อาคารและอุ ปกรณ -- สุสุททธิธิ ที่ดิน อาคารและอุ อาคารและอุปปกรณ กรณ - สุทธิ

38,894,452 38,894,452 38,894,452 (12,261,224) (12,261,224) (12,261,224)-26,633,228 26,633,228 26,633,228 26,633,228 26,633,228 26,633,228 564,400 564,400 564,400 --7,624,966 7,624,966 7,624,966 -(5,075,769) (5,075,769) (5,075,769) 29,746,825 29,746,825 29,746,825 47,083,818 47,083,818 47,083,818 (17,336,993) (17,336,993) (17,336,993) 29,746,825 29,746,825 29,746,825

303,675,136 303,675,136 303,675,136-(3,164,212) (3,164,212) (3,164,212) 300,510,924 300,510,924 300,510,924

300,510,924 300,510,924 300,510,924-(4,724,212) (4,724,212) (4,724,212)-3,164,212 3,164,212 3,164,212-298,950,924 298,950,924 298,950,924

298,950,924 298,950,924 298,950,924-298,950,924 298,950,924 298,950,924

ทีที่ด่ดินิน สสววนปรั บปรุงงทีที่ด่ดินิน ทีบาท ่ดิน สวนปรั นปรับบปรุ ปรุงทีบาท ่ดิน บาท บาท บาท บาท

บริ ษัท ยูนคิ ไมนิ่ง่ง เซอร์ วสิ เซส จํจําากักัดด (มหาชน) บริ บริษษั​ัทท ยูยูนนคคิ​ิ ไมนิ ไมนิ่ง เซอร์ เซอร์ ววสสิ​ิ เซส เซส จํากัด (มหาชน) (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ นนรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริษษั​ัทท หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ รวมและงบการเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินนเฉพาะบริ เฉพาะบริษัท สํสําาหรั บบปีปี สิสิ้​้นนสุสุ ดดวัวันนทีที่​่ 30 กักันนยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 หรั 30 ยายน พ.ศ. 2555 และ สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. พ.ศ. 2554 2554

289,455,740 289,455,740 289,455,740 (68,336,747) (68,336,747) (68,336,747) 221,118,993 221,118,993 221,118,993

233,339,625 233,339,625 233,339,625 496,400 496,400 496,400 --2,284,846 2,284,846 2,284,846 -(15,001,878) (15,001,878) (15,001,878) 221,118,993 221,118,993 221,118,993

286,674,494 286,674,494 286,674,494 (53,334,869) (53,334,869) (53,334,869)-233,339,625 233,339,625 233,339,625

อาคาร อาคาร อาคาร บาท บาท บาท

224,667,688 224,667,688 224,667,688 (71,629,401) (71,629,401) (71,629,401) 153,038,287 153,038,287 153,038,287

155,689,794 155,689,794 155,689,794 5,240,161 5,240,161 5,240,161 (804,822) (804,822) (804,822) 110,257 110,257 110,257-(7,197,103) (7,197,103) (7,197,103) 153,038,287 153,038,287 153,038,287

226,242,585 226,242,585 226,242,585 (70,552,791) (70,552,791) (70,552,791)-155,689,794 155,689,794 155,689,794

249,656,781 249,656,781 249,656,781 (93,434,236) (93,434,236) (93,434,236) 156,222,545 156,222,545 156,222,545

128,518,612 128,518,612 128,518,612 3,741,466 3,741,466 3,741,466 (1,161,599) (1,161,599) (1,161,599) 56,815,863 56,815,863 56,815,863-(31,691,797) (31,691,797) (31,691,797) 156,222,545 156,222,545 156,222,545

193,993,124 193,993,124 193,993,124 (65,474,512) (65,474,512) (65,474,512)-128,518,612 128,518,612 128,518,612

112,988,138 112,988,138 112,988,138 (80,702,588) (80,702,588) (80,702,588) 32,285,550 32,285,550 32,285,550

37,736,940 37,736,940 37,736,940 3,174,096 3,174,096 3,174,096 (45,115) (45,115) (45,115) 8,925,816 8,925,816 8,925,816-(17,506,187) (17,506,187) (17,506,187) 32,285,550 32,285,550 32,285,550

105,897,421 105,897,421 105,897,421 (68,160,481) (68,160,481) (68,160,481)-37,736,940 37,736,940 37,736,940

งบการเงิ นรวม งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม ยานพาหนะและ ยานพาหนะและ ยานพาหนะและ เรื อลําเลียยงง เครื ่ออ่ งจั กกรร อุอุปปกรณ สสําํานันักกงาน เรื เครื งจั กรณ งาน เรืออลํลําาเลี เลี ย ง เครื ่ อ งจั ก ร อุ ป กรณ สํานักบาท งาน บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

21,430,329 21,430,329 21,430,329-21,430,329 21,430,329 21,430,329

84,270,388 84,270,388 84,270,388 13,105,317 13,105,317 13,105,317 --(75,945,376) (75,945,376) (75,945,376)---21,430,329 21,430,329 21,430,329

84,270,388 84,270,388 84,270,388--84,270,388 84,270,388 84,270,388

งานระหว าางง งานระหว งานระหว กกออสร าาางงง กอสร สร าง บาท บาท บาท

25 25 25

1,244,233,418 1,244,233,418 1,244,233,418 (331,439,965) (331,439,965) (331,439,965) 912,793,453 912,793,453 912,793,453

966,699,511 966,699,511 966,699,511 26,321,840 26,321,840 26,321,840 (6,735,748) (6,735,748) (6,735,748) (183,628) (183,628) (183,628) 3,164,212 3,164,212 3,164,212 (76,472,734) (76,472,734) (76,472,734) 912,793,453 912,793,453 912,793,453

1,239,647,600 1,239,647,600 1,239,647,600 (269,783,877) (269,783,877) (269,783,877) (3,164,212) (3,164,212) (3,164,212) 966,699,511 966,699,511 966,699,511

รวม รวม รวม บาท บาท บาท

70 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน)


11 11 11

38,894,452 38,894,452 38,894,452 (12,261,225) (12,261,225) (12,261,225)26,633,22726,633,227 26,633,227 26,633,227 26,633,227 26,633,227 564,400 564,400 564,4007,624,9677,624,967 7,624,967(5,075,769)(5,075,769) (5,075,769) 29,746,825 29,746,825 29,746,825 47,083,818 47,083,818 47,083,818 (17,336,993) (17,336,993) (17,336,993) 29,746,825 29,746,825 29,746,825

303,675,136 303,675,136 303,675,136(3,164,212)(3,164,212) (3,164,212) 300,510,924 300,510,924 300,510,924 300,510,924 300,510,924 300,510,924(4,724,212)(4,724,212) (4,724,212)3,164,2123,164,212 3,164,212298,950,924298,950,924 298,950,924 298,950,924 298,950,924 298,950,924298,950,924298,950,924 298,950,924

ที่ดิน สวนปรับปรุงที่ดิน ที่ดิน สวนปรับปรุงที่ดิน ทีบาท ่ดิน สวนปรับปรุงทีบาท ่ดิน บาท บาท บาท บาท

265,489,870 265,489,870 265,489,870 (63,109,825) (63,109,825) (63,109,825) 202,380,045 202,380,045 202,380,045

233,284,792 233,284,792 233,284,792 496,400 496,400 496,400 (19,976,523) (19,976,523) (19,976,523) 2,284,846 2,284,846 2,284,846(13,709,470)(13,709,470) (13,709,470) 202,380,045 202,380,045 202,380,045

286,492,210 286,492,210 286,492,210 (53,207,418) (53,207,418) (53,207,418)233,284,792233,284,792 233,284,792

อาคาร อาคาร อาคาร บาท บาท บาท

32,722,455 32,722,455 32,722,455 (13,206,220) (13,206,220) (13,206,220) 19,516,235 19,516,235 19,516,235

21,661,828 21,661,828 21,661,828 4,290,067 4,290,067 4,290,067 (804,822) (804,822) (804,822)(5,630,838)(5,630,838) (5,630,838) 19,516,235 19,516,235 19,516,235

35,632,387 35,632,387 35,632,387 (13,970,559) (13,970,559) (13,970,559)21,661,82821,661,828 21,661,828

249,656,781 249,656,781 249,656,781 (93,434,237) (93,434,237) (93,434,237) 156,222,544 156,222,544 156,222,544

128,518,612 128,518,612 128,518,612 3,741,466 3,741,466 3,741,466 (1,161,600) (1,161,600) (1,161,600) 56,815,863 56,815,863 56,815,863(31,691,797)(31,691,797) (31,691,797) 156,222,544 156,222,544 156,222,544

193,993,124 193,993,124 193,993,124 (65,474,512) (65,474,512) (65,474,512)128,518,612128,518,612 128,518,612

108,793,606 108,793,606 108,793,606 (78,736,014) (78,736,014) (78,736,014) 30,057,592 30,057,592 30,057,592

36,727,402 36,727,402 36,727,402 2,836,405 2,836,405 2,836,405 (1,106,897) (1,106,897) (1,106,897) 8,551,282 8,551,282 8,551,282(16,950,600)(16,950,600) (16,950,600) 30,057,592 30,057,592 30,057,592

103,647,805 103,647,805 103,647,805 (66,920,403) (66,920,403) (66,920,403)36,727,40236,727,402 36,727,402

