TITLE : รายงานประจำปี 2561

Page 1





สารบัญ 6 8 9 10 11 12 20 39 47 53 63 103 112 114 122 123 125 130 132 133 134 136 164 181

สารจากประธานกรรมการ วิสัยทัศน์และพันธกิจ ข้อมูลเกี่ยวบริษัท ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ รายละเอียดคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจไทยและภาวะอุตสาหกรรม ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ การกำ�กับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม การควบคุมภายในและบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ ข้อมูลอ้างอิง


สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานกรรมการ บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ต้ ี จำกัด (มหำชน) หรื อ "TITLE" เป็ นผูพ้ ฒั นำอสังหำริ มทรัพย์ ในจังหวัดภูเก็ตมี ตลำดเป้ ำหมำยหลักเป็ นนักท่องเที่ ยวทัว่ โลก ที่ ตอ้ งกำรถือครองอสังหำริ มทรัพย์ เพื่อกำรอยู่อำศัยและเพื่อกำรลงทุ น ซึ่ ง ปั จ จุ บันมี ก ว่ำ 40 ประเทศทั่ว โลก ซึ่ ง แม้ว่ำ เป็ นผูพ้ ฒ ั นำอสัง หำฯ ที่ มี ข นำดเล็ก แต่ ก็ เ ป็ นส่ ว นหนึ่ งของกำรน ำเงิ นตรำ ต่ำงประเทศเข้ำประเทศไทย จึงมีควำมแตกต่ำงจำก ผูพ้ ฒั นำอสังหำฯรำยอื่นๆ ปี 2561 ถือว่ำเป็ นอีกปี หนึ่งที่ TITLE เติบโตและก้ำวไปข้ำงหน้ำอย่ำงต่อเนื่อง ไม่วำ่ จะเป็ นกำรเปิ ด โครงกำรใหม่ ที่หำดรำไวย์ (The Title V) กำรปิ ดกำรขำยโครงกำรที่หำดในยำง (The Title Residencies Nai-Yang Phase 1 และ Phase 2) กำรซื้อที่ดินบนหำดบำงเทำเพื่อก้ำวสู่ทำเลที่สำม ตลอดจนกำรลงนำมในสัญญำแต่งตั้งกลุ่ม บริ ษทั เบสท์ เวสเทินร์น (Best Western Inc. : BWI ) เพื่อเข้ำมำบริ หำรห้องพักในรู ปแบบ คอนโดเทล ในโครงกำร The Title V ซึ่งถือเป็ นอีกหนึ่งสำย ธุรกิจนอกเหนือจำกกำรพัฒนำอสังหำฯ ในรู ปแบบที่มีอยูเ่ ดิม กำรลงนำมในสัญญำแต่งตั้ง BWI ซึ่งเป็ นกลุ่มบริ ษทั ที่มีควำม ชำนำญในกำรบริ หำรโรงแรมและคอนโดเทลภำยใต้เชน (Chain) Best Western ซึ่ งถือเป็ น 1 ใน 10 ของผูบ้ ริ หำรโรงแรม ใหญ่ที่สุดของโลกนั้นถือเป็ นกำรเสนอทำงเลือกให้กบั ลูกค้ำที่ตอ้ งกำรถือครองอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนเพื่อให้เกิด รำยได้นอกเหนือจำกกำรมำพักอำศัยในบำงช่วงเวลำซึ่งควำมต้องกำรของลูกค้ำกลุ่มนี้มีแนวโน้มที่สูงขึ้นมำก ทำให้มนั่ ใจได้ ว่ำจะส่งผลดีกบั บริ ษทั ถือได้วำ่ เป็ นกำรเริ่ มต้นสำยธุรกิจที่จะสร้ำงรำยได้ประจำ ( Recurring Income) ในอนำคต ผลกำรดำเนิ นงำนในปี 2561 มีรำยได้อยูท่ ี่ 311.73 ล้ำนบำทเพิ่มขึ้น 6.07% จำกปี ก่อน แต่คลำดเคลื่อนจำกเป้ ำหมำยที่ วำงไว้ เนื่ องจำกไม่สำมำรถโอนโครงกำรหำดในยำงเฟส 1-2 ได้ทนั ในไตรมำส 4/2561แม้วำ่ โครงกำรดังกล่ำวจะแล้วเสร็ จ และจดทะเบียนนิติบุคคลอำคำรชุดแล้วในเดือนพฤศจิกำยน 2561 เนื่องจำกรำคำประเมิน ซึ่งออกโดยหน่วยงำนรำชกำรแล้ว เสร็ จในเดือนมกรำคม 2562 ตำมที่ ฝ่ำยบริ หำรได้เคยชี้ แจงผ่ำนสื่ อพร้อมกล่ำวคำขอโทษไปยังผูถ้ ือหุ ้นและนักลงทุนก่อน หน้ำนี้แล้วนั้น ผมในนำมของคณะกรรมกำรบริ ษทั คงปฎิเสธควำมรับผิดชอบดังกล่ำวไม่ได้ แม้วำ่ สำเหตุจะมำจำกปั จจัยที่ควบคุม ไม่ได้ก็ตำม จึงต้องขอกล่ำวคำขอโทษมำยังผูถ้ ือหุน้ และนักลงทุน ณ ที่น้ ีดว้ ยเช่นกันแต่ขอให้ควำมมัน่ ใจว่ำ THE TITLE จะ เติบโตอย่ำงแข็งแกร่ งต่อไป เรำยังคงยึดมัน่ ที่จะสร้ำงสรรค์ที่อยูอ่ ำศัยให้เติบโตควบคู่ไปกับกำรท่องเที่ยว เพื่อก้ำวเป็ นเบอร์ หนึ่งอสังหำฯทำงเลือกของจังหวัดภูเก็ต สำหรับนักท่องเที่ยวทัว่ โลก ตำมแผนยุทธศำสตร์ 5 ปี ที่ได้วำงไว้นอกเหนือจำกงำน ทำงธุรกิจแล้ว เรำยังให้ควำมสำคัญในด้ำนสังคมและสิ่ งแวดล้อม โดยในปี นี้ เรำได้ร่วมโครงกำรปลูกป่ ำที่จงั หวัดสกลนคร ดูแลรักษำควำมสะอำดบนหำดรำไวย์และหำดในยำงอย่ำงสม่ำเสมอ ตลอดจนให้ควำมสนับสนุนกับมูลนิธิต่ำงๆ ซึ่งถือเป็ น ส่วนหนึ่งของควำมรับผิดชอบทำงสังคม

ซึ่งคณะกรรมกำรตระหนักดีถึงควำมสำคัญในเรื่ องดังกล่ำวและถือเป็ นหนึ่งใน

ภำรกิจสำคัญของบริ ษทั ที่ตอ้ งทำต่อเนื่องตลอดไป

06


ในนำมของคณะกรรมกำรของบริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ ต้ ี จำกัด (มหำชน) ผมขอขอบคุณผูถ้ ือหุ ้น นักลงทุน สถำบันกำรเงิน ลูกค้ำ หน่วยงำนภำครัฐ ตลอดจนสื่ อมวลชนและผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกส่ วนงำนที่ให้กำรสนับสนุนบริ ษทั ด้วยดี เสมอมำ และที่ สำคัญ ผมต้อ งขอขอบคุ ณผูบ้ ริ หำรและพนัก งำนของบริ ษทั ทุ ก คนที่ มุ่ งมั่น ทุ่ ม เทในกำรท ำงำนภำยใต้ หลักธรรมำภิบำลและกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี เพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยตำมพันธกิจที่ได้วำงไว้และเพื่อก้ำวไปข้ำงหน้ำอย่ำง มัน่ คงตลอดไป

(นำยสุวชิ ล่ำซำ) ประธำนกรรมกำร

07


08


ข้ อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกับบริษัท

แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ โทรศั มูลค่ำหุพน้ท์ที่ตรำไว้ต่อหุน้ โทรสำร ข้อมูลบริ ษทั ย่อย เว็ ที่ตบ้ งั ไซด์ สำนักงำนใหญ่ E-Mail

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ต้ ี จำกัด (มหำชน) Rhom Bho Property Public Company Limited TITLE พัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ 0107559000478 บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ต้ ี จำกัด (มหำชน) 220,000,000 บำท (สองร้ อยล้Company ำนบำทถ้วLimited น) Rhom Bho Property Public 219,999,519.50 บำท (สองร้อยล้ำนบำทถ้วน) TITLE 439,999,039 พั ฒนำอสังหำริหุน้มทรัพย์ 0.50 บำท (ห้ำสิ บสตำงค์) 0107559000478 ไม่มี 220,000,000 บำท (สองร้อยล้ำนบำทถ้วน) เลขที่ 53 ถนนสุคบำท นธสวั สดิ์ แขวงลำดพร้ เขตลำดพร้ำว 219,999,519.50 (สองร้ อยล้ำนบำทถ้ำววน) กรุ งเทพมหำนคร 439,999,039 หุน้ 10230 02-907-8140-2, 0.50 บำท (ห้ำสิ บ02-907-8843-4 สตำงค์) 02-907-8144 ไม่มี www.rhombho.co.th เลขที่ 53 ถนนสุคนธสวัสดิ์ แขวงลำดพร้ำว เขตลำดพร้ำว info@rhombho.co.th กรุ งเทพมหำนคร 10230

โทรศัพท์ โทรสำร เว็บไซด์ E-Mail

02-907-8140-2, 02-907-8843-4 02-907-8144 www.rhombho.co.th info@rhombho.co.th

ชื่อบริ ษทั

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัท

ข้ชื่ออย่มูอหลั ลทักว่ ทรัไปเกี พย์ ย่ วกับบริ ษัท ประเภทธุรกิจ เลขทะเบี ชื่อบริ ษทั ยนบริ ษทั ทุนจดทะเบียน อกและเรี ชืทุ่อนย่ทีอ่อหลั กทรัพย์ยกชำระแล้ว แบ่งเป็ นหุรน้ กิสำมั ประเภทธุ จ ญ มูลค่ำหุน้ ยทีนบริ ่ตรำไว้ เลขทะเบี ษทั ต่อหุน้ ลบริ ษทั ยย่นอย ทุข้อนมูจดทะเบี กงำนใหญ่ ทุที่นต้ งัทีส่อำนั อกและเรี ยกชำระแล้ว

“ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้ อมูลของบริ ษทั ที่ออกหลักทรั พย์ เพิ่มเติมได้ จากแบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี (แบบ 56-1) ของบริ ษัทที่แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรื อเว็บไซต์ ของบริ ษัท www.rhombho.co.th”

“ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้ อมูลของบริ ษทั ที่ออกหลักทรั พย์ เพิ่มเติมได้ จากแบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี (แบบ 56-1) ของบริ ษัทที่แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรื อเว็บไซต์ ของบริ ษัท www.rhombho.co.th”

09


นทีส่ าคัญโดยสรุป ข้อข้อมูมูลลทางการเงิ ทางการเงิ นที่สำ�คัญโดยสรุป รายการ สิ นทรั พย์ (ล้ านบาท) สิ นค้ าคงเหลือ สิ นทรั พย์ รวม หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น (ล้ านบาท) หนีส้ ิ นหมุนเวียน หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน หนีส้ ิ นรวม ทุนที่ออกและเรี ยกชาระแล้ ว ส่ วนของผู้ถือหุ้น ผลการดาเนินงาน (ล้ านบาท) รายได้ จากการขาย รายได้ รวม กาไรขั้นต้ น กาไรสุทธิ เทียบเป็ นอัตราต่ อหุ้น (บาท) กาไร (ขาดทุน) สุทธิ มูลค่ าตามบัญชี มูลค่ าที่ตราไว้ อัตราส่ วนสภาพคล่ องทางการเงิน อัตราส่ วนสภาพคล่ อง อัตราส่ วนสภาพคล่ องหมุนเวียนเร็ ว อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการทากาไร อัตรากาไรขั้นต้ น อัตรากาไรจากการดาเนินงาน อัตรากาไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราส่ วนประสิ ทธิ ภาพในการดาเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรั พย์ ทั้งหมด อัตราส่ วนนโยบายทางการเงิน อัตราหนีส้ ิ นต่ อส่ วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่ วนความสามารถในการชาระดอกเบีย้ จานวนหุ้นที่เรี ยกชาระแล้ ว (ล้ านหุ้น)

10

2559

2560

2561

0.55 526.83

0.53 969.59

6.49 1,754.61

288.31 6.27 294.58 140.00 232.25

386.89 57.68 444.56 200.00 525.03

924.64 278.95 1,203.59 220.00 551.02

362.80 366.38 182.94 90.98

293.88 301.22 130.57 40.88

311.73 324.13 127.79 28.21

0.48 0.83 0.50

0.12 1.31 0.50

0.06 1.25 0.50

1.42 0.13

1.78 0.61

1.22 0.27

0.50 0.31 0.25 0.48

0.44 0.16 0.14 0.11

0.41 0.08 0.09 0.05

0.16

0.05

0.02

1.27 35.23 280.00

0.85 36.28 400.00

2.18 1,858.48 440.00


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุ รกิจ นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริ ษัท ร่ ม โพธิ์ พร็ อ พเพอร์ ต้ ี จ ำกัด (มหำชน) (“บริ ษ ัท ”) จดทะเบี ยนก่ อ ตั้ง ขึ้ นเมื่ อวันที่ 27 กัน ยำยน 2532 ด้วยทุ น จดทะเบี ย นจำนวน 1 ล้ำ นบำท โดยกลุ่ม ของนำงสำวสิ ริ รั ต น์ สำตรำภัย โดยมี ว ัต ถุ ป ระสงค์ เริ่ มแรก คื อ กำรซื้ อขำยที่ ดินเพื่อเก็ง ก ำไรในเขตพื้ น ที่ จังหวัดภูเก็ต ภำยใต้ชื่อ “บริ ษทั คันทรี คลับ จำกัด” ต่อมำ กลุ่มของ นำยเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่มีควำมรู ้และ ประสบกำรณ์ในกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ได้เล็งเห็ น โอกำสว่ำที่ ดินที่ บริ ษทั ครอบครองอยู่น้ นั อยู่ในทำเลที่มี ศักยภำพจึงได้ซ้ือหุน้ จำกกลุ่มของนำงสำวสิ ริรัตน์ สำตรำ ภัย ซึ่ งเป็ นผูถ้ ือหุ ้นเดิ ม โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก เพื่อนำ ที่ ดินที่ บริ ษทั ถื อครองมำพัฒนำต่อยอดและพัฒนำเป็ น อสัง หำริ ม ทรั พ ย์เพื่ อ ขำย หลัง จำกนั้น จึ ง ได้เริ่ ม พัฒนำ ธุรกิจอสังหำริ มทรัพย์อย่ำงจริ งจังนับจำกปี 2550 เป็ นต้น มำ รวมถึงเปลี่ยนชื่ อบริ ษทั เป็ น “บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ต้ ี จำกัด” ภำยหลังจำกกำรบริ หำรงำนของเด่นดนัย หุตะจูฑะ บริ ษ ัท ได้บุ ก เบิ ก และพัฒ นำอสั ง หำริ ม ทรั พ ย์ โดยได้ เริ่ มต้น ด้ ว ยกำรพัฒ นำโครงกำรบ้ ำ นเดี่ ย วระดับ สู ง (Luxury Class) บนพื้ น ที่ ห ำดรำไวย์ใ นปี 2551 แต่ จ ำก กำรวิ จัย ทำงกำรตลำดและศึ ก ษำพฤติ ก รรมผู ้บ ริ โ ภค พบว่ำผลิตภัณฑ์ประเภทคอนโดมิเนี ยมมีควำมเหมำะสม กับควำมต้องกำรผูบ้ ริ โภคในทำเลที่ต้ งั ดังกล่ำวมำกกว่ำ บ ริ ษั ท จึ ง ไ ด้ ป รั บ แ ผ น ธุ ร กิ จ ม ำ เ น้ น ก ำ ร พั ฒ น ำ อสังหำริ มทรั พย์ประเภทคอนโดมิ เนี ยมและได้เปิ ดตัว โครงกำรคอนโดมิ เนี ยมภำยใต้แบรนด์ “The Title” ซึ่ ง เป็ นคอนโดมิเนียมประเภทแนวรำบ (Low rise) ควำมสูง 4 ชั้น ตั้งอยู่บริ เวณพื้นที่ หำดรำไวย์ จังหวัดภูเก็ต ในปี 2554 ซึ่ งเป็ นกำรต่อยอดทำงธุ รกิ จโดยอำศัยจุดแข็งจำก กำรพัฒนำที่ ดินที่ อยู่ในกำรครอบครองของบริ ษทั และ ด้วยทำเลที่ ต้ งั ที่ โดดเด่ น กำรออกแบบโครงกำรที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ กำรให้ควำมสำคัญกับคุณภำพกำรก่อสร้ำง ตลอดจนสภำพแวดล้อมของโครงกำรที่เน้นควำมร่ มรื่ น และให้ควำมรู ้สึกเสมือนกำรพักผ่อนในโรงแรมหรื อ

รี สอร์ ท โดยมีจุดมุ่งหมำยเพื่อสร้ำงควำมคุม้ ค่ำและควำม ประทับใจแก่ ลูก ค้ำ จึ ง ท ำให้โ ครงกำรที่ บริ ษทั พัฒนำ ได้รับกำรตอบรับที่ดีจำกลูกค้ำอย่ำงต่อเนื่อง หลัง จำกโครงกำร The Title Phuket หำดรำไวย์ เฟส 1 (The Title หำดรำไวย์ เฟส 1) เปิ ดขำยในปี 2554 ประสบควำมสำเร็ จในแง่ของยอดขำย บริ ษทั จึงได้พฒั นำ โครงกำร The Title Phuket หำดรำไวย์ เฟส 2 (The Title หำดรำไวย์ เฟส 2) ,โครงกำร The Title Phuket หำดรำ ไวย์ เฟส 3 (The Title หำดรำไวย์ เฟส 3) และโครงกำร The Title Residencies Naiyang Phuket เฟส 1 (The Title หำดในยำง เฟส 1) และ The Title Residencies Naiyang Phuket เฟส 2 (The Title หำดในยำง เฟส 2) อย่ำงต่อเนื่อง ในช่วงปี 2555-2560 นอกจำกนี้ ทำงบริ ษทั ฯ ได้มีกำรเปิ ดโครงกำร The Title V (The-Title-We) หำดรำไวย์ เฟส 5 ซึ่งเป็ นคอนโด มิ เ นี ย นในรู ปแบบคอนโดเทล จ ำนวน 4 ตึ ก สู ง 5 ชั้น มูลค่ำโครงกำรประมำณ 1,000 ล้ำนบำท โดยเปิ ดขำยใน เดือน พฤศจิกำยน 2561 และยังคงศึกษำควำมเป็ นไปได้ ที่ จ ะพัฒ นำอสัง หำริ ม ทรั พ ย์ใ นท ำเลอื่ น ๆที่ มี ศักยภำพ อย่ำงต่อเนื่อง โดยบริ ษทั ฯ วำงกลยุทธ์ในกำรดำเนินธุรกิจให้เป็ น แบบผสมผสำน (Hybrid) คือดำเนินธุรกิจทั้งในส่ วนของ ธุรกิจพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรรับรู ้รำยได้ในระยะ สั้ นและปำนกลำง และกำรลงทุ น ในส่ ว นของธุ ร กิ จ คอนโดเทลซึ่ งเป็ นกำรร่ วมมื อ กั บ Best Western Inc. แบรนด์โรงแรมยักษ์ใหญ่ของโลก เพื่อบริ หำรห้องพัก โครงกำร The Title V (The-Title-We) หำดรำไวย์ เฟส 5 เพื่อเป็ นทำงเลือกให้กบั ลูกค้ำที่ตอ้ งกำรลงทุน เพื่อให้เกิด รำยได้นอกเหนื อจำกกำรพักอำศัยในบำงช่ วงเวลำ ซึ่ ง ควำมต้องกำรของลูกค้ำกลุ่มนี้มีแนวโน้มที่สูงขึ้นมำก ซึ่ง กำรแต่งตั้ง Best Western Inc. จะส่งผลดีต่อบริ ษทั เพรำะ นอกจำกจะเป็ นกำรสร้ำงควำมเชื่อมัน่ ต่อลูกค้ำ ที่ซ้ื อห้อง ในโครงกำรของเรำแล้ว ยัง ท ำให้ เ กิ ด รำยได้ป ระจ ำ (Recurring Income) ในอนำคตอีกด้วย

11


รายละเอียดคณกรรมการบริษทั และผู้บริหาร รายละเอี ยดคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร

12


คณะกรรมการ นายสุวิช ลา่ ซา นายวิโรจน์ หุตะจูฑะ นายเด่ นดนัย หุตะจูฑะ

นายศศิพงษ์

ปิ่ นแก้ ว

นายดรงค์ น.ส.จีรยา นายชัยวุฒิ

หุตะจูฑะ อุดมวงศ์ ทรั พย์ จิ ตราคนี

นางจิ ตติมา

สัจจวานิช อินทุจันทร์ ยง

คณะผู้บริหาร นายเด่ นดนัย

หุตะจูฑะ

นายศศิพงษ์

ปิ่ นแก้ ว

นายดรงค์ นายประเสริ ฐ น.ส.จีรยา

หุตะจูฑะ วรรณกิจ อุดมวงศ์ ทรั พย์

ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ / ประธานกรรมการบริ หาร / ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร / กรรมการสรร หาและพิจารณาค่าตอบแทน / รั กษาการกรรมการผูจ้ ัดการสาย งานขายและ การตลาด กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารร่ วม / กรรมการบริ หาร / กรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน / กรรมการบริ หารความเสี่ ยง / กรรมการผูจ้ ดั การสาย งานวางแผนและควบคุม กรรมการ / กรรมการบริ หาร / กรรมการผูจ้ ดั การสายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรรมการ / รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานบัญชีและการเงิน ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

กรรมการ / ประธานกรรมการบริ หาร / ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร / กรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน / รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การสาย งานขายและ การตลาด กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารร่ วม / กรรมการบริ หาร / กรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน / กรรมการบริ หารความเสี่ ยง / กรรมการผูจ้ ดั การสาย งานวางแผนและควบคุม กรรมการ / กรรมการบริ หาร / กรรมการผูจ้ ดั การสายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง / กรรมการผูจ้ ดั การสายงานปฏิบตั ิการและนิติกรรม กรรมการ / รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานบัญชีและการเงิน

13


14

นายสุวิช ล่าซา ▪ ประธานกรรมการ ▪ ประธานกรรมการตรวจสอบ ▪ กรรมการอิสระ

นายวิโรจน์ หุตะจูฑะ ▪ กรรมการ (มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั )

2.

ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ง

1.

ลาดับ

82

59

อายุ (ปี )

▪ ปริ ญญาโท (บริ หารธุรกิจ) Abilene Christian University ประเทศสหรัฐอเมริ กา ▪ ปริ ญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ▪ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 114/2015 ▪ อบรมหลักสูตร “Updated COSO Enterprise Risk Management: Integrating with Strategy and Performance" ▪ ปริ ญญาโท (MS MATHS – Master of Science Mathematics) มหาวิทยาลัยมิน ดาเนา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ▪ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยราช ภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ▪ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 118/2015

คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม

1.35

0.10

สัดส่วน การถือหุ น้ ในบริ ษทั (%)

บิดา นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ และ นาย ดรงค์ หุ ตะจูฑะ

ไม่มี

ความสัมพันธ์ทาง ครอบครัวระหว่าง กรรมการและ ผูบ้ ริ หาร

รายละเอยี ดคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร รายละเอียดคณะกรรมการบริษัทและผู้บริ หาร

▪ กรรมการ ▪ กรรมการ

2543 – ปัจจุบนั

▪ ประธานกรรมการ ▪ ประธานกรรมการตรวจสอบ ▪ กรรมการอิสระ ▪ Assistance Director agency transformation

ตาแหน่ง

2549 – ปัจจุบนั

2539 – ปัจจุบนั

2557 – ปัจจุบนั

ช่วงเวลา

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน) บริ ษทั สาม ธันวา จากัด

บริ ษทั เอไอเอ จากัด

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน/บริ ษทั

ประสบการณ์ทางาน

โรงค้าไม้แปรรู ปและ ไม้ซุงทุกประเภท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ประกันชี วิต

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ประเภทธุ รกิจ


15

4.

3.

ลาดับ

▪ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ▪ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ▪ รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ สาย งานขายและการตลาด นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว ▪ กรรมการ (มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ) ▪ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารร่ วม ▪ กรรมการบริ หาร ▪ กรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน ▪ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง ▪ กรรมการผูจ้ ดั การสายงาน วางแผนและควบคุม

▪ ประธานกรรมการบริ หาร

▪ กรรมการ (มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั )

นายเด่นดนัย หุตะจูฑะ

ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ง

58

59

อายุ (ปี )

▪ ปริ ญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ▪ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตจากสภา วิชาชีพบัญชี (Certified Public Accountants: CPA) ▪ Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 114/2015

▪ ปริ ญญาตรี (บัญชี ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ▪ Mini MBA รุ่ นที่ 35 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ▪ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 118/2015

คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม

4.38

57.46

สัดส่วน การถือหุ น้ ในบริ ษทั (%)

ไม่มี

บุตรนายวิโรจน์ หุ ตะจูฑะ และ พี่นายดรงค์ หุ ตะจูฑะ

ความสัมพันธ์ทาง ครอบครัวระหว่าง กรรมการและ ผูบ้ ริ หาร

2544 – ปัจจุบนั

2557 – ปัจจุบนั

2553 – ปัจจุบนั

ช่วงเวลา

▪ กรรมการ ▪ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ร่ วม ▪ กรรมการบริ หาร ▪ กรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน ▪ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง ▪ กรรมการผูจ้ ดั การสายงาน วางแผนและควบคุม ▪ กรรมการ

▪ กรรมการ ▪ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ▪ ประธากรรมการบริ หาร ▪ กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน ▪ รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานขายและการตลาด

ตาแหน่ง

บริ ษทั ซีโอเอส ออดิท จากัด

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน)

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน/บริ ษทั

ประสบการณ์ทางาน

สานักงานสอบบัญชี

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ประเภทธุ รกิจ


16

นายดรงค์ หุตะจูฑะ ▪ กรรมการ (มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ) ▪ กรรมการบริ หาร ▪ กรรมการผูจ้ ดั การ สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ นางสาวจีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์ ▪ กรรมการ (มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ) ▪ รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานบัญชีและการเงิน นายชัยวุฒิ จิตราคนี ▪ ประธานกรรมการบริ หารความ เสี่ ยง ▪ กรรมการตรวจสอบ ▪ กรรมการอิสระ ▪ กรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน

5.

7.

6.

ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ง

ลาดับ

63

53

58

อายุ (ปี )

▪ ปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรม โยธา สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี ▪ Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 118/2015 ▪ ปริ ญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ ▪ Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 114/2015 ▪ ปริ ญญาโท สาขารัฐประศาสน ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ▪ ปริ ญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ การเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยรามคาแหง ▪ Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ SEC/2014 ▪ Advanced Audit Committee Program (ACP) 2016

คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม

0.10

1.04

4.38

สัดส่วน การถือหุ น้ ในบริ ษทั (%)

ไม่มี

ไม่มี

บุตรนายวิโรจน์ หุตะจูฑะ และ น้อง นายเด่นดนัย หุตะจูฑะ

ความสัมพันธ์ทาง ครอบครัวระหว่าง กรรมการและ ผูบ้ ริ หาร

▪ กรรมการ

2553 – ปัจจุบนั

2557 – ปัจจุบนั 2554 – ปัจจุบนั

▪ ประธานกรรมการบริ หาร ความเสี่ ยง ▪ กรรมการตรวจสอบ ▪ กรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน ▪ กรรมการอิสระ ▪ กรรมการ ▪ กรรมการ

▪ กรรมการ ▪ รองกรรมผูจ้ ดั การสายงาน บัญชีและการเงิน ▪ กรรมการ

▪ กรรมการ ▪ กรรมการบริ หาร ▪ กรรมการผูจ้ ดั การสายงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์

ตาแหน่ง

2557 – ปัจจุบนั

2547 – ปัจจุบนั

2550 – ปัจจุบนั

2554 – ปัจจุบนั

ช่วงเวลา

ขายอาหารเสริ ม ผลิตภัณฑ์อาหารกึ่ง สาเร็ จรู ป แปรรู ป ผลิตเครื่ องมือแพทย์

บริ ษทั วีไออี จากัด บริ ษทั เอส ที ซี อิน โนเวชัน่ จากัด บริ ษทั คัสตอมไมซ์ เทคโนโลยี จากัด

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน)

โรงค้าไม้แปรรู ปและ ไม้ซุงทุกประเภท พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ประเภทธุ รกิจ

บริ ษทั สาม ธันวา จากัด

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน)

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน/บริ ษทั

ประสบการณ์ทางาน


17

ลาดับ

ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

▪ หลักสูตร Chief of Financial Officer (CFO) รุ่ นที่ 3 สถาบันบัญฑิตพัฒนบริ หาร ศาสตร์และตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย ▪ หลักสูตรการบริ หาร เศรษฐศาสตร์สาธารณะ สาหรับผูบ้ ริ หารระดับสู ง รุ่ นที่ 3 สถาบันพระปกเกล้า ▪ หลักสูตรการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย สาหรับนักบริ หารระดับสูง รุ่ น ที่ 16 สถาบันพระปกเกล้ ▪ อบรมหลักสูตร “Updated COSO Enterprise Risk Management: Integrating with Strategy and Performance” ▪ อบรมหลักสูตร “Gorporate Governance Orientaion for New Listed Company”

คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม

สัดส่วน การถือหุ น้ ในบริ ษทั (%)

ความสัมพันธ์ทาง ครอบครัวระหว่าง กรรมการและ ผูบ้ ริ หาร

2552 – ปัจจุบนั 2551 – ปัจจุบนั 2551 – ปัจจุบนั

ช่วงเวลา

▪ ประธานกรรมการ ▪ กรรมการบริ หารการเงิน ▪ กรรมการบริ หารการเงิน

ตาแหน่ง

บริ ษทั เส้นสาลี จากัด บริ ษทั เรดอน จากัด บริ ษทั นีโอฟาร์ ม จากัด

ชื่อหน่วยงาน/บริ ษทั

ประสบการณ์ทางาน

ผลิตเส้นก๋ วยเตี๋ยว ขายส่ งสิ นค้าทัว่ ไป ขายส่ งสิ นค้าทางเภสัช

ประเภทธุ รกิจ


18

ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ง

นางจิตติมา สัจจวานิช อินทุจนั ทร์ยง ▪ ประธานกรรมการสรรหา และ กาหนดค่าตอบแทน ▪ กรรมการตรวจสอบ ▪ กรรมการอิสระ

นายประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ ▪ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง ▪ กรรมการผูจ้ ดั การสายงาน ปฏิบตั ิการและนิติกรรม

ลาดับ

8

9

58

59

อายุ (ปี )

▪ เนติบณั ฑิตไทย สมัยที่ 36 ▪ ปริ ญญาตรี สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ▪ ปริ ญญาตรี สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ▪ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 114/2015 ▪ หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (ACP) 2016 ▪ อบรมหลักสูตร “Gorporate Governance Orientaion for New Listed Company” ▪ ปริ ญญาโท สาขาการบริ หาร พัฒนาสังคม) สถาบันบัญฑิ ตพัฒนบริ หารศาสตร์ ▪ ปริ ญญาตรี สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ▪ ปริ ญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ สหกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม

0.97

0.10

สัดส่วน การถือหุ น้ ในบริ ษทั (%)

ไม่มี

ไม่มี

ความสัมพันธ์ทาง ครอบครัวระหว่าง กรรมการและ ผูบ้ ริ หาร

▪ ประธานกรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน ▪ กรรมการอิสระ ▪ กรรมการตรวจสอบ ▪ ประธานอนุกรรมการไต่สวน ข้อเท็จจริ ง กรณี เจ้าหน้าที่ ของรัฐกระทาการทุจริ ตใน ภาครัฐ ▪ ผูช้ ่วยดาเนิ นงานของสมาชิ ก วุฒิสภา ▪ เลขานุการประธานวุฒิสภา

ตาแหน่ง

2557 – ปัจจุบนั ▪ กรรมการผูจ้ ดั การสายงาน ปฏิบตั ิการและนิติกรรม 2543 – ปัจจุบนั ▪ กรรมการ

2553 - 2554

2554 - 2557

2555 – 2557

2557 – ปัจจุบนั

ช่วงเวลา

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ประเภทธุ รกิจ

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน) บริ ษทั สาม ธันวา จากัด

วุฒิสภา

โรงค้าไม้แปรรู ปและ ไม้ซุงทุกประเภท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ส่วนราชการ

ส่วนราชการ สานักงาน คณะกรรมการป้ องกัน และปราบปรามการ ทุจริ ตในภาครัฐ (ป.ป.ท. ส่วนราชการ วุฒิสภา

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพ เพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน/บริ ษทั

ประสบการณ์ทางาน


19


ษณะการประกอบธุรกิจ ลักลักษณะการประกอบธุ รกิจ 1. โครงสร้ างรายได้ โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั แบ่งตามประเภทโครงการในช่วงตั้งแต่ปี 2559 - 2561 รายได้จากการขายและให้ บริการ

โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 1 โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 2 โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 รวมรายได้จากการขายและให้บริ การ รายได้อื่น2/ รายได้รวม

1/

ปี 2559 มูลค่ า (ล้านบาท) 7.48 7.56 347.76 362.80 3.58 366.38

สัดส่ วน (ร้ อยละ) 2.04 2.06 94.92 99.02 0.98 100.00

งบการเงิน (ตรวจสอบ) ปี 2560 มูลค่ า สัดส่ วน (ล้านบาท) (ร้ อยละ) 293.94 97.56 293.94 97.56 7.34 2.44 301.28 100.00

ปี 2561 มูลค่ า สัดส่ วน (ล้านบาท) (ร้ อยละ) 311.73 96.18 311.73 96.18 12.39 3.82 324.12 100.00

หมายเหตุ : 1/ รายได้จากการขายและให้บริ การ ได้แก่ รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์และรายได้ที่เกี่ยวข้องจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ อาทิเช่น รายได้ จากค่าเฟอร์นิเจอร์พร้อมคอนโดมิเนียม รายได้ค่าสาธารณู ปโภค เป็ นต้น 2/ รายได้อื่น ได้แก่ รายได้จากการผิดสัญญาของลูกค้า ดอกเบี้ยรับ รายได้จากค่าเช่าตามโครงการการันตีผลตอบแทนสาหรับการขายห้องชุดใน โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 และในปี 2561 บริ ษทั ฯมีรายได้จากการรับบริ หารนิติบุคคล The Title หาดราไวย์เฟส 3

2. ลักษณะผลิตภัณฑ์ และการให้ บริการ บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) เป็ นบริ ษทั พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อขาย โดยเน้นการพัฒนา โครงการพักอาศัยประเภทคอนโดมิเนี ยมในย่านทาเลที่มีศกั ยภาพ ซึ่ งเน้นการออกแบบโครงการที่ เป็ นเอกลักษณ์ การให้ ความสาคัญกับคุณภาพการก่อสร้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมของโครงการที่เน้นความร่ มรื่ นและให้ความรู ้สึกเสมือนการ พักผ่อนในโรงแรมหรื อรี สอร์ ท โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความคุม้ ค่าและความประทับใจแก่ลูกค้าเพื่อตอบโจทย์ความ ต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ทั้งนี้ สามารถสรุ ปรายละเอียด ความคืบหน้าในการขายและการ ก่อสร้างในแต่ละโครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ได้ดงั นี้

20


21

ต.ราไวย์ อ.เมือง ภูเก็ต จ.ภูเก็ต

ต.ราไวย์ อ.เมือง ภูเก็ต จ.ภูเก็ต

ต.สาคู อ.ถลาง จ. ภูเก็ต

ต.สาคู อ.ถลาง จ. ภูเก็ต

2.The Title หาดราไวย์ เฟส 2

3.The Title หาดราไวย์ เฟส 3

4.The Title หาดในยาง เฟส 1

5.The Title หาดในยาง เฟส 2

อาคารชุด 5,7 ชั้น

อาคารชุด 7 ชั้น

อาคารชุด 4 ชั้น

อาคารชุด 4 ชั้น

อาคารชุด 4 ชั้น

ลักษณะ โครงการ

ต.ค. 2560

เม.ย. 2559

ต.ค. 2556

ก.ค. 2555

ก.ย. 2554

เนื้อที่ โครงการ (ไร่ -งานวา) 4-2-66.8 4-2-91.8 7-2-87 4-2-55.1 4-3-8

เดือน/ปี ที่ ก่อสร้าง เสร็ จหรื อ คาดว่าจะ แล้วเสร็ จ ธ.ค. 2556 ก.พ. 2557 ธ.ค. 2558 ต.ค. 2561 ต.ค. 2561 220

252

240

120

798

599

1,118

452

494

(ล้านบาท)

(หน่วย) 160

มูลค่า

จานวน

(1)

210

252

239

120

155

(หน่วย)

(2)

759

599

1,110

452

465

(ล้านบาท)

มูลค่า

ขายแล้วสะสม 1/

จานวน

หมายเหตุ : 1/ ขายแล้วสะสม ประกอบด้วย ห้องชุดที่ มีการ จอง และ/หรื อ ทาสัญญาซื้ อขายจะซื้อจะขาย และ/หรื อห้องชุดที่มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ แล้ว 2/ โอนแล้วสะสม คือ ห้องชุดที่มีการการโอนกรรมสิ ทธิ์ แล้ว

ต.ราไวย์ อ.เมือง ภูเก็ต จ.ภูเก็ต

ที่ต้ งั โครงการ

1.The Title หาดราไวย์ เฟส 1

โครงการ

เดือน/ปี ที่เปิ ด จอง/ขาย โครงการ

มูลค่าโครงการ

สถานะการขาย การโอนกรรมสิทธิ์ และการก่ อสร้ างโครงการของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

0

0

230

120

155

(หน่วย)

จานวน

(3)

0

0

1,066

452

465

(ล้านบาท)

มูลค่า

โอนแล้วสะสม 2/

10

0

1

-

5

(หน่วย)

จานวน

39

0

8

-

29

(ล้านบาท)

มูลค่า

(1) – (2)

คงเหลือขาย

100

100

100.00

100.00

100.00

ร้อยละของ ความ คืบหน้า ก่อสร้าง

0

0

95.35

100.00

94.28

(3)/(1)

ร้อยละของ สัดส่ วน การรับรู ้ รายได้


โครงการทีเ่ ปิ ดขายแล้ ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สามารถสรุปข้ อมูลได้ ดงั นี้ 1. โครงการคอนโดมิเนียม The Title Phuket หาดราไวย์ เฟส 1 (The Title หาดราไวย์ เฟส 1)

ผังบริเวณโครงการ

เลียบหาดราไวย์ ถนนวิเศษ ตาบลราไวย์ อาเภอเมืองภูเก็ต จังหวัด ภูเก็ต สถานะ สร้างเสร็ จและอยูร่ ะหว่างขาย เนื้อที่โครงการ 4-2-66.8 ไร่ อาคารชุดพักอาศัย 4 ชั้น จานวน 4 อาคาร ลักษณะโครงการ 160 ยูนิต จานวนยูนิต Studio (ขนาดประมาณ 27 ตร.ม.) จานวน 16 ยูนิต 1 Bedroom (ขนาดประมาณ 34 - 45 ตร.ม.) จานวน 112 ยูนิต ลักษณะห้ องชุ ด 2 Bedrooms (ขนาดประมาณ 63 ตร.ม.) จานวน 32 ยูนิต 494 ล้านบาท มูลค่ าโครงการ ราคาขายเฉลีย่ /ตร.ม. 66,000 บาท/ตร.ม. ลูกค้าชาวไทย (คนในพื้นที่จงั หวัดภูเก็ต) ลูกค้าชาวไทย (นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์) ลูกค้าชาวต่างชาติ (นักท่องเที่ยว/นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์/ กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย เกษียณอายุ/มีความชอบในจังหวัดภูเก็ต/หนี ความหนาวมาพานัก ในประเทศไทย) นักธุรกิจ/นักลงทุนทัว่ ไป ที่ตอ้ งการมีบา้ นหลังที่2 ที่ต้ งั โครงการ ติดทะเลหน้าชายหาดราไวย์ ห่ างจากจุดชมวิวแหลมพรหมเทพ (UNSEEN THAILAND) เพียง 2 กม.และห่างจากหาดที่ได้รับคาชมจากนักท่องเที่ยวว่าสวยที่สุด คือ หาดในหาน ที่ต้ัง

จุดเด่ นของโครงการ

22

สระว่ายน้ าขนาดใหญ่ และสิ่ งอานวยความสะดวกครบครัน ที่จอดรถเพียงพอต่อการใช้งาน พร้ อมระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชม. พื้นที่สวนขนาดใหญ่ ภายในโครงการ เป็ นที่ยอมรับจากนักท่องเที่ยว/ชาวต่างชาติ โดยรวมว่าน่าพักอาศัย ที่สุดแห่ งหนึ่ง


2. โครงการคอนโดมิเนียม The Title Phuket หาดราไวย์ เฟส 2 (The Title หาดราไวย์ เฟส 2)

ผังบริเวณโครงการ

ที่ต้ัง สถานะ เนื้อที่โครงการ ลักษณะโครงการ จานวนยูนิต

เลียบหาดราไวย์ ถนนวิเศษ ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต 83130 สร้างเสร็ จและปิ ดการขายแล้ว 4-2-91.8 ไร่ อาคารชุดพักอาศัย 4 ชั้น จานวน 3 อาคาร 120 ยูนิต Studio (ขนาดประมาณ 27 ตร.ม.) จานวน 12 ยูนิต 1 Bedroom (ขนาดประมาณ 34 - 45 ตร.ม.) จานวน 84 ยูนิต ลักษณะห้ องชุ ด 2 Bedrooms (ขนาดประมาณ 63 ตร.ม.) จานวน 24 ยูนิต 452 ล้านบาท มูลค่ าโครงการ ราคาขายเฉลีย่ /ตร.ม. 80,000 บาท/ตร.ม. ลูกค้าชาวไทย (คนในพื้นที่จงั หวัดภูเก็ต) ลูกค้าชาวไทย (นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์) ลูกค้าชาวต่างชาติ (นักท่องเที่ยว/นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์/ กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย เกษียณอายุ/มีความชอบในจังหวัดภูเก็ต/หนี ความหนาวมาพานักใน ประเทศไทย) นักธุรกิจ/นักลงทุนทัว่ ไป ที่ตอ้ งการมีบา้ นหลังที่2 ที่ต้ งั โครงการ ติดทะเลหน้าชายหาดราไวย์ ห่ างจากจุดชมวิวแหลมพรหมเทพ (UNSEEN THAILAND) เพียง 2 กม.และห่างจากหาดที่ได้รับคาชมจากนักท่องเที่ยวว่าสวยที่สุด คือ หาดในหาน จุดเด่ นของโครงการ

สระว่ายน้ าขนาดใหญ่ และสิ่ งอานวยความสะดวกครบครัน ที่จอดรถเพียงพอต่อการใช้งาน พร้ อมระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชม. พื้นที่สวนขนาดใหญ่ ภายในโครงการ เป็ นที่ยอมรับจากนักท่องเที่ยว/ชาวต่างชาติ โดยรวมว่าน่าพักอาศัย ที่สุดแห่ งหนึ่ง

23


3. โครงการคอนโดมิเนียม The Title Phuket หาดราไวย์ เฟส 3 (The Title หาดราไวย์ เฟส 3)

ผังบริเวณโครงการ

ที่ต้ัง สถานะ เนื้อที่โครงการ ลักษณะโครงการ จานวนยูนิต

เลียบหาดราไวย์ ถนนวิเศษ ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต 83130 สร้างเสร็ จและอยูร่ ะหว่างขาย 7-2-87 ไร่ อาคารชุดพักอาศัย 4 ชั้น จานวน 7 อาคาร 240 ยูนิต Studio (ขนาดประมาณ 29 - 30 ตร.ม.) จานวน 44 ยูนิต 1 Bedroom (ขนาดประมาณ 47 - 50 ตร.ม.) จานวน 156 ยูนิต ลักษณะห้ องชุ ด 2 Bedrooms (ขนาดประมาณ 78 ตร.ม.) จานวน 40 ยูนิต 1,118 ล้านบาท มูลค่ าโครงการ ราคาขายเฉลีย่ /ตร.ม. 86,500 บาท/ตร.ม. ลูกค้าชาวไทย (คนในพื้นที่จงั หวัดภูเก็ต) ลูกค้าชาวไทย (นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์) ลูกค้าชาวต่างชาติ (นักท่องเที่ยว/นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์/ กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย เกษียณอายุ/มีความชอบในจังหวัดภูเก็ต/หนี ความหนาวมาพานักใน ประเทศไทย) นักธุรกิจ/นักลงทุนทัว่ ไป ที่ตอ้ งการมีบา้ นหลังที่2 ที่ต้ งั โครงการ ติดทะเลหน้าชายหาดราไวย์ ห่างจากจุดชมวิวแหลมพรหมเทพ (UNSEEN THAILAND) เพียง 2 กม.และห่ างจากหาดที่ได้รับคาชมจากนักท่องเที่ยวว่าสวยที่สุด คือ หาดในหาน จุดเด่ นของโครงการ

24

สระว่ายน้ าขนาดใหญ่ และสิ่ งอานวยความสะดวกครบครัน ที่จอดรถเพียงพอต่อการใช้งาน พร้ อมระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชม. พื้นที่สวนขนาดใหญ่ ภายในโครงการ เป็ นที่ยอมรับจากนักท่องเที่ยว/ชาวต่างชาติ โดยรวมว่าน่าพักอาศัย ที่สุดแห่ งหนึ่ง


4. โครงการคอนโดมิเนียม The Title Residencies Naiyang Phuket เฟส 1 (The Title หาดในยาง เฟส 1)

ผังบริเวณโครงการ

สถานะ เนื้อที่โครงการ ลักษณะโครงการ จานวนยูนิต

ถนนเทพกระษัตรี -ในยาง ซอยบางม่าเหลา 2/2 หมู่5 ตาบลสาคู อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต สร้างเสร็ จและอยูร่ ะหว่างขาย 4-2-55.10 ไร่ อาคารชุดพักอาศัย 7 ชั้น จานวนรวม 3 อาคาร (อาคาร E,F,G) 252 ยูนิต

ลักษณะห้ องชุ ด

1 Bedroom (ขนาดประมาณ 34 - 46 ตร.ม.) จานวน 252 ยูนิต

ที่ต้ัง

มูลค่ าโครงการ 599 ล้านบาท ราคาขายเฉลีย่ /ตร.ม. 61,280.84 บาท/ตร.ม. ลูกค้าชาวไทย (คนในพื้นที่จงั หวัดภูเก็ต)/คนทัว่ ไปและพนักงานที่ ทางานบริ เวณท่าอากาศยานจังหวัดภูเก็ต ลูกค้าชาวไทย (นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์) กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย ลูกค้าชาวต่างชาติ (นักท่องเที่ยว/นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์/ เกษียณอายุ/มีความชอบในจังหวัดภูเก็ต/หนี ความหนาวมาพานักใน ประเทศไทย) นักธุรกิจ/นักลงทุนทัว่ ไป ที่ตอ้ งการมีบา้ นหลังที่2 ที่ต้ งั โครงการ ติดกับสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต คือ หาดใน ยาง ห่างจากทะเลหาดในยาง เพียง 300 ม. และห่ างจากสนามบิน นานาชาติจงั หวัดภูเก็ต เพียง 2 กม. จุดเด่ นของโครงการ

สระว่ายน้ าขนาดใหญ่ และสิ่ งอานวยความสะดวกครบครัน ที่จอดรถเพียงพอต่อการใช้งาน พร้ อมระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชม. พื้นที่สวนขนาดใหญ่ ภายในโครงการ เป็ นที่ยอมรับจากนักท่องเที่ยว/ชาวต่างชาติ โดยรวมว่าน่าพักอาศัย ที่สุดแห่ งหนึ่ง

25


5. โครงการคอนโดมิเนียม The Title Residencies Naiyang Phuket เฟส 2 (The Title หาดในยาง เฟส 2)

ผังบริเวณโครงการ

ถนนเทพกระษัตรี -ในยาง ซอยบางม่าเหลา 2/2 หมู่5 ตาบลสาคู อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต สร้างเสร็ จและอยูร่ ะหว่างขาย สถานะ 4-3-8 ไร่ เนื้อที่โครงการ ลักษณะโครงการ อาคารชุดพักอาศัย 2,6,7 ชั้น จานวนรวม 4 อาคาร (A,B,C,D) 220 ยูนิต จานวนยูนิต 1 Bedroom (ขนาดประมาณ 34 - 46 ตร.ม.) จานวน 206 ยูนิต ลักษณะห้ องชุ ด 2 Bedrooms (ขนาดประมาณ 52-61 ตร.ม.) จานวน 14 ยูนิต 798 ล้านบาท มูลค่ าโครงการ ราคาขายเฉลีย่ /ตร.ม. 90,525.21 บาท/ตร.ม. ลูกค้าชาวไทย (คนในพื้นที่จงั หวัดภูเก็ต)/คนทัว่ ไปและพนักงานที่ ทางานบริ เวณท่าอากาศยานจังหวัดภูเก็ต ลูกค้าชาวไทย (นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์) กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย ลูกค้าชาวต่างชาติ (นักท่องเที่ยว/นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์/ เกษียณอายุ/มีความชอบในจังหวัดภูเก็ต/หนี ความหนาวมาพานัก ในประเทศไทย) นักธุรกิจ/นักลงทุนทัว่ ไป ที่ตอ้ งการมีบา้ นหลังที่2 ที่ต้ งั โครงการ ติดกับสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต คือ หาดใน ยาง ห่างจากทะเลหาดในยาง เพียง 300 ม. และห่ างจากสนามบิน นานาชาติจงั หวัดภูเก็ต เพียง 2 กม. ที่ต้ัง

จุดเด่ นของโครงการ

26

สระว่ายน้ าขนาดใหญ่ และสิ่ งอานวยความสะดวกครบครัน ที่จอดรถเพียงพอต่อการใช้งาน พร้ อมระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชม. พื้นที่สวนขนาดใหญ่ ภายในโครงการ เป็ นที่ยอมรับจากนักท่องเที่ยว/ชาวต่างชาติ โดยรวมว่าน่าพักอาศัย ที่สุดแห่ งหนึ่ง


6. โครงการคอนโดมิเนียม The Title V (The Title We)

ผังบริเวณโครงการ

ที่ต้ัง

เลียบหาดราไวย์ ถนนวิเศษ ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต • อยูร่ ะหว่างดาเนิ นการทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (EIA)

สถานะ

• อยูร่ ะหว่างเตรี ยมการก่อสร้างในไตรมาส 2 ปี 2562 โดยคาดว่า จะก่อสร้างแล้วเสร็ จภายในไตรมาส 2 ปี 2564

• เปิ ดจองเดือน พฤศจิกายน 2561 5-1-0 ไร่ เนื้อที่โครงการ ลักษณะโครงการ อาคารชุดพักอาศัย 5 ชั้น จานวนรวม 4 อาคาร (U,V,X,Y) 228 ยูนิต Investment Area: 124 ยูนิต Residential Area: 104 ยูนิต จานวนยูนิต บริ หารงานโดย Best Western Inc. 1 Bedroom (ขนาดประมาณ 35 ตร.ม.) จานวน 129 ยูนิต 1 Bedroom (ขนาดประมาณ 41 ตร.ม.) จานวน 84 ยูนิต ลักษณะห้ องชุ ด 2 Bedrooms (ขนาดประมาณ 69-78 ตร.ม.) จานวน 15 ยูนิต 1,011 ล้านบาท มูลค่ าโครงการ ราคาขายเฉลีย่ /ตร.ม. 111,344.45 บาท ลูกค้าชาวต่างชาติ (นักท่องเที่ยว/นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์/ เกษีญณอายุ / มีความชอบในจังหวัดภูเก็ต กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย นักธุรกิจ/นักลงทุนทัว่ ไป ที่ตอ้ งการมีบา้ นหลังที่2 ลูกค้าชาวไทย (นักลงทุนอสังหาริ มทรัพย์) ลูกค้าชาวไทย (คนในพื้นที่จงั หวัดภูเก็ต) ที่ต้ งั โครงการห่างจากชายหาดราไวย์ประมาณ 250 เมตร ส่ วนกลางของทั้งโครงการมีพ้นื ที่ถึง 65% โดยประมาณ การออกแบบผสมผสานเอกลักษณ์แบบของไทย ญี่ปนุ่ และภูฏาน เข้าด้วยกัน โดยใช้วสั ดุที่มีความยัง่ ยืน และเป็ นวัสดุจากธรรมชาติ จุดเด่ นของโครงการ เป็ นส่ วนใหญ่ ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม สระว่ายน้ าจานวน 7 สระและสิ่ งอานวยความสะดวกครบครัน แบ่งการบริ หารโครงการเป็ น 2 รู ปแบบ คือ Investment (เพื่อการ ลงทุน) และ Residential (เพื่อการพักอาศัย) ภายใต้แบรนด์ Best Western Inc.

27


แสดงแผนทีต่ ้งั โครงการต่ างๆของบริษัทฯ

28


เนื่ องจากธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เป็ นธุรกิจที่ตอ้ งใช้ระยะเวลาในการพัฒนาโครงการ บริ ษทั จึงได้กาหนดเงื่อนไข การชาระเงินให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการพัฒนาโครงการซึ่งบริ ษทั แบ่งขั้นตอนในการรับชาระเงิน ดังนี้ 1. เงินจอง : การชาระค่าจองจะเกิดขึ้นต่อเมื่อลูกค้าแสดงความสนใจในห้องชุดและลงนามในสัญญาจองซื้อห้องชุดกับ บริ ษทั 2. เงินทาสัญญาจะซื้อจะขาย (“เงินทาสัญญา”) : การชาระเงินทาสัญญาจะเกิดขึ้นเมื่อลูกค้าได้ลงนามในสัญญาจะซื้อจะ ขายห้องชุดกับบริ ษทั 3. เงินดาวน์: การชาระเงินจะเป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดในสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุดซึ่งบริ ษทั จะกาหนดจานวนงวด การชาระเงินและระยะเวลาในการชาระงินให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการก่อสร้างในแต่ละโครงการ 4. เงินโอนกรรมสิทธิ์ : การชาระเงินจะเกิดขึ้นเมื่อบริ ษทั มีการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดให้แก่ลูกค้า เงื่อนไขในการชาระเงิน ของโครงการต่างๆ ของบริ ษทั ฯ ที่เปิ ดขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

โครงการ ลูกค้ าชาวไทย The Title หาดราไวย์ เฟส 1 และ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 เงินจอง 100,000 บาท เงินทาสัญญา ร้อยละ 10.00 ของมูลค่าขาย เงินดาวน์ ร้อยละ 5.00 ของมูลค่าขาย จานวนงวดผ่อนดาวน์ 6 งวด เงินโอน ส่วนที่เหลือ The Title V หาดราไวย์ เฟส 5 เงินจอง 100,000 บาท เงินทาสัญญา 200,000 บาท เงินดาวน์ ร้อยละ 20.00 ของมูลค่าขาย (รวมเงินจองและเงินทาสัญญา) จานวนงวดผ่อนดาวน์ 24 งวด เงินโอน ส่วนที่เหลือ The Title หาดในยาง เงินจอง 30,000 บาท เงินทาสัญญา 100,000 บาท เงินดาวน์ ร้อยละ 15.00 ของมูลค่าขาย (รวมเงินจองและเงินทาสัญญา) จานวนงวดผ่อนดาวน์ 15 งวด เงินโอน ส่วนที่เหลือ

ลูกค้ าชาวต่ างชาติ

100,000 บาท ร้อยละ 15.00 ของมูลค่าขาย ร้อยละ 45.00 ของมูลค่าขาย ภายใน 4 เดือน ส่วนที่เหลือ 100,000 บาท ร้อยละ 25.00 ของมูลค่าขาย ร้อยละ 50.00 ของมูลค่าขาย 2 งวดตามความสาเร็ จของงานก่อสร้าง* ส่วนที่เหลือ 100,000 บาท ร้อยละ 25.00 ของมูลค่าขาย ร้อยละ 50.00 ของมูลค่าขาย 2 งวดตามความสาเร็ จของงานก่อสร้าง* ส่วนที่เหลือ

* งวดสาเร็ จของงานก่อสร้ างได้แก่ช่วงเวลาที่สามารถแสดงเห็นถึงความคืบหน้าได้อย่างชัดเจน อาทิเช่น เมื่อเริ่ มก่อสร้างงานฐานราก เมื่องาน โครงสร้างแล้วเสร็ จ เป็ นต้น

3. สิทธิประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ - ไม่มี -

29


4. การตลาดและการแข่ งขัน 4.1 กลยุทธ์ ทางด้ านผลิตภัณฑ์ บริ ษ ัท ฯ ได้ต ระหนัก ถึ ง ความต้อ งการของกลุ่ ม ลู ก ค้า เป้ า หมายเป็ นส าคัญ จึ ง มี แ นวคิ ด ในการพัฒ นาโครงการ อสังหาริ มทรั พย์เพื่อขายด้วยการออกแบบโครงการให้มีเอกลักษณ์ เฉพาะ(Signature) และสร้ างสรรค์พฒ ั นาโครงการ ประหนึ่ งการสร้างงานศิลปะ โดยบริ ษทั ให้ความสาคัญกับการตกแต่งภูมิทศั น์ภายในรอบโครงการ อาทิ เช่น การจัดให้มี น้ าตกขนาดใหญ่ การตกแต่งสวน (Landscape) การจัดสรรพื้นที่ส่วนใหญ่ในโครงการให้มองเห็นวิวทะเล (Sea-view) เป็ น ต้น เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายที่ตอ้ งการใช้วิถีชีวติ เพื่อการพักผ่อน ปั จจัยทางด้านพื้นที่และ ทาเลที่ ต้ งั ก็เป็ นอีกปั จจัยที่ สาคัญต่อการพัฒนารู ปแบบและการตกแต่งของแต่ละโครงการ โดยแต่ละโครงการจะมีการ ตกแต่งด้วยรู ปแบบที่เน้นพื้นที่สีเขียวรอบโครงการ สระว่ายน้ าขนาดใหญ่ เพื่อให้ผอู ้ ยูอ่ าศัยรู ้สึกผ่อนคลายและหลีกหนีจาก ความวุ่นวายในเมื อง บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับบรรยากาศโดยรอบของทุ กโครงการ มี การวางผังโครงการให้มีพ้ืนที่ ส่ วนกลางที่ ผูอ้ ยู่อาศัยสามารถมาใช้งานและพักผ่อนได้จริ ง มี สิ่งอานวยความสะดวกครบครั น และระบบรั กษาความ ปลอดภัยที่รัดกุมและเชื่อถือได้ เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการทุกด้านของผูอ้ ยูอ่ าศัยได้อย่างครบถ้วน นอกจากนั้นใน แต่ละโครงการ บริ ษทั ฯ ยังคานึ งถึงการใช้ประโยชน์สูงสุ ดของพื้นที่ ใช้สอยของห้องชุดในแต่ละโครงการ โดยที มงาน ออกแบบของบริ ษทั ฯ ได้พฒั นาและออกแบบห้องชุดพักอาศัยให้สามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ในแต่ละห้องชุดได้อย่าง สูงสุด รวมถึงการใช้เครื่ องตกแต่งหรื อเฟอร์นิเจอร์ เครื่ องสุขภัณฑ์ และวัสดุตกแต่งต่างๆ ที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ ก่อนที่บริ ษทั ฯ จะเริ่ มพัฒนาโครงการใดๆ นั้น บริ ษทั ฯ จะทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการที่จะพัฒนา ในเบื้องต้น โดยจะเริ่ มพิจารณาจากกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของโครงการนั้นเป็ นหลัก และความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย เพื่อใช้ในการกาหนดรู ปแบบของโครงการและกาหนดราคาขายให้สอดคล้องกัน เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการ ของกลุ่มลูกค้าได้อย่างดีที่สุด 4.2 กลยุทธ์ ทางด้ านราคา บริ ษทั ฯ กาหนดกลยุทธ์ทางด้านราคา โดยพิจารณาจากปั จจัยต่างๆ เช่น การกาหนดตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ กลุ่มลูกค้า เป้ าหมาย ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ทาเลที่ ต้ งั พื้นที่ ใช้สอย เป็ นต้น นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังทาการเปรี ยบเทียบราคาขายของ โครงการกับโครงการอื่นที่ อยู่ในละแวกพื้นที่ ใกล้เคียงกัน รวมทั้งพิจารณาถึงต้นทุนของโครงการ ไม่ว่าจะเป็ นค่าที่ ดิน ค่าใช้จ่ายในการออกแบบ ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยการกาหนดราคาขายจะต้องเป็ นราคา ที่เหมาะสม ที่ทาให้ผบู ้ ริ โภครู ้สึกถึงความคุม้ ค่า 4.3 กลยุทธ์ ทางด้ านสื่ อสารการตลาดและส่ งเสริมการขาย บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับการสื่ อสารการตลาดในรู ปแบบต่างๆ หลากหลายช่องทาง โดยมีเป้ าหมายเพื่อให้กลุ่มลูกค้า เป้ าหมายสามารถรับรู ้และจดจาชื่อบริ ษทั และโครงการของบริ ษทั ฯ ได้ ดังนี้ 1. การโฆษณาผ่านสื่ อสารมวลชน (Mass Media) เช่น สิ่ งพิมพ์ต่างๆ เพื่อเป็ นการสื่ อสารการตลาดในวงกว้าง โดย บริ ษ ัท ฯ จะเน้น การใช้สื่อ บริ เ วณพื้ น ที่ ภายในจัง หวัด ที่ โ ครงการตั้ง อยู่เ พื่ อ สื่ อ สารทางการตลาดให้ต รงกับ กลุ่มเป้ าหมาย 2. การสื่ อสารผ่านสื่ อกลางแจ้ง (Outdoor Media) เช่น ป้ ายบิลบอร์ด ป้ ายบอกทาง เพื่อเป็ นการสื่ อสารกับกลุ่มลูกค้าที่ อยู่รอบๆ โครงการหรื อบริ เวณใกล้เคียงกับทาเลที่ ต้ งั โครงการเป็ นหลัก หรื อในพื้นที่ รอบๆบริ เวณกลุ่มลูกค้า เป้ าหมาย

30


3. การสื่ อสารในช่ องทางเลือกอื่นๆ (Below The Line) เช่น การแถลงข่าวเปิ ดตัวโครงการใหม่ การสื่ อสารทางตรง (Direct Mail) การออกบูธแสดงสิ นค้าตามสถานที่ต่างๆ ที่กลุ่มเป้ าหมายนิยมไป อาทิเช่น สนามบินนานาชาติจงั หวัด ภูเก็ต ศูนย์การค้า สถานที่ท่องเที่ยว เป็ นต้น 4. การสื่ อสารการตลาดในช่องทางสื่ อ (Media) เช่น การสื่ อสารผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.rhombho.co.th Facebook: https://www.facebook.com/thetitlephuket/ , VK.com https://vk.com/club164549875 และ https://www.weibo.com/6364432679/profile?topnav=1&wvr=6&is_hot=1 เพื่ออานวยความสะดวกให้ลูกค้าชาว รัสเซียและชาวจีน ที่กาลังมองหาอสังหาริ มทรัพย์ในไทย และการจัดทาโฆษณาผ่านเว็บไซด์ต่างๆที่ตรงกับกลุ่ม ลูกค้าเป้ าหมายอาทิเช่น www.phuketall.com การสื่ อสารผ่านระบบจดหมายอิเล็กทรอนิคส์ (E-Mail) การโฆษณา ผ่านเว็บไซต์อื่นๆ การส่งข้อความผ่านระบบโทรศัพท์มือถือ (SMS) เป็ นต้น ซึ่งการสื่ อสารในรู ปแบบนี้ยงั ช่วยให้ ลูกค้าสามารถเข้าไปติดตามความคืบหน้าในการก่อสร้างและการตกแต่งของละโครงการได้อีกทางหนึ่ง 4.4 กลยุทธ์ ทางด้ านการจาหน่ ายและช่ องทางการจาหน่ าย บริ ษทั ฯ มีกลยุทธ์แผนการขายแบบเป็ นทีม ซึ่งจะมีท้ งั ทีมงานทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เพื่อนาเสนอและอานวยความ สะดวกในการให้ขอ้ มูลโครงการ และนาเสนอรายละเอียดโครงการไปจนถึงการให้คาแนะนาในการขอสิ นเชื่อทางการเงิน กับลูกค้า โดยเมื่อลูกค้าเข้ามาเยีย่ มชมโครงการ ทั้งที่สานักงานขาย ณ ที่ต้ งั ของโครงการ หรื อการออกบูธตามสถานที่ต่างๆ ทีมขายจะนาเสนอข้อมูลโครงการแก่ลูกค้า โดยจะอธิ บายแนวคิดและที่มาของรู ปลักษณ์ สไตล์ และจุดเด่นของโครงการ เพื่อจูงใจให้ลูกค้ามีความรู ้สึกอยากเป็ นเจ้าของ รวมถึงการให้ขอ้ มูลของโครงการ เช่น ขนาดพื้นที่หอ้ ง ราคาห้องชุด รู ปแบบ การตกแต่ง สิ่ งอานวยความสะดวกที่มีให้ รวมถึงสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ มีห้องตัวอย่างเปิ ดแสดงให้ผทู ้ ี่สนใจชม ณ ที่ ต้ งั โครงการ นอกจากทีมงานขายของบริ ษทั แล้ว บริ ษทั ฯ ยังมีช่องทางการขายในรู ปแบบอื่นๆ โดยบริ ษทั ดาเนิ นการ ว่าจ้างตัวแทนขาย (Agent) ซึ่ งเป็ นตัวแทนในการจัดหาลูกค้าให้แก่บริ ษทั ฯ โดยมีท้ งั ตัวแทนที่เป็ นนิ ติบุคคลและบุคคลซึ่ ง เป็ นผูเ้ ชี่ ยวชาญและมีฐานลูกค้าซึ่ งเป็ นกลุ่มชาวต่างชาติ ซึ่ งมีหน้าที่ ให้คาปรึ กษาและวิเคราะห์ดา้ นการตลาดตลอดจนพา ลูกค้ามาเยี่ยมชมโครงการ โดยบริ ษทั ฯ มีนโยบายในการจ่ายค่าตอบแทนเป็ นมูลค่าหรื อร้อยละตามมูลค่าขายหรื อที่เกิดขึ้น เป็ นอัต ราตลาดเพื่ อ สร้ า งแรงจู ง ใจแก่ ต ัว แทนขาย (Agent) และ/หรื อ พนักงานของตัวแทนขาย (Sale Agent) ที่ มี ส่ ว น สนับสนุ นหรื อผลักดันให้การขายประสบความสาเร็ จ โดยจะมี การจ่ ายผลตอบแทนแก่ ตวั แทนขาย(Agent) และ/หรื อ พนักงานของตัวแทนขาย (Sale Agent) เมื่อลูกค้าทาจองและ/หรื อ ทาสัญญาจะซื้ อจะขาย และ/หรื อห้องชุดที่ มีการโอน กรรมสิ ทธิ์ แล้วเท่านั้น นอกจากนี้ ลูกค้าหรื อผูท้ ี่สนใจโครงการยังสามารถสอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์หรื อเข้าชมเว็บไซต์ บริ ษทั ฯ ที่ www.rhombho.co.th ซึ่งลูกค้าสามารถเข้าไปศึกษารายละเอียดเบื้องต้นของแต่ละโครงการได้ 4.5 กลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของบริ ษทั ฯ มีท้ งั ลูกค้าชาวไทยและลูกค้าชาวต่างชาติ โดยในกรณี ของลูกค้าชาวต่างชาติมกั เป็ น กลุ่มที่ ตอ้ งการซื้ อเพื่อเป็ นบ้านหลังที่สอง หรื อใช้เป็ นที่ พกั อาศัยในช่วงที่สภาพภูมิอากาศในประเทศตนเองอยู่ในช่วงฤดู หนาว หรื อใช้เป็ นที่พกั อาศัยหลังเกษียณอายุ ซึ่ งลูกค้าหลักประกอบด้วย ชาวต่างชาติที่อาศัยอยูใ่ นกลุ่มทวีปยุโรป อาทิเช่น รัสเซี ย ฝรั่งเศส สวีเดน เป็ นต้น ในขณะที่ ลูกค้าชาวต่างชาติอีกกลุ่มหนึ่ งเป็ นลูกค้าในกลุ่มทวีปเอเซี ย อาทิ เช่น จี น ญี่ปุ่น ฮ่องกง เป็ นต้น สาหรับ ลูกค้าของบริ ษทั ส่ วนหนึ่ งเป็ นกลุ่มลูกค้าที่ซ้ื อเพื่อลงทุน และหาอัตราผลตอบแทน (Yield) จากการ ปล่อยเช่าและกาไรจากการขายต่อในอนาคต (Capital Gain) ดังนั้น เพื่อตอบโจทย์ลูกค้ากลุ่มดังกล่าว บริ ษทั จึงได้กาหนด แผนทางการตลาดเพื่อกระตุน้ ยอดขาย ด้วยโครงการ “การันตีผลตอบแทน (Guaranteed Yield)” ในขณะที่ ลูกค้าอีกกลุ่ม หนึ่ งของบริ ษทั เป็ น กลุ่มผูท้ ี่ทางานในจังหวัดภูเก็ตโดยมีจุดประสงค์เพื่อการพักอาศัยเป็ นหลัก เนื่ องจากปั จจุบนั การจราจร ในจังหวัดภูเก็ตค่อนข้างหนาแน่ นทาให้เกิ ดความต้องการพักอาศัย ใกล้แหล่งท่ องเที่ ยวที่ เป็ นที่ ทางานหรื อผูท้ ี่ ตอ้ งการ

31


4. การตลาดและการแข่ งขัน 4.1 กลยุทธ์ ทางด้ านผลิตภัณฑ์ บริ ษ ัท ฯ ได้ต ระหนัก ถึ ง ความต้อ งการของกลุ่ ม ลู ก ค้า เป้ า หมายเป็ นส าคัญ จึ ง มี แ นวคิ ด ในการพัฒ นาโครงการ อสังหาริ มทรั พย์เพื่อขายด้วยการออกแบบโครงการให้มีเอกลักษณ์ เฉพาะ(Signature) และสร้ างสรรค์พฒ ั นาโครงการ ประหนึ่ งการสร้างงานศิลปะ โดยบริ ษทั ให้ความสาคัญกับการตกแต่งภูมิทศั น์ภายในรอบโครงการ อาทิ เช่น การจัดให้มี น้ าตกขนาดใหญ่ การตกแต่งสวน (Landscape) การจัดสรรพื้นที่ส่วนใหญ่ในโครงการให้มองเห็นวิวทะเล (Sea-view) เป็ น ต้น เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายที่ตอ้ งการใช้วิถีชีวติ เพื่อการพักผ่อน ปั จจัยทางด้านพื้นที่และ ทาเลที่ ต้ งั ก็เป็ นอีกปั จจัยที่ สาคัญต่อการพัฒนารู ปแบบและการตกแต่งของแต่ละโครงการ โดยแต่ละโครงการจะมีการ ตกแต่งด้วยรู ปแบบที่เน้นพื้นที่สีเขียวรอบโครงการ สระว่ายน้ าขนาดใหญ่ เพื่อให้ผอู ้ ยูอ่ าศัยรู ้สึกผ่อนคลายและหลีกหนีจาก ความวุ่นวายในเมื อง บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับบรรยากาศโดยรอบของทุ กโครงการ มี การวางผังโครงการให้มีพ้ืนที่ ส่ วนกลางที่ ผูอ้ ยู่อาศัยสามารถมาใช้งานและพักผ่อนได้จริ ง มี สิ่งอานวยความสะดวกครบครั น และระบบรั กษาความ ปลอดภัยที่รัดกุมและเชื่อถือได้ เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการทุกด้านของผูอ้ ยูอ่ าศัยได้อย่างครบถ้วน นอกจากนั้นใน แต่ละโครงการ บริ ษทั ฯ ยังคานึ งถึงการใช้ประโยชน์สูงสุ ดของพื้นที่ ใช้สอยของห้องชุดในแต่ละโครงการ โดยที มงาน ออกแบบของบริ ษทั ฯ ได้พฒั นาและออกแบบห้องชุดพักอาศัยให้สามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ในแต่ละห้องชุดได้อย่าง สูงสุด รวมถึงการใช้เครื่ องตกแต่งหรื อเฟอร์นิเจอร์ เครื่ องสุขภัณฑ์ และวัสดุตกแต่งต่างๆ ที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ ก่อนที่บริ ษทั ฯ จะเริ่ มพัฒนาโครงการใดๆ นั้น บริ ษทั ฯ จะทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการที่จะพัฒนา ในเบื้องต้น โดยจะเริ่ มพิจารณาจากกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของโครงการนั้นเป็ นหลัก และความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย เพื่อใช้ในการกาหนดรู ปแบบของโครงการและกาหนดราคาขายให้สอดคล้องกัน เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการ ของกลุ่มลูกค้าได้อย่างดีที่สุด 4.2 กลยุทธ์ ทางด้ านราคา บริ ษทั ฯ กาหนดกลยุทธ์ทางด้านราคา โดยพิจารณาจากปั จจัยต่างๆ เช่น การกาหนดตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ กลุ่มลูกค้า เป้ าหมาย ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ทาเลที่ ต้ งั พื้นที่ ใช้สอย เป็ นต้น นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังทาการเปรี ยบเทียบราคาขายของ โครงการกับโครงการอื่นที่ อยู่ในละแวกพื้นที่ ใกล้เคียงกัน รวมทั้งพิจารณาถึงต้นทุนของโครงการ ไม่ว่าจะเป็ นค่าที่ ดิน ค่าใช้จ่ายในการออกแบบ ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยการกาหนดราคาขายจะต้องเป็ นราคา ที่เหมาะสม ที่ทาให้ผบู ้ ริ โภครู ้สึกถึงความคุม้ ค่า 4.3 กลยุทธ์ ทางด้ านสื่ อสารการตลาดและส่ งเสริมการขาย บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับการสื่ อสารการตลาดในรู ปแบบต่างๆ หลากหลายช่องทาง โดยมีเป้ าหมายเพื่อให้กลุ่มลูกค้า เป้ าหมายสามารถรับรู ้และจดจาชื่อบริ ษทั และโครงการของบริ ษทั ฯ ได้ ดังนี้ 1. การโฆษณาผ่านสื่ อสารมวลชน (Mass Media) เช่น สิ่ งพิมพ์ต่างๆ เพื่อเป็ นการสื่ อสารการตลาดในวงกว้าง โดย บริ ษ ัท ฯ จะเน้น การใช้สื่อ บริ เ วณพื้ น ที่ ภายในจัง หวัด ที่ โ ครงการตั้ง อยู่เ พื่ อ สื่ อ สารทางการตลาดให้ต รงกับ กลุ่มเป้ าหมาย 2. การสื่อสารผ่านสื่ อกลางแจ้ง (Outdoor Media) เช่น ป้ ายบิลบอร์ด ป้ ายบอกทาง เพื่อเป็ นการสื่ อสารกับกลุ่มลูกค้าที่ อยู่รอบๆ โครงการหรื อบริ เวณใกล้เคียงกับทาเลที่ ต้ งั โครงการเป็ นหลัก หรื อในพื้นที่ รอบๆบริ เวณกลุ่มลูกค้า เป้ าหมาย