รวม รวม รวม บาท บาท บาท

831,607,173 831,607,173 831,607,173 24,374,864 24,374,864 24,374,864 (27,836,554) (27,836,554) (27,836,554) (183,627) (183,627) (183,627) 3,164,212 3,164,212 3,164,212 (73,058,474) (73,058,474) (73,058,474) 758,067,594 758,067,594 758,067,594 21,193,429 1,023,890,883 21,193,429 1,023,890,883 21,193,429- 1,023,890,883 (265,823,289) - (265,823,289) (265,823,289) 21,193,429 758,067,594 21,193,429 758,067,594 21,193,429 758,067,594

84,270,388 84,270,388 84,270,388 12,446,126 12,446,126 12,446,126 (62,500) (62,500) (62,500) (75,460,585) (75,460,585) (75,460,585)21,193,42921,193,429 21,193,429

84,270,388 1,046,605,502 84,270,388 1,046,605,502 84,270,388- 1,046,605,502 (211,834,117) - (211,834,117) - (211,834,117) (3,164,212) (3,164,212) (3,164,212) 84,270,388 831,607,173 84,270,388 831,607,173 84,270,388 831,607,173

งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินเฉพาะบริ ยานพาหนะ เครื่อษงจั​ัทกร อุปกรณสํานักงาน งานระหวางกอสราง ยานพาหนะ เครื่องจักร อุปกรณสํานักงาน งานระหวางกอสราง ยานพาหนะ เครื่องจั กร อุปกรณสํานักบาท งาน งานระหวางกอสร าง บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

26 26 26

ในระหวางป พ.ศ. 2555 บริษัทไดกลับรายการคาเผื่อการดอยคาของที่ดินจํานวน 3.2 ลานบาท เนื่องจากไดขายที่ดินดังกลาวใหแกบริษัทภายนอกแหงหนึ่ง ในระหวางป พ.ศ. 2555 บริษัทไดกลับรายการคาเผื่อการดอยคาของที่ดินจํานวน 3.2 ลานบาท เนื่องจากไดขายที่ดินดังกลาวใหแกบริษัทภายนอกแหงหนึ่ง ในระหวางป พ.ศ. 2555 บริษัทไดกลับรายการคาเผื่อการดอยคาของที่ดินจํานวน 3.2 ลานบาท เนื่องจากไดขายที่ดินดังกลาวใหแกบริษัทภายนอกแหงหนึ่ง ในระหวางป พ.ศ. 2555 บริษัทไดขายอาคารและอุปกรณบางสวนใหแกบริษัทยอยแหงหนึ่งในราคา 22.86 ลานบาท บริษัทมีกําไรจากการจําหนายสินทรัพยดังกลาวจํานวน 1.75 ลานบาท ซึ่งไดบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในระหวางป พ.ศ. 2555 บริษัทไดขายอาคารและอุปกรณบางสวนใหแกบริษัทยอยแหงหนึ่งในราคา 22.86 ลานบาท บริษัทมีกําไรจากการจําหนายสินทรัพยดังกลาวจํานวน 1.75 ลานบาท ซึ่งไดบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในระหว งป พ.ศ.างป 2555 บริษัทไดขายอาคารและอุปกรณบางสวนใหแกบริษัทยอยแหงหนึ่งในราคา 22.86 ลานบาท บริษัทมีกําไรจากการจําหนายสินทรัพยดังกลาวจํานวน 1.75 ลานบาท ซึ่งไดบันทึกในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จาในระหว เบ็ดเสร็จในระหวางป เบ็ดเสร็จในระหวางป

ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ณ วันทีน่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ราคาทุ ราคาทุน หัราคาทุ ก คานเสื่อมราคาสะสม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก คาเสื เผื่อมราคาสะสม การดอยคา หัก คาเผื่อการดอยคา หัราคาตามบั ก คาเผื่อการด ญชี -อสุยค ทธิา ราคาตามบัญชี - สุทธิ ราคาตามบั สําหรับปสิ้นญสุชีด- วัสุนททีธิ ่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 สํราคาตามบั าหรับปสิ้นญสุชีดตนวังวด นที่ -30สุทกัธินยายน พ.ศ. 2555 ราคาตามบัญชีตนงวด - สุทธิ ราคาตามบั ญชีตางป นงวด - สุทธิ ซื้อเพิ่มขึ้นระหว ซื้อเพิ่มขึ้นระหวางป ซืจํ้อาหน เพิ่มาขึยระหว ้นระหวาางปงป- สุทธิ จําหนายระหวางป - สุทธิ จํโอนสิ าหนนาทรั ยระหว - สุทธิ พยเขาางป/(ออก) โอนสินทรัพยเขา/(ออก) โอนสิ พยเขา/(ออก) การกลันบทรัรายการค าเผื่อการดอยคา การกลับรายการคาเผื่อการดอยคา การกลั บรายการคาเผื่อการดอยคา คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคา คราคาตามบั าเสื่อมราคา ญชีปลายงวด - สุทธิ ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ ราคาตามบั ลายงวด - สุ2555 ทธิ ณ วันที่ 30ญกัชีนปยายน พ.ศ. ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ณ วันทีน่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ราคาทุ ราคาทุน ราคาทุ หัก คานเสื่อมราคาสะสม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัราคาตามบั ก คาเสื่อมราคาสะสม ญชี - สุทธิ ราคาตามบัญชี - สุทธิ ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ (ตอ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ (ตอ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ (ตอ)

บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ยูนปคิ ระกอบงบการเงิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน)นเฉพาะบริษัท หมายเหตุ นรวมและงบการเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หมายเหตุ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษัท สําหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

รายงานประจำ�ปี 2555

71


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 72บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

11

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ (ตอ) ทรัพย์ยภายใต้ ายใตสัญ : ไม: มไม่ี) มไดี) รได้ วมอยู ในยอดการซื ้อเพิ่ม้อขึเพิ้น่มระหว างป างปี สิสินนทรั ญญาเช ญาเช่าาการเงิ การเงินนจํจ�าำนวน นวน4,205,607 4,205,607บาท บาท(พ.ศ. (พ.ศ.2554 2554 รวมอยู ่ในยอดการซื ขึ้นระหว่ การขาดทุนจากการดอยคาจํานวน 1 ลานบาทของที่ดิน ไดถูกรับรูในระหวางป พ.ศ. 2554 ซึ่งเปนผลจากการที่ที่ดินถูกขวาง การขาดทุนจากการด้อยค่าจ�ำนวน 1 ล้านบาทของที่ดิน ได้ถูกรับรู้ในระหว่างปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเป็นผลจากการที่ที่ดินถูกขวางโดยสาย โดยสายไฟฟาแรงสูง และไมสามารถใชประโยชนอยางอื่นไดนอกจากการเกษตร มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนแสดงถึงราคาขายสุทธิ ซึ่งถูก ไฟฟ้ าแรงสูง และไม่สามารถใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้นอกจากการเกษตร มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนแสดงถึงราคาขายสุทธิ ซึ่งถูก พิ จ ารณาจากราคาอ ประเมิ นอินสอิระสระ การขาดทุ นจากการด อยคอายค่ สําหรั ป พ.ศ. 25542554 ถูกแสดง พิจารณาจากราคาอ้าางอิ งอิงงในตลาดของสิ ในตลาดของสินนทรัทรัพพยย์ทที่เที​ี่เทียบเท ยบเท่ากัานกัโดยผู นโดยผู ้ประเมิ การขาดทุ นจากการด้ าส�บำหรั บปี พ.ศ. ถูก รวมอยู ใ  นค า ใช จ า  ยในการบริ ห าร แสดงรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่ใชค้ําประกันวงเงินกูตาง ๆ สามารถสรุปไดดังนี้ •

ทีที่ด่ดินินบางส ่ดิน่ดบางส วนของบริ ษัทษทีัท่ตทีําบลสวนส ม อํามเภอบ านแพ ว จังวหวัจัดงสมุ ถูกจําถนองไว กับธนาคาร บางส่ววนและสิ นและสิ่งปลู ่งปลูกสร กสร้างบนที างบนที ินบางส่ วนของบริ ่ต�ำบลสวนส้ อ�ำเภอบ้ านแพ้ หวัทดรสาครได สมุทรสาครได้ ูกจ�ำนองไว้ กับ ธนาคารแห่ ง หนึ ่ ง เพื ่ อ ค� ้ ำ ประกั น เงิ น กู ้ ย ื ม ระยะยาวตามที ่ ก ล่ า วในหมายเหตุ 15 ซึ ่ ง มี ม ู ล ค่ า การจ� ำ นองรวม 200 ล้ า นบาท แหงหนึ่งเพื่อค้ําประกันเงินกูยืมระยะยาวตามที่กลาวในหมายเหตุ 15 ซึ่งมีมูลคาการจํานองรวม 200 ลานบาท (พ.ศ.2554 2554: :200 200ลล้าานบาท) นบาท) (พ.ศ.

ทีที่ด่ดินินบางส ่ดิน่ดบางส วนของบริ ษัทษทีัท่ตทีําบลคลองสะแก อําเภอนครหลวง จังหวัดจัพระนครศรี อยุธยาอยุธยาได้ถูก บางส่ววนและสิ นและสิ่งปลู ่งปลูกสร กสร้างบนที างบนที ินบางส่ วนของบริ ่ต�ำบลคลองสะแก อ�ำเภอนครหลวง งหวัดพระนครศรี ได ูกจํานองไว กับธนาคารแห หนึอ่ ่งค�เพืำ้ ประกั ่อค้ําประกั ยืมระยะยาวตามที ลาวในหมายเหตุ ซึ่งำมีนองรวม มูลคาการจํ จ�ำถนองไว้ กบั ธนาคารแห่ งหนึง่ เพื นเงินนกูเงิย้ นมื กูระยะยาวตามที ก่ ล่า่กวในหมายเหตุ 15 ซึง่ มีมลู ค่า15 การจ� 240านองรวม ล้านบาท (พ.ศ.ลา2554 240 ล้2554 านบาท) 240 นบาท: (พ.ศ. : 240 ลานบาท)

เรืเรืออขนลํ งหนึงหนึ ่งจํา่งนวน 12 ลํา12ไดถล�ูกำ จํานองไว ธนาคารแห งหนึ่งเพื่อเปงนหนึ หลั่งกเพืประกั กเกินนบัเงิ ญนชีธเบินาคาร ขนล�าำเลีเลียยงของบริ งของบริษัทษยัทอย่ยแห อยแห่ จ�ำนวน ได้ถูกกจ�ับำนองไว้ กับธนาคารแห่ ่อเป็นเงิหลันเบิ กประกั กเกิน บัญชีธนนาคาร และเงิตามที นกู้ยืม่กระยะยาวตามที ่กล่และ าวในหมายเหตุ และมูล15 ตามล�าำนองรวม ดับ โดยมี าการจ�(พ.ศ. ำนองรวม 125 ลล้าานบาท) นบาท และเงิ กูยืมระยะยาว ลาวในหมายเหตุ13 15 ตามลําดับ13 โดยมี คาการจํ 125มลูลาค่นบาท 2554: 125 (พ.ศ. 2554 : 125 ล้านบาท) สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงิน ซึ่งกลุมบริษัทและบริษัทเปนผูเชาซึ่งแสดงรวมในรายการขางตน ประกอบดวยยานพาหนะ สิมีนรายละเอี ทรัพย์ภยายใต้ ดดังนีส้: ัญญาเช่าการเงิน ซึ่งกลุ่มบริษัทและบริษัทเป็นผู้เช่าซึ่งแสดงรวมในรายการข้างต้น ประกอบด้วยยานพาหนะ มีรายละเอียดดังนี้: งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท บาท บาท •

ราคาทุนของสินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

5,427,382 (1,004,789) 4,422,593

16,056,280 (11,891,210) 4,165,070

5,427,382 (1,004,789) 4,422,593

27

16,056,280 (11,891,210) 4,165,070


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 12

รายงานประจำ�ปี 2555

สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ โปรแกรมคอมพิวเตอร งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท บาท บาท ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

13

8,979,963 (5,434,585) 3,545,378

8,084,983 (4,853,689) 3,231,294

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ราคาตามบัญชีตนงวด - สุทธิ ซื้อเพิ่มขึ้นระหวางป รับโอนจากที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ

3,545,378 6,041,454 183,627 (1,338,162)

3,231,294 6,041,454 183,627 (1,151,387) 8,304,988

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

17,375,046 (8,942,749)

8,432,297

16,480,065 (8,175,077) 8,304,988

8,432,297

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท เงินเบิกเกินบัญชี ทรัสตรีซีท เงินกูยืมระยะสั้น

938,163,080 320,000,000 1,258,163,080

9,062 1,246,276,698 160,000,000 1,406,285,760

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 938,163,080 320,000,000 1,258,163,080

15 1,246,276,698 160,000,000 1,406,276,713

นการเงิ นมีนอมีัตอราดอกเบี ้ย ้ยMOR MRR บวกส่ บวกส วนเพิ่ม่มและ และ MLRMLR เงินเบิกเกิเกินนบับัญญชีชีแและเงิ ละเงินนกูกูระยะสั ้ระยะสั้น้นจากสถาบั จากสถาบั นการเงิ ัตราดอกเบี MOR บวกส บวกส่วนเพิ วนเพิ่ม่มและ และ MRR วนเพิ หัก สวนลด และLIBOR LIBORบวกส่ บวกสวนเพิ วนเพิ่ม่มและ และSIBOR SIBORบวกส่ บวกสววนเพิ นเพิ่ม ส่หัวกนลด และ ณ วันนทีที่ ่ 30 นเบินกเบิเกิกนเกิบันญบัชีญ จําชีนวน 5 ลา5นบาท (พ.ศ.(พ.ศ. 25542554 : 5 ลา:นบาท) ค้ําประกัค�น้ำโดยเรื ยงของบริ ัท 30กักันนยายน ยายนพ.ศ. พ.ศ.2555 2555วงเงิวงเงิ จำ� นวน ล้านบาท 5 ล้านบาท) ประกัอนขนลํ โดยเรืาเลีอขนล� ำเลียษงของ ยอษยแห ่งตามที ลาวในหมายเหตุ 11 วงเงินเบิ11กเกิวงเงิ นบัญนชีเบิ และทรั ที่ยังไมไ่มดบริ เบิษกถอนมี ลานบาท และ 53 บริ ัทย่งอหนึ ยแห่ งหนึ่งกตามที ่กล่าวในหมายเหตุ กเกินสบัตญรีซชี​ีทแของกลุ ละทรัสมต์บริรษีซีทั ของกลุ ัทที่ยังจไม่ํานวน ได้เบิ53 กถอนมี จ�ำนวน ล้1,191 านบาท และ 1,191 2554และ : 731,413 ล้านบาท และ 1,413 ลานบาท ตามลํล้าาดันบาท บ (พ.ศ.ตามล� 2554ำดั: บ73(พ.ศ. ลานบาท ลานบาท ตามลําล้ดัาบนบาท ) ตามล�ำดับ)

ณ วันที่ 30 30กักันนยายน ยายนพ.ศ. พ.ศ.2555 2555บริบริ วงเงิ มื ระยะสั น้ ในรู ปแบบของตั ญญาใช้ เงินและตั ลักประกั นจากสถาบั นการ ษัทษมีทั วมีงเงิ นกูนยกูืมย้ ระยะสั ้นในรู ปแบบของตั ๋วสัญว๋ สัญาใช เงินและตั ๋วเงินว๋ ทีเงิ่ไนมทีมไ่ ีหม่ลัมกหี ประกั นจากสถาบั นการเงิ น เงิในประเทศที นในประเทศที ย ่ ง ั ไม่ ไ ด้ ใ ช้ จ ำ � นวน 155 ล้ า นบาท (พ.ศ. 2554 : 365 ล้ า นบาท) ่ยังไมไดใชจํานวน 155ลานบาท (พ.ศ. 2554 : 365 ลานบาท)

28

73


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 74บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

14

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น เจาหนีก้ รมสรรพากร

15

213,141,531 24,267,784 6,881,426 244,290,741

227,355,374 28,264,410 2,210,298 257,830,082

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 211,468,073 23,376,653 6,839,787 241,684,513

224,707,885 27,373,517 2,085,085 254,166,487

เงินกูยืมระยะยาว งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ - ภายในหนึ่งป - เกินกวาหนึ่งป แตไมเกินหาป