32


3. การสื่ อสารในช่ องทางเลือกอื่นๆ (Below The Line) เช่น การแถลงข่าวเปิ ดตัวโครงการใหม่ การสื่ อสารทางตรง (Direct Mail) การออกบูธแสดงสิ นค้าตามสถานที่ต่างๆ ที่กลุ่มเป้ าหมายนิยมไป อาทิเช่น สนามบินนานาชาติจงั หวัด ภูเก็ต ศูนย์การค้า สถานที่ท่องเที่ยว เป็ นต้น 4. การสื่ อสารการตลาดในช่องทางสื่ อ (Media) เช่น การสื่ อสารผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.rhombho.co.th Facebook: https://www.facebook.com/thetitlephuket/ , VK.com https://vk.com/club164549875 และ https://www.weibo.com/6364432679/profile?topnav=1&wvr=6&is_hot=1 เพื่ออานวยความสะดวกให้ลูกค้าชาว รัสเซียและชาวจีน ที่กาลังมองหาอสังหาริ มทรัพย์ในไทย และการจัดทาโฆษณาผ่านเว็บไซด์ต่างๆที่ตรงกับกลุ่ม ลูกค้าเป้ าหมายอาทิเช่น www.phuketall.com การสื่ อสารผ่านระบบจดหมายอิเล็กทรอนิคส์ (E-Mail) การโฆษณา ผ่านเว็บไซต์อื่นๆ การส่งข้อความผ่านระบบโทรศัพท์มือถือ (SMS) เป็ นต้น ซึ่งการสื่ อสารในรู ปแบบนี้ยงั ช่วยให้ ลูกค้าสามารถเข้าไปติดตามความคืบหน้าในการก่อสร้างและการตกแต่งของละโครงการได้อีกทางหนึ่ง 4.4 กลยุทธ์ ทางด้ านการจาหน่ ายและช่ องทางการจาหน่ าย บริ ษทั ฯ มีกลยุทธ์แผนการขายแบบเป็ นทีม ซึ่งจะมีท้ งั ทีมงานทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เพื่อนาเสนอและอานวยความ สะดวกในการให้ขอ้ มูลโครงการ และนาเสนอรายละเอียดโครงการไปจนถึงการให้คาแนะนาในการขอสิ นเชื่อทางการเงิน กับลูกค้า โดยเมื่อลูกค้าเข้ามาเยีย่ มชมโครงการ ทั้งที่สานักงานขาย ณ ที่ต้ งั ของโครงการ หรื อการออกบูธตามสถานที่ต่างๆ ทีมขายจะนาเสนอข้อมูลโครงการแก่ลูกค้า โดยจะอธิ บายแนวคิดและที่มาของรู ปลักษณ์ สไตล์ และจุดเด่นของโครงการ เพื่อจูงใจให้ลูกค้ามีความรู ้สึกอยากเป็ นเจ้าของ รวมถึงการให้ขอ้ มูลของโครงการ เช่น ขนาดพื้นที่หอ้ ง ราคาห้องชุด รู ปแบบ การตกแต่ง สิ่ งอานวยความสะดวกที่มีให้ รวมถึงสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ มีห้องตัวอย่างเปิ ดแสดงให้ผทู ้ ี่สนใจชม ณ ที่ ต้ งั โครงการ นอกจากทีมงานขายของบริ ษทั แล้ว บริ ษทั ฯ ยังมีช่องทางการขายในรู ปแบบอื่นๆ โดยบริ ษทั ดาเนิ นการ ว่าจ้างตัวแทนขาย (Agent) ซึ่ งเป็ นตัวแทนในการจัดหาลูกค้าให้แก่บริ ษทั ฯ โดยมีท้ งั ตัวแทนที่เป็ นนิ ติบุคคลและบุคคลซึ่ ง เป็ นผูเ้ ชี่ ยวชาญและมีฐานลูกค้าซึ่ งเป็ นกลุ่มชาวต่างชาติ ซึ่ งมีหน้าที่ ให้คาปรึ กษาและวิเคราะห์ดา้ นการตลาดตลอดจนพา ลูกค้ามาเยี่ยมชมโครงการ โดยบริ ษทั ฯ มีนโยบายในการจ่ายค่าตอบแทนเป็ นมูลค่าหรื อร้อยละตามมูลค่าขายหรื อที่เกิดขึ้น เป็ นอัต ราตลาดเพื่ อ สร้ า งแรงจู ง ใจแก่ ต ัว แทนขาย (Agent) และ/หรื อ พนักงานของตัวแทนขาย (Sale Agent) ที่ มี ส่ ว น สนับสนุ นหรื อผลักดันให้การขายประสบความสาเร็ จ โดยจะมี การจ่ ายผลตอบแทนแก่ ตวั แทนขาย(Agent) และ/หรื อ พนักงานของตัวแทนขาย (Sale Agent) เมื่อลูกค้าทาจองและ/หรื อ ทาสัญญาจะซื้ อจะขาย และ/หรื อห้องชุดที่ มีการโอน กรรมสิ ทธิ์ แล้วเท่านั้น นอกจากนี้ ลูกค้าหรื อผูท้ ี่สนใจโครงการยังสามารถสอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์หรื อเข้าชมเว็บไซต์ บริ ษทั ฯ ที่ www.rhombho.co.th ซึ่งลูกค้าสามารถเข้าไปศึกษารายละเอียดเบื้องต้นของแต่ละโครงการได้ 4.5 กลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของบริ ษทั ฯ มีท้ งั ลูกค้าชาวไทยและลูกค้าชาวต่างชาติ โดยในกรณี ของลูกค้าชาวต่างชาติมกั เป็ น กลุ่มที่ ตอ้ งการซื้ อเพื่อเป็ นบ้านหลังที่สอง หรื อใช้เป็ นที่ พกั อาศัยในช่วงที่สภาพภูมิอากาศในประเทศตนเองอยู่ในช่วงฤดู หนาว หรื อใช้เป็ นที่พกั อาศัยหลังเกษียณอายุ ซึ่ งลูกค้าหลักประกอบด้วย ชาวต่างชาติที่อาศัยอยูใ่ นกลุ่มทวีปยุโรป อาทิเช่น รัสเซี ย ฝรั่งเศส สวีเดน เป็ นต้น ในขณะที่ ลูกค้าชาวต่างชาติอีกกลุ่มหนึ่ งเป็ นลูกค้าในกลุ่มทวีปเอเซี ย อาทิ เช่น จี น ญี่ปุ่น ฮ่องกง เป็ นต้น สาหรับ ลูกค้าของบริ ษทั ส่ วนหนึ่ งเป็ นกลุ่มลูกค้าที่ซ้ื อเพื่อลงทุน และหาอัตราผลตอบแทน (Yield) จากการ ปล่อยเช่าและกาไรจากการขายต่อในอนาคต (Capital Gain) ดังนั้น เพื่อตอบโจทย์ลูกค้ากลุ่มดังกล่าว บริ ษทั จึงได้กาหนด แผนทางการตลาดเพื่อกระตุน้ ยอดขาย ด้วยโครงการ “การันตีผลตอบแทน (Guaranteed Yield)” ในขณะที่ ลูกค้าอีกกลุ่ม หนึ่ งของบริ ษทั เป็ น กลุ่มผูท้ ี่ทางานในจังหวัดภูเก็ตโดยมีจุดประสงค์เพื่อการพักอาศัยเป็ นหลัก เนื่ องจากปั จจุบนั การจราจร ในจังหวัดภูเก็ตค่อนข้างหนาแน่ นทาให้เกิ ดความต้องการพักอาศัย ใกล้แหล่งท่ องเที่ ยวที่ เป็ นที่ ทางานหรื อผูท้ ี่ ตอ้ งการ

33


พัก ผ่อ นระยะยาวบนท าเลใกล้เ มื อ งภู เ ก็ ต โดยลู ก ค้า ของบริ ษ ัท ฯ เป็ นกลุ่ ม ลู ก ค้า ชาวไทยและชาวต่ า งชาติ ที่ มี ร ายได้ ระดับกลาง - ระดับสูงเป็ นหลัก การกาหนดกลุ่มลูกค้ าเป้าหมายของบริษัทฯ มีลกั ษณะดังนี้ กลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย ระดับสูง (A) ระดับกลาง (B)

ระดับรายได้ ต่อเดือน 80,000 บาทขึ้นไป 50,001 - 80,000 บาท

โดยในปี 2557 - ปี 2561 บริ ษทั ฯ มีลูกค้าชาวต่างชาติซ่ ึงถือครองกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดทั้งแบบ Freehold (ผูซ้ ้ือสามารถ เป็ นเจ้าของหรื อถือครองกรรมสิ ทธิในการเป็ นเจ้าของอสังหาริ มทรัพย์) และแบบ Leasehold (การเช่าซื้ออสังหาริ มทรัพย์ใน ระยะเวลาที่กาหนด โดยผูซ้ ้ือได้รับสิ ทธิการอยูอ่ าศัย แต่ไม่ได้รับกรรมสิ ทธิในการเป็ นเจ้าของอสังหาริ มทรัพย์) ตารางแสดงสัดส่ วนลูกค้ าตามจานวนหน่ วยการถือครองกรรมสิทธิ์ ปี 2557 - ปี 2561 กลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย ชาวไทย ชาวเอเชีย (ยกเว้นไทย) ชาวยุโรปและอื่นๆ รวม ประเภทการขาย Freehold Leasehold รวม

ปี 2557 37.65 42.59 19.75 100.00

สัดส่ วนลูกค้ าตามจานวนหน่ วยการถือครองกรรมสิทธิ์ในแต่ ละปี (ร้ อยละ)* ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 22.86 21.43 18.84 13.84 54.29 44.05 66.67 25.68 22.86 34.52 14.49 60.49 100.00 100.00 100.00 100.00

สัดส่ วนลูกค้ าตามจานวนหน่ วยการถือครองกรรมสิทธิ์ในแต่ ละปี (ร้ อยละ)* ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 100.00 100.00 88.10 53.60 33.81 11.90 46.40 66.19 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

* แสดงสัดส่วนการถือครองกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดของลูกค้าทุกโครงการรวมกัน ซึ่งประกอบด้วยโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 1 , โครงการ The Title หาด ราไวย์ เฟส 2 และ โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 โดยสัดส่วนการถือครองกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดดังกล่าวจะเปลี่ยนแปลงไปตามจานวนห้องชุดที่มีการโอน กรรมสิ ทธิ์ (กรณี Free hold) และการให้สิทธิ การเช่า (กรณี Leasehold) แก่ลูกค้าในแต่ละปี ในขณะที่สดั ส่วนการถือครองกรรมสิ ทธิ์ ในอาคารชุดของบุคคล ต่างด้าวในแต่ละโครงการ ยังมิได้เกินกว่าสัดส่วนตามที่กฎหมายกาหนด

34


5. กระบวนการในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ สาหรับกระบวนการในการพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์ของบริ ษทั จะใช้ระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 24 – 36 เดือน โดยมีข้ นั ตอนโดยสังเขป ดังนี้ พิจารณาที่ดินที่มีศกั ยภาพ ศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ

ออกแบบ Conceptual Design

1-2 เดือน

1-2 เดือน

ยืน่ ขอสนับสนุนทางการเงิน 1 เดือน

ทาสัญญาขอรับการสนับสนุนทางการเงิน 1-2 สัปดาห์

ทาสัญญาซื้อขายที่ดิน 1 สัปดาห์

ออกแบบ Preliminary 2 เดือน

จัดทาแบบก่อสร้าง และรายละเอียด

ไม่ใช่

โครงการแนวราบ : พื้นที่เกินกว่า 100 ไร่ หรื อตั้งแต่ 500 หลังขึ้นไป หรื อ โครงการอาคารชุด : ตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป

จัดทาแบบก่อสร้าง รายละเอียด และ รายงานศึกษาผลกระทบสิ่ งแวดล้อม

ใช่

2 เดือน

เสนอรายงานศึกษาผลกระทบ สิ่ งแวดล้อม

1 เดือน

6-12 เดือน

ถมดิน พัฒนาสาธารณูปโภคเบื้องต้น สร้างสานักงานขาย สร้างบ้าน/ห้องตัวอย่าง

ยืน่ ขออนุญาตก่อสร้าง

คัดเลือกที่ปรึ กษา ควบคุมงานก่อสร้าง 1-2 สัปดาห์

คัดเลือกผูร้ ับเหมาก่อสร้าง

1 เดือน

1 เดือน

เปิ ดจองขาย และทาสัญญา

1-2 สัปดาห์

ดาเนินการก่อสร้างโครงการ 18-24 เดือน

ลูกค้าตรวจสอบห้องชุดและทาการโอนกรรมสิ ทธิ์ บริ การหลังการขาย และ Customer Relationship Management (CRM)

35


5.1 การจัดหาทีด่ นิ บริ ษทั มีช่องทางการจัดหาที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการหลายแหล่ง ซึ่งได้แก่ การจัดหาที่ดินจากนายหน้าค้าที่ดิน การสื บหา ที่ดินโดยผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ซึ่งเป็ นกลุ่มผูท้ ี่มีประสบการณ์ในธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ และมีสายสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูค้ นในแวด วงธุรกิจที่หลากหลาย ตลอดจนการจัดหาที่ดินผ่านการประมูลทรัพย์สินจากสถาบันการเงิน หรื อการประมูลทรัพย์สินจาก กรมบังคับคดี เป็ นต้น โดยเมื่อบริ ษทั ได้รับข้อมูลดังกล่าว ฝ่ ายปฏิบตั ิการของบริ ษทั จะทาการขอเอกสารจากผูเ้ สนอขายเพื่อ ทาการสารวจเบื้องต้นอาทิเช่น สาเนาโฉนดที่ดิน ราคาที่นาเสนอเบื้องต้น จากนั้น บริ ษทั จึงจะทาการพิจารณาศักยภาพของ ท าเลที่ ต้ ัง และวิเ คราะห์ ประสิ ทธิ ภาพและความเหมาะสมของขนาดและรู ป ร่ า งของที่ ดิน ว่า สามารถพัฒ นาโครงการ อสังหาริ มทรัพย์ได้ เช่น ใกล้ชายหาด แหล่งท่องเที่ยว ศูนย์การค้า โรงเรี ยน โรงพยาบาล เป็ นต้น จากนั้นบริ ษทั จึงจะดาเนิน การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการทั้งทางด้านการตลาด การเงิน การก่อสร้าง หรื อข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเมื่อผล การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการแสดงให้เห็นว่ามีศกั ยภาพในการพัฒนาโครงการ และสามารถสร้างผลตอบแทนใน อัตราที่เหมาะสมได้ บริ ษทั จึงจะกาหนดราคาซื้อและทาการเจรจาเพื่อซื้อที่ดินจากเจ้าของกรรมสิ ทธิ์น้ นั 5.2 การจัดหาวัสดุก่อสร้ างและสินค้ าจาเป็ นสาหรับการพัฒนาโครงการ บริ ษทั มีหน่วยงานภายในเพื่อทาหน้าที่ก่อสร้างและควบคุมงานก่อสร้างด้วยตนเอง ผ่านการบริ หารงานจากสายงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ ในการจัดหาวัสดุก่อสร้างเพื่อใช้ในการก่อสร้างโครงการ สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์จะทาหน้าที่ ใน การกาหนดคุณภาพและมาตรฐานของวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในโครงการและทาการประเมินและคานวณค่าวัสดุก่อสร้างที่จะต้อง ใช้ท้ งั หมดเบื้องต้นแล้วจึงส่ งให้บริ ษทั ที่ปรึ กษาภายนอกซึ่ งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางทาการประเมินและคานวณค่าวัสดุ ก่อสร้างอีกครั้ง โดยราคาในการสั่งซื้ อวัสดุก่อสร้างจะอ้างอิงจากงบประมาณการก่อสร้าง และเมื่อโครงการเริ่ มก่อสร้างจึง จะทาการสั่งซื้ อตามความต้องการใช้ในแต่ละวัน ผ่านฝ่ ายจัดซื้ อโดยเจ้าหน้าที่ ฝ่ายจัดซื้ อจะดาเนิ นการจัดซื้ อตามขั้นตอน ภายใต้งบประมาณที่กาหนด ซึ่ งจะทาการตรวจสอบราคา ต่อรองราคา จัดทารายงานสรุ ปการคัดเลือก และแนบใบเสนอ ราคาจากผูข้ ายหรื อผูใ้ ห้บริ การ พร้อมทั้งนาส่งให้ฝ่ายงานที่ร้องขอเพื่อทาการคัดเลือกและอนุมตั ิตามลาดับขั้น หากในกรณี ที่ ราคาวัสดุก่อสร้างหลักมีการเปลี่ยนแปลง บริ ษทั จะทาการเจรจากับผูข้ ายให้มีการปรับเปลี่ยนราคาให้เป็ นไปตามราคาตลาด แต่หากในกรณี ที่บริ ษทั วิเคราะห์แล้วว่าราคาวัสดุก่อสร้างอาจมีโอกาสที่จะปรับตัวเพิ่มสู งขึ้น บริ ษทั จะมอบหมายให้ฝ่าย จัดซื้ อทาการเจรจากับผูข้ ายเพื่อวางแผนการสั่งซื้ อให้เหมาะสมกับระยะเวลาการก่อสร้างล่วงหน้าเพื่อลดผลกระทบจาก ความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างดังกล่าว 5.3 การออกแบบโครงการ การก่ อสร้ างและการจัดหาผู้รับเหมาและการสรรหาแรงงาน บริ ษทั มีหน่วยงานภายในเพื่อทาหน้าที่ออกแบบอาคารและสิ่ งก่อสร้าง ตลอดจนก่อสร้างและควบคุมงานก่อสร้างด้วย ตนเอง โดยเมื่ อเริ่ มต้นพัฒนาโครงการ ฝ่ ายจัดการ , ฝ่ ายสถาปั ตยกรรมและตัวแทนขาย (Agent) จะประชุ มร่ วมกันเพื่อ ออกแบบ ก าหนดลัก ษณะและรู ป แบบโครงการให้ตรงกับ ความต้อ งการลู ก ค้า เป้ า หมายในแต่ ล ะโครงการ โดยฝ่ าย สถาปั ตยกรรมจะทาหน้าที่ในการออกแบบอาคารและสิ่ งก่อสร้าง ออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรม ออกแบบภายในเบื้องต้นก่อน ประสานงานให้บริ ษทั รับออกแบบภายนอกซึ่ งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางออกแบบและกาหนดรู ปแบบโครงการที่ชดั เจน อีกครั้ง หลังจากนั้นฝ่ ายพัฒนาผลิตภัณฑ์จะทาหน้าที่ในการก่อสร้างและควบคุมงานก่อสร้างตามแบบที่กาหนด โดยบริ ษทั มอบหมายให้วิศวกรทาหน้าที่ในการควบคุมงานก่อสร้างให้ตรงตามคุณภาพและกรอบระยะเวลาตามแผนงานที่กาหนด ในขณะที่การจัดหาแรงงานในการก่อสร้างโครงการ บริ ษทั จะใช้วธิ ีการว่าจ้างผูร้ ับเหมาจัดหาแรงงานภายนอก (Outsource)

36


โดยแรงงานที่บริ ษทั ว่าจ้าง Outsource มีท้ งั แรงงานก่อสร้างซึ่งทาหน้าที่ก่อสร้างอาคารและงานสาธารณูปโภค แรงงาน สถาปั ตยกรรมซึ่ งเป็ นแรงงานฝี มือประเภทงานตกแต่งอาคาร งานวางระบบไฟฟ้า ประปาและสุ ขาภิบาล อาทิเช่น การเดิน สายไฟ การวางท่ อประปา เป็ นต้น ซึ่ งการว่าจ้างแรงงาน Outsource เป็ นการบริ หารด้านต้นทุ นแรงงานเนื่ อ งจากช่ ว ย ประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าเมื่อเทียบกับการจัดตั้งแผนกขึ้นมาใหม่อย่างเต็มรู ปแบบ ที่จะต้องเสี ยทั้งค่าจ้างพนักงาน รวมถึง ต้องมี สวัสดิ การต่างๆ บริ ษทั จึ งใช้นโยบายการว่าจ้างผูร้ ั บเหมาจัดหาแรงงานภายนอกเพื่อลดปั ญหาดังกล่าวได้ บริ ษทั กาหนดนโยบายให้ในการพิจารณาว่าจ้างผูร้ ับเหมาในแต่ละครั้งจาเป็ นที่จะต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณา ผูร้ ับเหมาซึ่ งจะทาการพิจารณา คัดเลือกจากหลักเกณฑ์ต่างๆ ได้แก่ ประสบการณ์ ชื่ อเสี ยง และผลงานในอดี ตที่ ผ่านมา โดยเฉพาะผลงานที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกับโครงการของบริ ษทั ความเรี ยบร้อยของงานก่อสร้าง ความตรงต่อเวลาในการส่ง มอบงาน รวมทั้งยังพิจารณาถึงความพร้อมในการทางานและสถานะการเงินของบริ ษทั ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง และมีการจัดทา รายชื่อผูร้ ับเหมา (Supplier List) เพื่อเป็ นฐานข้อมูลเพื่อมิให้เป็ นการพึ่งพิงผูร้ ับเหมารายใดรายหนึ่งมากจนเกินไป 5.4 การบริหารงานนิตบิ ุคคลอาคารชุดและการบริหารห้ องพัก บริ ษทั ให้ความสาคัญกับการให้บริ การแก่ผพู ้ กั อาศัยร่ วม จึงได้ดาเนินการมอบหมายให้สายงานปฏิบตั ิการและนิติกรรม เพื่อทาหน้าที่เป็ นผูด้ าเนินงานและผูป้ ระสานงานสาหรับงานที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารงานนิติบุคคลอาคารชุด อาทิเช่น การ จัด การดู แ ลทรั พ ย์ส่ว นกลางให้อ ยู่ใ นสภาพปกติ เ รี ย บร้ อ ยพร้ อ มใช้ง าน การเรี ย กเก็ บ “เงิ น กองทุ น ” และ “ค่ า ใช้จ่ า ย ส่ วนกลาง” จากเจ้าของร่ วม เพื่อนามาใช้เป็ นค่าใช้จ่ายในการบารุ งรักษาซ่อมแซมระบบสาธารณูปโภคส่ วนกลาง ตลอดจน การควบคุมดูแลการใช้ประโยชน์ท้ งั ภายในห้องชุดและการใช้สิทธิ ในทรัพย์ส่วนกลางของเจ้าของร่ วมและผูอ้ ยู่อาศัยให้ เป็ นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติอาคารชุดข้อบังคับและระเบียบของนิติบุคคลอาคารชุด ทั้งนี้ ณ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ยังมิได้ดาเนินการเก็บค่าใช้จ่ายในการบริ หารโครงการแต่อย่างใด อย่างไรก็ดี บริ ษทั มีแผน ที่ จะดาเนิ นการเก็บค่าบริ หารนิ ติบุคคลสาหรับโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 ภายหลังมีการจัดประชุมเจ้าของร่ วม โครงการในไตรมาสที่ 2 ของปี 2561 เพื่อแต่งตั้งนิ ติบุคคลอาคารชุดให้ทาหน้าที่บริ หารงาน ในขณะที่โครงการThe Title หาดราไวย์ เฟส 1 และ The Title หาดราไวย์ 2 บริ ษทั มิได้เป็ นผูบ้ ริ หารนิติบุคคลอาคารชุดในโครงการดังกล่าว นอกจากนี้ สายงานปฏิบตั ิการและนิ ติกรรมยังทาหน้าที่ในการติดต่อและประสานงานกับฝ่ ายบริ การห้องพักและฝ่ ายขายและการตลาด เพื่อจัดหาผูเ้ ช่าตามแผนการตลาด อาทิเช่น โครงการการันตีค่าเช่า เป็ นต้น 6. ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม บริ ษทั ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของหน่วยงานราชการในเรื่ องของการก่อสร้างโครงการอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่ งตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม กาหนดให้โครงการอาคารชุดที่มีจานวนตั้งแต่ 80 หน่วยขึ้นไป หรื อโครงการ บ้านจัดสรรที่ มีพ้ืนที่ เกิ นกว่า 100 ไร่ ข้ ึ นไป หรื อมี จานวนตั้งแต่ 500 หลังขึ้ นไป ต้องมี การจัดทารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม เพื่อยื่นต่อสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม นอกจากนี้ บริ ษทั ยัง ปฏิบตั ิตามมาตรการป้ องกันมลภาวะที่อาจมีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมทั้งในระหว่างก่อสร้างและหลังก่อสร้าง ไม่วา่ จะเป็ น การจัดให้มีผา้ ใบคลุมอาคารในระหว่างก่อสร้างเพื่อป้ องกันเศษวัสดุก่อสร้างหล่นมาทาอันตรายแก่ผูส้ ัญจรไปมา และเมื่อ ก่อสร้างเสร็จแล้ว ในอาคารนั้นๆ จะต้องจัดให้มีระบบบาบัดน้ าเสี ยส่วนกลาง รวมทั้งจัดให้มีพ้ืนที่สีเขียวภายในอาคาร เป็ น ต้น ทั้งนี้ ในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ไม่เคยได้รับการร้องเรี ยนในประเด็นเรื่ องการประกอบกิจการของบริ ษทั ที่ ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งไม่มีกรณี พิพาทหรื อถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมแต่อย่างใด

37


7. งานทีย่ งั ไม่ ได้ ส่งมอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีจานวนหน่ วยที่จองและ/หรื อทาสัญญาซื้ อขายแล้วแต่ยงั มิได้โอนกรรมสิ ทธิ์ ของ โครงการมีจานวน 471 หน่วย คิดเป็ นมูลค่าเท่ากับ 1,402 ล้านบาท โดยมีละเอียดตามตาราง ดังนี้ โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 1 The Title หาดราไวย์ เฟส 2 The Title หาดราไวย์ เฟส 3 The Title หาดในยาง เฟส 1 The Title หาดในยาง เฟส 2 รวม

มูลค่ าโครงการ (ล้านบาท)

จานวน (หน่ วย)

494 452 1,118 599 798 3,461

160 120 240 252 220 992

ความคืบหน้ า ในการ ก่อสร้าง (%) 100.00% 100.00% 100.00% 90.00% 90.00% -

จานวนหน่ วยที่ขายแล้วแต่ ยงั ไม่ ได้ส่งมอบ จานวน มูลค่า (หน่วย) (ล้านบาท) 9 44 252 599 210 759 471 1,402

ระยะเวลาที่คาดว่าจะ โอนกรรมสิทธิ์ เริ่ ม ปี 2562 เริ่ ม ปี 2562 เริ่ ม ปี 2562 -

8. การวิจยั และพัฒนา บริ ษทั ฯ มีความมุ่งมัน่ ที่จะพัฒนาโครงการที่อยูอ่ าศัยอย่างต่อเนื่ อง เพื่อตอบสนองความต้องการและสร้างพึงพอใจ สู งสุ ดให้แก่ลูกค้าของบริ ษทั ฯ โดยบริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับการออกแบบภายนอกอาคารและการออกแบบห้องชุดเป็ น อันดับแรก ซึ่ งเป็ นคอนโดมิเนี ยมประเภทแนวราบ (Low rise) เน้นพื้นที่สีเขียว และด้วยทาเลที่ต้ งั ที่โดดเด่น การออกแบบ โครงการที่ เป็ นเอกลักษณ์ (Unique Design) การให้ค วามสาคัญกับคุ ณภาพการก่ อ สร้ า ง ตลอดจนสภาพแวดล้อมของ โครงการที่เน้นความร่ มรื่ นและให้ความรู ้สึกเสมือนการพักผ่อนในโรงแรมหรื อรี สอร์ ท โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ คุม้ ค่าและความประทับใจแก่ลูกค้า จึงทาให้โครงการที่บริ ษทั พัฒนาได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกค้าอย่างต่อเนื่อง บริ ษทั ฯ ยังให้ความสาคัญกับการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริ การ บริ ษทั ฯได้มีการติดตามการ เปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการอยูอ่ าศัยและการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผูบ้ ริ โภค รวมทั้งมีการรวบรม ข้อมูลการสารวจความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้า หลังจากการเข้าซื้อห้องชุดของบริ ษทั ฯ จากฝ่ ายขาย และทาการ ประมวลผลรวมถึงวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ และนาไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทั้งทางด้านรู ปแบบอาคาร รู ปแบบห้อง ขนาด พื้นที่ ห้อง การใช้ประโยชน์พ้ืนที่ ใช้สอย และการอานวยความสะดวกด้านต่างๆ ให้เหมาะสมกับความต้องการและการ ดาเนินชีวติ ในปั จจุบนั ของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังมีช่องทางให้ลูกค้าได้แสดงความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ โ ค ร ง การ เ พื่ อ น าม าป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น าคุ ณภาพ เ พื่ อ ใ ห้ ลู กค้ า เ กิ ด ค วามพึ ง พอ ใ จ สู ง สุ ด ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง https://www.facebook.com/pg/thetitlephuket/reviews/?referrer=page_recommendations_see_all&ref=page_internal

38


ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจไทยและภาวะอุ ตสาหกรรม ภาพรวมภาวะเศรษฐกิ จไทยและภาวะอุ ตสาหกรรม ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน ศูนย์ขอ้ มูลวิจยั และประเมินค่าอสังหาริ มทรัพย์ไทย (www.area.co.th) เปิ ดเผยถึงผลการสารวจว่า โดยภาพรวมภาวะ เศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2561 ขยายตัวร้อยละ 4.8 เร่ งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 4.0 ในไตรมาส ก่อนหน้า ซึ่งเป็ นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 20 ไตรมาส และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาส แรกของปี 2561 ขยายตัวจากไตรมาสที่สี่ของปี 2560 ร้อยละ 2.0 และแนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2561 คาดว่าจะขยายตัวร้อย ละ 4.2–4.7 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 4.5) และผลสารวจยังพบว่า ตลาดที่อยูอ่ าศัยที่ซ้ื อขายในปี 2560 มีมูลค่าการ ขายโดยรวมและที่ ให้ต่างชาติซ้ื อไปโดยตลาดที่ อยู่อาศัยทัว่ ประเทศมี การซื้ อขายกันถึ ง 576,396 ล้านบาท ในจานวนนี้ 113,280 ล้านบาท ถูกซื้อโดยชาวต่างชาติหรื อราว 20% และส่วนใหญ่เป็ นการซื้อขายในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ปี 2561 มีแนวโน้มที่จะขยายฐานลูกค้าไปยังชาวต่างชาติมากขึ้น โดยเฉพาะผูป้ ระกอบการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ที่ได้ ร่ วมมือเป็ นพันธมิตรกับบริ ษทั ต่างชาติในปี ที่ผา่ นๆมา อาจมีขอ้ ได้เปรี ยบและสร้างความน่าเชื่อถือได้มากกว่า จึงสามารถทา การตลาดเจาะกลุ่มผูซ้ ้ือชาวต่างชาติได้ กลุ่มผูซ้ ้ื อชาวต่างชาติที่นิยมอสังหาฯในไทย เนื่ องจากชาวต่างชาติมองว่าอสังหาฯในไทยมีราคาไม่สูงเมื่อเที ยบกับ ประเทศตัวเองอย่าง เช่น นักลงทุนชาวจีนหันมาลงทุนอสังหาฯในประเทศไทยมากขึ้น เพราะราคาอสังหาฯ ในไทยต่ากว่า จีนอยูป่ ระมาณ 20-25 % และมีเงื่อนไขการซื้ อขายที่ไม่ยงุ่ ยาก รวมถึงได้อตั ราผลตอบแทนสู งกว่า เมื่อเทียบกับการลงทุน อสังหาฯในประเทศจีน ในขณะเดียวกันฐานของกลุ่มผูเ้ ช่าชาวต่างชาติ หรื อ Expat ในตอนนี้ดูเหมือนว่าจะได้ผลมากที่สุด โดยกลุ่ม Expat กว่า 70% ที่เข้ามาทางานในไทยมีตาแหน่งงานระดับผูจ้ ดั การขึ้นไป หรื อเป็ นพนักงานที่มีทกั ษะความชานาญเฉพาะทาง พวกงาน วิชาชีพ จะได้รับสวัสดิการจากนายจ้างอยูแ่ ล้ว โดยเฉพาะเรื่ องที่พกั อาศัย ที่ทางนายจ้างจาเป็ นต้องจัดหาให้ หรื อสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ จึงส่งผลให้ชาวต่างชาติตดั สิ นใจเช่าอยูอ่ าศัยมากกว่า ทั้ ง นี้ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ มี ปั จ จั ย สนับ สนุ น จาก (1) การปรั บ ตัวดี ขึ้ น ของเศรษฐกิ จโลกและระดับ ราคาสิ น ค้า ในตลาดโลก ซึ่ งจะ สนับสนุ นให้การส่ งออกและการ ผลิ ต สาขาอุ ต สาหกรรมขยายตัว ใ น เ ก ณ ฑ์ ดี แ ล ะ ส นั บ ส นุ น เศรษฐกิ จ ในภาพรวมได้ อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง (2) แรงขับ เคลื่ อ นจาก การใช้จ่ า ยภาครั ฐ บาลและการ ลงทุนภาครัฐยังอยูใ่ นเกณฑ์สูง และมีแนวโน้มเร่ งตัวขึ้นในช่วงครึ่ งหลังของปี (3) การฟื้ นตัวที่ชดั เจนมากขึ้นของการลงทุน ภาคเอกชน ตามการเพิ่มขึ้นของอัตราการใช้กาลังการผลิตในสาขาอุตสาหกรรม การเพิ่มขึ้นของมูลค่าการขอรับการส่งเสริ ม การลงทุน

39


ความคืบหน้าของโครงการลงทุนของภาครัฐ และการปรับตัวดีข้ ึนของความเชื่อมัน่ ในภาคธุรกิจ และ (4) การปรับตัวดี ขึ้นและการกระจายตัวมากขึ้นของฐานรายได้ประชาชนในระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่าการส่ งออกสิ นค้าจะขยายตัว ร้อยละ 8.9 การบริ โภคภาคเอกชน และการสะสมทุนถาวรรวมขยายตัวร้อยละ 3.7 และร้อยละ 4.7 ตามลาดับ อัตราเงินเฟ้อ ทัว่ ไปเฉลี่ยอยูใ่ นช่วงร้อยละ 0.7–1.7 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 8.4 ของ GDP ภาวะอุตสาหกรรมการท่ องเทีย่ วในประเทศไทย คาดการณ์กนั ว่าสาหรับปี 2561 นี้ ประเทศไทยจะมีรายได้จากภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ ยวที่ มูลค่า 3 ล้าน ล้านบาท โดยแบ่งเป็ นจากตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ 2 ล้านล้านบาท และตลาดเที่ยวในประเทศ อีก 1 ล้านล้านบาท แต่ ทันทีที่ประเทศไทยเกิดเหตุเรื อนักท่องเที่ยวล่มที่จงั หวัดภูเก็ตเมื่อต้นเดือนกรกฎาคมที่ผา่ นมา ส่งผลให้ตลาดนักท่องเที่ยวจีน เริ่ มชะลอตัวลง โดยเห็ นได้ชดั เจนตั้งแต่เดื อนสิ งหาคมและกันยายนที่ ผ่านมาที่ นักท่องเที่ ยวจี นปรับตัวลดลงในสัดส่ วน 0.87% และ 11.77% ตามลาดับ จากการทาสารวจดัชนี ความเชื่ อมัน่ ผูป้ ระกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยช่วงไตร มาส 3/2561 และแนวโน้มในไตรมาส 4/2561 โดยคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่าดัชนี ความเชื่ อมัน่ ผูป้ ระกอบการท่องเที่ ยวไทยในไตรมาส 3/2561 เท่ากับ 96 ซึ่ งถือว่าอยู่ในระดับต่ ากว่าปกติเล็กน้อย โดยมีนักท่องเที่ ยว ต่างชาติ 8.90 ล้านคน เพิ่มขึ้น 1.37% จากไตรมาสเดียวกันของปี ก่อน ทั้งนี้ เป็ นผลจากเศรษฐกิจโลกที่มีความผันผวนโดย ปั จจัยกดดันจากนโยบายการค้าของสหรัฐอเมริ กา ซึ่ งมีส่วนทาให้การค้าโลกชะลอลง อัตราแลกเปลี่ยนมีแนวโน้มอ่อนค่า ตามการไหลกลับของเงินทุนไปยังประเทศสหรัฐอเมริ กาซึ่ งเป็ นช่วงดอกเบี้ยขาขึ้น ประกอบกับความเชื่อมัน่ สกุลเงินของ ประเทศเศรษฐกิ จที่เกิ ดใหม่ลดลงจากปั จจัยวิกฤตเศรษฐกิ จของประเทศตุรกี ซึ่ งยังเป็ นประเด็นที่ ตอ้ งติดตามต่อไปอย่าง ใกล้ชิด รวมถึงราคาน้ ามันที่ปรับเพิ่มขึ้นจากการที่สหรัฐอเมริ กาคว่าบาตรอิหร่ าน ส่งผลให้ซพั พลายน้ ามันในตลาดโลกขาด แคลน รวมถึงผลกระทบจากภัยธรรมชาติต่าง ๆ สาหรับแนวโน้มความเชื่อมัน่ ในช่วงไตรมาส 4/2561 นั้น คาดว่าดัชนีความ เชื่อมัน่ เท่ากับ 103 ซึ่ งสู งกว่าปกติเล็กน้อย สะท้อนว่าสถานการณ์ท่องเที่ยวจะดีข้ ึนตามลาดับจากเป็ นฤดูกาลท่องเที่ยว การ ขยายตัวของสายการบินต้นทุนต่า และการเดินทางที่สะดวกขึ้น รวมถึงการส่งเสริ มการท่องเที่ยวในเมืองรอง โดยคาดว่าจะมี นักท่องเที่ยวต่างชาติรวม 8.81 ล้านคน ลดลง 5.17% จากไตรมาสเดียวกับของปี ที่ผ่านมา ดังนั้น จึงคาดว่าในปี 2561 นี้ จะมี นักท่องเที่ยวต่างชาติรวม 37.19 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้น 5.08% เมื่อเทียบกับปี 2560 จากเดิมที่คาดว่าน่าจะมีจานวนถึงกว่า 39 ล้านคน และสร้างรายได้รวม ที่ มู ล ค่ า 1.97 ล้ า น ล้ า น บ า ท ขยายตัวเพิ่มขึ้น 8.16% เมื่อเทียบ กับ ปี 2560 ซึ่ งต่ า กว่า เป้ า หมาย ที่ ต้ งั ไว้ที่จานวน 2 ล้านล้านบาท ( ข้ อ มู ล เ บื้ อ งต้ น ณ วั น ที่ 1 ตุ ล า ค ม 2561 ที่ ม า : ส ภ า อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย (สทท.)

40


ภาวะอุตสาหกรรมการท่ องเทีย่ วในจังหวัดภูเก็ต จังหวัดภูเก็ตเป็ นจังหวัดที่อยูท่ างภาคใต้ของประเทศไทย เป็ นจังหวัดเดียวที่มีสภาพภูมิประเทศเป็ นเกาะและเป็ นแหล่ง ท่องเที่ ยวที่ สาคัญของประเทศไทย โดยได้ชื่อว่าเป็ น “ไข่มุกแห่ งอันดามัน” กล่าวคือ เป็ นจังหวัดที่ มีความสวยงาม หาด ทรายขาวสะอาดตัด กับ สี น้ าทะเลอย่า งชัด เจน และขณะเดี ย วกัน จัง หวัด ภู เ ก็ ต ได้ถื อ ว่า เป็ นเมื อ งที่ มี ว ฒ ั นธรรมและ สถาปั ตยกรรมที่มีความโดดเด่นเป็ นของตนเอง โดยเฉพาะสถาปั ตยกรรมชิโนโปรตุกีส ได้ชื่อว่าเป็ นเมือง East Meet West เป็ นที่ ที่ ต ะวัน ออกพบตะวัน ตก นั่น คื อ จัง หวัด ภู เ ก็ ต มี ล ัก ษณะเป็ นเมื อ งที่ มี ความทัน สมัย และเป็ นเมื อ งนานาชาติ ใน ขณะเดียวกันก็ดารงศิลปะและวัฒนธรรมเป็ นของตนเองอย่างเห็นได้ชดั จังหวัดภูเก็ตยังเป็ นศู นย์กลางการท่ องเที่ ยวทางทะเลที่ มีชื่อเสี ยงในระดับโลก มี แหล่งท่ องเที่ ยวและกิ จกรรมการ ท่องเที่ยวมากมายหลายประเภท ทั้งบนเกาะภูเก็ตซึ่ งมีจุดขายหลัก คือ ชายหาดและกิจกรรมการท่องเที่ยวต่างๆ โดยเฉพาะ กิ จกรรมบันเทิ ง นันทนาการและกี ฬาทางน้ า และการเชื่ อมโยงการท่องเที่ ยวกับเกาะบริ วารโดยรอบและเกาะในจังหวัด ใกล้เคียง ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ปี 2561 คาดว่าจะขายตัวร้อยละ 11.5 โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 11.0-12.0 ต่อปี โดยมี ภาคบริ การเป็ นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญ ด้านอุปทาน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 14.7 โดยมีช่วงคาดการณ์อยูท่ ี่ร้อยละ 14.1 – 15.2 เป็ นการขายตัวจากภาคบริ การ ที่ขยายตัวจาก ภาคบริ การ ปั จจัยที่เป็ นแรงขับเคลื่อนและดึงดูดของนักท่องเที่ยวต่างชาติ เช่น การขยายเส้นทางการบินของธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ รวมทั้งมีการปรับเที่ยวบินโดยใช้อากาศยานลาใหญ่ข้ ึน ประกอบกับในช่วงกลางปี มีสายการบินเปิ ดเส้นทางบินตรงจาก ภูเก็ต-ปี นัง ประเทศมาเลเซี ย ซึ่ งเปิ ดบริ การเมื่อต้นเดือน มิถุนายน 2561 แม้จะเกิดเหตุการณ์เรื อล่มในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมามีผลกระทบยกเลิกเที่ยวบินไปไม่มาก แต่นกั ท่องเที่ยว จีนที่นิยมเดินทางเป็ นกลุ่มด้วยตัวเอง หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า FIT (Free and Independent Traveler) และชาวยุโรปซึ่ งเป็ นกลุ่มที่มี กาลังซื้ อสู งยังคงขยายตัวดี ตั้งแต่ตน้ เดื อนตุลาคมจี นจะเริ่ มกลับมาเป็ นชาร์ เตอร์ ไฟลต์ เนื่ องจากตรงกับวันชาติจีนและ เทศกาลถือศี ลกิ นเจ ประกอบกับหน่ วยภาครัฐและเอกชนจัดกิ จกรรมโรดโชว์ที่ประเทศจี นจะช่วยสร้างความเชื่ อมัน่ ให้ นักท่องเที่ยวจีนกลับมาเที่ยวภูเก็ตได้อีกครั้ง ในปี 2561 จานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวจะอยูท่ ี่ 20.5 ล้านคน โดยมี ช่ ว งคาดการณ์ อยู่ที่ 20.4-20.6 ล้า นคน เพิ่ ม ขึ้ น จากที่ ค าดการณ์ ไ ว้เมื่ อ เดื อนมิ ถุ นายน 2561 เนื่ อ งจากจานวน นักท่องเที่ ยวทั้งที่ผ่านท่าอากาศยานและด่านตรวจคนเข้าเมืองภูเก็ตยังมีแนวโน้มขยายตัว ตามแนวโน้มการขยายตัวของ เศรษฐกิจต่างประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นนักท่องเที่ยวจีน รัสเซี ย และออสเตรเลีย (ที่ มา : รายงานประมาณการเศรษฐกิจ จังหวัดภูเก็ต www.cgd.go.th/pkt)

41


ปัจจัยเสี่ยงเศรษฐกิจในปี 2561 – 2562 ทีต่ ้ องติดตามอย่ างต่ อเนื่อง 1. นโยบายสนับสนุนการท่องเที่ยงของภาครัฐ 2. นโยบายการจัดระเบียบผูป้ ระกอบการตลาดทัวร์จีนอาจส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว 3. สถานการณ์ทางการเมือง ความมัน่ ใจในการเลือกตั้งในช่วงต้นปี 2562 4. สภาพแวดล้อม ความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการปิ ดอ่าวเพื่อการฟื้ นฟูปะการัง 5. วิกฤตภัยธรรมชาติ รวมถึงปั ญหาภัยแล้ง และภาวะอากาศ 6. ราคาน้ ามันเชื้อเพลิงในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นและอัตราแลกเปลี่ยนค่าเงิน 7. ปั ญหาความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว เช่น เหตุการณ์เรื อล่ม การก่อการร้าย การระบาดของ โรคติดต่อ 8. นโยบายกีดกันทางการค้าของสหรัฐอเมริ กาที่เข้มข้นขึ้นและการตอลโต้จากประเทศคู่คา้ ภาวะตลาดคอนโดมิเนียมในจังหวัดภูเก็ต ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านบริ หารและจัดการอสังหาริ มทรัพย์ครบวงจร เปิ ดเผยว่า จากผลสารวจของฝ่ ายวิจยั และพัฒนาของพลัส พร็ อพเพอร์ ต้ ี ที่ได้ทาการสารวจที่อยู่อาศัยในโซนภาคใต้พบว่ามีการเติบโตที่น่าสนใจ โดยเฉพาะในพื้นที่ จ.ภูเก็ต และ พื้นที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เนื่ องจากเป็ นจังหวัดที่มีอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจสู งทั้งด้านท่องเที่ยวและการค้า ส่ งผลให้ ความต้องการที่อยูอ่ าศัยเติบโตในทิศทางเดียวกัน ไม่เพียงเท่านี้ตลาดที่อยูอ่ าศัยในภูเก็ต และหาดใหญ่ ยังมีแนวโน้มเติบโต จากการได้รับแรงผลักดันจากการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมที่กระตุน้ เศรษฐกิจทั้ง 2 พื้นที่ให้คึกคักมากขึ้น รวมถึงราคาที่ดินที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งล่าสุ ดจากข้อมูลของกรมธนารักษ์ พบว่าราคาประเมินในพื้นที่ภูเก็ต ช่วงปี 2555-2558 และ 2559-2562 โซนใจกลางเมืองเติบโต 19-53% ขณะที่ ราคาประเมินที่ ดินหาดใหญ่ ช่วงปี 2555-2558 และ 2559-2562 เพิ่มขึ้น 20-25% จากการสารวจตลาดอสังหาริ มทรัพย์ ในพื้นที่ จ.ภูเก็ต ล่าสุด ปี 2561 พบว่าตลาด หลักคือคอนโดมิเนียม มีสดั ส่วนอยูท่ ี่ 80% มี อุ ป ทานสะสม 13,702 ยูนิ ต อุ ป สงค์ให้ การตอบรั บแล้ ว 11,062 ยู นิ ต และมี ยอดขายอยู่ที่ 81% ขณะที่ ราคาเสนอขาย เฉลี่ ย ทั้ง ตลาดประมาณ 100,000 บาทต่อ ตารางเมตร โซนที่ มี ก ารเติ บ โตของราคาสู งคื อ โซนตั ว เมื อ งภู เ ก็ ต ที่ มี ร าคาขายเฉลี่ ย ประมาณ 81,000 บาทต่อตารางเมตร เพิ่มขึ้น 13% จากปี ก่อนหน้า โดยมีโครงการใหม่ที่คาดว่าจะเข้าสู่ตลาดในปี นี้ราว 1,200 ยูนิต สอดคล้องกับความต้องการที่อยูอ่ าศัยจากทั้งคนในพื้นที่ และจากนักท่องเที่ยวที่เติบโตมากขึ้นทุกปี ซึ่ งภูเก็ตถือเป็ น ศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวของภาคใต้ ด้วยรายได้จากการท่องเที่ยวที่มีมูลค่าสู งเป็ นอันดับ 1 ของภาคใต้ (มูลค่า 330,000 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วน 12% ของทั้งหมด) และมีมูลค่าเป็ นอันดับ 2 ของประเทศรองจากกรุ งเทพฯ อีกทั้งภูเก็ตมีแผนการ

42


พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งรถไฟรางเบาจากสนามบินภูเก็ตสู่ใจกลางเมืองภูเก็ต ดังนั้นการเดินทางเชื่อมต่อทั้งเกาะภูเก็ตจึง มีความสะดวกสบาย ที่อยูอ่ าศัยโซนใจกลางเมืองจึงได้รับการตอบรับที่ดีเพราะสามารถเดินทางไปยังโซนอื่นๆ ได้ ไม่เพียง เท่านี้ในอนาคตภูเก็ตจะพัฒนาสู่ Smart City จะทาให้ราคาที่ดินปรับตัวสูงขึ้น คาดว่าราคาเสนอขายคอนโดฯจะเติบโตขึ้นอีก โดยโซนตัวเมืองราคาน่าจะขยับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องปี ละ 8-10 % เนื่องจากในอนาคตจะมีการคมนาคมสะดวกขึ้น จากความ คืบหน้าตามแผนการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเบาของภูเก็ต (ที่มา : www.thinkofliving.com) ด้านทาเลที่ขายดีส่วนใหญ่จะอยูใ่ นหาดสุรินทร์ กมลา บางเทา และบริ เวณโดยรอบศูนย์การค้าเซ็นทรัล เฟสติวลั ภูเก็ต ถือว่าเป็ นทาเลที่โดดเด่นอย่างมากในช่วงที่ผา่ นมา โดยโครงการทั้ง 4 ทาเลดังกล่าวเน้นการขายแบบการันตีค่าเช่าโดยมีท้ งั 5% 3 ปี และ 7% 3 ปี แตกต่างกันไป ส่วนใหญ่ทุกโครงการมียอดขายในส่ วนของต่างชาติ 49% ค่อนข้างจะเต็มทุกโครงการ แต่หากมีลูกค้าชาวต่างชาติสนใจเพิ่มเติมก็จะขายแบบเช่าระยะยาวแบบ 30 + 30 + 30 ปี เพื่อเป็ นการเปิ ดโอกาสการขายที่ เพิ่มขึ้นสาหรับกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติ ปั จจุบนั ภาพรวมตลาดอสังหาฯ จ.ภูเก็ตนั้นมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่ อง คาดการณ์ ว่าในปี นี้จะมีนกั ท่องเที่ยวเข้ามา ใน จ.ภูเก็ต มากกว่า 13 ล้านคน ธุรกิจโรงแรม สร้างรายได้ปีที่ผา่ นมากว่า 4.2 หมื่นล้านบาท โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาใน จ.ภูเก็ต มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่ องโดยเฉพาะจีน รัสเซี ย ออสเตรเลีย ตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออก (ที่มา : www.posttoday.com/property/news/563939) สถานการณ์อสังหาริ มทรัพย์ในจังหวัดภูเก็ต ปี 2561 ดีข้ ึนกว่าปี 2560 ไม่วา่ จะเป็ นโครงการบ้านจัดสรรแบบแนวราบ หรื อจะเป็ นคอนโดที่ มีขายทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ ที่ มีราคาที่ หลากหลายขึ้น แต่ส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็ นบ้านหรื อว่า คอนโดก็จะได้ราคาที่สูงขึ้นตามราคาที่ดินของจังหวัดภูเก็ตที่ปรับตัวสู งขึ้น ซึ่ งจะเห็นได้วา่ คนภูเก็ตเองที่ตอ้ งการขยับขยาย หรื อคนจากส่ วนกลางหรื อแม้แต่นกั ลงทุนชาวต่างชาติก็เข้ามาเพิ่มขึ้นอย่างมีนยั ยะสาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักลงทุนชาว จีนและรัสเซียมีการกลับเข้ามาลงทุนเพิ่มขึ้น สรุปผลการสารวจอุปทานและอุปสงค์ ของโครงการ ทีอ่ ยู่อาศัยทีอ่ ยู่ระหว่ างการขายในช่ วงครึ่งแรกปี 2561 ของจังหวัดภูเก็ต โครงการที่อยูอ่ าศัยที่อยูร่ ะหว่างการขายในจังหวัดภูเก็ต มีจานวน 198 โครงการ มีหน่วยในผังของทุกโครงการรวมกัน 27,125 หน่วย มูลค่าโครงการรวม 160,208 ล้านบาท มีหน่วยเหลือขายหรื อเป็ นอุปทานในตลาด 6,357 หน่วย คิดเป็ นมูลค่า หน่วยเหลือขาย 37,518 ล้านบาท แบ่งเป็ น 1. โครงการบ้านจัดสรร จานวน 73 โครงการ มีจานวนหน่วย 11,227 หน่วย มูลค่าโครงการรวม 50,551 ล้านบาท 2. โครงการอาคารชุด จานวน 85 โครงการ มีจานวนหน่ วย 15,179 หน่ วย มูลค่าโครงการรวม 74,900 ล้านบาท มี หน่วยเหลือขายหรื อเป็ นอุปทานในตลาด 3,526 หน่วย คิดเป็ นมูลค่าหน่วยเหลือขาย 18,497 ล้านบาท ทาเลอาคารชุดในจังหวัดภูเก็ตที่ขายดีมากที่สุด 5 อันดับแรก โดยดูจากสัดส่วนที่ขายได้ต่อหน่วยทั้งหมดในโครงการ ได้แก่ ทาเลทีต่ ้งั

จานวนร้ อยละ

มูลค่ าขาย (ล้ านบาท)

ตลาดใหญ่ - ตลาดเหนือ

93.8

5,800

หาดป่ าตอง

79.6

4,071

หาดในยาง - หาดไม้ขาว

79.6

5,952

หาดกะรน - หาดกะตะ

77.6

10,571

หาดบางเทา - หาดสุรินทร์

75.5

12,943

ที่มา : ThaiPR.net -- พฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม 2561 (https://www.ryt9.com/s/prg/2925324)

43


สรุปสัดส่ วนลูกค้ าของโครงการแบ่ งเป็ นทวีป

การแข่ งขันด้ านธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในจังหวัดภูเก็ต การลงทุ น ด้า นอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ในภู เ ก็ ตเติ บโตขึ้ น เนื่ อ งจากปั จ จัย ด้า นการท่ อ งเที่ ย วที่ ย งั ได้รั บ ความนิ ย ม ซึ่ ง มี ชาวต่างชาติเดินทางมาท่องเที่ยวในภูเก็ตเพิ่มขึ้นทุกปี จึงเป็ นเหตุผลให้ความต้องการที่อยูอ่ าศัยสู งขึ้นเช่นกัน ซึ่งมีท้ งั ซื้อเพื่อ ทางด้านการลงทุน รวมไปถึงการซื้ อเพื่ออยูอ่ าศัยเอง โครงการอสังหาริ มทรัพย์ ทั้งคอนโดมิเนี ยม บ้านจัดสรร จึงผุดขึ้นมา เพื่อตอบโจทย์คนเหล่านี้ จากที่เมื่อก่อนโครงการอสังหาริ มทรัพย์จะสร้างในที่ไม่ห่างจากตัวเมืองมากนัก แต่ในปั จจุบนั มี คอนโดมิเนียมเกิดขึ้นรอบนอกมากขึ้น เนื่องจากนักลงทุนจากจีนได้มาลงทุนซื้อคอนโดมิเนียมสูงขึ้น และโครงการอสังหาร ริ มทรัพย์ในช่วง 2-3 ปี ที่ผา่ นมาได้ถูกทยอยขายจนเกือบหมดแล้ว จึงเป็ นเหตุผลว่าทาไมจึงเกิดอสังหาริ มทรัพย์โผล่ข้ ึนมาก เมื่ออสังหาริ มทรัพย์มากขึ้น ราคาที่ดินที่ขยับตามไปด้วยเช่นกัน ราคาที่ดินรอบนอกเมืองของภูเก็ตอยูท่ ี่ไร่ ละ 3-5 ล้าน บาท ถ้าเป็ นในตัวเมืองอยูท่ ี่ไร่ ละ 5-10 ล้านบาท และถ้าเป็ นบริ เวณรอบเกาะภูเก็ตใกล้กบั สถานที่ท่องเที่ยว ราคาต่อไร่ สูงถึง 20-100 ล้านบาท อสั ง หาริ มทรั พ ย์ข องภู เ ก็ ต นั้ น มี ค อนโดมิ เ นี ย มส าหรั บ ขายอยู่ ที่ ป ระมาณ 97 โครงการ และเป็ นโครงการ อสังหาริ มทรัพย์สาหรับลงทุน สูงถึง 62 โครงการ เพื่อเจาะตลาดฐานลูกค้าที่เป็ นนักลงทุนโดยเฉพาะ การันตีผลตอบแทนสูง ถึง 7% นาน 3-5 ปี มากถึง 33 โครงการ ส่ วนที่เหลือมีอตั ราผลตอบแทนกว่า 2-10% ในระยะเวลา 2-20 ปี ซึ่ งคอนโดมิเนียม ที่ ได้อตั ราปล่อยเช่าราคาดี มักจะอยู่ใกล้ๆ แหล่งท่องเที่ ยวสาคัญ เน้นอยู่หน้าหาด เดิ นถึงทะเลได้ใกล้ เป้ าหมายเน้นกลุ่ม ต่ า งชาติ ส่ ว นโครงการที่ อ ยู่ ใ นเมื อ งจะเน้ น กลุ่ ม คนไทย หรื อคนที่ ท างานอยู่ ใ นพื้ น ที่ ราคาไม่ สู ง มากนั ก (ที่ ม า www.cissagroup.com/2018/06/21/ลงทุนภูเก็ต-สะพัดต่อเน-2/ วันที่ 21 มิถุนายน 2561)

44


ภูเก็ตมีการลงทุนโครงการอสังหาริ มทรัพย์ราคาแพง เกิดขึ้นเป็ นจานวนมาก ทั้งโรงแรม คอนโดฯ บ้านพักตาก อากาศ รวมห้องพักของโรงแรมแล้วจะมีไม่ต่ากว่า 23,000 ห้อง คอนโดฯ-เกสต์เฮาส์อีกประมาณ 8,000 ยูนิต และวิล ล่าตากอากาศ 4,000 หลัง ล่าสุ ดตลาดอสังหาฯภูเก็ตก็ยงั ได้รับความสนใจและมี การลงทุนอย่างต่อเนื่ อง จากการ สารวจโครงการประเภทบริ การชุ ม ชนและที่ พกั อาศัย ที่ ได้รับความเห็นชอบผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (อีไอเอ) จาก สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ช่วง 7 เดือนแรกของปี (ม.ค.-ก.ค. 2561) พบว่ามีประมาณ 139 โครงการ โดยในจานวนนี้ เป็ นโครงการการลงทุนในจังหวัดภูเก็ตมากที่ สุด 44 โครงการ รองลงมาเป็ นกรุ งเทพฯ 40 โครงการ ชลบุรี 24 โครงการ ส่ วนที่ เหลือกระจายอยู่ตามหัวเมืองหลัก ๆ สาหรับการลงทุนในภูเก็ตแบ่งเป็ นโรมแรม 18 โครงการ รวมประมาณ 1,400 ยูนิ ต คอนโดมิ เนี ยม-ที่ พกั อาศัย 13 โครงการ คิ ด เป็ นจ านวนห้องประมาณ 1,600 ยูนิ ต โครงการจัดสรรที่ดิน 7 โครงการ รวมประมาณ 118 ไร่ แบ่งเป็ น 919 แปลง โครงการรี สอร์ ตแอนด์สปา 2 โครงการ ส่ วนที่ เหลืออีก 4 โครงการ เป็ นโครงการส่วนต่อขยายและเปลี่ยนแปลงการใช้อาคาร นอกจากนี้ยงั มีกลุ่มนักลงทุนชาวต่างประเทศ อาทิ รัสเซี ย อิตาลี อังกฤษ ออสเตรเลีย เยเมน เป็ นต้น ที่เข้ามาจับมือกับ นักลงทุนไทยอีกหลายโครงการ ส่ วนใหญ่เป็ นคอนโดฯ อาทิ โครงการคาลิปโซ่ การ์ เด้น เรสซิ เดนซ์เซ็ส, โครงการยูโทเปี ย ลอฟท์, โครงการบาบิลอน สกาย การ์เด้น, โครงการเอแอนด์เค เป็ นต้น ปั จจุบนั ตลาดอสังหาริ มทรัพย์ภูเก็ตได้รับความสนใจ และมีนกั ลงทุนเข้ามามากขึ้น ทั้งทุนส่วนกลาง ต่างชาติ เช่น สิ งคโปร์ ฮ่องกง ยุโรป และทั้งโรงแรม คอนโดฯ บ้านพักอาศัย และโครงการเชิงพาณิ ชย์เกิดใหม่อย่างต่อเนื่อง สาหรับโครงการลงทุนกว่า 40 โครงการดังกล่าว คาดว่าจะมีมูลค่าการลงทุน ประมาณ 2 หมื่นล้านบาท และในอนาคตยังจะมีโครงการขนาดใหญ่เกิ ดขึ้นอีกหลายโครงการ อาทิ ศูนย์ประชุม หมู่บา้ น รองรั บวัยเกษี ยณชาวต่างชาติ ภูเก็ตยังมี ศักยภาพที่ จะเติ บโตอี กมาก ปั จจัยที่ ทาให้ภูเก็ตยังเป็ นที่ สนใจและมี การลงทุน โครงการใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น ส่ วนหนึ่ งมาจากภูเก็ตมีธรรมชาติที่สวยงามและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกที่คนอยากเข้ามา ท่องเที่ยวและลงทุน ประกอบกับภูเก็ตเป็ นเมืองที่มีความพร้อมทางด้านสาธารณูปโภค โดยเฉพาะสนามบิน จานวนเที่ยวบิน ที่สามารถรับนักท่องเที่ยวจานวนมาก (ที่มา : www.prachachat.net/local-economy/news-206697 วันที่ 19 สิ งหาคม 2561)

45


แผนพัฒนาด้ านโครงสร้ างพื้นฐานในจังหวัดภูเก็ตปี 2558 – 2564

ที่มา : TerraBKK Research

46


่ ยง ่ยง ปัจปัจจัจัยยความเสี ความเสี ปั จจัยความเสี่ ยงในการประกอบธุรกิจของบริ ษทั ที่อาจมีผลกระทบต่อผลการดาเนิ นงานและฐานะการเงินของบริ ษทั ตลอดจนผลตอบแทนจากการลงทุนในหุน้ สามัญของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ 1. ความเสี่ยงจากการในการพัฒนาโครงการและประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมทีม่ กี ารแข่ งขันสู ง เนื่ องจากแผนธุรกิจของบริ ษทั ณ ปั จจุบนั ที่มุ่งเน้นพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทคอนโดมิเนียมในทาเลที่มีศกั ยภาพ พัฒนาโครงการในจังหวัดภูเก็ตเป็ นหลัก ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่บริ ษทั ได้ทาการวิจยั ศึกษา ตลอดจนเข้าใจพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค เป็ นอย่างดี จึ งทาให้ในอนาคตหากบริ ษทั ขยายการพัฒนาโครงการไปยังตลาดภูมิภาคอื่ นซึ่ งบริ ษทั ไม่เคยมี การพัฒนา โครงการหรื อมีฐานลูกค้ามาก่อน อาจทาให้บริ ษทั ต้องเผชิญความเสี่ ยงอยูห่ ลายประการ อาทิเช่น การไม่สามารถรับรู ้ตรา สิ นค้าของผูบ้ ริ โภค การเลือกทาเลที่ต้ งั โครงการไม่ตรงความต้องการผูบ้ ริ โภค ข้อบังคับและข้อกฎหมายที่มีความแตกต่าง กันในแต่ละจังหวัด เป็ นต้น อย่างไรก็ดี ก่อนการลงทุนก่อสร้างในแต่ละโครงการ บริ ษทั จะทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของ โครงการลงทุนอย่างรอบคอบและระมัดระวัง อาทิเช่น ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม สภาวะการแข่งขันในทาเลที่บริ ษทั พัฒนา โครงการ ภาวะอุตสาหกรรมอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นต้น บริ ษทั ฯ เชื่อว่า ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและสามารถตอบสนองได้ตรงความต้องการของผูบ้ ริ โภคเป็ นปั จจัยหลักที่สาคัญ ในการแข่งขันในอุตสาหกรรมเช่นเดี ยวกัน บริ ษทั ฯ จึ งให้ความสาคัญกับการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนี ยมที่ สามารถ ตอบสนองความต้องการของผูอ้ าศัยได้อย่างครบถ้วน ด้วยการพัฒนาแนวคิดและรู ปแบบที่มีเอกลักษณ์ในแต่ละโครงการ รวมถึงการเลือกทาเลที่ต้ งั โครงการที่อยูใ่ นทาเลชุมชนที่มีศกั ยภาพและมีการคมนาคมสะดวก ประกอบกับการออกแบบซึ่ง เน้น การใช้งานของพื้นที่ ที่จากัดได้อ ย่า งคุ ม้ ค่า ใช้อุ ป กรณ์ ตกแต่ ง เฟอร์ นิ เจอร์ และสุ ข ภัณฑ์ที่มี คุณภาพ และมี ราคาที่ เหมาะสม จึงทาให้โครงการคอนโดมิเนี ยมที่บริ ษทั ฯ เป็ นผูพ้ ฒั นาเป็ นที่ยอมรับในกลุ่มลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เทียบกับคูแ่ ข่งรายอื่นๆ ได้ 2.

ความเสี่ยงจากการทีผ่ ลประกอบการขึน้ อยู่กบั ความสาเร็จของโครงการทีก่ าลังพัฒนาอยู่

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีโครงการที่ แล้วเสร็ จรอรับรู ้รายได้เมื่อโอนกรรมสิ ทธิ์ จานวนทั้งสิ้ น 2 โครงการ ประกอบด้วยโครงการ The Title หาดในยาง เฟส 1 และ เฟส 2 มูลค่าโครงการประมาณ 599 ล้านบาท และ 798 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่งบริ ษทั คาดว่าเริ่ มรับรู ้รายได้ต้ งั แต่ไตรมาสที่ 4 ปี 2561 แต่บริ ษทั ฯ ไม่สามารถดาเนินการโอนได้ตามเป้ าหมาย ที่กาหนดไว้ เนื่องจากราคาประเมิน ซึ่งออกโดยหน่วยงานราชการแล้วเสร็ จในเดือนมกราคม 2562 ซึ่งเป็ นเรื่ องขั้นตอนและ ระเบี ยบปฏิบตั ิของทางหน่วยงานราชการที่เกี่ ยวข้อง ทาให้ส่งผลกระทบต่อการรับรู ้ได้ของบริ ษทั ฯ ล่าช้าออกไป ดังนั้น บริ ษทั ฯอาจมีความเสี่ ยงที่จะไม่ได้รับรู ้ผลประกอบการตามที่คาด อย่างไรก็ตาม ในปี 2561 บริ ษทั ฯ ยังคงมี การรับรู ้ รายได้จากโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 ซึ่ งเป็ นการรับรู ้ รายได้ต่อเนื่ องจากปี 2560, รายได้จากการรับบริ หารนิ ติบุคคลอาคารชุดและจากการรับบริ หารห้องพักของลูกค้าที่เข้าร่ วม โครงการการันตีผลตอบแทน สาหรับโครงการ The Title หาดในยาง เฟส 1 และ เฟส 2 นั้น บริ ษทั ฯ ได้เริ่ มรับรู ้รายได้ต้ งั แต่ ไตรมาส 1 ปี 2562 เป็ นต้นไป

47


3. ความเสี่ยงจากการทีผ่ ลประกอบการในอนาคตไม่ ตรงตามเป้าหมายเนื่องจากลูกค้ าไม่ โอนตามวันทีก่ าหนดไว้ ในสัญญา บริ ษทั ได้ตระหนักถึงความเสี่ ยงดังกล่าว จึ งได้กาหนดนโยบายให้ลูกค้าจะต้องทาการชาระค่าสัญญาและเงิ นดาวน์ ให้แก่บริ ษทั ก่อนการโอนกรรมสิ ทธิ์ โดยทัว่ ไปเมื่อลูกค้าเข้าทาสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุดกับบริ ษทั ฯ นั้น ในสัญญาดังกล่าว บริ ษทั ฯ จะมีการกาหนดวันโอนกรรมสิ ทธิ์ ของห้องชุดเมื่อโครงการแล้วเสร็ จในระยะเวลาที่แน่ นอน ทั้งโครงการที่แล้ว เสร็ จพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ์และโครงการที่อยูร่ ะหว่างการพัฒนา โดยสาหรับลูกค้าชาวไทยจะต้องทาการชาระค่าเงินจอง เงิน ทาสัญญาและเงิ นดาวน์ให้แก่บริ ษทั อย่างน้อยคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 10.00 – 15.00 ของมูลค่าห้องชุดก่อนโอน กรรมสิ ทธิ์ ในขณะที่ลูกค้าชาวต่างชาติเป็ นกลุ่มลูกค้าที่ติดตามการชาระเงินได้ยากกว่าลูกค้าชาวไทยเนื่ องจากมีภูมิลาเนา หลักอยูใ่ นต่างประเทศ และจะสะดวกในการโอนกรรมสิ ทธิ์ เมื่อเดินทางเข้ามายังประเทศไทยตามฤดูกาลท่องเที่ยว จะต้อง ทาการชาระค่าเงินจอง เงินทาสัญญาและเงินดาวน์ให้แก่บริ ษทั อย่างน้อยคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 50.00 - 75.00 ของ มูลค่าห้องชุดก่อนการโอนกรรมสิ ทธิ์ตามเงื่อนไขในสัญญา ตามลาดับ ซึ่งจะช่วยให้บริ ษทั สามารถขายห้องชุดให้แก่ลูกค้าที่ ต้อ งการซื้ อ เพื่ อ พัก อาศัย จริ ง (Real demand) มากกว่า ลู ก ค้า ที่ ต ้อ งการจองซื้ อ เพื่ อ เก็ ง ก าไร โดยสาหรั บ ลู ก ค้า ชาวไทย กาหนดให้ลูกค้าจะต้องทาการชาระเงินให้แก่บริ ษทั เป็ นรายเดือนตั้งแต่วนั ที่ทาสัญญาซื้ อขาย จนถึงวันที่ก่อสร้างโครงการ แล้วเสร็ จในขณะที่ลูกค้าชาวต่างชาติจะชาระเงินดาวน์ตามงวดการก่อสร้าง ในขณะที่เงินส่ วนที่เหลือ จะชาระ ณ วันโอน กรรมสิ ทธิ์ ซึ่ งคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 85.00 – 90.00 ของมูลค่าห้องชุดสาหรับลูกค้าชาวไทยและประมาณร้อยละ 25.00 – 50.00 ของมูลค่าห้องชุด ตามลาดับ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังมีมาตรการในการติดตามการชาระเงิน โดยมอบหมายให้ฝ่ายปฏิบตั ิการจัดทารายงานการติดตาม ลูกค้าค้างชาระเป็ นรายเดือนและกาหนดให้ฝ่ายบัญชีการเงินเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการติดตามลูกค้าที่คา้ งชาระ โดยมีมาตรการ ดังนี้ ระยะเวลาค้ างชาระเงินดาวน์

การดาเนินการ

เกินกว่า 30 วันนับจากวันครบกาหนดชาระ

ติดตามทวงถามผ่านทาง Email SMS โทรศัพท์ โปรแกรม Line และ WhatsApp

เกินกว่า 90 วันนับจากวันครบกาหนดชาระ

ติดตามทวงถามผ่านทาง Email SMS โทรศัพท์ โปรแกรม Line, WhatsApp และส่งจดหมายทวงถาม

เกินกว่า 120 วันนับจากวันครบกาหนดชาระ

ส่งจดหมายยึดเงินดาวน์ และดาเนิ นการยึดเงินดาวน์

จานวนหน่ วยทีล่ ูกค้ าจอง/ทาสัญญาซื้อขายแล้ วแต่ ยงั มิได้ โอนกรรมสิทธิ์ของโครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 1 The Title หาดราไวย์ เฟส 2 The Title หาดราไวย์ เฟส 3 The Title หาดในยาง เฟส 1 The Title หาดในยาง เฟส 2 รวม

48

จานวนหน่ วยที่ขายแล้วแต่ ยงั ไม่ ได้ส่งมอบ จานวน มูลค่ า สั ดส่ วนต่ อมูลค่ ารวม (หน่ วย) (ล้านบาท) ประมาณ (ร้ อยละ) 9 44 3.14 252 599 42.72 210 759 54.14 471 1,402 100

ระยะเวลาที่คาดว่าจะโอน กรรมสิทธิ์ เริ่ มปี 2562 เริ่ มปี 2562 เริ่ มปี 2562


4.

ความเสี่ ย งจากความต่ อ เนื่ อ งของรายได้ แ ละความเสี่ ย งจากการรั บ รู้ รายได้ จ ากธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ เ ป็ น คอนโดมิเนียมเป็ นหลัก

บริ ษทั มีรายได้จากการประกอบธุรกิจพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์ที่เป็ นคอนโดมิเนี ยมเป็ นหลัก โดยนับแต่จดั ตั้ง บริ ษทั จนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั ได้มีการพัฒนาโครงการทั้งสิ้ นจานวน 6 โครงการ โดยระหว่างปี 2556 2561 บริ ษทั มีรายได้พ่ ึงพิงจากการประกอบธุรกิจพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์ที่เป็ นคอนโดมิเนียมเป็ นสัดส่ วนเกินกว่า ร้อยละ 90.00 ของรายได้รวม จึงทาให้บริ ษทั อาจมีความเสี่ ยงหากภาวะตลาดอสังหาริ มทรัพย์ประเภทคอนโดมิเนียมในพื้นที่ ลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายของบริ ษทั เกิดภาวะอิ่มตัวหรื อเข้าสู่ สภาวะถดถอย ซึ่งอาจจะกระทบต่อผลประกอบการของบริ ษทั อย่าง มีนยั สาคัญ นอกจากนี้ ตามนโยบายการบัญชีของบริ ษทั บริ ษทั จะทาการรับรู ้รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ต่อเมื่องาน ก่อสร้างแล้วเสร็ จตามสัญญาและมีการโอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่มีนยั สาคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ้ือ (“โอนกรรมสิ ทธิ์ ”) อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ยังพัฒนารู ปแบบธุรกิ จเป็ นแบบคอนโดเทล เพื่อลดความเสี่ ยงจากการพัฒนา อสังหาริ มทรัพย์เพียงอย่างเดี ยว เพื่อให้เกิ ดรายได้นอกเหนื อจากการพักอาศัยในบางช่วงเวลา ซึ่ งความต้องการของลูกค้า กลุ่มนี้ มีแนวโน้มที่สูงขึ้นมาก ซึ่ งการแต่งตั้ง Best Western Inc. จะส่ งผลดีต่อบริ ษทั เพราะนอกจากจะเป็ นการสร้างความ เชื่อมัน่ ต่อลูกค้า ที่ซ้ือห้องในโครงการของเราแล้ว ยังทาให้เกิดรายได้ประจา (Recurring Income) ในอนาคตอีกด้วย มูลค่ าทีข่ ายแล้ วและรอโอนกรรมสิทธิ์และมูลค่ าคงเหลือขาย ของโครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 1 The Title หาดราไวย์ เฟส 3 The Title หาดในยาง เฟส 1 The Title หาดในยาง เฟส 2 รวม

5.

มูลค่ าที่ขายแล้ วและรอ โอนกรรมสิทธิ์ (ล้านบาท) 44 599 759 1,402

มูลค่ าคงเหลือขาย (ล้านบาท) 29 8.5 40 77.5

สถานะ พร้อมขายและโอนกรรมสิ ทธิ์ พร้อมขายและโอนกรรมสิ ทธิ์ พร้อมขายและโอนกรรมสิ ทธิ์ พร้อมขายและโอนกรรมสิ ทธิ์

ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้ าง

การปรับตัวเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นทุกปี ทาให้บริ ษทั ตระหนักถึงความเสี่ ยงดังกล่าวจึงมีหน่วยงาน ภายในเพื่อทาหน้าที่ก่อสร้างและควบคุมงานก่อสร้างด้วยตนเอง จึงทาให้บริ ษทั สามารถควบคุมงานก่อสร้างให้เป็ นไปตาม แบบแผนงานที่กาหนด ผ่านฝ่ ายควบคุมงานก่อสร้าง โดยฝ่ ายควบคุมงานก่อสร้างจะทาหน้าที่ในการกาหนดคุณภาพและ มาตรฐานของวัสดุก่อสร้างที่ ใช้ในโครงการ ซึ่ งฝ่ ายควบคุมงานก่อสร้างจะทาการประเมินและคานวณค่าวัสดุก่อสร้ างที่ จะต้องใช้ท้ งั หมดซึ่ งได้แก่ อิฐ หิ น ปูน ทราย และเหล็ก เป็ นต้น และจะคานวณเผื่อค่าความผันผวนจากการปรับตัวเพิ่มขึ้น ของราคาวัสดุก่อสร้างในต้นทุนของโครงการไว้ในงบประมาณการก่อสร้างเพื่อลดผลกระทบจากราคาวัสดุก่อสร้างที่ อาจ เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต

49


6. ความเสี่ยงจากการจัดหาทีด่ นิ เพื่อพัฒนาโครงการในอนาคต เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงจากการไม่สามารถจัดหาที่ดินเพื่อการพัฒนาในอนาคต บริ ษทั ได้ดาเนิ นการแสวงหาช่องทาง การจัดหาที่ดินเพิ่มเติม อาทิเช่น การจัดหาที่ดินจากนายหน้าค้าที่ดิน การสื บหาที่ดินโดยผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ซึ่งเป็ นกลุ่มผูท้ ี่มี ประสบการณ์ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ และมีสายสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูค้ นในแวดวงธุ รกิ จที่หลากหลาย ตลอดจนการจัดหา ที่ ดินผ่านการประมูลทรัพย์สินจากสถาบันการเงิ นซึ่ งเป็ นทรัพย์สินที่ ติดเป็ นหลักประกันที่ ไม่ก่อให้เกิ ดรายได้ หรื อการ ประมูลทรั พย์สินจากกรมบังคับคดี เป็ นต้น ฝ่ ายปฏิ บัติการและนิ ติกรรมจะให้ความสาคัญกับการตรวจสอบที่ ม าของ กรรมสิ ทธิ์ที่ดินเป็ นพิเศษเนื่องจากที่ดินในจังหวัดภูเก็ตมักมีปัญหาด้านกรรมสิ ทธิ์อยูบ่ ่อยครั้งอาทิเช่น การตรวจสอบใบแจ้ง การครอบครองที่ดิน (ส.ค.1) เป็ นต้น จากนั้น บริ ษทั จึงจะทาการพิจารณาศักยภาพของทาเลที่ต้ งั และวิเคราะห์ประสิ ทธิ ภาพ และความเหมาะสมของขนาดและรู ปร่ างของที่ ดินว่าสามารถพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์ได้ เช่น ผูบ้ ริ โภคมีความ ต้องการซื้อที่อยูอ่ าศัยในละแวกนั้น มีการพัฒนาสาธารณูปโภคในบริ เวณนั้นเพียงพอ มีจุดดึงดูดที่น่าสนใจบริ เวณโครงการ อาทิเช่น ชายหาด แหล่งท่องเที่ยว ศูนย์การค้า โรงเรี ยน โรงพยาบาล เป็ นต้น 7.

ความเสี่ยงจากการเปลีย่ นแปลงทางกฎระเบียบ และกฎหมายซึ่งอาจมีผลกระทบต่ อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ของบริษัท

บริ ษทั ได้ตระหนักถึงความเสี่ ยงดังกล่าว จึงมอบหมายให้ฝ่ายปฏิบตั ิการและนิติกรรมดาเนินการศึกษาและติดตามการ เปลี่ยนแปลงของข้อกฎหมายต่างๆอย่างเคร่ งครัด เพื่อที่จะให้บริ ษทั ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดอย่างถูกต้องอย่างสม่าเสมอและไม่ เกิดปั ญหาในอนาคต ซึ่งการปฏิบตั ิดงั กล่าวจะทาให้บริ ษทั ปรับตัวและแก้ไขการดาเนินงานของบริ ษทั ได้อย่างทันท่วงทีและ ไม่มีความจาเป็ นที่จะดัดแปลงแบบแผนของโครงการในภายภาคหน้าในกรณี ที่บริ ษทั ไม่ได้ติดตามการเปลี่ยนแปลงของ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็ นต้นเหตุให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นแก่บริ ษทั 8.

ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ

เนื่ องจากพื้นที่ดงั กล่าวอยู่ในบริ เวณที่ เคยประสบภัยสึ นามิในอดี ต ซึ่ งสาเหตุหลักเกิ ดจากแผ่นดินไหวในมหาสมุทร อินเดีย ประเทศอินโดนีเซีย โดยแรงสัน่ สะเทือนดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดความเสี ยหายครอบคลุมมากกว่า14 ประเทศและส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยเฉพาะในจังหวัด ภูเก็ต, พังงา, ระนอง, กระบี่, ตรัง และสตูล ซึ่ ง เป็ นพื้นที่ ที่อยู่บริ เวณภาคใต้ริมฝั่ งอันดามัน จึ งทาให้บริ ษทั มีความเสี่ ยงหากเกิ ดภัยธรรมชาติดงั กล่าวขึ้นอีกครั้งและอาจ ส่งผลกระทบต่อยอดขายและยอดการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดของบริ ษทั ได้ 9.

ความเสี่ยงจากการทีอ่ ตั รากาไรขั้นต้ นของบริษัทลดลงเนื่องจากต้ นทุนทีด่ นิ ในการพัฒนาโครงการมีราคาสู งขึน้

การดาเนิ นการในระยะแรกของบริ ษทั ตั้งแต่ปี 2532 จนถึงปี 2550 มีวตั ถุประสงค์หลักในการประกอบธุรกิจด้วยการ ซื้อขายที่ดินเพื่อเก็งกาไรในเขตพื้นที่จงั หวัดภูเก็ตเป็ นหลัก โดยต่อมาในปี 2551 กลุ่มของนายเด่นดนัย หุตะจูฑะ ได้เล็งเห็น โอกาสว่าที่ดินที่บริ ษทั ครอบครองอยูน่ ้ นั อยูใ่ นทาเลที่ มีศกั ยภาพจึงได้เจรจาเพื่อขอซื้ อหุ ้นจากกลุ่มของผูถ้ ือหุ ้นเดิ ม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อนาที่ดินที่บริ ษทั ถือครองมาพัฒนาต่อยอดเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื่อขาย ดังนั้น ในอนาคต หากกรณี ที่บริ ษทั พัฒนาโครงการโดยใช้ที่ดินบริ เวณอื่นซึ่ งไม่ใช่ที่ดินที่ได้มาในอดีตจึงอาจทาให้บริ ษทั มีความเสี่ ยงจากการที่มีอตั รากาไร ขั้นต้นที่ลดลงได้ อย่างไรก็ดี ก่ อนการพิจารณาลงทุนในโครงการใดๆนั้น บริ ษทั จะทาการศึ กษาความเป็ นไปได้ของโครงการอย่าง รอบคอบและระมัดระวัง ทั้งทางด้านการตลาด การเงิน การก่อสร้าง หรื อข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเมื่อผลการศึกษาความ เป็ นไปได้ของโครงการแสดงให้เห็นว่ามีศกั ยภาพในการพัฒนาโครงการ และสามารถสร้างผลตอบแทนในอัตราที่เหมาะสม ได้ บริ ษทั จึงจะกาหนดราคาซื้อและทาการเจรจาเพื่อซื้อที่ดินจากเจ้าของกรรมสิ ทธิ์น้ นั ต่อไป

50


10. ความเสี่ยงจากการพึง่ พิงตัวแทนขาย เนื่ องจากฐานลูกค้าหลักของบริ ษทั ส่ วนหนึ่ งเป็ นกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติ ดังนั้น นอกจากที มงานขายของบริ ษทั แล้ว บริ ษทั ยังมีช่องทางการขายในรู ปแบบอื่นๆ โดยบริ ษทั ดาเนิ นการว่าจ้างตัวแทนขาย (Agent) ซึ่ งเป็ นตัวแทนในการจัดหา ลูกค้าให้แก่บริ ษทั โดยมีท้ งั ตัวแทนที่เป็ นนิติบุคคลและบุคคลซึ่งเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญและมีฐานลูกค้าซึ่งเป็ นกลุ่มชาวต่างชาติ ซึ่ง มีหน้าที่ให้คาปรึ กษาและวิเคราะห์ดา้ นการตลาดตลอดจนพาลูกค้ามาเยี่ยมชมโครงการ ดังนั้น บริ ษทั จึงมีความเสี่ ยงหาก ต้องสู ญเสี ยคู่คา้ ดังกล่ าวไป ซึ่ งอาจส่ งผลกระทบต่อ รายได้ข องบริ ษทั อย่า งมี นัยสาคัญ โดยตัวแทนขายดังกล่า วไม่ มี ความสัมพันธ์ในฐานะที่ เป็ นกรรมการและ/หรื อผูบ้ ริ หาร ผูม้ ีอานาจควบคุมรวมทั้งผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องของบุคคลดังกล่าวของ บริ ษทั ทั้งนี้ สาเหตุหลักที่บริ ษทั ใช้ช่องทางการจาหน่ายผ่านตัวแทนขายดังกล่าว เนื่ องจากตัวแทนขายดังกล่าวเป็ นบริ ษทั ที่มี ชื่ อเสี ยงและอยู่ในแวดวงธุ รกิ จตัวแทนขายมาอย่างยาวนานนานจึ งทาให้มีฐานลูกค้าที่ กระจายอยู่ทวั่ โลก ซึ่ งตัวแทนขาย ดังกล่าวเป็ นผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการทาการตลาดและมีฐานลูกค้าที่หลากหลายซึ่ งจะช่วยขยายฐาน ลูกค้าให้บริ ษทั อีกช่องทางหนึ่งเช่นเดียวกัน 11. ความเสี่ยงจากการจัดหาแหล่ งเงินทุนและความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีหนี้สินรวม 1,203.59 ล้านบาท โดยเป็ นส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 269 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 15 ของหนี้ สินรวม ซึ่ งเป็ นเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงินและบริ ษทั ประกันภัย เพื่อนามาใช้ใช้พฒั นา โครงการที่ อยู่ระหว่างพัฒนา การพัฒนาโครงการในอนาคตมีความจาเป็ นที่ตอ้ งหาแหล่งเงิ นทุนเพิ่มและหากในอนาคต อัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวสูงขึ้นก็จะส่งผลกระทบต่อต้นทุนพัฒนาโครงการในอนาคต เช่นกัน ในปี 2560 บริ ษทั สามารถระดมทุนจากการเสนอขายหุ ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชนเป็ นครั้งแรกได้แล้วเสร็ จ จะช่วย ลดการพึ่งพิงการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงินและบริ ษทั ประกันภัย ซึ่งจะลดผลกระทบภาระดอกเบี้ยจ่ายของบริ ษทั ได้ 12. ความเสี่ยงจากกรณีทบี่ ริษัทมีผ้ถู ือหุ้นใหญ่ มอี ทิ ธิพลต่ อการกาหนดนโยบายการบริหารงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุ่มนายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ เป็ นถือหุ ้นใหญ่ในบริ ษทั โดยคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 64.19 ของทุนจดทะเบียนที่ออกและชาระแล้ว ดังนั้นบริ ษทั และผูถ้ ือหุน้ รายย่อยอาจมีความเสี่ ยงจากการที่นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ สามารถควบคุมมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ได้เกือบทั้งหมดไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องการแต่งตั้งกรรมการ หรื อการขอมติในเรื่ องอื่นที่ตอ้ ง ใช้เสี ยงส่ วนใหญ่ของที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ยกเว้นเรื่ องที่กฎหมายหรื อข้อบังคับบริ ษทั กาหนดให้ตอ้ งได้รับเสี ยง 3 ใน 4 ของที่ ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ฉะนั้นผูถ้ ือหุ ้นรายอื่นอาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสี ยงเพื่อถ่วงดุลอานาจเรื่ องที่กลุ่มของนายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ เสนอได้ โดยกรรมการผูม้ ีอานาจลงนามบริ ษทั ณ ปั จจุบนั ประกอบด้วยกลุ่มของนายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ ซึ่ งเป็ นผู ้ ที่สามารถลงนามในเรื่ องที่สาคัญหลัก ในฐานะที่เป็ นตัวแทนของผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ของบริ ษทั บริ ษทั ตระหนักถึงความเสี่ ยงดังกล่าว จึ งได้แต่งตั้งกรรมการอิสระจานวน 3 ท่าน จากกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน โดยปั จจุบนั กรรมการบริ ษทั ทั้ง 3 ท่าน ได้เข้าดารงตาแหน่งกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจะทาหน้าที่เข้าตรวจสอบการดาเนินงาน ของบริ ษทั และมีความเป็ นอิสระเพื่อช่วยถ่วงดุลในการบริ หารจัดการของบริ ษทั ได้ในระดับหนึ่ ง ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระเป็ นบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ มีวฒ ุ ิการศึกษาและคุณวุฒิ รวมทั้งมีความรู ้ความสามารถที่จะคุม้ ครองผู ้ ถือหุ ้นรายย่อย นอกจากนี้ ในการตัดสิ นใจกระทาการหรื อละเว้นกระทาการใดๆ คณะกรรมการบริ ษทั มีนโยบายในการ ดาเนินงานโดยคานึงถึงผลประโยชน์ผถู ้ ือหุน้ เป็ นหลักและหากบริ ษทั มีความจาเป็ นในการทารายการกับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง บริ ษทั จะปฏิบตั ิตามขั้นตอนการอนุ มตั ิการทารายการระหว่างกันและหลักเกณฑ์ที่ประกาศไว้ของคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยอย่างเคร่ งครัด โดยบุคคลที่ มีส่วนได้เสี ยไม่มีสิทธิ การออกเสี ยง นอกจากนี้ ตามข้อบังคับของบริ ษทั และหลักเกณฑ์การคัดเลือกและสรรหากรรมการบริ ษทั ได้กาหนดให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้

51


เป็ นผูม้ ีสิทธิ และเสี ยงในการสรรหาและแต่งตั้งคณะกรรมการบริ ษทั ดังนั้น ภายหลังการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แล้ว จึงเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผู ้ ถื อหุ ้นภายนอกเข้ามามี ส่วนร่ วมในการพิจ ารณาคุ ณสมบัติแ ละกลัน่ กรองคัดเลื อกคณะกรรมการบริ ษทั ที่ มีคุ ณสมบัติ เหมาะสม ซึ่งจะช่วยถ่วงดุลอานาจการบริ หารงานของบริ ษทั ได้อีกทางหนึ่ง 13. ความเสี่ยงจากการพึง่ พิงผู้บริหารหลัก ผูบ้ ริ ห ารหลัก ของบริ ษทั คื อ กลุ่ ม ผูบ้ ริ ห ารที่ ไ ด้ร่ ว มบุ ก เบิ ก และพัฒ นาธุ ร กิ จ อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ของบริ ษทั มาตั้งแต่ ระยะแรกของการพัฒนาโครงการ ซึ่ งได้แก่ นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ , นายดรงค์ หุ ตะจูฑะ, นายศศิ พงษ์ ปิ่ นแก้วและนาย ประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ ซึ่ งเป็ นผูบ้ ริ หารที่มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญในการพัฒนาธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ และมีส่วนสาคัญ ต่อความสาเร็ จของบริ ษทั ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา โดยผูบ้ ริ หารหลักดังกล่าวเป็ นผูท้ ี่มีประสบการณ์ในการคัดเลือกที่ ดิน เพื่อพัฒนาโครงการในทาเลที่ มีศกั ยภาพในราคาที่ เหมาะสม , ประสบการณ์ในการบริ หารต้นทุนการก่อสร้างโครงการ , ประสบการณ์ในการกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดรวมถึงการกาหนดตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ ตลอดจนประสบการณ์ในการ วิเคราะห์และวางแผนโครงการ ดังนั้น ในกรณี ที่มีการเปลี่ยนแปลงผูบ้ ริ หารหลักดังกล่าว จึงอาจส่งผลกระทบที่ทาให้บริ ษทั ได้รับความเสี่ ยงจากการดาเนินธุรกิจได้ อย่างไรก็ดี บริ ษทั ตระหนักถึงความเสี่ ยงที่อาจจะเกิดขึ้นและกาหนดแนวทางในการลดความเสี่ ยงด้วยการสร้างกรอบ แนวทางในการสร้างบุคลากรของบริ ษทั ขึ้นมาทดแทนด้วยการส่ งพนักงานเข้าอบรมในหลักสู ตรต่างๆเพื่อเพิ่มความรู ้ ความสามารถและพิจารณาผลตอบแทนให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสม เพื่อเพิ่มแรงจูงใจในการปฏิบตั ิหน้าที่ และลดการ พึ่งพิงพนักงานรายใดรายหนึ่ งโดยเฉพาะ ทั้งนี้ บริ ษทั มีนโยบายสรรหาบุคลากรที่มีความรู ้ความสามารถเข้ามาร่ วมงานกับ บริ ษทั ให้สอดคล้องกับแผนธุ รกิ จอีกด้วย ซึ่ งแนวทางดังกล่าวจะช่วยลดความเสี่ ยงจากการพึ่งพิงผูบ้ ริ หารหลักและสร้าง ความยัง่ ยืนให้แก่บริ ษทั ได้ในอนาคต

52


โครงสร้ างการถื อหุ้นและการจั โครงสร้ างการถื อหุ้นดการ และการจัดการ ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 1. จานวนทุนจดทะเบียน และทุนชาระแล้ วของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มี ดังนี้ ทุนจดทะเบียน : 220,000,000 บาท ทุนที่เรี ยกชาระแล้ว : 219,999,519.50 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญ : 439,999,039 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้ : 0.50 บาท 2. ผู้ถือหุ้น รายชื่อผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ตามที่ปรากฏในบัญชีรายชื่อผูถ้ ือหุน้ ณ วันที่ 22 มีนาคม 2562 ดังนี้ ลาดับ

จานวนหุ้น (หุ้น)

สั ดส่ วนการถือหุ้น (%)

นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ

252,830,000

57.46

นายดรงค์ หุ ตะจูฑะ

19,280,000

4.38

นายวิโรจน์ หุ ตะจูฑะ

5,940,000

1.35

น.ส. พิชามญชุ ์ หุ ตะจูทะ

4,290,500

0.97

รวมกลุ่มนายเด่ นดนัย หุตะจูฑะ

282,340,500

64.16

นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว

19,280,000

4.38

นายศศิน ปิ่ นแก้ว

4,204,340

0.95

รวมกลุ่มนายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ ว

23,484,340

5.33

3

บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด เพื่อผูฝ้ าก

8,884,600

2.01

4

บริ ษทั กรุ งเทพประกันภัย จากัด (มหาชน)

5,401,480

1.22

5

น.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์

4,600,000

1.04

6

น.ส.ชนิดา ธรรมอมรสิ น

4,369,060

0.99

7

นายประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ

4,270,000

0.97

106,649,059

24.28

รวม

439,999,039

100

ยอดรวมทุนชาระแล้ ว

219,999,519.50 บาท

ผู้ถือหุ้นสั ญชาติไทย

987

99.99

ผู้ถือหุ้นสั ญชาติต่างด้ าว

3

0.01

1

2

รายชื่ อผู้ถือหุ้น

ผูถ้ ือหุ น้ รายอื่น

53


โครงสร้ างองค์ กร บริษัท ร่ มโพธิ์ พร็อพเพอร์ ตี้ จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

โครงสร้ างการจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

คณะกรรมการบริ ษทั รองกรรมการผูจ้ ดั การ / เลขานุการบริ ษทั (นายเจริ ญ บุญมโนทรัพย์)

คณะกรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร (นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ)

คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง

ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารร่ วม / กรรมการผูจ้ ดั การ สายงานวางแผนและควบคุม (นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว)

กรรมการผูจ้ ดั การ สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ (นายดรงค์ หุ ตะจูฑะ)

กรรมการผูจ้ ดั การ สายงานขายและการตลาด (นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ) (รักษาการ)

ผูต้ รวจสอบภายใน *

กรรมการผูจ้ ดั การ สายงานปฏิบตั ิการและนิติกรรม (นายประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ)

รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานบัญชีและการเงิน (น.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์)

ฝ่ ายขาย และการตลาด

ฝ่ ายสถาปัตยกรรม ออกแบบ

ฝ่ ายสถาปัตยกรรม บริ หารโครงการ

ฝ่ ายควบคุมงาน ก่อสร้าง

ฝ่ ายควบคุม วัสดุ

ฝ่ ายจัดซื้ อ

ฝ่ ายบุคคล และธุรการ

ฝ่ ายบัญชี

ฝ่ าย IT

ฝ่ ายการเงิน

ฝ่ ายบริ การห้องพักและ นิติบุคคลอาคารชุด

ฝ่ ายประสานงาน และนิติกรรม

ฝ่ าย ปฏิบตั ิการ

* บริ ษทั ว่าจ้างบริ ษทั สานักงาน โปรเ ส วัน จากัด เป็ นผูต้ รวจสอบภายใน ซี่ งเป็ นผูใ้ ห้บริ การจากภายนอก (Outsource) โดยมีระยะเวลาตามว่าจ้างตามสัญญาแบบปี ต่อปี ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั จะทาหน้าที่ในการคัดเลือกและแต่งตั้งผูต้ รวจสอบภายในที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็ นประจาทุกปี

โครงสร้างองค์กรของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ประกอบด้วย คณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง โดยมีรายชื่อและ ขอบเขตอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 8 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่ อคณะกรรมการ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ตาแหน่ ง

นายสุวิช

ล่าซา

ประธานกรรมการ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นายวิโรจน์

หุตะจูฑะ

กรรมการ

นายเด่นดนัย

หุ ตะจูฑะ

กรรมการ

นายศศิพงษ์

ปิ่ นแก้ว

กรรมการ

น.ส.จีรยา

อุดมวงศ์ทรัพย์

กรรมการ

นายดรงค์

หุตะจูฑะ

กรรมการ

นายชัยวุฒิ

จิตราคนี

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นางจิตติมา

สัจจวานิช อินทุจนั ทร์ ยง

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

โดยมีนายเจริ ญ บุญมโนทรัพย์ เป็ นเลขานุการบริ ษทั หมายเหตุ : กรรมการทุกท่านผ่านการอบรม- Director Accreditation Program (DAP) ของสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย

54


กรรมการผู้มอี านาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงลายมือชื่อแทนบริ ษทั คือ 1.นายเด่นดนัย หุตะจูฑะ ลงลายมือชื่อร่ วมกับนายวิโรจน์ หุตะจูฑะ หรื อ นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว หรื อ นายดรงค์ หุ ตะจูฑะ หรื อ น.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์ รวมเป็ นสองคนและประทับตราสาคัญ ของบริ ษทั หรื อ 2.นายวิโรจน์ หุ ตะจูฑะ ,นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว ,นายดรงค์ หุ ตะจูฑะ ,น.ส.จีรยา อุมวงศ์ทรัพย์ กรรมการสาม ในสี่ คนนี้ลงลายมือชื่อร่ วมกันและประทับตราสาคัญของบริ ษทั เว้นแต่กรณี ดังต่อไปนี้ สาหรับกรณี เฉพาะอาทิเช่น การขออนุญาตปลูกสร้างอาคารและสิ่ งปลูกสร้างทุกประเภท การขออนุญาตจัดสรร, การ ขออนุ ญาตค้าที่ดิน, การขออนุ ญาตรวมและแบ่งโฉนดที่ดิน, การขออนุ ญาตแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวม, การขออนุ ญาตค้ าที่ดิน , การขออนุญาตรวมและแบ่งโฉนดที่ดิน, การขออนุญาตแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวม, การขออนุญาตให้มีหมายเลขประจาบ้าน, การ ขออนุญาตใช้และโอนไ ้าและน้ าประปา, การเช่าสิ ทธิ การใช้หมายเลขโทรศัพท์, การขออนุญาตเชื่อมทางและท่อระบาย น้ า, การขออนุ ญาตตัดคันหิ น , การชี้ ระวังและรับรองแนวเขตที่ ดิน, การขอจดทะเบี ยนอาคารชุด , การขอจดทะเบี ยนนิ ติ บุคคลอาคารชุด, การขออนุญาตเปิ ดใช้อาคาร, การยินยอมให้ใช้สถานที่ประกอบการค้า, การให้ถอ้ ยคา ตลอดจนยืน่ และรับ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับกรมสรรพากร, การแจ้งความร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงานตารวจหรื อพนักงานสอบสวน ถอนคาร้องทุกข์ ประนีประนอมยอมความให้ถอ้ ยคา เป็ นต้น ให้นายเด่นดนัย หุตะจูฑะ หรื อ นายดรงค์ หุตะจูฑะ หรื อ นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อและประทับตราสาคัญของบริ ษทั รายละเอียดการเข้ าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริษัทในปี 2560-2561 มี ดังนี้ รายชื่ อคณะกรรมการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายสุวิช ล่าซา 2/ นายวิโรจน์ หุตะจูฑะ นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ1/ นายดรงค์ หุตะจูฑะ1/ นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว1/ น.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์ นายชัยวุฒิ จิตราคนี 2/ นางจิตติมา สัจจวานิช อินทุจนั ทร์ยง2/

จานวนครั้งที่เข้ าประชุ ม/ การประชุ มทั้งหมดภายหลังเข้ ารับตาแหน่ ง ปี 2560 ปี 2561 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5

หมายเหตุ : 1/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2557 2/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557

2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ มีจานวน 3 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่ อคณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายสุวิช

ล่าซา

ตาแหน่ ง ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 2. นายชัยวุฒิ จิตราคนี 3. นางจิตติมา สัจจวานิช อินทุจนั ทร์ยง กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

55


กรรมการตรวจสอบทั้ง 3 ท่าน มีคุณสมบัติในการเป็ นกรรมการตรวจสอบครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์ กาหนด และนายสุวชิ ล่าซา และนายชัยวุฒิ จิตราคนี เป็ นกรรมการตรวจสอบผูท้ ี่มีความรู ้ทางด้านบัญชีและการเงิน ทั้งนี้ นายสุวชิ ล่าซา เป็ นผูท้ ี่ดารงตาแหน่งทั้งในฐานะของประธานคณะกรรมการบริ ษทั และประธานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่ง อาจทาให้การทาหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบขาดความเป็ นอิสระ อย่างไรก็ตามโครงสร้างคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษทั ยังประกอบด้วยกรรมการอิสระอีกจานวน 2 ท่าน ซึ่งจะทาหน้าที่เข้าตรวจสอบการดาเนินงานของบริ ษทั และมี ความเป็ นอิสระเพื่อช่วยถ่วงดุลในการบริ หารจัดการของบริ ษทั ได้ รายละเอียดการเข้ าร่ วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบบริษัทในปี 2560 - 2561 มี ดังนี้ รายชื่ อคณะกรรมการตรวจสอบ1/ 1. นายสุวิช ล่าซา 2. นายชัยวุฒิ จิตราคนี 3. นางจิตติมา สัจจวานิช อินทุจนั ทร์ยง

จานวนครั้งที่เข้ าร่ วมการประชุม/จานวนการประชุ มทั้งหมด ปี 2560 ปี 2561 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4

หมายเหตุ : 1/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการตรวจสอบในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2558 เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2558

3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง มีจานวน 3 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่ อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง1/ ตาแหน่ ง 1. นายชัยวุฒิ จิตราคนี ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 2. นายประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง 3. นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว กรรมการบริ หารความเสี่ ยง หมายเหตุ : 1/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ หารความเสี่ ยงในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 16/2558 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2558

ทั้งนี้ ในปี 2561 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ได้เข้าร่ วมประชุมและทาหน้าที่ในการพิจารณาและบริ หารความ เสี่ ยงของบริ ษทั จานวน 1 ครั้ง ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2561

56


สรุปตารางอานาจอนุมตั ริ ายการทีส่ าคัญ เรื่ อง 1.การจัดทางบประมาณการลงทุน ประจาปี 2.การกูเ้ งินและออกตราสารหนี้ต่อครั้ง 3.การอนุมตั ิขอซื้อที่ดิน สิ นค้า การว่าจ้างก่อสร้ าง/การ ออกแบบ/การควบคุมงานก่อสร้าง และงานอื่นๆที่ เกี่ยวข้องกับโครงการ 4. การอนุมตั ิให้ส่วนลดราคาห้องชุดแก่กบั ลูกค้า

5. การอนุมตั ิขอซื้ อทรัพย์สินถาวร 6. การกาหนดเงื่อนไขและอัตราค่า Commission ขาย 7. การบริ จาคเพื่อกุศลสาธารณะ ตามงบประมาณต่อครั้ง

หมายเหตุ :

ประธานเจ้ าหน้ าที่ บริหาร ไม่เกิน 20.00 ล้านบาท ไม่เกิน 20.00 ล้านบาท

คณะกรรมการ บริหาร ไม่เกิน 50.00 ล้านบาท ไม่เกิน 50.00 ล้านบาท

คณะกรรมการ บริษทั  เกินกว่า 50.00 ล้านบาท เกินกว่า 50.00 ล้านบาท

ไม่เกิน 0.50 ล้านบาท หรื อไม่เกินร้อยละ 10.00 ของมูลค่าห้อง ชุดแล้วแต่ค่าใดจะต่า กว่า 0.50 – 2.00 ล้านบาท 0.10 – 0.40 ล้านบาท

กรณี อื่นๆ

-

2.00 – 5.00 ล้านบาท  0.40 – 1.00 ล้านบาท

เกินกว่า 5.00 ล้านบาท 1.00 – 2.00 ล้านบาท

ผู้ถือหุ้น

ไม่เกินกว่า ร้อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิ หลังภาษีรอบ บัญชี ปีก่อน หน้า

- อานาจอนุมตั ิดงั กล่าวเป็ นการพิจารณาต่อครั้ง - ตารางอานาจอนุมตั ิขา้ งต้นได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2559 (ครั้งแรกหลังแปรสภาพ) เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 - กรณี บริ ษทั จะเข้าทารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน อานาจอนุมตั ิจะต้องพิจารณาเกณฑ์การทา ”รายการที่เกี่ยวโยงกัน” ตามมาตรา 89/12 ของ พรบ. หลักทรัพย์ฯ และประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ.21/2551 และประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่ อง รายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ.2546 ควบคู่ดว้ ย - กรณี บริ ษทั จะเข้าทารายการซื้ อหรื อขายสิ นทรัพย์ของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย อานาจอนุมตั ิจะต้องพิจารณาเกณฑ์การทา “รายการได้มาจาหน่ายไปซึ่ ง สิ นทรัพย์” ตามมาตรา 89/29 ของ พรบ.หลักทรัพย์ฯ และประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ.20/2551 และประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่ อง การได้มา จาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ พ.ศ.2547 ควบคู่ดว้ ย

4. คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน มีจานวน 4 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่ อคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน1/

1. 2. 3. 4.

ตาแหน่ ง

นางจิตติมา

สัจจวานิช อินทุจนั ทร์ ยง

ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

นายชัยวุฒิ

จิตราคนี

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

นายเด่นดนัย

หุ ตะจูฑะ

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

นายศศิพงษ์

ปิ่ นแก้ว

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

หมายเหตุ : 1/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่16/2558 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2558

57


ทั้งนี้ ในปี 2561 คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ได้เข้าร่ วมประชุมและทาหน้าที่ในการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทนของบริ ษทั จานวน 1 ครั้ง ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2561 5.

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริ หาร มีจานวน 3 ท่าน ประกอบด้วย

รายชื่ อคณะกรรมการบริหาร 1. นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ 2. นายดรงค์ หุตะจูฑะ 3. นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว

ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร

คณะผู้บริหาร บริ ษทั มีผบู ้ ริ หารตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กจ. 17/2551 ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 (รวมส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) จานวน 5 ท่าน ประกอบด้วย 1.

ชื่ อ – สกุล นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ

2. 3. 4. 5.

นายศศิพงษ์ นายดรงค์ นายประเสริ ฐ น.ส.จีรยา

ปิ่ นแก้ว หุตะจูฑะ วรรณเจริ ญ อุดมวงศ์ทรัพย์

ตาแหน่ ง ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การสายงานขายและการตลาด (รักษาการ) ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารร่ วม / กรรมการผูจ้ ดั การสายงานวางแผนและควบคุม กรรมการผูจ้ ดั การสายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรรมการผูจ้ ดั การสายงานปฏิบตั ิการและนิติกรรม รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานบัญชีและการเงิน

หมายเหตุ : บริ ษทั อยูร่ ะหว่างการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม สาหรับการเข้ารับตาแหน่ งกรรมการผูจ้ ดั การสายงานขายและการตลาด โดยหากสรรหาได้แล้ว จะ ดาเนินการเพิ่มข้อมูลประวัติของบุคคลดังกล่าวเข้าระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ต่อไป

เลขานุการบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 18/2558 เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 และการประชุมคณะกรรมการ บริ ษทั ครั้งที่ 7/2559 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 (ครั้งแรกหลังแปรสภาพ) คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติแต่งตั้ง นายเจริ ญ บุญมโนทรัพย์ ให้ดารงตาแหน่งเลขานุการบริ ษทั โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่สาคัญ ดังนี้ 1. จัดทาและเก็บรักษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ 1.1. ทะเบียนกรรมการ 1.2. หนังสื อเชิญประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจาปี ของบริ ษทั 1.3. หนังสื อเชิญประชุมผูถ้ ือหุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสี ย ที่รายงานโดยกรรมการ หรื อผูบ้ ริ หาร

58


3. ดาเนิ นการให้กรรมการและผูบ้ ริ หารจัดทารายงานการมีส่วนได้เสี ย ตามมาตรา 89/14 แห่ งพ.ร.บ. หลักทรัพย์ของ ตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่ งเป็ นส่ วนได้เสี ยที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารจัดการกิจการของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยตามข้อกาหนดกฎหมาย 4. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสี ยที่รายงานโดยกรรมการหรื อผูบ้ ริ หาร และจัดส่งสาเนารายงานการมีส่วนได้เสี ย ตามมาตรา 89/14 ให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ ทราบภายในเจ็ด (7) วันทาการนับแต่ วันที่บริ ษทั ได้รับรายงานนั้น 5. จัดให้มีระบบการเก็บรักษาเอกสาร หรื อหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้ และดูแลให้มีการเก็บ รักษาให้ถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถตรวจสอบได้ซ่ ึ งเอกสารหรื อหลักฐานดังกล่าว เป็ นระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า สิ บ (10) ปี นับแต่วนั ที่มีการจัดทาเอกสารหรื อข้อมูลดังกล่าว 5.1. การเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานข้างต้น ให้หมายความรวมถึงการเก็บรักษาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หรื อ ระบบอื่นใดที่สามารถเรี ยกดูได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ 5.2. การให้ขอ้ มูลประกอบการขอมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 5.3. งบการเงิ นและรายงานเกี่ ยวกับฐานะการเงิ นและผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั หรื อรายงานอื่นใดที่ ตอ้ ง เปิ ดเผยตามมาตรา 56 มาตรา 57 มาตรา 58 หรื อ มาตรา 199 แห่งพ.ร.บ. หลักทรัพย์ 5.4. ความเห็นของบริ ษทั เมื่อมีผทู ้ าคาเสนอซื้อหุน้ ของบริ ษทั จากผูถ้ ือหุน้ เป็ นการทัว่ ไป 5.5. การให้ขอ้ มูลหรื อรายงานอื่นใดเกี่ยวกับกิจการที่บริ ษทั จัดทาขึ้นเพื่อเผยแพร่ ต่อผูถ้ ือหุน้ หรื อประชาชนทัว่ ไป ตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนกาหนด 6. ดาเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด 7. ให้ขอ้ มูล คาแนะนาและสื่ อสารเกี่ ยวกับข้อกฎหมาย ข้อควรปฏิ บตั ิ ตามหลักเกณฑ์ของทางการ ระเบี ยบ และ ข้อ บัง คับ ต่ า งๆ ของบริ ษ ัท กฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้อ งของสานัก งานคณะกรรมการก ากับหลัก ทรั พ ย์แ ละตลาด หลัก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย รวมถึ ง ความรู ้ ค วามเข้า ใจเกี่ ย วกับ Corporate Governance แก่กรรมการและส่ วนงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงดูแลติดตามให้บริ ษทั กรรมการ ผูบ้ ริ หารมีการปฏิบตั ิ ตามอย่างถูกต้องและสม่าเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี่ยนแปลงที่มีนยั สาคัญแก่กรรมการ 8. เป็ นผูต้ ิดต่อประสานต่างๆ รวมถึงแจ้งข้อมูลเกี่ ยวกับกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทยและสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 9. จัดเตรี ยมระเบียบวาระการประชุม หนังสื อเชิญประชุม รวมทั้งรายงานประจาปี เอกสารประกอบการประชุมผูถ้ ือ หุน้ และการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 10. จัดการประชุมผูถ้ ือหุ ้น และการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริ ษทั และข้อ พึงปฏิบตั ิที่ดี 11. ประสานงานกับผูถ้ ือหุน้ ในข้อเสนอต่างๆ เพื่อนามาให้คณะจัดการและผูบ้ ริ หารพิจารณา 12. เตรี ยมลาดับการประชุมผูถ้ ือหุน้ สาหรับประธานในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 13. เข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุน้ และดูแลให้การประชุมผูถ้ ือหุน้ เป็ นไปอย่างราบรื่ น ถูกต้องตามกฎหมาย

59


14. บันทึกรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ ้น และการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบตั ิตามมติที่ ประชุมผูถ้ ือหุน้ และที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 15. เก็บรักษาบันทึกเกี่ยวกับนโยบายต่างๆ และระเบียบต่างๆ ของบริ ษทั ที่ผา่ นการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้ ถูกต้องครบถ้วนและสามารถตรวจสอบได้ 16. ดูแลให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศในส่ วนที่ รับผิดชอบต่อหน่ วยงานที่กากับบริ ษทั ตามระเบี ยบ และข้อกาหนดของหน่วยงานทางการให้ขอ้ มูลและคาแนะนาแก่กรรมการและผูบ้ ริ หารในการจัดทารายงานต่างๆ ตามที่ กฎหมายหรื อกฎข้อบังคับต่างๆ ที่ กาหนดให้ตอ้ งมีการเปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื่อความโปร่ งใส เช่นการ รายงานการถือครองหลักทรัพย์ หมายเหตุ : เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบ้ ริ หาร ผูม้ ีอานาจควบคุมและเลขานุการบริ ษทั

ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริ ษทั มีนโยบายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารที่จูงใจในระดับที่เหมาะสม โดยคานึงถึงผลการดาเนินงานของ บริ ษทั เป็ นหลัก และความสอดคล้องกับธุรกิจ/อุตสาหกรรมเดียวกัน รวมถึงความเหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการและผูบ้ ริ หารแต่ละคน 1. ค่ าตอบแทนของกรรมการ ค่ าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงิน ค่ าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2561 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2561ได้มีมติกาหนดค่าตอบแทนกรรมการของ บริ ษทั ในปี 2561ในรู ปของค่าเบี้ยประชุม และค่าตอบแทนประจาปี รวมทั้งสิ้นเป็ นจานวนไม่เกิน 2 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้จ่าย จริ งไปดังนี้ คณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบ

เบีย้ ประชุมต่ อครั้ ง ประธานกรรมการ กรรมการ 20,000 15,000 15,000 10,000

ค่าตอบแทนรายเดือน ประธานรรมการ กรรมการ 15,000 12,000 15,000 12,000

สาหรับกรรมการที่ดารงตาแหน่งกรรมการตรวจสอบด้วย (ก) ให้ได้รับค่าตอบแทนรายเดือนเพียงตาแหน่งเดียว โดย ในกรณี ที่ค่าตอบแทนรายเดือนของทั้งสองตาแหน่งมีอตั ราเท่ากัน ให้ได้รับค่าตอบแทนรายเดื อนในตาแหน่งใดตาแหน่ง หนึ่ง แต่ในกรณี ที่ค่าตอบแทนดังกล่าวมีอตั ราไม่เท่ากัน ให้ได้รับค่าตอบแทนรายเดือนในตาแหน่งที่มีอตั ราสูงกว่า และ (ข) สาหรับเบี้ยประชุม หากมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษทั ในวันเดียวกัน ให้ได้รับเบี้ยประชุม เพียงตาแหน่ งเดี ยว โดยในกรณี ที่เบี้ ยประชุ มของทั้งสองตาแหน่ งมี อตั ราที่ เท่ากัน ให้ได้รับเบี้ ยประชุ มในตาแหน่ งใด ตาแหน่งหนึ่ง แต่ในกรณี ที่เบี้ยประชุมดังกล่าวมีอตั ราที่ไม่เท่ากัน ให้ได้รับเบี้ยประชุมในตาแหน่งที่มีอตั ราสู งกว่า หากการ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษทั มิได้มีข้ ึนในวันเดียวกัน ให้ได้รับเบี้ยประชุมของทั้งสองตาแหน่ง ในส่ วนของบาเหน็จ โบนัส หรื อผลตอบแทนในลักษณะอื่นใด คณะกรรมการบริ ษทั มีอานาจกาหนดและจัดสรรให้ สอคคล้องกับการเติบโตของรายได้ หน้าที่ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการแต่ละราย ทั้งนี้ ค่าตอบแทน ประจาปี 2561 ให้อยูภ่ ายในวงเงิน 2 ล้านบาท โดยให้คณะกรรมการได้รับค่าตอบแทนดังกล่าว ไปจนกว่าที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ จะได้มีมติเปลี่ยนแปลง

60


ทั้งนี้ สาหรับคณะกรรมการบริ ษทั ที่ดารงตาแหน่งพนักงานและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั จะไม่ได้รับค่าตอบแทนทั้งในรู ป ของค่าเบี้ยประชุมและค่าตอบแทนรายเดือน ค่ าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ สาหรับปี 2559-2561 สรุปดังต่ อไปนี้ รายชื่ อกรรมการ

ค่ าเบี้ย ประชุม 140,000 90,000 105,000 105,000

ปี 2559 ค่ าตอบแทน รายเดือน 75,000 50,000 50,000 50,000

รวม

ค่ าเบี้ย ประชุม 100,000 75,000 75,000 75,000

ปี 2560 ค่ าตอบแทน บาเหน็จ รายเดือน กรรมการ 180,000 100,000 144,000 100,000 200,000 200,000 200,000 144,000 100,000 144,000 100,000

380,000 319,000 200,000 200,000 200,000 319,000 319,000

ค่ าเบี้ย ประชุม 100,000 75,000 75,000 75,000

1,937,000

325,000

รวม

1.นายสุ วชิ ล่าซา 2/ 215,000 2.นายวิโรจน์ หุ ตะจูฑะ 140,000 3.นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ1/ 1/ 4.นายดรงค์ หุ ตะจูฑะ 5.นายศศิพงษ์ ปิ่ นแก้ว1/ 6.น.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์ 7.นายชัยวุฒิ จิตราคนี 2/ 155,000 8.นางจิตติมา สัจจวานิช 155,000 อินทุจนั ทร์ยง2/ รวม 440,000 225,000 665,000 325,000 612,000 1,000,000 หมายเหตุ : 1/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2557 2/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557

ปี 2561 ค่ าตอบแทน บาเหน็จ รายเดือน กรรมการ 180,000 100,000 144,000 100,000 185,000 185,000 185,000 100,000 144,000 100,000 144,000 100,000 612,000

1,055,000

2. ค่ าตอบแทนผู้บริหาร รายการ ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร จานวน 5 คน

ปี 2559 16,075,868

ปี 2560 18,823,586

ปี 2561 29,989,463

ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ประกอบด้วย เงินเดือน, โบนัส, เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน์พนักงานเมื่อ เกษียณอายุ และอื่นๆ อาทิ เช่นสวัสดิการค่าสาธารณูปโภค บ้านพักพนักงาน ค่ าตอบแทนอื่น

-ไม่ ม-ี

ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี 1.

ค่ าตอบแทนการสอบบัญชี บริ ษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนการตรวจสอบและสอบทานงบการเงินสาหรับงวดบัญชีปี 2561 ให้แก่ผสู ้ อบบัญชี โดยมีรายละเอียดค่าธรรมเนียมการสอบบัญชี ดังนี้ หน่วย : บาท ค่าตอบแทนการสอบบัญชี 1.ค่าสอบบัญชีประจาปี 2.ค่าสอบทานงบการเงินระหว่างกาล รวม

ปี 2561 800,000 750,000 1,550,000

ในปี 2561 บริ ษทั จ่ายค่าสอบทานงบการเงินระหว่างกาลและจ่ายค่าสอบบัญชีประจาปี ให้กบั บริ ษทั สยาม ทรู ธ สอบ บัญชี จากัด ทั้งนี้ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกับผูส้ อบบัญชีและสานักงานสอบบัญชีไม่เป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้อง กันกับบริ ษทั

61

รวม 380,000 319,000 185,000 185,000 185,000 100,000 319,000 319,000 1,992,000


2.

ค่ าบริการอื่น

ในปี 2561 บริ ษทั มีการจ่ายค่าบริ การอื่น (non-audit fee) ให้แก่ผสู ้ อบบัญชีเช่น ค่าเดินทาง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ เป็ นต้น จานวน 205,735.80 บาท บุคลากร จานวนพนักงานทั้งหมด จานวนพนักงานทั้งหมดของบริ ษทั (ไม่รวมผูบ้ ริ หาร) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2561 มีจานวนทั้งสิ้น 51 คน 70 คนและ 96 คน ตามลาดับ ประกอบด้วยพนักงานตามสายงานดังนี้ ฝ่ าย 31 ธ.ค. 2559 ฝ่ ายขายและการตลาด 7 ฝ่ ายจัดซื้อ 3 ฝ่ ายสถาปัตยกรรมออกแบบ 3 ฝ่ ายสถาปัตยกรรมบริ หารโครงการ 2 ฝ่ ายควบคุมงานก่อสร้าง 6 ฝ่ ายควบคุมวัสดุ 1 ฝ่ ายบุคคลและธุ รการ 1 ฝ่ ายบัญชี 8 ฝ่ ายการเงิน 2 ฝ่ าย IT 2 ฝ่ ายบริ การห้องพัก 3 ฝ่ ายนิติบุคคลอาคารชุด 3 ฝ่ ายประสานงานและนิติกรรม 3 ฝ่ ายปฏิบตั ิการ 6 เลขานุการบริ ษทั 1 รวม 51

31 ธ.ค. 2560 15 3 3 3 11 2 1 10 2 2 3 4 3 7 1 70

31 ธ.ค. 2561 15 2 5 2 15 1 4 11 2 4 14 9 3 8 1 96

ค่ าตอบแทนพนักงาน ค่าตอบแทนของพนักงานบริ ษทั (ไม่รวมผูบ้ ริ หาร) ในปี 2559 ถึง ปี 2561 มีจานวนรวม 23.48 ล้านบาท, 29.97 ล้าน บาทและ 46.67 ล้านบาท ตามลาดับ โดยเป็ นค่าตอบแทนในรู ปเงินเดือน โบนัส สวัสดิ การ โบนัส ประกันสังคม กองทุน สารองเลี้ยงชีพ เงินประกันสังคม ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ เป็ นต้น กองทุนสารองเลีย้ งชีพ บริ ษ ัท ได้จัด ตั้ง กองทุ น สารองเลี้ ย งชี พ เค มาสเตอร์ พูล ั น ด์ ซึ่ ง จดทะเบี ย นแล้ว ภายใต้ก ารจัด การของ บริ ษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิ กรไทย จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั จัดการกองทุน ตามพระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชี พ พ.ศ. 2530 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2559 โดยพนักงานที่เข้าร่ วมกองทุนสารองเลี้ยงชีพนั้น บริ ษทั จะ จ่ายเงินสมทบร้อยละ 2.00 ของเงินเดือนของพนักงานเข้ากองทุนสารองเลี้ยงชีพ และพนักงานจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนใน อัตราร้อยละ 2.00 ของเงินเดือนของพนักงานแต่ละราย ข้ อพิพาทด้ านแรงงานทีส่ าคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั ไม่มีขอ้ พิพาทด้านแรงงาน

62


การกำ ดูจแการ ลกิจการ การกากั�บกัดูบ แลกิ ส่ วนที่ 1 บทนา จริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) บริ ษทั จะปฏิบตั ิและดูแลให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจโดยถือปฏิบตั ิตามจริ ยธรรมธุรกิจ ดังต่อไปนี้ 1. ประกอบธุ ร กิ จด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ สุ จ ริ ต และด าเนิ น งานธุ รกิ จอย่า งมี ความรั บผิด ชอบต่ อ สัง คม ทั้ง ทาง กฎหมาย จรรยาบรรณ และมุ่งมัน่ ทาความดีต่อชุมชน สังคม และสิ่ งแวดล้อม 2. ปฏิบตั ิต่อลูกค้าอย่างเป็ นธรรมในเรื่ องของสิ นค้าและบริ การ โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ 3. ประกอบธุ รกิ จโดยมีระบบการดาเนิ นงานที่มีมาตรฐานและมีการควบคุมที่ดี ใช้ความรู ้ความสามารถอย่าง เต็มที่ ดว้ ยความระมัดระวัง ด้วยข้อมูลที่ เพียงพอและมีหลักฐานสามารถอ้างอิงได้รวมทั้งถือปฏิ บตั ิตามข้อ กฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่ งครัด 4. ไม่เปิ ดเผยข้อมูลของลูกค้าที่ได้ล่วงรู ้เนื่องจากการดาเนินธุรกิจ อันเป็ นข้อมูลที่ตามปกติวสิ ยั จะพึงสงวนไว้ไม่ เปิ ดเผย เว้นแต่เป็ นการเปิ ดเผย ตามหน้าที่และกฎหมาย 5. ให้ลูกค้าสามารถร้องเรี ยนเกี่ยวกับความไม่สมบูรณ์ของสิ นค้าและบริ การได้ 6. เปิ ดเผยข่าวสารข้อมูลของสิ นค้าและบริ การอย่างถูกต้องครบถ้วน 7. ปฏิ บตั ิตามข้อตกลงและเงื่อนไขต่างๆ กับลูกค้าอย่างเป็ นธรรม หากปฏิ บตั ิตามข้อตกลงหรื อเงื่ อนไขไม่ได้ ต้องรี บแจ้งให้ลูกค้าทราบ เพื่อหาทางออกร่ วมกัน ข้ อพึงปฏิบัตทิ างธุรกิจ (Code of Conduct) 1.

นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี

2.

ความสัมพันธ์ กบั ผู้ถือหุ้นของบริษัท ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่อสัตย์สุจริ ต การตัดสิ นใจใด ๆ ของคณะกรรมการบริ ษทั ต้องคานึงถึงผลประโยชน์ของ ผูถ้ ือหุน้ เป็ นหลัก และดาเนินการใด ๆ ด้วยความเป็ นธรรมต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกราย

3.

ข้ อพึงปฏิบัตเิ บื้องต้ นของคณะกรรมการบริษัท ต้องปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต โดยใช้ความรู ้ความสามารถ ประสบการณ์ทางานที่ เป็ นประโยชน์ต่อบริ ษทั อย่างเต็มที่ และสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี

4.

ข้ อพึงปฏิบัตเิ บื้องต้ นของกรรมการผู้จดั การใหญ่ /ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร กาหนดนโยบายทางธุรกิจของบริ ษทั เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริ ษทั ที่วางไว้ รักษาผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้น ลูกค้า และพนักงานของบริ ษทั เป็ นสาคัญ และสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี

บุ ค ลากรทุ ก ท่ า นต้อ งปฏิ บัติ งานตามนโยบายการก ากับดู แลกิ จการของบริ ษทั เพื่ อ แสดงให้เห็ นว่าบริ ษทั ให้ ความสาคัญกับการปกป้ องผลประโยชน์ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ ายทั้งผูถ้ ือหุน้ ลูกค้า และพนักงาน รวมถึงชื่อเสี ยงของ บริ ษทั

63


5.

นโยบายและการปฏิบัตติ ่ อพนักงาน บริ ษทั ให้ผลตอบแทนที่เป็ นธรรมต่อพนักงาน ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการทางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สินของพนักงาน ทาการแต่งตั้งและโยกย้ายพนักงาน รวมถึงการให้รางวัลและการลงโทษด้วยความสุจริ ต ใจ และตั้งอยูบ่ นพื้นฐานความรู ้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงาน ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาความรู ้ ความสามารถ และทัก ษะของพนัก งาน โดยให้โ อกาสอย่า งทั่ว ถึ ง และสม่ า เสมอ และปฏิ บัติ ต ามกฎหมายและ ข้อกาหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่ งครัด

6.

นโยบายในการปฏิบัตติ นของพนักงาน และการปฏิบัตติ ่ อพนักงานอื่น พนักงานทุ กคนต้องปฏิ บัติหน้าที่ ด้วยความมุ่งมัน่ ซื่ อตรง โปร่ งใส และสามารถตรวจสอบได้ งดเว้นการให้ ของขวัญที่มีมูลค่าสู งแก่ผบู ้ งั คับบัญชา หรื อรับของขวัญจากผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ทั้งนี้ ผูบ้ งั คับบัญชาพึงปฏิบตั ิตนให้เป็ น ที่เคารพนับถือของพนักงาน และพนักงานไม่พึงกระทาการใด ๆ อันเป็ นการไม่เคารพนับถือผูบ้ งั คับบัญชา พนักงาน ทุกคนต้องเคารพในสิ ทธิ ของพนักงานอื่น รวมทั้งฝ่ ายจัดการ เป็ นผูม้ ีวินัย และประพฤติปฏิ บตั ิตามกฎระเบียบของ บริ ษทั และประเพณี อนั ดีงาม ไม่ว่าจะระบุไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรหรื อไม่ก็ตาม ร่ วมสร้างและรักษาบรรยากาศแห่ ง ความสามัคคี และความเป็ นน้ าหนึ่ งใจเดี ยวกันในหมู่พนักงาน และหลี กเลี่ ยงการกระทาใด ๆ อันอาจกระทบต่อ ชื่อเสี ยงและภาพลักษณ์ของบริ ษทั หรื อเป็ นปั ญหาแก่บริ ษทั ในภายหลังได้

7.

นโยบายการกาหนดค่ าตอบแทนพนักงาน การก าหนดค่ า ตอบแทนพนัก งานจะมุ่ งเน้น ที่ ร ะบบการคิ ดค่า ตอบแทนและระบบสวัสดิ ก ารให้เ ป็ นไปตาม มาตรฐานของธุรกิจ เช่นเดียวกับการพัฒนาทักษะของพนักงาน และการกระตุน้ ขวัญกาลังใจ เพื่อให้การทางานของ พนักงานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและก่อให้เกิดประสิ ทธิผล นอกจากนี้ บริ ษทั ยังเปิ ดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่ วม ในการแสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาการทางาน รวมถึงกระตุน้ ให้เกิดการสร้างสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานในองค์กร

8.

ความสัมพันธ์ กนั ระหว่ างข้ อพึงปฏิบัตกิ บั กฎหมาย ข้อพึงปฏิบตั ิใด ๆ ของบริ ษทั ต้องปรับปรุ งให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎหมาย

9.

ลูกค้ า ส่ งมอบผลิตภัณฑ์และให้บริ การที่มีคุณภาพตรงตามหรื อสู งกว่าความคาดหมายของลูกค้าภายใต้เงื่ อนไขที่เป็ น ธรรม ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริ การที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันต่อเหตุการณ์แก่ลูกค้า โดยไม่มีการกล่าวเกิน ความเป็ นจริ งที่เป็ นเหตุให้ลูกค้าเข้าใจผิดเกี่ ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์หรื อบริ การนั้น ๆ รักษาความลับของลูกค้า และไม่นาไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ ติดต่อกับลูกค้าด้วยความสุ ภาพ มีประสิ ทธิภาพ และเป็ นที่ไว้วางใจได้ของลูกค้า รวมถึงการตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยความรวดเร็ ว และจัดให้มีระบบ และช่ อ งทางให้ ลู ก ค้า สามารถร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกับ คุ ณ ภาพและความปลอดภัย ของสิ น ค้า และบริ ก ารได้อ ย่ า งมี ประสิ ทธิภาพ

10. ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานต้องหลีกเลี่ยงการกระทาใด ๆ อันเป็ นการขัดผลประโยชน์ของบริ ษทั และบริ ษทั ต้องควบคุมดูแลไม่ให้เกิดการขัดแย้งซึ่งผลประโยชน์ระหว่างผูท้ ี่เกี่ยวข้องขึ้น ไม่วา่ ผูบ้ ริ หารหรื อพนักงานคนใดก็ตาม ไม่มีสิทธิ ที่จะกระทาการใด ๆ ที่ ขดั แย้งกับกฎหมายและข้อพึงปฏิ บตั ิของบริ ษทั การกระทาและการตัดสิ นใจของ ผูบ้ ริ หารหรื อพนักงานของบริ ษทั ต้องคานึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นก่อนผลประโยชน์ของตนเสมอ ใน การนี้ หากเกิ ด สถานการณ์ ที่ผ ลประโยชน์ข ัดกัน หรื อ เมื่ อกรรมการ ผูบ้ ริ ห าร และพนัก งานเข้า ไปเกี่ ยวข้องกับ

64


สถานการณ์ที่อาจนาไปสู่ ผลประโยชน์ขดั กัน ให้บุคคลดังกล่าวแจ้งผูบ้ งั คับบัญชา หรื อหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องทราบ เพื่อหาทางแก้ไขสถานการณ์น้ นั ๆ ด้วยความยุติธรรมและโปร่ งใส 11. ข้ อมูลภายในบริษัท บุคลากรทุกท่านของบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตามนโยบายการใช้ขอ้ มูลภายในของบริ ษทั 12. การแข่ งขัน บริ ษทั มุ่งมัน่ ที่ จะทาการค้าและแข่งขันทางธุ ร กิ จอย่างเสรี และเป็ นธรรม และในการเจรจาต่อรองทางธุ ร กิ จ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานต้องละเว้นจากการเรี ยก รับ หรื อจ่ายผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไม่สุจริ ตในการค้ากับคู่คา้ และ/หรื อ เจ้าหนี้ 13. การประชาสัมพันธ์ จะไม่มีการบิดเบือน ปกปิ ด และ/หรื อ แสดงข้อมูลที่เป็ นเท็จในการเผยแพร่ หรื อโฆษณาใด ๆ ออกสู่ สาธารณชน และดาเนินการเปิ ดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของบริ ษทั ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องกาหนด 14. บทบาททางสังคม และสิ่งแวดล้อม ส่ งเสริ มสนับสนุนให้กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานของบริ ษทั มีส่วนร่ วมและเป็ นส่ วนหนึ่งของสังคม โดยการ ดาเนิ นกิจกรรมเพื่อร่ วมสร้างสรรค์สังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อมอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน ทั้งที่ดาเนิ นการเองและร่ วมมือกับรัฐและชุมชน เนื่ องจากการเข้าไปมีส่วนร่ วมในกิจกรรมของสังคมจะเป็ นการช่วย พัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมซึ่ งจะส่ งผลต่อความสาเร็ จของบริ ษทั ในที่สุด และบริ ษทั มีนโยบายส่ งเสริ มกิจกรรมการ ดูแลรักษาธรรมชาติและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างสม่าเสมอ ตลอดจนขนบธรรมเนียม ประเพณี ทอ้ งถิ่น 15. การให้ หรื อรับของขวัญ หรื อการบันเทิง กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานต้องไม่เรี ยก รั บ หรื อยินยอมที่ จะรั บเงิ น สิ่ งของ หรื อประโยชน์อ่ืนใดจาก ผูเ้ กี่ยวข้องทางธุรกิจกับบริ ษทั อย่างไรก็ดี กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานอาจรับหรื อให้ของขวัญได้ตามประเพณี นิยม โดยการรับของขวัญนั้นจะต้องไม่ส่งผลต่อการตัดสิ นใจเชิงธุรกิจใด ๆ ของผูร้ ับ ทาด้วยความโปร่ งใส หรื อทาใน ที่เปิ ดเผย และสามารถเปิ ดเผยตรวจสอบได้ 16. การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการรายงานทางการเงิน ฝ่ ายจัดการของบริ ษทั มีความรับผิดชอบต่อการจัดทารายงานทางการเงินที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน และทันต่อเวลา ทั้งงบรายปี และรายไตรมาส ซึ่งจัดทาตามมาตรฐานบัญชีที่เป็ นที่ยอมรับ นอกจากนี้ ต้องจัดให้มีระบบการควบคุมและ ตรวจสอบภายในที่มีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อให้มน่ั ใจได้วา่ บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานและกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การตรวจสอบของผูต้ รวจสอบภายในและการสอบทานของคณะกรรมการตรวจสอบ 17. การติดตามดูแลให้ มกี ารปฏิบัติ การแจ้ ง และเปิ ดเผยถึงการกระทาผิด ประกอบด้วย 5 หลักการ ดังนี้ 17.1 บริ ษทั กาหนดเป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนที่จะต้องรับทราบ ทา ความเข้าใจ และปฏิบตั ิตามข้อพึงปฏิบตั ิทางธุรกิจอย่างเคร่ งครัด 17.2 มี บ ทก าหนดโทษและพิ จารณายกย่องสาหรั บผูท้ ี่ ไ ม่ปฏิ บัติตามและผูท้ ี่ ปฏิ บัติอ ย่า งเคร่ งครั ด สอดคล้องกับ นโยบายและข้อกาหนด บทลงโทษทางวินยั ตามข้อบังคับการทางาน

65


17.3 มีกระบวนการในการติดตาม สอบถาม และการรายงานกรณี สงสัยว่ามีการกระทาผิดข้อพึงปฏิบตั ิ หรื อการรับข้อ ร้องเรี ยน ตามช่องทางต่าง ๆ ตามลาดับลักษณะการกระทาผิดทางวินยั และผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับชั้น ดังนี้ ▪ ผูบ้ งั คับบัญชาตามสายงาน ▪ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ▪ คณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ในการรายงานกรณี สงสัยว่ามีการกระทาผิดข้อพึงปฏิบตั ิ หากเป็ นกรณี ไม่ร้ายแรงให้ดาเนินการแจ้งผูบ้ งั คับบัญชา ตามลาดับชั้น หรื อหากเป็ นกรณี ร้ายแรง ซึ่ งรวมถึงการทุจริ ต ฉ้อโกง ให้ดาเนิ นการแจ้งผูบ้ งั คับบัญชาระดับสู งสุ ดของฝ่ าย แต่หากกรณี ดงั กล่าวเกี่ยวข้องกับผูบ้ งั คับบัญชาระดับสูงสุดของฝ่ าย พนักงานอาจรายงานตรงถึงหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อที่หน่วยงานตรวจสอบภายในดังกล่าวจะดาเนินการพิจารณาตรวจสอบและรายงานผลให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบ ต่อไป 17.4 มี การรายงานการติ ดตามให้มีการปฏิ บตั ิ ตาม โดยหน่ วยงานตรวจสอบภายในรายงานต่อคณะผูบ้ ริ หาร และ คณะกรรมการตรวจสอบ 17.5 กาหนดให้มีการทบทวนข้อพึงปฏิบตั ิทางธุรกิจ ทุก 3 ปี หรื อกรณี ที่มีความเหมาะสมและจาเป็ น

ส่ วนที่ 2 นโยบายการกากับดูแลกิจการ บริ ษ ัท มี น โยบายการปฏิ บัติ ต ามข้อ พึ ง ปฏิ บัติ ที่ดี (Code of Best Practice) เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความโปร่ ง ใส และเป็ น ประโยชน์ต่อการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั อันจะทาให้เกิ ดความเชื่ อมัน่ ในกลุ่มผูถ้ ือหุ ้น ผูล้ งทุน และผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องทุกฝ่ าย ดังนั้น คณะกรรมการบริ ษทั จึงได้มีการกาหนดหลักการการกากับดูแลกิจการ ซึ่ งเป็ นการปฏิบตั ิตามแนวทางการกากับดูแล กิ จการที่ ดี ซึ่ งกาหนดโดยตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย โดยหลักการการกากับดู แลกิ จการของบริ ษทั ครอบคลุ ม หลักการ 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริ ษทั ตระหนักและให้ความสาคัญในสิ ทธิ พ้นื ฐานต่างๆ ของผูถ้ ือหุน้ ทั้งในฐานะของเจ้าของบริ ษทั และใน ฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย์ เช่น สิ ทธิ ในการซื้ อ ขายหรื อโอนหลักทรัพย์ที่ตนถืออยู่ สิ ทธิ ในการได้รับข้อมูลของบริ ษทั อย่างเพียงพอ สิ ทธิ ในการที่จะได้รับส่ วนแบ่งผลกาไรจากบริ ษทั สิ ทธิ ต่างๆ ในการประชุมผูถ้ ือหุน้ สิ ทธิ ในการแสดงความ คิดเห็น สิ ทธิในการร่ วมตัดสิ นใจในเรื่ องสาคัญของบริ ษทั เช่น การจัดสรรเงินปั นผล การแต่งตั้งหรื อถอดถอนกรรมการ การ แต่งตั้งผูส้ อบบัญชี การอนุมตั ิธุรกรรมที่สาคัญและมีผลต่อทิศทางในการดาเนินธุรกิจของบริ ษทั เป็ นต้น นอกเหนื อจากสิ ทธิ พ้ืนฐานต่างๆ ข้างต้นแล้ว บริ ษทั ยังได้ดาเนิ นการในเรื่ องต่างๆ ที่เป็ นการอานวยความสะดวกในการใช้ สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ดังนี้ 1. การประชุมผู้ถือหุ้น 1.1 บริ ษทั จะจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจาปี ภายในสี่ (4) เดื อนนับจากวันสิ้ นสุ ดรอบบัญชี ของแต่ละปี โดยจะ จัดส่งหนังสื อเชิญประชุม และข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ให้ผถู ้ ือหุน้ รับทราบล่วงหน้า 7 วัน ก่อนถึงวัน ประชุม ส่วนกรณี วาระสาคัญนั้นจะจัดส่งข้อมูลให้ผถู ้ ือหุน้ รับทราบล่วงหน้าสิ บสี่ (14) วัน ก่อนถึงวันประชุม เพื่อให้

66


ผูถ้ ือหุ ้นมีระยะเวลาในการพิจารณา ยกตัวอย่างวาระสาคัญ เช่น วาระเสนอผูถ้ ือหุ ้นเพื่ออนุมตั ิการเสนอขายหุ ้นที่ออก ใหม่ให้บุคคลในวงจากัด (PP) ในราคาต่า การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ให้กบั กรรมการและพนักงาน (ESOP) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเงินทุนของบริ ษทั การทารายการที่เกี่ยวโยงกัน การได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่มี นัยสาคัญ และการเพิกถอนหลักทรัพย์ เป็ นต้น และลงประกาศหนังสื อพิมพ์แจ้งวันเชิญประชุมล่วงหน้าเป็ นเวลาสาม (3) วันติดต่อกันก่อนที่จะถึงวันประชุม โดยในแต่ละวาระการประชุมจะมีความเห็นของคณะกรรมการประกอบไปด้วย 1.2 ในกรณี ที่ผถู ้ ือหุ ้นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุมด้วยตนเอง บริ ษทั เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการ อิสระหรื อบุคคลใดๆ เข้าร่ วมประชุมแทนตนได้ โดยใช้หนังสื อมอบฉันทะแบบใดแบบหนึ่งที่บริ ษทั ได้จดั ส่งไปพร้อม กับหนังสื อเชิญประชุม ก่อนการประชุมบริ ษทั เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ สามารถส่ งความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ข้อซักถาม ได้ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผ่านอีเมล์แอดแดรสของเลขานุการบริ ษทั ได้ ที่ charoen.b@rhombho.co.th 1.3 บริ ษทั มีนโยบายในการอานวยความสะดวกให้แก่ผถู ้ ือหุ ้น โดยเลือกสถานที่ในการจัดประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ซึ่ ง สะดวกแก่การเดินทาง รวมถึงวันเวลาที่เหมาะสมและจัดสรรเวลาในการประชุมอย่างเพียงพอ 1.4 ในการประชุ มบริ ษทั จะเปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นตั้งข้อซักถาม ให้ขอ้ เสนอแนะ หรื อแสดงความเห็ นต่อที่ ประชุมใน ประเด็นต่างๆ อย่างอิสระและเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ ในการประชุมผูถ้ ือหุ ้นจะมีกรรมการและผูบ้ ริ หารที่เกี่ยวข้องเข้าร่ วม ประชุมเพื่อตอบคาถามและให้ขอ้ มูลรายละเอียดในที่ประชุม 1.5 บริ ษทั จะจัดทารายงานการประชุมผูถ้ ือหุ ้นแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยภายในสิ บสี่ (14) วันนับแต่วนั ประชุมผูถ้ ือหุ ้นตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยและเผยแพร่ บนั ทึกรายละเอียดการประชุมอย่าง ครบถ้วนเหมาะสม 2. การแต่ งตั้งและถอดถอนกรรมการ รวมทั้งการกาหนดค่ าตอบแทนกรรมการ 2.1 การแต่งตั้งกรรมการ บริ ษทั จะเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นมีสิทธิ ในการเลือกตั้งกรรมการเป็ นรายบุคคล โดยเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการ แต่งตั้งเป็ นกรรมการในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ พร้อมแนบประวัติโดยย่อและข้อมูลที่เป้ นประโยชน์ของกรรมการแต่ละคน ที่จะเสนอแต่งตั้งต่อผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 2.2 การถอดถอนกรรมการ ในการถอดถอนกรรมการคนใดคนหนึ่ งออกจากตาแหน่ งก่อนถึงคราวออกตามวาระให้เป็ นไปตามที่ กฎหมาย กาหนดและข้อบังคับของบริ ษทั โดยต้องใช้คะแนนเสี ยงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3 ใน 4) ของจานวนผูถ้ ื อหุ ้นซึ่ งมา ประชุมและมีสิทธิ ออกเสี ยง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ ง ของจานวนหุ ้นที่ถือโดยผูถ้ ือหุ ้นที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสี ยง 2.3 การกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการ ผูถ้ ือหุ ้นมีสิทธิ ในการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ ทั้งที่เป็ นตัวเงินและ/หรื อมิใช่ตวั เงิน โดยจะมีวาระการ ประชุ ม เพื่อ ให้ผูถ้ ื อ หุ ้นพิ จารณาอนุ ม ัติเป็ นประจาทุ ก ปี รวมทั้ง น าเสนอหลัก เกณฑ์และนโยบายในการกาหนด ค่าตอบแทนและค่าตอบแทนของกรรมการในแต่ละตาแหน่ งทั้งที่ เป้ นตัวและและ/หรื อมิใช่ตวั เงิ นเพื่อให้ผูถ้ ื อหุ ้น รับทราบเป็ นประจาทุกปี ด้วย

67


3. สิ ทธิในการอนุมัตแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และกาหนดค่าสอบบัญชี บริ ษทั กาหนดให้การแต่งตั้งผูส้ อบบัญชี และกาหนดค่าสอบบัญชี ต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั ิโดยผูถ้ ือหุ ้นในการ ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี ทุกครั้ง ซึ่ งผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ต้องมีความเป็ นอิสระแบะเป็ นผูส้ อบบัญชีที่ได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยบริ ษทั จะแนบรายละเอียดเกี่ยวกับผูส้ อบ บัญชี ที่เสนอเข้ารับการแต่งตั้ง สานักงานสอบบัญชี ที่สังกัด ประสบการณ์ ความสามารถของผูส้ อบบัญชี ความเป็ น อิ สระของผูส้ อบบัญชี จานวนปี ที่ ผูส้ อบบัญชรายนั้นเป็ นผูส้ อบบัญชี ให้บริ ษทั (กรณี เสนอแต่งตั้งรายเดิ ม) และ ค่าบริ การของผูส้ อบบัญชี และ/หรื อ ค่าบริ การอื่น (ถ้ามี) ไปพร้อมกับหนังสื อเชิ ญประชุมและเผยแพร่ บนเว็บไซต์ บริ ษทั เพื่อให้ผถู ้ ือหุน้ สามารถพิจารณาความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชีก่อนพิจารณาอนุมตั ิ 4.

สิทธิในการรับส่ วนแบ่ งกาไร บริ ษทั กาหนดการจัดสรรส่ วนแบ่งกาไรให้ผถู ้ ือหุน้ ในรู ปของเงินปั นผล โดยต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั ิจากผูถ้ ือ หุน้ ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี หรื อการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ หรื อการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายที่เกี่ยข้องกาหนด

5.