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

422,047,756 41,566,309

200,964,000 578,520,309

410,047,756 20,180,000

188,964,000 545,134,000

463,614,065

779,484,309

430,227,756

734,098,000

กูระยะยาวมี ัตราดอกเบี้ยคงที ้ยคงที่ 6่ 6เดืเดืออนในสกุ นในสกุลลเงิเงินนบาท บาท บวกส่ บวกสววนเพิ เงินเงิกูน้ระยะยาวมี อัตอราดอกเบี นเพิ่ม่ม และMLR และMLRหัหักกสส่ววนลด นลดและอั และอัตรา ตราprime primeหักหัสกวส่นลด วนลด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 บริษัทไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการที่กําหนดในสัญญาเงินกูกับธนาคารผูใหกูยืมจํานวนสาม ณ แห วันงทีโดยธนาคารแห ่ 30 กันยายนงหนึ พ.ศ.่งได2555 สามารถปฏิ ิตามเงืบ่อัตนไขบางประการที ่กำ�หนดในสั ญญาเงิ ้ให้กู้ยืมนจำ�นวน ออกหนับริงสืษอัทยิไม่ นยอมเพื ่อยกเวบนัตการปฏิ ิตามเงื่อนไขที่กําหนดในสั ญญาเงิ นกูแลนวกูก้กอับนวัธนาคารผู นที่ในงบการเงิ สามแห่ ง โดยธนาคารแห่ ง หนึ ่ ง ได้ อ อกหนั ง สื อ ยิ น ยอมเพื อ ่ ยกเว้ น การปฏิ บ ต ั ต ิ ามเงื อ ่ นไขที ก ่ ำ�หนดในสั ญ ญาเงิ น กู แ ้ ล้ ว ก่ อ นวั น น ภายใตมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการนําเสนองบการเงิน กิจการตองจัดประเภทหนี้สินเปนหนี้สินหมุนเวีทียใ่ นงบการเงิ น ภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการนำ�เสนองบการเงิน กิจการต้องจัดประเภทหนี้สินเป็นหนี้สินหมุนเวียน หาก หากกิจการไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญาเงินกูระยะยาวที่มีผลในหรือกอนวันที่ในงบการเงิน แมวาภายหลังจากวันที่ใน กิจการไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำ�หนดในสัญญาเงินกู้ระยะยาวที่มีผลในหรือก่อนวันที่ในงบการเงิน แม้ว่าภายหลังจากวันที่ใน งบการเงินและกอนวันที่ที่งบการเงินไดรับการอนุมัติใหเปดเผยสูสาธารณะ ผูใหกูจะยินยอมไมเรียกคืนเงินกูเนื่องจากการไมปฏิบัติตามเงื่อนไข งบการเงินและก่อนวันที่ที่งบการเงินได้รับการอนุมัติให้เปิดเผยสู่สาธารณะ ผู้ให้กู้จะยินยอมไม่เรียกคืนเงินกู้เนื่องจากการไม่ปฏิบัติตาม งนั้นสวนของเงินกูยืมระยะยาวที่จะถึงกําหนดชําระเกินหนึ่งป จํานวน านบาทจึงถูกจัดประเภทเปนหนี้สินหมุนเวียน เงื่อดันไข ดังนั้นส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่จะถึงกำ�หนดชำ�ระเกินหนึ134 ่งปีลจำ�นวน 134 ล้านบาท จึงถูกจัดประเภทเป็นหนี้สินหมุนเวียน อยางไรก็ตาม หลังจากวันที่ในงบการเงิน บริษัทไดรับหนังสือยินยอมเพื่อยกเวนการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญาเงินกูเพิ่มเติมจาก อย่ผูางไรก็ หลังงจากวั ที่ในงบการเงิ น ดบริไปษเงิัทได้ ยินยอมเพื ่อยกเว้นการปฏิ ัติตหามเงื ่กำ�หนดในสั ญญาเงิ ใหกูอตีกาม หนึ่งแห ดังนั้นนงบการเงิ นในงวดถั นกูรยับืมหนั ดังงกลสือาวจะถู กจัดประเภทเป นหนี้สบินไม มุนเวี่อยนไขที นตามกํ าหนดชําระคื นเงินนกูกูย้เืมพิ่มเติม จากผูใ้ ห้กอู้ กี หนึง่ แห่ง ดังนัน้ งบการเงินในงวดถัดไป เงินกูย้ มื ดังกล่าวจะถูกจัดประเภทเป็นหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนตามกำ�หนดชำ�ระคืนเงินกูย้ มื

29


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 15

รายงานประจำ�ปี 2555

75

เงินกูยืมระยะยาว(ตอ) รายการเคลื่อนไหวของเงินกูยืมระยะยาวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท ยอดตนป เพิ่มขึ้นระหวางป ชําระคืนระหวางป ยอดปลายป

779,484,309 (315,870,244) 463,614,065

618,220,309 500,000,000 (338,736,000) 779,484,309

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 734,098,000 (303,870,244) 430,227,756

533,894,000 500,000,000 (299,796,000) 734,098,000

่ 30กันกัยายน นยายนพ.ศ.พ.ศ. 2555 กูย้ มื ระยะยาวถู กค�ำ้ นประกั ขนล� ำเลียงของบริ ทั ย่องหนึ ยแห่​่ง งทีหนึ ทีด่ นิ วบางส่ วนและสิ ณณ วัวันนทีที่ 30 2555 เงินกูยเงิืมนระยะยาวถู กค้ําประกั โดยเรืนโดยเรื อขนลํอาเลี ยงของบริ ษัทยอษยแห ่ดินง่ บางส นและสิ ่งปลูกสรง่ ปลู บนที าง กสร้ ่ดินาง บนที่ดวนของบริ ินบางส่วษนของบริ ่กล่าวในหมายเหตุ และสิอบางส นค้าคงเหลื อบางส่ วนของบริ ษัท ตามที่กล่าขวในหมายเหตุ ข้อ 9 บางส ัทตามทีษ่กลัทาตามที วในหมายเหตุ 11 และสินค11 าคงเหลื วนของบริ ษัทตามที ่กลาวในหมายเหตุ อ 9 ณณ วัวันนทีที่ 30 มบริ ษัทษและบริ ษทั ษไมัทมไม่วี งเงิ กูยนืมกูระยะยาวที ่ยังไม่ยไังดไม่ เบิไกด้ถอน ่ 30กักันนยายน ยายนพ.ศ. พ.ศ.2555 2555และ และพ.ศ. พ.ศ.2554 2554กลุกลุ ่มบริ ัทและบริ มีวนงเงิ ้ยืมระยะยาวที เบิกถอน 16

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน กลุมบริษัทมีหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินสําหรับยานพาหนะ โดยมียอดคงเหลือดังตอไปนี้

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี

หนีหนี ้สิน้สตามสั ญญาเช าการเงิ นที่ถนึงที่ถึง ินตามสั ญญาเช่ าการเงิ กําหนดชําระ - ภายในหนึ่งป - เกินกวาหนึ่งป แตไมเกินหาป

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

4,020,309 (428,775) 3,591,534

4,020,309 (428,775) 3,591,534

1,460,526 (43,925) 1,416,601

1,460,526 (43,925) 1,416,601

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

944,392 2,647,142

1,304,169 112,432

944,392 2,647,142

1,304,169 112,432

3,591,534

1,416,601

3,591,534

1,416,601

30


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซส จํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 76บริษบริัทษยูัทนคิยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

17

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบแสดงฐานะการเงิน ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ

3,895,663

9,207,554

3,554,138

8,675,718

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ

1,357,815

1,937,265

1,230,349

1,623,075

รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุมีดังตอไปนี้

ยอดตนป ตนทุนบริการในปปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนที่จายในระหวางป ผลกําไรจากการประมาณ ตามหลักคณิตศาตรประกันภัย โอนยายจากบริษัทยอย ยอดปลายป

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

9,207,554 1,210,854 146,961 (60,109)

7,704,104 1,600,660 336,605 (4,429)

8,675,718 1,097,630 132,719 -

6,760,925 1,319,400 303,675 -

(6,609,597) 3,895,663

(429,386) 9,207,554

(6,351,929) 3,554,138

291,718 8,675,718

ในระหว่าางปงปีสสิ้นิ้นสุสุดดวันวันทีที่ 30่ 30กันกัยายน นยายน ย่อยแห่ ่งโอนย้ กงานทั ้งหมดไปให้ ัท ซึ่งภาระผู กพันผลประโยชน์ ในระหว พ.ศ.พ.ศ. 2552554 4 บริษบริ ัทยษอัทยแห งหนึง่งหนึ โอนย ายพนัายพนั กงานทั ้งหมดไปให บริษัทบริซึษ่งภาระผู กพันผลประโยชน เมื่อ เมื อ ่ เกษี ย ณอายุ ท ง ้ ั หมดถู ก โอนย้ า ยไปให้ บ ริ ษ ท ั ทั ง ้ หมด โดยมี ข อ ้ ตกลงว่ า บริ ษ ท ั จะเป็ น ผู จ ้ ะรั บ ภาระผู ก พั น ทั ง ้ หมด เกษียณอายุทั้งหมดถูกโอนยายไปใหบริษัททั้งหมด โดยมีขอตกลงวาบริษัทจะเปนผูจะรับภาระผูกพันทั้งหมด

31


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 17

รายงานประจำ�ปี 2555

77

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน (ตอ) จํานวนเงินที่รับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จมีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม

ตนทุนบริการในปปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลกําไรจากการประมาณ ตามหลักคณิตศาตรประกันภัย โอนยายจากบริษัทยอย รวม (แสดงอยูในคาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน)

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2555 บาท

พ.ศ. 2554 บาท

พ.ศ. 2555 บาท

พ.ศ. 2554 บาท

1,210,854 146,961

1,600,660 336,605

1,097,630 132,719

1,319,400 303,675

(6,609,597) -

(429,386) -

(6,351,929) -

291,718

(5,251,782)

1,507,879

(5,121,580)

1,914,793

สมมติฐานทางสถิติที่สําคัญที่ใชในการคํานวณสรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 รอยละ รอยละ อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการตาย อัตราการลาออก 18

3.68 6.00 0.01 0 - 31.00

4.50 6.00 0.01 0 - 50.00

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 รอยละ รอยละ 3.68 6.00 0.01 0 - 31.00

4.50 6.00 0.01 0 - 25.00

เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญมีดังตอไปนี้

18.1 สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศลวงหนา บริ สัญญญาอั ่ยนเงิ นตราต างประเทศล วงหนวงหน้ ากับสถาบั นการเงิ นในประเทศ เพื่อปองกั ่ยงจากอั่ยตงจากอั ราแลกเปลี ่ยน บริษษัทัทได ได้ททําำ�สั ญาอัตราแลกเปลี ตราแลกเปลี ่ยนเงิ นตราต่ างประเทศล่ ากับสถาบั นการเงิ นในประเทศ เพืน่อความเสี ป้องกันความเสี ตราแลก เงิ นตราต ่งเกี่ยวขอ่งงกั ทรัอสงกั ตรบีซีททรัณสต์วัรนีซที​ีท่ 30ณกัวันนยายน 255 5 ยอดคงค างตามสั ญญาอัางตามสั ตราเงินญ ตราต วงหน า ซึ่งวัน เปลี ่ยนเงิานงประเทศซึ ตราต่างประเทศซึ เกี่ยบวข้ ที่ 30 พ.ศ. กันยายน พ.ศ. 2555 ยอดคงค้ ญาอัางประเทศล ตราเงินตราต่ างประเทศ ครบกํ นอยูในระหวางวันนอยู ที่ 15 ตุลาคมถึ ลาคมงพ.ศ. : ระหว(พ.ศ. างวันที2554 ่ 21 ตุ:ลระหว่ าคมถึางงวัวันนทีที่ ่421 ตุลาคม ล่วงหน้าหนดชํ า ซึ่งวัานระเงิ ครบกำ�หนดชำ�ระเงิ ่ในระหว่ างวังนวัทีน่ ที15่ 25ตุลตุาคมถึ วันที่ 2555 25 ตุล(พ.ศ. าคม 2554 พ.ศ. 2555 พฤศจิ พ.ศ.ก2554) มีดัง2554) ตอไปนีมี้ ดังต่อไปนี้ ถึงวันทีก่ ายน 4 พฤศจิ ายน พ.ศ.