สิทธิในการได้ รับข้ อมูล ข่ าวสาร ผลการดาเนินงาน และนโยบายการบริหารงานอย่ างสมา่ เสมอและทันเวลา บริ ษทั มีนโยบายในการเปิ ดเผยต่อผูถ้ ือหุน้ ด้วยความโปร่ งใส ถูกต้อง ครบถ้วน โดยไม่เลือกปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ กลุ่ม ใดกลุ่มหนึ่ ง ผูถ้ ือหุ ้นทุกคนมีสิทธิ เข้าถึงและได้รับข้อมูล ข่าวสาร ผลการดาเนินงาน และนโยบายการบริ หารงานของ บริ ษทั ที่เปิ ดเผยอย่างเพียงพอ สม่าเสมอ ทันเวลาและเท่าเทียมกัน โดยสามารถติดต่อบริ ษทั หรื อรับข้อมูลผ่านช่องทาง ติดต่อต่างๆ อาทิ เว็บไซต์บริ ษทั www.rhombho.co.th , Email : info@rhombho.co.th

หมวดที่ 2 การปฏิบัตติ ่ อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษทั มีนโยบายที่จะสร้างความเท่าเทียมกันให้เกิดขึ้นกับผูถ้ ือหุน้ ทุกราย โดยในการดาเนินการประชุมผูถ้ ือหุน้ แต่ละครั้ง บริ ษทั จะให้โอกาสแก่ผถู ้ ือหุน้ อย่างเท่าเทียมกันทุกราย โดยกาหนดให้สิทธิ ออกเสี ยงในที่ประชุมเป็ นไปตามจานวนหุน้ ที่ผถู ้ ือ หุน้ ถืออยู่ คือ หนึ่งหุน้ มีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสี ยง และในกรณี ที่ผถู ้ ือหุ ้นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุมด้วยตนเอง บริ ษทั เปิ ดโอกาสให้ ผูถ้ ือหุ ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระหรื อบุคคลใดๆ เข้าร่ วมประชุมแทนตนได้ โดยใช้หนังสื อมอบฉันทะแบบหนึ่ ง แบบใดที่บริ ษทั ได้จดั ส่ งไปพร้อมกับหนังสื อเชิญประชุม และบริ ษทั ได้บนั ทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้องและเหมาะสม ชัดเจนในสาระสาคัญ ภายหลังจากที่ได้จดั ส่ งรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แล้วหลังการประชุมเสร็ จสิ้นสิ บสี่ (14) วันเสมอ และได้เผยแพร่ รายงานการประชุมดังกล่าวไว้ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ด้วย นอกจากนี้ บริ ษทั ได้กาหนดมาตรการป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในโดยมิชอบ (Insider trading) ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่ ง หมายถึง กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายใน (รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะของบุคคลดังกล่าว) โดยห้ามบุคคลที่เกี่ยวข้องทาการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั เป็ นระยะเวลาอย่างน้อยสามสิ บ (30) วัน ก่อนมีการเปิ ดเผยงบการเงิ นรายไตรมาส และงบการเงิ นประจาปี และควรรอคอยอย่างน้อยยี่สิบสี่ (24) ชัว่ โมงภายหลังการ เปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทั้งห้ามไม่ให้เปิ ดเผยข้อมูลนั้นต่อบุคคลอื่นด้วย

68


บริ ษทั ได้ให้ขอ้ มูลแก่กรรมการ และผูบ้ ริ หารเกี่ ยวกับหน้าที่ที่ผบู ้ ริ หารต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริ ษทั และบท กาหนดโทษตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ใน กรณี ที่กรรมการ หรื อผูบ้ ริ หารมีการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริ ษทั ของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายในสาม (3) วัน ทาการ ให้สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทราบ เพื่อเผยแพร่ ต่อสาธารณะต่อไป หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มสี ่ วนได้ เสีย บริ ษทั ได้ให้ความสาคัญต่อสิ ทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายใน ได้แก่ พนักงานและ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั หรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายนอก เช่น คู่แข่ง คู่คา้ ลูกค้า เป็ นต้น โดยบริ ษทั ตระหนักดีวา่ การสนับสนุนและ ข้อคิดเห็นจากผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มจะเป็ นประโยชน์ในการดาเนิ นงานและการพัฒนาธุ รกิ จของบริ ษทั ดังนั้นบริ ษทั จะ ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สิทธิของผูม้ ีส่วนได้เสี ยดังกล่าวได้รับการดูแลเป็ นอย่างดี นอกจากนี้ บริ ษทั ยังส่ งเสริ มให้มีความร่ วมมือระหว่างบริ ษทั และกลุ่มผูม้ ีส่วนได้เสี ยแต่ละกลุ่ม เพื่อสร้างความมัน่ คง ให้แก่บริ ษทั ตามแนวทาง ดังต่อไปนี้ ผู้ ถื อ หุ้ น : บริ ษ ัท มุ่ง มัน่ เป็ นตัว แทนที่ ดีของผูถ้ ื อ หุ ้นในการดาเนิ น ธุ รกิ จ เพื่ อ สร้ า งความพึ งพอใจสู งสุ ดแก่ ผูถ้ ื อหุ ้น จึ ง กาหนดให้พนักงานต้องปฏิบตั ิตามแนวทางต่อไปนี้ -

ปฏิ บตั ิหน้าที่ ดว้ ยความซื่ อ สัตย์สุจริ ต ตลอดจนตัดสิ นใจดาเนิ นการใดๆ ด้วยความระมัดระวังรอบคอบและเป็ น ธรรมต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกราย เพื่อประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ โดยรวม

-

กากับดูแลการดาเนินการ เพื่อให้มน่ั ใจว่าบริ ษทั มีสถานะทางการเงินและผลการดาเนินงานที่ดี และมีการนาเสนอ รายงานสถานภาพของบริ ษทั ผลประกอบการ ฐานะข้อมูลทางการเงิน การบัญชีและรายงานอื่นๆ โดยสม่าเสมอ และครบถ้วนตามความเป็ นจริ ง โดยผ่านช่ องทางต่างๆ เช่ น การแจ้งข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั การ ประกาศทางหนังสื อพิมพ์ หรื อการส่งจดหมายเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เป็ นต้น

-

รายงานให้ผถู ้ ือหุ ้นทราบอย่างเท่าเทียมกันถึงแนวโน้มในอนาคตของบริ ษทั ทั้งในด้านบวกและด้านลบ ซึ่ งตั้งอยู่ บนพื้นฐานของความเป็ นไปได้ มีขอ้ มูลสนับสนุนและมีเหตุมีผลอย่างเพียงพอ

-

ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองและผูอ้ ื่น โดยใช้ขอ้ มูลใดๆ ของบริ ษทั ซึ่ งยังไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณะ หรื อ ดาเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั องค์กร

-

ปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกันในการประชุมผูถ้ ือหุน้

พนักงาน : บริ ษทั ตระหนักถึงความสาคัญของพนักงานบริ ษทั ซึ่ งเป็ นทรัพยากรที่มีค่ายิง่ บริ ษทั จึงกาหนดนโยบายให้มีการ ปฏิ บตั ิที่เป็ นธรรมทั้งด้านโอกาส ผลตอบแทน การแต่งตั้ง โยกย้าย ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพ โดยได้ยึดหลักปฏิ บัติ ดังต่อไปนี้ -

ปฏิบตั ิต่อพนักงานด้วยความเคารพในเกียรติ ศักดิ์ศรี และสิ ทธิส่วนบุคคล

-

รักษาสภาพแวดล้อมในการทางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สินของพนักงานอยูเ่ สมอ

69


-

การแต่งตั้งและโยกย้าย รวมถึงการให้รางวัลและการลงโทษพนักงาน กระทาด้วยความสุ จริ ตใจ และตั้งอยู่บน พื้นฐานของความรู ้ความสามารถและความเหมาะสมของพนักงานนั้น

-

ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาความรู ้ ความสามารถของพนักงาน อย่างสม่ าเสมอ อาทิ การจัดอบรมสัมมนา การ ฝึ กอบรม และให้โอกาสอย่างทัว่ ถึงกับพนักงานทุกคน

-

กาหนดค่าตอบแทนแก่พนักงานอย่างเป็ นธรรม ตามสภาพตลาด การแข่งขันทางธุ รกิ จลักษณะของงาน ผลการ ปฏิบตั ิงาน และความสามารถของบริ ษทั ในการจ่ายค่าตอบแทนดังกล่าว

-

หลีกเลี่ยงการกระทาใดๆ ที่ไม่เป็ นธรรม ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความมัน่ คงในหน้าที่การงานของพนักงาน

-

ให้พนักงานทุกคนรับทราบถึงนโยบายและสวัสดิการที่พนักงานพึงได้รับโดยมีคู่มือพนักงานซึ่ งกาหนดระเบียบ ข้อบังคับการทางาน ประกันสุขภาพแบบกลุ่ม การประกันชีวติ แบบกลุ่ม กองทุนสารองเลี้ยงชีพ เป็ นต้น

-

เปิ ดโอกาสให้พนักงานเสนอแนะหรื อร้องทุกข์เกี่ยวกับการทางาน และกาหนดวิธีการแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์ แก่ทุกฝ่ าย และสร้างความสัมพันธ์อนั ดีในการทางานร่ วมกัน

คู่แข่ ง : บริ ษทั มุ่งดาเนิ นธุ รกิ จโดยประสงค์ที่จะประสบความสาเร็ จอย่างยัง่ ยืน และเป็ นบริ ษทั ชั้นนาในธุ รกิ จ ภายใต้การ แข่งขันในอุตสาหกรรมอย่างมีคุณธรรมและจริ ยธรรม โดยมีหลักการปฏิบตั ิต่อคู่แข่งทางการค้าดังนี้ -

ประพฤติปฏิบตั ิภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี

-

ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็ นความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้วยวิธีการที่ไม่สุจริ ตหรื อไม่เหมาะสม เพื่อผลประโยชน์ใน การดาเนินธุรกิจของบริ ษทั

-

ไม่กล่าวหาในทางร้าย หรื อมุ่งทาลายชื่อเสี ยงแก่คู่แข่งทางการค้า

-

ไม่กระทาการใดๆ ที่เป็ นการละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาของผูอ้ ื่นหรื อคู่แข่งทางการค้า

คู่ค้า : บริ ษทั ปฏิบตั ิต่อคู่คา้ ตามกรอบการค้าที่สุจริ ต โดยยึดถือการปฏิบตั ิตามสัญญาและคามัน่ ที่ให้ไว้กบั คู่คา้ อย่างเคร่ งครัด พร้อมทั้งคัดเลือกคู่คา้ ด้วยความยุติธรรมภายใต้หลักเกณฑ์ในการประเมินและคัดเลือกคู่คา้ ของบริ ษทั เพื่อป้ องกันการทุจริ ต และประพฤติมิชอบในทุกขั้นตอนของกระบวนการจัดหา ลูกค้ า : บริ ษทั ตระหนักถึงความสาคัญของลูกค้า จึงได้กาหนดนโยบายในการปฎิบตั ิต่อลูกค้าดังนี้

70

-

บริ การลูกค้าด้วยความสุภาพ มีความกระตือรื อร้น พร้อมให้บริ การต้อนรับด้วยความจริ งใจ เต็มใจ ตั้งใจ และใส่ใจ รวมทั้งบริ การด้วยความรวดเร็ ว ถูกต้องและน่าเชื่อถือ

-

รักษาความลับของลูกค้า และไม่นาข้อมูลของลูกค้าไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ

-

ให้ขอ้ มูลข่าวสารที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันต่อเหตุการณ์แก่ลูกค้า เพื่อให้ทราบเกี่ยวกับสิ นค้าและบริ การ โดยไม่มี การโฆษณาที่เกินความเป็ นจริ งอันจะเป็ นเหตุให้ลูกค้าเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ หรื อเงื่อนไขใดๆของสิ นค้าและ บริ การของบริ ษทั

-

ให้คาแนะนาเกี่ยวกับสิ นค้าและบริ การของบริ ษทั อย่างมีประสิ ทธิภาพและเป็ นประโยชน์กบั ลูกค้าสูงสุด


เจ้ า หนี้ : บริ ษ ัท ยึด มัน่ ในการดาเนิ น ธุ ร กิ จอย่า งมี หลัก การและวินัย เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ ถื อ ให้กับเจ้า หนี้ โดยคานึ งถึ ง ผลประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่ เป็ นธรรมทั้งสองฝ่ าย หลี กเลี่ ยงสถานการณ์ ที่ ก่อให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การเจรจา แก้ปัญหาที่ ต้ งั อยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ทางธุ รกิ จ โดยมีแนว ทางการปฏิบตั ิดงั นี้ -

ไม่เรี ยก หรื อ รับ หรื อ จ่าย ผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริ ตกับเจ้าหนี้

-

กรณี ที่มีขอ้ มูลว่ามีการเรี ยก หรื อ รับ หรื อ จ่าย ผลประโยชน์ใดๆ ที่ ไม่สุจริ ตเกิ ดขึ้น ต้องเปิ ดเผยรายละเอียดต่อ เจ้าหนี้ และร่ วมกันแก้ไขปั ญหาโดยยุติธรรมและรวดเร็ ว

-

ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่ งครัด กรณี ที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้อใดได้ ต้องรี บแจ้งให้ เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้า เพื่อร่ วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปั ญหา

ชุมชนและสังคม : บริ ษทั ให้ความสาคัญกับชุมชนและสังคมโดยรอบ ด้วยตระหนักดีวา่ บริ ษทั เปรี ยบเสมือนเป็ นส่วนหนึ่ งที่ จะร่ วมก้าวเดินไปสู่การพัฒนาสังคมและสิ่ งแวดล้อมเพื่อความยัง่ ยืนสื บไป บริ ษทั จึงได้ดาเนินกิจกรรมเพื่อชุมชนและสังคม อย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการดาเนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมโดยรวม ดังนี้ -

มีนโยบายในการประกอบธุ รกิ จซึ่ งคานึ งถึงสภาพสิ่ งแวดล้อมเป็ นสาคัญ และปฏิ บตั ิตามกฎหมายและข้อบังคับ เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่บงั คับใช้อยูอ่ ย่างเคร่ งครัด

-

มีนโยบายการดาเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) อย่างชัดเจน และยึดถือปฏิบตั ิกนั ภายในองค์กร

-

ส่งเสริ มให้พนักงานของบริ ษทั มีจิตสานึกและความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม

-

เคารพต่อขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นที่บริ ษทั เข้าไปดาเนินธุรกิจ

-

ดาเนิ นกิ จกรรมเพื่อร่ วมสร้างสรรค์สังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อมอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ชุมชนที่บริ ษทั ตั้งอยูม่ ี คุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน ทั้งที่ดาเนินการเองและร่ วมมือกับหน่วยงานของภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน

-

ให้ความร่ วมมือในกิจกรรมต่างๆ กับชุมชนโดยรอบในพื้นที่ที่บริ ษทั เข้าไปดาเนินธุรกิจอยูต่ ามควรแก่กรณี

-

ตอบสนองอย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพต่อเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมชุมชน ชีวิตและทรัพย์สิน อันเนื่ องมาจากการดาเนิ นงานของบริ ษทั โดยให้ความร่ วมมืออย่างเต็มที่ กบั เจ้าหน้าที่ ภาครัฐ และหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้อง

หน่ วยงานของรัฐ : บริ ษทั มุ่งปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎระเบี ยบและข้อกาหนดต่างๆ ของทางราชการ ส่ งเสริ มการให้ความ ร่ วมมือและสนับสนุนมาตรการของรัฐและเอกชนในการต่อต้านการทุจริ ตคอรัปชัน่ และค่าใช้จ่ายที่ไม่เป็ นธรรม ทั้งนี้ บริ ษทั จะปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่ เกี่ ยวข้อง เพื่อให้สิทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ย เหล่านี้ได้รับการดูแลอย่างดี นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้กาหนดจรรยาบรรณและข้อพึงปฏิบตั ิสาหรับพนักงานเพื่อถือปฏิบตั ิดงั นี้ - พนักงานพึงปฏิบตั ิงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต อุตสาหะ ขยันหมัน่ เพียร และปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการทางานให้ ดียงิ่ ขึ้น ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ต่อตนเองและบริ ษทั - พนักงานพึงประพฤติปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับในการทางานของบริ ษทั โดยเคร่ งครัด - พนักงานพึงให้ความเคารพและเชื่อฟั งผูบ้ งั คับบัญชาที่ สั่งการโดยชอบ ตามนโยบาย และระเบียบข้อบังคับของ บริ ษทั

71


-

-

พนักงานพึงมีความสมัครสมานสามัคคีต่อกัน และเอื้อเฟื้ อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ซึ่งจะ นาไปสู่ความเสี ยหายต่อบุคคลอื่น และบริ ษทั พนักงานพึงเคารพสิ ทธิ และให้เกี ยรติ ซ่ ึ ง กันและกันหลี กเลี่ ยงการน าข้อมู ลหรื อเรื่ องราวของผูอ้ ื่ นทั้งในเรื่ อ ง เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงาน และเรื่ องส่ วนตัวไปเปิ ดเผยหรื อวิพากษ์วิจารณ์ในลักษณะที่จะก่อให้เกิดความเสี ยหายทั้ง ต่อพนักงาน และต่อบริ ษทั พนักงานพึงหลีกเลี่ยงการรับของขวัญใดๆ ที่ อาจทาให้ตนเองรู ้สึกอึดอัดในการปฏิ บัติหน้าที่ ในภายหน้า หาก หลีกเลี่ยงไม่ได้ให้แจ้งต่อผูบ้ งั คับบัญชาทราบในทันที พนักงานไม่ใช้ตาแหน่งหน้าที่ หรื อประโยชน์จากหน้าที่การงาน แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน หรื อพรรคพวก หรื อทาธุรกิจแข่งขันกับบริ ษทั พนักงานพึงปฏิบตั ิ ต่อลูกค้า คู่คา้ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต และด้วยความเสมอภาค พนักงานพึงรักษาความลับของลูกค้า คู่คา้ และองค์กรอย่างเคร่ งครัด พนักงานพึงรายงานเรื่ องที่ ได้รับทราบให้ผบู ้ งั คับบัญชาโดยมิชกั ช้า เมื่อเรื่ องที่รับทราบอาจมีผลกระทบต่อการ ดาเนินงาน หรื อชื่อเสี ยงของบริ ษทั พนัก งานพึ ง รั ก ษาดู แ ลสิ ท ธิ ประโยชน์ และทรั พ ย์สิน ของบริ ษทั ให้มีสภาพดี ให้ไ ด้ใ ช้ประโยชน์อ ย่างเต็มที่ ประหยัด มิให้สิ้นเปลือง สูญเปล่า เสี ยหาย หรื อเสื่ อมสลายก่อนเวลาอันสมควร

บทกาหนดโทษ กรณี ที่ฝ่ายบริ หารและพนักงาน ปฏิ บตั ิตนในลักษณะที่ ก่อให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ให้มีการ พิจารณาตามโครงสร้ างการจัดองค์กรของบริ ษทั และระเบี ยบข้อบังคับเกี่ ยวกับการทางาน ทั้งนี้ ให้แต่ละฝ่ ายงานเป็ นผู ้ พิจารณาในเบื้องต้นและสรุ ปเรื่ องส่ งต่อให้ผบู ้ งั คับบัญชาระดับสู งและสายงานที่เกี่ยวข้องต่อไป เพื่อตัดสิ นความผิดพร้อม ทั้งระบุโทษตามความเหมาะสม แต่หากความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นรุ นแรงและก่อให้เกิดความเสี ยหายเป็ นอย่าง มาก ไม่อาจอยูใ่ นวินิจฉัยของต้นสังกัดได้ ก็ให้นาเรื่ องเข้าสู่ ฝ่ายบริ หารของบริ ษทั เพื่อพิจารณาหาข้อสรุ ปและกาหนดโทษ ต่อไป การกาหนดโทษ 1. ตักเตือนด้วยวาจา 2. ตักเตือนด้วยหนังสื อ 3. ตัดค่าจ้าง 4. พักงาน 5. เลิกจ้าง โดยไม่จ่ายค่าชดเชย 6. ดาเนินคดีตามกฎหมาย

72


หมวดที่ 4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส บริ ษทั ตระหนักถึงความสาคัญของการเปิ ดเผยข้อมูลที่ มีความถูกต้องครบถ้วน และโปร่ งใส ทั้งรายงานข้อมูลทาง การเงินและข้อมูลทัว่ ไป ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ตลอดจนข้อมูลอื่นที่สาคัญที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริ ษทั ซึ่ งล้วนมีผลต่อ กระบวนการตัดสิ นใจของผูล้ งทุนและผูม้ ีส่วนได้เสี ยของบริ ษทั โดยบริ ษทั ได้เผยแพร่ ขอ้ มูลสารสนเทศของบริ ษทั ต่อผูถ้ ือ หุน้ นักลงทุน และสาธารณชนผ่านช่องทางและสื่ อต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงเว็บไซต์ของบริ ษทั คือ www.rhombho.co.th ในส่วนของงานด้านผูล้ งทุนสัมพันธ์น้ นั บริ ษทั ยังไม่ได้มีการจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะ อย่างไรก็ตาม ในเบื้องต้น บริ ษทั ได้มอบหมายให้ เลขานุการบริ ษทั ทาหน้าที่ติดต่อสื่ อสารกับผูล้ งทุน ผูถ้ ือหุน้ รวมทั้งนักวิเคราะห์และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินของบริ ษทั และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจาปี งบการเงินดังกล่าวจัดทาขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมกับ ลักษณะธุ รกิ จของบริ ษทั และถือปฏิบตั ิอย่างสม่ าเสมอ รวมทั้งมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอในงบการเงิ น ซึ่ งในการนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ นผูส้ อบทานคุณภาพของรายงานทางการเงิ นและระบบควบคุมภายใน รวมถึงการเปิ ดเผย ข้อมูลสาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้ างคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยบุคคลซึ่ งมีความรู ้ความสามารถ โดยเป็ นผูม้ ีบทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบาย และภาพรวมขององค์กร ตลอดจนมีบทบาทสาคัญในการกากับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั ให้ เป็ นไปตามแผนที่วางไว้อย่างเป็ นอิสระ โดยมีองค์ประกอบตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1.1 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งในสาม (1 ใน 3) ของกรรมการทั้งหมด แต่ตอ้ ง ไม่นอ้ ยกว่าสาม (3) คน ปั จจุบนั คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 8 คน ประกอบด้วยกรรมการอิสระจานวนสาม (3) คน 1.2 คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจานวนสี่ (4) ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ สรรหาและกาหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการบริ หาร เพื่อปฏิบตั ิหน้าที่เฉพาะ เรื่ องและเสนอเรื่ องให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาหรื อรับทราบ ซึ่ งคณะอนุ กรรมการแต่ละชุดมีสิทธิ หน้าที่ ตามที่ได้กาหนดไว้ในอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการแต่ละชุด 1.3 ในการประชุมสามัญประจาปี ทุกครั้ง ให้มีกรรมการออกจากตาแหน่งจานวนหนึ่ งในสาม (1 ใน 3) ของจานวน กรรมการทั้งหมด หากแบ่งให้ตรงเป็ นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกในจานวนใกล้เคียงกับจานวนหนึ่งในสาม (1 ใน 3) ของจานวนกรรมการทั้งหมดที่สุด โดยกรรมการที่ออกจากตาแหน่งนี้สามารถได้รับการเลือกตั้งให้กลับเข้ามารับ ตาแหน่งอีกได้ 1.4 บริ ษทั ได้กาหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระของบริ ษทั ให้ประกอบด้วยบุคคลผูม้ ีความรู ้ดา้ นบัญชี การเงิน และ ธุรกิจแขนงอื่นอย่างหลากหลาย เหมาะสม เพื่อให้สามารถปกป้ องผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้น และผูม้ ีส่วนได้เสี ย

73


อื่นๆของบริ ษทั นอกจากนี้ ยังครอบคลุมคุณสมบัติที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดของสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1.5 บริ ษทั ได้แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั กับ ผูบ้ ริ หารอย่างชัดเจน โดย คณะกรรมการบริ ษทั ทาหน้าที่ในการกาหนดนโยบายและกากับดูแลการดาเนินงานของผูบ้ ริ หารในระดับนโยบาย ขณะที่ ผูบ้ ริ หารทาหน้าที่ บริ หารงานของบริ ษทั ในด้านต่างๆ ให้เป็ นไปตามนโยบายที่ กาหนด ดังนั้นบริ ษทั จึ ง กาหนดให้ประธานกรรมการบริ ษทั และ กรรมการผูจ้ ดั การเป็ นบุคคล คนละคน โดยทั้งสองตาแหน่งต้องผ่านการ คัดเลือกจากคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้ได้บุคคลที่ มีความเหมาะสมที่สุด ทั้งนี้ บริ ษทั มี เลขานุ การบริ ษทั ซึ่ งทาหน้าที่ ให้การสนับสนุ นงานของคณะกรรมการบริ ษทั ในด้านที่ เกี่ ยวข้องกับ กฎระเบียบ จัดการเรื่ องการประชุมกรรมการ และคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง และการประชุมผูถ้ ือ หุ ้นให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อ บังคับของบริ ษทั และข้อพึงปฏิ บตั ิที่ดี รวมทั้งการจัดทาและเก็บรักษาทะเบี ยนกรรมการ หนังสื อเชิญประชุมผูถ้ ือหุ ้น รายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ รวมทั้งเก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสี ยที่รายงานโดยกรรมการ หรื อผูบ้ ริ หาร และดาเนิ นการอื่นๆ ตามที่ คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศกาหนด พร้อมทั้ง จัดส่ งสาเนารายงานการมีส่วนได้เสี ยซึ่ งจัดทาโดยกรรมการให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบ ภายใน 7 วันทาการนับแต่วนั ที่บริ ษทั ได้รับรายงานนั้น 2.

บทบาท หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยบุคคลที่มีความรู ้ ทักษะและความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย และมีภาวะผูน้ า ซึ่ งเป็ นที่ ยอมรับ โดยคณะกรรมการบริ ษทั จะมีส่วนร่ วมในการกาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ นโยบายแนวทางในการประกอบ ธุรกิจ และกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ และเพื่อประโยชน์ในการติดตามและกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั อย่างใกล้ชิด คณะกรรมการบริ ษทั จึ งได้จดั ตั้ง คณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อติดตามและดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของประธานกรรมการ ประธานกรรมการมีบทบาทหน้าที่กากับดูแลการใช้นโยบาย และแนวทางปฏิบตั ิงานเชิงกลยุทธ์ของฝ่ ายจัดการ รวมทั้ง ให้คาแนะนาและสนับสนุนการดาเนินธุรกิจของฝ่ ายจัดการ แต่ไม่มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานประจาของบริ ษทั ฯ ประธาน กรรมการเป็ นผูท้ าหน้าที่เป็ นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ และสนับสนุนให้กรรมการทุก คนมีส่วนร่ วมในการประชุม ตลอดจนดูแลให้การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้นดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จนสาเร็ จลุล่วง ซึ่งบทบาทหลักที่สาคัญของประธานกรรมการบริ ษทั มีดงั นี้ ▪ สนับสนุ นให้มีการปฏิ บตั ิงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพในคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกากับ ดูแลกิจการที่ดี ▪ สนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่ วมของกรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หารและกรรมการอิสระใน กิจกรรมและกระบวนการทางการตัดสิ นใจของคณะกรรมการบริ ษทั ▪ สนับสนุนให้มีการประเมินและพัฒนาผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบิษทั อย่างสม่าเสมอ ▪ เป็ นประธานในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และการประชุมผูถ้ ือหุน้ รวมทั้งกาหนดวาระการประชุมร่ วมกับ เลขานุการบริ ษทั โดยเปิ ดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนสามารถเสนอเรื่ องต่างๆ เพื่อเข้ารับการพิจารณาเป็ นวาระ การประชุมได้

74


▪ เป็ นผูล้ งคะแนนเสี ยงชี้ ขาดในกรณี ที่ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ มีการลงคะแนนเสี ยง และคะแนนเสี ยง 2 ฝ่ ายเท่ากัน ▪ จัดให้คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับข้อมูลที่เพียงพอ สาหรับการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ▪ จัดให้มีช่องทางที่มีประสิ ทธิภารพในการติดต่อระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หารและผูถ้ ือหุน้ ▪ แต่งตั้งเลขานุการบริ ษทั เพื่อสนับสนุนการทางานของคณะกรรมการบริ ษทั หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง ความซื่อสัตย์สุจริ ต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริ ษทั และให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริ ษทั ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ รวมถึงข้อบังคับ ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยและสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ให้เป็ นไป ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี 2. มีหน้าที่กาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย เป้ าหมาย แผนงาน กลยุทธ์ทางธุรกิจ และงบประมาณประจาปี และทิศทางการ ดาเนิ นงานของบริ ษทั และกากับควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริ หารดาเนิ นการให้เป็ นไปตามนโยบายที่ กาหนดไว้ อย่างมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่ผถู ้ ือหุน้ และการเติบโตอย่างยัง่ ยืน 3. ควบคุ ม กากับ ดู แล ติ ดตามผลการดาเนิ นงาน ให้ฝ่ายจัดการดาเนิ นการให้เป็ นไปตามนโยบายและงบประมาณที่ กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิภาพ รวมทั้งพิจารณาทบทวนนโยบาย แผนงาน และงบประมาณดังกล่าวอย่างสม่าเสมอ 4. รั บ ผิ ด ชอบต่อ ผูถ้ ื อ หุ ้น โดยสม่ า เสมอ ด าเนิ น งานโดยรั ก ษาผลประโยชน์ข องผูถ้ ื อ หุ ้น มี ก ารเปิ ดเผยข้อมูลที่ เป็ น สาระสาคัญต่อผูล้ งทุนอย่างถูกต้องครบถ้วน มีมาตรฐานและโปร่ งใส 5. ประเมินผลการปฏิบตั ิงานและกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการ และผูบ้ ริ หารระดับสูง 6. รั บผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิ บัติหน้าที่ ของฝ่ ายบริ หาร โดยให้มีความตั้งใจและระมัดระวัง ในการ ปฏิบตั ิงาน 7. กากับดู แลให้มีการก าหนดเป้ าหมายการดาเนิ นธุ รกิ จที่ ชัดเจน และวัดผลได้ เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการก าหนด เป้ าหมายในการปฏิบตั ิงาน โดยพิจารณาถึงความเป็ นไปได้ และสมเหตุสมผล 8. กากับดูแลให้มีการดาเนินธุรกิจ และปฏิบตั ิงานอย่างมีจริ ยธรรม 9. กากับดูแลให้ฝ่ายบริ หารมีระบบการบริ หารความเสี่ ยงอย่างเหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ 10. พิจารณาตัดสิ นในเรื่ องที่มีสาระสาคัญ เช่น นโยบายและแผนธุรกิจโครงการลงทุนขนาดใหญ่ อานาจการบริ หาร การ ได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน และรายการอื่นใดที่กฎหมายกาหนด 11. กาหนดอานาจและระดับการอนุมตั ิในการทาธุรกรรม และการดาเนิ นการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานของบริ ษทั ให้คณะ หรื อบุคคลตามความเหมาะสม และให้เป็ นไปตามข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยจัดทาเป็ นคู่มืออานาจดาเนินการ และให้ มีการทบทวนอย่างน้อยปี ละ1 ครั้ง 12. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิ นและการสอบบัญชี ที่เชื่ อถือได้ รวมทั้งดูแลจัดให้มีกระบวนการในการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน

75


13. จัดให้มีการทางบดุ ลและงบกาไรขาดทุ นของบริ ษทั ณ วันสิ้ นสุ ดรอบระยะเวลาบัญชี ของบริ ษทั ซึ่ งผูส้ อบบัญชี ตรวจสอบแล้วนาเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาและอนุมตั ิ 14. รั กษาผลประโยชน์ ข องผูถ้ ื อ หุ ้น ด าเนิ น การให้บ ริ ษ ัท มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภา ยในที่ มี ประสิ ทธิผล และควบคุมให้มีการกากับดูแลให้มีการเปิ ดเผยข้อมูล รวมทั้งจัดทารายงานต่างๆ ให้ถูกต้องครบถ้วนและ เป็ นไปตามเกณฑ์ที่กฎหมาย ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรื อ ระเบี ยบที่ เกี่ ยวข้องของสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 15. รับทราบรายงานการตรวจสอบที่สาคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ หรื อฝ่ ายตรวจสอบภายใน รวมทั้งตรวจสอบ บัญชี และที่ปรึ กษาฝ่ ายต่างๆ ของบริ ษทั และมีหน้าที่กาหนดแนวทางในการปรับปรุ งแก้ไข 16. พิจารณาโครงสร้างการบริ หารงาน แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หาร กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ตามความเหมาะสม 17. จัดให้มีการประชุมผูถ้ ือหุน้ สามัญประจาปี ภายใน 4 เดือน นับแต่วนั สิ้นสุดของรอบปี บัญชีของบริ ษทั 18. ให้ความเห็นชอบในการเสนอแต่งตั้งผูส้ อบบัญชี และพิจารณาค่าสอบบัญชีประจาปี เพื่อนาเสนอต่อผูถ้ ือหุ ้นในการ พิจารณาอนุมตั ิแต่งตั้ง 19. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการในการจัดทารายงานทางการเงิ นโดยแสดงควบคู่กบั รายงานของผูส้ อบ บัญชีไว้ในรายงานประจาปี และครอบคลุมในเรื่ องสาคัญๆ ตามนโยบายข้อพึงปฏิบตั ิที่ดีสาหรับกรรมการบริ ษทั จด ทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 20. มีอานาจแต่งตั้ง มอบหมาย หรื อแนะนาให้อนุกรรมการหรื อคณะทางานเพื่อพิจารณาหรื อปฏิบตั ิในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งที่ คณะกรรมการบริ ษทั เห็นสมควร 21. กากับดูแลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ให้เป็ นไปตามกฎบัตรที่กาหนดไว้ 22. มีอานาจพิจารณาและอนุ มตั ิเรื่ องใดๆ ที่ จาเป็ น และเกี่ ยวเนื่ องกับบริ ษทั หรื อที่ เห็ นว่าเหมาะสมเพื่อประโยชน์ของ บริ ษทั 23. มอบอานาจให้กรรมการคนหนึ่ งคนใดหรื อหลายคนหรื อบุคคลอื่นกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ งแทนคณะกรรมการ บริ ษทั ทั้งนี้การมอบอานาจดังกล่าว ผูไ้ ด้รับมอบอานาจนั้นต้องไม่มีอานาจอนุมตั ิรายการที่บุคคลดังกล่าวหรื อบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง (“บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง” ให้มีความความหมายตามที่กาหนดไว้ในประกาศของคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และหลักทรัพย์ และ/หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง) มีส่วนได้เสี ยหรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในลักษณะอื่นใดกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย (ถ้ามี) เว้นแต่เป็ นการอนุ มตั ิรายการที่เป็ นลักษณะการดาเนิ นธุ รกรรมที่ เป็ นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้อนุมตั ิไว้ ซึ่ งเป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรื อข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยหรื อสานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

76


หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานรายงานทางการเงินเพื่อให้มนั่ ใจว่า มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ โดย การประสานงานกับผูส้ อบบัญชี ภายนอก และผูบ้ ริ หารที่รับผิดชอบจัดทารายงานทางการเงินประจาปี และรายไตร มาส 2. สอบทานระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ให้มีความเหมาะสมและมีประสิ ทธิ ผล โดยอาจเสนอแนะให้มีการสอบ ทานหรื อตรวจสอบรายการใดที่เห็นว่าจาเป็ นและเป็ นสิ่ งสาคัญ พร้อมทั้งนาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุ งแก้ไข ระบบการควบคุมภายในที่สาคัญและจาเป็ นเสนอคณะกรรมการบริ ษทั โดยสอบทานร่ วมกับผูส้ อบบัญชีภายนอก และ ผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบระบบงานภายใน 3. สอบทานการปฏิ บตั ิ ตาม พ.ร.บ.หลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ พ.ศ. 2535 รวมถึ งประกาศ ข้อบังคับ และ/หรื อ ระเบี ยบของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั 4. พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่ งมีความเป็ นอิสระทาหน้าที่ผสู ้ อบบัญชี เพื่อให้ดาเนินการตรวจสอบบัญชี ระบบควบคุม และงบการเงินของบริ ษทั โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจและความรับผิดชอบในการคัดเลื อก ประเมินผล เสนอค่าตอบแทน และกากับดูแลการทางานของผูส้ อบบัญชี หรื อการดาเนินการตรวจสอบอื่นใด รวมถึง สอบทาน หรื อให้ความเชื่อมัน่ บริ ษทั ของผูส้ อบบัญชีต่อคณะกรรมการบริ ษทั ผูต้ รวจสอบบัญ ชี และสานักงานสอบบัญชี แ ต่ล ะแห่ ง จะรายงานตรงต่ อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบมีอานาจในการอนุมตั ิเงื่อนไขและค่าบริ การเบื้องต้นสาหรับบริ การด้านการตรวจสอบและบริ การอื่นที่เสนอโดยผู ้ ตรวจสอบบัญชี ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะให้คาแนะนาต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อเสนอต่อผูถ้ ือหุ ้นในการประชุมสามัญ ประจาปี ผูถ้ ือหุน้ เพื่ออนุมตั ิแต่งตั้งผูต้ รวจสอบบัญชีและค่าบริ การตรวจสอบบัญชี 5. ประชุมหารื อร่ วมกับผูบ้ ริ หารและผูต้ รวจสอบบัญชีตามความเหมาะสม เกี่ยวกับปั ญหาและข้อจากัดในการตรวจสอบ รวมถึงการดาเนินการของฝ่ ายบริ หารต่อปั ญหาหรื อข้อจากัดนั้นๆ และนโยบายการบริ หารและการประเมินความเสี่ ยง ของบริ ษทั รวมถึ งความเสี่ ยงทางการเงิ นที่ สาคัญและมาตรการของฝ่ ายบริ หารในการควบคุ มและลดความเสี่ ยง ดังกล่าว นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบยังต้องดาเนินการแก้ไขความขัดแย้งใดๆ ระหว่างผูบ้ ริ หารกับผูส้ อบบัญชี ที่เกี่ยวข้องกับรายงานทางการเงิน รวมทั้งเข้าร่ วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วยอย่าง น้อยปี ละ 1 ครั้ง 6. ส่ งเสริ มและสร้างความมัน่ ใจเกี่ยวกับความเป็ นอิสระของผูส้ อบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบต้องหารื อกับผูส้ อบ บัญชีเกี่ยวกับความเป็ นอิสระจากฝ่ ายบริ หารและบริ ษทั รวมถึงความสัมพันธ์ใดๆ หรื อบริ การใดๆ ระหว่างผูส้ อบบัญชี กับบริ ษทั ตลอดจนความสัมพันธ์อื่นใดที่อาจส่งผลกระทบต่อความเที่ยงธรรมของผูส้ อบบัญชี 7. สอบทานรายงานทางการเงินของบริ ษทั มาตรฐานการบัญชี และนโยบายบัญชี และการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเกี่ยวกับ มาตรฐานบัญชี หลักการ หรื อแนวทางปฏิบตั ิ รวมถึงการตัดสิ นใจทางบัญชีที่สาคัญ ที่ ส่งผลกระทบต่อรายงานทาง การเงินของบริ ษทั ซึ่งรวมถึงทางเลือก ความสมเหตุสมผล และผลของการตัดสิ นใจดังกล่าว 8. พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ ให้เ ป็ นไปตามกฎหมายและ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สูงสุดต่อบริ ษทั และมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน 9. สอบทานและอนุ ม ัติหรื อให้สัตยาบันในธุ รกรรมใดๆ ระหว่า งบริ ษทั กับบุ คคลที่ เกี่ ยวข้อง ซึ่ ง เป็ นธุ ร กรรมที่ ถูก กาหนดให้เปิ ดเผยข้อมูลตามกฎเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

77


10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.

17.

18. 19.

20.

78

สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ตามวิธีการและมาตรฐานที่ยอมรับโดยทัว่ ไป สอบทานให้บริ ษทั มีระบบการบริ หารความเสี่ ยงที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ รายงานผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ให้คณะกรรมการบริ ษทั ทราบอย่างน้อยปี ละ 4 ครั้ง ร่ วมให้ความเห็นในการพิจารณาแต่งตั้ง ถอดถอน ประเมินผลงานของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขตหน้าที่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจเชิญให้ฝ่ายจัดการ ผูบ้ ริ หาร หรื อพนักงาน ของบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องมาให้ความเห็น เข้าร่ วมประชุมหรื อส่งเอกสารที่เห็นว่าเกี่ยวข้องหรื อจาเป็ น ให้มีอานาจว่าจ้างที่ ปรึ กษา หรื อบุคคลภายนอก ตามระเบี ยบของบริ ษทั มาให้ความเห็ นหรื อให้คาปรึ กษาในกรณี จาเป็ น จัดทารายงานการกากับดูแลกิ จการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ซึ่ ง รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก. ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั ข. ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษทั ค. ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั ง. ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี จ. ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ฉ. จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่ วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ช. ความเห็นหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบตั ิหน้าที่ตาม ซ. กฎบัตร (Charter) ฌ. รายการอื่นใดที่เห็นว่าผูถ้ ือหุ ้นและผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบต้องประเมินผลการปฏิบตั ิงานโดยการประเมินตนเอง และรายงานผลการประเมินพร้อมทั้ง ปั ญหาอุปสรรคในการปฏิบตั ิงานที่อาจเป็ นเหตุให้การปฏิบตั ิงานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ในการจัดตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบให้คณะกรรมการบริ ษทั ทราบทุกปี พิจารณาทบทวนและปรับปรุ งกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ในกรณี ที่พบหรื อมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรื อการกระทา ซึ่ งอาจมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อฐานะการเงิน และผล การดาเนินงานของบริ ษทั เช่น รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ข้อสงสัย หรื อสันนิษฐานว่าอาจมีการทุจริ ต หรื อมีสิ่งผิดปกติ หรื อมีความบกพร่ องที่สาคัญในระบบการควบคุมภายใน การฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรั พย์ ข้อกาหนดตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย เป็ นต้น ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษทั เพื่อดาเนิ นการปรับปรุ งแก้ไขภายในระยะเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็ นสมควร หาก คณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารไม่ดาเนิ นการให้มีการปรับปรุ งแก้ไขภายในเวลาตามที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็ น สมควร กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่ งอาจรายงานว่า มี ร ายการหรื อ การกระท าดัง กล่ า วต่ อ สานัก งาน คณะกรรมการกาหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดูแลให้บริ ษทั มีช่องทางการรับแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรี ยนต่างต่างๆ เกี่ยวกับรายงานในงบการเงินที่ไม่เหมาะสมหรื อ ประเด็นอื่น โดยทาให้ผูแ้ จ้งเบาะแสมัน่ ใจว่า มี กระบวนการสอบทานที่ เป็ นอิ สระ และมี การดาเนิ นการติ ดตามที่ เหมาะสม


21. ในกรณี จาเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบสามารถขอคาปรึ กษาจากที่ ปรึ กษาภายนอก หรื อ ผูเ้ ชี่ ยวชาญทางวิชาชี พ เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ โดยบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าใช้จ่ายตามระเบียบของบริ ษทั 22. ปฏิ บตั ิงานอื่นตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมายภายในขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาละพิจารณาค่ าตอบแทน 1. ด้ านการสรรหา 1.1. กาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหากรรมการบริ ษทั และกรรมการชุดย่อย โดยพิจารณาความเหมาะสม ของจานวน โครงสร้ าง และองค์ประกอบของคณะกรรมการ กาหนดคุ ณสมบัติของกรรมการ เพื่อเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อ เสนอขออนุมตั ิต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ แล้วแต่กรณี 1.2. พิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสมให้ดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั และกรรมการชุดย่อย ที่ ครบวาระ และ/หรื อมีตาแหน่งว่างลง และ/หรื อแต่งตั้งเพิ่ม แล้วแต่กรณี 1.3. พิจารณาสรรหา และคัดเลื อกผูบ้ ริ หารของบริ ษทั โดยเฉพาะตาแหน่ งกรรมการผูจ้ ัด การใหญ่ หรื อประธาน เจ้าหน้าที่บริ หาร 1.4. กากับดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษทั พิจารณาทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการ ที่ ดีของบริ ษทั ทุ กๆ ปี รวมทั้งเสนอปรั บปรุ งแก้ไขนโยบายการกากับดู แลกิ จการของบริ ษทั ให้คณะกรรมการ พิจารณา 1.5. จัดทา ทบทวน และสรุ ปผลการจัดทาแผนการสื บทอดงานและความต่อเนื่ องในการบริ หารที่ เหมาะสมสาหรับ ตาแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นประจาทุกปี และรายงานให้คณะกรรมการบริ ษทั รับทราบ 1.6. ปฏิบตั ิการอื่นใดเกี่ยวกับการสรรหาตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย 2.

ด้ านการพิจารณาค่ าตอบแทน 2.1 จัดทาหลักเกณฑ์และนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษทั กรรมการชุดย่อย และผูบ้ ริ หาร เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อเสนอขออนุมตั ิต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ แล้วแต่กรณี 2.2 กาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสมทั้งที่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินของคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นรายบุคคล โดยการก าหนดค่ า ตอบแทนของคณะกรรมการ และผู ้บ ริ ห ารของบริ ษ ัท ให้ พิ จ ารณาความเหมาะสมกับ ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ผลงาน และเปรี ยบเทียบกับบริ ษทั ในธุรกิจที่คล้ายคลึงกัน และประโยชน์ที่คาดว่าจะ ได้รับจากกรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาและนาเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการและ/หรื อ ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อขออนุมตั ิ 2.3 พิจารณาอนุมตั ิการกาหนดค่าตอบแทนประจาปี ของกรรมการ 2.4 รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษทั และมีหน้าที่ให้คาชี้แจง ตอบคาถามเรื่ องค่าตอบแทนของกรรมการ กรรมการ ชุดย่อย และผูบ้ ริ หารระดับสูงของบริ ษทั ในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 2.5 รายงานนโยบาย หลักการ เหตุผลของการกาหนดค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร ตามข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยเปิ ดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (56-1) และรายงานประจาปี ของ บริ ษทั

79


2.6 ปฏิบตั ิการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดค่าตอบแทนตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย โดยฝ่ ายบริ หาร และ หน่ วยงานต่างๆ ต้องรายงานหรื อนาเสนอข้อมูลและเอกสารที่ เกี่ ยวข้องต่อคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนให้บรรลุตามหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กาหนดนโยบาย และกรอบการบริ หารความเสี่ ยงนาเสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิ 2. กาหนด ทบทวนและพัฒนานโยบายกรอบการบริ หารความเสี่ ยงองค์กร 3. ติดตามกระบวนการบ่งชี้และประเมินความเสี่ ยง 4. กากับดูแลและสนับสนุนให้มีการดาเนินงานด้านการบริ หารความเสี่ ยงองค์กร สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้ าหมาย ทางธุรกิจ รวมถึงสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 5. รายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับความเสี่ ยงที่สาคัญ และนาเสนอวิธีการ จัดการความเสี่ ยงนั้นๆ 6. พิจารณารายงานผลการบริ หารความเสี่ ยงองค์กร และให้ขอ้ คิดเห็นในความเสี่ ยงที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งกาหนด แนวทางการกาหนดมาตรการควบคุม หรื อบรรเทา และการพัฒนาระบบการจัดการบริ หารความเสี่ ยงองค์กรให้มี ประสิ ทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 7. พิจารณารายงานผลการประเมินโอกาสที่จะเกิดการทุจริ ตขึ้น ร่ วมถึงผลกระทบโดยครอบคลุมการทุจริ ตแบบต่างๆ เช่น การจัดทารายงานทางการเงินเท็จ การทาให้สูญเสี ยทรัพย์สิน การคอร์รัปชัน การที่ผบู ้ ริ หารสามารถฝ่ าฝื น ระบบควบคุมภายใน (management override of internal controls) การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในรายงานที่สาคัญ การ ได้มาหรื อใช้ไปซึ่งทรัพย์สินโดยไม่ถูกต้อง เป็ นต้น 8. รายงานผลการบริ หารความเสี่ ยงองค์กรให้คณะกรรมการ รับทราบ และในกรณี ที่มีปัจจัย หรื อเหตุการณ์สาคัญ ซึ่ง อาจมีผลกระทบต่อบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบและพิจารณาโดยเร็ ว ที่สุด 9. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย

80


1.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ บริ ษทั ได้จดั ให้มีนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษทั เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ทั้งนี้ คณะกรรมการจะจัดให้มีการ ทบทวนนโยบายและการปฏิ บตั ิตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจาให้เหมาะสมอยู่เสมอ อย่างน้อยปี ละหนึ่ ง (1) ครั้ง ทั้งนี้ บริ ษทั จะถือปฏิบตั ิตามกฎและข้อบังคับต่างๆ ตามที่ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหรื อตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ กาหนดทุกประการ โดยจะเปิ ดเผยรายงานการกากับ ดูแลกิจการไว้ในรายงานประจาปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) 1.2 จรรยาบรรณธุรกิจ บริ ษทั ได้กาหนดหลักปฏิบตั ิเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ่ ายบริ หาร และพนักงาน เพื่อให้ผเู ้ กี่ยวข้อง ยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามภารกิจของบริ ษทั ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริ ต และเที่ยงธรรมทั้งการปฏิบตั ิต่อบริ ษทั และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม รวมทั้งการกาหนดระบบติดตามให้มีการปฏิบตั ิตามแนวทางดังกล่าวเป็ นประจา 1.2.1.

จรรยาบรรณว่ าด้ วยความรับผิดชอบต่ อผู้ถือหุ้น

บริ ษทั มุ่งมัน่ ที่จะรับผิดชอบและสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดให้กบั ผูถ้ ือหุน้ โดยคานึงถึงการเจริ ญเติบโตของบริ ษทั อย่างยัง่ ยืนและให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่ อง รวมทั้งจะดาเนิ นการอย่างโปร่ งใส มีระบบบัญชีที่เชื่อถือได้ และ เพื่อให้เป็ นไปตามหลักการดังกล่าว บริ ษทั จึงยึดถืออย่างเคร่ งครัดตามแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1.2.1.1 การเจริ ญเติบโตของบริ ษทั อย่างยัง่ ยืน -

ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่อสัตย์สุจริ ต และเป็ นธรรมต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกรายเพื่อประโยชน์สูงสุดโดยรวม

-

บริ หารจัดการบริ ษทั โดยนาความรู ้ และทักษะการบริ หารมาประยุกต์ใช้อย่างเต็มความสามารถทุกกรณี รวมทั้ง การตัดสิ นใจดาเนินการใดๆ จะกระทาด้วยความระมัดระวังและรอบคอบ

-

ไม่ดาเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริ ษทั 2.2.1.2 การเปิ ดเผยข้อมูล

-

รายงานสถานภาพและแนวโน้มในอนาคตของบริ ษทั ต่อผูถ้ ือหุ ้นอย่างเท่าเที ยมกันสม่ าเสมอและครบถ้วนตาม ความเป็ นจริ ง

-

ไม่แสวงหาประโยชน์ให้กบั ตนเองและผูเ้ กี่ยวข้องโดยใช้ขอ้ มูลใดๆ ของบริ ษทั ซึ่งยังไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณะ

-

ไม่เปิ ดเผยข้อมูลอันเป็ นความลับต่อบุคคลภายนอก ซึ่งอาจจะนามาซึ่งผลเสี ยแก่บริ ษทั 2.2.2 จรรยาบรรณว่ าด้ วยความสัมพันธ์ กบั ลูกค้ าและประชาชน

บริ ษทั มีความมุ่งมัน่ ในการสร้างความพึงพอใจและความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าและประชาชนว่าจะได้รับผลิตภัณฑ์ และบริ การที่ดี มีคุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดีให้ยงั่ ยืน โดยมีการกาหนดแนวทางปฏิบตั ิ ไว้ดงั ต่อไปนี้ 2.2.2.1 มุ่งมัน่ ในการสร้ างความพึงพอใจและความมัน่ ใจให้กับลูกค้า ให้ได้รับผลิ ตภัณฑ์และบริ การที่ ดี มี คุณภาพ ในระดับราคาที่เหมาะสม โดยยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและจริ งจัง

81


2.2.2.2 เปิ ดเผยข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสิ นค้าและบริ การอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ และไม่บิดเบือน ข้อเท็จจริ ง รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดีให้ยงั่ ยืน 2.2.2.3 ให้การรับประกันสิ นค้าและบริ การภายใต้เงื่อนไขเวลาที่เหมาะสม 2.2.2.4 จัดทาระบบเพื่อให้ลูกค้าและประชาชนสามารถร้องเรี ยนเกี่ยวกับสิ นค้าและบริ การ และดาเนินการอย่าง ดีที่สุดเพื่อให้ลูกค้าและประชาชนได้รับการตอบสนองอย่างรวดเร็ ว 2.2.2.5 ไม่คา้ กาไรเกินควรเมื่อเปรี ยบเทียบกับคุณภาพของสิ นค้าหรื อบริ การในชนิ ดหรื อประเภทเดียวกันและ ไม่กาหนดเงื่อนไขการค้าที่ไม่เป็ นธรรมต่อลูกค้า 2.2.2.6 ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าและประชาชนอย่างเคร่ งครัด หากไม่สามารถปฏิบตั ิได้ ต้องรี บแจ้ง ให้ลูกค้าและประชาชนทราบล่วงหน้า เพื่อร่ วมกันพิจารณาและหาแนวทางแก้ไข 2.2.2.7 รักษาความลับของลูกค้าอย่างจริ งจังและสม่ าเสมอ รวมถึงไม่นาข้อมูลมาใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง 2.2.3 จรรยาบรรณว่ าด้ วยความสัมพันธ์ กบั คู่ค้า คู่แข่ งทางการค้ า และเจ้ าหนีก้ ารค้ า บริ ษทั คานึ งถึงความเสมอภาคและความซื่ อสัตย์ในการดาเนิ นธุ รกิ จ และผลประโยชน์ร่วมกันกับคู่คา้ โดยคู่คา้ ของบริ ษทั พึงปฏิบตั ิตามกฎหมายและกติกาต่างๆ อย่างเคร่ งครัด และมีจรรยาบรรณที่ดีในการดาเนิ นธุ รกิ จ ในส่ วนของ ธุรกิจที่เป็ นการแข่งขัน บริ ษทั จะยึดถือกติกาของการแข่งขันที่ดี และบริ ษทั จะยึดถือแนวทางการปฏิบตั ิที่ดี และเป็ นธรรม ในการกูย้ ืมเงินจากเจ้าหนี้ และการชาระคืน ดังนั้นเพื่อให้เป็ นไปตามหลักการดังกล่าว บริ ษทั จึงได้กาหนดแนวทางปฏิบตั ิ ไว้ดงั ต่อไปนี้ 2.2.3.1 ความสัมพันธ์กบั คู่คา้ -

ไม่เรี ยก ไม่รับ หรื อจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริ ตในการค้ากับคู่คา้

-

ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อคู่คา้ อย่างเคร่ งครัด

-

กรณี ที่ไม่สามารถปฏิ บตั ิตามเงื่อนไขได้ จะรี บแจ้งให้คู่คา้ ทราบล่วงหน้าเพื่อร่ วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข ปั ญหา โดยใช้หลักของความสมเหตุสมผล 2.2.3.2 ความสัมพันธ์กบั คู่แข่งทางการค้า

-

ประพฤติปฏิบตั ิตามกรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี

-

ไม่พยายามทาลายชื่อเสี ยงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาให้ร้ายโดยปราศจากความจริ ง 2.2.3.3 ความสัมพันธ์กบั เจ้าหนี้ทางการค้า

82

-

รักษาและปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้ โดยเคร่ งครัด ทั้งในแง่การชาระคืน การดูแลหลักทรัพย์ค้ าประกันและ เงื่ อนไขอื่นๆ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการกูย้ ืมเงินไปในทางที่ขดั กับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทากับผูใ้ ห้ กูย้ มื เงิน

-

รายงานฐานะทางการเงินของบริ ษทั แก่เจ้าหนี้ดว้ ยความซื่อสัตย์

-

รายงานเจ้าหนี้ล่วงหน้าหากไม่สามารถปฏิบตั ิตามข้อผูกพันในสัญญาและร่ วมกันหาแนวทางแก้ไขปั ญหาดังกล่าว


2.2.4 จรรยาบรรณว่ าด้ วยการเสริมสร้ างวัฒนธรรมและบรรยากาศการทางานทีด่ ี บริ ษทั ถือว่าพนักงานเป็ นปั จจัยหนึ่งสู่ความสาเร็ จ จึงมุ่งมัน่ ในการพัฒนาเสริ มสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการ ทางานที่ดี ส่งเสริ มการทางานเป็ นทีม เพื่อสร้างความมัน่ ใจให้พนักงานบริ ษทั มีการกาหนดแนวทางปฏิบตั ิไว้ดงั นี้ 2.2.4.1 ให้ผลตอบแทนที่เป็ นธรรมแก่พนักงาน ในรู ปแบบของเงินเดือน และ/หรื อเงินโบนัส 2.2.4.2 ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สินของพนักงานอยูเ่ สมอ 2.2.4.3 การแต่งตั้งและโยกย้าย รวมถึงการให้รางวัลและการลงโทษพนักงาน ต้องกระทาด้วยความเสมอภาค สุ จริ ตใจ และตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของความรู ้ ความสามารถ ความเหมาะสม และการกระทา/การปฏิบตั ิตน ของพนักงานนั้นๆ 2.2.4.4 ให้ความสาคัญต่อการพัฒนา การถ่ายทอดความรู ้ และความสามารถของพนักงาน โดยให้โอกาส พนักงานอย่างทัว่ ถึงและสม่าเสมอ 2.2.4.5 รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงานทุกระดับอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค 2.2.4.6 ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่ งครัด 2.2.4.7 บริ หารงานโดยหลีกเลี่ยงการกระทาใดๆ ที่ไม่เป็ นธรรม ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความมัน่ คงในหน้าที่การ งานของพนักงาน 2.2.5 จรรยาบรรณว่ าด้ วยความรับผิดชอบต่ อสังคมและสิ่งแวดล้ อม บริ ษทั ตระหนักและห่ วงใยถึงความปลอดภัยของสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชนรวมถึงให้ความสาคัญใน เรื่ องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริ มการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ โดยกาหนดแนวทางปฏิบตั ิไว้ดงั นี้ 2.2.5.1 บริ ษทั จะคานึงถึงทางเลือกในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ให้มีผลกระทบต่อความเสี ยหาย ของสังคม สิ่ งแวดล้อม และคุณภาพชีวติ ของประชาชนน้อยที่สุด 2.2.5.2 คืนกาไรส่วนหนึ่งเพื่อกิจกรรมที่มีส่วนสร้างสรรค์สงั คมและสิ่ งแวดล้อมอย่างสม่าเสมอ 2.2.5.3 ปลูกฝั งจิตสานึ กในเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมให้เกิ ดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง 2.2.5.4 ให้ความสาคัญในการทาธุรกรรมกับคู่คา้ ที่มีเจตจานงเดียวกันกับบริ ษทั ในเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่ งแวดล้อม 2.2.5.5 บริ ษทั ถือเป็ นนโยบายหลักในการอนุรักษ์พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อประโยชน์ต่อชนรุ่ นหลัง 2.2.5.6 ปฏิ บตั ิและให้ความร่ วมมือในการควบคุมให้มีการปฏิ บตั ิอย่างเคร่ งครัดตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย และกฎระเบียบที่ออกโดยหน่วยงานกากับดูแล 2.2.5.7 บริ ษทั ถือเป็ นหน้าที่และเป็ นนโยบายหลักในการให้ความสาคัญกับกิจกรรมของชุมชนและสังคมโดย มุ่ ง เน้น ให้เ กิ ด การพัฒ นาอย่า งสร้ า งสรรค์ และการอนุ รั ก ษ์ท รั พ ยากรธรรมชาติ รวมทั้ง สนับ สนุ น การศึกษาแก่เยาวชน และสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์แก่ชุมชนที่ดอ้ ยโอกาสให้เป็ นชุมชนที่ เข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ 2.2.5.8 บริ ษทั ยึดมัน่ ในระบอบประชาธิ ปไตย และส่ งเสริ มให้บุคลากรไปใช้สิทธิ เลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญทั้งนี้ บริ ษทั ไม่มีนโยบายที่จะให้การสนับสนุนทางการเงิ น ไม่ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้อมแก่นกั การเมือง ใดๆ เพื่อผลประโยชน์ของนักการเมืองหรื อพรรคการเมืองนั้นๆ ทั้งนี้ บริ ษทั ได้มีการประกาศและแจ้งให้พนักงานทุกคนรับทราบและยึดปฏิ บตั ิอย่างเคร่ งครัด รวมถึงให้มีการ ปฏิบตั ิตามแนวทางดังกล่าว

83


2.

การป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์

คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการที่วา่ การตัดสิ นใจใดๆ ใน การดาเนิ นกิจกรรมทางธุรกิจจะต้องทาเพื่อผลประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั เท่านั้น และควรหลีกเลี่ยงการกระทาที่ก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกาหนดให้ผทู ้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องหรื อเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณา ต้องแจ้งให้บริ ษทั ทราบ ถึงความสัมพันธ์หรื อการเกี่ยวโยงของตนในรายการดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่ วมพิจารณาตัดสิ น รวมถึงไม่มีอานาจอนุมตั ิใน ธุรกรรมนั้นๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ซึ่ งได้มีการพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ และถือเป็ นการปฏิบตั ิที่อยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ที่ตลาด หลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย และ/หรื อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรั พย์ รวมทั้งจะมีการ เปิ ดเผยไว้ในงบการเงิน รายงานประจาปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) 3.

ระบบการควบคุมภายใน

บริ ษทั ได้ให้ความสาคัญต่อระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริ หาร และระดับปฏิ บตั ิงาน และเพื่อให้เกิ ดความมี ประสิ ทธิ ภาพในการดาเนิ นงาน บริ ษทั จึงได้กาหนดภาระหน้าที่ อานาจการดาเนิ นการของผูป้ ฏิบตั ิงานและผูบ้ ริ หารไว้เป็ น ลายลักษณ์ อกั ษรอย่างชัดเจน มี การควบคุมดูแลการใช้ทรัพย์สินของบริ ษทั ให้เกิ ดประโยชน์ และมี การแบ่ งแยกหน้าที่ ผูป้ ฏิ บตั ิงาน ผูต้ ิดตามควบคุมและประเมินผลออกจากกัน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทาหน้าที่ ในการสอบ ทานระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้มีความเหมาะสม และมีประสิ ทธิผล 4.

การบริหารความเสี่ยง

ตั้งแต่ปี 2558 เป็ นต้นมา บริ ษทั ได้มีการทาการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในที่มีอยู่ เพื่อพิจารณาหา แนวทางในการปรับปรุ งแก้ไขการปฏิบตั ิงาน และเพื่อบริ หารจัดการความเสี่ ยงเพื่อลดผลกระทบต่อธุรกิจของบริ ษทั เพื่อให้ ผลการดาเนินงานมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น 5.

รายงานของคณะกรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูม้ ีหน้าที่สอบทานรายงานทางการเงิน โดยมีฝ่ายบัญชีและการเงิน และผูส้ อบบัญชีมา ประชุ ม ร่ ว มกัน เพื่ อ น าเสนอรายงานทางการเงิ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท ทุ ก ไตรมาส คณะกรรมการบริ ษ ัท ถื อ เป็ น ผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินของบริ ษทั รวมทั้งสารสนเทศทางการเงิน (รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน) ที่ปรากฏในรายงานประจาปี ว่างบการเงินดังกล่าวจัดทาขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีรับรองและตรวจสอบโดย ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั และการเปิ ดเผยข้อมูลสารสนเทศที่สาคัญ ทั้งข้อมูลทางการเงิน และไม่ใช่การเงิน มีการดาเนิ นการ บนพื้นฐานของข้อเท็จจริ งอย่างครบถ้วน และสม่าเสมอ 6.

การประชุมคณะกรรมการ

คณะกรรมการมีการกาหนดการประชุมโดยปกติเป็ นประจาทุกสาม (3) เดือน และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตาม ความจาเป็ น โดยมีการกาหนดและแจ้งวาระการประชุมพร้อมรายละเอียดประกอบให้คณะกรรมการทราบและพิจารณา ล่วงหน้าก่อนการประชุมทุกครั้งตามข้อบังคับของบริ ษทั เพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนการ ประชุม เว้นแต่กรณี มีเหตุจาเป็ นเร่ งด่วน โดยมีการบันทึกรายงานการประชุมและจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับรอง แล้วเพื่อใช้ในการอ้างอิงและสามารถตรวจสอบได้

84


ในการประชุ ม ประธานกรรมการบริ ษทั จะเป็ นผูก้ าหนดวาระการประชุ มและพิจารณาเรื่ องเข้าวาระการประชุม คณะกรรมการบริ ษทั โดยเปิ ดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนสามารถเสนอเรื่ องต่างๆ เพื่อเข้ารับการพิจารณาเป็ นวาระการ ประชุมได้ ในการพิจารณาเรื่ องต่างๆ ประธานกรรมการบริ ษทั ซึ่งทาหน้าที่ประธานในที่ประชุมจะเปิ ดโอกาสให้กรรมการแสดง ความคิดเห็นได้อย่างอิสระ โดยในบางวาระอาจมีผบู ้ ริ หารระดับสูงเข้าร่ วมประชุมด้วยเพื่อรับทราบรายละเอียดข้อมูลที่เป็ น ประโยชน์เพิ่มเติมในฐานะผูท้ ี่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจะได้รับทราบนโยบายโดยตรงเพื่อให้สามารถนาไปปฏิบตั ิ อย่างมีประสิ ทธิภาพ ทั้งนี้ ในการลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ให้ถือมติของเสี ยงข้างมาก โดยกรรมการหนึ่งคนมี เสี ยงหนึ่ งเสี ยง กรรมการที่ มีส่วนได้เสี ยจะไม่เข้าร่ วมประชุมและ/หรื อไม่ใช้สิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนในเรื่ องนั้น กรณี ที่ คะแนนเสี ยงเท่ากัน ประธานในที่ประชุมจะออกเสี ยงอีกหนึ่งเสี ยงเป็ นเสี ยงชี้ขาด 7.

ค่ าตอบแทนของคณะกรรมการและผู้บริหาร บริ ษทั มีนโยบายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารที่จูงใจในระดับที่เหมาะสม โดยคานึ งถึงผลการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั เป็ นหลัก และความสอดคล้อ งกับธุ รกิ จ/อุตสาหกรรมเดี ย วกัน รวมถึ ง ความเหมาะสมกับหน้า ที่ และความ รับผิดชอบของกรรมการและผูบ้ ริ หารแต่ละคน บริ ษทั ใช้ความระมัดระวังในการจ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม โดยเป็ นอัตราที่ แข่งขันได้ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน เพื่อที่จะดูแลและรักษาผูบ้ ริ หารที่มีคุณภาพไว้ ผูบ้ ริ หารที่ได้รับมอบหมายหน้าที่และความ รั บผิดชอบเพิ่มขึ้ นจะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มที่ เหมาะสมกับหน้าที่ และความรั บผิดชอบที่ ได้รับเพิ่มขึ้น สาหรั บการจ่ าย ค่าตอบแทนกรรมการบริ หาร และผูบ้ ริ หาร จะสอดคล้องกับผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั และผลการปฏิ บัติงานของ ผูบ้ ริ หารแต่ละคน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็ นผูพ้ ิจารณากาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสม ที่เป็ นตัวเงิน ให้แก่ กรรมการ กรรมการชุดย่อย ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารหรื อกรรมการผูจ้ ดั การ รวมถึงผูบ้ ริ หารที่มีหน้าที่ รายงานตรงต่อประธานเจ้าหน้าที่บริ หารหรื อกรรมการผูจ้ ดั การ ทั้งนี้ สาหรับค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนจะนาเข้าเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อขอมติเห็นชอบ และที่ประชุมสามัญ ผูถ้ ือหุน้ ประจาปี เพื่อขออนุมตั ิทุกปี 8.

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริ ษทั มีนโยบายส่งเสริ มและอานวยความสะดวกให้มีการฝึ กอบรมและการให้ความรู ้แก่กรรมการผูเ้ กี่ยวข้องในระบบ การกากับดู แลกิ จการของบริ ษทั เช่ น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริ หาร เลขานุ การบริ ษทั เป็ นต้น เพื่อให้มีการ ปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง และในกรณี ที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการหรื อแต่งตั้งกรรมการใหม่ ฝ่ ายจัดการจะจัด ให้มีเอกสารและข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ รวมถึงการแนะนาลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดาเนินธุรกิจ ของบริ ษทั ให้แก่กรรมการใหม่ คุณสุ วิช ล่าซา ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ และคุณชัยวุฒิ จิตราคนี ประธาน กรรมการบริ หารความเสี่ ยง/กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ได้เข้าร่ วม สัมมนาในหัวข้อ “Updated COSO Enterprise Risk Management: Integration with Strategy and Performance” ในวันที่ 22 มกราคม 2561 นอกจากนี้ คุณจิตติมา สัจจวานิ ช อินทุจนั ทร์ ยง ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน/กรรมการ ตรวจสอบ/กรรมการอิสระ และ คุณชัยวุฒิ จิ ตราคนี ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง/กรรมการสรรหาและพิจารณา

85


ค่าตอบแทน/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ได้เข้าร่ วมสัมมนาในหัวข้อ “Corporate Governance Orientation for New Listed Company” ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2561 9.

การกากับดูแลการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษทั ให้ความสาคัญกับการดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายในให้เป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยยึดหลักธรร มาภิบาล ความซื่ อสัตย์สุจริ ตในการดาเนิ นธุรกิจ และเพื่อให้แน่ใจว่า นักลงทุนในหลักทรัพย์ของบริ ษทั ได้รับสารสนเทศที่ เชื่อถือได้อย่างเท่าเทียมกัน และทันท่วงที บริ ษทั จึงได้กาหนดระเบียบการกากับดูแลการใช้ขอ้ มูลภายในและระเบียบการซื้ อ ขายหลักทรั พย์ของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ เกี่ ยวกับหลักทรั พย์และมุ่งเน้นความ โปร่ งใสในการประกอบธุรกิจ สรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ -

กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกระดับต้องไม่ใช้ขอ้ มูลภายในและข้อมูลที่ตนล่วงรู ้จากการปฏิบตั ิหน้าที่ของ บริ ษทั ที่มีสาระสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ยงั ไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณะหรื อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั อันนามาซึ่งผลประโยชน์ของตนเองและผูอ้ ื่น

-

กรรมการ ผู ้บ ริ ห ารและผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง มี ห น้า ที่ ที่ จ ะต้อ งรายงานการซื้ อ ขายหลัก ทรั พ ย์ข องบริ ษ ัท ตาม หลักเกณฑ์ของกฎหมาย และจากัดการซื้อขายหลักทรัพย์บริ ษทั ในช่วงเวลาที่กาหนด

-

บริ ษทั มีหน้าที่เปิ ดเผยสารสนเทศเกี่ยวกับการดาเนิ นงานที่สาคัญของบริ ษทั ให้สาธารณชนทราบโดยทันทีและ อย่างทัว่ ถึง โดยผ่านสื่ อและวิธีการของตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย และนโยบายการเปิ ดเผยข้อมู ลของ บริ ษทั รวมถึงผ่านสื่ ออื่นๆ ของบริ ษทั เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลข่าวสารได้เข้าถึงนักลงทุนทุกกลุ่มอย่างทันท่วงทีและ เท่าเทียมกัน

10. การสื่ อสารกับคณะกรรมการ บริ ษทั จัดให้มีช่องทางสาหรับผูม้ ีส่วนได้เสี ยในการติดต่อสื่ อสารกับคณะกรรมการ โดยสามารถส่ งจดหมายสื่ อสาร แจ้งข้อมูล หรื อข้อเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์มายังบริ ษทั เพื่อพิจารณาดาเนินการตามกระบวนการที่กาหนด 11. วาระการดารงตาแหน่ งกรรมการ ในการประชุมสามัญประจาปี ทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตาแหน่งตามวาระเท่ากับอัตราหนึ่ งในสาม (1 ใน 3) ของ กรรมการทั้งหมด ถ้าจานวนกรรมการที่ จะออกจากตาแหน่ งตามวาระแบ่งออกให้ตรงเป็ นสาม (3) ส่ วนไม่ได้ ให้ออก จานวนใกล้เคียงกับหนึ่งในสาม (1 ใน 3) ของกรรมการทั้งหมดที่สุด โดยกรรมการที่จะต้องออกจากตาแหน่งในปี แรก และ ปี ที่ สอง ให้กรรมการจับสลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่ วนในปี ที่สามให้กรรมการคนที่อยู่ในตาแหน่งนานที่สุดเป็ นผูอ้ อกจาก ตาแหน่ง ทั้งนี้กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเข้ามาดารงตาแหน่งใหม่ได้ ในกรณี ที่ตาแหน่ งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใด บุคคลหนึ่ง ซึ่ งมีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา 68 แห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 เข้า เป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่ง เข้าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตาแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการที่ตนแทน วาระการดารงตาแหน่งของกรรมการตรวจสอบ (1) กรรมการตรวจสอบมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละไม่เกินสาม (3) ปี กรรมการที่พน้ จากตาแหน่ งตาม วาระมีสิทธิ ได้รับเลือกกลับเข้ามาใหม่ได้ ทั้งนี้ สาหรับผูท้ ี่ได้ดารงตาแหน่งมาแล้วเป็ นระยะเวลาเก้า (9) ปี หรื อสาม (3) วาระติดต่อกัน คณะกรรมการบริ ษทั จะทบทวนความเป็ นอิสระที่แท้จริ งของกรรมการผูน้ ้ นั เป็ นประจาทุกๆ ปี

86


(2) กรรมการตรวจสอบคนใดประสงค์จะลาออกก่อนครบวาระต้องยื่นหนังสื อลาออกต่อประธานกรรมการ บริ ษทั โดยการลาออกมีผลตั้งแต่วนั ที่ใบลาออกมาถึงที่บริ ษทั เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาแต่งตั้ง กรรมการอื่นที่มีคุณสมบัติครบถ้วนทดแทนกรรมการที่ลาออก โดยให้ดารงตาแหน่งเท่าวาระที่ยงั เหลืออยู่ ของกรรมการซึ่งตัวแทนคณะกรรมการบริ ษทั จะต้องแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบให้ครบถ้วนภายในเก้าสิ บ (90) วัน นับแต่วนั ที่กรรมการตรวจสอบคนนั้นลาออก ในกรณี ที่กรรมการตรวจสอบพ้นจากตาแหน่งทั้งคณะ เพราะเหตุอื่นนอกจากขาดคุณสมบัติ หรื อ มีลกั ษณะต้องห้าม ตามกฎหมาย ให้คณะกรรมการตรวจสอบที่ พน้ จากตาแหน่ งยังคงต้องอยู่รักษาการในตาแหน่ งเพียงเท่าที่ จาเป็ นจนกว่า คณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่จะเข้ารับหน้าที่ การประเมินผลการปฏิบัตงิ านและการพัฒนาความรู้ บริ ษทั มีนโยบายจัดให้คณะกรรมการบริ ษทั มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตนเองอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง เป็ นประจา ทุกปี เพื่อช่วยให้คณะกรรมการได้มีการพิจารณาทบทวนผลงาน ประเด็นและอุปสรรคต่างๆในระหว่างปี ที่ผา่ นมา และเพิม่ ประสิ ทธิผลการทางานของคระกรรมการ โดยเลขานุ ก ารบริ ษ ัท จะน าส่ ง แบบประเมิ น ผลการปฏิ บัติ ง านของคณะกรรมการ ส่ ง ให้ค ณะกรรมการทุ ก คน ประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ทั้งแบบคณะแลรายบุคคล ซึ่ งภายหลังที่คณะกรรมการแต่ละคนประเมินเสร็ จเรี ยบร้อย แล้ว จะนาส่ งแบบประเมินกลับมายังเลขานุการบริ ษทั เพื่อรวบรวมนามาสรุ ปผลให้ประธานกรรมการบริ ษทั อนุ มตั ิ และ นาเสนอต่อที่ประชุมกรรมการบริ ษทั ครั้งถัดไป หัวข้ อพิจารณาการประเมินผลการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการบริษัท แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อย มีหวั ข้อพิจารณาหลัก ดังนี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 4. ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการ 5. การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริ หาร ผลการประเมินของคณะกรรมการบริษัท หัวข้ อประเมิน โครงสร้ างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ บทบาท หน้ าที่ และความรั บผิดชอบของคณะกรรมการ ความสัมพันธ์ ระหว่ างคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการ การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริ หาร

คะแนนเต็ม 36 24 48 4 4

ค่ าเฉลีย่ 29.77 22.75 46 3.87 4

87


นโยบายทีส่ าคัญของบริษัทและการติดตามให้ มีการปฏิบัติ

นโยบายการสรรหากรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหาร และผู้บริหาร การสรรหากรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็ นผูพ้ ิจารณากาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาบุคคลที่ เหมาะสมด้านความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการทางาน โดยนาเสนอรายชื่อกรรมการเพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู ้ ถือหุ ้นให้แต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั ในขั้นตอนของการสรรหาดังกล่าว ได้เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ รายย่อยเสนอชื่อบุคคลที่ เหมาะสมเพื่อเข้ารับการคัดเลือกอีกทางหนึ่งด้วย ทั้งนี้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการถือเป็ นของผูถ้ ือหุน้ โดยมีหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. คณะกรรมการของบริ ษทั ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อยห้า (5) คน ทั้งนี้ กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่ งหนึ่ งของ จานวนกรรมการทั้งหมดนั้นต้องมีถิ่นที่อยูใ่ นราชอาณาจักรและกรรมการของบริ ษทั จะต้องไม่มีคุณสมบัติและไม่ มีลกั ษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกาหนด 2. การเลือกตั้งกรรมการโดยที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นนั้น ให้ใช้คะแนนเสี ยงข้างมากและให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการดังต่อไปนี้ (ก) ผูถ้ ือหุน้ คนหนึ่งมีคะแนนเสี ยงเท่ากับจานวนหุน้ ที่ถือ (ข) ผูถ้ ือหุ ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสี ยงที่ มีอยู่ท้ ังหมดตาม (ก) เลือกตั้งบุคคลคนเดี ยวหรื อหลายคนเป็ น กรรมการก็ได้ในกรณี ที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็ นกรรมการจะแบ่งคะแนนเสี ยงให้แก่ผูใ้ ดมากน้อย เพียงใดไม่ได้ (ค) บุ คคลซึ่ งได้รับคะแนนเสี ยงสู งสุ ดตามลาดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รับการเลื อกตั้งเป็ นกรรมการเท่าจานวน กรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลาดับถัดลงมามี คะแนนเสี ยงเท่ากันเกินจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ผเู ้ ป็ นประธานเป็ นผู ้ ออกเสี ยงชี้ขาด การสรรหากรรมการอิสระ บริ ษทั คัดเลือกกรรมการอิสระ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 กฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการตลาดทุน รวมถึงประกาศข้อบังคับ และ/หรื อกฎระเบี ยบที่ เกี่ยวข้อง โดยบริ ษทั จะจัดให้มีกรรมการอิสระอย่างน้อยหนึ่ งในสาม (1 ใน 3) ของจานวนกรรมการทั้งหมดของบริ ษทั แต่ ต้องไม่นอ้ ยกว่าสาม (3) คน คุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ 1. ถือหุ ้นไม่เกินร้อยละหนึ่ ง (1) ของจานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ทั้งนี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระรายนั้น ๆ ด้วย 2. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่ มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ปรึ กษาที่ ได้เงิ นเดื อนประจา หรื อผูม้ ี อานาจควบคุมของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ หรื อของผู ้ มีอานาจควบคุมของบริ ษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสอง (2) ปี ก่อนวันที่ยนื่ คา ขออนุญาตต่อสานักงาน ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณี ที่กรรมการอิสระเคยเป็ นข้าราชการ หรื อที่ ปรึ กษา ของส่วนราชการซึ่งเป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั

88


3. ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็ นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ ผูม้ ีอานาจ ควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย 4. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุ รกิ จกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ี อานาจควบคุมของบริ ษทั ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็ น หรื อเคยเป็ นผูถ้ ือหุ ้นที่มีนยั หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของผูท้ ี่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสอง (2) ปี ก่อนวันที่ยนื่ คาขออนุญาตต่อสานักงาน ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ ง รวมถึงการทารายการทางการค้าที่กระทาเป็ นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่า หรื อให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสิ นทรัพย์หรื อบริ การ หรื อการให้หรื อรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับ หรื อให้กยู้ ืม ค้ าประกัน การให้สินทรัพย์เป็ นหลักประกันหนี้ สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทานองเดียวกัน ซึ่ งเป็ นผลให้บริ ษทั หรื อคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ตอ้ งชาระต่ออีกฝ่ ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสาม (3) ของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุ ทธิ ของบริ ษทั หรื อตั้งแต่ ยีส่ ิ บ (20) ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จานวนใดจะต่ากว่า ทั้ง นี้ การค านวณภาระหนี้ ดัง กล่ า วให้เ ป็ นไปตามวิ ธี ก ารค านวณมู ล ค่ า ของรายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน ตามประกาศ คณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทารายการที่เกี่ ยวโยงกัน โดยอนุ โลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ ดังกล่าว ให้นบั รวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่ง (1) ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจ ควบคุมของบริ ษทั และไม่เป็ นผูถ้ ือหุน้ ที่มีนยั ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อหุน้ ส่วนของสานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผสู ้ อบ บัญชีของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสอง (2) ปี ก่อนวันที่ยื่นคาขออนุญาตต่อสานักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชี พใด ๆ ซึ่ งรวมถึ งการให้บริ การเป็ นที่ ปรึ กษากฎหมายหรื อที่ ปรึ กษา ทางการเงิน ซึ่ งได้รับค่าบริ การเกินกว่าสอง (2) ล้านบาทต่อปี จากบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือ หุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั และไม่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นที่มีนัย ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อหุ ้นส่ วนของผู ้ ให้บริ การทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสอง (2) ปี ก่อนวันที่ยนื่ คาขออนุญาตต่อสานักงาน ก.ล.ต. 7. ไม่เป็ นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษทั ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุน้ ซึ่ ง เป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อไม่ เป็ นหุ ้นส่ วนที่ มีนัยในห้างหุ ้นส่ วน หรื อเป็ นกรรมการที่ มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ปรึ กษาที่ รับ เงิ นเดื อนประจา หรื อถื อหุ ้นเกิ นร้ อยละหนึ่ ง (1) ของจานวนหุ ้นที่ มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั อื่ น ซึ่ ง ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย 9. ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษทั

89


กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สิ นใจเกี่ยวกับการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั โดยมีการตัดสิ นใจใน รู ปแบบขององค์คณะ (Collective decision) ได้ ในกรณี ที่บุคคลที่ผขู ้ ออนุญาตแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งกรรมการอิสระเป็ นบุคคลที่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ หรื อการให้บริ การทางวิชาชี พเกิ นมูลค่าที่ กาหนดตามวรรคข้อ 4. หรื อข้อ 6. ให้บริ ษทั จัดให้มีความเห็ นคณะกรรมการ บริ ษทั ที่แสดงว่าได้พิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แล้วว่าการแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ และการให้ความเห็ นที่ เป็ นอิสระ และจัดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลต่อไปนี้ ในหนังสื อเชิ ญประชุมผูถ้ ือหุ ้นในวาระพิจารณา แต่งตั้งกรรมการอิสระด้วย (ก) ลักษณะความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรื อการให้บริ การทางวิชาชีพ ที่ทาให้บุคคลดังกล่าวมีคุณสมบัติไม่เป็ นไป ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด (ข) เหตุผลและความจาเป็ นที่ยงั คงหรื อแต่งตั้งให้บุคคลดังกล่าวเป็ นกรรมการอิสระ (ค) ความเห็นของคณะกรรมการของผูข้ ออนุญาตในการเสนอให้มีการแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวเป็ นกรรมการอิสระ การสรรหากรรมการตรวจสอบ บริ ษทั มีหลักเกณฑ์การคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบตามคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละห้า (5) ของทุนชาระแล้วของบริ ษทั บริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม หรื อบริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้ นับรวมหุน้ ที่ถือโดยผูท้ ี่เกี่ยวข้องด้วย 2. เป็ นกรรมการที่ไม่มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานในบริ ษทั บริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง หรื อผูถ้ ือ หุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั 3. เป็ นกรรมการที่ไม่เป็ นลูกจ้าง พนักงาน หรื อที่ปรึ กษาที่ได้รับเงินเดือนประจาจากบริ ษทั บริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง หรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั 4. เป็ นกรรมการที่ไม่มีผลประโยชน์หรื อส่วนได้เสี ยไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้อมทั้งในด้านการเงินและการบริ หารงาน ของบริ ษทั บริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม หรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั มาก่อนในระยะเวลาหนึ่ง (1) ปี ก่อนได้รับ การแต่งตั้งเป็ นกรรมการตรวจสอบ เว้นแต่คณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาอย่างรอบคอบแล้วเห็นว่าการเคยมี ผลประโยชน์หรื อส่วนได้เสี ยนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่และการให้ความเห็นที่เป็ นอิสระ 5. เป็ นกรรมการที่ไม่ใช่เป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องหรื อญาติสนิทของผูบ้ ริ หารหรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั 6. เป็ นกรรมการที่ไม่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็ นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริ ษทั ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุน้ ซึ่งเป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั 7. สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ แสดงความเห็นหรื อรายงานผลการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษทั โดยไม่อยูภ่ ายใต้การควบคุมของผูบ้ ริ หารหรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั รวมทั้งผูท้ ี่ เกี่ยวข้องหรื อญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว 8. มีคุณสมบัติครบถ้วนในการเป็ นกรรมการของบริ ษทั

90


การสรรหาผู้บริหารระดับสู ง คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการเป็ นผูพ้ ิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมมาดารงตาแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริ หารหรื อกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริ หารระดับสู งที่มีหน้าที่รายงานตรงต่อประธานเจ้าหน้าที่บริ หารหรื อกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ โดยในการพิจารณาจะคัดเลือกจากบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและเหมาะสม มีความรู ้ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ ที่ เ ป็ นประโยชน์ต่ อ การดาเนิ นงานของบริ ษทั และเข้า ใจธุ รกิ จของบริ ษทั เป็ นอย่า งดี และสามารถ บริ หารงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ เป้ าหมายที่ คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดไว้ โดยคณะกรรมการบริ ษทั จะเป็ นผูอ้ นุมตั ิ แต่งตั้งผูบ้ ริ หารสู งสุ ดดังกล่าว โดยคณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการอาจพิจารณาว่าจ้างที่ปรึ กษาอิสระเพื่อเข้ามา ช่วยในการสรรหาดังกล่าวด้วย คุณสมบัติของกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูงสุด บริ ษทั มีหลักเกณฑ์การคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูงสุดตามคุณสมบัติ ดังนี้ 1. เป็ นบุคคลธรรมดาที่บรรลุนิติภาวะแล้ว 2. ไม่เป็ นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรื อคนเสมือนไร้ความสามารถ 3. ไม่เคยรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่ได้กระทาโดยทุจริ ต 4. ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออกหรื อปลดออกจากราชการ องค์การ หรื อหน่วยงานของรัฐ ฐานทุจริ ตต่อหน้าที่ 5. ไม่อยูร่ ะหว่างถูกกล่าวโทษโดยสานักงาน ก.ล.ต. หรื อไม่อยูร่ ะหว่างถูกดาเนินคดีอนั เนื่องจากกรณี ที่สานักงาน ก.ล.ต. กล่าวโทษหรื อเคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ไม่วา่ ศาลจะมีคาพิพากษาให้รอการลงโทษหรื อไม่ และ พ้นโทษจาคุกหรื อพ้นจากการรอลงโทษมาแล้วไม่ถึงสาม (3) ปี ทั้งนี้ เฉพาะในความผิดตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดังต่อไปนี้ - การกระทาอันไม่เป็ นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์หรื อสัญญาซื้อขายล่วงหน้า - การกระทาโดยทุจริ ต หรื อการทาให้เสี ยหายต่อทรัพย์สิน ต่อเจ้าหนี้ หรื อต่อประชาชน - ไม่ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความระมัดระวัง หรื อซื่อสัตย์สุจริ ต - จงใจแสดงข้อความอันเป็ นเท็จในสาระสาคัญ หรื อปกปิ ดข้อความจริ งอันเป็ นสาระสาคัญที่ควรบอกให้แจ้ง - ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรื อธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าโดยไม่ได้รับอนุญาตและเข้าข่ายเป็ นการฉ้อโกง ประชาชน 6. ไม่อยูร่ ะหว่างถูกกล่าวโทษโดยหน่วยงานที่กากับดูแลสถาบันการเงิน ไม่วา่ ในประเทศหรื อต่างประเทศ หรื อไม่ อยูร่ ะหว่างถูกดาเนินคดีอนั เนื่องจากกรณี ที่หน่วยงานดังกล่าวกล่าวโทษ หรื อไม่อยูร่ ะหว่างถูกหน่วยงานดังกล่าว ห้ามเป็ นกรรมการหรื อผูบ้ ริ หารของสถาบันการเงิน ไม่เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ไม่วา่ ศาลจะมีคา พิพากษาให้รอการลงโทษหรื อไม่ และพ้นโทษจาคุกหรื อพ้นจากการรอลงโทษมาแล้วไม่ถึงสาม (3) ปี ทั้งนี้ เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการบริ หารงานที่มีลกั ษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรื อทุจริ ตเกี่ยวกับทรัพย์สิน และทาให้ เกิดความเสี ยหายไม่วา่ จะต่อสถาบันการเงินที่บุคคลนั้นเป็ นกรรมการหรื อผูบ้ ริ หาร หรื อต่อลูกค้า 7. ไม่เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ไม่วา่ ศาลจะมีคาพิพากษาให้รอการลงโทษหรื อไม่ และพ้นโทษจาคุกหรื อ พ้นจากการรอลงโทษมาแล้วไม่ถึงสาม (3) ปี ทั้งนี้ ในความผิดอาญาแผ่นดินเกี่ยวกับการบริ หารงานที่มีลกั ษณะ หลอกลวง ฉ้อโกง หรื อทุจริ ตเกี่ยวกับทรัพย์สิน 8. ไม่เป็ นผูท้ ี่ศาลมีคาสัง่ ให้ทรัพย์สินตกเป็ นของแผ่นดินตามกฎหมายเกี่ยวกับการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรื อกฎหมายอื่นในลักษณะเดียวกัน และยังไม่พน้ สาม (3) ปี นับแต่วนั ที่ศาลมีคาสัง่ ให้ทรัพย์สินตกเป็ นของแผ่นดิน

91


9. ไม่มีพฤติกรรมกระทาการ หรื อละเว้นกระทาการโดยไม่สุจริ ต หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในการทา ธุรกรรมของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย และเป็ นเหตุให้บริ ษทั หรื อผูถ้ ือหุน้ ได้รับความเสี ยหาย หรื อเป็ นเหตุให้ตนหรื อ บุคคลอื่นได้รับประโยชน์โดยมิชอบ 10. ไม่มีพฤติกรรมในการเปิ ดเผย หรื อเผยแพร่ ขอ้ มูล หรื อข้อความเกี่ยวกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยอันเป็ นเท็จที่อาจทา ให้สาคัญผิด หรื อโดยปกปิ ดข้อความจริ งที่ควรบอกให้แจ้งในสาระสาคัญซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสิ นใจของ ผูถ้ ือหุน้ ผูล้ งทุน หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ไม่วา่ จะโดยการสัง่ การ การมีส่วนรับผิดชอบ หรื อมีส่วนร่ วมในการจัดทา เปิ ดเผย หรื อเผยแพร่ ขอ้ มูลหรื อข้อความนั้น หรื อโดยการกระทาหรื อละเว้นการกระทาอื่นใด ทั้งนี้ เว้นแต่พิสูจน์ ได้วา่ โดยตาแหน่ง ฐานะ หรื อหน้าที่ของตน ไม่อาจล่วงรู ้ถึงความเป็ นเท็จของข้อมูลหรื อข้อความดังกล่าว หรื อ การขาดข้อเท็จจริ งที่ควรต้องแจ้งนั้น ทั้งนี้ การทาธุรกรรมดังต่อไปนี้ของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ไม่วา่ จะเป็ นการสัง่ การ การอนุมตั ิ การสนับสนุน การได้รับ ประโยชน์ หรื อการมีส่วนร่ วมอย่างมีนยั สาคัญในลักษณะอื่นใด เข้าลักษณะการมีพฤติกรรมไม่สุจริ ต เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ เป็ นประการอื่น -

ธุรกรรมที่มิได้กระทาในลักษณะเดียวกับที่วญ ิ ญูชนผูป้ ระกอบธุรกิจจะพึงกระทากับคู่สญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์ เดียวกัน และไม่เป็ นไปเพื่อประโยชน์ของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยเป็ นสาคัญ หรื อมีลกั ษณะไปในทางเอื้อประโยชน์ แก่ตนหรื อบุคคลอื่น

-

ธุรกรรมที่ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับการทา รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อการทารายการที่มีนยั สาคัญที่เข้าข่ายเป็ นการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน

11. ไม่มีพฤติกรรมที่เป็ นการกระทาอันไม่เป็ นธรรมหรื อการเอาเปรี ยบผูล้ งทุนในการซื้อขายหลักทรัพย์หรื อสัญญาซื้ อ ขายล่วงหน้า หรื อมี หรื อเคยมีส่วนร่ วมหรื อสนับสนุนการกระทาดังกล่าว การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารสูงสุด การกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั กรรมการชุดย่อย และผูบ้ ริ หารสูงสุด ให้พิจารณากาหนดค่าตอบแทน ตามแนวทางดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ จิ ารณาในการกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั กรรมการชุดย่อย และ ผูบ้ ริ หารสูงสุด (ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารหรื อกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่) โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ผลงาน ประเภท/ขนาดธุรกิจของบริ ษทั และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากบุคลากรแต่ละท่าน โดยที่ค่าตอบแทนดังกล่าวต้องอยูใ่ นระดับที่เหมาะสมและเพียงพอที่จะจูงใจและรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพไว้ โดย เปรี ยบเทียบกับบริ ษทั ในธุรกิจที่คล้ายคลึงกัน อีกทั้งยังต้องพิจารณาประเภทค่าตอบแทน วิธีการจ่ายค่าตอบแทน และจานวนค่าตอบแทนที่เหมาะสม 2. หากมีการเสนอปรับอัตราค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หารสูงสุด (ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารหรื อกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่) ให้คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาอนุมตั ิรายการดังกล่าว 3. การพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั และกรรมการชุดย่อย ให้นาเสนอที่ประชุมผูถ้ ือ 4. หุน้ พิจารณาอนุมตั ิเป็ นประจาทุกปี

92


นโยบายการวางแผนการสื บทอดตาแหน่ ง บริ ษทั มี การจัดทาแผนสื บทอดตาแหน่ ง เพื่อสร้ างความต่อเนื่ องในการบริ หารงานสาหรับกลุ่มผูบ้ ริ หารในระดับ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย โดยมุ่งเน้นไปที่พนักงานระดับบริ หาร เพื่อให้ฝ่ายทรัพยากรบุคคลสามารถเตรี ยมบุคลากรให้มีความ พร้ อ มในการปฏิ บัติ งานอย่า งเป็ นระบบ มี ขี ด ความสามารถและสมรรถนะ (Competency) ที่ เ หมาะสม รวมทั้ง สั่ง สม ประสบการณ์ที่จาเป็ นสาหรับการดารงตาแหน่งที่สาคัญในบริ ษทั นโยบายด้ านการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริ ษทั จะจัดให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายในทุกด้าน และระบบการตรวจสอบภายในต่าง ๆ ทั้งด้าน การเงิน การปฏิบตั ิงาน การดาเนินการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง การจัดให้มีกลไกการตรวจสอบ และถ่วงดุลที่มีประสิ ทธิ ภาพเพียงพอในการปกป้ อง รักษา และดูแลเงินลงทุนของผูถ้ ือหุน้ และสิ นทรัพย์ของบริ ษทั อยูเ่ สมอ จัดให้มีการกาหนดลาดับชั้นของอานาจอนุมตั ิและความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารและพนักงานที่มีการตรวจสอบถ่วงดุลใน ตัว กาหนดระเบียบการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรมีสานักตรวจสอบที่เป็ นอิสระ รายงานตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ ทาหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของทุกหน่วยงาน ทั้งหน่วยงานธุรกิจ และหน่วยงานสนับสนุนให้เป็ นไปตาม ระเบี ยบที่ วางไว้ เพื่อให้มน่ั ใจได้ว่าระบบควบคุมภายในของบริ ษทั เหมาะสม เพียงพอ สอดคล้องกับแนวทางของตลาด หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และหลักการควบคุมภายในของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ครอบคลุมการควบคุมภายในด้านการบริ หาร (Management Control) การดาเนิ นงาน (Operational Control) การบัญ ชี แ ละการเงิ น (Financial Control) และการปฏิ บัติ ต ามกฏหมายและระเบี ย บข้อ บัง คับ ที่ เ กี่ ย วข้อ ง (Compliance Control) นโยบายด้ านการบริหารความเสี่ยง โครงสร้างขององค์กรปั จจุบนั มีคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงซึ่งแต่งตั้งจากกรรมการบริ ษทั อย่างน้อยสาม (3) คน โดยมีกรรมการอิสระหนึ่ ง (1) คน คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงมีหน้าที่กาหนดนโยบาย และกรอบการดาเนิ นงานการ บริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั จัดให้บริ ษทั มี ระบบบริ หารความเสี่ ยงทุ กด้านครอบคลุมปั จจัยความเสี่ ย งที่ เกี่ ยวข้องกับ วิสัยทัศน์ เป้ าหมาย กลยุทธ์ทางธุ รกิ จ การเงิ น และการปฏิ บตั ิการด้านอื่น ๆ พิจารณาถึงโอกาสที่ จะเกิ ดและระดับความ รุ นแรงของผลกระทบ กาหนดมาตรการในการป้ องกัน แก้ไขและผูร้ ับผิดชอบที่ ชดั เจนรวมทั้งกาหนดมาตรการในการ รายงานและการติดตามประเมินผล คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กาหนดขอบเขตความเสี่ ยงที่ ยอมรับได้ของบริ ษทั (Risk Appetite) และมีตวั ชี้ วดั ความเสี่ ยงสาคัญ (Key Risk Indicator: KRI) เพื่อเป็ นแนวทางในการบริ หารธุ รกิ จ และมี การผสานเชื่ อมโยงระบบการ บริ หารความเสี่ ยงกับกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร โดยกาหนดให้ผรู ้ ับผิดชอบบริ หารความเสี่ ยง รายงานตรงกับ สานักงานประธานเจ้าหน้าที่บริ หารหรื อกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ที่รับผิดชอบงานวางกลยุทธ์องค์กรและแผนงานธุรกิจ ทา หน้าที่ประสานงาน ติดตามความคืบหน้าของแผนปฏิบตั ิการในการควบคุมความเสี่ ยงอย่างต่อเนื่ อง ทาให้มนั่ ใจได้วา่ การ บริ หารความเสี่ ยงสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายเชิงกลยุทธ์ตามที่กาหนดไว้

93


นโยบายด้ านการเปิ ดเผยข้ อมูลสารสนเทศ คณะกรรมการบริ ษทั มุ่งมัน่ ที่ จะดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ ยวข้องกับการเปิ ดเผย ข้อมูลและความโปร่ งใสอย่างเคร่ งครัด จัดให้มีศูนย์นกั ลงทุนสัมพันธ์ทาหน้าที่สื่อสารกับผูถ้ ือหุ ้นและให้ความสะดวกแก่ นักลงทุ นและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ทว่ั ไปอย่างเท่าเที ยมกัน และด้วยวิธีการที่ เหมาะสม รวมทั้งการเผยแพร่ ขอ้ มูลใน เว็บไซต์ท้ งั ที่เป็ นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขณะเดียวกันก็ได้จดั ให้ส่วนงานที่รับผิดชอบด้านการให้ขอ้ มูลข่าวสาร และ การประชาสัมพันธ์ทาหน้าที่เผยแพร่ ข่าวสารการดาเนินงานตลอดจนผลประกอบการของบริ ษทั ผ่านสื่ อต่าง ๆ เพื่อให้ผถู ้ ือ หุ ้น นักลงทุน ผูม้ ีส่วนได้เสี ย และผูม้ ีส่วนเกี่ ยวข้องอื่น ๆ ได้รับทราบข้อมูลของบริ ษทั อย่างทัว่ ถึงตรงเวลา และทันต่อ เหตุการณ์ คณะกรรมการบริ ษ ัท จะเปิ ดเผยข้อ มู ล สารสนเทศทางการเงิ น และไม่ ใ ช่ ข ้อ มู ล ทางการเงิ น ตามก าหนดเวลา มี รายละเอียดอย่างเพียงพอ และผลประกอบการของบริ ษทั ที่ตรงต่อความเป็ นจริ ง ครบถ้วน เพียงพอสม่าเสมอ ทันเวลา เพื่อ แสดงให้เห็นถึงสภาพทางการเงินและการประกอบการที่แท้จริ งของบริ ษทั รวมทั้งอนาคตของธุรกิจของบริ ษทั ดังนี้ 1. รายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ ายบริ หาร (Management Discussion Analysis : MD&A) คณะกรรมการบริ ษทั ให้ความสาคัญกับการจัดทาบทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ ายบริ หาร (MD&A) ทั้งรายปี และราย ไตรมาสอย่างละเอียด 2. ข้อมูลทางการเงิน ผูส้ อบบัญชีที่บริ ษทั แต่งตั้ง ได้ให้การรับรองข้อมูลทางการเงิน โดยแสดงความเห็นอย่างเป็ นอิสระ และคณะกรรมการบริ ษทั ได้อธิ บายความรั บผิดชอบในการแสดงรายงานทางการเงิ น ซึ่ งคณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาแล้วและรับรองว่างบ การเงิ นที่ เปิ ดเผยนั้นมี ความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ และได้ปฏิ บัติตามมาตรฐานการบัญชี ที่รับรองโดยทั่วไป และ มาตรฐานบัญชีสากล 3. ข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงิน บริ ษทั จะให้ขอ้ มูลอย่างครบถ้วน ชัดเจน ทั้งในรายงานประจาปี และในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี นโยบายด้ านบัญชีและการเงิน 1. ความถูกต้องของการบันทึกรายการ - การบันทึ กรายการทางธุ รกิ จทุ กอย่างของบริ ษทั จะต้องถูกต้องครบถ้วน และสามารถตรวจสอบได้โดยไม่ มี ข้อจากัดหรื อข้อยกเว้นในลักษณะใด - การลงรายการบัญชี และการบันทึกทางธุรกิจจะต้องเป็ นไปตามความเป็ นจริ ง ไม่มีการบิดเบือนหรื อสร้างรายการ เท็จ ไม่วา่ จะด้วยวัตถุประสงค์ใดๆ ก็ตาม - บุคลากรทุกระดับต้องดาเนินรายการทางธุรกิจให้สอดคล้อง และเป็ นไปตามระเบียบ ข้อกาหนด และคาสั่งต่าง ๆ ของบริ ษทั รวมทั้งมีเอกสารหลักฐานประกอบการลงรายการทางธุ รกิ จที่ ถูกต้อง ครบถ้วนและให้ขอ้ มูลที่ เป็ น ประโยชน์อย่างเพียงพอ และทันเวลา เพื่อให้ผทู ้ ี่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบันทึก การจัดทา และการประเมินรายงาน ทางการบัญชีและการเงิน สามารถบันทึก และจัดทารายงานทางการบัญชี และการเงินทุกประเภทของบริ ษทั ลงใน ระบบบัญชีของบริ ษทั โดยมีรายละเอียดที่ถูกต้อง และครบถ้วน

94


2.

รายงานทางการบัญชีและการเงิน - พนักงานทุกคนต้องไม่กระทาการบิดเบือนข้อมูล หรื อสร้างรายการเท็จ ไม่ว่าจะเป็ น ข้อมูลรายการทางธุรกิจที่ เกี่ยวกับการบัญชี และการเงิน หรื อข้อมูลรายการทางด้านปฏิบตั ิการ - พนักงานทุกคนควรตระหนักว่าความถูกต้องของรายงานทางบัญชีและการเงิน เป็ นความรับผิดชอบร่ วมกันของ คณะกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ - พนักงานทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบในการดาเนินการ จัดเตรี ยม และ/หรื อให้ขอ้ มูล รายการทางธุรกิจ 3. การปฏิบตั ิตามกฎหมาย - บุคลากรทุกระดับจะต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ระเบียบ ข้อกาหนด และคาสัง่ เพื่อให้การจัดทาบัญชีและ การบันทึกรายการทางการเงินของบริ ษทั เป็ นไปอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ - บุคลากรทุกระดับจะต้องยึดหลักความซื่อสัตย์ ปราศจากอคติ และมีความซื่ อตรง ในการจัดเก็บบันทึกข้อมูล โดย ความซื่อตรงดังกล่าวหมายรวมถึงการไม่ยงุ่ เกี่ยวกับกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย หรื อผิดจริ ยธรรมด้วย

นโยบายด้ านการปฏิบัตติ ามกฎหมาย บริ ษทั ให้ความสาคัญในการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับทั้งในส่วนงานของภาครัฐ โดยเฉพาะในการกระทา ธุรกรรม บริ ษทั หลีกเลี่ยงการกระทาที่อาจจูงใจให้รัฐ หรื อพนักงานของรัฐดาเนิ นการที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม แต่จะเน้นการ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกันในขอบเขตที่เหมาะสมและสามารถทาได้ เช่น การพบปะพูดคุยในที่สาธารณะต่างๆ การ ไปแสดงความยินดีในวาระโอกาส เทศกาล หรื อตามประเพณี ปฏิบตั ิ เป็ นต้น โดยมีหลักปฏิบตั ิ คือ ดาเนิ นการอย่างถูกต้อง เมื่ อต้องมี การติดต่อกับเจ้าหน้าที่ หรื อหน่ วยงานของรั ฐ และตระหนักอยู่เสมอว่ากฎหมาย กฎเกณฑ์ หรื อข้อบังคับใน หน่วยงานภาครัฐต่างๆ อาจมีเงื่อนไข ขั้นตอน หรื อวิธีปฏิบตั ิที่แตกต่างกัน และบริ ษทั พึงรับรู ้และปฏิบตั ิตามอย่างเคร่ งครัด นโยบายด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ บริ ษทั กาหนดให้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร เป็ นปั จจัยสาคัญที่ ช่วยส่ งเสริ มการดาเนิ นธุ รกิ จ และเพิ่ม ประสิ ทธิภาพการทางาน ฉะนั้นจึงเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกันของพนักงานบริ ษทั ทุกคนที่จะต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารภายใต้ขอ้ บังคับของกฎหมาย คาสั่ง บริ ษทั และตามมาตรฐานที่ บริ ษทั กาหนด และบริ ษทั ได้จดั ให้มีการ บริ หารความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ซึ่ งหมายถึง ระบบคอมพิ วเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามมาตรฐานสากล พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ พนักงานบริ ษทั ทุกคนมีหน้าที่ และข้อปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ 1. มี หน้าที่ รับผิดชอบในการป้ องกัน และดู แลให้ระบบสารสนเทศของบริ ษทั ที่ อยู่ในความครอบครอง หรื อหน้าที่ รับผิดชอบของตนไม่ให้ถูกบุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าถึงโดยมิชอบ และไม่เปิ ดเผยข้อมูลที่มีความสาคัญทางธุรกิจ ต่อผูไ้ ม่เกี่ยวข้อง 2. มีวนิ ยั ในการใช้ระบบสารสนเทศ และอุปกรณ์สื่อสารของบริ ษทั ไม่ให้ส่งผลกระทบในแง่ลบต่อบริ ษทั และผูอ้ ื่น เช่น ใช้เป็ นเครื่ องมือในการเข้าถึงระบบสารสนเทศโดยมิชอบสร้างความเสี ยหายต่อชื่อเสี ยง และทรัพย์สิน รบกวน หรื อ ก่อความราคาญต่อการทางานของระบบสารสนเทศ ดักข้อมูล ลักลอบถอดรหัสผ่าน ปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ ภาพ ข้อความ หรื อเสี ยงที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งไม่นาไปใช้ในเชิงธุรกิจส่วนตัว หรื อการกระทาที่ผิดกฎหมาย 3. ต้องไม่ละเมิดลิขสิ ทธิ์ซอฟท์แวร์ หรื อทรัพย์สินทางปั ญญาของผูอ้ ื่น

95


4. ต้องเข้ารหัสข้อมูลในกรณี ที่ตอ้ งการส่งข้อมูลที่สาคัญทางธุรกิจผ่านเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต รวมทั้งไม่แลกเปลี่ยนข้อมูล ที่สาคัญทางธุรกิจกับ Website ที่ไม่มีการป้ องกันความปลอดภัยของข้อมูล 5. กรณี ที่พนักงานขออนุญาตให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานสมทบ ซึ่งเป็ นพนักงานของผูร้ ับจ้างของบริ ษทั เข้าใช้ระบบสารสนเทศของ บริ ษทั ได้น้ ัน พนักงานผูข้ ออนุ ญาตต้องควบคุ มการใช้งานของผูป้ ฏิ บัติงานสมทบ และต้องรั บผิดชอบต่อความ เสี ยหายที่เกิดขึ้นกับบริ ษทั 6. บริ ษทั จะเข้าตรวจสอบ ค้นหา ติดตาม สอบสวน และควบคุมการใช้ระบบสารสนเทศของพนักงาน หากพบข้อสงสัย ว่าพนักงานใช้งานในทางที่ไม่เหมาะสม หรื อมีเหตุอนั ควร เพื่อป้ องกันความปลอดภัยของระบบสารสนเทศของบริ ษ ั 7. หากบริ ษทั พบว่า พนักงานมีการละเมิด และผลการสอบสวนอย่างเป็ นธรรมปรากฏว่าเป็ นจริ ง จะได้รับการพิจารณา ลงโทษทางวินยั และ/หรื อโทษทางกฎหมาย ตามความเหมาะสมแล้วแต่กรณี นโยบายต่ อต้ านคอร์ รัปชั่น บริ ษทั ให้ความสาคัญในการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ทุกรู ปแบบ โดยมุ่งเน้นการส่ งเสริ มคุณธรรม สร้างจิตสานึ ก และค่านิยมที่ถูกต้องในการปฏิบตั ิงาน บริ ษทั จึงกาหนดแนวทางการต่อต้านการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ และสื่ อสารให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานได้รับทราบ เพื่อสร้างความรู ้ความเข้าใจและถือปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด ดังนี้ 1. สร้างจิตสานึก ค่านิยม ทัศนคติให้แก่พนักงานในการปฏิบตั ิงานตามกฎหมาย กฎระเบียบ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต 2. กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ิหน้าที่ตามนโยบายการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ โดยไม่เข้าไป เกี่ยวข้องกับการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้อม และไม่พึงละเลยหรื อเพิกเฉยเมื่อพบการกระทาที่เข้า ข่ายการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ฯ 3. จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล มีการตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อานาจอย่าง เหมาะสม เพื่อป้ องกันมิให้พนักงานทุจริ ตหรื อมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริ ต คอร์รัปชัน่ ต่างๆ 4. กาหนดระบบการตรวจสอบภายในที่ครอบคลุมด้านการเงินและการบัญชีที่มีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อให้มน่ั ใจว่าธุรกรรม ทางการเงินดังกล่าวเป็ นไปด้วยความถูกต้อง โปร่ งใส และสามารถตรวจสอบได้ 5. ห้ามกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน กระทาการใดๆ อันเป็ นการเรี ยกร้อง หรื อยอมรั บซึ่ งทรัพย์สิน หรื อ ผลประโยชน์อื่นใด สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นที่ส่อไปในทางจูงใจให้ปฏิบตั ิ หรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่ในทางที่มิชอบ หรื ออาจทาให้บริ ษทั เสี ยประโยชน์อนั ชอบธรรม 6. กาหนดหลักการให้หรื อการรับของขวัญ สิ่ งของ หรื อการบันเทิงที่อาจมีผลส่อให้เกิดข้อสงสัยในพฤติกรรมการทุจริ ต หรื อการให้สินบน หากเป็ นการรับของขวัญควรเป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล และต้องไม่เป็ นเงินสดหรื อเทียบเท่าเงินสด และต้องตระหนักว่าการกระทาใดๆ ต้องอยูภ่ ายใต้ความโปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ 7. กาหนดระเบียบการจัดซื้ อจัดจ้าง การเบิกจ่ายเงิน หรื อการทาสัญญาใดๆ โดยแต่ละขั้นตอนต้องมีหลักฐานประกอบ อย่างชัดเจนและมีการกาหนดอานาจอนุมตั ิอย่างเหมาะสมและรัดกุม 8. ห้ามกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ให้หรื อเสนอที่จะให้ทรัพย์สินหรื อผลประโยชน์อื่นใดแก่บุคคลภายนอก เพื่อจูงใจให้บุคคลนั้นกระทาหรื อละเว้นการกระทาใดที่ผิดต่อกฎหมายหรื อโดยมิชอบต่อตาแหน่งหน้าที่ของตน 9. จัดให้มีกลไกการรายงานสถานะทางการเงินที่โปร่ งใสและถูกต้อง 10. จัดให้มีการสื่ อสารนโยบายและแนวทางการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ไปยังกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุก ระดับของบริ ษทั ให้รับทราบและเข้าใจอย่างถ่องแท้เพื่อนาไปปฏิบตั ิโดยผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การอบรมพนักงาน ระบบการสื่ อสารภายในองค์กร เป็ นต้น

96


11. กาหนดช่องทางการแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ในกรณี ที่พบเหตุการณ์ที่น่าสงสัยอันส่อให้เกิดการทุจริ ต และการประพฤติมิชอบของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานของบริ ษทั โดยผูแ้ จ้งเบาะแสสามารถส่งรายละเอียดและ หลักฐานต่างๆ ไปยังบริ ษทั โดยผ่านช่องทาง เว็บไซต์ อีเมล์ หรื อ จดหมาย 12. จัดทากลไกการคุ ม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแสการทุ จริ ตคอร์ รัปชั่นที่ เกี่ ยวข้องกับบริ ษทั โดยการกาหนดข้อมูลของผูแ้ จ้ง เบาะแสให้เป็ นความลับกรณี ที่ขอ้ มูลของผูแ้ จ้งเบาะแสถูกเปิ ดเผย ผูท้ ี่มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบข้อมูลดังกล่าวจะต้องถูก ดาเนินการลงโทษทางวินยั 13. กาหนดบทลงโทษกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานที่ มีกระทาการทุ จริ ตคอร์ รัปชั่นหรื อสนับสนุ นการกระทาที่ เกี่ยวข้องกับการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ โดยจะดาเนิ นการลงโทษทางวินยั ตามสมควรแก่กรณี เช่น ตักเตือนเป็ นลายลักษณ์ อักษร ลดค่าจ้าง พักงาน เลิกจ้าง และดาเนินคดีตามกฏหมาย เป็ นต้น 14. กาหนดให้มีการตรวจสอบ และรายงานตามลาดับขั้นของสายงานการบังคับบัญชา ของผูก้ ระทาการทุจริ ต จนกระทัง่ ถึง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษทั 15. กาหนดให้คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ประเมินโอกาสที่จะเกิดการทุจริ ตขึ้น รวมถึงผลกระทบโดยครอบคลุมการ ทุจริ ตแบบต่างๆ เช่น การจัดทารายงานทางการเงินเท็จ การทาให้สูญเสี ยทรัพย์สิน การคอร์ รัปชัน การที่ผบู ้ ริ หาร สามารถฝ่ าฝื นระบบควบคุมภายใน (management override of internal controls) การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในรายงานที่ สาคัญ การได้มาหรื อใช้ไปซึ่งทรัพย์สินโดยไม่ถูกต้อง เป็ นต้น นโยบายการแจ้ งเบาะแสการกระทาความผิด

บริ ษทั จัดให้มีแนวทางในการแจ้งเบาะแสหรื อข้อร้องเรี ยนการไม่ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ (Whistleblower) หรื อ การกระทาผิดกฎหมายหรื อพฤติ กรรมที่ อาจส่ อถึงการทุจริ ตหรื อประพฤติ มิชอบของบุคคลในบริ ษทั รวมถึงความ บกพร่ องของระบบควบคุมภายในจากพนักงานและผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นโดยสามารถแจ้งเบาะแสหรื อข้อร้องเรี ยนได้ที่ คุณสุ วชิ ลา่ ซา ประธานกรรมการ, ประธานกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ Email: suvit.l@rhombho.co.th หรื อส่ งจดหมายมาที่ “53 ถนนสุ คนธสวัสดิ์ แขวงลาดพร้ าว เขตลาดพร้ าว กรุ งเทพมหานคร 10230” บริ ษทั จะเก็บข้อมูลการแจ้งเบาะแสหรื อข้อร้ องเรี ยนดังกล่าวเป็ นความลับและจากัดผูร้ ั บทราบข้อมูลโดย เปิ ดเผยเฉพาะผูท้ ี่เกี่ยวข้องเท่านั้นเพื่อคุม้ ครองผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ้ นกับผูแ้ จ้งเบาะแสหรื อข้องร้องเรี ยนดังกล่าว อย่าไรก็ตาม ผูแ้ จ้งเบาะแสหรื อข้อร้องเรี ยนสามารถเลือกที่ จะเปิ ดเผยตัวหรื อเลือกไม่ประสงค์ออกนามก็ได้ หาก ปรากฎว่ามีผูใ้ ดกลัน่ แกล้งหรื อปฏิ บตั ิ ไม่เป้ นธรรมต่อผูแ้ จ้งเบาะแสหรื อข้อร้องเรี ยนบริ ษทั จะลงโทษผูน้ ้ นั ในขั้น เด็ดขาด

97


ความรับผิดชอบต่ อลูกค้ า และผู้บริโภค บริ ษทั คานึงถึงความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า ซึ่งเป็ นผูท้ ี่ซ้ือสิ นค้าและบริ การจากบริ ษทั รวมทั้งผูบ้ ริ โภคซึ่งเป็ นผูท้ ี่ใช้ สิ นค้าและบริ การที่บริ ษทั ผลิต ด้วยราคาที่เป็ นธรรม มีคุณภาพ และมีความรับผิดชอบต่อลูกค้า และผูบ้ ริ โภค แนวปฏิบัติ 1. บริ ษทั มุ่งมัน่ พัฒนาสิ นค้า และบริ การให้ครบวงจร บริ การรวดเร็ ว มีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า และผูบ้ ริ โภคอย่างต่อเนื่ องบุ คลากรของบริ ษทั ต้องทุ่ มเทเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และ ผูบ้ ริ โภคอย่างเต็มที่ ด้วยราคาที่ สมเหตุสมผล ทันต่อสถานการณ์ มีคุณภาพ ไม่จากัดสิ ทธิ ของผูบ้ ริ โภค และมี เงื่อนไขที่เป็ นธรรมสาหรับผูบ้ ริ โภค 2. บริ ษทั ต้องไม่ทาการใดอันเป็ นการหลอกลวง หรื อทาให้หลงเชื่อในคุณภาพสิ นค้า และบริ การของบริ ษทั ที่อาจเกิน จริ ง 3. บริ ษทั มุ่งมัน่ พัฒนาความปลอดภัยในการใช้สินค้าและบริ การของบริ ษทั ความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภคนั้น มี ความสาคัญยิ่ง บริ ษทั กาหนดให้มีป้ายเตือนภัย ตรวจสอบความปลอดภัยในสถานประกอบการรณรงค์และ อบรมพนักงานในเรื่ องความปลอดภัยสาหรับผูบ้ ริ โภคอย่างเคร่ งครัดต่อเนื่อง นโยบายการป้องกันการนาข้ อมูลภายในไปใช้ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมและเสมอภาคต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกราย และบริ ษทั ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการป้ องกัน การใช้ขอ้ มูลภายใน บริ ษทั จึงมี นโยบายและวิธีดูแลกรรมการและผูบ้ ริ หารและพนักงานในการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ซึ่งยังไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย์ดงั นี้ 1. บริ ษทั กาหนดแนวทางการเก็บรักษาข้อมูลและการป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเพื่อความเป็ น ธรรมต่อผูถ้ ือหุน้ ลูกค้า คู่คา้ และผูม้ ีส่วนได้เสียทุกฝ่ าย ตามกฎหมายและหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี 2. บริ ษทั ห้ามไม่ให้ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงาน ใช้ขอ้ มูลภายในที่เป็ นสาระสาคัญต่อการซื้ อขายหลักทรัพย์ของ บริ ษ ัท และที่ อ าจมี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงราคาหลัก ทรั พ ย์บ ริ ษ ัท ซึ่ งยัง ไม่ ไ ด้เ ปิ ดเผยแก่ ส าธารณชน เพื่ อ ผลประโยชน์ของตนเองและผูเ้ กี่ยวข้อง ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้อม และไม่วา่ จะได้รับผลตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม 3. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงาน และลูกจ้างของบริ ษทั ที่ ได้รับทราบข้อมูลภายในที่ เป็ นสาระสาคัญ ซึ่ ง อาจจะมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาของหลักทรัพย์ ซึ่งยังมิได้เปิ ดเผยต่อสาธารณชน ซึ่ งตนได้ล่วงรู ้ มาในตาแหน่งหรื อฐานะเช่นนั้น ซื้อหรื อขาย หรื อเสนอซื้อ หรื อเสนอขาย หรื อใช้เพื่อการชักชวนให้บุคคลอื่นซื้ อ หรื อขาย หรื อเสนอซื้ อ หรื อเสนอขายซึ่ งหุ ้นหรื อหลักทรัพย์อื่น (ถ้ามี) ของบริ ษทั ไม่วา่ ทั้งทางตรงหรื อทางอ้อม ในประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่บริ ษทั ไม่วา่ ทั้งทางตรงหรื อทางอ้อม และไม่วา่ การกระทาดังกล่าวจะทา เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรื อผูอ้ ื่น หรื อนาข้อเท็จจริ งเช่นนั้นออกเปิ ดเผยเพื่อให้ผอู ้ ื่นกระทาดังกล่าว โดยตนได้รับ ผลประโยชน์ตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม ข้อกาหนดนี้ ให้รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงาน และลูกจ้างของบริ ษทั ด้วย 4. บริ ษทั กาหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร รวมถึงผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริ หารในสายงานบัญชีหรื อการเงินที่เป็ นระดับ ผูจ้ ดั การฝ่ ายขึ้นไปหรื อเที ยบเท่า และพนักงานซึ่ งอยู่ในหน่วยงานที่รับทราบข้อมูลภายในที่ เป็ นสาระสาคัญซึ่ ง อาจจะมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาของหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซื้อ และ/หรื อ การขายหลักทรัพย์ ของบริ ษทั ในช่วงหนึ่ง (1) เดือนก่อนที่บริ ษทั จะมีการเผยแพร่ งบการเงินหรื อข้อมูลเกี่ยวกับผลการดาเนินงานและ

98


ฐานะการเงินหรื อข้อมูลข่าวสารที่เป็ นสาระสาคัญ ซึ่ งอาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ จนกว่าบริ ษทั จะได้เปิ ดเผยข้อมูลภายในดังกล่าวต่อสาธารณชนแล้ว และควรรออย่างน้อย 24 ชัว่ โมงภายหลังการเปิ ดเผยข้อมูล ดังกล่าวให้สาธารณชนแล้ว ทั้งนี้ ในกรณี ที่การเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวยังไม่เป็ นที่ แพร่ หลายหรื อเป็ นข้อมูลที่ มี ความซับซ้อนมาก ควรรอถึง 48 ชัว่ โมงภายหลังจากการเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวให้แก่สาธารณชนทราบแล้ว ก่อนที่ จะซื้ อหรื อขายหุ ้นของบริ ษทั รวมทั้งห้ามบุคคลดังกล่าวและผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในไม่ให้เปิ ดเผยข้อมูลนั้น ต่อบุคคลอื่นด้วย 5. บริ ษทั กาหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร รวมถึงผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริ หารในสายงานบัญชีหรื อการเงินที่เป็ นระดับ ผูจ้ ดั การฝ่ ายขึ้นไปหรื อเทียบเท่า จัดทาและนาส่ งรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริ ษทั ซึ่ งบุคคลดังกล่าวรวมถึงคู่ สมรสและของบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะถืออยู่ มายังเลขานุการบริ ษทั โดยให้จดั ทาและนาส่งภายในสามสิ บ (30) วันภายหลังเข้ารับตาแหน่ ง นอกจากนี้ กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องแจ้งเกี่ ยวกับการซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์ของ บริ ษทั ทุกครั้ง โดยแจ้งอย่างน้อยหนึ่ ง (1) วันล่วงหน้าก่อนทาการซื้ อขายต่อคณะกรรมการหรื อผูท้ ี่คณะกรรมการ มอบหมาย เพื่อรายงานต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เมื่อมีการซื้ อหรื อขาย หลักทรั พ ย์ภายในสาม (3) วัน ท าการนับแต่ วนั ที่ มีก ารซื้ อ ขาย โอน หรื อ รั บโอนหลัก ทรั พ ย์น้ ัน ทั้ง นี้ ตามที่ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กาหนด 6. บริ ษทั กาหนดให้กรรมการและผูบ้ ริ หาร จัดทาและนาส่งรายงานการมีส่วนได้เสี ย มายังเลขานุการบริ ษทั ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑ์ที่พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กาหนด 7. บริ ษทั กาหนดให้กรรมการ และผูบ้ ริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ และรายงานการมีส่วน ได้เสี ย ให้ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ทราบ โดยเลขานุ การบริ ษทั เป็ นผูจ้ ัดทาข้อมูลรายงานต่อที่ ประชุม คณะกรรมการบริ ษทั ในคราวถัดไป รวมถึงเปิ ดเผยข้อมูลการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ และผูบ้ ริ หารระหว่างปี ไว้ในรายงานประจาปี 8. บริ ษทั ให้ความสาคัญต่อการป้ องกันการใช้ขอ้ มูล ภายในเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิ ชอบ หรื อทาให้ ผลประโยชน์ของบริ ษทั ลดลง หรื อก่อความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน สัญญาจ้างแรงงาน และข้อบังคับเกี่ยวกับการทางาน 9. บริ ษทั ให้ความสาคัญในการรักษาสารสนเทศที่เป็ นความลับของลูกค้า โดยไม่นาสารสนเทศดังกล่าวมาใช้เพื่อ ผลประโยชน์ของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงาน และผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง เว้นแต่เป็ นข้อมูลที่ตอ้ งเปิ ดเผยตามที่กฎหมาย กาหนด 10. บริ ษทั ให้ความสาคัญในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบสารสนเทศ โดยควบคุม และ/หรื อ ป้ องกัน การเข้าถึงข้อมูลของบริ ษทั จากบุคคลภายนอก และกาหนดสิ ทธิในการเข้าถึงข้อมูลให้กบั พนักงานในระดับต่าง ๆ ตามอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 11. กรณี ที่บุคคลภายนอกมีส่วนร่ วมในการทางานเฉพาะกิ จเกี่ ยวกับข้อมูลที่ ยงั ไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณชนและอยู่ ระหว่างการเจรจา ซึ่ งเข้าข่ายการเก็บรักษาข้อมูลภายในอันอาจมีผลต่อความเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ของ บริ ษทั บุ คคลเหล่านั้นจะต้องทาสัญญาเก็บรักษาข้อมูลความลับ (Confidentiality Agreement) จนกว่าจะมี การ เปิ ดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์และสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงาน ผูท้ ี่ฝ่าฝื นนโยบายการใช้ขอ้ มูลภายในจะต้องถูกลงโทษทางวินัย และ/หรื อ กฎหมายแล้วแต่ กรณี

99


นโยบายเกีย่ วกับความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ บริ ษทั ให้ความสาคัญต่อการพิจารณารายการต่างๆ อย่างโปร่ งใส และเป็ นประโยชน์ต่อบริ ษทั เป็ นสาคัญ ดังนั้น จึงให้ ความสาคัญต่อการป้ องกันรายการที่อาจเป็ นความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการระหว่างกัน โดยมีหลักการที่สาคัญดังต่อไปนี้ 1. กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารต้องแจ้งให้บริ ษทั ทราบถึงความสัมพันธ์ หรื อรายการเกี่ยวโยงในกิจการที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2. หลีกเลี่ยงการทารายการที่เกี่ยวโยงกับ บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนกาหนด ที่อาจ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั และ/หรื อบริ ษทั ย่อยในกรณี ที่จาเป็ นต้องทารายการนั้นให้มีการ นาเสนอรายการที่เกี่ยวโยงกันต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นก่อนเสนอขออนุมตั ิต่อคณะ คณะกรรมการบริ ษทั ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีและหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์ และสานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กาหนด กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานต้องปฏิบตั ิตามข้อบังคับของบริ ษทั และจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษทั ซึ่งถือเป็ นเรื่ อง สาคัญที่ตอ้ งยึดถือปฏิบตั ิโดยเคร่ งครัด เพื่อให้บริ ษทั เป็ นที่เชื่อถือและไว้วางใจของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย และจัดให้มีการ เผยแพร่ ขอ้ มูลความเข้าใจในการถือปฏิบตั ิของพนักงานทัว่ ทั้งบริ ษทั นโยบายการลงทุน บริ ษทั มีนโยบายที่จะลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ใกล้เคียงกัน หรื อก่อให้เกิดประโยชน์ หรื อสนับสนุนการดาเนินธุรกิจ ของบริ ษทั เพื่อเสริ มสร้ างความมัน่ คงและผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั บริ ษทั จะทาการวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ของ โครงการและพิ จารณาความเสี่ ยงจากการลงทุ น ผลตอบแทน และสภาพคล่ อ งทางการเงิ น ของบริ ษทั อย่า งรอบคอบ นอกจากนี้ การลงทุนของบริ ษทั จะต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ตามขอบเขตอานาจ อนุมตั ิที่กาหนดไว้ และต้องสอดคล้องให้เป็ นไปตามข้อกาหนดและประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุนและตลาด หลักทรัพย์ รวมถึงกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยบริ ษทั จะควบคุมดูแลผ่านการส่ งกรรมการ และ/หรื อผูบ้ ริ หารของบริ ษทั เข้าไปเป็ นกรรมการตามสัดส่วนการถือหุน้ เพื่อควบคุมทิศทางและนโยบายการบริ หารงานให้สอดคล้องกับการดาเนินธุรกิจ ของบริ ษทั ปั จ จุ บัน บริ ษ ัท ไม่ มี ก ารลงทุ น ในบริ ษ ัท ย่อ ยและ/หรื อ บริ ษ ัท ร่ ว ม อย่า งไรก็ ต าม ในอนาคต หากบริ ษ ัท มี ค วาม จาเป็ นต้องพิจาณาลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องข้องใดๆ บริ ษทั จะมุ่งเน้นลงทุนในธุรกิจที่เกื้อหนุน และเอื้อประโยชน์ต่อการทาธุรกิจของบริ ษทั โดยจะพิจารณาผลตอบแทนและผลประโยชน์อื่นที่บริ ษทั คาดว่าจะได้รับจาก การลงทุนเป็ นสาคัญเพื่อเป็ นการสนับสนุนและส่งเสริ มธุรกิจของบริ ษทั โดยบริ ษทั จะพิจารณาสัดส่วนการลงทุนตามความ เหมาะสมและผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุน เพื่อประโยชน์ต่อผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เป็ นสาคัญ ทั้งนี้ บริ ษทั จะ ควบคุมดูแลด้วยการส่งกรรมการ และ/หรื อ ผูท้ ี่ได้รับมอบหมายของบริ ษทั เข้าไปเป็ นตัวแทนตามสัดส่วนการถือหุน้ เพื่อให้ มี ส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการในกิ จการนั้นๆ รวมทั้งมี สิทธิ ในการออกเสี ยงในที่ ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั และที่ ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริ ษทั

100


นโยบายการจ่ ายเงินปันผลของบริษัทฯ บริ ษทั มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลไม่ต่ากว่าอัตราร้อยละสี่ สิบ (40) ของกาไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการ ภายหลัง จากหักภาษีและเงินทุนสารองตามกฎหมายและเงินสารองอื่น (ถ้ามี) โดยบริ ษทั จะพิจารณาการจ่ายเงินปั นผลโดยคานึ งถึง ปั จจัยต่าง ๆ เพื่อก่อให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดแก่ผูถ้ ือหุ ้นเป็ นหลัก และการจ่ายเงิ นปั นผลนั้นจะต้องไม่มีผลกระทบต่อการ ดาเนินงานตามปกติของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ ทั้งนี้การจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ โดยจะขึ้นอยูก่ บั ผล การดาเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่อง ความจาเป็ นในการใช้เงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินงาน แผนการลงทุน และการ ขยายธุรกิจในอนาคต สภาวะตลาด ความเหมาะสม และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานและการบริ หารงานของ บริ ษทั โดยอยูภ่ ายใต้เงื่อนไขที่วา่ บริ ษทั จะต้องมีเงินสดเพียงพอสาหรับการดาเนิ นธุรกิจ และการดาเนินการดังกล่าวจะต้อง ก่อให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดต่อผูถ้ ือหุ ้น ตามที่ คณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อ ผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เห็ นสมควร ทั้งนี้ มติของ คณะกรรมการบริ ษทั ที่อนุมตั ิให้จ่ายเงินปั นผลจะต้องถูกนาเสนอเพื่อขออนุมตั ิต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เว้นแต่เป็ นการจ่ายเงิน ปั นผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริ ษทั มีอานาจอนุมตั ิให้จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานให้ที่ประชุมใหญ่ ผูถ้ ือหุน้ ทราบในการประชุมคราวต่อไป ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องกาหนด ทั้งนี้ การจ่ายเงิ นปั นผลห้ามมิให้จ่ายเงิ นปั นผลจากเงิ นประเภทอื่นนอกจากเงิ นกาไร ในกรณี ที่บริ ษทั ยังมียอดขาดทุน สะสมอยู่ห้ามมิ ให้จ่ายเงิ นปั นผล เว้นแต่เป็ นกรณี ของหุ ้นบุริมสิ ทธิ ที่ขอ้ บังคับระบุ ไว้เป็ นการอื่ น เงิ นปั นผลให้จ่ายตาม จานวนหุน้ หุน้ ละเท่าๆ กัน โดยการจ่ายเงินปั นผลต้องได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ การจ่ ายเงินปันผล วันที่ คณะกรรมการมีมติ

วันทีจ่ ่ ายเงินปันผล

ประเภทเงินปันผล

เงินปันผล (ต่ อหุ้น) (บาท)

รอบผลประกอบการ

24 เมษายน 2561

18 พฤษภาคม 2561

เงินสด

0.05

01/01/60 - 31/12/60

นโยบายการบริจาคเพื่อสาธารณะกุศล บริ ษทั มีนโยบายบริ จาคเพื่อสาธารณะกุศล ในอัตราไม่เกิ นกว่าร้อยละ 10.00 ของกาไรสุ ทธิ หลังหักภาษีเงิ นได้นิติ บุคคล สาหรับงบการเงินเฉพาะกิจการในปี ก่อนหน้า และหลังหักเงินสารองต่างๆ ทุกประเภทตามที่กฎหมายและบริ ษทั ได้ กาหนดไว้ และการบริ จาคเพื่อสาธารณะกุศล นั้นไม่มีผลกระทบต่อการดาเนิ นงานตามปกติของบริ ษทั อย่างมีนัยสาคัญ ทั้งนี้ การบริ จาคเพื่อสาธารณะกุศล ดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ข้ ึนอยู่กบั ผลการดาเนิ นงานและฐานะการเงิ นของ บริ ษทั สภาพคล่องของบริ ษทั แผนการขยายธุ รกิ จ ความจาเป็ นและความเหมาะสมอื่นใดในอนาคต และปั จจัยอื่ นๆ ที่ เกี่ยวข้องในการบริ หารงานของบริ ษทั ตามที่คณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เห็นสมควรโดยการบริ จาค เพื่อสาธารณะกุศลดังกล่าวจะต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ทุกครั้ง

101


นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริ ษทั มีนโยบายจัดอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถของบุคลากร และให้พนักงานสามารถขอไป อบรมสัมมนาภายนอกได้ หรื อตามความจาเป็ นและเห็นสมควรของหัวหน้างาน ในปี 2561 บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาทักษะและความสามารถของบุคลากรโดยได้จดั ให้พนักงานในทุกระดับอบรมหลักสูตร ดังนี้ Training Matrix Year 2018

ฝ่ ำยบัญชีและ กำรเงิน

้ ฝ่ ำยจัดซือ

ฝ่ ำยประสำนงำน และนิต ก ิ รรม

ฝ่ ำยบุคคล

จำนวนพนักงำนอบรม 14 คน จำนวนชัว่ โมงกำรกำรอบรม (ชม.) : 414 ชัว่ โมง ชัว่ โมงกำรอบรม (เฉลีย ่ /ชม./คน/ปี ) 30 ชัว่ โมง

Department

✓ ✓ ✓

✓ ✓

ข ้อบังคั บ Orientation

ISO

หลักสูตรการบริ หารทรั พยากรบุคคลตามมาตรฐาน ISO FOR HR

หลักสูตร สูตรสาเร็ จ เจ้ าหน้ าที่บริ หารงานบุคคลมือใหม่ หลักสูตรการขอ VISA เข้ ามาในราชอาณาจักร ใบอนุญาตทางานคนต่างด้ าวในประเทศไทย Work Permit หลักสูตรเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับบริ หาร หลักสูตรเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับหัวหน้ างาน หลักสูตรภาษีพนักงาน 2561 ผลกระทบทางภาษีของนายจ้ างและลูกจ้ าง หลักสูตรบทบาทหน้ าที่ของกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

หลักสูตรกฎหมายประกันสังคม กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ที่นายจ้ างและ HR ต้ องรู้ หลักสูตรกฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายประกันสังคม 2561

✓ ✓

หลักสูตร Excel Advance เทคนิคการใช้ Excel ขั ้นสูง เพื่อประยุกต์ใช้ ในการทางานที่หลากหลายได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ หลักสูตรการใช้ โปรแกรม MS Power Point & Excel เพื่อการนาเสนอข้ อมูลทางบัญชีและการเงิน หลักสูตรเทคนิคการใช้ Excel เพื่อการทางานอย่างมีประสิทธิ ภาพ

อืน ่ ๆ

Human Reaource Human Reaource

Law

พระรำชบัญญั ต ิ

System Computer Skill

Microsoft Office

หลักสูตร Refreshment of the Role and Expectation of A CFO

Team work

หลักสูตร ประเด็นปัญหาภาษีอากรและเอกสารทางภาษี-บัญชีสาหรั บงานจัดซื ้อ หลักสูตรสรุ ปการเปลี่ยนแปลงและประเด็นที่สาคัญของ TFRS หลักสูตรการจัดทาภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี Basic Deferred Tax หลักสูตรเจาะลึกการวางแผนภาษีธุรกิ จขายอสังหาริ มทรั พย์ หลักสูตรภาระภาษีทั ้งระบบของธุรกิ จขายอสังหาริ มทรั พย์ บ้าน ที่ดิน หมูบ่ ้านจัดสรร อาคารชุด หลักสูตรงบการเงินและการวิเคราะห์งบการเงินสาหรั บนักบัญชีเพื่อให้ เกิ ดประโยชน์สงู สุดกับกิ จการ หลักสูตรการจัดทางบการเงินรวมเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop) หลักสูตรเลขานุการมืออาชีพยุคใหม่ หลักสูตรเทคนิคการจัดทาเอกสารของบัญชีการเงิน หลักสูตรกลยุทธสู่ความเป็ นเลิศ “ผู้ชว่ ยผู้บริ หาร” อย่างมืออาชีพ หลักสูตรการสื่อสารอย่างมีทกั ษะด้ วยภาษาอังกฤษ หลักสูตรเทคนิคการบริ หารเวลา หลักสูตรกลยุทธ์ การตรวจสอบและป้องกันการทุจริ ต งานจัดซื ้อ จัดจ้ าง หลักสูตรเจาะปัญหาบัญชีของธุรกิ จขายอสังหาริ มทรั พย์ หลักสูตรการจัดทางบประมาณสาหรั บบริ หารธุรกิ จ (Workshop) หลักสูตรการจัดทา Cash Budgeting เพื่อผู้บริ หารระดับสูงในการวางแผนและตัดสินใจสาหรั บผู้บริ หาร หลักสูตรภาษาอังกฤษสาหรั บนักบัญชี

Hard Skill

จำเป็ นต ้องอบรม แต่ยังไม่ได ้อบรม จำเป็ นต ้องอบรม และอบรมแล ้ว

102

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓


ความรับบ ผิดผิ ชอบต่ อสั งคมและสิ อม ่งแวดล้อม ความรั ดชอบต่ อสัง่ แวดล้ คมและสิ บริ ษทั ดำเนินธุรกิจ โดยยึดมัน่ และให้ควำมสำคัญกับหน้ำที่และควำมรับผิดชอบต่อสังคมและผูม้ ีส่วนได้เสี ย ได้แก่ ผูถ้ ือหุ ้น ลูกค้ำ คู่คำ้ พนักงำน ชุมชน และสังคมรอบด้ำน เพื่อสร้ำงควำมมุ่งมัน่ ในกำรดำเนิ นธุรกิจ และมีควำมมุ่งมัน่ ที่ จะ ดำเนิ นธุรกิจให้เป็ นแบบอย่ำงที่ดีต่อสังคม ด้วยหลักจริ ยธรรมและหลักกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี เพื่อสร้ำงประโยชน์ให้กบั สังคม สิ่ งแวดล้อม และกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยดังกล่ำว บริ ษทั จึงได้กำหนดนโยบำยกำรกำกับ ดูแลกิจกำรและจรรยำบรรณธุรกิจ และได้วำงกรอบนโยบำยควำมรับผิดชอบต่อสังคมและแนวทำงในกำรปฏิบตั ิดงั นี้ 1. การกากับดูแลกิจการทีด่ ี บริ ษทั จัดให้มีระบบบริ หำรจัดกำรตำมหลักกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี ด้วยกำรจัดกำรอย่ำงโปร่ งใส เท่ำเทียม และเป็ น ธรรม เพื่อสร้ำงควำมเชื่อมัน่ และควำมมัน่ ใจต่อผูถ้ ือหุน้ ผูล้ งทุน ผูม้ ีส่วนได้เสี ย และผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ ำย แนวปฏิบัติ ปฏิบตั ิตำมนโยบำยกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดีของบริ ษทั ภำยใต้หลักกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดีสำหรับบริ ษทั จดทะเบียน ที่ กำหนดโดยตลำดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยในห้ำ (5) หมวดได้แก่ สิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น กำรปฏิ บตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นอย่ำงเท่ำ เทียมกัน บทบำทของผูม้ ีส่วนได้เสี ย กำรเปิ ดเผยข้อมูลและควำมโปร่ งใส ควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรบริ ษทั 2.

การประกอบธุรกิจด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษทั ถือปฏิบตั ิแนวทำงกำรประกอบธุรกิจด้วยควำมเป็ นธรรม ก่อให้เกิดควำมเชื่อมัน่ ต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้องอันจะส่ งผลดี ต่อบริ ษทั ในระยะยำว แนวปฏิบัติ 1. หลี ก เลี่ ย งกำรด ำเนิ น กำรที่ อ ำจก่ อ ให้เ กิ ด ควำมขัด แย้ง ทำงผลประโยชน์ หรื อ หำกพบว่ำ มี ค วำมขัด แย้ง ทำง ผลประโยชน์เกิ ดขึ้ น ก็ควรจัดให้มี กระบวนกำรไกล่เ กลี่ ยที่ เป็ นธรรมและมี กำรเปิ ดเผยข้อมู ลที่ สำคัญ อย่ำ ง ครบถ้วน 2. ส่งเสริ มกำรแข่งขันทำงกำรค้ำอย่ำงเสรี หลีกเลี่ยงพฤติกรรมกำร เล่นพรรคเล่นพวก หรื อร่ วมสมคบคิดกัน 3. ไม่สนับสนุนกำรดำเนินกำรที่มีลกั ษณะเป็ นกำรละเมิดทรัพย์สินทำง ปั ญญำหรื อลิขสิ ทธิ์ 4. จัดให้มีระบบกำรบริ หำรจัดกำรที่สำมำรถป้ องกันกำรจ่ำยสิ นบนและทุจริ ต หรื อสำมำรถตรวจสอบพบได้โดยไม่ ชักช้ำ รวมถึงมีกระบวนกำร แก้ไขปั ญหำที่มีประสิ ทธิภำพ พร้อมกับให้ควำมเป็ นธรรมหำกเกิดกรณี ดังกล่ำวขึ้น 5. รณรงค์ให้กรรมกำร ผูบ้ ริ หำร และพนักงำนเห็นควำมสำคัญของกำรต่อต้ำนกำรทุจริ ต รวมทั้งกำรกรรโชก และ กำรให้สินบนในทุกรู ปแบบ 3. การเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัตติ ่ อแรงงานอย่ างเป็ นธรรม แนวปฏิบัติ 1. สนับ สนุ น และเคำรพในกำรปกป้ อ งสิ ทธิ ม นุ ษยชน โดยหมัน่ ตรวจตรำ ดู แ ลมิ ใ ห้ธุร กิ จ ของตนเข้ำ ไปมี ส่วน เกี่ยวข้องกับกำรล่วงละเมิดสิ ทธิมนุษยชน

103


2. ส่ งเสริ มให้มีกำรเฝ้ำระวังกำรปฏิบตั ิตำมข้อกำหนดด้ำนสิ ทธิ มนุษยชน ภำยในธุรกิจของตน และกระตุน้ ให้มีกำร ปฏิ บัติตำมหลักกำรสิ ทธิ มนุ ษยชนตำมมำตรฐำนสำกล โดยควำมรั บผิดชอบของธุ รกิ จด้ำนสิ ทธิ มนุ ษยชนยัง ครอบคลุมไปถึงบริ ษทั ในเครื อ ผูร้ ่ วมทุน และคู่คำ้ 3. บริ ษทั จะปฏิบตั ิต่อบุคลำกรของบริ ษทั ทุกคนโดยเสมอภำคกัน ไม่เลือกปฏิบตั ิ ไม่แบ่งแยก ถิ่นกำเนิด เชื้อชำติ เพศ อำยุ สี ผิว ศำสนำ สมรรถภำพร่ ำงกำย ฐำนะ ชำติตระกูล สถำนศึกษำ หรื อสถำนะอื่นใดที่มิได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับ กำรปฏิบตั ิงำน 4. บริ ษทั ให้โอกำสบุคลำกรของ บริ ษทั ทุกคนแสดงควำมสำมำรถอย่ำงเต็มที่โดยจัดผลตอบแทนที่เหมำะสม และ สร้ำงแรงกระตุน้ ในกำรทำงำน ทั้งในรู ปของเงิ นเดื อน โบนัส และค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนิ นกำรที่ เหมำะสมตำม ระเบี ยบของบริ ษทั อี กทั้งให้โอกำสบุคลำกรของบริ ษทั ศึ กษำเพิ่มเติมทั้งในระดับอุดมศึกษำ และกำรอบรมทั้ง ระยะสั้นและระยะยำว 5. บุคลำกรของบริ ษทั ทุกคนต้องปฏิบตั ิหน้ำที่ในควำมรับผิดชอบด้วยตนเองอย่ำงสุ ดควำมสำมำรถ ซื่ อสัตย์สุจริ ต เที่ยงธรรม ยึดมัน่ ในคุณธรรม ไม่มอบหมำยหน้ำที่ของตนให้กบั บุคคลใดบุคคลหนึ่ งทำแทน ไม่วำ่ ทำงตรงหรื อ ทำงอ้อมเว้นแต่จะเป็ นกำรจำเป็ น หรื อเพื่อควำมสะดวกรวดเร็ วในงำนที่ไม่ตอ้ งใช้ควำมสำมำรถเฉพำะของตน 6. บุคลำกรของบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิงำนตำมสำยบังคับบัญชำ รับคำสัง่ และรับผิดชอบโดยตรงต่อผูบ้ งั คับบัญชำของตน ไม่ขำ้ มสำยกำรบังคับบัญชำหำกไม่มีควำมจำเป็ น หลีกเลี่ยงกำรวิพำกษ์วิจำรณ์ผบู ้ งั คับบัญชำ และผูร้ ่ วมงำนที่อำจ ก่อให้เกิดควำมเสี ยหำยต่อบุคคลนั้น หรื อต่อบริ ษทั ทั้งนี้ท้ งั นั้นบุคลำกรของบริ ษทั จะเปิ ดโอกำส และเปิ ดใจรับฟัง ควำมคิดเห็นของผูใ้ ต้บงั คับบัญชำ และเพื่อนร่ วมงำนอย่ำงมีสติ ปรำศจำกอคติ และรับฟังด้วยเหตุและผล 7. บุคลำกรของบริ ษทั สำมำรถใช้ทรัพยำกร แรงงำน สถำนที่ และสิ่ งอำนวยควำมสะดวกของบริ ษทั ในหน้ำที่อย่ำง เต็มที่ ห้ำมใช้ทรัพยำกร แรงงำน สถำนที่ และสิ่ งอำนวยควำมสะดวกไปในกำรอื่นนอกจำกกำรปฏิบตั ิหน้ำที่ หรื อ สวัสดิกำรที่ตนมีสิทธิโดยชอบ 8. บุคลำกรของบริ ษทั ต้องมีกริ ยำมำรยำทสุภำพ แต่งกำยเหมำะสมต่อกำลเทศะ และประพฤติตนเหมำะสมกับหน้ำที่ กำรงำน ธรรมเนียมท้องถิ่น โดยไม่สร้ำงควำมเสื่ อมเสี ยต่อภำพลักษณ์บริ ษทั 9. บุคลำกรของบริ ษทั สำมำรถใช้ชื่อ และตำแหน่งของตนเพื่อเรี่ ยไรเงินเพื่อกำรกุศลที่บริ ษทั เป็ นผูจ้ ดั แต่ห้ำมใช้ชื่อ ของบริ ษทั หรื อตำแหน่งในบริ ษทั ในกำรเรี่ ยไรเงินเป็ นกำรส่วนตัว ไม่วำ่ ด้วยวัตถุประสงค์ใด 10. บุคลำกรของบริ ษทั ควรให้ควำมร่ วมมือในกิ จกรรมที่บริ ษทั จัดขึ้นเพื่อสร้ำงควำมสำมัคคี ช่วยเหลือเกื้ อกูลกัน รวมทั้งกิจกรรมเพื่อสังคมที่บริ ษทั จัดขึ้น 11. ห้ำมบุคลำกรของบริ ษทั กระทำกำรที่ก่อให้เกิดควำมเดือดร้อน รำคำญ บัน่ ทอนกำลังใจผูอ้ ื่น ก่อให้เกิดควำมเป็ น ปฏิ ปั ก ษ์ หรื อ รบกวนกำรปฏิ บัติ ง ำน ที่ มี ล ัก ษณะเป็ นกำรคุ ก คำมทำงเพศไม่ ว่ำ ต่ อ บุ คลำกรของบริ ษ ัท หรื อ บุคคลภำยนอกที่เข้ำมำติดต่อธุรกิจ ทั้งนี้รวมถึง กำรละล่วงทำงเพศ กำรเกี้ยวพำรำสี กำรลวนลำม กำรอนำจำร และ กำรมีไว้ซ่ ึงภำพลำมกอนำจำร ทั้งทำงวำจำและกำรสัมผัส

104


4.