32


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) บริษัท ปยูระกอบงบการเงิ นิค ไมนิ่ง เซอร์วนิสเซส จำ�กัด (มหาชน)นเฉพาะบริษัท 78หมายเหตุ รวมและงบการเงิ สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 18

เครื่องมือทางการเงิน (ตอ)

3.1 ลานดอลลารสหรัฐฯ ที่อัตรา 30.93 - 31.19 บาท ตอ 1 ดอลลารสหรัฐฯ (พ.ศ. 2554 : 4.6 ลานดอลลารสหรัฐฯ ที่อัตรา 30.57 - 31.26 บาท ตอ 1 ดอลลารสหรัฐฯ)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

96,556,300

96,556,300

142,209,000

142,209,000

มูลคายุติธรรมสุทธิของสัญญาอัตราเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังตอไปนี้

สัญญาอัตราเงินตราตางประเทศลวงหนาที่ เปนสินทรัพย (หนี้สิน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

(883,985)

(883,985)

1,440,251

1,440,251

มูลคายุติธรรมของสัญญาอัตราเงินตราตางประเทศลวงหนาคํานวณ (โดยใชอัตราที่กําหนดโดยธนาคารคูสัญญา) เสมือนวาไดยกเลิกสัญญา เหลานั้น ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน 18.2 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย

เมื 11สิสิงงหาคม หาคมพ.ศ. พ.ศ.2554 2554บริบริ ำ�สัญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ตราดอกเบี ้ยสำ�หรั กู้ยืมระยะยาวกั นในประเทศ เมื่อ่อวัวันนทีที่ ่ 11 ษัทษไดัททได้ําสัทญ ่ยนอั่ยตนอั ราดอกเบี ้ยสําหรั บเงินบกูยเงิืมนระยะยาวกั บสถาบับนสถาบั การเงินนการเงิ ในประเทศแห ง แห่ ง หนึ ง ่ เพื อ ่ เปลี ย ่ นอั ต ราดอกเบี ย ้ ลอยตั ว สำ�หรั บ สกุ ล เงิ น บาทประจำ� 6 เดื อ น บวกร้ อ ยละ 1.25 ต่ อ ปี เป็ น อั ต ราดอกเบี ย ้ คงที ร ่ อ ้ ยละ หนึ่ง เพื่อเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยลอยตัวสําหรับสกุลเงินบาทประจํา 6 เดือน บวกรอยละ 1.25 ตอป เปนอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 4.37 ตอป ณ 4.37 ต่อปี ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 เงินกู้ยืมระยะยาวดังกล่าวมียอดคงเหลือจำ�นวน 245 ล้านบาท (พ.ศ. 2554 : 475 ล้านบาท) วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 เงินกูยืมระยะยาวดังกลาวมียอดคงเหลือจํานวน 245 ลานบาท (พ.ศ. 2554 : 475 ลานบาท) ซึ่งมีกําหนดชําระ ซึ่งมีกำ�หนดชำ�ระคืนในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 คืนในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2557 มูลคายุติธรรมสุทธิของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ในงบดุล มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยที่เปนหนี้สิน

407,910

1,264,571

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 407,910

1,264,571

มูลค่คายุติธรรมของสั ้ยคํ้ยาคำ�นวณ นวณ (โดยใช อัตราที ําหนดโดยธนาคารคู สัญญา) าไดอยนว่ กเลิาได้ กสัยญกเลิ ญากสัญญา รรมของสัญญญาแลกเปลี ญาแลกเปลี่ย่ยนอันอัตราดอกเบี ตราดอกเบี (โดยใช้ อัต่กราที ่กำ�หนดโดยธนาคารคู ่สัญเสมื ญา)อนวเสมื เหล่ นงบแสดงฐานะการเงินน เหลานั้น ณ วันนทีที่ใ่ในงบแสดงฐานะการเงิ มูลคายุติธรรม ราคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินมีมูลคาใกลเคียงกับมูลคายุติธรรม

33


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 19

รายงานประจำ�ปี 2555

ทุนเรือนหุนและสวนเกินมูลคาหุน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท จํานวนหุนสามัญ หุนสามัญที่ออก ที่ออกและชําระแลว และชําระแลว สวนเกินมูลคาหุน หุน บาท บาท ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 การออกหุน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 การออกหุน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555

152,078,328 1,375,736 153,454,064 153,454,064

76,039,164 687,868 76,727,032 76,727,032

รวม บาท

230,461,835 10,928,916 241,390,751 241,390,751

306,500,999 11,616,784 318,117,783 318,117,783

หุนสามัญจดทะเบียนทั้งหมดมีจํานวน 153,454,064 หุน (พ.ศ. 2554 : 153,454,064 หุน) ราคามูลคาหุนละ 0.50 บาท (พ.ศ. 2554 : 0.50 บาท) หุนสามัญทั้งหมดไดออกและชําระเต็มมูลคาแลว ในการประชุมมผูผูถ้ถือือหุหุน้นสามั มกราคม พ.ศ.พ.ศ. 25542554 ผูถือหุนผู้ถมีือมหุติ้นอนุมีมมัตติ​ิใอหนุลมดทุ ยนของบริ ษัทจากเดิษมัท ในการประชุ สามัญญประจํ ประจ�าปำปีของบริ ของบริษัทษัทเมื่อเมืวั่อนวัทีน่ 24 ที่ 24 มกราคม ัติในห้จดทะเบี ลดทุนจดทะเบี ยนของบริ หุนสามัมญหุจํ้นาสามั นวนญ210,454,783 หุน มูลคาหุหุน้นละมู0.50 เปนจําบาท นวนเงิคินดเป็ 105,227,392 เปนหุนสามัญบาท จํานวน ,454,064 หุน จากเดิ จ�ำนวน 210,454,783 ลค่าบาท หุ้นละคิด0.50 นจ�ำนวนเงินบาท 105,227,392 เป็น153 หุ้นสามั ญจ�ำนวน มูลคาหุนละ 0.50 จํานวนเงิ 76 ,727,032 าคัญแสดงสิ ที่จะซื้อหุนำสามั ของบริทษธิัททสิี่จ้นะซืสุด้อการใช 153,454,064 หุ้นบาท มูลค่คิาดหุเป้นนละ 0.50 นบาท คิดเป็นจ�ำบาท นวนเงิเนืน่องจากใบสํ 76,727,032 บาท เนืท่อธิงจากใบส� คัญญแสดงสิ หุ้นสามัสิทญธิของ ทั้งหมดแล 2554วในระหว่างปี พ.ศ. 2554 บริ ษัทสิ้นสุวดในระหว การใช้สาิทงปธิทพ.ศ. ั้งหมดแล้ ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 จํานวนหุนสามัญที่ออกและเรียกชําระแลวเพิ่มขึ้นจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกช�ำระแล้วเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดง หุน และบริ ษัทไดจษดทะเบี นการเพิ ่มทุนจากการใช สิทธิดังกลสิทาวในระหว างงวดทําให ทุนที่อำอกจํ าระแลยวเพิ สิ1,375,736 ทธิ 1,375,736 หุ้น และบริ ัทได้จยดทะเบี ยนการเพิ ่มทุนจากการใช้ ธิดังกล่าวในระหว่ างงวดท� ให้ทาุนหนที่อายและเรี อกจ�ำหน่ยกชํ ายและเรี กช�่มำขึระ้น 687,868 แล้ วเพิ่มขึบาท ้น 687,868 บาท 20

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน บริษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนจํานวน 70 ลานสิทธิ ซึ่งมีเงื่อนไขดังนี้ อัตราสวนการเสนอขาย : 2 หุนสามัญเดิมตอ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิ ราคาใช้ : : หุน หุ ้นละบาท 8.50 บาท ราคาใชสสิทิทธิธิ ละ 8.50 อัอัตตราการใช ราการใช้สสิทิทธิธิ : : ใบสำ�คั แสดงสิททธิธิ11สิสิททธิธิตต่อหุอนหุสามั ้นสามั 1.007หุนหุ้น ใบสําคัญญแสดงสิ ญญ1.007 วัวันนทีที่อ่ออกและเสนอขาย อกและเสนอขาย : : วัวันนทีที่ ่ 66 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2550 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 วัวันนทีที่ใ่ใชช้สสิทิทธิธิคครัรั้ง้งแรก แรก : : วัวันนทีที่ ่ 2828ธัธันนวาคม วาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2550 วันที่สิ้นสุดการใช้สิทธิ : วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 วันที่สิ้นสุดการใชสิทธิ : วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