ความรับผิดชอบต่ อลูกค้ า และผู้บริโภค บริ ษทั คำนึงถึงควำมพึงพอใจสูงสุดของลูกค้ำ ซึ่งเป็ นผูท้ ี่ซ้ือสิ นค้ำและบริ กำรจำกบริ ษทั รวมทั้งผูบ้ ริ โภคซึ่งเป็ นผูท้ ี่ใช้ สิ นค้ำและบริ กำรที่บริ ษทั ผลิต ด้วยรำคำที่เป็ นธรรม มีคุณภำพ และมีควำมรับผิดชอบต่อลูกค้ำ และผูบ้ ริ โภค แนวปฏิบัติ 1. บริ ษทั มุ่งมัน่ พัฒนำสิ นค้ำ และบริ กำรให้ครบวงจร บริ กำรรวดเร็ ว มีคุณภำพ เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของ ลูกค้ำ และผูบ้ ริ โภคอย่ำงต่อเนื่ องบุ คลำกรของบริ ษทั ต้องทุ่ มเทเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำ และ ผูบ้ ริ โภคอย่ำงเต็มที่ ด้วยรำคำที่ สมเหตุสมผล ทันต่อสถำนกำรณ์ มีคุณภำพ ไม่จำกัดสิ ทธิ ของผูบ้ ริ โภค และมี เงื่อนไขที่เป็ นธรรมสำหรับผูบ้ ริ โภค 2. บริ ษทั ต้องไม่ทำกำรใดอันเป็ นกำรหลอกลวง หรื อทำให้หลงเชื่อในคุณภำพสิ นค้ำ และบริ กำรของบริ ษทั ที่อำจเกิน จริ ง 3. บริ ษ ัท มุ่งมั่นพัฒนำควำมปลอดภัย ในกำรใช้สินค้ำ และบริ ก ำรของบริ ษทั ควำมปลอดภัย ของผูบ้ ริ โภคนั้นมี ควำมสำคัญยิง่ บริ ษทั กำหนดให้มีป้ำยเตือนภัย ตรวจสอบควำมปลอดภัยในสถำนประกอบกำรรณรงค์และอบรม พนักงำนในเรื่ องควำมปลอดภัยสำหรับผูบ้ ริ โภคอย่ำงเคร่ งครัดต่อเนื่อง

5.

การร่ วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริ ษทั เป็ นบริ ษทั ที่ อยู่ในสังคมโดยไม่แยกขำดจำกสังคมบริ ษทั ย่อมมีภำระที่ ตอ้ งรับผิดชอบในกำรพัฒนำ และคืน กำไรสู่ ชุมชน และสังคมโดยรวม เพื่อให้บริ ษทั เจริ ญเติบโตอย่ำงยัง่ ยืนตำมกำรพัฒนำของสังคม บริ ษทั ถือเป็ นหน้ำที่และ เป็ นนโยบำยหลัก ในกำรให้ค วำมสำคัญ กับ กิ จ กรรมของชุ ม ชนและสัง คมโดยมุ่ ง เน้น ให้เ กิ ด กำรพัฒ นำสัง คมชุ ม ชน สิ่ งแวดล้อมทำนุ บำรุ งศำสนำ สร้ ำงสรรค์และอนุ รักษ์ทรั พยำกรธรรมชำติ รวมทั้งสนับสนุ นกำรศึ กษำแก่ เยำวชนและ สนับสนุนกิจกรรมสำธำรณประโยชน์แก่ชุมชนที่ดอ้ ยโอกำส ให้เป็ นชุมชนที่เข้มแข็งพึ่งพำตนเองได้ แนวปฏิบัติ 1. บริ ษทั มุ่งที่ จะทำควำมเข้ำใจ สื่ อสำรกับสังคมถึ งสถำนะ และข้อเท็จจริ งในกำรดำเนิ นงำนของบริ ษทั ควำม รับผิดชอบของบริ ษทั ต่อชุมชนและสังคมโดยรวม และควำมรับผิดชอบของบริ ษทั ในสิ่ งแวดล้อม โดยไม่ปกปิ ด ข้อเท็จจริ งที่ อำจเปิ ดเผยได้ ให้ควำมร่ วมมือในกำรให้ขอ้ มูลกับนักลงทุน ผูถ้ ือหุ ้น และผูส้ นใจทัว่ ไป อย่ำงทัน สถำนกำรณ์ 2. บริ ษ ัท มุ่ ง มัน่ ที่ จ ะมี ส่ว นร่ ว มในกำรรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คมในเรื่ อ งคุ ณ ภำพ ควำมปลอดภัย อำชี ว อนำมัย และ สิ่ งแวดล้อมอย่ำงจริ งจังและต่ อเนื่ องในกำรใช้ท รั พ ยำกรธรรมชำติ ให้เ กิ ดประโยชน์สูง สุ ด โดยตระหนักถึ ง ควำมสำคัญของสิ่ งแวดล้อมและควำมปลอดภัยของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยที่เกี่ยวข้องตลอดจนส่ งเสริ มกิจกรรมทำง สังคมในกำรรักษำสิ่ งแวดล้อมและพัฒนำคุณภำพชีวติ ของคนในชุมชนตำมหลักกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน 3. บริ ษทั จะคำนึ งถึงทำงเลือกในกำรใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติโดยให้มีผลกระทบต่อควำมเสี ยหำยของ สังคมสิ่ งแวดล้อมและคุ ณภำพชี วิตของประชำชนน้อยที่ สุด พร้ อมทั้งสนับสนุ นกำรลดกำรใช้พลังงำน และ ทรัพยำกร

105


4. บริ ษทั ปลูกฝั งจิ ตสำนึ กในเรื่ องควำมรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมให้เกิ ดขึ้นในบุคลำกรของบริ ษทั ทุก ระดับ อย่ำ งต่ อ เนื่ อ ง ให้ค วำมสำคัญ ในกำรท ำธุ ร กรรมกับ คู่ ค ้ำ ที่ มี เ จตจ ำนงเดี ย วกัน กับ บริ ษ ัท ในเรื่ อ งควำม รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม เป็ นผูน้ ำในกำรส่ งเสริ มกำรใช้และกำรอนุรักษ์พลังงำนอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ เพื่อประโยชน์ต่อชนรุ่ นหลัง 5. บริ ษทั จะคืนกำไรส่วนหนึ่งเพื่อกิจกรรมที่จะมีส่วนสร้ำงสรรค์สังคมและสิ่ งแวดล้อมอย่ำงสม่ำเสมอ โดยกิจกรรม ที่จะกระทำต้องเป็ นกิจกรรมที่เหมำะสม สร้ำงประโยชน์ให้กบั ชุมชน สังคม และสิ่ งแวดล้อมได้จริ ง หำกเลือกใช้ กำรบริ จำค จะมีกำรตรวจสอบข้อมูลผูร้ ับบริ จำค เพื่อให้แน่ใจว่ำนำไปใช้เพื่อกำรกุศลอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ และ ประสิ ทธิผล ก่อประโยชน์อย่ำงแท้จริ ง กำรบริ จำคทุกครั้งจะมีกำรรวบรวมเอกสำรเก็บไว้เพื่อเป็ นหลักฐำน กิจกรรมประจาปี 2561 ทาบุญเข้ าพรรษา ณ วัดดอยธรรมเจดีย์ จ.สกลนคร วันที่ 28 กรกฏาคม 2561

106

ปลู กต้ นไม้ ใหญ่ จานวน 90 ต้ น ที่จังหวัดสกลนคร โดย เริ่มปลูกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2561


น้ องหมาอิม่ ท้ อง ณ บ้ านพักสี่ขาเพื่อหมาจร

ปันนา้ ใจ ปันรอยยิม้ ให้ น้องๆ ณ มูลนิธิบ้านนกขมิน้

วันที่ 17 สิงหาคม 2561

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

107


แบ่ งปันความรักให้ น้อง ณ โรงเรียนบ้ านเด็กรามอินทรา กิจกรรมเก็บขยะชายหาด

วันที่ 21 กันยายน 2561

วันที่ 16 กันยายน และ 3 พฤศจิกายน 2561

โครงการ ให้ ด้วยใจ ณ วัดพระบาทนา้ พุ จ.ลพบุรี วันที่ 16 ตุลาคม 2561

กิจกรรมเก็บขยะทางขึน้ แหลมพรหมเทพ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2561

108


บริจาคเก้ าอี้ ณ มูลนิธิออทิสติกไทย

เลีย้ งอาหารแก่ ชาวประมง พนักงานเทศบาล และชุมชน

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2561

รอบข้ าง วันที่ 28 ธันวาคม 2561

แบ่ งฝันปันรักให้ น้อง ณ.โรงเรียนการศึกษาเด็กตาบอด พิการซ้าซ้ อน ชะอา วันที่ 1 ธันวาคม 2561

109


6. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้ อม บริ ษทั ใส่ใจในควำมปลอดภัย และสุขอนำมัยของบุคลำกรของบริ ษทั และชุมชนโดยรอบสถำนประกอบกำร บริ ษทั มุ่ง ส่ งเสริ มและปลูกฝังจิตสำนึ กทำงด้ำนคุณภำพควำมปลอดภัยอำชีวอนำมัยและสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นวิถีดำเนิ นชีวิตประจำวัน ของบุคลำกรของบริ ษทั เพื่อประโยชน์ของทุกคน รวมทั้งชุมชนและสังคมโดยรวม บริ ษทั สนับสนุนให้มีกำรใช้ทรัพยำกร อย่ำงเหมำะสม ลดกำรใช้อย่ำงสิ้นเปลือง แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี 6.1 บริ ษ ัท ส่ ง เสริ ม ให้ควำมปลอดภัย เป็ นเรื่ อ งสำคัญ โดยจัด ท ำข้อก ำหนดและมำตรฐำนทำงด้ำ นคุ ณภำพควำม ปลอดภัยอำชีวอนำมัยและสิ่ งแวดล้อม ที่มีมำตรกำรไม่นอ้ ยกว่ำที่กฎหมำยกำหนดตำมมำตรฐำนสำกล บุคลำกร ของบริ ษทั ต้องศึกษำ และปฏิบตั ิตำมกฎหมำยนโยบำยข้อกำหนดและมำตรฐำนทำงด้ำนคุณภำพควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัยและสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอย่ำงเคร่ งครัด 6.2 บริ ษทั จะดำเนิ นกำรทุ กวิถีทำงเพื่อควบคุมและป้ องกันควำมสู ญเสี ยในรู ปแบบต่ำงๆอันเนื่ องมำจำกอุบตั ิ เหตุ อัคคี ภยั กำรบำดเจ็บหรื อเจ็บป่ วยจำกกำรทำงำน ทรั พย์สินสู ญหำยหรื อเสี ยหำย กำรละเมิ ดระบบรั กษำควำม ปลอดภัย กำรปฏิบตั ิงำนไม่ถูกวิธี และควำมผิดพลำดต่ำงๆที่เกิดขึ้น ตลอดจนรักษำสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนที่ ปลอดภัยต่อบุคลำกรของบริ ษทั และมีกำรซักซ้อมแผนกำรรักษำควำมปลอดภัยเป็ นประจำ ทั้งนี้ ถือเป็ นหน้ำที่ รับผิดชอบของผูบ้ ริ หำรและพนักงำนในกำรรำยงำนอุบตั ิเหตุอุบตั ิกำรณ์โดยปฏิบตั ิตำมขั้นตอนที่กำหนดไว้ 6.3 บริ ษทั จัดให้มีแผนควบคุมและป้ องกันเหตุฉุกเฉิ นในทุ กพื้นที่ ปฏิ บตั ิกำร มีแผนจัดกำรเหตุฉุกเฉิ นและสภำวะ วิกฤตขององค์กร เพื่อเตรี ยมพร้อ มต่อกำรจัดกำรเหตุฉุกเฉิ นต่ำงๆที่อำจเกิดขึ้น เช่น เพลิงไหม้ ก๊ำซสำรเคมี หรื อ ของเสี ยรั่วไหลและมีกำรเตรี ยมพร้อมต่อเหตุวิกฤตอื่น ที่อำจทำให้กำรดำเนิ นธุรกิจหยุดชะงัก เสื่ อมเสี ยชื่อเสี ยง และภำพลักษณ์ขององค์กร 6.4 บริ ษทั จะจัดให้มีกำรประชำสัมพันธ์และสื่ อควำมเพื่อสร้ำงควำมรู ้ควำมเข้ำใจและเผยแพร่ ขอ้ มูลให้กบั บุคลำกร ของบริ ษทั ตลอดจนผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยที่ เกี่ ยวข้อง เพื่อให้ทรำบและเข้ำใจในนโยบำยกฎระเบี ยบขั้นตอนวิธี ปฏิบตั ิและข้อควรระวังต่ำงๆ ทำงด้ำนคุณภำพควำมปลอดภัยอำชีวอนำมัยและสิ่ งแวดล้อมตลอดจนนำไปยึดถือ ปฏิบตั ิได้อย่ำงถูกต้อง โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรำยต่อสุขภำพทรัพย์สินและสิ่ งแวดล้อม 6.5 บริ ษทั มุ่งมัน่ มีส่วนร่ วมในกำรรับผิดชอบต่อสังคมในเรื่ องคุณภำพควำมปลอดภัยอำชี วอนำมัยและสิ่ งแวดล้อม กำรใช้ทรั พยำกรธรรมชำติ ให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดอย่ำงจริ งจังและต่อเนื่ อง โดยตระหนักถึ งควำมสำคัญของ สิ่ งแวดล้อมและควำมปลอดภัยของผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ เกี่ ยวข้องตลอดจนส่ งเสริ มกิ จกรรมทำงสังคมในกำรรักษำ สิ่ งแวดล้อมและพัฒนำคุณภำพชีวติ ของคนในชุมชนตำมหลักกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน 6.6 หำกกำรปฏิบตั ิงำนใดไม่ปลอดภัย หรื อไม่อำจปฏิบตั ิตำมข้อกำหนดและมำตรฐำนทำงด้ำนคุณภำพควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัยและสิ่ งแวดล้อม หรื อพบว่ำกำรปฏิบตั ิงำนมีผลกระทบทำงด้ำนสิ่ งแวดล้อมอย่ำงร้ำยแรง ให้บุคลำกร ของบริ ษทั ยุติกำรปฏิบตั ิงำนเท่ำที่ทำได้ชวั่ ครำวเพื่อแจ้งผูร้ ่ วมงำน ผูบ้ งั คับบัญชำ และหน่วยงำนที่รับผิดชอบเพื่อ ดำเนินกำรแก้ไข หรื อวำงแผนแก้ไขต่อไป ห้ำมปฏิบตั ิงำนต่อไปโดยเด็ดขำด

110


ความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทางาน บริ ษทั ให้ควำมสำคัญกับกำรดูแลเรื่ องควำมปลอดภัยและสุขอนำมัยในกำรทำงำน และให้พนักงำนมีคุณภำพชีวติ ที่ดี จึง ได้มีกำรจัดตั้ง คณะกรรมกำรควำมปลอดภัยอำชี วอนำมัยและสิ่ งแวดล้อม เพื่อดำเนิ นงำนเกี่ ยวกับควำมปลอดภัยและ สุ ขอนำมัยที่ ดีแก่พนักงำน โดยจัดให้มีกำรตรวจสอบควำมปลอดภัยของสถำนที่ทำงำนอย่ำงสม่ ำเสมอ มีเจ้ำหน้ำที่ รักษำ ควำมปลอดภัย ติดตั้งระบบเตือนภัยในอำคำร ถังดับเพลิง ประตูหนีไฟ กล้องวงจรปิ ด (CCTV) และป้ ำยเตือนต่ำงๆ เพื่อเป็ น กำรป้ อ งกัน อัน ตรำยที่ อ ำจจะเกิ ดขึ้ นกับ พนัก งำนหรื อ บุ ค คลภำยนอกที่ เ ข้ำ มำปฏิ บัติง ำนหรื อ มำใช้บ ริ ก ำรในสถำนที่ ประกอบกำรของบริ ษทั ฯ

ในปี 2561พนักงำนบริ ษทั ฯ ประสบภัยอันตรำยจำกกำรเกิ ดอุบตั ิ เหตุจำกกำรทำงำน ลำป่ วย และเจ็บป่ วยจำก กำรทำงำนดังนี้ ประเภท

จานวน (คน)

กำรเกิดอุบตั ิเหตุจำกกำรทำงำน

0

กำรลำป่ วยที่เกี่ยวกับกำรทำงำน

0

กำรลำป่ วยทัว่ ไปที่ไม่เกี่ยวกับกำรทำงำน

37

เป็ นนโยบำยหลักในกำรให้ควำมสำคัญกับกิ จกรรมของชุมชนและสังคมโดยมุ่งเน้นให้เกิ ดกำรพัฒนำสังคมชุมชน สิ่ งแวดล้อมทำนุ บำรุ งศำสนำ สร้ ำงสรรค์และอนุ รักษ์ทรั พยำกรธรรมชำติ ร วมทั้งสนับ สนุ นกำรศึ กษำแก่ เยำวชนและ สนับสนุนกิจกรรมสำธำรณประโยชน์แก่ชุมชนที่ดอ้ ยโอกำส ให้เป็ นชุมชนที่เข้มแข็งพึ่งพำตนเองได้

7. นวัตกรรมและการเผยแพร่ นวัตกรรมจากการดาเนินความรับผิดชอบต่ อสังคม บริ ษ ัท น ำแนวคิ ด ในกำรรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คมมำปรั บ ใช้แ ละคิ ด ค้น ให้เ กิ ด นวัต กรรมทำงธุ ร กิ จ ที่ สร้ ำ งประโยชน์ ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันต่อธุรกิจและสังคม รวมถึงกำรเปิ ดเผยนวัตกรรมที่คน้ พบในสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคมและ สิ่ งแวดล้อม เพื่อกระตุน้ ให้ธุรกิจและผูป้ ระกอบกำรรำยอื่นได้ปฏิบตั ิตำม 8. การจัดทารายงานด้ านสังคมและสิ่งแวดล้ อม บริ ษทั ดำเนิ นกำรเปิ ดเผยข้อมูลในกำรปฏิบตั ตำมแนวทำงกำรับผิดชอบต่อสังคม ให้เป็ นประโยชน์ต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย ทุกฝ่ ำย โดยยึดแนวทำงปฏิบตั ิในจัดทำรำยงำนเปิ ดเผยกำรดำเนินงำนด้ำนสังคมและสิ่ งแวดล้อม ที่ครอบคลุมกำรดำเนินกำร ด้ำนธุรกิจ ด้ำนสิ่ งแวดล้อม ควำมปลอดภัย และด้ำนสังคมรวมถึงกำรจัดทำข้อมูลอย่ำงถูกต้อง และจัดให้มีช่องทำงเผยแพร่ ข้อมูลที่หลำกหลำย ให้ผอู ้ ่ำนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลโดยสะดวก

111


การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี ่ ยง การควบคุ มภายในและบริ หารจัดการความเสี ่ยง บริ ษ ัท ได้ต ระหนัก ถึ ง ความส าคัญ ของระบบควบคุ ม ภายในที่ ดี ซึ่ งจะช่ ว ยให้ ก ารด าเนิ น ธุ ร กิ จ เป็ นไปอย่ า งมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล โดยบริ ษทั มีคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง เพื่อทาหน้าที่สอบ ทานระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม และมีการตรวจสอบภายในที่เป็ นไปตามหลักการของการกากับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงเพื่ออนุมตั ิรายการที่เกี่ ยวข้องกับระบบควบคุม ภายในของบริ ษทั มีผสู ้ อบบัญชี ผูต้ รวจสอบภายใน และผูบ้ ริ หารเข้าร่ วมประชุมด้วยความเหมาะสม เพื่อนาข้อมูลเสนอต่อ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงพิจารณารับทราบ ติดตามความคืบหน้า และหาแนวทางแก้ไข ข้อสังเกตเพื่อให้สามารถแก้ไขประเด็นข้อสังเกตได้อย่างทันท่วงที ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเข้า ร่ วมประชุมด้วย คณะกรรมการได้ประเมินระบบควบคุมภายใน โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ ายบริ หารเกี่ยวกับความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ทั้ง 5 ส่วน คือ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม 2. การบริ หารความเสี่ ยง 3. การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร 4. ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้อมูล 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริ ษทั มีความเห็นว่า บริ ษทั มีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม รวมทั้งบริ ษทั มีระบบการ ติดตามควบคุมดูแลการดาเนินงานที่จะสามารถป้ องกันทรัพย์สินของบริ ษทั อันเกิดจากการที่ผบู ้ ริ หารนาไปใช้โดยมิชอบหรื อ โดยไม่มีอานาจเพียงพอได้ รวมถึงมีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอในเรื่ องของการทาธุรกรรมกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้องดังกล่าว บริ ษทั ได้จดั ให้มีผตู ้ รวจสอบภายใน ซึ่ งเป็ นหน่วยงานอิสระจากภายนอก โดยบริ ษทั ได้แต่งตั้งบริ ษทั สานักงาน โป รเฟส วัน จากัด ให้ดาเนินการเป็ นที่ปรึ กษาในการวางระบบควบคุมภายในให้แข็งแกร่ ง พร้อมทั้งดาเนินการขจัดความเสี่ ยง และตรวจสอบรายการที่มีลกั ษณะผิดปกติ โดยหัวหน้าทีมงานตรวจสอบควบคุมภายในของบริ ษทั คือ นายภาคิน วิรุลหกุล มีคุณสมบัติ วุฒิการศึกษาและ ประสบการณ์ในการทางาน ดังนี้ วุฒิการศึกษา ▪ ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ▪ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต (CPA) เลขที่ 10876 ▪ วุฒิบตั รด้านการตรวจสอบภายใน (IACP) สภาวิชาชีพบัญชีใน พระบรมราชูปถัมภ์ ประสบการณ์ ทางาน ▪ หุน้ ส่วน บริ ษทั สานักงาน เอ็มเอ็ม เอ็น ซินดิเคส จากัด (2551 - ปัจจุบนั ) ▪ หุน้ ส่วน บริ ษทั สานักงาน โปรเฟส วัน จากัด (2553 - ปั จจุบนั ) ▪ ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การฝ่ ายตรวจสอบ สานักงานสอบบัญชี อี วาย จากัด (2544 - 2550)

112


นอกจากนี้ ผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั จากบริ ษทั สยาม ทรู ธ สอบบัญชี จากัด ได้มีการพิจารณาการควบคุมภายในของ บริ ษทั ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาและการนาเสนองบการเงินของบริ ษทั เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและความเชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงิน โดยพบข้อสังเกตเพิ่มเติมสาหรับระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั และแจ้งให้บริ ษทั ทราบพร้อม กับข้อเสนอแนะเป็ นข้อมูลในการพิจารณาปรับปรุ งแก้ไขต่อไป

113


รายการระหว่ รายการระหว่ างกันางกัน บริ ษทั ถือเป็ นนโยบายที่สาคัญที่จะไม่ให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกัน ใช้โอกาสจากการ เป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และบุคคลอื่นที่ มีความเกี่ ยวข้องกันกับบริ ษทั แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน จึ งกาหนดเป็ นข้อ ปฏิบตั ิสาหรับกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับบริ ษทั ดังต่อไปนี้ 1. หลีกเลี่ยงการทารายการ ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั 2. ในกรณี ที่จาเป็ นต้องทารายการเช่นนั้นเพื่อประโยชน์ของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ให้ทารายการนั้นเสมือนการทา รายการกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกันที่มีส่วนได้เสี ยในรายการ นั้นจะต้องไม่มีส่วนในการพิจารณาอนุมตั ิ 3. ในกรณี ที่เข้าข่ายเป็ นรายการที่เกี่ยวโยงกันภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (และ ตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้อง บริ ษทั จะต้องปฏิ บตั ิตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิ ดเผยข้อมูลรายการที่ เกี่ ยวข้องกันของบริ ษทั จดทะเบี ยนอย่าง เคร่ งครัดโดย 3.1 บริ ษทั อาจมีรายการที่เกี่ยวโยงกันกับกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องในอนาคต บริ ษทั จึงได้ ขออนุมตั ิในหลักการให้คณะกรรมการบริ หาร หรื อฝ่ ายจัดการสามารถอนุมตั ิการทาธุรกรรมดังกล่าวได้ หาก การทาธุ รกรรมที่ เป็ นข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดี ยวกับที่ วิญญูชนจะพึงกระทากับคู่สัญญาทัว่ ไปใน สถานการณ์เดี ยวกัน ด้วยอานาจต่อรองทางการค้าที่ ปราศจากอิทธิ พลในการที่ ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องแล้วแต่กรณี 3.2 ให้จัดทารายงานสรุ ปการทาธุ รกรรมที่ มีขนาดรายการตามหลักการที่ ได้ผ่านการอนุ มตั ิ ต ามข้อ 3.1 เพื่อ รายงานในที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ทุกไตรมาส หรื อตามความประสงค์ของคณะกรรมการบริ ษทั ในกรณี ที่ธุรกรรมที่ เข้าข่ายเป็ นรายการที่ เกี่ ยวโยงกัน ที่ ไม่เป็ นไปตามลักษณะรายการค้าตามข้อ 3.1 ในการทาธุ รกรรม ดังกล่าว ให้บริ ษทั ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (และตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้องต่อไป ลักษณะความสัมพันธ์ บริ ษทั มีการทารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งต่างๆ โดยรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นนั้นเป็ นการทารายการกับ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และ/หรื อผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั รวมถึงการทารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และ/หรื อผูถ้ ือหุ ้น ซึ่ งสามารถสรุ ปลักษณะความสัมพันธ์ของบริ ษทั กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งได้ และบริ ษทั มีการทา รายการระหว่างกันอันเนื่องมาจากการดาเนินธุรกิจกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่งสามารถสรุ ปลักษณะและมูลค่าของการ ทารายการระหว่างกันในรอบบัญชีปี 2559 ปี 2560 และ ปี 2561 ตามตารางดังต่อไปนี้

114


บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง บริ ษทั สามธันวา จากัด

ลักษณะความสัมพันธ์ • เป็ นบริ ษทั ที่เกี่ ยวข้องกับบริ ษทั โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูถ้ ื อหุ ้นใหญ่ประกอบด้วยกลุ่ม ของนายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ ซึ่ งเป็ นผูถ้ ื อหุ ้นใหญ่ของบริ ษทั ถือหุ ้นร้ อยละ 23.20 น.ส.จีรยา อุดม วงศ์ทรัพย์ ซึ่ งเป็ นกรรมการของบริ ษทั ถือหุ้นร้อยละ 3.60 และนายประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ ซึ่ ง เป็ นผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ถือหุ้นร้อยละ 3.60 • มีน.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์, นาย วิโรจน์ หุตะจูฑะ และนาย ประเสริ ฐ วรรณเจริ ญเป็ นกรรมการ ของบริ ษทั โดยกรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสาคัญของบริ ษทั • ประกอบธุรกิจจาหน่ายไม้แปรรู ป และไม้ปูพ้นื พร้อมบริ การติดตั้ง

บริ ษทั พนา ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด

• เป็ นบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ประกอบด้วย กลุ่ม ของน.ส.ดวงพร หุ ตะจูฑะ ซึ่งเป็ นญาติใกล้ชิดกับนายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ ถือหุ ้นร้อยละ 100.00 • มีนางยุพา หุ ตะจูฑะ ซึ่งเป็ นญาติใกล้ชิดกับนายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะเป็ นกรรมการของบริ ษทั โดย กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสาคัญของบริ ษทั • ประกอบธุรกิจจาหน่ายต้นไม้พร้อมจัดวางต้นไม้ให้สวยงาม (Soft scape)

บริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด

• เป็ นบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ประกอบด้วย กลุ่ม ของน.ส.ดวงพร หุ ตะจูฑะ ซึ่งเป็ นญาติกบั นายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะ ถือหุ ้นร้อยละ 100.00 • มีนางยุพา หุ ตะจูฑะ ซึ่งเป็ นญาติใกล้ชิดกับนายเด่นดนัย หุ ตะจูฑะเป็ นกรรมการของบริ ษทั โดย กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสาคัญของบริ ษทั • ประกอบธุรกิจให้บริ การจัดสวนและตกแต่งภูมิทศั น์ (Hard scape)

นายเด่นดนัย หุตะจูฑะ

• เป็ นกรรมการและผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษทั โดย ณ วันที่ 23 มีนาคม 2562 ถือหุ้นคิด เป็ นสัดส่วนร้อยละ 57.46 ของทุนจดทะเบียน

นายดรงค์ หุตะจูฑะ

นายวิโรจน์ หุตะจูฑะ

• เป็ นกรรมการและผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั โดย ณ วันที่ 23 มีนาคม 2562 ถือหุ ้นคิดเป็ นสัดส่ วนร้อย ละ 4.38 ของทุนจดทะเบียน • เป็ นกรรมการและผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั โดย ณ วันที่ 23 มีนาคม 2562 ถื อหุ ้นคิดเป็ นสัดส่ วนร้ อย ละ 1.35 ของทุนจดทะเบียน

น.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์

• เป็ นกรรมการและผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั โดย ณ วันที่ 23 มีนาคม 2562 ถื อหุ ้นคิดเป็ นสัดส่ วนร้ อย ละ 1.04 ของทุนจดทะเบียน

นายประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ

• เป็ นผูบ้ ริ หารและผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั โดย ณ วันที่ 23 มีนาคม 2562 ถือหุ ้นคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 0.97 ของทุนจดทะเบียน

115


116

บริ ษทั สามธันวา จากัด

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง

ณ สิ้ นงวด บริ ษทั ค้างชาระค่า วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างแก่ บริ ษทั สามธันวา จากัด

เจ้ าหนีก้ ารค้า

บริ ษทั ซื้อวัสดุและอุปกรณ์ ก่อสร้างเพื่อใช้ในการประกอบ ธุรกิจจากบริ ษทั สามธันวา จากัด

ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ ก่อสร้ าง

ลักษณะของรายการ

-

0.04 -

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 0.39 0.08 0.35

2) ซื้อไม้เต็งใสเรี ยบ จากบริ ษทั สาม ธันวา จากัด เอใช้ในงานซ่อมแซมบ้าน B มูลค่า 0.13 ลบ. ซึ่ งราคาซื้ อไม้เต็งดังกล่าว เป็ นราคาที่เทียบเคียงจากราคาตลาด ในปี 2560 บริ ษทั มีเจ้าหนี้ ที่ยงั ไม่ได้ชาระให้กบั บริ ษทั สาม ธันวา จากัด เนื่ องจากยังไม่ถึงงวด ชาระ 0.04 ลบ. ซึ่ง ณ 31 ธันวาคม 2561 ได้ชาระเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว

1) ซื้อไม้ตะเคียนลาว จากบริ ษทั สาม ธันวา จากัด เพื่อใช้ในงานอาคารเรื อ โครงการ The Title หาดในยาง มูลค่า 0.22 ลบ. ซึ่ งราคาซื้ อไม้ตะเคียนลาว ดังกล่าว เป็ นราคาที่เทียบเคียงจากราคา ตลาด

ปี 2560 บริ ษทั ได้ซ้ื อวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างจากบริ ษทั สามธันวา จากัด เพื่อใช้ในการประกอบ ธุรกิจรวม 0.08 ลบ. ซึ่ งได้แก่ ไม้พ้นื รกฟ้า เพื่อใช้ในการซ่อมแซมอาคารสานักงานและซ่อมแซม โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 โดยเทียบเคียงราคาตลาด ในปี 2561 บริ ษทั ได้ซ้ื อวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างจากบริ ษทั สามธันวา จากัด เพื่อใช้ในการ ประกอบธุรกิจรวม 0.35 ลบ. ซึ่ งได้แก่

2) ซื้อไม้เพื่อใช้ในการซ่อมแซมอาคารสานักงานมูลค่า 0.01 ลบ. โดยเทียบเคียงจากราคาตลาด ตามลาดับ

1) ซื้อไม้พ้นื เพื่อใช้ในการซ่อมแซมโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 1-2 ตามระยะเวลา รับประกันแก่ลูกค้าโครงการ มูลค่า 0.38 ลบ. โดยเทียบเคียงจากราคาตลาด

ในปี 2559 บริ ษทั ได้ซ้ื อวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างจากบริ ษทั สามธันวา จากัด เพื่อใช้ในการ ประกอบธุรกิจรวม 0.39 ลบ. ซึ่ งได้แก่

ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผล


117

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

บริ ษทั เช่าพื้นที่จากบริ ษทั สาม ธันวา จากัด เพื่อใช้เป็ นที่ต้งั สานักงานใหญ่

ค่าเช่ าสานักงาน

ลักษณะของรายการ

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 0.28 0.48 0.48

บริ ษทั เช่าพื้นที่พร้อมสิ่ งปลูกสร้างจากบริ ษทั สามธันวา จากัดเพื่อใช้เป็ นที่ต้งั สานักงานใหญ่ เลขที่ 53 ถนนสุ คนธสวัสดิ์ แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุ งเทพมหานคร เนื้ อที่ประมาณ 130 ตาราง เมตร ในอัตรา 40,000 บาท/เดื อน รวมค่าใช้กระแสไฟฟ้ าและค่าน้ าประปา โดยบริ ษทั ได้เริ่ มทา สัญญาเช่าตั้งแต่ 2558 และเมื่อสัญญาเดิมสิ้นสุดลงบริ ษทั ได้ต่อสัญญาต่อ 1 ปี ตั้งแต่ 1 มกราคม-31 ธันวาคม 2559 , 1 มกราคม-31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561- 31 ธันวาคม 2561 ตามลาดับ ด้วยอัตราค่าเช่าเดิมโดยอัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็ นราคาที่เทียบเคียงจากราคาตลาด ณ ปัจจุบนั บริ ษทั ได้ทาการต่อสัญญาเช่าดังกล่าวจนถึง 31 ธันวาคม 2562 โดยอัตราค่าเช่าเพิ่มขึ้นจากเดิมเป็ น 80,000 บาท/เดื อน เนื่ องจากมีการเช่ าพื้นที่เพิ่มจากเดิ ม 130 ตร.ม. เป็ น 326 ตร.ม. (เพิ่มในส่ วนของห้อง ประชุม , ห้องรับแขก , ห้องเก็บเอกสาร , ห้องทางาน) โดยจากการเทียบเคียงราคาตลาดแล้วพบว่า อัตราค่าเช่ าดังกล่าวเป็ นราคาที่สมเหตุสมผล เนื่ องจากเป็ นอัตราค่าเช่าที่รวมค่าน้ าค่าไฟ ตลอดจน บริ ษทั สามารถใช้พ้ืนที่บริ เวณใกล้เคียงเพื่อเป็ นที่จอดรถสาหรับพนักงานได้

ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผล


118

บริ ษทั พนา๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

บริ ษทั ทาสัญญาซื้อต้นไม้ พร้อมปลูกเพื่อใช้ในการจัด สวนและตกแต่งภูมิทศั น์ (Landscape) จากบริ ษทั พนา ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด

ทาสั ญญาซื้อต้ นไม้ พร้ อมปลูก

ลักษณะของรายการ

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 1.05 17.57

2) บริ ษทั ได้ซ้ื อต้นไม้พร้ อมปลูก จากบริ ษทั พนา ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของงานตกแต่ ง ภู มิ ท ั ศ น์ ร อบบริ เวณโครงการ The Title หาดในยาง มู ล ค่ า รวม 20,481,830.40 บาท โดยในปี 2561 ชาระเงินดังต่อไปนี้ งวดที่ 1 วันที่ 25/09/2561 จานวนเงิน 4,000,000 บาท งวดที่ 2 วันที่ 16/16/2561 จานวนเงิน 3,000,000 บาท งวดที่ 3 วันที่ 06/11/2561 จานวนเงิน 6,000,000 บาท งวดที่ 4 วันที่ 26/12/2561 จานวนเงิน 4,500,000 บาท

1) บริ ษทั ได้ซ้ื อต้นไทรใบยอ จานวน 1 ต้น จากบริ ษทั พนา ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด เพื่อปลูก หน้าสานักงานขาย โครการ The Title หาดราไวย์ ในเดื อนพฤษภาคม 2561 มูลค่า 0.07 ลบ. ซึ่ งราคาซื้ อต้นไม้ดงั กล่าว เป็ นมูลค่ารวมค่าปลูกและค่าขนส่งแล้ว และได้เปรี ยบเทียบ กับราคาตลาดแล้ว

ในเดือน เม.ย. ปี 2560 บริ ษทั ได้ซ้ื อต้นไม้พร้ อมปลูก จากบริ ษทั พนา๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด เพื่อใช้ในการจัดสวนและตกแต่ง Landscape พื้นที่รอบบริ เวณสานักงานขายของโครงการ The Title หาดในยางเฟส 1 โดยมีมูลค่าก่อนภาษีมูลค่าเพิม่ 1.05 ล้านบาท โดยเป็ นราคาที่เทียบเคียง จากราคาตลาด ในปี 2561 บริ ษทั ได้ซ้ื อต้นไม้พร้ อมปลูก จากบริ ษทั พนา ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด เพื่อใช้ใน การตกแต่ง Landscape โดยมีรายการกังต่อไปนี้

ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผล


119

บริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

บริ ษทั ทาสัญญาใช้บริ การจัด สวนและตกแต่ง Landscape จากบริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด

ทาสัญญาใช้ บริการจัดสวนและ ตกแต่ ง Landscape

ลักษณะของรายการ

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 1.85

2) บริ ษทั ได้ซ้ื อดิ นผสม , ทราย , ปุ๋ ย จากบริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของงาน ตกแต่งภูมิทศั น์ บริ เวณ โโครงการ The Title หาดในยาง มูลค่ารวม 1,542,533.40 บาท โดยจ่ายเป็ นจานวนเงินดังนี้ งวดที่ 1 วันที่ 25/09/2561 จานวนเงิน 535,000 บาท งวดที่ 2 วันที่ 12/10/2561 จานวนเงิน 749,000 บาท ซึ่ งราคาค่าวัสดุปลูกดังกล่าว เป็ นราคาที่เทียบเคียงจากราคาตลาด และเป็ นราคาที่เปรี ยบเทียบ กับผูร้ ับเหมารายอื่นแล้ว

1) บริ ษทั ได้ซ้ื อต้นไม้และดิ นผสม มะพร้าวสับ ไม้ค้ า จากบริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด เพื่อใช้ใน การตกแต่งภูมิทศั น์ บริ เวณ สานักงานขาย โครงการ The Title หาดในยางในเดือนมีนาคม 2561 มูลค่า 0.57 ลบ. ซึ่ งราคาซื้ อต้นไม้และค่าวัสดุปลูกดังกล่าว เป็ นราคาที่เทียบเคียงจาก ราคาตลาด

ในปี 2561 บริ ษทั ใช้บริ การจัดสวนและตกแต่ง Landscape สาหรับพื้นที่ในโครงการ The Title หาดในยาง จากบริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด โดยบริ การดังกล่าวประกอบด้วย งานสนาม , อุปกรณ์ และวัสดุปลูก โดยมีรายการดังต่อไปนี้

ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผล


120 11.66

115.00

เป็ นผู ้ค้ า ประกัน เงิ น กู้ ยื ม กับ สถาบันการเงิน วงเงินรวมทั้ง สิ้น304.50 ลบ.ซึ่งประกอบด้วย 1.เงิ น กู้ ยื ม ระยะยาว วงเงิ น 290.00 ลบ. 2.เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นเบิ ก เกิ น บัญชี วงเงิน 10.00 ลบ. 3.เงินกูย้ มื เพื่อชาระค่า ประกันภัยค้ าประกันเงินกู้ วงเงิน 4.50 ลบ.

เป็ นผูค้ ้าประกันเงินกูย้ มื กับ บริ ษทั ประกันภัย วงเงินรวมทั้ง สิ้น 119.00 ลบ.

นายวิโรจน์ หุตะจูฑะ น.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์

นายเด่นดนัย หุตะจูฑะ นายดรงค์ หุตะจูฑะ

25.00

-

-

-

มูลค่ าของเงินกู้ยืมคงค้ าง (ล้ านบาท) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 2.58 -

ทาสัญญาซื้ อห้องชุด โครงการ The Title Phase 3 ห้อง F208

ลักษณะของรายการ

นายประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง

เงินกูย้ มื แก่บริ ษทั ประกันภัยทั้งจานวนเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว

วงเงินสาหรับการประกอบธุรกิจของบริ ษทั ต่อมา ณ วันที่ 16 มกราคม 2561 บริ ษทั ชาระคืน

กรรมการ ซึ่งเป็ นไปตามเงื่อนไขและสัญญาที่ทากับบริ ษทั ประกันภัยในปี 2559 เพื่อใช้เป็ น

เป็ นการค้ าประกันร่ วมกับที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างของบริ ษทั และค้ าประกันส่วนตัวของ

ทั้งจานวนเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว

การเงินและต่อมา ณ วันที่ 28 มีนาคม 2560 บริ ษทั ชาระคืนเงินกูย้ มื แก่สถาบันการเงินครบ

ประกันของกรรมการบริ ษทั แล้วทั้งจานวนซึ่งเป็ นไปตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกับสถาบัน

กับบริ ษทั แต่อย่างใด อย่างไรก็ดี ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ธนาคารได้ปลดภาระค้า

วิโรจน์ หุตะจูฑะ และน.ส.จีรยา อุดมวงศ์ทรัพย์ ไม่มีการคิดค่าธรรมเนียมค้าประกันเงินกูย้ มื

กรรมการ ซึ่งเป็ นไปตามเงื่อนไขและสัญญาที่ทากับสถาบันการเงินในปี 2557 โดยนาย

เป็ นการค้าประกันร่ วมกับที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างของบริ ษทั และค้าประกันส่วนตัวของ

คุณประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ ผูบ้ ริ หารมีความประสงค์ขอซื้ อห้องชุด โครงการ The Title Phase 3 โดยใช้สิทธิ์ ส่วนลดพิเศษแก่พนักงาน 15 % จากราคาขาย 3,035,626 บาท คงหลือ 2,580,282 บาท และได้ทาการโอนกรรมสิ ทธิ์ ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560

ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผล


มาตรการหรื อขั้นตอนการอนุมตั กิ ารทารายการระหว่ างกัน เนื่ องจากที่ ผ่านมา บริ ษทั มี สภาพเป็ นบริ ษทั จากัด ดังนั้นการเข้าทารายการระหว่างกันในอดี ตจึ ง ไม่ ได้ปฏิ บัติ ต าม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในอดีต กรรมการ หรื อผูบ้ ริ หารเป็ นผูพ้ ิจารณาอนุมตั ิการทารายการระหว่างกัน โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษทั เป็ นหลัก นอกจากนี้ บริ ษทั ได้วางมาตรการในการป้ องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตกับบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์เพิ่มเติมตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2559 ซึ่ งได้ กาหนดให้รายการใดก็ตามที่บริ ษทั ทาธุรกรรมกับบริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมใน บริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัด หรื อบริ ษทั พนา๑๐๐๐ เมื องต้นไม้ จากัดหรื อผูม้ ี อานาจควบคุ มใน บริ ษทั พนา๑๐๐๐ เมื องต้นไม้ จากัด จาเป็ นที่ จะต้อง พิจารณาว่าเข้าข่ายเป็ นรายการระหว่างกันและจะต้องนาเสนอรายการดังกล่าวเพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาพร้อม เอกสารประกอบเพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบสามารถพิจารณาความสมเหตุสมผลของการทารายการอย่างเพี ย งพอ เนื่องจากทั้งสองบริ ษทั ดังกล่าวมีผมู ้ ีอานาจควบคุมเป็ นญาติใกล้ชิดกับผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั นโยบายหรื อแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกันในอนาคต บริ ษทั อาจมีการเข้าทารายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคตกับบริ ษทั สามธันวา จากัด , บริ ษทั พนา ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จากัด และบริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จากัดโดยหากเป็ นรายการระหว่างกันที่เป็ นรายการธุรกิจ ปกติและรายการสนับสนุ นธุ รกิ จปกติ ซ่ ึ งมีเงื่ อนไขทางการค้าโดยทั่วไป บริ ษทั จะดาเนิ นการตามมาตรการควบคุมการทา รายการระหว่างกันที่ระบุไว้ขา้ งต้นก่อนเข้าทารายการ กล่าวคือเป็ นไปตามหลักการที่คณะกรรมการบริ ษทั อนุมตั ิไว้แล้วตามที่ กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และให้ปฏิบตั ิตามสัญญาที่ตกลงร่ วมกันอย่างเคร่ งครัด พร้อมทั้ง กาหนดราคาและเงื่อนไขรายการต่างๆ ให้ชดั เจน เป็ นธรรม และไม่ก่อให้เกิดการถ่ายเทประโยชน์ ในกรณี ที่มีการทารายการระหว่างกันในอนาคต บริ ษทั จะดาเนิ นการตามมาตรการการอนุมตั ิรายการระหว่างกันดังที่ กล่าวไว้แล้วข้างต้น ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันที่จาเป็ นต้องได้รับความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเรื่ องรายการที่เกี่ยวโยงกัน บริ ษทั จะดาเนินการให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ ความเห็ นเกี่ ยวกับความจาเป็ นและความเหมาะสมของรายการระหว่างกันนั้น ทั้งนี้ บริ ษทั ไม่มีนโยบายการให้เงิ นกูย้ ืมแก่ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรื อบุคคลที่เกี่ ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ยกเว้นเป็ นไปตามระเบียบของบริ ษทั ที่ เกี่ยวกับการให้สวัสดิการพนักงาน หรื อตามระเบียบอานาจอนุมตั ิในการบริ หารงานหรื อการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ นิ ติบุคคลที่บริ ษทั ถือหุ ้นอยูต่ ามสัดส่ วนการถือหุ ้น นอกจากนี้ ในกรณี ที่บริ ษทั มีการทารายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งตามที่กล่าวข้างต้น บริ ษทั จะเสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของ รายการระหว่างกัน และในกรณี ที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นนั้น บริ ษทั จะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู ้ ความชานาญพิเศษ เช่น ผูส้ อบบัญชี หรื อผูป้ ระเมินราคาทรัพย์สินที่มีความเป็ นอิสระ เป็ น ผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบหรื อบุคคลที่มีความรู ้ความชานาญพิเศษ จะถูกนาไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจของคณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูถ้ ือหุ ้น แล้วแต่กรณี เพื่อให้มีความมัน่ ใจว่าการเข้าทา รายการดังกล่าวจะไม่เป็ นการยักย้าย หรื อถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยหรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งของ บริ ษทั แต่เป็ นการทารายการที่บริ ษทั ได้คานึงถึงประโยชน์สูงสุดของผูถ้ ือหุน้

121


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิน

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงิ น และสารสนเทศทางการเงิ นที่ ปรากฎในรายงานประจาปี ของ บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน) งบการเงิ นดังกล่าวจัดทาขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป โดยใช้ นโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมอย่างสม่ าเสมอ มีความสมเหตุสมผล และระมัดระวังรอบคอบ รวมทั้งมีการเปิ ดเผยข้อมูล สาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ทั้งนี้ คณะกรรมการได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ งประกอบด้วยกรรมการที่เป็ นอิสระเป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบ เกี่ ยวกับคุ ณภาพของรายงานทางการเงิ นและระบบควบคุ มภายในที่ มีประสิ ทธิ ภาพ และความเห็ นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่ องดังกล่าวได้ปรากฎในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้แสดงไว้แล้วในรายงานประจาปี คณะกรรมการบริ ษทั มีความเห็ นต่อรายงานทางการเงิ นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ โดยรวม มีความ เพียงพอและเหมาะสม สามารถสร้างความเชื่ อมัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ซึ่ งผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ ได้ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ที่ รับรองทัว่ ไป และแสดงความเห็ นว่างบการเงิ น แสดงฐานะทางการเงินและผลการดาเนินงานโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญ ตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป

(นายสุวชิ ล่าซา) ประธานกรรมการ

122

(นายเด่นดนัย หุตะจูฑะ) ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษ ัท ประกอบด้ว ย กรรมการอิ ส ระ จ านวน 3 คน ซึ่ งเป็ นผูท้ รงคุ ณ วุฒิ แ ละมี ประสบการณ์ดา้ นการบริ หาร การบัญชี และกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั โดยเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ อย่าง มีอิสระ ไม่มีขอ้ จากัดในการได้รับข้อมูล และได้รับความร่ วมมือจากบริ ษทั เป็ นอย่างดีซ่ ึงสอดคล้องตามข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยในรอบปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้จดั ให้มีการประชุมทั้งสิ้ น 4 ครั้งซึ่ งส่ วนใหญ่ เป็ นการประชุมกับผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตโดยไม่มีฝ่ายบริ หารเข้าร่ วม นอกจากนี้ได้มีการหารื อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กับผูบ้ ริ หาร ผูส้ อบบัญชี และผูต้ รวจสอบภายใน ตามความเหมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบช่วยสนับสนุนให้คณะกรรมการบริ ษทั สามารถปฏิบตั ิงานตามความรับผิดชอบได้เป็ น ผลสาเร็ จ พร้อมทั้ง ติดตามและสนับสนุนให้เกิ ดการกากับดูแลกิจการที่ดี สรุ ปสาระสาคัญของผลการดาเนิ นงานในเรื่ อง ต่างๆ มีดงั นี้ 1. การสอบทานงบการเงินในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานงบการเงิ นรายไตรมาสและประจาปี ของบริ ษทั ซึ่ งผ่านการสอบ ทานและตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิ โดยได้สอบถามและรับ ฟังคาชี้แจงจากผูบ้ ริ หารในเรื่ องที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน ซึ่ งพบว่า รายงานทางการเงินดังกล่าวได้จดั ทาขึ้นตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน (มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป) มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ การเลือกใช้นโยบายการ บัญชีมีความสมเหตุสมผล และมีการเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอ 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานร่ วมกับผูต้ รวจสอบภายในอย่างสม่าเสมอ พร้อมทั้งให้ขอ้ เสนอแนะ ด้านการควบคุมภายใน เพื่อให้การปฏิบตั ิงานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ผล ซึ่ งมีความเห็นว่า บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายใน ที่เพียงพอ เหมาะสม มีการปรับปรุ งแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ญยนแปลงไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยมีการ ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจของบริ ษทั อย่างครบถ้วน นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้เน้นย้าให้ฝ่ายบริ หารปรับปรุ งระบบการควบคุมภายในให้มีประสิ ทธิ ผล อย่างต่อเนื่อง 3. การสอบทานการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกีย่ วโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้ติดตามและสอบทานการเปิ ดเผยข้อมูลรายการระหว่างกันของบริ ษทั ที่ อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่ งพบว่ามีการเปิ ดเผยข้อมูลครบถ้วนเพียงพอและเป็ นไปตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และมีความเห็นว่า รายการที่มีหรื อเกิดขึ้นในระหว่างปี เป็ นรายการที่เข้าข่ายเป็ นธุรกิจปกติที่มี เงื่อนไขการค้า ทัว่ ไป มีความสมเหตุสมผล เป็ นธรรม และเป็ นไปเพื่อประโยชน์ของบริ ษทั ตลอดจนกาชับให้ผตู ้ รวจสอบภายในตรวจสอบ รายการดังกล่าวอย่างเข้มงวดทุกรายการ

123


4. การสอบทานการปฏิบัตติ ามกฎหมายและกฎเกณฑ์ ภาครัฐ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ขอ้ กาหนด ของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั อย่างสม่าเสมอ ซึ่ งมีความเห็นว่า บริ ษทั มีการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง อย่างถูกต้อง เหมาะสม 5. กากับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่ วมกับผูต้ รวจสอบภายใน และได้สอบทานผลการตรวจสอบภายใน ทุกไตรมาส รวมทั้งได้มีการพัฒนาวิธีการตรวจสอบโดยใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งมี ความเห็นว่า การตรวจสอบภายในของบริ ษทั เป็ นไปอย่างอิสระและมีประสิ ทธิ ผล อีกทั้งมีระบบการรักษาความปลอดภัย ของข้อมูลที่เพียงพอและเหมาะสม มีการรวบรวมเรื่ องที่เป็ นสาระสาคัญชี้แจงแนวทางแก้ไขให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นา ไปป้ องกันหรื อลดความเสี่ ยงที่อาจจะเกิดขึ้น 6. การกากับดูแลกิจการทีด่ ี บริ ษทั ตระหนักและให้ความสาคัญในการบริ หารงานตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี มุ่งเน้นให้มีการควบคุม ดูแลการปฏิบตั ิงานให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เพื่อให้มีความโปร่ งใส และมีจริ ยธรรม ก่อให้เกิดความเชื่อมัน่ แก่ ผูถ้ ือหุ ้น ผู ้ ลงทุน และผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ าย ในรอบปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั ิหน้าที่ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั โดยใช้ความรู ้ ความสามารถอย่างเต็มที่ และทาหน้าที่ ได้โดยอิ สระ ไม่มีขอ้ จากัดในการได้รับข้อมูลทั้งจากกรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงาน และผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง ตลอดจนได้ให้ความเห็ นและข้อเสนอแนะเพื่อประโยชน์ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย อย่างเท่าเทียมกัน ในภาพรวมคณะกรรมการตรวจสอบเห็ นว่า บริ ษทั ยึดมัน่ ในจริ ยธรรมธุ รกิ จ คณะกรรมการบริ ษทั ตลอดจน ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั มีความมุ่งมัน่ ในการปฏิบตั ิหน้าที่เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายของบริ ษทั อย่างมีคุณภาพเยี่ยงมืออาชีพ และมี การรายงานข้อมูลทางการเงินและการดาเนินงานอย่างถูกต้อง มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในที่เหมาะสม และมีประสิ ทธิผล และมีการกากับดูแลกิจการโดยยึดหลักความโปร่ งใส ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั ิงาน ตามหน้าที่ และความสามารถในการแข่งขัน การปฏิบตั ิตามกฎหมายและระเบียบทางการที่เกี่ยวข้องเป็ นไปโดยถูกต้อง

(นายสุวชิ ล่าซา) ประธานกรรมการตรวจสอบ

124


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ร่ มโพธิ์ พร็อพเพอร์ ตี้ จากัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ ต้ ี จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ซึ่ งประกอบด้วย งบแสดง ฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุน้ และงบกระแส เงินสดสาหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกันและหมายเหตุประกอบงบการเงิน รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ ข้าพเจ้าเห็ นว่างบการเงิ นข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงิ นของบริ ษ ทั ร่ ม โพธิ์ พร็ อ พเพอร์ ต้ี จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และผลการดาเนินงานและกระแสเงินสดสาหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกันโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ป ฏิ บัติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญ ชี ความรั บ ผิ ด ชอบของข้า พเจ้า ได้ก ล่ า วไว้ใ นวรรคความ รับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิ นในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระจากบริ ษทั ตาม ข้อกาหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีที่กาหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบ การเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื่น ๆ ซึ่ งเป็ นไปตามข้อกาหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่ อว่า หลักฐานการสอบบัญชีที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบคื อเรื่ องต่าง ๆ ที่ มีนัยสาคัญที่ สุดตามดุ ลยพินิจเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชาชี พของข้าพเจ้าในการ ตรวจสอบงบการเงิ นสาหรั บงวดปั จจุบนั ข้าพเจ้าได้นาเรื่ องเหล่านี้ มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบงบการเงิ น โดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับเรื่ องเหล่านี้

125


เรื่องสำคัญในกำรตรวจสอบ วิธีกำรตรวจสอบ ต้ นทุนพัฒนำอสังหำริ มทรั พย์ และที่ดนิ รอกำรพัฒนำ ต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์และที่ดินรอการพัฒนา เป็ นรายการบัญชีที่มี วิธีการตรวจสอบต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรั พย์และที่ดินรอการพัฒนา มูลค่าสู งเป็ นนัยสาคัญ และประกอบด้วยส่ วนประกอบของต้นทุนหลาย นอกจากการสอบถามเพื่อทาความเข้าใจ ยังรวมถึงการสุ่มทดสอบ ดังนี้ ส่ วน เช่น ต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้ าง ค่าใช้จ่ายที่เกี่ ยวข้องกับ - ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพและทดสอบระบบการควบคุ ม ภายใน การพัฒ นาอสั ง หาริ มทรั พ ย์ และดอกเบี้ ยเงิ น กู้ ยื ม ทั้ง นี้ ณ วัน ที่ 31 เกี่ยวข้องกับวงจรการจัดซื้ อและการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ธันวาคม 2561 ต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรั พย์แ ละที่ดินรอการพัฒนามี - ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการซื้ อที่ดิน ประกอบด้วย เอกสาร มูล ค่าตามบัญชี จานวนเงิ น 689.867 ล้านบาท และ 568.994 ล้านบาท ระหว่างบริ ษทั กับผูข้ ายที่ดิน เช่น สัญญาจะซื้ อจะขายและหลักฐาน ตามลาดับ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6 และข้อ 8 ตามลาดับ การจ่ายชาระค่าดิน และเอกสารกับทางราชการ ข้าพเจ้าเห็นว่ารายการบัญชี ตน้ ทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์และที่ดินรอการ พัฒนา เป็ นเรื่ องความสาคัญในการตรวจสอบเนื่ องจากเป็ นรายการบัญชี ที่ มีมูลค่าสู งเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงินและประกอบด้วยส่ วนประกอบ ของต้นทุนหลายส่ วนซึ่ งมีความซับซ้อนในการบันทึกบัญชี การปั นส่ วน และการคานวณ

-

ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ซ่ ึงเป็ น เอกสารจากผูจ้ ดั จาหน่ ายและผูร้ ับจ้าง เช่น สัญญาซื้ อขาย สัญญา ว่าจ้าง ใบแจ้งหนี้ และหลักฐานการจ่ายชาระเงิน

-

ทดสอบการปั นส่ วนต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ต่อหน่วย

-

ประเมิ นและทดสอบการค านวณดอกเบี้ ยเงิ นกู้ยืมเข้าเกณฑ์ก าร รวมเป็ นต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

-

สังเกตการณ์โครงการเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพมีความสัมพันธ์ กับมูลค่าตามบัญชี

กำรรับรู้รำยได้ จำกกำรขำย รายได้จากการขายอสังหาริ มทรั พ ย์เ ป็ นรายการบัญชี ที่มีมู ล ค่ าสู ง เป็ น วิ ธี ก ารตรวจสอบรายได้จ ากการขายอสั ง หาริ มทรั พ ย์ นอกจากการ นัยสาคัญและเป็ นรายการที่ส่งผลกระทบต่อผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั สอบถามเพื่อทาความเข้าใจ ยังรวมถึงการสุ่มทดสอบ ดังนี้ ทั้งนี้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายได้จากการขายมี มูลค่า - ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพและทดสอบระบบการควบคุ ม ภายใน ตามบัญชี จานวนเงิน 311.734 ล้านบาท เกี่ยวข้องกับวงจรรายได้ ข้าพเจ้าเห็นว่ารายการบัญชี รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นเรื่ อง ความสาคัญในการตรวจสอบเนื่ องจากเป็ นรายการบัญชี ที่มีมูลค่าสู งเป็ น สาระสาคัญต่องบการเงิน

126

-

ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขายที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่ า งปี ประกอบด้วย สัญญาซื้ อขาย หลักฐานการรับชาระเงิน เอกสารการ โอนกรรมสิ ทธิ์ และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาซื้ อขาย

-

ทดสอบการให้ ส่ ว นลดการค้า และส่ ว นลดจากการรั บ ประกัน ผลตอบแทน

-

ตรวจตัดยอดขายกับเอกสารประกอบการขายช่ วงใกล้วนั สิ้ นรอบ ระยะเวลาบัญชีและหลังรอบระยะเวลาบัญชี

-

ตรวจสอบรายการปรั บ ปรุ งรายได้ ที่ เ กิ ด ขึ้ นหลั ง วัน สิ้ น รอบ ระยะเวลาบัญชี


ข้ อมูลอื่น ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื่ น ประกอบด้วย ข้อมูลซึ่ งรวมอยู่ในรายงานประจาปี (แต่ไม่รวมถึ งงบการเงิ นและ รายงานของผูส้ อบบัญชีที่อยูใ่ นรายงานประจาปี นั้น) ซึ่ งคาดว่ารายงานประจาปี นั้นจะถูกจัดเตรี ยมให้ขา้ พเจ้าภายหลังวันที่ ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน้ ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมัน่ ต่อข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงิน คือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่นมีความขัดแย้งที่มี สาระสาคัญกับงบการเงินหรื อกับความรู ้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า ปรากฏว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อ ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจาปี หากข้าพเจ้าสรุ ปได้วา่ มีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ ข้าพเจ้า ต้องสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเพื่อดาเนินการแก้ไขข้อมูลที่แสดงขัดต่อข้อเท็จจริ ง ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มหี น้ าทีใ่ นการกากับดูแลต่ องบการเงิน ผูบ้ ริ หารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาและนาเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผบู ้ ริ หารพิจารณาว่าจาเป็ นเพื่อให้สามารถจัดทางบการเงินที่ปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด การจัดทางบการเงิน ผูบ้ ริ หารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของบริ ษทั ในการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง เปิ ดเผยเรื่ องที่ เกี่ยวกับการดาเนิ นงานต่อเนื่ องและการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับการดาเนิ นงานต่อเนื่ องเว้นแต่ผบู ้ ริ หารมีความตั้งใจที่จะ เลิกบริ ษทั หรื อหยุดดาเนินงานหรื อไม่สามารถดาเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ ผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษทั ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส้ อบ บัญชี ซ่ ึ งรวมความเห็ นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลคื อความเชื่ อมัน่ ในระดับสู งแต่ไม่ได้เป็ นการ รับประกันว่าการปฏิ บตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี จะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ น สาระสาคัญที่มีอยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอาจเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสาคัญเมื่ อ คาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งแต่ละรายการหรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสิ นใจ ทางเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้

127


การตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูป้ ระกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้ารวมถึง • ระบุและประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิด จากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ ยงเหล่านั้น และได้ หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญซึ่งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสูงกว่าความเสี่ ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริ ต อาจเกี่ยวกับการสมรู ้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตาม ข้อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน • ทาความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม กับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิผลของการควบคุมภายในของบริ ษทั • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผบู ้ ริ หารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและ การเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดทาขึ้นโดยผูบ้ ริ หาร • สรุ ปเกี่ ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชี สาหรั บการดาเนิ นงานต่อเนื่ องของผูบ้ ริ หารและจาก หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับ สรุ ปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุ ให้เกิ ดข้อสงสัยอย่างมีนัยสาคัญต่อความสามารถของบริ ษทั ในการดาเนิ นงานต่อเนื่ องหรื อไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุ ปว่ามี ความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าโดยให้ขอ้ สังเกตถึงการเปิ ดเผย ข้อมูลในงบการเงิ น ที่ เกี่ ยวข้อง หรื อถ้าการเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็ นของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้าขึ้นอยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้บริ ษทั ต้องหยุดการดาเนินงานต่อเนื่อง • ประเมินการนาเสนอโครงสร้างและเนื้ อหาของงบการเงิ นโดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลว่างบการเงินแสดง รายการและเหตุการณ์ในรู ปแบบที่ทาให้มีการนาเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลในเรื่ องต่าง ๆ ที่สาคัญ ซึ่ งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบ ตามที่ ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่ มีนัยสาคัญที่ พบจากการตรวจสอบ รวมถึงข้อบกพร่ องที่ มีนัยสาคัญในระบบการควบคุม ภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คารับรองแก่ผมู ้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็ น อิสระและได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ท้ งั หมดตลอดจนเรื่ องอื่น ซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผล ที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้า และมาตรการที่ขา้ พเจ้าใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้ขา้ พเจ้า ขาดความเป็ นอิสระ

128


จากเรื่ องที่สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญมากที่สุดในการตรวจสอบงบ การเงินในงวดปั จจุบนั และกาหนดเป็ นเรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่ องเหล่านี้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อข้อบังคับไม่ให้เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับเรื่ องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้า พิ จ ารณาว่า ไม่ ค วรสื่ อ สารเรื่ อ งดัง กล่ า วในรายงานของข้า พเจ้า เพราะการกระท าดัง กล่ า วสามารถคาดการณ์ ไ ด้อ ย่า ง สมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสี ยสาธารณะจากการสื่ อสารดังกล่าว

(นายบรรจง พิชญประสาธน์) ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 7147 บริ ษทั สยาม ทรู ธ สอบบัญชี จากัด กรุ งเทพฯ 27 กุมภาพันธ์ 2562

129


งบแสดงฐานะทางการเงิน

130


131


งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อ พเพอร์ ตี้ จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ สำหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2561

บาท หมายเหตุ

2561

2560

รำยได้ จำกกำรขำย

4

311,733,798

293,881,601

ต้นทุนขาย

21

(183,942,686)

(163,311,995)

กำไรขั้นต้ น

127,791,112

130,569,606

รายได้อื่น

12,393,918

7,340,288

21

(22,868,243)

(17,403,541)

4, 21

(81,496,666)

(66,242,633)

(106,538)

(5,519,567)

35,713,583

48,744,153

(7,502,170) 28,211,413

(7,859,861) 40,884,292

0.06

0.12

439,999,039

334,761,449

ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ต้นทุนทางการเงิน

22

กำไรก่อ นภำษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเ งินได้ กำไรสำหรั บปี

23

กำไรต่ อ หุ้น

3

กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนัก (หุ้น) กำไรเบ็ดเสร็ จอื่ น รำยกำรที่จะไม่จดั ประเภทรำยกำรใหม่เข้ ำไปไว้ ในกำไรหรื อ ขำดทุน กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ภาษีเ งินได้ทเี่ กี่ยวกับรายการทีจ่ ะไม่จดั ประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ในกาไรหรื อขาดทุน กำไรเบ็ดเสร็ จอื่ น-สุ ทธิจำกภำษีเงินได้ กำไรเบ็ดเสร็ จรวม

132

16

-

596,139

23

-

(119,228)

28,211,413

476,911 41,361,203


133

18 19

จ่ายหุ ้นปันผลและเงินปันผล

สารองตามกฎหมาย

กาไรเบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561

19,999,520

17

เพิ่มทุนหุ ้นสามัญ

219,999,520

-

-

200,000,000

-

ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560

กาไรเบ็ดเสร็จรวม

60,000,000 -

17 19

เพิ่มทุนหุ ้นสามัญ สารองตามกฎหมาย

และชาระแล้ว 140,000,000

หมายเหตุ

ทุนทีอ่ อก

ยอดยกมำ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2560

สำหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2561

งบแสดงกำรเปลี่ ยนแปลงส่ วนของผู้ถื อ หุ้ น

บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อ พเพอร์ ตี้ จำกัด (มหำชน)

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

-

191,414,236

-

-

-

191,414,236

-

191,414,236 -

หุ ้นสามัญ

ส่วนเกินมูลค่า

15,072,000

1,420,000

-

-

13,652,000

-

2,100,000

11,552,000

สารองตามกฎหมาย

28,211,413 124,529,396

(1,420,000)

(22,221,695)

-

119,959,678

41,361,203

(2,100,000)

80,698,475

ยังไม่ได้จดั สรร

กาไรสะสม

28,211,413 551,015,152

-

(22,221,695)

19,999,520

525,025,914

41,361,203

251,414,236 -

232,250,475

ผูถ้ อื หุ ้น

รวมส่วนของ

บาท


งบกระแสเงินสด

134


135


หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ร่ มโพธิ์ พร็อพเพอร์ ตี้ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 1.

ข้ อมูลทัว่ ไป บริ ษทั ร่ มโพธิ์ พร็ อพเพอร์ต้ ี จำกัด (มหำชน) (“บริ ษทั ”) จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลที่จดั ตั้งขึ้นในประเทศไทยและ มีสำนักงำนตั้งอยูเ่ ลขที่ 53 ถนนสุคนธสวัสดิ์ แขวงลำดพร้ำว เขตลำดพร้ำว กรุ งเทพมหำนคร บริ ษทั ได้แปรสภำพบริ ษทั เป็ นบริ ษทั มหำชน เมื่อ วันที่ 11 ตุลำคม 2559 บริ ษทั ดำเนิ นธุ รกิ จหลักเกี่ ยวกับกำร พัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกำยน 2560 บริ ษทั ได้จดทะเบียนกับตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน “ตลำดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (mai)” งบกำรเงินได้รับกำรอนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมกำรบริ ษทั เมื่อวันที่ 27 กุมภำพันธ์ 2562

2.