34

79


ิค ไมนิ ่ง เซอร์ ิสเซสจํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) 80บริษบริัท ษยูัทนคิ ยูนไมนิ ่ง เซอร์ วสิ วเซส หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

20

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน(ตอ) รายการเคลื่อนไหวของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบร ิษัท วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 สิทธิ หุน สิทธิ หุน ยอดตนป หัก ใชสิทธิระหวางป หัก สิ้นสุดการใชสิทธิ ยอดปลายป

21

-

-

57,519,035 (1,366,212) (56,152,823) -

57,921,672 (1,375,736) (56,545,936) -

ทุนสํารองตามกฎหมาย

ยอดตนป จัดสรรระหวางป การปรับปรุงรายการ ยอดปลายป

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

11,096,402 (596,402) 10,500,000

10,500,000 10,500,000

11,096,402 11,096,402

10,500,000 10,500,000

ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทตองตั้งทุนสํารองตามกฎหมายอยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิหลังจากหักสวน ของขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองตามกฎหมายนี้จะมีมูลคาไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ทุนสํารองตามกฎหมาย ดังกลาวไมสามารถจัดสรรได 22

เงินปนผลจาย ในการประชุมผูถือหุนประจําปของบริษัท เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 ผูถือหุนมีมติอนุมัติใหจายเงินปนผลจากผลการดําเนินงานสําหรับ ในการประชุมผู้ถือหุ้นประจำ�ปีของบริษัท เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจากผลการดำ�เนินงาน ปสิ้นสุบดปีวัสนน้ิ ทีสุ่ ด30วันกัทีน่ ยายน ตราหุในอั นละต0.20 สําหรับบาท หุนสามั ญบจําหุนวน หุน เปนจํานวนเงิ นทัน้งจำ�นวนเงิ สิ้น 30,690,613 สำ�หรั 30 กันพ.ศ. ยายน2554 พ.ศ.ในอั 2554 ราหุน้ บาท ละ 0.20 สำ�หรั น้ สามั153,454,064 ญจำ�นวน 153,454,064 หุน้ เป็ นทัง้ สิน้ บาท โดยบริ ษ ท ั ได จ า  ยเงิ น ป น ผลให ผ ถ  ู อ ื หุ น  ในวั น ที ่ 20 กุ ม ภาพั น ธ พ.ศ. 2555 30,690,613 บาท โดยบริษัทได้จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

23

คาใชจา ยตามลักษณะ

หมายเหตุ การเปลี่ยนแปลงในสินคาคงเหลือ คาขนสง คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย คาซอมแซมและบํารุงรักษา

11 12

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 3,059,330,395 232,348,621 88,035,117 76,472,734 1,338,162 7,843,494

2,566,714,521 176,740,002 107,697,350 77,353,338 1,175,545 11,585,525

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 3,078,570,123 232,348,621 83,191,906 73,058,474 1,151,387 7,688,957

2,573,769,704 179,411,737 99,881,692 57,846,787 925,688 11,379,535

35


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 24

81

รายไดอื่น

กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รายไดดอกเบี้ยรับ กําไรจากการจําหนายทรัพยสิน - สุทธิ รายไดอื่น

25

รายงานประจำ�ปี 2555

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

26,229,697 642,255 2,579,831 6,963,892 36,415,675

26,227,725 643,712 4,330,450 8,839,367 40,041,254

3,495,851 475,305 10,357,828 25,439,406 39,768,390

3,486,740 1,344,006 1,607,686 26,885,712 33,324,144

กําไร(ขาดทุน)ตอหุน ไร(ขาดทุนน)ต)ต่ออหุหุนขั้น้นขัพื้น้นพืฐานส ้นฐานส่ นของผู หุ้นของบริ ษัทคใหญ่ ค�ำนวณโดยการหารก� ำไร(ขาดทุ ธิที่เถป็ือนหุของผู ้ถือหุษ้นัทของ กํก�าำไร(ขาดทุ วนทีวนที ่เปน่เป็ของผู ถือหุ้ถนือของบริ ษัทใหญ ํานวณโดยการหารกํ าไร(ขาดทุ น)สุทธิทนี่เป)สุนทของผู นของบริ บริษัทดวใหญ่ ้วยจ�ำนนวนหุ เฉลีํา่ยหนัถ่วกงน� หนักาทีหน่ออกจ� ำหน่ายในระหว่ ใหญ ยจําดนวนหุ สามัญ้นถัสามั วเฉลีญ่ยถัถวงน้ ที่อ้ำอกจํ ายในระหว างป างปี กํก�าำไร(ขาดทุ านวณโดยการหารกํ าไร(ขาดทุ น)สุทนธิ)สุสําทหรั านวนหุำนนวนหุ สามัญ้นถัสามั วเฉลีญ่ยถถัววงน้ ไร(ขาดทุนน)ต)ต่ออหุหุน้นปรัปรับลดคํ บลดค� ำนวณโดยการหารก� ำไร(ขาดทุ ธิสบ�ำปหรัดวบยผลรวมของจํ ปีด้วยผลรวมของจ� เฉลีําหนั ่ยถ่กวทีงน�่ออกอยู ้ำหนัก ที่ ในระหว งปกับจําางปี นวนถั ่ยถวงน้ ําหนั่ยกถ่ของหุ สามั ญที่บ้นริษสามั ัทอาจต ่อแปลงใบสํ แสดงสิทธิำทคั​ั้งญสิ้นแสดงสิ ใหเปนทหุธินทสามั เทีเยป็บเท ออกอยู่าในระหว่ กับวจ�เฉลี ำนวนถั วเฉลี วงน�้ำนหนั กของหุ ญทีอ่บงออกเพื ริษัทอาจต้ องออกเพืาคั่อญแปลงใบส� ั้งสิ้นญให้ นหุา้น ปรั สามับลด ญเทียบเท่าปรับลด งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับปสวนที่เปนของ ผูถือหุนของบริษัทใหญ (บาท)

(288,263,690)

60,522,417

(307,946,187)

48,929,954

153,454,064

153,454,064

153,454,064

153,454,064

-

5,577,133

-

5,577,133

-

(2,887,743)

-

(2,887,743)

153,454,064

156,143,454

153,454,064

156,143,454

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

(1.88)

0.39

(2.01)

0.32

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนปรับลด (บาท)

(1.88)

0.39

(2.01)

0.31

จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่บริษัท ตองออกใหตามสิทธิ - UMS-W1 (หุน) จํานวนหุนสามัญที่สมมติวาออกใน มูลคายุติธรรม* - UMS-W1 (หุน) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก รวมหุนสามัญเทียบเทาปรับลด (หุน)

ิธรรมของหุ ้นสามั ่นำ�มาคำ�นวณอั ตราปรั ญจากการใช้ สิทธิาใคันใบสำ�คั ทธิได้มาจากการถัว ** มู มูลลคค่าายุยุตติธรรมของหุ นสามั ญทีญ่นทีํามาคํ านวณอัตราปรั บลดจํบาลดจำ�นวนหุ นวนหุนสามั้นญสามั จากการใช สิทธิในใบสํ ญแสดงสิญทแสดงสิ ธิไดมาจากการ ่ยราคาปิ ดของหุ าคม พ.ศ. พ.ศ.2553 2553ถึถึงงวัวันนทีที่ 5่ 5พฤศจิ พฤศจิกกายน ายนพ.ศ. พ.ศ.2553 2553(วั(วั ดการใช้ ถัเฉลี วเฉลี ่ยราคาป ดของหุ้นสามั นสามัญญทุทุกกวัวันนสำ�หรั สําหรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั้ง้งแต่ แตววันันทีที่​่ 11 ตุตุลลาคม นสิน้นสิสุ้นดสุการใช ราคายุตติธิธรรมถั รรมถัววเฉลี เฉลี่ย่ยของหุ ของหุน้นสามั สามัญญเทเท่ ้น16.31 ละ 16.31 สิสิททธิธิ)) ราคายุ ากัาบกัหุบนหุละ บาท บาท

36


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 82 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) 26