เกณฑ์ กำรจัดทำงบกำรเงิน งบกำรเงินจัดทำขึ้นตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินไทย (“มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ”) รวมถึงกำร ตี ควำมและแนวปฏิ บัติทำงกำรบัญชี ที่ประกำศใช้โดยสภำวิชำชี พบัญชี ในพระบรมรำชู ปถัมภ์ (“สภำวิชำชี พ บัญชี ”) และข้อกำหนดของคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ว่ำด้วยกำรจัดทำและนำเสนอ รำยงำนทำงกำรเงิน สภำวิชำชี พบัญชี ได้ออกประกำศสภำวิชำชี พบัญชี ให้ใช้มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2560) และ แนวปฏิบตั ิทำงบัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช้สำหรับงบกำรเงินที่มีรอบบัญชีเริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม 2561 ระหว่ำงปี บริ ษทั ได้นำมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ ซึ่ งมีผลบังคับใช้สำหรับรอบ ระยะเวลำบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม 2561 มำถือปฏิบตั ิ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินดังกล่ำว ได้รับกำรปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้ อหำเท่ำเทียมกับมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินระหว่ำงประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นกำรปรับปรุ งและอธิ บำยให้ชดั เจน กำรตีควำมและกำรให้แนวปฏิ บตั ิทำงกำรบัญชี และกำร เปิ ดเผยข้อมูลในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน กับผูใ้ ช้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น กำรนำมำตรฐำนกำร รำยงำนทำงกำรเงินดังกล่ำวมำถือปฏิบตั ิน้ ีไม่มีผลกระทบอย่ำงเป็ นสำระสำคัญต่องบกำรเงินของบริ ษทั งบกำรเงิ นจัดทำและแสดงหน่ วยเงิ นตรำเป็ นเงิ นบำทซึ่ งเป็ นสกุลเงิ นที่ ใช้ในกำรดำเนิ นงำนของ บริ ษทั และ นำเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของกำรรำยงำนเพื่อใช้ในประเทศไทยโดยจัดทำเป็ นภำษำไทยและภำษำอังกฤษ กำรจัดทำงบกำรเงิ นให้เป็ นไปตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น ผูบ้ ริ หำรต้องใช้กำรประมำณและข้อ สมมติฐำนหลำยประกำร ซึ่ งมีผลกระทบต่อกำรกำหนดนโยบำยและกำรรำยงำนจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สิ นทรัพย์ หนี้ สิน รำยได้ และค่ำใช้จ่ำย กำรประมำณและข้อสมมติฐำนมำจำกประสบกำรณ์ในอดี ต และปั จจัยต่ำง ๆ ที่ ผูบ้ ริ หำรมีควำมเชื่อมัน่ อย่ำงสมเหตุสมผลภำยใต้สภำวกำรณ์แวดล้อมนั้นซึ่ งไม่อำจอำศัยข้อมูลจำกแหล่งอื่นและ นำไปสู่ กำรตัดสิ นใจเกี่ยวกับกำรกำหนดจำนวนสิ นทรัพย์และหนี้สินนั้น ๆ ดังนั้น ผลที่เกิดขึ้นจริ งจำกกำรตั้งข้อ สมมติฐำนต่อมูลค่ำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์และหนี้สินอำจแตกต่ำงไปจำกที่ประมำณไว้

136


ประมำณกำรและข้อสมมติ ฐ ำนที่ ใ ช้ในกำรจัดทำงบกำรเงิ นจะได้รับ กำรทบทวนอย่ำ งสม่ ำ เสมอ กำรปรั บ ประมำณกำรทำงบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่กำรประมำณกำรดังกล่ำวได้รับกำรทบทวน หำกกำรปรับประมำณ กำรกระทบเฉพำะงวดนั้น ๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนำคตหำกกำรปรับประมำณกำรกระทบทั้ง งวดปั จจุบนั และอนำคต มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินทีอ่ อกและปรับปรุงใหม่ แต่ ยงั ไม่ มผี ลบังคับใช้ ระหว่ำงปี สภำวิชำชีพบัญชีได้ประกำศใช้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2561) และฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบตั ิทำงบัญชี จำนวนหลำยฉบับ ซึ่งมีผล บังคับใช้สำหรับงบกำรเงินที่มีรอบระยะเวลำบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม 2562 มำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงิ นดังกล่ำวได้รับกำรปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้ อหำเท่ ำเที ยมกับมำตรฐำนกำรรำยงำนทำง กำรเงินระหว่ำงประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นกำรปรับปรุ งและอธิ บำยให้ชดั เจน กำรตีควำมและกำรให้แนวปฏิบตั ิ ทำงกำรบัญชีและกำรเปิ ดเผยข้อมูลในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินกับผูใ้ ช้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน หลักกำรสำคัญของมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น ฉบับที่ 15 เรื่ อง รำยได้จำกสัญญำที่ ทำกับลูกค้ำ ซึ่ งมีผล บังคับใช้สำหรับงบกำรเงิ นที่มีรอบระยะเวลำบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม 2562 และมำตรฐำนกำร รำยงำนทำงกำรเงิ น กลุ่มเครื่ องมื อทำงกำรเงิ น จำนวน 5 ฉบับ ซึ่ งมี ผลบังคับใช้สำหรั บงบกำรเงิ นที่ มี ร อบ ระยะเวลำบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม 2563 มีหลักกำรสำคัญสรุ ปได้ดงั นี้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 เรื่ อง รำยได้ จำกสัญญำทีท่ ำกับลูกค้ ำ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 มีหลักกำรสำคัญโดยรวมในกำรรับรู ้รำยได้ ด้วยจำนวนเงินที่สะท้อน ถึงสิ่ งตอบแทนที่ บริ ษทั คำดว่ำจะมีสิทธิ ได้รับจำกกำรแลกเปลี่ยนสิ นค้ำหรื อบริ กำร โดยรำยได้จะรับรู ้เมื่อ (หรื อ ณ วันที่) บริ ษทั ส่งมอบกำรควบคุมสิ นค้ำหรื อบริ กำรให้แก่ลูกค้ำด้วยมูลค่ำของรำยได้ที่กิจกำรคำดว่ำจะได้รับ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับนี้ นำมำใช้แทนมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินเกี่ ยวกับกำรรับรู ้รำยได้ ดังต่อไปนี้ - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2560) เรื่ อง สัญญำก่อสร้ำง - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2560) เรื่ อง รำยได้ - กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2560) เรื่ อง รำยได้ - รำยกำรแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ กำร โฆษณำ - กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2560) เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้ำ - กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2560) เรื่ อง สัญญำสำหรับกำรก่อสร้ำง อสังหำริ มทรัพย์ - กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2560) เรื่ อง กำรโอนสิ นทรัพย์จำกลูกค้ำ

137


มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน กลุ่มเครื่ องมือทำงกำรเงิน มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น กลุ่มเครื่ องมือทำงกำรเงิ น ประกอบด้วย มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำร รำยงำนทำงกำรเงิน และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน จำนวน 5 ฉบับ ได้แก่ - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่ อง กำรแสดงรำยกำรเครื่ องมือทำงกำรเงิน - มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 7 เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเครื่ องมือทำงกำรเงิน - มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 9 เรื่ อง เครื่ องมือทำงกำรเงิน - กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 16 เรื่ อง กำรป้ องกันควำมเสี่ ยงของเงินลงทุนสุ ทธิ ใน หน่วยงำนต่ำงประเทศ - กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 19 เรื่ อง กำรชำระหนี้สินทำงกำรเงินด้วยตรำสำรทุน มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินกลุ่มดังกล่ำวข้ำงต้น กำหนดหลักกำรเกี่ยวกับกำรจัดประเภทรำยกำร กำรวัด มูลค่ำเครื่ องมือทำงกำรเงินด้วยมูลค่ำยุติธรรมหรื อรำคำทุนตัดจำหน่ำยโดยพิจำรณำจำกประเภทของตรำสำรทำง กำรเงิ น ลักษณะของกระแสเงิ นสดตำมสัญญำและแผนธุ รกิ จของกิ จกำร (Business Model) หลักกำรเกี่ ยวกับ วิธีกำรคำนวณกำรด้อยค่ำของเครื่ องมือทำงกำรเงินโดยใช้แนวคิดของผลขำดทุนด้ำนเครดิตที่คำดว่ำจะเกิ ดขึ้น และหลักกำรเกี่ ยวกับกำรบัญชี ป้องกันควำมเสี่ ยง รวมถึงกำรแสดงรำยกำรและกำรเปิ ดเผยข้อมูลเครื่ องมือทำง กำรเงิน กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ดงั กล่ำวข้ำงต้นนำมำใช้แทนมำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงิน กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี และแนวปฏิบตั ิทำงกำรบัญชี ดังต่อไปนี้ - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 101 เรื่ อง หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 103 เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลในงบกำรเงิ นของธนำคำรและสถำบันกำรเงิ นที่ คล้ำยคลึงกัน - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 104 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่มีปัญหำ - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตรำสำรหนี้ และตรำสำร ทุน - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 106 เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับกิจกำรที่ดำเนินธุรกิจเฉพำะด้ำนกำรลงทุน - มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 107 (ปรั บปรุ ง 2559) เรื่ อง กำรแสดงรำยกำรและกำรเปิ ดเผยข้อมู ล สำหรั บ เครื่ องมือทำงกำรเงิน - กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี เรื่ อง สิ นทรัพย์ที่ลูกหนี้โอนให้เพื่อชำระหนี้ - แนวปฏิบตั ิทำงกำรบัญชีสำหรับกำรตัดรำยกำรสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินและหนี้สินทำงกำรเงิน - แนวปฏิ บตั ิทำงกำรบัญชีสำหรับธุ รกิ จประกันภัยในกำรกำหนดให้เครื่ องมือทำงกำรเงิ นเป็ นเครื่ องมือทำง กำรเงินที่แสดงมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมผ่ำนกำไรหรื อขำดทุน ปั จจุบนั ฝ่ ำยบริ หำรของ บริ ษทั อยูร่ ะหว่ำงกำรประเมินผลกระทบต่องบกำรเงินในปี ที่เริ่ มใช้มำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงินฉบับดังกล่ำว

138


3.

สรุปนโยบำยกำรบัญชีทสี่ ำคัญ เกณฑ์ กำรวัดค่ ำในกำรจัดทำงบกำรเงิน นอกจำกที่ เปิ ดเผยไว้ในหัวข้ออื่น ๆ ในสรุ ปนโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญและหมำยเหตุประกอบงบกำรเงิ นอื่น ๆ เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงินใช้รำคำทุนเดิม รำยได้ รำยได้ที่รับรู ้ไม่รวมภำษีมูลค่ำเพิ่ม และแสดงสุทธิจำกส่วนลดกำรค้ำ พัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ รำยได้รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเมื่อได้โอนควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของสิ นค้ำที่มี นัยสำคัญไปให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว และจะไม่รับรู ้รำยได้ถำ้ ฝ่ ำยบริ หำรยังมีกำรควบคุมหรื อบริ หำรสิ นค้ำที่ขำยไปแล้ว นั้นหรื อมีควำมไม่แน่ นอนที่ มีนยั สำคัญในกำรได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จจำกกำรขำยสิ นค้ำ และไม่อำจวัด มูลค่ำของจำนวนรำยได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่ำงน่ำเชื่อถือหรื อมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ที่จะต้องรับคืน สิ นค้ำ บริ ษทั รับรู ้รำยได้จำกกำรขำยอสังหำริ มทรัพย์เมื่องำนก่ อสร้ ำงเสร็ จตำมสัญญำและมี กำรโอนควำมเสี่ ยงและ ผลตอบแทนที่มีนยั สำคัญของควำมเป็ นเจ้ำของอสังหำริ มทรัพย์ให้กบั ผูซ้ ้ือ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเป็ นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำงโดยคำนึงถึงอัตรำผลตอบแทนที่แท้จริ ง รำยได้อื่น รำยได้อื่นรับรู ้ตำมเกณฑ์คงค้ำง ค่ ำใช้ จ่ำย สัญญำเช่ำดำเนินงำน รำยจ่ ำยภำยใต้สัญญำเช่ ำดำเนิ นงำนบันทึ กในงบกำไรขำดทุ นเบ็ดเสร็ จ โดยวิธีเ ส้นตรงตลอดอำยุสัญ ญำเช่ ำ ประโยชน์ที่ได้รับตำมสัญญำเช่ำจะรับรู ้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเป็ นส่วนหนึ่งของค่ำเช่ำทั้งสิ้นตำมสัญญำ ค่ำ เช่ำที่อำจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จในรอบบัญชีที่มีรำยกำรดังกล่ำว ต้นทุนทำงกำรเงิน ต้นทุนกำรกูย้ ืมของเงิ นกูท้ ี่ ใช้ในกำรได้มำ กำรก่อสร้ำง หรื อกำรผลิตสิ นทรัพย์ที่ตอ้ งใช้ระยะเวลำนำนในกำร แปลงสภำพให้พร้อมใช้หรื อขำย ได้ถูกนำไปรวมเป็ นรำคำทุนของสิ นทรัพย์จนกว่ำสิ นทรัพย์น้ นั จะอยูใ่ นสภำพ พร้อมที่จะใช้ได้ตำมที่มุ่งประสงค์ ส่ วนต้นทุนกำรกูย้ ืมอื่นถือเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงวดที่เกิดรำยกำร ต้นทุนกำรกูย้ ืม ประกอบด้วย ดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจำกกำรกูย้ มื นั้น ดอกเบี้ ยซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของค่ำงวดตำมสัญญำเช่ำกำรเงิ นบันทึ กในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จโดยใช้วิธีอตั รำ ดอกเบี้ยที่แท้จริ ง ค่ำใช้จ่ำยรับรู ้ตำมเกณฑ์คงค้ำง

139


ผลประโยชน์ ของพนักงำน ผลประโยชน์ระยะสั้น บริ ษทั รับรู ้เงินเดือน ค่ำจ้ำง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงวดที่เกิดรำยกำร ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน – โครงกำรสมทบเงินที่กำหนดไว้ บริ ษทั ดำเนิ นกำรจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชี พที่เป็ นแผนจ่ำยสมทบที่ กำหนดกำรจ่ำยสมทบไว้เป็ นกองทุนโดย สิ นทรั พย์ของกองทุ นแยกออกจำกสิ นทรั พย์ของบริ ษทั กองทุ นสำรองเลี้ ยงชี พดังกล่ำวได้รับเงิ นสมทบเข้ำ กองทุนจำกทั้งพนักงำนและบริ ษทั เงินจ่ำยสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพและภำระหนี้สินตำมโครงกำรสมทบเงิน จะบันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จสำหรับรอบระยะเวลำบัญชีที่เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน – โครงกำรผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ หนี้ สินผลประโยชน์พนักงำนส่ วนที่เป็ นเงินชดเชยตำมกฎหมำยแรงงำนและส่ วนที่บริ ษทั กำหนดเพิ่มเติมบันทึก เป็ นค่ำใช้จ่ำยตลอดอำยุกำรทำงำนของพนักงำน โดยกำรประมำณจำนวนเงินผลประโยชน์ในอนำคตที่พนักงำน จะได้รับจำกกำรทำงำนให้กบั บริ ษทั ตลอดระยะเวลำทำงำนถึงปี ที่เกษียณอำยุงำนในอนำคตตำมหลักคณิ ตศำสตร์ ประกัน ภัย โดยผลประโยชน์ ดังกล่ ำ วได้ถู ก คิ ด ลดเป็ นมู ล ค่ำ ปั จจุ บัน อัต รำคิ ด ลดใช้อ ัต รำผลตอบแทนของ พันธบัตรรัฐบำลเป็ นอัตรำอ้ำงอิงเริ่ มต้น กำรประมำณกำรหนี้ สินดังกล่ำวคำนวณตำมหลักคณิ ตศำสตร์ประกันภัย โดยใช้วธิ ีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมำณกำรไว้ (Projected Unit Credit Method) เมื่อผลประโยชน์พนักงำนมีกำรเปลี่ยนแปลง ส่ วนของผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นซึ่ งเกี่ ยวข้องกับกำรทำงำนให้กบั บริ ษทั ในอดีตของพนักงำนจะถูกบันทึกในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จตำมวิธีเส้นตรงตำมอำยุงำนคงเหลือโดยเฉลี่ย จนกระทัง่ ผลประโยชน์ได้มีกำรจ่ำยจริ ง เมื่อข้อสมมติที่ใช้ในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ ประกันภัยมีกำรเปลี่ยนแปลง บริ ษทั รับรู ้ผลกำไร (ขำดทุน)จำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ ประกันภัยที่ เกิ ดขึ้นทันที ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นทั้ง จำนวน ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้ำง บริ ษทั รับรู ้ผลประโยชน์ เมื่อเลิกจ้ำงเป็ นหนี้ สินและค่ำใช้จ่ำย เมื่อบริ ษทั ยกเลิกกำรจ้ำงพนักงำนหรื อกลุ่มของ พนักงำนก่อนวันเกษียณตำมปกติ ภำษีเงินได้ ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้สำหรับปี ประกอบด้วย ภำษีเงินได้ปัจจุบนั และภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ภำษีเงินได้ปัจจุบนั และภำษี เงิ นได้รอกำรตัดบัญชี รับรู ้ ในกำไรหรื อขำดทุน เว้นแต่ภำษี เงิ นได้รอกำรตัดบัญชี ในส่ วนที่ เกี่ ยวกับ รำยกำรที่บนั ทึกในส่วนของผูถ้ ือหุน้ ให้รับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ภำษีเงินได้ปัจจุบนั ได้แก่ ภำษีที่คำดว่ำจะจ่ำยชำระหรื อได้รับชำระ โดยคำนวณจำกกำไรหรื อขำดทุนประจำปี ที่ ต้องเสี ยภำษี โดยใช้อตั รำภำษีที่ประกำศใช้หรื อที่คำดว่ำมีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ตลอดจน กำรปรับปรุ งทำงภำษีที่เกี่ยวกับรำยกำรในปี ก่อน ๆ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีบนั ทึกโดยคำนวณจำกผลแตกต่ำงชัว่ ครำวที่เกิดขึ้นระหว่ำงมูลค่ำตำมบัญชีและมูลค่ำ ฐำนภำษีของสิ นทรัพย์และหนี้สิน

140


ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีวดั มูลค่ำโดยใช้อตั รำภำษีที่คำดว่ำจะใช้กบั ผลแตกต่ำงชัว่ ครำวเมื่อมีกำรกลับรำยกำร โดยใช้อตั รำภำษีที่ประกำศใช้หรื อที่คำดว่ำมีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน กำรกำหนดมูลค่ำของภำษี เงิ นได้ปัจจุบันและภำษี เงิ นได้รอกำรตัดบัญชี บริ ษทั ต้องคำนึ งถึ งผลกระทบของ สถำนกำรณ์ทำงภำษีที่ไม่แน่นอนและอำจทำให้จำนวนภำษีที่ตอ้ งจ่ำยเพิ่มขึ้นและมีดอกเบี้ยที่ตอ้ งชำระ บริ ษทั เชื่อ ว่ำได้บนั ทึกภำษีเงินได้คำ้ งจ่ำยเพียงพอสำหรับภำษีเงินได้ที่จะจ่ำยในอนำคตซึ่ งเกิดจำกกำรประเมินผลกระทบ จำกหลำยปั จจัย รวมถึง กำรตีควำมทำงกฎหมำยภำษีและจำกประสบกำรณ์ในอดีต กำรประเมินนี้อยูบ่ นพื้นฐำน กำรประมำณกำรและข้อสมมติฐำนและอำจเกี่ยวข้องกับกำรตัดสิ นใจเกี่ยวกับเหตุกำรณ์ในอนำคต ข้อมูลใหม่ ๆ อำจทำให้บริ ษทั เปลี่ยนกำรตัดสิ นใจโดยขึ้นอยูก่ บั ควำมเพียงพอของภำษีเงินได้คำ้ งจ่ำยที่มีอยู่ กำรเปลี่ยนแปลง ในภำษีเงินได้คำ้ งจ่ำยจะกระทบต่อค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ในปี ที่เกิดกำรเปลี่ยนแปลง สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี และหนี้ สินภำษีเงิ นได้รอกำรตัดบัญชี สำมำรถหักกลบได้เมื่อบริ ษทั มีสิทธิ ตำมกฎหมำยที่จะนำสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ของปี ปั จจุบนั มำหักกลบกับหนี้ สินภำษีเงินได้ของปี ปั จจุบนั และภำษี เงินได้น้ ี ประเมินโดยหน่วยงำนจัดเก็บภำษีหน่วยงำนเดี ยวกันสำหรับหน่ วยภำษีเดียวกันหรื อหน่วยภำษีต่ำงกัน สำหรับหน่วยภำษีต่ำงกันนั้นกิจกำรมีควำมตั้งใจจะจ่ำยชำระหนี้ สินและสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ของปี ปั จจุบนั ด้วย ยอดสุทธิหรื อตั้งใจจะรับคืนสิ นทรัพย์และจ่ำยชำระหนี้สินในเวลำเดียวกัน สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่วำ่ กำไรเพื่อเสี ยภำษีในอนำคต จะมีจำนวนเพียงพอกับกำรใช้ประโยชน์จำกผลแตกต่ำงชัว่ ครำวดังกล่ำว สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีจะ ถูกทบทวน ณ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำนและจะถูกปรับลดลงเท่ำที่ประโยชน์ทำงภำษีจะมีโอกำสถูกใช้จริ ง เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ประกอบด้วย เงินสด เงินฝำกธนำคำรกระแสรำยวันและออมทรัพย์ เงินฝำก ธนำคำรที่ มีกำหนดระยะเวลำไม่เกิ น 3 เดื อน และเงิ นลงทุ นระยะสั้นที่ มีสภำพคล่องสู งโดยไม่รวมเงิ น ฝำก ธนำคำรติดภำระหลักประกัน ลูกหนีอ้ ื่น ลูกหนี้อื่นแสดงในรำคำตำมใบแจ้งหนี้หกั ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริ ษทั บันทึกค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขำดทุนโดยประมำณที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรเก็บเงินจำกลูกหนี้ไม่ได้ กำรประมำณค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญของลูกหนี้ ฝ่ ำยบริ หำรจำเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจในกำรประมำณกำรผลขำดทุน ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นจำกลูกหนี้แต่ละรำย โดยคำนึงถึงประสบกำรณ์กำรเก็บเงินในอดีต กำรวิเครำะห์อำยุของหนี้ที่ คงค้ำงและภำวะเศรษฐกิ จที่ เป็ นอยู่ในขณะนั้น เป็ นต้น อย่ำงไรก็ตำม กำรใช้ประมำณกำรและข้อสมมติฐำนที่ แตกต่ำงกันอำจมีผลต่อจำนวนค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ดังนั้น กำรปรับปรุ งค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญอำจมีข้ ึนได้ใน อนำคต ต้ นทุนพัฒนำอสังหำริมทรัพย์ ต้นทุนพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์แสดงในรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ โดยแสดงสุทธิ จำกกำรตัดบัญชีเป็ นต้นทุนขำยอสังหำริ มทรัพย์ รำคำทุน ประกอบด้วย ที่ดิน งำนก่อสร้ำง รวมทั้งต้นทุนกำรกูย้ มื เพื่อกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์

141


รำยละเอียดกำรคำนวณรำคำทุน ที่ดิน

-

รำคำซื้ อที่ ดิน ต้นทุนในกำรได้มำซึ่ งที่ ดินและกำรพัฒนำที่ ดินบันทึ กด้วยวิธีถวั เฉลี่ย โดยปั นส่วนรำคำทุนตำมเนื้อที่หรื อพื้นที่สำหรับขำยของแต่ละโครงกำร

งำนก่อสร้ำง

-

ต้นทุนงำนก่อสร้ำง ประกอบด้วย 1) ค่ำออกแบบ ต้นทุนงำนก่อสร้ำงสำธำรณู ปโภคและสิ่ งอำนวยควำมสะดวก ส่ วนกลำง และค่ำใช้จ่ำยที่ เกี่ ยวข้องโดยตรงกับกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ ปั นส่วนรำคำทุนตำมเนื้อที่หรื อพื้นที่สำหรับขำย 2) ต้นทุนงำนก่อสร้ำงปั นส่วนตำมเนื้อที่หรื อพื้นที่สำหรับขำย

ต้นทุนกำรกูย้ มื

-

ดอกเบี้ ยจ่ำยและค่ำธรรมเนี ยมที่ เกิ ดขึ้นจำกกำรกูย้ ืมเพื่อกำรได้มำซึ่ งกำรพัฒนำ อสังหำริ มทรัพย์ก่อนกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์จะพัฒนำแล้วเสร็ จปั นส่วนตำมที่ เกิดขึ้นจริ งของที่ดินและงำนก่อสร้ำง

มูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับเป็ นกำรประมำณรำคำที่จะขำยได้จำกกำรดำเนินธุรกิจปกติหกั ค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็ นในกำรขำย โดยประมำณ ค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ ยวข้องกับกำรขำย เช่น ค่ำภำษีธุรกิ จเฉพำะ ค่ำธรรมเนี ยมกำรโอนกรรมสิ ทธิ์ เป็ นต้น บันทึ กเป็ น ค่ำใช้จ่ำยเมื่อมีกำรขำย บริ ษทั บันทึกขำดทุนจำกกำรลดลงของมูลค่ำโครงกำรไว้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ กำรคำนวณหำต้นทุนขำยอสังหำริ มทรัพย์ บริ ษทั ได้ทำกำรแบ่งสรรต้นทุนพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ท้ งั หมดที่คำด ว่ำจะเกิดขึ้น (โดยคำนึงถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจริ งด้วย) ตำมเกณฑ์พ้นื ที่สำหรับขำย ต้นทุนพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์จะประมำณกำรต้นทุนทั้งหมดที่จะใช้ในกำรพัฒนำโครงกำรอสังหำริ มทรัพย์จน แล้วเสร็ จจำกประมำณกำรในกำรประกอบธุรกิจและมีกำรทบทวนประมำณกำรดังกล่ำวอย่ำงสม่ำเสมอ สินค้ ำคงเหลือ สิ นค้ำคงเหลือแสดงในรำคำทุนตำมวิธีเข้ำก่อนออกก่อนหรื อมูลค่ำสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ ต้นทุนสิ นค้ำ ประกอบด้วย ต้นทุนที่ซ้ื อ ต้นทุนในกำรดัดแปลง หรื อต้นทุนอื่น เพื่อให้สินค้ำอยูใ่ นสถำนที่ และ สภำพปั จจุบนั มูลค่ำสุ ทธิที่จะได้รับเป็ นกำรประมำณรำคำที่จะขำยได้จำกกำรดำเนินธุรกิจปกติหกั ด้วยค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็ นในกำร ขำย ดอกเบีย้ จ่ ำยทีถ่ ือเป็ นต้ นทุน ดอกเบี้ยจ่ำยเฉพำะที่เกิดจำกกำรกูย้ ืมเพื่อใช้ในกำรได้มำซึ่งที่ดินและกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ ถือเป็ นส่วนหนึ่ง ของรำคำทุ นของต้นทุ นพัฒนำอสังหำริ มทรั พย์และจะหยุดบันทึ กเมื่ อที่ ดินอยู่ในสภำพพร้อมที่ จะใช้ได้ตำม ประสงค์และกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์สำหรับงำนก่อสร้ำงเสร็ จสมบูรณ์หรื อหยุดชะงักลง ดอกเบี้ยจะถูกบันทึก เป็ นต้นทุนอีกก็ต่อเมื่อมีกิจกรรมกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์อีกครั้งหนึ่ง

142


ทีด่ นิ รอกำรพัฒนำ ที่ดินรอกำรพัฒนำเป็ นที่ดินที่จะใช้พฒั นำต่อไปในอนำคตซึ่งแสดงในรำคำทุนหักค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของสิ นทรัพย์ (ถ้ำมี) รำคำทุนประกอบด้วยค่ำที่ดินและค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้อง ขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำของสิ นทรัพย์แสดงไว้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ อสังหำริมทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน หมำยถึง อสังหำริ มทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหำประโยชน์จำกรำยได้ค่ำเช่ำ หรื อจำก กำรเพิ่มขึ้นของมูลค่ำของสิ นทรัพย์ หรื อทั้งสองอย่ำง ทั้งนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อขำยตำมปกติธุรกิจ หรื อใช้ในกำรผลิต หรื อจัดหำสิ นค้ำหรื อให้บริ กำร หรื อใช้ในกำรบริ หำรงำน อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนแสดงด้วยรำคำทุนหักด้วยค่ำเสื่ อมรำคำสะสมและผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำสะสม รำคำทุ นรวมถึ งรำยจ่ ำยทำงตรงเพื่ อให้ได้ม ำซึ่ งอสังหำริ มทรั พย์เ พื่อ กำรลงทุ น ต้นทุ นกำรก่ อสร้ ำงที่ กิจ กำร ก่อสร้ำงเอง ซึ่งรวมต้นทุนวัตถุดิบ ค่ำแรงทำงตรง และต้นทุนทำงตรงอื่นเพื่อให้ได้อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน อยูใ่ นสภำพพร้อมให้ประโยชน์ และรวมต้นทุนกำรกูย้ มื ค่ำเสื่ อมรำคำจะบันทึกในกำไรหรื อขำดทุน ซึ่งคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตำมอำยุกำรให้ประโยชน์โดยประมำณของ สิ นทรัพย์แต่ละรำยกำร ประมำณกำรอำยุกำรให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์แสดงได้ดงั นี้ ปี อำคำร

20

กำรจัดประเภทไปยังที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ เมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้งำนของอสังหำริ มทรั พย์เพื่อกำรลงทุน โดยจัดประเภทไปเป็ นที่ ดิน อำคำรและ อุปกรณ์ มูลค่ำตำมบัญชี ณ วันที่มีกำรจัดประเภทใหม่ ถือเป็ นรำคำทุนของสิ นทรัพย์ต่อไป ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ของกิจกำร ที่ดิน แสดงในรำคำทุน อำคำรและอุปกรณ์แสดงด้วยรำคำทุนหักด้วยค่ำเสื่ อมรำคำสะสมและผลขำดทุนจำกกำร ด้อยค่ำสะสม รำคำทุนรวมถึงต้นทุนทำงตรงที่เกี่ยวข้องกับกำรได้มำของสิ นทรัพย์ ต้นทุนของกำรก่อสร้ำงสิ นทรัพย์ที่กิจกำร ก่อสร้ำงเอง ซึ่ งรวมต้นทุนของวัสดุ แรงงำนทำงตรง และต้นทุนทำงตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดหำสิ นทรัพย์ เพื่อให้สินทรัพย์น้ นั อยูใ่ นสถำนที่และสภำพที่พร้อมจะใช้งำนได้ตำมควำมประสงค์ ต้นทุนในกำรรื้ อถอน กำร ขนย้ำย กำรบูรณะสถำนที่ต้ งั ของสิ นทรัพย์ และต้นทุนกำรกูย้ มื สำหรับเครื่ องมือที่ควบคุมโดยลิขสิ ทธิ์ซอฟต์แวร์ ซึ่ งไม่สำมำรถทำงำนได้โดยปรำศจำกลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ น้ นั ให้ถือว่ำลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ ดงั กล่ำวเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของอุปกรณ์ ส่ วนประกอบของรำยกำรที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์แต่ละรำยกำรที่มีรูปแบบและอำยุกำรให้ประโยชน์ที่ต่ำงกัน ต้องบันทึกแต่ละส่วนประกอบที่มีนยั สำคัญแยกต่ำงหำกจำกกัน

143


ผลกำไรหรื อขำดทุนจำกกำรจำหน่ำยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ คือ ผลต่ำงระหว่ำงสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจำก กำรจำหน่ำยกับมูลค่ำตำมบัญชีของที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ โดยรับรู ้สุทธิ เป็ นรำยได้หรื อค่ำใช้จ่ำยในกำไรหรื อ ขำดทุน สิ นทรัพย์ที่เช่ำ กำรเช่ำซึ่งบริ ษทั ได้รับควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนส่ วนใหญ่จำกกำรครอบครองสิ นทรัพย์ที่เช่ำนั้น ๆ จัดประเภท เป็ นสัญญำเช่ำกำรเงิน ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ที่ได้มำโดยทำสัญญำเช่ำกำรเงินบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ดว้ ยมูลค่ำ ยุติธรรมหรื อมูลค่ำปั จจุบนั ของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยตำมสัญญำเช่ำ แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่ำหักด้วยค่ำ เสื่ อมรำคำสะสมและผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำสะสม ค่ำเช่ำที่ชำระจะแยกเป็ นส่ วนที่เป็ นค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิ น และส่วนที่จะหักจำกหนี้สินตำมสัญญำเช่ำ เพื่อทำให้อตั รำดอกเบี้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี้ที่คงเหลืออยูใ่ นแต่ละงวด มีอตั รำคงที่ ค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินจะบันทึกโดยตรงในกำไรหรื อขำดทุน กำรจัดประเภทไปยังอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน เมื่ อ มี ก ำรเปลี่ ย นแปลงกำรใช้ง ำนจำกอสั ง หำริ มทรั พ ย์ที่ มี ไ ว้ใ ช้ง ำนเป็ นอสั ง หำริ ม ทรั พ ย์เ พื่ อ กำรลงทุ น อสังหำริ มทรัพย์น้ นั จะถูกจัดประเภทใหม่เป็ นอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนด้วยมูลค่ำตำมบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภำยหลัง ต้นทุนในกำรเปลี่ยนแทนส่ วนประกอบจะรับรู ้เป็ นส่ วนหนึ่ งของมูลค่ำตำมบัญชี ของรำยกำรที่ดิน อำคำรและ อุปกรณ์ ถ้ำมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ที่บริ ษทั จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตจำกรำยกำรนั้น และ สำมำรถวัดมูลค่ำต้นทุนของรำยกำรนั้นได้อย่ำงน่ำเชื่ อถือ ชิ้นส่ วนที่ ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดออกจำกบัญชีดว้ ย มูลค่ำตำมบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในกำรซ่อมบำรุ งที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นประจำจะรับรู ้ในกำไรหรื อ ขำดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่ำเสื่ อมรำคำ ค่ำเสื่ อมรำคำคำนวณจำกจำนวนที่คิดค่ำเสื่ อมรำคำของรำยกำร อำคำรและอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วย รำคำทุนของ สิ นทรัพย์หรื อมูลค่ำอื่นที่ใช้แทนรำคำทุนหักด้วยมูลค่ำคงเหลือของสิ นทรัพย์ ค่ำเสื่ อมรำคำบันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำไรหรื อขำดทุน คำนวณโดยวิธีเส้นตรงตำมเกณฑ์อำยุกำรให้ประโยชน์ โดยประมำณของส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์แต่ละรำยกำร ประมำณกำรอำยุกำรให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ แสดงได้ดงั นี้ ปี อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำง 2 - 20 เครื่ องตกแต่งและอุปกรณ์สำนักงำน 5 ยำนพำหนะ 5 ค่ำเสื่ อมรำคำของสิ นทรัพย์ที่เช่ำตำมสัญญำเช่ำกำรเงินบันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในแต่ละงวดบัญชี วิธีกำรคิดค่ำเสื่ อม รำคำของสิ นทรัพย์ที่เช่ำจะเป็ นวิธีกำรเดียวกันกับกำรคิดค่ำเสื่ อมรำคำของสิ นทรัพย์ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั บริ ษทั ไม่คิดค่ำเสื่ อมรำคำสำหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่ำงกำรก่อสร้ำง วิธีกำรคิดค่ำเสื่ อมรำคำ อำยุกำรให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ และมูลค่ำคงเหลือ ได้รับกำรทบทวนทุกสิ้ นรอบปี บัญชี และปรับปรุ งตำมควำมเหมำะสม

144


สินทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่บริ ษทั ซื้ อมำและมีอำยุกำรให้ประโยชน์ทรำบได้แน่นอนแสดงด้วยรำคำทุนหักด้วยค่ำตัด จำหน่ำยสะสมและผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำสะสม รำยจ่ำยภำยหลังกำรรับรู ้รำยกำร รำยจ่ำยภำยหลังกำรรับรู ้รำยกำรจะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตโดยรวมเป็ น สิ นทรัพย์ที่สำมำรถระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น รำยจ่ำยอื่นรวมถึงค่ำควำมนิยมและตรำผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภำยในรับรู ้ ในกำไรหรื อขำดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่ำตัดจำหน่ำย ค่ำตัดจำหน่ ำยคำนวณจำกรำคำทุ นของสิ นทรั พย์หรื อมูลค่ำอื่ นที่ ใช้แทนรำคำทุ นหักด้วยมูลค่ำคงเหลื อของ สิ นทรัพย์ ค่ำตัดจำหน่ ำยรั บรู ้ในกำไรหรื อขำดทุนโดยวิธีเส้นตรงซึ่ งโดยส่ วนใหญ่จะสะท้อนรู ปแบบที่ คำดว่ำจะได้รับ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตจำกสิ นทรัพย์น้ นั ตำมระยะเวลำที่คำดว่ำจะได้รับประโยชน์จำกสิ นทรัพย์ไม่มี ตัวตน โดยเริ่ มตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื่อสิ นทรัพย์น้ นั พร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลำที่คำดว่ำจะได้รับประโยชน์แสดงได้ดงั นี้ ค่ำลิขสิ ทธิ์ซอฟต์แวร์

ปี 5

บริ ษทั ไม่ได้คิดค่ำตัดจำหน่ำยสำหรับสิ นทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่ำงกำรพัฒนำ วิธีกำรตัดจำหน่ำย ระยะเวลำที่คำดว่ำจะได้รับประโยชน์ และมูลค่ำคงเหลือได้รับกำรทบทวนทุกสิ้นรอบปี บัญชี และปรับปรุ งตำมควำมเหมำะสม รำยกำรกำไรและรำยกำรขำดทุนจำกกำรจำหน่ำยกำหนดโดยเปรี ยบเทียบสิ่ งตอบแทนที่ได้รับกับรำคำตำมบัญชี และรวมไว้อยูใ่ นกำไรหรื อขำดทุน กำรด้ อยค่ ำ มูลค่ำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ได้รับกำรทบทวนทุกสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำนว่ำมีขอ้ บ่งชี้เรื่ องกำรด้อย ค่ำหรื อไม่ ในกรณี ที่มีขอ้ บ่งชี้ จะทำกำรประมำณมูลค่ำสิ นทรัพย์ที่คำดว่ำจะได้รับคืน สำหรับมูลค่ำที่คำดว่ำจะ ได้รับคืนของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอำยุกำรให้ประโยชน์ไม่ทรำบแน่นอน หรื อยังไม่พร้อมให้ประโยชน์จะถูก ประมำณทุกปี ในช่วงเวลำเดียวกัน ผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำรับรู ้เมื่อมูลค่ำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์หรื อหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ำมูล ค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน ผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำบันทึกในกำไรหรื อขำดทุน เว้นแต่เมื่อมีกำรกลับรำยกำรกำร ประเมินมูลค่ำของสิ นทรัพย์เพิ่มขึ้นของสิ นทรัพย์ชิ้นเดียวกันกับที่เคยรับรู ้ในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นและมีกำรด้อยค่ำ ในเวลำต่อมำ ในกรณี น้ ีรับรู ้ในส่วนของผูถ้ ือหุน้

145


เมื่อมีกำรลดลงในมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินเผื่อขำยซึ่ งได้บนั ทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น และมีควำม ชัดเจนว่ำสิ นทรัพย์ดงั กล่ำวมี กำรด้อยค่ำ ผลขำดทุนซึ่ งเคยบันทึ กในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นจะถูกรับรู ้ ในกำไรหรื อ ขำดทุน ถึงแม้วำ่ จะยังไม่มีกำรตัดรำยกำรสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินดังกล่ำว ผลขำดทุนที่บนั ทึกในกำไรหรื อขำดทุน เป็ นผลต่ำงระหว่ำงมูลค่ำยุติธรรมในปั จจุบนั ของสิ นทรัพย์กบั รำคำทุนที่ซ้ือหักด้วยผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำของ สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินนั้น ๆ ซึ่งเคยรับรู ้แล้วในกำไรหรื อขำดทุน กำรคำนวณมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน มูลค่ำที่ คำดว่ำจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทำงกำรเงิน หมำยถึง มูลค่ำจำกกำรใช้ของสิ นทรัพย์ หรื อมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์หกั ต้นทุนในกำรขำยแล้วแต่มูลค่ำใดจะสูงกว่ำ กำรประเมินมูลค่ำจำกกำรใช้ของ สิ นทรั พย์ประมำณจำกกระแสเงิ น สดที่ จะได้รับในอนำคตคิ ด ลดเป็ นมู ลค่ำปั จจุ บันโดยใช้อตั รำคิ ด ลดก่ อ น คำนึ งถึงภำษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่ำที่อำจประเมินได้ในตลำดปั จจุบนั ซึ่ งแปรไปตำมเวลำและควำมเสี่ ยงที่มี ต่อสิ นทรัพย์ กำรกลับรำยกำรด้อยค่ำ ผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินจะถูกกลับรำยกำรเมื่อมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นใน ภำยหลัง และกำรเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำที่เคยรับรู ้ในกำไรหรื อขำดทุน ผลขำดทุ นจำกกำรด้อยค่ำของค่ำควำมนิ ยมจะไม่มีกำรปรับปรุ งกลับรำยกำร ผลขำดทุ นจำกกำรด้อยค่ำของ สิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทำงกำรเงินอื่น ๆ ที่เคยรับรู ้ในงวดก่อนจะถูกประเมินทุกรอบระยะเวลำรำยงำนว่ำมีขอ้ บ่งชี้เรื่ องกำรด้อยค่ำหรื อไม่ ซึ่งหำกมีกำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรที่ใช้ในกำรคำนวณมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน ผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำจะถูกกลับรำยกำรเพียงเท่ำที่มูลค่ำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์ไม่เกินกว่ำมูลค่ำตำมบัญชี ภำยหลังหักด้วยค่ำเสื่ อมรำคำสะสมหรื อค่ำตัดจำหน่ำยสะสม เสมือนหนึ่ งไม่เคยมีกำรบันทึกผลขำดทุนจำกกำร ด้อยค่ำมำก่อน สัญญำเช่ ำกำรเงิน บริ ษทั บันทึ กสัญญำเช่ ำกำรเงิ นเป็ นสิ นทรั พย์และหนี้ สิ นในงบแสดงฐำนะกำรเงิ นด้ว ยจำนวนเท่ ำ กับ มู ล ค่ ำ ยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่ำ ณ วันเริ่ มต้นของสัญญำเช่ำ หรื อมูลค่ำปั จจุบนั ของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยตำม สัญญำเช่ำแล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่ำ ค่ำเช่ำที่จ่ำยชำระจะปั นส่ วนเป็ นส่ วนของค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิ นและส่ วนที่ ไปลดเงินต้น ค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินจะปั นส่ วนไปสู่งวดต่ำง ๆ ตลอดอำยุสญ ั ญำเช่ำ เพื่อให้อตั รำดอกเบี้ยเมื่อเทียบ กับยอดหนี้ที่คงเหลืออยูใ่ นแต่ละงวดมีอตั รำคงที่ ประมำณกำรหนีส้ ิน ประมำณกำรหนี้ สินจะรั บรู ้ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิ นก็ต่อเมื่ อบริ ษทั มี ภำระหนี้ สินเกิ ด ขึ้นจำกข้อพิพำททำง กฎหมำยหรื อภำระผูกพันซึ่ งเป็ นผลมำจำกเหตุกำรณ์ในอดีต และมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่วำ่ ประโยชน์เชิง เศรษฐกิ จจะต้องถูกจ่ำยไปเพื่อชำระภำระหนี้ สินดังกล่ำว โดยจำนวนภำระหนี้ สินดังกล่ำวสำมำรถประมำณ จำนวนเงินได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ ถ้ำผลกระทบดังกล่ำวเป็ นนัยสำคัญ ประมำณกำรกระแสเงินสดที่จะจ่ำยในอนำคต จะคิดลดเป็ นมูลค่ำปั จจุบนั โดยใช้อตั รำคิดลดในตลำดปั จจุบนั ก่อนคำนึ งภำษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนมูลค่ำที่อำจ ประเมินได้ในตลำดปั จจุบนั ซึ่งแปรไปตำมเวลำและควำมเสี่ ยงที่มีต่อหนี้สิน ประมำณกำรต้นทุนพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์

146


บริ ษทั ประมำณกำรต้นทุนสำธำรณูปโภคและสิ่ งอำนวยควำมสะดวกส่วนกลำงซึ่งอยูร่ ะหว่ำงกำรก่อสร้ำงสำหรับ หน่ วยในอำคำรชุ ดพักอำศัยที่ ได้รับรู ้ รำยได้จำกกำรขำยไปแล้วของแต่ละโครงกำรจำกรำยละเอี ยดของแบบ ก่อสร้ำงและนำมำคำนวณจำนวนและมูลค่ำวัสดุก่อสร้ำงที่ตอ้ งใช้ในโครงกำรดังกล่ำว รวมถึงค่ำแรง ค่ำใช้จ่ำย อื่นๆ ที่ตอ้ งใช้ในกำรให้บริ กำรก่อสร้ำงจนเสร็ จ ประกอบกับกำรพิจำรณำถึงแนวโน้มของกำรเปลี่ยนแปลงรำคำ วัสดุก่อสร้ำง ค่ำแรง และค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ บริ ษทั จะทำกำรทบทวนประมำณกำรต้นทุนอย่ำงสม่ ำเสมอ และทุก ครำวที่ตน้ ทุนที่เกิดขึ้นจริ งแตกต่ำงจำกประมำณกำรต้นทุนอย่ำงเป็ นสำระสำคัญ เงินปันผลจ่ ำย เงินปั นผลจ่ำยและเงินปั นผลจ่ำยระหว่ำงกำลบันทึกในงบกำรเงินในรอบระยะเวลำบัญชีซ่ ึงที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นและ คณะกรรมกำรของบริ ษทั ได้อนุมตั ิกำรจ่ำยเงินปั นผล ส่ วนเกินมูลค่ ำหุ้น ตำมบทบัญญัติแห่งพระรำชบัญญัติบริ ษทั มหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 มำตรำ 51 ในกรณี ที่บริ ษทั เสนอขำยหุน้ สูง กว่ำมูลค่ำหุน้ ที่จดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนำค่ำหุน้ ส่วนเกินนี้ต้ งั เป็ นทุนสำรอง (“ส่วนเกินมูลค่ำหุน้ ”) ส่วนเกิน มูลค่ำหุน้ นี้จะนำไปจ่ำยเป็ นเงินปันผลไม่ได้ กำไรต่ อหุ้นขั้นพื้นฐำน กำไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐำนคำนวณโดยกำรหำรกำไรสำหรับปี ด้วยจำนวนหุ ้นถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักของจำนวนหุ ้น สำมัญที่ออกจำหน่ำยแล้วในระหว่ำงปี ระหว่ำงปี 2561 บริ ษทั จ่ำยหุน้ ปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นสำมัญ (ดูหมำยเหตุ 17 และ18) บริ ษทั ได้ปรับปรุ งจำนวนหุน้ สำมัญที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ สำมัญก่อนจ่ำยหุน้ ปั นผลตำมสัดส่ วนที่เปลี่ยนไปของจำนวนหุน้ สำมัญที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ สำมัญ เสมือนว่ำกำรจ่ำยหุน้ ปั นผลได้เกิดขึ้นตั้งแต่วนั เริ่ มต้นของงวดแรกสุดที่นำเสนอ สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 สรุ ปได้ดงั นี้

บาท 2561

2560

28,211,413

40,884,292

หุ้นสำมัญ ณ วันต้นปี

400,000,000

280,000,000

ผลกระทบจำกกำรออกหุ้นปันผลและออกหุ้นเพิ่มทุน หุ้นสำมัญตำมวิธีถวั เฉลีย่ ถ่วงน้ ำหนัก

39,999,039 439,999,039

54,761,449 334,761,449

0.06

0.12

กำไรสำหรับปี หุ้นสามัญตามวิธถี ั วเฉลี่ยถ่ วงนา้ หนัก (หุ้น)

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน

147


กำรวัดมูลค่ ำยุตธิ รรม มูลค่ำยุติธรรม หมำยถึง รำคำที่จะได้รับจำกกำรขำยสิ นทรัพย์หรื อเป็ นรำคำที่จะจ่ำยเพื่อโอนหนี้ สินให้ผอู ้ ื่นโดย รำยกำรดังกล่ำวเป็ นรำยกำรที่เกิดขึ้นในสภำพปกติระหว่ำงผูซ้ ้ื อและผูข้ ำย (ผูร้ ่ วมตลำด) ณ วันที่วดั มูลค่ำ บริ ษทั ใช้รำคำเสนอซื้ อขำยในตลำดที่มีสภำพคล่องกำหนดให้ตอ้ งในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินซึ่ง มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ นที่ เกี่ ยวข้องวัดมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรม ยกเว้นในกรณี ที่ไม่มีตลำดที่ มีสภำพ คล่องสำหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินที่มีลกั ษณะเดียวกันหรื อไม่สำมำรถหำรำคำเสนอซื้ อขำยในตลำดที่มีสภำพ คล่องได้ บริ ษทั จะประมำณมูลค่ำยุติธรรมโดยใช้เทคนิคกำรประเมินมูลค่ำที่เหมำะสมกับแต่ละสถำนกำรณ์ และ พยำยำมใช้ขอ้ มูลที่สำมำรถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่จะวัดมูลค่ำยุติธรรมนั้นให้มำกที่สุด ลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรมที่ใช้วดั มูลค่ำและเปิ ดเผยมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินในงบกำรเงินแบ่ง ออกเป็ นสำมระดับตำมประเภทของข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1

ใช้ขอ้ มูลรำคำเสนอซื้อขำยของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่ำงเดียวกันในตลำดที่มีสภำพคล่อง

ระดับ 2

ใช้ขอ้ มูลอื่นที่สำมำรถสังเกตได้ของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สิน ไม่วำ่ จะเป็ นข้อมูลทำงตรงหรื อทำงอ้อม

ระดับ 3

ใช้ขอ้ มูลที่ไม่สำมำรถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดในอนำคตที่บริ ษทั ประมำณขึ้น

ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน บริ ษทั จะประเมินควำมจำเป็ นในกำรโอนรำยกำรระหว่ำงลำดับชั้นของมูลค่ำ ยุติธรรมสำหรั บสิ นทรั พย์และหนี้ สินที่ ถืออยู่ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำนที่ มีกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมแบบ เกิดขึ้นประจำ 4.

รำยกำรบัญชีกบั บุคคลหรื อกิจกำรทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริ ษทั มีรำยกำรบัญชีส่วนหนึ่ งกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่ งบุคคลหรื อกิจกำรเหล่ำนี้ เกี่ยวข้องกันโดย กำรถือหุ ้นและ/หรื อมีกรรมกำรร่ วมกันหรื อเป็ นสมำชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิด รำยกำรระหว่ำงกันกับบุคคลหรื อ กิ จกำรที่ เกี่ ยวข้องกันที่มีสำระสำคัญที่รวมไว้ในงบกำรเงินใช้รำคำตำมปกติธุรกิ จโดยถือตำมรำคำตลำดทัว่ ไป หรื อในรำคำที่ตกลงกันตำมสัญญำหำกไม่มีรำคำตลำดรองรับ รำยกำรบัญชีและรำยกำรค้ำที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้

148


บาท 2561 รายได้ จากการขาย คุณประเสริ ฐ วรรณเจริ ญ ซื้อวัสดุและอุปกรณ์ ก่อสร้ าง บริ ษทั พนำ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จำกัด บริ ษทั โมโน กรุ๊ ป จำกัด บริ ษทั สำม ธันวำ จำกัด

2560 -

2,580,282

17,500,000 1,857,988 219,682

1,050,000 41,436

ค่ าเช่ าสานักงาน บริ ษทั สำม ธันวำ จำกัด

480,000

480,000

ค่ าซ่ อมแซม บริ ษทั สำม ธันวำ จำกัด

131,824

42,468

73,000

-

ค่ าบริการ บริ ษทั พนำ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จำกัด

ยอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิ จกำรที่เกี่ ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้ บาท เจ้ าหนีอ้ ื่น บริ ษทั สำม ธันวำ จำกัด

-

41,436

บริ ษทั ได้ทำสัญญำเช่ำอำคำรสำนักงำนกับบริ ษทั สำม ธันวำ จำกัด กำหนดระยะเวลำ 12 เดื อน อัตรำค่ำเช่ำต่อ เดือน จำนวนเงิน 0.04 ล้ำนบำท ค่ ำตอบแทนผู้บริหำรสำคัญ ค่ำตอบแทนที่จ่ำยให้ผบู ้ ริ หำรสำคัญสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน รวม

2561 28,334,993 1,654,470 29,989,463

บาท

2560 17,391,678 1,431,907 18,823,585

ค่ ำตอบแทนกรรมกำร ค่ำตอบแทนกรรมกำรเป็ นผลประโยชน์ที่จ่ำยให้แก่กรรมกำรบริ ษทั ตำมมำตรำ 90 ของพระรำชบัญญัติบริ ษทั มหำชนจำกัด โดยไม่รวมเงิ นเดื อนและผลประโยชน์ที่เกี่ ยวข้องที่ จ่ำยให้กับกรรมกำรซึ่ งดำรงตำแหน่ งเป็ น ผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั ค่ำตอบแทนกรรมกำร สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 จำนวนเงิน 1.99 ล้ำนบำท (ปี 2560: 1.94 ล้ำนบำท)

149


ลักษณะควำมสัมพันธ์ ประเทศ ชือ่ บริษทั /บุคคล

/สัญชำติ

ควำมสัมพันธ์

ลักษณะควำมสัมพันธ์

บริษทั สำม ธันวำ จำกัด

ไทย

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน กรรมกำรและ/หรือผูถ้ ือหุน้ ร่วมกัน

บริษทั พนำ๑๐๐๐ เมืองต้นไม้ จำกัด

ไทย

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน กรรมกำรและ/หรือผูถ้ ือหุน้ เป็ นบุคคลในครอบครัวใกล้ชิด

บริษทั โมโน กรุ๊ป จำกัด

ไทย

คุณประเสริฐ วรรณเจริญ

ไทย

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน กรรมกำรและ/หรือผูถ้ ือหุน้ เป็ นบุคคลในครอบครัวใกล้ชิด บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน ผูถ้ ือหุน้ และผูบ้ ริหำร

หลักเกณฑ์ ในกำรคิดรำยได้ และค่ ำใช้ จ่ำยระหว่ ำงกัน รำยได้จำกกำรขำย ซื้ อวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้ำง ค่ำเช่ำสำนักงำน ค่ำซ่อมแซม ค่ำบริ กำร

5.

นโยบำยกำรกำหนดรำคำ รำคำขำยสุทธิหกั ส่วนลดสำหรับพนักงำน อัตรำร้อยละ 15 ของรำคำขำยสุทธิ (สวัสดิกำรพนักงำน) รำคำตลำด ตำมสัญญำที่ตกลงกัน รำคำตลำด รำคำตลำด

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

บาท เงินสด เงินฝำกธนำคำร รวม

150

2561 1,000,000 252,291,768 253,291,768

2560 700,000 235,953,977 236,653,977


6.

ต้ นทุนพัฒนำอสังหำริมทรัพย์ ต้นทุนพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

บาท 2561 อสังหำริ มทรัพย์พร้อมขำย ที่ดิน ห้องชุดพักอำศัย อุปกรณ์ตกแต่งภำยใน ดอกเบี้ยจ่ำยที่ถือเป็ นต้นทุน รวม อสังหำริ มทรัพย์ระหว่ำงพัฒนำ ที่ดิน งำนระหว่ำงก่อสร้ำงและต้นทุนอื่น ดอกเบี้ยจ่ำยที่ถือเป็ นต้นทุน รวม รวมทั้งหมด

2560

43,842,866 597,481,710 39,315,247 8,254,007 688,893,830

140,991,296 12,865,765 153,857,061

973,540 973,540

43,187,594 176,295,682 230,137 219,713,413

689,867,370

373,570,474

รำยกำรเปลี่ยนแปลงของต้นทุนพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ที่สำคัญ สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 สรุ ปได้ดงั นี้ บาท

หมำยเหตุ

2561

2560

โอนออกไปที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ 9 (221,030) ต้นทุนขำยและดอกเบี้ยจ่ำย 134,215,493 131,240,137 ดอกเบี้ยจ่ำยที่ถือเป็ นต้นทุน 22 8,023,870 230,137 บริ ษทั ได้จดจำนองที่ดินระหว่ำงพัฒนำโครงกำรอสังหำริ มทรัพย์ที่มีอยูแ่ ล้วในปั จจุบนั และที่จะมีข้ ึนต่อไปในภำย หน้ำของโครงกำรดังกล่ำว เพื่อใช้เป็ นหลักประกันวงเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกบริ ษทั อื่น จำนวนเงิน 300 ล้ำนบำท (ดู หมำยเหตุ 14) เมื่อวันที่ 28 มีนำคม 2560 บริ ษทั ได้ปิดวงเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน จำนวนเงิน 294.50 ล้ำนบำท และ วงเงินเบิกเกินบัญชี จำนวนเงิน 10 ล้ำนบำท พร้อมทั้งไถ่ถอนหลักประกัน (ดูหมำยเหตุ 13)

151


7.

สินทรัพย์ หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

บาท ต้นทุนส่วนเพิม่ เพือ่ กำรได้มำซึ่ งสัญญำ ค่ำใช้จ่ำยจ่ำยล่วงหน้ำ เงินจ่ำยล่วงหน้ำสำหรับซื้ อสินค้ำ อื่น ๆ รวม 8.

2561 163,873,985 803,470 11,823,239 331,612 176,832,306

2560 75,095,451 644,771 1,331,737 289,314 77,361,273

ทีด่ นิ รอกำรพัฒนำ รำยกำรเปลี่ยนแปลงของที่ดินรอกำรพัฒนำ สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกรำคม 2560 ซื้ อ/โอนเข้ำ จำหน่ำย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560 ซื้ อ/โอนเข้ำ จำหน่ำย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561

บาท 60,341,587 159,189,185 219,530,772 349,463,151 568,993,923

บริ ษทั ได้จดจำนองที่ดินรอกำรพัฒนำเพื่อใช้เป็ นหลักประกันเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกบริ ษทั อื่น (ดูหมำยเหตุ 14)

152


9.

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ รำยกำรเปลี่ ย นแปลงของที่ ดิ น อำคำรและอุ ป กรณ์ ส ำหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วัน ที่ 31 ธั น วำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย บาท เครื่ องตกแต่ง ที่ดิน

อำคำรและ

และอุปกรณ์

สิ่ งปลูกสร้ำง

สำนักงำน

งำนระหว่ำง ยำนพำหนะ

รวม

ก่อสร้ำง

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกรำคม 2560 ซื้ อ/โอนเข้ำ

3,759,402 -

49,042,142

5,951,368

8,106,372

2,134,545

4,562,145

493,677

63,808,734

-

7,390,438

17,631,355

โอนเข้ำมำจำกต้นทุนพัฒนำ อสังหำริ มทรัพย์ จำหน่ำย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560

-

-

-

-

221,030

221,030

-

-

(74,380)

-

(8,105,145)

(8,179,525)

3,759,402

57,148,514

ซื้ อ/โอนเข้ำ

-

-

จำหน่ำย/โอนออก

-

(445,471)

-

(2,480,285)

8,011,533

4,562,145

-

73,481,594

1,080,639

140,170

-

1,220,809

-

-

(742,317)

-

-

(2,480,285)

(296,846)

โอนออกไปอสังหำริ มทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561

3,759,402

-

54,222,758

8,795,326

4,702,315

-

71,479,801

ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกรำคม 2560

-

10,181,212

2,790,430

1,217,338

-

14,188,980

ค่ำเสื่ อมรำคำ

-

7,342,843

1,292,587

530,270

-

9,165,700

จำหน่ำย/โอนออก

-

-

(33,296)

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560

-

17,524,055

4,049,721

1,747,608

-

23,321,384

ค่ำเสื่ อมรำคำ

-

7,502,841

1,562,646

460,485

-

9,525,972

จำหน่ำย/โอนออก

-

-

-

(216,007)

-

-

(372,042)

-

-

(33,296)

(216,007)

-

โอนออกไปอสังหำริ มทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ภำยใต้สญ ั ญำเช่ำกำรเงิน

-

(372,042)

-

24,654,854

5,396,360

2,208,093

-

32,259,307

39,624,459

3,961,812

1,227,979

-

48,573,652

1,586,558

-

1,586,558

3,759,402 -

-

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560

3,759,402

39,624,459

3,961,812

2,814,537

-

50,160,210

ภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั

3,759,402

29,567,904

3,398,966

1,526,292

-

967,930

-

38,252,564 967,930

2,494,222

-

39,220,494

ภำยใต้สญ ั ญำเช่ำกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561

3,759,402

29,567,904

3,398,966

153


ค่ำเสื่ อมรำคำสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ได้แสดงไว้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จดังนี้ บาท 2561 ค่ำเสื่ อมรำคำสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวำคม แสดงไว้ในค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม มูลค่ำตำมบัญชีก่อนหักค่ำเสื่ อมรำคำสะสม ได้ตดั ค่ำเสื่ อมรำคำทั้งจำนวนแล้วแต่ยงั คงใช้งำนอยู่

2560

9,525,972

9,165,700

285,808

285,808

เมื่อวันที่ 22 พฤษภำคม 2561 บริ ษทั ได้ไถ่ถอนที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้ำงซึ่งเป็ นหลักประกันเงินกูย้ มื จำกบริ ษทั อื่น (ดูหมำยเหตุ 11) 10.

ภำษีเงินได้ รอกำรตัดบัญชี ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

บาท 2561 13,661,778

สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี

2560 9,249,499

รำยกำรเคลื่อนไหวของสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่ำงปี มีดงั นี้ 1 มกรำคม 2560

กำไร

ขำดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น

31 ธันวำคม 2560

กำไร

บาท 31 ธันวำคม 2561

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ประมำณกำรหนี้สิน ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ส่วนลดจำกกำรรับประกันผลตอบแทน

763,661 1,131,006 841,608 1,983,389

231,237 483,437 780,385 3,154,004

(119,228) -

994,898 1,495,215 1,621,993 5,137,393

253,627 494,555 760,486 2,903,611

1,248,525 1,989,770 2,382,479 8,041,004

รวม

4,719,664

4,649,063

(119,228)

9,249,499

4,412,279

13,661,778

11.

เงินกู้ยืมระยะสั้นจำกบริษัทอื่น บริ ษทั มีเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกบริ ษทั อื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

ล้ านบาท กำหนดระยะเวลำ อ้ำงอิงอัตรำดอกเบี้ย วงเงิน จ่ำยชำระหนี้ ต่อปี (ร้อยละ) 119 ภำยในเดือนเมษำยน 2561 MLR

154

กำรจ่ำยชำระหนี้ ชำระคืนเงินต้นเมื่อโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุด และส่วนที่เหลือชำระภำยในเดือน เมษำยน 2561


กำรเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกูย้ ืมระยะสั้นจำกบริ ษทั อื่นสำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 สรุ ป ได้ดงั นี้

2561 25,000,000 (25,000,000) -

ยอดยกมำ เพิม่ ขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ

บาท

2560 115,000,000 (90,000,000) 25,000,000

ระหว่ำงปี 2561 บริ ษทั ได้ปิดวงเงินกูย้ มื จำกบริ ษทั อื่น จำนวนเงิน 119 ล้ำนบำท พร้อมทั้งไถ่ถอนหลักประกัน (ดู หมำยเหตุ 9) 12.

เจ้ ำหนีก้ ำรค้ ำและเจ้ ำหนีอ้ ื่น เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

บาท เจ้ำหนี้กำรค้ำ เจ้ำหนี้อื่น ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เจ้ำหนี้อื่น รวม รวมทั้งหมด 13.

2561 4,285,977

2560 9,524,039

3,512,423 3,645,947 7,158,370

4,410,608 5,054,502 9,465,110

11,444,347

18,989,149

เงินกู้ยืมจำกสถำบันกำรเงิน รำยละเอียดเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงิน

สถำบัน กำรเงิน ธนำคำรพำณิชย์

กำหนด ล้ านบาท วงเงิน ระยะเวลำ 4.50 ภำยใน มีนำคม 2560 290.00

ภำยใน มีนำคม 2560

ร้ อยละ อ้ำงอิงอัตรำ ดอกเบี้ย กำรจ่ำยชำระหนี้ MLR ชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน เดือนละ 0.14 ล้ำนบำท MLR ชำระเงินต้นในอัตรำร้อยละ 70 ของสัญญำ จะซื้ อจะขำย เมื่อโอนกรรมสิทธิห้องชุด เพือ่ ปลอดจำนองห้องชุด ชำระดอกเบี้ย เป็ นรำยเดือน

155


กำรเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2560 มีดงั นี้

บาท 11,663,715 (11,663,715) -

ยอดยกมำ เพิม่ ขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ

บริ ษทั ได้จดจำนองกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดของโครงกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์เพื่อใช้เป็ นหลักประกันเงินกูย้ ืม (ดู หมำยเหตุ 6) ระหว่ำ งปี 2560 บริ ษ ัท ได้ปิดวงเงิ นกู้ยืม จำกสถำบัน กำรเงิ น จ ำนวนเงิ น 294.50 ล้ำ นบำท พร้ อ มทั้ง ไถ่ถอน หลักประกัน (ดูหมำยเหตุ 6) 14.

เงินกู้ยืมระยะยำวจำกบริษัทอื่น บริ ษทั มีเงินกูย้ มื ระยะยำวบริ ษทั อื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

บาท 2561 เงินกูย้ มื ระยะยำว

ล้ านบาท วงเงิน 300

2560

269,000,000

50,000,000

ร้ อยละ อ้ำงอิงอัตรำดอกเบี้ย กำรจ่ำยชำระหนี้ MLR ชำระคืนเงินต้น งวดแรก เดือน ธันวำคม 2561 ผ่อนชำระเงินต้น 31 ล้ำนบำท งวดสอง เดือน พฤศจิกำยน 2562 ไม่นอ้ ยกว่ำ 100 ล้ำนบำท งวดสำม เดือน พฤศจิกำยน 2563 ไม่นอ้ ยกว่ำ 100 ล้ำนบำท งวดสี่ เดือน พฤศจิกำยน 2564 ผ่อนชำระเงินต้น ส่วนที่เหลือทั้งหมด กำรเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกบริ ษทั อื่นสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 สรุ ป ได้ดงั นี้ กำหนดระยะเวลำ จ่ำยชำระหนี้ ภำยในเดือน พฤศจิกำยน 2564

บาท ยอดยกมำ เพิม่ ขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ

2561 50,000,000 250,000,000 (31,000,000) 269,000,000

2560 50,000,000 50,000,000

บริ ษทั ได้จดจำนองที่ดินระหว่ำงพัฒนำโครงกำรอสังหำริ มทรัพย์และที่ดินรอกำรพัฒนำ (ดูหมำยเหตุ 6 และ 8) เพื่อใช้เป็ นหลักประกันเงินกูย้ มื

156


15.

หนีส้ ินภำยใต้ สัญญำเช่ ำกำรเงิน หนี้สินภำยใต้สญ ั ญำเช่ำกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย บาท 2561 ปี

มูลค่ำปั จจุบนั

1

201,347

2-5

2560

ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี

201,347

2,217 2,217

ค่ำเช่ำขั้นต่ำ 203,564 203,564

มูลค่ำปั จจุบนั

ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี

ค่ำเช่ำขั้นต่ำ

341,384

20,236

361,620

201,347

2,217

203,564

542,731

22,453

565,184

บริ ษทั ได้ทำสัญญำเช่ำกำรเงินเพื่อซื้ อยำนพำหนะ กำหนดผ่อนชำระเป็ นรำยเดือน ๆ ละ 0.02 ล้ำนบำท ส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี จำนวนเงิน 0.20 ล้ำนบำท (ปี 2560: 0.34 ล้ำนบำท) แสดงภำยใต้หนี้สินหมุนเวียน กรรมกำรบริ ษทั ได้ค้ ำประกันหนี้สินภำยใต้สญ ั ญำเช่ำกำรเงิน 16.

ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำนในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

บาท 2561

2560

โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน มูลค่ำปัจจุบนั ของภำระผูกพัน ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน

9,948,850 9,948,850

7,476,073 7,476,073

157


กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำปั จจุบนั ของภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน สำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้ บาท 2561 โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน ณ วันที่ 1 มกรำคม ส่วนที่รับรู้ในกำไรหรื อขำดทุน : ต้นทุนบริ กำรปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ส่วนที่รับรู้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น : ผล(กำไร)ขำดทุนจำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย ส่วนที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติดำ้ นประชำกรศำสตร์ ส่วนที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติทำงกำรเงิน ส่วนที่เกิดจำกกำรปรับปรุ งจำกประสบกำรณ์ ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน ณ วันที่ 31 ธันวำคม

2560

7,476,073

5,726,917

2,311,850 160,927

2,189,815 155,480

9,948,850

(802,841) 282,488 (75,786) 7,476,073

บริ ษทั กำหนดโครงกำรผลประโยชน์ที่กำหนดไว้เป็ นไปตำมกำรจ่ำยเงินชดเชยตำมกฎหมำยแรงงำนซึ่ งให้สิทธิแก่ พนักงำนที่ เกษียณอำยุและทำงำนครบระยะเวลำที่ กำหนด เช่น 10 ปี ขึ้นไป ได้รับเงิ นชดเชยไม่น้อยกว่ำอัตรำ เงินเดือนสุดท้ำย 300 วัน หรื อ 10 เดือน ข้อสมมติในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ประกันภัยที่สำคัญ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 (แสดง ด้วยค่ำเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนัก) มีดงั นี้ 2561 อัตรำคิดลด (ร้อยละ) อัตรำกำรขึ้นเงินเดื อน (ร้อยละ) อัตรำกำรลำออก (ร้อยละ) เกษียณอำยุ อัตรำมรณะ อัตรำกำรทุพพลภำพ

2560

2.15 2.15 5.00 5.00 0.00 - 19.00 0.00 - 19.00 60 ปี 60 ปี ตำรำงมรณะปี 2560 ตำรำงมรณะปี 2551 ร้อยละ 5 ของอัตรำมรณะ ร้อยละ 5 ของอัตรำมรณะ

ผลกระทบของกำรเปลี่ยนแปลงสมมติฐำนที่สำคัญต่อมูลค่ำปั จจุบนั ของภำระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจำก งำนของพนักงำน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 สรุ ปได้ดงั นี้ บาท อัตรำคิดลด (เปลี่ยนแปลง ร้อยละ 1) อัตรำกำรขึ้นเงินเดือน (เปลี่ยนแปลง ร้อยละ 1 ) อัตรำกำรลำออก (เปลี่ยนแปลง ร้อยละ 1 )

158

เพิม่ ขึ้น (648,049) 839,162 (685,265)

ลดลง 764,576 (729,060) 286,130


17.

ทุนเรื อนหุ้น ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 24 เมษำยน 2561 ได้มีมติอนุมตั ิให้เพิ่มทุนจดทะเบียนจำกเดิม จำนวนเงิน 200 ล้ำนบำท เป็ นจำนวนเงิ น 220 ล้ำนบำท โดยออกหุ ้นสำมัญใหม่ จำนวน 40 ล้ำนหุ ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 0.50 บำท เพื่อรองรับกำรจ่ำยหุน้ ปั นผล บริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนดังกล่ำวกับกระทรวงพำณิ ชย์แล้ว เมื่อวันที่ 21 พฤษภำคม 2561 ระหว่ำงวันที่ 16 - 18 ตุลำคม 2560 บริ ษทั ได้นำหุน้ สำมัญ จำนวน 7.20 ล้ำนหุ ้น เปิ ดให้กรรมกำร ผูบ้ ริ หำร และ/ หรื อ พนักงำนบริ ษทั จองซื้อหุน้ และวันที่ 2 พฤศจิกำยน 2560 เปิ ดให้ประชำชนทัว่ ไปจองซื้อหุน้ จำนวน 112.80 ล้ำนหุน้ โดยเสนอขำยในรำคำหุน้ ละ 2.20 บำท บริ ษทั ได้รับชำระเงินค่ำจองซื้อหุน้ ดังกล่ำวเป็ นจำนวนเงินรวม 264 ล้ำนบำท (บริ ษทั บันทึกค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับกำร จำหน่ำยหุน้ เพิ่มทุน จำนวนเงิน 12.59 ล้ำนบำท เป็ นรำยกำรหักในบัญชีส่วนเกินมูลค่ำหุน้ สำมัญ) เมื่อวันที่ 20 ตุลำคม 2560 บริ ษทั ได้จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้วกับกระทรวงพำณิ ชย์ จำกกำรรับชำระ เงินเพิ่มทุนหุน้ สำมัญดังกล่ำวจำกเดิมจำนวนเงิน 140 ล้ำนบำท เป็ นจำนวนเงิน 200 ล้ำนบำท

18.

กำรจ่ ำยเงินปันผล ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ ้น เมื่อวันที่ 24 เมษำยน 2561 ได้มีมติอนุมตั ิให้จ่ำยหุ ้นปั นผล อัตรำกำรจ่ำยหุ ้นปั นผล คือ หุ ้นสำมัญ 10 หุ ้น ต่อ หุ ้นปั นผล 1 หุ ้น รวมเป็ นจำนวน 40 ล้ำนหุ ้น หรื อคิ ดเป็ นจำนวนเงิ น 20 ล้ำนบำท และ จ่ำยเงินปั นผล อัตรำหุน้ ละ 0.0055 บำท รวมเป็ นจำนวนเงิน 2.22 ล้ำนบำท

19.

สำรองตำมกฎหมำย ตำมพระรำชบัญญัติบริ ษทั มหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ต้องจัดสรรกำไรสุ ทธิ ประจำปี ส่ วนหนึ่ งไว้เป็ นทุ น สำรองไม่นอ้ ยกว่ำ ร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี หักด้วยยอดเงินขำดทุนสะสมยกมำ (ถ้ำมี) จนกว่ำทุนสำรอง นี้จะมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน

20.

กองทุนสำรองเลีย้ งชีพ บริ ษทั และพนักงำนได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตำมพระรำชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่ งประกอบด้วยเงิ นที่ พนักงำนจ่ำยสะสมและเงิ นที่ บริ ษทั จ่ำยสมทบให้ ในปั จจุบนั กองทุนสำรองเลี้ยงชี พนี้ บริ หำรโดยบริ ษทั หลักทรัพย์จดั กำรกองทุน กสิ กรไทย จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็ นกองทุน สำรองเลี้ยงชีพตำมข้อกำหนดของกระทรวงกำรคลังและจัดกำรกองทุนโดยผูจ้ ดั กำรกองทุนที่ได้รับอนุญำต

159


21.

ค่ ำใช้ จ่ำยตำมลักษณะ ค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะที่สำคัญ สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

22.

ค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับพนักงำน ค่ำเสื่ อมรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย ค่ำส่งเสริ มกำรขำย ค่ำธรรมเนียม ค่ำสำธำรณูปโภค ค่ำใช้จ่ำยในกำรโอนอสังหำริ มทรัพย์ ต้ นทุนทำงกำรเงิน

2561 61,078,594 10,030,602 49,507,511 5,144,515 2,862,128 4,805,387

บาท 2560 41,082,658 9,716,119 32,055,915 2,425,917 3,511,943 7,609,371

ต้นทุนทำงกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 ประกอบด้วย

2561 ดอกเบี้ยจ่ำย หัก ต้นทุนทำงกำรเงินที่ถือเป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุน สุทธิ 23.

8,130,408 (8,023,870) 106,538

บาท 2560 5,749,704 (230,137) 5,519,567

ภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้นิติบุคคลของบริ ษทั สำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 คำนวณขึ้นในอัตรำที่กำหนด โดยกรมสรรพำกรจำกกำไรทำงบัญชี หลังปรับปรุ งเงื่ อนไขบำงประกำรตำมที่ระบุในประมวลรัษฎำกร บริ ษทั บันทึกภำษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นค่ำใช้จ่ำยทั้งจำนวนในแต่ละปี บัญชีและบันทึกภำระส่ วนที่คำ้ งจ่ำยเป็ นหนี้สินใน งบแสดงฐำนะกำรเงิน กำรลดภำษีเงินได้ นิตบิ ุคคล พระรำชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎำกร (ฉบับที่ 42) พ.ศ. 2559 ซึ่ งมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 5 มีนำคม 2559 เป็ นต้นไป ให้ลดอัตรำภำษีเงินได้นิติบุคคลจำกอัตรำร้อยละ 30 เป็ นอัตรำร้อยละ 20 ของกำไรสุ ทธิสำหรับ รอบระยะเวลำบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม 2559 เป็ นต้นไป

160


ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้

บาท

2561

2560

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน สำหรับปี ปัจจุบนั

11,914,449

12,508,924

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงผลแตกต่ำงชัว่ ครำว ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้

(4,412,279) 7,502,170

(4,649,063) 7,859,861

ภำษีเงินได้ที่รับรู ้ในขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้

บาท 2561 ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน

2560 -

(119,228)

กำรกระทบยอดเพื่อหำอัตรำภำษีเงินได้ที่แท้จริ ง 2561 อัตรำภำษี (ร้อยละ) กำไรก่อนภำษีเงินได้ จำนวนภำษีตำมอัตรำภำษีเงินได้ ค่ำใช้จ่ำยที่มีสิทธิ หกั ได้เพิม่ ขึ้น รำยจ่ำยที่ไม่ให้ถือเป็ นรำยจ่ำยทำงภำษี ภำษีเงินได้สำหรับปี ปั จจุบนั กำรเปลี่ยนแปลงผลแตกต่ำงชัว่ ครำว ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้

24.

20

33 21

2560 บาท 35,713,584 7,142,717 (233,616) 5,005,348 11,914,449 (4,412,279) 7,502,170

อัตรำภำษี (ร้อยละ) 20

26 16

บาท 48,744,153 9,748,831 (2,352,460) 5,112,553 12,508,924 (4,649,063) 7,859,861

ข้ อมูลทำงกำรเงินจำแนกตำมส่ วนงำน ข้อมูลส่ วนงำนดำเนินงำนสอดคล้องกับรำยงำนภำยในสำหรับใช้ในกำรตัดสิ นใจในกำรจัดสรรทรัพยำกรให้กบั ส่วนงำนและประเมินผลกำรดำเนินงำนของส่ วนงำนของผูม้ ีอำนำจตัดสิ นใจสูงสุดด้ำนกำรดำเนินงำนของบริ ษทั คือ กรรมกำรบริ ษทั บริ ษทั ดำเนิ นธุรกิจหลักเกี่ยวกับกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์ ดังนั้น ฝ่ ำยบริ หำรพิจำรณำว่ำบริ ษทั มีส่วนงำนธุรกิจ เพียงส่วนงำนเดียว บริ ษทั ดำเนินธุรกิจเฉพำะในประเทศไทย ดังนั้น ฝ่ ำยบริ หำรพิจำรณำว่ำบริ ษทั มีส่วนงำนทำงภูมิศำสตร์เพียงส่ วน งำนเดียว

161


25.