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน การกระทบยอดกําไร(ขาดทุนน)สุ)สุททธิธิสสําำ�หรั หรับบปปีสิ้นสสุิ้นดสุวัดนวัทีน่ ที30่ 30 กันยายน พ.ศ.พ.ศ. 25552555 และ พ.ศ. เปนกระแสเงิ นสดจากกินจสดจากกิ กรรม จกรรม การกระทบยอดกำ�ไร(ขาดทุ กันยายน และ2554 พ.ศ.ให2554 ให้เป็นกระแสเงิ ดําเนินงาน ดำ�เนิ งาน มีมีดดังังตต่ออไปนี ไปนี้ ้ งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท บาท บาท หมายเหตุ กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได (288,146,095) 123,275,687 (307,946,187) 105,037,944 ปรับปรุงดวย: (3,314,621) กลับรายการคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (976,821) (3,583,698) (566,821) การตั้งคาเผื่อมูลคาสุทธิที่ คาดวาจะไดรับในสินคาคงเหลือ 106,918,028 106,918,028 57,846,787 คาเสื่อมราคา 11 76,472,734 77,353,338 73,058,474 925,688 คาตัดจําหนาย 12 1,338,162 1,175,545 1,151,387 การตัดจําหนายที่ดิน อาคาร 46,052 และอุปกรณ 7,506 58,409 การตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน 365,563 659,563 รายการขาดทุนจากการดอยคาของ 13,293,197 เงินลงทุนในบริษัทยอย 10 รายการขาดทุน(กลับรายการ)จากการ 1,149,000 ดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ 11 (3,164,212) 1,149,000 (3,164,212) (กําไร)ขาดทุนจากการจําหนาย (1,653,738) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ 681,230 (10,416,237) (1,069,390) (กําไร)ขาดทุนสุทธิจาก 3,763,496 อัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง (2,303,712) 3,414,233 (2,311,194) รายไดดอกเบี้ยรับ 24 (642,255) (475,305) (643,712) (1,344,006) 78,618,149 คาใชจายดอกเบี้ยจาย 106,357,335 83,577,080 104,291,676 การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและ หนี้สินดําเนินงาน (10,300,274) - ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น 19,472,463 (8,383,602) 21,137,413 - ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน 980,124 (1,044,776) - สินคาคงเหลือ 667,620,992 (124,906,512) 667,856,308 (132,681,660) (8,169,975) - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (3,782,129) (8,235,041) (3,519,677) (833,873) - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 235,968 (806,873) 231,077 - เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น (5,727,971) 63,026,881 (4,670,606) 82,608,183 (10,198,567) - เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน 1,616,898 219,352 1,040,472 21,329,557 - คาใชจายคางจาย (3,630,802) 21,873,647 (3,825,564) 1,636,632 - หนี้สินหมุนเวียนอื่น (16,128,084) 1,365,498 (16,030,199) บริษัท ยูนคิ - ภาระผู ไมนิ่ง กเซอร์ ว ส ิ เซส จํ า กั ด (มหาชน) 1,503,450 (5,121,580) 1,914,793 พันผลประโยชนพนักงาน (5,311,891) หมายเหตุเงิปนระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษ ั ท สดจากการดําเนินงาน 650,907,344 221,550,415 627,795,817 199,287,551 สําหรับปี สิ-้นดอกเบี สุ ดวัน้ยทีรั่ บ30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 1,415,086 642,255 475,305 643,712 - ดอกเบี้ยจาย (112,077,017) (78,124,353) (109,973,219) (72,875,574) - ภาษีเงินไดจาย (1,058,200) (63,818,908) (213,865) (58,409,105) เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน 80,082,459 518,252,445 37 69,417,958 538,414,382 27

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัทหรือถูกควบคุมโดยบริษัทหรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรงหรือทางออมไมวาจะโดยทอด


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 - ภาษีเงินไดจาย เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน 27

83

รายงานประจำ�ปี 2555

(1,058,200)

(63,818,908)

(213,865)

(58,409,105)

538,414,382

80,082,459

518,252,445

69,417,958

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน การและบุคคคลที อถูอกถูควบคุ มโดยบริ ษัทหรื อยูอภอยู ายใต การควบคุ มเดียวกั อทางอออมไม วาอจะโดยทอด กิกิจจการและบุ คลที่ค่ควบคุ วบคุมมบริบริษษัทหรื ัทหรื กควบคุ มโดยบริ ษัทอหรื ่ภายใต้ การควบคุ มเดีบยบริวกัษบัททับริ้งทางตรงหรื ษัททั้งทางตรงหรื ทางอ้ มไม่ว่าจะ เดี ย วหรื อ หลายทอด กิ จ การและบุ ค คลดั ง กล า วเป น บุ ค คลหรื อ กิ จ การที เ ่ กี ย ่ วข อ งกั บ บริ ษ ท ั บริ ษ ท ั ย อ ยและบริ ษ ท ั ย อ ยลํ า ดั บ ถั ด ไป บริ โดยทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั บริษทั ย่อยและบริษทั ย่อยลำ�ดัษบัทรถัวดมไป และบุ ่เปนเจ าของส เสียในสิ ทธิอเสีอกเสี ยงของบริ ษัทยซึงของบริ ่งมีอิทธิพษลอย คัญนเหนื อกิจการญผูเหนื บริหอารสํ าคัญรวมทั กรรมการ บริ ษัทร่ควคลที มและบุ คคลที ่เป็วนนได เจ้าของส่ วนได้ ยในสิ ทธิออกเสี ัทซึ่งามีงเป อิทนธิสาระสํ พลอย่างเป็ สาระสำ�คั กิจการ ผู้บริห้งารสำ�คั ญ และพนั กงานของบริษัทตลอดจนสมาชิ วที่ใกลกชิดในครอบครั กับบุคคลเหล คคลทั เปนบุคคลหรื อกิจ้งการที รวมทั ้งกรรมการและพนั กงานของบริษกในครอบครั ัทตลอดจนสมาชิ วทีา่ในักล้​้น ชกิ​ิดจกัการและบุ บบุคคลเหล่ านั้ง้นหมดถื กิจอการและบุ คคลทั หมดถื่ อเป็น บุเกีค่ยคลหรื วของกัอกิบจบริการที ษัท ่เกี่ยวข้องกับบริษัท

ในการพิ ารณาความสัมมพัพันนธธ์รระหว ะหว่าางบุงบุคคคลหรื คลหรือกิอจกิการที จการที ่ยวข้ ซึ่งอาจมี ขึ้นตได้องคํ ต้อางคำ�นึ ถึงรายละเอี ยดของความสั นธ์มากกว่ ในการพิจารณาความสั ่เกี่เยกีวข องกัองกั นซึน่งอาจมี ขึ้นได นึงถึงงรายละเอี ยดของความสั มพันมธมพัากกว า า รูรูปปแบบความสั ามกฎหมาย แบบความสัมมพัพันนธธ์ตตามกฎหมาย บริ โดย บริ โทรีเเซนไทย ซนไทย เอเยนต เอเยนต์ซซีสีส จํ์ จำ�กั (มหาชน)ซึ่งซึตั่ง้งตัอยู้งอยู ่ในประเทศไทย บริษษัทัทมีมีเงิเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ ในบริษษัทัทยย่ออยตาม ยตาม บริษษัทัทถูถูกกควบคุ ควบคุมมโดย บริษษัทัท โทรี ากัดด(มหาชน) ในประเทศ ไทย ทัทั้ง้งนีนี้ ้ บริ รายละเอี ดที่ไ่ไดด้เเปปิดดเผยไว เผยไว้ใในหมายเหตุ นหมายเหตุ1010 รายละเอียยดที รายการตอไปนี้เปนรายการที่มีสาระสําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน 27.1 รายไดและคาใชจา ย งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน ก) รายไดคา บริการ บริษัทยอย ข) ดอกเบี้ยรับ บริษัทยอย ค) ตนทุนและคาใชจายบริการ บริษทั แม บริษัทยอย บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันอื่น ง) ดอกเบี้ยจาย บริษัทยอย จ) รายจายฝายทุน (รวมในสินทรัพยไมมีตัวตน) บริษทั แม

1,083,950

3,275,000

50,187

970,193

341,500 19,239,728 3,835,682 23,416,910

1,797,235 15,116,860 16,914,095

375,759

466,816

1,386,000

-

38


84 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 27 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) 27.2 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท บริษัทยอย

-

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 659,278

1,631,921

27.3 เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

บริษัทยอย บริษัทแม กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 2,784,140 2,752,409 1,585,166 2,752,409 4,369,306

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 6,117,737 6,694,162 2,784,140 2,752,409 1,585,166 10,487,043 9,446,571

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

27.4 เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

บริษัทยอย

-

-

6,700,000

20,800,000

ระยะสั้นจากกิ ้นจากกิ จการที มีกำ�หนดชำ�ระคื นเมื่อทวงถามและไม่ มีหลันกประกั น ดโดยคิ ้ยในอั ตราร้อ2.65 ยละ -2.65 เงิเงินนกูกูย้ยืมืมระยะสั จการที ่เกี่ย่เกีวข่ยวข้ องกัอนมงกัีกนําหนดชํ าระคืนเมื่อทวงถามและไม มีหลักประกั โดยคิ ดอกเบีดดอกเบี ้ยในอัตราร อยละ 3.65ต3.65 อป ต่อปี 27.5 คาตอบแทนผูบริหารสําคัญของกิจการ ตอบแทนผูบ้บริริหหารสํ าคัญญของกิ สําหรับปสบิ้นปีสุสดิ้นวันสุทีด่ วั30 มีดังตมีอดไปนี ค่คาาตอบแทนผู ารสำ�คั ของกิจจการ การสำ�หรั นทีกั่ น30ยายน กันยายน ังต่อ้ ไปนี้

ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 21,321,380 15,129,770 (3,998,588) 681,230 17,322,792

15,811,000

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท 21,321,380 15,129,770 (3,998,588) 681,230 17,322,792

15,811,000

39


บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

รายงานประจำ�ปี 2555

28 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 28.1 ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดําเนินงาน ยอดรวมของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตตามสัญญาเชาดําเนินงานที่ไมสามารถยกเลิกได มีดังนี้

ภายใน 1 ป เกินกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

9,151,553 4,225,706

9,151,553 4,225,706 13,377,259

13,377,259

10,408,702 7,216,800 17,625,502

10,408,702 7,216,800 17,625,502

28.2 ภาระผูกพันตามสัญญาซื้อขายถานหิน ณ วัวันนทีที่ 30่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ษัทมีภบริ าระผู ตามสักญ ้อขายถ านหิ้อขายถ่ นกับผูาผนหิ ลิตนในต มาณที่กําหนดตามสั ญา กันยายน พ.ศ. บริ2555 ษัทกมีพัภนาระผู พันญาซื ตามสั ญญาซื กับาผูงประเทศในปริ ้ผลิตในต่างประเทศในปริ มาณทีบวก ่กญ ำ�หนดตาม หักรบวกหรื อยละ10อราคาของถ นหินราคาของถ่ สามารถเปลี ่ยนแปลงได ทั้งนี้ข่ยึ้นนแปลงได้ อยูกับคุณภาพของถ ตรการคํานหิ านวณที ่ระบุตใรการคำ�นวณที นสัญญา สัหรืญอญา หักร้อยละา10 านหิ นสามารถเปลี ทั้งนี้ขึ้นอยูา่กนหิ ับคุนณตามสู ภาพของถ่ นตามสู ่ระบุ ในสั ญญา ้บนอกจากนี ้บริกษพั​ัทนมีตามสั ภาระผู กพันตามสั ญนญาขายถ่ านหินแก่ผู้ประกอบการในประเทศในปริ มาณที อหักร้อยละ นอกจากนี ริษัทมีภาระผู ญญาขายถ านหิ แกผูประกอบการในประเทศในปริ มาณที่กําหนดบวกหรื อหั่กำ�หนดบวกหรื รอยละ 10 ดวยราคา 10 ด้ ว ยราคาคงที ต ่ ามสั ญ ญา คงที่ตามสัญญา 28.3 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น บริษัทและกลุมบริษัทค้ําประกันเพื่อประโยชนในการประกอบธุรกิจตามปกติ ดังนี้

หนังสือค้ําประกันที่ธนาคาร ออกใหในนามกลุมบริษัท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2554 บาท บาท

3,044,000

3,044,000

3,044,000

3,044,000

40

85


86 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ยูนคิ ไมนิ่ง เซอร์ วสิ เซส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 29

สิทธิพิเศษที่ไดรับจากการสงเสริมการลงทุน บริษัทัทยย่ออยย22แห แห่งได งได้รับรับอนุอนุญญาตตามบั าตตามบั ตรส่ งเสริ มการลงทุ นจากคณะกรรมการส่ มการลงทุ ญัมตการลงทุ ิส่งเสริมนการลงทุน ตรส งเสริ มการลงทุ นจากคณะกรรมการส งเสริงมเสริ การลงทุ ตามพระราชบั น น ตามพระราชบั ญญัติสงญเสริ พ.ศ. 2520 2520จํจ�าำนวน นวน22โครงการดั โครงการดังนีงนี้ ้ พ.ศ.

โครงการที่ ่11บับัตตรสรส่งงเสริ เสริมมการลงทุ การลงทุนนเลขที เลขที่ 1499(2)/2551 ่ 1499(2)/2551วันวัทีน่ 13 ที่ 13 พฤษภาคม 2551 จการขนส่ งทางเรื อ ประเภท โครงการที พฤษภาคม พ.ศ.พ.ศ. 2551 ในกิในกิ จการขนส งทางเรื อ ประเภท 7.2 กิ7.2 จการกิจการ ขนส่งงมวลชนและสิ มวลชนและสินนคค้าาขนาดใหญ ขนาดใหญ่โดยบริ โดยบริษัทษยัทอย่ยแห อยแห่ งหนึ ับอนุ ญาตให้ ด�ำนเนิกิจนการได กิจการได้ ่ 8 พฤษภาคม ขนส งหนึ ่งได่งได้ รับรอนุ ญาตให เปดเปิดําดเนิ เมื่อวัเมืน่อทีวั่ 8นทีพฤษภาคม พ.ศ.พ.ศ. 25552555 โครงการที่ ่ 22บับัตตรสรส่งเสริ งเสริมการลงทุ มการลงทุ เลขที ่ 1047(2)/2552 นทีมกราคม ่ 19 มกราคม พ.ศ. ในกิ 2552จการขนถ ในกิจการขนถ่ นค้บาเรืส�อำเดิ หรันบทะเล เรือเดิประเภท นทะเล โครงการที น นเลขที ่ 1047(2)/2552 วันทีวั่ 19 พ.ศ. 2552 ายสินคาาสํยสิาหรั ประเภท 7.1 กิจการสาธารณู ปโภคและบริ ารพื้นษฐาน โดยบริ หนึ่งได้ เปิดเมืด�่อำวัเนิ กิจการได้ ่อวันที2555 ่ 19 7.1 กิจการสาธารณู ปโภคและบริ การพื้นฐาน กโดยบริ ัทยอยแห งหนึษ่งัทไดย่รอับยแห่ อนุญงาตให เปดรับดํอนุ าเนิญ นกิาตให้ จการได นทีน่ 19 เมษายนเมืพ.ศ. เมษายน พ.ศ. 2555 สิทธิและประโยชนที่ไดรับ ไดแก การยกเวนอากรขาเขาสําหรับเครื่องจักร การไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิ สิทธิและประโยชน์ทไี่ ด้รบั ได้แก่ การยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครือ่ งจักร การได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ เป็นระยะ เปนระยะเวลา8 ป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น เวลา 8 ปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น 30

เหตุการณที่สําคัญ ในระหว งหวังดหวั สมุดทสมุ รสาครได มีคําสัม่งีคให จการถจาการถ่ นหินาในจั ดสมุ บการประกอบกิ จการ ในระหว่าางป งปีพ.ศ. พ.ศ.2554 2554ผูวาผูราชการจั ้ว่าราชการจั ทรสาครได้ ำ�สัผ่งูปให้ระกอบกิ ผู้ประกอบกิ นหิงนหวั ในจั งหวัทดรสาครระงั สมุทรสาครระงั บการประกอบ ถกิาจนหิ นทุากนหิ กรณี แตวันตทีั้ง่ แต่ 13วกรกฎาคม พ.ศ. 2554 เปน2554 ตนไปเป็จนกว จะมีจนกว่ คําสั่งาเปลี างอื่นอยนาอย่ งไรก็ ตามเมื นที่ ตามเมื่อ การถ่ นทุตกั้งกรณี ันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. นต้นาไป จะมี่ยคนแปลงเป ำ�สั่งเปลีน่ยอย นแปลงเป็ างอื ่น อย่​่อาวังไรก็ ธ พ.ศ. บริษัทได นทึทกำ�บั ขอนตกลงระหว างคณะทํ างานกํากับดูแลการคั แยก ขนย ายถขนย้ านหิตามคํ สั่งนจั ตามคำ�สั งหวัด ่งจังหวัด วั2นกุทีม่ ภาพั 2 กุมนภาพั นธ์2555 พ.ศ. 2555 บริทษําัทบัได้ ทึกข้อตกลงระหว่ างคณะทำ�งานกำ�กั บดูแดลการคั ดแยก านยถ่าานหิ รสาครที่ 2426/2554 ่ 2426/2554ลงวั ลงวันนทีที่ 23 ่ 23พฤศจิ พฤศจิกกายน ายนพ.ศ. พ.ศ.2554 2554ซึ่งซึกํ่งากำ�หนดให้ ัทขนย้ ล้วเสร็ จภายในระยะเวลา 15 สมุททรสาครที หนดใหบริบษริัทษขนย ายถายถ่ านหิานหิ นใหนแให้ลวแเสร็ จภายในระยะเวลา 15 เดื เดือน แต่ววันันทีที่ 1่ 1ธัธันนวาคม วาคมพ.ศ. พ.ศ.2554 2554ถึงถึวันงทีวัน่ 28ที่ กุ28มภาพั กุมภาพั นธ์ พ.ศ. ้นตอนและข้ อกำ�หนดต่ นทึกข้งอกลตกลงดั ตั้งแต นธ พ.ศ. 2556 2556 ตามขั้นตามขั ตอนและข อกําหนดต างๆในบันาทึงๆในบั กขอตกลงดั าว ผูบงริหกล่าราว ผู้บ่อริวหาารเชื ว่าปบริฏิษบัทัติตได้ามข ปฏิอบกํัตาิตหนดในการคั ามข้อกำ�หนดในการคั ขนย้ ายถ่านนหิทึกนขตามบั นทึกงกล ข้อาตกลงดั งกล่งาครัวอย่ เชื บริษัท่อได ดแยก ขนยดาแยก ยถานหิ นตามบั อตกลงดั วอยางเคร ด างเคร่งครัด


บร�ษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรว�สเซส จำกัด (มหาชน) 36/83 อาคาร พี. เอส. ทาวเวอร ชั้น 24 ซอยสุขุมว�ท 21 (อโศก) ถนนสุขุมว�ท เเขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท +66 2664-1701 (Automatic) โทรสาร +66 2664-1700 http://www.uniquecoal.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.