ภำระผูกพันและหนีส้ ินทีอ่ ำจเกิดขึน้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 บริ ษทั มีภำระผูกพันและหนี้สินที่อำจเกิดขึ้น ดังนี้ 25.1

ธนำคำรออกหนังสื อค้ ำประกันเพื่อใช้ในกำรค้ ำประกันกำรใช้ไฟฟ้ำ จำนวนเงิน 0.41 ล้ำนบำท

25.2

ภำระผูกพันที่ตอ้ งจ่ำยชำระตำมสัญญำ ดังต่อไปนี้ 25.2.1

สัญญำเช่ำอำคำรสำนักงำน อัตรำค่ำเช่ำต่อเดือน จำนวนเงิน 0.04 ล้ำนบำท (ดูหมำยเหตุ 4)

25.2.2 สัญญำว่ำจ้ำงบริ กำรกับบุคคลและบริ ษทั อื่น อัตรำค่ำบริ กำรเดือนละ 0.23 ล้ำนบำท 26.

กำรเปิ ดเผยเกีย่ วกับเครื่ องมือทำงกำรเงิน 26.1 กำรบริหำรจัดกำรทุน นโยบำยของคณะกรรมกำรบริ ษทั คือ กำรรักษำระดับเงิ นทุนให้มนั่ คงเพื่อรักษำนักลงทุน เจ้ำหนี้ และ ควำมเชื่อมัน่ ของตลำดและก่อให้เกิดกำรพัฒนำของธุรกิจในอนำคต คณะกรรมกำรบริ ษทั ได้มีกำรกำกับ ดูแลผลตอบแทนของเงินทุน ซึ่ งบริ ษทั พิจำรณำจำกสัดส่ วนของผลตอบแทนจำกกิจกรรมดำเนิ นงำนต่อ ส่วนของผูถ้ ือหุน้ อีกทั้งยังกำกับดูแลระดับกำรจ่ำยเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ สำมัญ 26.2 นโยบำยกำรบัญชี รำยละเอียดของนโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญและวิธีปฏิบตั ิทำงบัญชี กำรจัดประเภทสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ น และหนี้สินทำงกำรเงินรวมถึงกำรวัดมูลค่ำ กำรรับรู ้รำยได้ และค่ำใช้จ่ำยได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 3 26.3 นโยบำยกำรบริหำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน บริ ษทั มีควำมเสี่ ยงจำกควำมผันผวนของอัตรำดอกเบี้ยและของอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศใน ั ญำไม่ปฏิบตั ิตำมสัญญำ บริ ษทั มีกำรบริ หำรควำมเสี่ ยงดังกล่ำว ดังต่อไปนี้ ตลำดและจำกกำรที่คู่สญ 26.3.1 ควำมเสี่ยงเกีย่ วกับอัตรำดอกเบีย้ ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบี้ยเกิดขึ้นจำกควำมผันผวนของอัตรำดอกเบี้ยในตลำดในอนำคต ซึ่ งจะ ส่ งผลกระทบต่อผลดำเนินงำนและกระแสเงินสดของบริ ษทั บริ ษทั มีควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบี้ย เนื่ องจำกมี เงิ นฝำกธนำคำร และเงิ นกู้ยืมจำกบริ ษทั อื่ น ซึ่ งสิ นทรั พย์ทำงกำรเงิ น และหนี้ สิน ทำงกำรเงิ น ดังกล่ำวส่ วนใหญ่มีอตั รำดอกเบี้ ยที่ ปรับขึ้นลงตำมอัตรำตลำด โดยบริ ษทั มิได้ทำ สัญญำป้ องกันควำมเสี่ ยงไว้ 26.3.2 ควำมเสี่ยงด้ ำนสินเชื่ อทีเ่ กีย่ วเนื่องกับลูกหนีก้ ำรค้ ำ บริ ษทั มีนโยบำยป้ องกันควำมเสี่ ยงด้ำนสิ นเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้กำรค้ำ โดยบริ ษทั มีนโยบำย กำรให้สินเชื่อที่ระมัดระวังและกำรกำหนดวิธีกำรชำระเงินจำกกำรขำยสิ นค้ำและกำรให้บริ กำร ดังนั้น บริ ษทั จึงคำดว่ำจะไม่ได้รับควำมเสี ยหำยจำกกำรเรี ยกชำระหนี้จำกลูกหนี้เหล่ำนั้นเกินกว่ำ จำนวนที่ได้บนั ทึกค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว

162


26.4 มูลค่ ำยุตธิ รรม สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินโดยส่ วนใหญ่เป็ นเงินสดและรำยกำรเที ยบเท่ำเงินสด ลูกหนี้ กำรค้ำและลูกหนี้ อื่น และหนี้สินทำงกำรเงินโดยส่วนใหญ่เป็ นเงินกูย้ มื จำกบริ ษทั อื่น และเจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อื่น จึงทำให้ รำคำตำมบัญชี ของสิ นทรั พย์และหนี้ สิ นทำงกำรเงิ นดัง กล่ ำวไม่ แตกต่ ำงกับ มูลค่ำ ยุติธรรมอย่ำ งเป็ น สำระสำคัญ 27.

เหตุกำรณ์ ภำยหลังรอบระยะเวลำรำยงำน ที่ประชุมคณะกรรมกำรบริ ษทั เมื่อวันที่ 27 กุมภำพันธ์ 2562 ได้มีมติอนุมตั ิให้จ่ำยหุน้ ปั นผล อัตรำกำรจ่ำยหุน้ ปั น ผล คือ หุ ้นสำมัญ 2 หุ ้น ต่อ หุ ้นปั นผล 1 หุ ้น รวมเป็ นจำนวน 220 ล้ำนหุ ้น หรื อคิดเป็ นจำนวนเงิน 110 ล้ำนบำท และจ่ำยเงินปั นผล อัตรำหุน้ ละ 0.028 บำท รวมเป็ นจำนวนเงิน 12.22 ล้ำนบำท

163


การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ การวิ เคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ ภาพรวมผลการดาเนินงาน เนื่ องจากตามมาตรฐานบัญชี ที่กาหนดให้การรับรู ้รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์จะรับรู ้รายได้ต่อเมื่อโครงการ ก่ อ สร้ า งแล้ว เสร็ จ ตามสัญ ญาและมี ก ารโอนกรรมสิ ท ธิ์ หรื อ โอนความเสี่ ย งของหน่ ว ยในอาคารแก่ ผูซ้ ้ื อ ดัง นั้น การ เปลี่ยนแปลงด้านรายได้และกาไรของบริ ษทั จึงมักจะแปรผันตามกับจานวนห้องชุดที่มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ ระหว่างปี โดยใน ปี ใดที่บริ ษทั มีการก่อสร้างโครงการแล้วเสร็ จและมีจานวนห้องชุดที่โอนกรรมสิ ทธิ์จานวนมากก็มกั จะมีการรับรู ้รายได้และ กาไรในปี นั้นจานวนมาก ในขณะที่ในปี ใดที่อยูร่ ะหว่างการพัฒนาโครงการและไม่มีกาหนดการโอนกรรมสิ ทธิ์ บริ ษทั ก็จะ รับรู ้รายได้และกาไรในจานวนที่ไม่สูงนัก เป็ นต้น รายได้จากการขายและให้บริ การของบริ ษทั ประกอบด้วย รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ และรายได้ที่เกี่ยวข้องกับ การขายอสังหาริ มทรัพย์อาทิเช่น รายได้จากการขายเฟอร์นิเจอร์พร้อมห้องชุด รายได้ค่าตกแต่ง/ต่อเติมห้องชุดและรายได้ค่า สาธารณูปโภค เป็ นต้น ทั้งนี้ บริ ษทั จะรับรู ้รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็ จตามสัญญาและมีการ โอนกรรมสิ ทธิ์ หรื อโอนความเสี่ ยงของหน่วยในอาคารแก่ผซู ้ ้ื อ โดยรายได้จากการขายและให้บริ การของบริ ษทั ในงวดปี 2559-2561 เท่ากับ 362.80 ล้านบาท 293.88 ล้านบาท และ 311.73 ล้านบาท หรื อคิดเป็ น ร้อยละ 99.02 ร้อยละ 97.56 และ ร้อยละ 96.18 ของรายได้รวม ตามลาดับ ปี 2559 บริ ษทั มีรายได้จากการขายและให้บริ การ เท่ากับ 362.80 ล้านบาท รายได้หลักมาจากการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ ง ชุดโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 มูลค่า 347.76 ล้านบาท จานวน 80 ห้องชุดหรื อคิดเป็ นร้อยละ 33.33 ของจานวน ห้องชุดทั้งหมดของโครงการดังกล่าว ซึ่งเป็ นโครงการที่เพิ่งก่อสร้างเสร็ จและทยอยโอนกรรมสิ ทธิ์ตอ่ เนื่องจากปลายปี 2558 ในขณะที่ส่วนที่เหลือเป็ นการรับรู ้รายได้จากการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 2 มูลค่า 7.56 ล้านบาท จานวน 2 ห้องชุดหรื อคิดเป็ นร้อยละ 1.67 ของจานวนห้องชุดทั้งหมดของโครงการและโครงการ The Title หาดรา ไวย์ เฟส 1 มู ล ค่ า 7.48 ล้านบาท จ านวน 2 ห้อ งชุ ด หรื อ คิ ดเป็ นร้ อยละ 1.25 ของจ านวนห้อ งชุ ดทั้ง หมดของโครงการ ตามลาดับ ปี 2560 บริ ษทั มีรายได้จากการขายและให้บริ การ เท่ากับ 293.88 ล้านบาท หรื อมีอตั ราการลดลงของรายได้ร้อยละ 19.00 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ซึ่ งการลดลงของรายได้ดงั กล่าว เป็ นผลโดยตรงมาจากยอดการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดที่ลดลง เนื่องจากปี 2559 เป็ นช่วงที่บริ ษทั เพิ่งก่อสร้างโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 แล้วเสร็ จจึงทาให้มีลูกค้า บางส่วนมีความประสงค์ที่จะเร่ งการโอนกรรมสิ ทธิ์ บริ ษทั มีการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดทุกโครงการรวมกัน จานวน 84 ห้องชุด แบ่งเป็ นการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 1 , เฟส 2 และเฟส 3 จานวน 2 ห้องชุด, 2 ห้องชุดและ 80 ห้องชุดตามลาดับ ในขณะที่ของปี 2560 เป็ นช่วงที่บริ ษทั ไม่มีการเปิ ดตัวโครงการใหม่ จึงมีเพียง การโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดจากโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 จานวน 69 ห้องชุด มูลค่า 293.88 ล้านบาท ปี 2561 บริ ษทั มีรายได้จากการขายและให้บริ การ เท่ากับ 311.73 ล้านบาท หรื อมีอตั ราการเพิ่มขึ้นของรายได้ร้อยละ 6.07 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ซึ่ งเป็ นผลมาจากการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุด โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 อย่างต่อเนื่ องรวมทั้งสิ้ น 70 ห้องชุ ด ในขณะที่ โครงการ The Title หาดในยาง ซึ่ งก่ อสร้ างเสร็ จแล้วยังไม่สามารถโอน กรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดได้ เนื่ องจากราคาประเมินซึ่ งออกโดยหน่วยงานราชการเสร็ จในเดือนมกราคม 2562 จึงทาให้รายได้ในปี 2561 เกิดจากการโอนกรรมสิ ทธิ์ โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 เท่านั้น

164


สรุปภาพรวมการเปิ ดขายโครงการและการโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุด

บริ ษทั มีกาไรสุ ทธิ ในปี 2559-2561 เท่ากับ 90.98 ล้านบาท 40.89 ล้านบาท และ 28.21 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิด เป็ นอัตรากาไรสุทธิ เท่ากับ ร้อยละ 24.83 ร้อยละ 13.57 และ ร้อยละ 8.70 ของรายได้รวมตามลาดับ ปี 2559 บริ ษทั มีกาไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากปี 2558 เท่ากับ 80.76 ล้านบาทหรื อคิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 789.95 เนื่องจาก มี การโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุ ดของโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 เป็ นหลัก โดยในปี ดังกล่าวบริ ษทั มี ย อดโอน กรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดทุกโครงการรวมกันจานวน 84 ห้องชุด สู งขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 ซึ่ งมียอดโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดทุก โครงการรวมกันจานวน 35 ห้องชุด เนื่องจากเป็ นช่วงที่บริ ษทั ไม่มีการรับรู ้รายได้จากโครงการใหม่ที่ก่อสร้างเสร็ จสมบูรณ์ และพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ์ ซึ่ งกาไรที่ เพิ่มขึ้นดังกล่าวครอบคลุมค่าใช้จ่ายคงที่ ของบริ ษทั และทาให้อตั รากาไรสุ ทธิ ปรับ เพิม่ ขึ้นเป็ นร้อยละ 24.72 สูงขึ้นจากปี 2558 ที่มีอตั รากาไรสุทธิร้อยละ 7.79 ปี 2560 บริ ษทั มีกาไรสุทธิลดลงเมื่อเทียบกับปี ก่อน เท่ากับ 50.09 ล้านบาทหรื อคิดเป็ นอัตราลดลงร้อยละ 55.06 โดย การปรับตัวลดลงของกาไรสุทธิดงั กล่าวเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับการปรับตัวของรายได้ ปี 2561 บริ ษทั มี กาไรสุ ทธิ ลดลงเมื่อเที ยบกับปี ก่ อน เท่ ากับ 12.67 ล้านบาทหรื อคิ ดเป็ นอัตราลดลงร้ อยละ 31.00 เนื่ องจากการรับรู ้ รายได้มีเพียง โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 เพียงโครงการเดี ยว ทาให้รายได้จากการขายไม่ สามารถครอบคลุมค่าใช้จ่ายคงที่ของบริ ษทั ได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 526.83 ล้านบาท 969.59 ล้านบาท และ 1,754.61 ล้านบาท ตามลาดับ โดยสิ นทรัพย์หลักของบริ ษทั เป็ นรายการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่ งได้แก่ ต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ คิดเป็ นอัตราส่ วน ร้อยละ 65.66 ร้อยละ 38.52 และ ร้อยละ 39.32 ของสิ นทรัพย์ ทั้งหมดตามลาดับ และที่ดินรอการพัฒนา คิดเป็ นอัตราส่ วน ร้อยละ 11.45 ร้อยละ 22.64 และ ร้อยละ 32.43 ของสิ นทรัพย์ รวมทั้งหมดตามลาดับ ทั้งนี้จากการพิจารณาโครงสร้างสิ นทรัพย์ของบริ ษทั แล้ว จะเห็นได้วา่ การเปลี่ยนแปลงสิ นทรัพย์ของ

165


บริ ษทั เป็ นผลโดยตรงมาจากการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เป็ นสาคัญ โดยระหว่างโครงการก่อสร้าง และยังไม่มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่ผูซ้ ้ื อ บริ ษทั จะบันทึกต้นทุนดังกล่าวเป็ นต้นทุนพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อ ขายในงบแสดงแสดงฐานะการเงิ น และจะนาต้นทุนดังกล่าวมาปั นส่ วนเข้าอสังหาริ มทรัพย์แต่ละห้องชุด และรับรู ้เป็ น ต้นทุนในงบกาไรขาดทุนเมื่อมีการรับรู ้รายได้จากการขาย ดังนั้นในปี ใดที่มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดจานวนมากอาทิเช่น ปี 2559 ที่ มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุ ดจากโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 จึ งทาให้สินทรั พย์รวมลดลง เป็ นต้น ในขณะที่ปีที่มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ น้อยแต่มีการก่อสร้างเพื่อพัฒนาโครงการจะส่ งผลให้สินทรัพย์รวมเพิ่มสู งขึ้นเช่นในปี 2560-2561 เริ่ มมีการก่อสร้างโครงการ The Title ในยาง เป็ นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มี หนี้ สินรวมเท่ ากับ 294.58 ล้านบาท 444.56 ล้านบาทและ 1,203.59 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ นอัตราส่ วน ร้อยละ 55.92 ร้อยละ 45.85 และ ร้อยละ 68.60 ของหนี้ สินและส่ วนของผู ้ ถือหุ ้นรวมตามลาดับ โดยหนี้ สินหลักของบริ ษทั ได้แก่ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ซึ่ งเป็ นเงินที่บริ ษทั ได้รับจากผูซ้ ้ื อก่อนถึง วันโอนกรรมสิ ทธิ์ เช่น เงินจอง เงินมัดจา และเงินทาสัญญา จะบันทึกเป็ นเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า และถูกตัดเป็ นรายได้ เมื่อมีการโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้ผซู ้ ้ื อ และเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน/บริ ษทั ประกันภัย ซึ่ งหนี้ สินในปี 2559 เกิดจาก รายได้รับล่วงหน้าค่าจองกรรมสิ ทธิ์ โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟสที่ 3 เป็ นหลัก ในส่ วนของเงิ นกูย้ ืมจากสถาบัน การเงิน/บริ ษทั ประกันภัยของบริ ษทั มักจะเพิ่มขึ้นเมื่อบริ ษทั มีแผนจะพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์และลดลงเมื่อบริ ษทั ขายห้องชุดได้ซ่ ึ งจะทยอยชาระหนี้ คืนแก่สถาบันการเงิน/บริ ษทั ประกันภัยตามเงื่อนไขที่กาหนด สาหรับในปี 2560-2561 เงิ นรับล่วงหน้าที่เพิ่มขึ้นเกิ ดจากการรับเงิ นจองเงินดาวน์ของโครงการในยางเฟส 1 ที่ เริ่ มเปิ ดตัวตั้งแต่ปลายปี 2559 และ โครงการในยางเฟส 2 ที่เปิ ดตัวปลายปี 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีส่วนผูถ้ ือหุน้ จานวน จานวน จานวน 232.25 ล้านบาท 525.02 ล้านบาท และจานวน 551.02 ล้านบาท ตามลาดับซึ่ งคิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 44.08 ร้อยละ 54.15 และ ร้อยละ 31.40 ของ หนี้สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวม ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของส่วนของผูถ้ ือหุน้ นั้น เป็ นผลโดยตรงมาจากการเพิ่มขึ้นของกาไร สุทธิของแต่ละปี และการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เป็ นหลัก ในขณะที่ในช่วงปี 2559 - 2560 บริ ษทั มีการจ่ายปั นผลและ เพิ่มทุนซึ่งสามารถสรุ ปได้ ดังนี้ ปี 2559 ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 19 สิ งหาคม 2559 ได้มีมติจ่ายปั นผลในอัตราหุน้ ละ 112 บาท จากจานวนหุน้ 70 ล้านหุน้ คิดเป็ นจานวน 78.40 ล้านบาทและที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 19 สิ งหาคม 2559 ได้มีมติเพิ่มทุน จากทุนจดทะเบียนเดิม 70 ล้านบาท เป็ น 140 ล้านบาท โดยมีการออกหุน้ สามัญใหม่จานวน 700,000 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เพื่อเสนอขายให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นเดิมตามสัดส่ วนในอัตราหุ ้นละ 100 บาท คิดเป็ น จานวนเงินรวม 70.00 ล้านบาท นอกจากนี้ ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2559 ได้มีมติเพิ่มทุนจากทุนจดทะเบียนเดิม 140 ล้านบาท เป็ น 200 ล้านบาท โดยมีการออกหุน้ สามัญใหม่จานวน 120,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.50 บาท โดยมีมติ ให้จดั สรรหุน้ สามัญเพิ่มทุนจานวน 120,000,000 หุน้ โดยมีรายละเอียดการจัดสรร ดังนี้ 1) หุน้ สามัญจานวน 112.80 ล้านหุน้ เสนอขายให้แก่ประชาชน 2) หุน้ สามัญจานวน 7.20 ล้านหุน้ เสนอขายให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และ/หรื อพนักงานของบริ ษทั

166


ปี 2560 เมื่ อวันที่ 16-18 ตุลาคม 2560 บริ ษทั ฯ เสนอขายหุ ้นสามัญแก่ ประชาชนทั่ว ไป และกรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงานบริ ษทั รวม 120,000 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ 2.20 บาท โดยได้เปลี่ยนแปลงทุนชาระแล้ว 200 ล้านบาท เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2560 ปี 2561 ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2561 เมือวันที่ 24 เมษายน 2561 มีมติจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ จานวนรวม 22,222,222.40 บาท คิดเป็ นการจ่ายปั นผลในอัตราหุน้ ละ 0.0555555556 บาทหรื อคิดเป็ นอัตราร้อยละ 54.53 ของกาไรสุ ทธิ โดยจัดสรรให้ผถู ้ ือหุน้ เดิมโดยเป็ นการจ่ายเป็ นหุน้ ปั นผลและเงินสด ดังนี้ ก. จ่ายปั นผลเป็ นหุ ้นสามัญของบริ ษทั จานวน 40,000,000 หุ ้น (มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท) คิดเป็ นการ จ่ายเงิ นปั นผลในอัตราหุ ้นละ 0.05 บาท ให้แก่ผูถ้ ือหุ ้นเดิ มในอัตรา 10 หุ ้น เดิ มต่อ 1 หุ ้นปั นผล รวมมูลค่า ทั้งสิ้ น 20,000,000 บาท ในกรณี ที่หุน้ สามัญที่เกิดจากการจ่ายเงินปั นผลคานวณได้ออกมาเป็ นเศษหุน้ บริ ษทั ฯ จะจ่ายเงินปั นผลในส่วนของเศษหุน้ นั้นเป็ นเงินสดให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในอัตราหุน้ ละ 0.05 บาท ข. จ่ายปั นผลเป็ นเงินสดในอัตราหุน้ ละ 0.0055555556 บาท กาหนดวันจ่ายเงินปั นผลในวันที่ 18 พฤษภาคม 2561 และให้กาหนดวันกาหนดรายชื่ อผูถ้ ือหุ ้น (Record Date) เพื่อ สิ ทธิในการรับเงินปั นผล ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561

การวิเคราะห์ ผลการดาเนินงาน รายได้ รายได้ของบริ ษทั ประกอบด้วย รายได้จากการขายและการให้บริ การ ดอกเบี้ยรับ และรายได้อื่น โดยมีรายได้จากการ ขายและการให้บริ การเป็ นรายได้หลัก สัดส่วนรายได้ประเภทต่างๆ สามารถจาแนกได้ดงั นี้ รายได้ จากการขายและการให้ บริการ รายได้จากการขายและให้บริ การของบริ ษทั ประกอบด้วย รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ และรายได้ที่เกี่ยวข้องกับ การขายอสังหาริ มทรัพย์อาทิเช่น รายได้จากการขายเฟอร์นิเจอร์พร้อมห้องชุด รายได้ค่าตกแต่ง/ต่อเติมห้องชุดและรายได้ค่า สาธารณูปโภค เป็ นต้น ทั้งนี้ บริ ษทั จะรับรู ้รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็ จตามสัญญาและมีการ โอนกรรมสิ ทธิ์ หรื อโอนความเสี่ ยงของหน่วยในอาคารแก่ผซู ้ ้ื อ โดยรายได้จากการขายและให้บริ การของบริ ษทั ในงวดปี 2559-2561 เท่ากับ 362.80 ล้านบาท 293.88 ล้านบาท และ 311.73 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 98.58 ร้อยละ 97.56 และ ร้อยละ 96.18 ของรายได้รวม ตามลาดับ ปี 2559 บริ ษทั มีรายได้จากการขายและให้บริ การ เท่ากับ 362.80 ล้านบาท หรื อมีอตั ราการเพิ่มขึ้นของรายได้ร้อยละ 183.57 จากปี 2558 ซึ่งการเพิ่มขึ้นของรายได้ เป็ นผลจากการรับรู ้รายได้จากโครงการที่มีการโอนต่อเนื่องจากปี ที่ผา่ นมา ซึ่ง รายได้หลักมาจากการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 มูลค่า 347.76 ล้านบาท จานวน 80 ห้อง ชุดหรื อคิดเป็ นร้อยละ 33.33 ของจานวนห้องชุดทั้งหมดของโครงการดังกล่าวซึ่งเป็ นโครงการที่เพิ่งก่อสร้างเสร็ จและทยอย โอนกรรมสิ ทธิ์ ต่อเนื่ องจากปลายปี 2558 ในขณะที่ส่วนที่เหลือเป็ นการรับรู ้รายได้จากการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 2 มูลค่า 7.56 ล้านบาท จานวน 2 ห้องชุดหรื อคิดเป็ นร้อยละ 1.67 ของจานวนห้องชุดทั้งหมดของ โครงการและโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 1 มูลค่า 7.48 ล้านบาท จานวน 2 ห้องชุดหรื อคิดเป็ นร้อยละ 1.25 ของ จานวนห้องชุดทั้งหมดของโครงการตามลาดับ

167


ปี 2560 บริ ษทั มีรายได้จากการขายและให้บริ การ เท่ากับ 293.88 ล้านบาท หรื อมีอตั ราการลดลงของรายได้ร้อยละ 19.00 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ซึ่ งการลดลงของรายได้ดงั กล่าว เป็ นผลโดยตรงมาจากยอดการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดที่ลดลง เนื่องจากปี 2559 เป็ นช่วงที่บริ ษทั เพิ่งก่อสร้างโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 แล้วเสร็ จจึงทาให้มีลูกค้า บางส่วนมีความประสงค์ที่จะเร่ งการโอนกรรมสิ ทธิ์ โดยมีการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 1 , เฟส 2 และเฟส 3 จานวน 2 ห้องชุด, 2 ห้องชุดและ 80 ห้องชุดตามลาดับ ในขณะที่ปี 2560 เป็ นช่วงที่บริ ษทั ไม่มีการเปิ ดตัว โครงการใหม่ จึ งมีเพียงการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดจากโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 จานวน 69 ห้องชุด มูลค่า 293.88 ล้านบาท ในปี 2561บริ ษทั มีรายได้จากการขายและให้บริ การ เท่ากับ 311.73 ล้านบาท หรื อมีอตั ราการลดลงของรายได้ร้อยละ 6.07 เมื่ อเที ยบกับช่ วงเดี ยวกันของปี ก่ อน ซึ่ งเกิ ดจากการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุ ด โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 ต่อเนื่อง โดยมีการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุด จานวน 70 ห้องชุด รายได้ อื่น ในปี 2559 - 2561 บริ ษทั มีรายได้อื่นเท่ากับ 3.59 ล้านบาท 7.34 ล้านบาท และ 12.39 ล้านบาท หรื อคิดเป็ น ร้อยละ 0.98 ร้อยละ 2.44 และ ร้อยละ 3.82 ของรายได้รวมตามลาดับ รายได้อื่นประกอบด้วย รายได้จากการผิดสัญญาของลูกค้า ดอกเบี้ยรับ รายได้จากค่าเช่า เป็ นต้น โดยรายได้จากการผิด สัญญาของลูกค้า คือ เงินจอง เงินทาสัญญา และเงินดาวน์ที่ลูกค้าชาระมาแล้วและถูกรับรู ้เป็ นรายได้เนื่ องจากมีการยกเลิก สัญญาในภายหลังหรื อลูกค้าไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาจนเป็ นเหตุให้ยกเลิกสัญญา หรื อเมื่อลูกค้าไม่ทาการโอนกรรมสิ ทธิ์ภายใน ระยะเวลาที่กาหนดและไม่มีการโต้แย้งใดๆ จากลูกค้า และรายได้ค่าเช่าคือรายได้จากการที่บริ ษทั นาห้องชุดของลูกค้าที่ทา สัญญาแต่งตั้งให้บริ ษทั สามารถนาห้องชุ ดของลู กค้า ไปบริ หารเพื่ อเก็บค่าเช่ าได้ต ามแผนการตลาด โดยบริ ษทั จะจ่ าย ผลตอบแทนจากค่าเช่าด้วยอัตราที่แน่นอนแก่ลูกค้าภายในระยะเวลาที่กาหนด และในปี 2561 บริ ษทั ฯ มีรายได้จากการรับ บริ หารนิติบุคคลอาคารชุด โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 ตารางที่ 1 รายได้ จากการขายและให้ บริการแยกตามโครงการ

รายได้จากการขายและให้ บริการ1/ โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 1 โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 2 โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 รวมรายได้จากการขายและให้บริ การ รายได้อื่น2/ รายได้รวม

ปี 2559 มูลค่ า (ล้านบาท) 7.48 7.56 347.76 362.80 5.24 368.04

สัดส่ วน (ร้ อยละ) 2.03 2.05 94.49 98.58 1.42 100.00

งบการเงิน (ตรวจสอบ) ปี 2560 มูลค่ า มูลค่ า (ล้านบาท) (ล้านบาท) 293.88 97.56 293.88 97.56 7.34 2.44 301.22 100

ปี 2561 มูลค่ า (ล้านบาท) 311.73 311.73 12.39 324.12

สัดส่ วน (ร้ อยละ) 96.18 96.18 3.82 100

หมายเหตุ : 1/ รายได้จากการขายและให้บริ การ ได้แก่ รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์และรายได้ที่เกี่ยวข้องจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ อาทิเช่น รายได้ จากค่าเฟอร์นิเจอร์พร้อมคอนโดมิเนียม รายได้ค่าสาธารณู ปโภค เป็ นต้น 2/ รายได้อื่น ได้แก่ รายได้จากการผิดสัญญาของลูกค้า ดอกเบี้ยรับ รายได้จากค่าเช่า, รายได้จากการบริ หารนิติบุคคลอาคารชุด โครงการ The Title หาดราไวย์เ ฟส 3

168


ตารางที่ 2 สถานะการโอนกรรมสิทธิ์ตามจานวนห้ องชุดของโครงการในปี 2559-2561 โครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 1 The Title หาดราไวย์เฟส 2 The Title หาดราไวย์เฟส 3

ปี 2559 /1

โอน (ห้ องชุ ด) 2 2 80

ปี 2560 /2

สัดส่ วน (ร้ อยละ) 1.25 1.67 33.33

/1

ปี 2561 /2

/1

ยอดโอนสะสม /2

โอน (ห้ องชุ ด)

สัดส่ วน (ร้ อยละ)

โอน (ห้ องชุ ด)

สัดส่ วน (ร้ อยละ)

69

28.75

70

29.17

โอน/1 (ห้ องชุ ด) 155 120 230

สัดส่ วน/2 (ร้ อยละ) 96.88 100 95.83

หมายเหตุ : /1 จานวนห้องชุดที่โอนกรรมสิ ทธิ์ ระหว่างปี /2 คานวณจากห้องชุดที่โอนกรรมสิ ทธิ์ ในแต่ละปี หารด้วยจานวนห้องชุดทั้งหมดของแต่ละโครงการ

ต้ นทุนขายและการให้ บริการ/กาไรขั้นต้ นและอัตรากาไรขั้นต้ น ต้นทุนขายและการให้บริ การหลักของบริ ษทั ที่สาคัญประกอบด้วย ที่ ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดิน ค่าก่อสร้างอาคาร ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ เกี่ ยวข้อง และต้นทุนส่ วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่ งสัญญา เป็ นต้น ทั้งนี้ ต้นทุนส่ วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่ งสัญญา คือ ต้นทุนค่านายหน้าซึ่ งบริ ษทั จ่ายแก่ตวั แทนขายโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ตวั แทนขายของบริ ษทั ทาหน้าที่เป็ นตัวแทนของ ลูกค้าและบริ ษทั ในการประสานงาน เพื่อให้เกิดการขายและการส่ งมอบสิ นค้า (การโอนกรรมสิ ทธิ์ ) จนเสร็ จสมบูรณ์ โดย หน้าที่ ที่สาคัญของตัวแทนขายได้แก่ การไปรับลูกค้าที่ สนามบิ น , การพาลูกค้ามาเยี่ยมชมโครงการ , การให้ขอ้ มูลของ โครงการเพื่อเปรี ยบเทียบกับโครงการอื่นๆ จนเกิ ดการจอง , การประสานงานกับลูกค้าอย่างต่อเนื่ องหลังการจอง เพื่อให้ ลูกค้ามาทาสัญญาตามกาหนดเวลา , การเป็ นตัวแทนลูกค้าเพื่อตรวจสอบเอกสารการโอนกรรมสิ ทธิ์ เนื่องจากลูกค้าต่างชาติ อาจกังวลความถูกต้องของเอกสารที่เป็ นภาษาไทยและไว้วางใจตัวแทนขายมากกว่าบริ ษทั เนื่องจากเป็ นคนประเทศเดียวกัน และใช้ภาษาเดียวกัน ตลอดจนการพาลูกค้าไปกรมที่ดินในวันโอนกรรมสิ ทธิ์พร้อมกับเจ้าหน้าที่ของบริ ษทั เพื่อความอบอุ่น ใจของลูกค้าและในบางกรณี อาจจัดเจ้าหน้าที่เพื่อเป็ นผูร้ ับมอบอานาจจากลูกค้าในการรับโอนกรรมสิ ทธิ์เนื่ องจากลูกค้าอาจ ไม่สามารถเดิ นทางมาโอนด้วยตัวเองได้ในขณะเวลานั้น เป็ นต้น ดังนั้น ด้วยหน้าที่ ต่างๆ ของตัวแทนขายของบริ ษทั ซึ่ ง แตกต่างจากตัวแทนขายโดยทัว่ ไป จึ งทาให้ตน้ ทุ นส่ วนเพิ่มที่ ให้ได้มาซึ่ งสัญญาของบริ ษทั จะถูกบันทึ กอยู่ในรายการ สิ นทรัพย์ ซึ่ งแสดงในงบแสดงฐานะการเงินของบริ ษทั และจะถูกรับรู ้เป็ นต้นทุนการขายและการให้บริ การในงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จเมื่อมีการโอนกรรมสิ ทธิ์ให้ผซู ้ ้ือ ทั้งนี้ บริ ษทั มีนโยบายการกาหนดอัตราการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ตวั แทนขายในอัตราประมาณร้อยละ 10.00 ของ มูลค่าขาย และในบางกรณี ที่ตวั แทนขายสามารถขายห้องชุดจนยอดขายสะสมถึงเป้ าหมาย ภายในช่วงระยะเวลาที่บริ ษทั กาหนด ตัวแทนขายดังกล่าวอาจได้รับผลตอบแทนพิเศษซึ่ งสู งกว่าอัตราปกติ อาทิ เช่น ในช่วงของไตรมาส 1 ปี 2559 มี ตัวแทนขายของบริ ษทั รายหนึ่งสามารถทายอดขายสะสมห้องชุดให้แก่บริ ษทั ได้ครบตามเป้ าหมายที่บริ ษทั กาหนดจึงทาให้ ตัวแทนขายดังกล่าวได้รับผลตอบแทนพิเศษรวมประมาณร้อยละ 26 ของมูลค่าห้องชุด เป็ นต้น นอกจากนี้ พนักงานของ ตัวแทนขาย (Sale Agent) และพนักงานของบริ ษทั ที่มีส่วนสนับสนุนหรื อผลักดันให้การขายประสบความสาเร็ จ จะได้รับ ผลตอบแทนด้วยจานวนเงินคงที่ซ่ ึงคิดเป็ นอัตราประมาณร้อยละ 1.00-2.00 ของมูลค่าขาย อย่างไรก็ตามบริ ษทั จะมีการจ่ายผลตอบแทนแก่ตวั แทนขาย(Agent) และ/หรื อพนักงานของตัวแทนขาย (Sale Agent) และ/หรื อพนักงานของบริ ษทั เมื่ อลูกค้าทาจองและ/หรื อ ทาสัญญาซื้ อขายจะซื้ อจะขาย และ/หรื อห้องชุ ดที่ มีการโอน กรรมสิ ทธิ์ แล้วเท่านั้น และเงินที่บริ ษทั ได้รับจากลูกค้าจะต้องมากกว่าเงินที่บริ ษทั จ่ายผลตอบแทนแก่ตวั แทนขาย(Agent) และ/หรื อพนักงานของตัวแทนขาย (Sale Agent) และ/หรื อพนักงานของบริ ษทั ทั้งนี้ อัตราการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ตวั แทน

169


ขายและ/หรื อพนักงานของตัวแทนขาย (Sale Agent) และ/หรื อพนักงานของบริ ษทั ดังกล่าวเป็ นอัตราตลาดและเป็ นอัตราที่ ใกล้เคียงกับคู่แข่งขันของบริ ษทั ซึ่งเป็ นบริ ษทั พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ในจังหวัดภูเก็ตซึ่งเป็ นพื้นที่ที่มีการแข่งขันสูง อย่างไรก็ ดี บริ ษทั ได้พิจารณาถึงปั จจัยอื่นที่อาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนขายโดยรวม ซึ่งรวมถึงต้นทุนค่านายหน้าที่เป็ นต้นทุนส่วนเพิม่ ที่ให้ได้มาซึ่ งสัญญาก่อนที่จะนามากาหนดกลยุทธ์ในการกาหนดราคาขาย ดังนั้น อัตราการจ่ายค่านายหน้าดังกล่าวจึงมิได้ กระทบอัตรากาไรขั้นต้นที่บริ ษทั ประมาณการไว้ ในปี 2559-2561 บริ ษทั มี ตน้ ทุนขายและให้บริ การเปลี่ ยนแปลงไปในทิ ศทางเดี ยวกับรายได้จากการขายและการ ให้บริ การ โดยบริ ษทั มีตน้ ทุนขายและให้บริ การเท่ากับ 179.86 ล้านบาท 163.31 ล้านบาท และ 183.94 ล้านบาท หรื อคิดเป็ น อัตราส่ วนต้นทุนขายและให้บริ การต่อรายได้จากการขายและการให้บริ การเท่ากับร้อยละ 49.09 ร้อยละ 54.22 และร้อยละ 56.75 ตามลาดับหรื อคิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้น ร้อยละ 49.93 ร้อยละ 43.35 และ ร้อยละ 39.43 ตามลาดับ ปี 2559 บริ ษทั มีตน้ ทุนขายและให้บริ การเท่ากับ 179.86 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปี 2558 เท่ากับ 112.72 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราการเพิ่มขึ้นร้อยละ 167.90 ซึ่ งต้นทุนขายและการให้บริ การที่ปรับสู งขึ้นเป็ นผลมาจากการทยอย โอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 เป็ นหลัก ในขณะที่ตน้ ทุนส่ วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่ งสัญญาในปี 2559 ที่เพิ่มสู งขึ้นเมื่อเทียบกับอดีต ส่ วนหนึ่ งเกิดจากนโยบายทางการตลาดของบริ ษทั ที่เพิ่มอัตราการจ่ายค่านายหน้าเพื่อ เพิ่มแรงจูงใจแก่ตวั แทนขายและมีการขยายช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านตัวแทนขายที่มากขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อกระตุน้ ยอดขาย อย่างไรก็ตามอัตราการจ่ายค่านายหน้าดังกล่าวอยูภ่ ายใต้ระเบียบของบริ ษทั และมิได้กระทบอัตรากาไรขั้นต้นที่ บริ ษทั ประมาณการไว้ สาหรับอัตราส่ วนต้นทุนขายและให้บริ การต่อรายได้จากการขายและการให้บริ การเท่ากับ ร้อยละ 49.21 หรื อคิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้น ร้อยละ 49.93 โดยอัตรากาไรขั้นต้นที่ปรับตัวสู งขึ้นเมื่อเทียบกับปี ก่อน เกิดจากในปี นี้ บริ ษทั มีการรับรู ้รายได้จากการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 ซึ่ งเป็ นโครงการที่มีราคาขาย เฉลี่ยต่อตารางเมตรสู งกว่าโครงการในอดีตประกอบกับการปรับราคาขายเฉลี่ยต่อตารางเมตรของโครงการ The Title หาด ราไวย์ เฟส 1, 2 ขึ้นประมาณร้อยละ 10-15 ตามแผนการตลาดของบริ ษทั ปี 2560 บริ ษทั มีตน้ ทุนขายและให้บริ การเท่ากับ 163.31 ล้านบาท ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2559 เท่ากับ 16.55 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราการลดลงร้อยละ 9.20 และในปี 2561 บริ ษทั มีตน้ ทุนขายและให้บริ การเท่ากับ 183.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อ เที ยบกับปี 2560 เท่ากับ 20.63 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราการเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.63 ในขณะที่ อตั ราส่ วนต้นทุนขายและ ให้บริ การต่อรายได้จากการขายและการให้บริ การในปี 2560 เท่ากับ ร้อยละ 54.22 หรื อคิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้นร้อยละ 43.35 และในปี 2561 เท่ากับ ร้อยละ 56.75 หรื อคิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้นร้อยละ 39.43 ซึ่ งการปรับตัวลดลงของอัตรากาไร ขั้นต้นของบริ ษทั ดังกล่าวเป็ นผลจากจานวนลูกค้าที่เข้าโครงการการันตีผลตอบแทนสาหรับห้องชุดโครงการ The Title หาด ราไวย์ เฟส 3 โอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดในปี 2560-2561 ทาให้รายได้ที่บริ ษทั รับรู ้จากการโอนกรรมสิ ทธิ์ ต่อห้องมีมูลค่าลดลง เท่ากับมูลค่าส่วนลดที่ให้แก่ลูกค้า

170


ตารางที่ 3 ต้ นทุนขายและให้ บริการ ปี 2559

ต้ นทุนขายและการให้ บริการ

ล้าน บาท 3.13

ต้นทุนขาย - ที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดิน ต้นทุนขาย - ค่าก่อสร้างอาคาร ต้นทุนขาย - ค่าใช้จ่ายอื่นๆ/1

ปี 2560

ปี 2561

ร้ อยละ

ล้านบาท

ร้ อยละ

1.74

1.29

0.79

ล้าน บาท 1.31

142.97

79.49

122.04

74.73

135.23

73.52

ร้ อยละ 0.71

10.80

6.00

11.49

7.04

2.77

1.51

/2

ต้นทุนขาย - ต้นทุนส่ วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่ งสัญญา

22.96

12.77

28.49

17.44

44.63

24.26

รวมต้ นทุนขายและการให้ บริการ อัตราส่ วนร้อยละต้นทุนขายและการให้บริ การต่อ รายได้จากการขายและการให้บริ การ อัตรากาไรขั้นต้น

179.86

100.00

163.31

100

183.94

100

49.92

54.22

56.75

50.08

43.35

39.43

/1

หมายเหตุ : ต้นทุนขายและการให้บริ การ-ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประกอบด้วย ค่าธรรมเนียมอื่นและดอกเบี้ยกูย้ ืมระหว่างก่อสร้าง เป็ นหลัก /2 จัดประเภทรายการทางบัญชีใหม่ โดยปรับรายการค่านายหน้าจากค่าใช้จ่ายในการขาย มาเป็ นต้นทุนขายและให้บริ การ เนื่องจากค่า นายหน้าของบริ ษทั มีลกั ษณะที่เป็ นต้นทุนส่วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่งสัญญา

ค่ าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการขายหลักของบริ ษทั ประกอบด้วยเงิ นเดื อนและสวัสดิ การพนักงานขาย ค่าภาษี ธุรกิ จเฉพาะและ ค่าธรรมเนี ยมการค้า (ขาย) ค่าใช้จ่ายในการส่ งเสริ มการขาย ค่าเสื่ อมราคาห้องตัวอย่าง และค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานขาย อื่น ทั้งนี้ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการค้า ได้แก่ ภาษีค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเมื่อมีการขายและโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุด ซึ่งได้แก่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ เป็ นต้น ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริ มการขาย ประกอบด้วย ค่าโฆษณา และค่ากิจกรรม ในการออกบูธ ส่วนค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานขายอื่น ได้แก่ ค่ารับรอง เป็ นต้น สาหรับค่าใช้จ่ายในการขายสาหรับงวดปี 2559 - 2561 มีจานวน 18.94 ล้านบาท 17.40 ล้านบาท และ 22.87 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 5.17 ร้อยละ 5.78 และร้อยละ 7.06 ของรายได้จากการขายและให้บริ การตามลาดับ ในปี 2559 บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายในการขาย เท่ากับ 18.94 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการขาย เป็ นค่าใช้จ่ายผันแปรที่เกี่ยวข้อง กับการขายห้องชุดซึ่ งได้แก่ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนี ยมการค้า (ขาย) จากการขายห้องชุดซึ่ งมีจานวน 12.29 ล้าน บาท ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นค่าใช้จ่ายที่เกิ ดจากการขายห้องชุดในโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 ซึ่ งมีการทยอยการโอน กรรมสิ ทธิ์ต้ งั แต่ช่วงต้นปี 2559 เป็ นต้นมา ตามข้อกาหนดในสัญญา ปี 2560 บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายในการขาย เท่ากับ 17.40 ล้านบาท ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนจานวน 2.04 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราการลดลงร้อยละ 10.49 โดยการเปลี่ยนแปลงหลักของค่าใช้จ่ายในการขาย เป็ นค่าใช้จ่ายผันแปร ที่เกี่ยวข้องกับการขายห้องชุดซึ่งได้แก่ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการค้า(ขาย) ซึ่งมีจานวน 7.88 ล้านบาท ซึ่งส่วน ใหญ่เป็ นค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการขายห้องชุดในโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 ตามข้อกาหนดในสัญญา ปี 2561 บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายในการขายเท่ากับ 22.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนจานวน 5.46 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราการเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.40 โดยการเปลี่ยนแปลงหลักเกิ ดจากค่าใช้จ่ายพนักงานและค่าใช้จ่าย ส่งเสริ มการขายเพิม่ ขึ้น เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจและการเปิ ดตัวโครงการใหม่ในอนาคต

171


ตารางที่ 4 ค่ าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จ่ายในการขาย เงินเดือน โบนัสและสวัสดิการพนักงานฝ่ ายขาย ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนี ยมการค้า (ขาย) ค่าส่ งเสริ มการขายและประชาสัมพันธ์ ค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานขายอื่น ค่าเสื่ อมราคา รวม ค่าใช้ จ่ายในการขาย อัตราส่ วนร้อยละค่าใช้จ่ายในการขายต่อรายได้จาก การขายและการให้บริ การ

ปี 2559 ล้านบาท

ร้ อยละ

4.16 12.29 2.09 0.21 0.19 18.94

21.97 64.89 11.03 1.11 1.00 100.00 5.36

ปี 2560 ล้าน ร้ อยละ บาท 5.94 34.15 7.88 45.29 2.65 15.23 0.17 0.99 0.75 4.34 17.40 100 5.92

ปี 2561

ล้าน บาท 12.55 5.65 3.08 0.08 1.51 22.87

ร้ อยละ 54.88 24.70 13.47 0.35 6.60 100 7.06

ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริ หารหลักของบริ ษทั ได้แก่ เงินเดือนและโบนัสพนักงานฝ่ ายบริ หาร ค่าเสื่ อมราคา สวัสดิการและ ผลประโยชน์พนักงานอื่น ค่าสาธาณูปโภคค่าบริ การต่างๆ ค่าเบี้ยประกันภัย และค่าใช้จ่ายในการบริ หารอื่นๆ ในปี 2559-2561 บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายในการบริ หารเท่ากับ 49.86 ล้านบาท 66.24 ล้านบาท และ 81.50 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 13.61 ร้อยละ 21.99 และร้อยละ 25.14 ของรายได้จากการขายและให้บริ การตามลาดับ ในปี 2559 บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 49.85 ล้านบาท โดยค่าใช้จ่ายบริ หารหลักในปี 2559ประกอบด้วย ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับพนักงาน ค่าเสื่ อมราคา ค่าใช้จ่ายในการบริ หารอื่นๆ มีจานวน 24.93 ล้านบาท จานวน 6.27 ล้านบาท และจานวน 9.46 ล้านบาท ปี 2560 บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 66.24 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดี ยวกันของปี ก่อน เท่ากับ 16.39 ล้านบาทคิดเป็ นอัตราการเพิ่มขึ้นร้ อยละ 32.88 เนื่ องจากบริ ษทั มี พนักงานฝ่ ายบริ หารที่ เพิ่มขึ้น เพื่อการขยายโครงการ ตลอดจนมีการปรับขึ้นเงินเดือนประจาปี ของพนักงาน และค่าใช้จ่ายในการบริ หารอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้น โดยค่าใช้จ่ายบริ หารหลัก ปี 2560 ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานฝ่ ายบริ หาร ค่าใช้จ่ายในการบริ หารอื่นๆ ค่าเสื่ อมราคา มีจานวน 32.98 ล้าน บาท จานวน 17.32 ล้านบาท และจานวน 8.97 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปี 2559 ในอัตราร้อยละ 32.29 ร้อยละ 83.09 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 43.06 ตามลาดับ ปี 2561 บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 81.50 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน เท่ากับ 15.25 ล้าน บาทคิดเป็ นอัตราการเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.03 เนื่ องจากการเติมโตของบริ ษทั ทาให้มีจานวนพนักงานเพิ่มขึ้นตลอดจนการปรับ ขึ้ น เงิ น เดื อ นประจ าปี ของพนัก งาน และค่ า ใช้จ่ า ยในการบริ ห ารอื่ น ๆ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยค่ า ใช้จ่ า ยบริ ห ารหลัก ปี 2561 ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเกี่ ยวกับพนักงานฝ่ ายบริ หาร ค่าใช้จ่ายในการบริ หารอื่นๆ มีจานวน 44.98 ล้านบาท และจานวน 20.82 ล้านบาท ซึ่ งคิ ดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นจากงวดเดี ยวกันของปี 2560 ในอัตราร้ อยละ 35.97 และเพิ่มขึ้ นร้ อยละ 17.43 ตามลาดับ

172


ตารางที่ 5 ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร ค่าใช้ จ่ายในการบริหาร เงินเดือนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับพนักงานฝ่ าย บริ หาร ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริ การต่างๆ ค่าเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายในการบริ หารอื่นๆ/1 ค่าเสื่ อมราคา รวม ค่าใช้ จ่ายในการบริหาร อัตราส่ วนร้อยละค่าใช้จ่ายในการบริ หารต่อ รายได้จากการขายและการให้บริ การ

ปี 2559 ล้านบาท ร้ อยละ

ปี 2560 ล้านบาท ร้ อยละ

ปี 2561 ล้านบาท ร้ อยละ

24.93

50.00

33.08

49.94

44.98

55.19

2.89 5.86 0.44 9.46 6.27 49.85

5.80 11.76 0.88 18.98 12.58 100.00

3.51 2.62 0.33 17.73 8.97 66.24

5.30 3.96 0.50 26.77 13.54 100

2.86 3.98 0.33 20.82 8.53 81.50

3.51 4.88 0.4 25.55 10.47 100

13.71

22.54

25.14

หมายเหตุ : /1 ค่าใช้จ่ายในการบริ หารอื่นๆที่สาคัญประกอบด้วย ค่ารักษาความปลอดภัย ค่ารักษาความสะอาด ค่าเบี้ยประกันภัย เป็ นต้น /2 บริ ษทั มีการเปลี่ยนแปลงวิธีคานวณค่าเสื่ อมราคาของสิ นทรัพย์ที่ต้ งั อยูบ่ นพื้นที่พฒั นาโครงการในอนาคตให้มีอายุใช้งานสั้นลงจึงทาให้ ค่าเสื่ อมราคาต่อปี ของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีจานวนสู งขึ้น

ต้ นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินของบริ ษทั ประกอบด้วยดอกเบี้ยจากเงินกูย้ มื สถาบันการเงิน/บริ ษทั ประกันภัยที่ไม่ได้ถูกบันทึกเป็ น ต้นทุนทางการเงินของโครงการ และดอกเบี้ยจ่ายตามสัญญาเช่าซื้อเป็ นหลัก โดยในปี 2559-2561 บริ ษทั มีตน้ ทุนทางการเงิน เท่ากับ 3.68 ล้านบาท 5.52 ล้านบาท และ 0.11 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 1.00 ร้อยละ 1.83 และร้อยละ 0.03 ของรายได้รวม ตามลาดับ ในปี 2559 ต้นทุนทางการเงิน เท่ากับ 3.68 ล้านบาท เกิดจากค่าใช้จ่ายจากเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน/บริ ษทั ประกันภัย ที่เพิ่มขึ้นเพื่อการพัฒนาโครงการและการซื้อที่ดินสาหรับพัฒนาโครงการในอนาคต ปี 2560 ต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี ก่อนที่ เท่ากับ 1.84 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 49.97 เนื่ องจากค่าใช้จ่ายจากเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงิน/บริ ษทั ประกันภัย ที่เพิ่มขึ้นเพื่อการพัฒนาโครงการ The Title หาด ในยาง เฟส 1 เป็ นหลัก นอกจากนี้เนื่องจากการก่อสร้างโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 มีการพัฒนาโครงการเสร็ จสิ้ น ส่วนใหญ่ ณ สิ้นเดือน พฤษภาคม 2559 ในขณะที่บริ ษทั หยุดการบันทึกบัญชีรายจ่ายที่มีลกั ษณะลงทุน (Capital expenditure) ของต้นทุ นทางการเงิ นเป็ นต้นทุ นพัฒนาอสังหาริ มทรั พย์ ณ สิ้ นเดื อน กันยายน 2559 ดังนั้น บริ ษทั จึ งมี การปรั บปรุ ง ผลกระทบดังกล่าวในงบการเงินงวด 6 เดือนแรกของปี 2560 โดยจัดประเภทรายการต้นทุนทางการเงินที่บริ ษทั บันทึกเป็ น รายจ่ายที่มีลกั ษณะลงทุน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน-กันยายน 2559 เป็ นค่าใช้จ่ายต้นทุนทางการเงิ นทาให้มีตน้ ทุนทางการเงิน เพิ่มขึ้นจานวน 1.48 ล้านบาท ในปี 2561 ต้นทุนทางการเงิน 0.11 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อนเนื่องจากบริ ษทั ชาระหนี้เงินกูย้ ืมสถาบันการเงิน/บริ ษทั ประกันภัยเสร็ จสิ้ นภายในต้นปี 2561และในส่ วนของดอกเบี้ยเงิ นกูย้ ืมโครงการ The Title หาดในยางนั้น เป็ นต้นทุนทาง การเงินของโครงการจึงถูกบันทึกเป็ นต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่งเป็ นรายจ่ายลักษณะทุน จึงยังไม่ถูกบันทึกในงบกาไร ขาดทุน

173


ค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ในปี 2560 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ลดลงจากปี 2559 เท่ากับ 15.21 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 65.93 อัน เนื่องมาจากการรับรู ้กาไรจากการดาเนินงานที่ลดลงอย่างมีนยั สาคัญจากการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดโครงการ The Title หาด ราไวย์ เฟส 3 เป็ นหลัก ปี 2561 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี ก่อนที่มีจานวน เท่ากับ 0.36 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราลดลง ร้อยละ 4.55 ซึ่งสอดคล้องกับกาไรจากการดาเนินงานของบริ ษทั ที่ลดลง กาไรสุ ทธิและอัตรากาไรสุ ทธิ บริ ษทั มีกาไรสุทธิในปี 2559-2561 เท่ากับ 90.98 ล้านบาท 41.49 ล้านบาท และ 28.21 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ น อัตรากาไรสุทธิ เท่ากับ ร้อยละ 24.72 ร้อยละ 13.57 และร้อยละ 8.70 ของรายได้รวมตามลาดับ ปี 2559 บริ ษทั มีกาไรสุทธิ เท่ากับ 90.98 ล้านบาทเกิดจากมีการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดของโครงการ The Title หาดรา ไวย์ เฟส 3 เป็ นหลัก โดยในปี ดังกล่าวบริ ษทั มียอดโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดทุกโครงการรวมกันจานวน 84 ห้องชุด เนื่ องจาก เป็ นช่วงที่บริ ษทั ไม่มีการรับรู ้รายได้จากโครงการใหม่ที่ก่อสร้างเสร็ จสมบูรณ์และพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ์ ซึ่ งกาไรที่เพิ่มขึ้น ดังกล่าวครอบคลุมค่าใช้จ่ายคงที่ของบริ ษทั ปี 2560 บริ ษทั มีกาไรสุ ทธิ ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนที่ มีจานวน 90.98 ล้านบาท เท่ากับ 50.09 ล้าน บาทหรื อคิดเป็ นอัตราลดลงร้อยละ 55.06 ในขณะที่อตั รากาไรสุ ทธิ อยูท่ ี่ร้อยละ 13.57 โดยการปรับตัวลดลงของกาไรสุทธิ ดังกล่าวเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับการปรับตัวของรายได้ ในขณะที่อตั รากาไรสุทธิที่ลดลงเกิดจากรายได้จากการขายที่ไม่ สามารถครอบคลุมต้นทุนคงที่บางส่วนได้ ปี 2561 บริ ษทั มีกาไรสุ ทธิ ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนที่มีจานวน 12.67 ล้านบาท เท่ากับ 31.00 เกิดจาก รายได้จากการขายที่ไม่สามารถครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้ อัตราผลตอบแทนส่ วนของผู้ถือหุ้น ปี 2559 บริ ษทั มีอตั ราผลตอบแทนส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นเท่ากับ 47.65 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญจากปี 2558 เป็ นผลจาก กาไรจากการดาเนินงานที่เพิ่มขึ้นจากการโอนกรรมสิ ทธิ์หอ้ งชุดโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 ในขณะที่ในปี นี้บริ ษทั มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนชาระแล้วจาก 70 ล้านบาทเป็ น 140 ล้านบาท ปี 2560 บริ ษทั มีอตั ราผลตอบแทนส่วนของผูถ้ ือหุน้ เท่ากับ 10.80 ลดลงอย่างมีนยั สาคัญเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ซึ่ งเป็ นผลจากกาไรจากการดาเนิ นงานที่ลดลงตามจานวนห้องที่มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดตามสาเหตุที่ได้กล่าวถึง ในส่ วนรายได้จากการขายและการให้บริ การ ในปี นี้ บริ ษทั มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนชาระแล้วจาก 140 ล้านบาท เป็ น 200 ล้านบาท ปี 2561 บริ ษทั มีอตั ราผลตอบแทนส่วนของผูถ้ ือหุน้ เท่ากับ 5.24 และในปี นี้บริ ษทั มีการจ่ายปั นผลเป็ นหุน้ ปั นผลทาให้ ทุนจดทะเบียนเพิ่มขึ้นจาก 200 ล้านบาท 220 ล้านบาท

174


การวิเคราะห์ ฐานะการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 526.83 ล้านบาท 969.59 ล้านบาท และ 1,754.61 ล้านบาท ตามลาดับ โดยสิ นทรัพย์หลักของบริ ษทั เป็ นรายการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่ งได้แก่ ต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ คิดเป็ นอัตราส่ วน ร้อยละ 65.66 ร้อยละ 38.52 และร้อยละ 39.32 ของสิ นทรัพย์ ทั้งหมดตามลาดับ และที่ดินรอการพัฒนา คิดเป็ นอัตราส่ วนร้อยละ 11.45 ร้อยละ 22.64 และร้อยละ 32.43 ของสิ นทรัพย์ ทั้งหมดตามลาดับ รายละเอียดสินทรัพย์ หลักของบริษัท สามารถสรุปได้ ดังนี้ ต้ นทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ต้น ทุ น พัฒ นาอสั ง หาริ มทรั พ ย์ที่ เ กิ ด ขึ้ นก่ อ นการโอนกรรมสิ ท ธิ์ จะถู ก บั น ทึ ก อยู่ ใ นรายการต้น ทุ น พัฒ นา อสังหาริ มทรัพย์ ซึ่งแสดงในงบแสดงฐานะการเงินของบริ ษทั และจะถูกรับรู ้เป็ นต้นทุนการขายอสังหาริ มทรัพย์ในงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จเมื่อมีการโอนกรรมสิ ทธิ์ให้ผซู ้ ้ือ โดยต้นทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์หลัก ประกอบด้วย ต้นทุนที่ดิน ค่าปรับ สภาพที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนาโครงการให้อยูใ่ นสภาพพร้อมขายซึ่ งรวมถึงดอกเบี้ย เงินกูย้ มื ที่เกี่ยวข้อง ณ สิ้ นปี 2559-2561 บริ ษทั มีตน้ ทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เท่ากับ 345.91 ล้านบาท 373.57 ล้านบาทและ 689.87 ล้าน บาท โดยคิดเป็ นร้อยละ 65.66 ร้อยละ 38.53 และร้อยละ 39.52 ของสิ นทรัพย์รวมของบริ ษทั ตามลาดับ ณ สิ้ นปี 2559 บริ ษทั มีตน้ ทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เท่ากับจานวน 345.91 ล้านบาท ลดลงจากสิ้ นปี 2558 ซึ่ งมีสาเหตุ หลักมาจากการถูกรับรู ้เป็ นต้นทุนการขายอสังหาริ มทรัพย์ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเมื่อมีการโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้ผซู ้ ้ือของ โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 ณ ปี 2560 และ 2561 บริ ษทั มีตน้ ทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เท่ากับ 373.57 ล้านบาท และ 689.87 ล้านบาท ตามลาดับ เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2559 คิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 และเพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2560 ร้อยละ 84.67 ตามลาดับ ซึ่งมีสาเหตุหลักมา จากการถู กรั บรู ้ เป็ นต้นทุ น การขายอสังหาริ มทรั พย์ในงบก าไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จเมื่ อ มี ก ารโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้ผูซ้ ้ื อของ โครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 และการก่อสร้างโครงการ The Title ในยาง ที่เริ่ มก่อสร้างในช่วงต้นปี 2560-2561

175


ตารางที่ 6 ต้ นทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ แยกตามโครงการ โครงการ

ณ 31 ธันวาคม 2559

ณ 31 ธันวาคม 2560

ณ 31 ธันวาคม 2561

ล้านบาท

ร้ อยละ

ล้านบาท

ร้ อยละ

ล้านบาท

ร้ อยละ

The Title หาดราไวย์ เฟส 1

8.68

2.52

8.68

2.32

8.68

1.26

The Title หาดราไวย์ เฟส 2

-

-

-

-

-

-

The Title หาดราไวย์ เฟส 3

271.07

78.36

145.18

38.86

18.16

2.63

The Title หาดในยาง เฟส 1,2

66.15

19.12

219.71

58.82

661.70

95.92

The Title หาดราไวย์ เฟส 5

-

-

-

-

1.33

0.19

345.91

100.00

373.57

100

689.87

100

รวม

สินค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือของบริ ษทั คือ เฟอร์ นิเจอร์ ที่ลูกค้าสั่งซื้ อแยกต่างหากนอกเหนื อจากเฟอร์ นิเจอร์ ส่วนควบที่บริ ษทั ขาย พร้อมห้องชุด โดยบริ ษทั จะเป็ นตัวแทนในการสัง่ ซื้อและส่งมอบเฟอร์นิเจอร์แก่ลูกค้า เนื่องจากลูกค้าบางราย อาทิเช่น ลูกค้า ชาวต่างชาติที่ไม่สะดวกในการดาเนิ นการ ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ ลูกค้า โดย บริ ษทั ได้เริ่ มดาเนินการอานวยความสะดวกแก่ลูกค้าในลักษณะดังกล่าว ในโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 3 และโครงการ The Title หาดในยางเฟส 1,เฟส 2 ในปี 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559, ณ 31 ธัวาคม 2560 และ ณ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีสินค้าคงเหลือเท่ากับ 0.55 ล้านบาท 0.53 ล้านบาท และ 6.49 ล้านบาท ตามลาดับคิดเป็ นร้อยละ 0.10 ร้อยละ 0.06 และร้อยละ 0.37 ของสิ นทรัพย์รวมของบริ ษทั ตามลาดับ สินทรัพย์ หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่นหลักของบริ ษทั ประกอบด้วย ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า ต้นทุนส่วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่งสัญญา เป็ นต้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีสินทรัพย์หมุนเวียนอื่นเท่ากับ 25.20 ล้านบาท 77.39 ล้าน บาทและ 176.83 ล้านบาท โดยคิดเป็ น ร้อยละ 4.78 ร้อยละ 7.98 และร้อยละ 10.08 ของสิ นทรัพย์รวมของบริ ษทั ตามลาดับ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ณ สิ้นปี 2559 เท่ากับ 25.50 ล้านบาท รายการหลักเกิดจาก ต้นทุนส่วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่งสัญญา ที่เพิ่มขึ้นจากการขายห้องชุดโครงการ The Title หาดราไวย์เฟส 3 และ The Title หาดในยาง เฟส 1 เป็ นหลัก สอดคล้องกับ มูลค่ายอดขายของบริ ษทั ในปี ดังกล่าว สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ปี 2560 และ 2561 เท่ากับ 77.36 ล้านบาท และ 176.83 ล้านบาท ตามลาดับ เพิ่มขึ้นจากงวดสิ้น ปี 2559 และสิ้ นปี 2560 ซึ่ งรายการหลักเกิดจากต้นทุนส่ วนเพิ่มที่ให้ได้มาซึ่ งสัญญาที่เพิ่มขึ้นจากการขายห้องชุดโครงการ The Title หาดในยาง เฟส 1 และเฟส 2 โดยโครงการ The Title หาดในยางเฟส 1 สามารถทายอดขายก่อนโอนกรรมสิ ทธิ์ จานวน 252 ห้องชุดหรื อคิดเป็ นร้อยละ 100 ของจานวนห้องชุดในส่ วนโครงการ The Title ในยาง เฟส 2 จานวน 210 ห้อง ชุด หรื อคิดเป็ นร้อยละ 95 ของจานวนห้องชุดในโครงการดังกล่าว

176


ทีด่ นิ รอการพัฒนา ที่ดินรอการพัฒนา เป็ นที่ดินที่บริ ษทั มีแผนที่จะพัฒนาโครงการต่อไปในอนาคต ประกอบด้วยต้นทุนในการได้มาซึ่ ง ที่ ดินและค่าใช้จ่ายอื่นที่ เกี่ ยวข้องโดยตรง แสดงด้วยราคาทุนสุ ทธิ จากค่าเผื่อด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี 2559-2561 บริ ษทั มีที่ดินรอการพัฒนาเท่ากับ 60.34 ล้านบาท 219.53 ล้านบาทและ 568.99 ล้านบาท โดยคิดเป็ นร้อยละ 11.45 ร้อยละ 22.64 และร้อยละ 32.43 ของสิ นทรัพย์รวมของบริ ษทั ตามลาดับ ณ สิ้ น ปี 2559 ที่ ดิ น รอการพัฒ นา ลดลง จากปี 2558 ซึ่ งเกิ ด จากการโอนที่ ดิ น รอการพัฒ นาไปเป็ นต้น พัฒ นา อสังหาริ มทรัพย์ในการพัฒนาโครงการ The Title หาดในยางเป็ นหลัก ปี 2560 ที่ดินรอการพัฒนาของบริ ษทั มีจานวนเพิ่มขึ้นเท่ากับ 219.53 ล้านบาท เพิ่มจากปี ก่อน จานวน 60.34 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 159.19 ล้านบาท เป็ นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 263.82 เกิดจากการซื้อที่ดินเพิ่มสาหรับพัฒนาโครงการบริ เวณหาดในยาง ปี 2561 ที่ ดินรอการพัฒนาของบริ ษทั มีจานวนเพิ่มขึ้นเท่ากับ 568.99 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 349.46 ล้านบาท เป็ นอัตรา เพิ่มขึ้นร้อยละ 159.19 เกิดจากการซื้อที่ดินเพิ่มที่หาดในยางและหาดบางเทา เพื่อสาหรับพัฒนาโครงการในอนาคต ตารางที่ 7 ทีด่ นิ รอการพัฒนาแยกตามพื้นที่

หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินบริ เวณหาดราไวย์

ณ 31 ธันวาคม 2559 51.22

ณ 31 ธันวาคม 2560 51.22

ณ 31 ธันวาคม 2561 51.22

ที่ดินบริ เวณหาดในยาง

9.12

9.12

9.12

ติดภาระจานอง

159.19

197.28 311.37 568.99

บริ ษทั บริ ษทั

ที่ดนิ รอการพัฒนา

ที่ดินบริ เวณหาดในยาง ที่ดินบริ เวณหาดบางเทา รวม

60.34

219.53

กรรมสิทธิ์ บริ ษทั

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ที่ ดินอาคารและอุปกรณ์ของบริ ษทั ประกอบไปด้วย ที่ ดิน อาคารสานักงานบ้านพักพนักงาน แคมป์ คนงานก่อสร้าง และ ยานพาหนะ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีที่ดินอาคารและอุปกรณ์สุทธิ จานวน จานวน 49.62 ล้านบาท จานวน 50.16 ล้านบาท และจานวน 39.22 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ น ร้อยละ 9.42 ร้อยละ 5.17 และร้อยละ 2.24 ของสิ นทรัพย์รวม ตามลาดับโดยรายการหลัก ได้แก่ อาคารและสานักงานที่จงั หวัดภูเก็ต ซึ่ งใช้เป็ นสานักงานในการ ปฏิบตั ิงาน ห้องรับรองและห้องประชุมสาหรับผูบ้ ริ หาร และอาคารบ้านพักคนงานและพนักงานที่จงั หวัดภูเก็ต เป็ นต้น ณ ปี 2560 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์เพิม่ ขึ้น จากสิ้นปี 2559 เท่ากับ 0.54 ล้านบาท เป็ นอัตราร้อยละ 1.09 ณ ปี 2561 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ลดลง จากสิ้นปี 2560 เท่ากับ 10.94 ล้านบาท เป็ นอัตราร้อยละ 21.81 ในปี 2559 บริ ษทั มีที่ดินอาคารและอุปกรณ์ลดลง เนื่องจากการทยอยตัดค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์เป็ นหลัก สาหรับงวดสิ้นปี 2560 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นจากการก่อสร้างอาคารสานักงานขายโครงการ The Title หาดในยาง เฟส 1 เป็ นหลัก และในปี 2561 บริ ษทั มีที่ดินอาคารและอุปกรณ์ลดลง เนื่ องจากการทยอยตัดค่าเสื่ อมราคาของอาคารและ อุปกรณ์เป็ นหลัก

177


ตารางที่ 8 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์

หน่วย : ล้านบาท ณ 31 ธันวาคม 2561 3.76

ณ 31 ธันวาคม 2559 3.76

ณ 31 ธันวาคม 2560 3.76

อาคารและสิ่ งปลูกสร้าง

38.86

39.63

29.57

เครื่ องตกแต่งและอุปกรณ์สานักงาน

3.16

3.96

3.40

ยานพาหนะ

3.34

2.81

2.49

งานระหว่างก่อสร้าง

0.49

-

-

49.62

50.16

39.22

ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน

รวม

สินทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนของบริ ษทั ได้แก่ ค่าลิขสิ ทธิ์ ซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ เป็ นหลัก โดยมูลค่าสุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 เท่ากับจานวน 1.68 ล้านบาท จานวน 1.32 ล้านบาท และจานวน 1.47 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 0.32 ร้ อยละ 0.14 และร้ อยละ 0.08 ของสิ นทรั พย์รวมตามลาดับ โดยสิ นทรั พย์ไม่มีตวั ตนหลักในปี 2557 ได้แก่ ซื้ อลิ ขสิ ทธิ์ ซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ ระบบการวางแผนบริ หารธุรกิจขององค์กรแบบองค์รวม (Enterprise Resource Planning) หรื อ ERP ซึ่ งบริ ษทั ใช้ในการบริ หารงาน ในปี 2559 การลดลงของสิ นทรั พย์ไม่มีตวั ตน เกิ ดจากบริ ษทั มี การทยอยตัดค่าจาหน่ าย ลิขสิ ทธิ์ดงั กล่าว สาหรับ ปี 2559 สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนมีจานวนเพิ่มขึ้น 0.73 ล้านบาทเมื่อเทียบกับปี 2558 หรื อคิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นร้อย ละ 77.44 เนื่องจากบริ ษทั มีการซื้อลิขสิ ทธิ์ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์เพิ่มเติมเพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจ ปี 2560 สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนมีจานวนลดลง 0.36 ล้านบาทเมื่อเที ยบกับสิ้ นปี 2559 หรื อคิดเป็ นอัตราลดลงร้อยละ 21.32 เนื่องจากการตัดจาหน่ายค่าลิขสิ ทธิ์ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ ปี 2561 สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนมีจานวนเพิ่มขึ้น 0.15 ล้านบาทเมื่อเทียบกับสิ้ นปี 2560 หรื อคิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.12 เนื่องจากการบริ ษทั ได้จดั ทา Website ของบริ ษทั เพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ในการเผยแพร่ ขอ้ มูลสาธารณะ สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเกิดขึ้นสาหรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษีรวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ ซึ่งบริ ษทั จะมีกาไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษี ที่ยงั ไม่ได้ใช้โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเท่ากับ 4.72 ล้านบาท 9.25 ล้านบาท และ 13.66 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.90 ร้ อยละ 0.95 และร้อยละ 0.78 ของสิ นทรัพย์รวม ตามลาดับ โดย สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอตัดบัญชี ของบริ ษทั ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยผลแตกต่างชัว่ คราวจากรายการผลประโยชน์พนักงาน ต้นทุนสิ ทธิการเช่า เป็ นต้น สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นของบริ ษทั ประกอบด้วย เงิ นค้ าประกันค่าไฟฟ้ าและน้ าประปาเป็ นหลัก โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเท่ากับ 0.53 ล้านบาท 0.77 ล้านบาท และ 2.08 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 0.10 ร้อยละ 0.08 และร้อยละ 0.12 ของสิ นทรัพย์รวม ตามลาดับ

178


หนีส้ ิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั มีหนี้ สินรวมเท่ากับ 294.58 ล้านบาท 444.56 ล้านบาทและ 1,203.59 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ นอัตราส่วนร้อยละ 55.92 ร้อยละ 45.85 และร้อยละ 68.60 ของหนี้สินและส่วนของผูถ้ ือ หุน้ รวมตามลาดับ รายละเอียดหนี้สินหลักของบริ ษทั สามารถสรุ ปได้ ดังนี้ เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ ื่น เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่นของบริ ษทั ได้แก่ เจ้าหนี้ ค่างานก่อสร้าง เจ้าหนี้ การค้าอื่นๆ ของการซื้ อวัสดุและอุปกรณ์ เพื่อพัฒนาโครงการโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นของบริ ษทั มีจานวนเท่ากับ 3.18 ล้านบาท 18.99 ล้านบาทและ 11.44 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.60 ร้อยละ 1.96 และร้อยละ 0.65 ของหนี้ สินและส่วน ของผูถ้ ือหุน้ รวม ตามลาดับ ทั้งนี้ อัตราการเปลี่ยนแปลงของเจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้อื่นในแต่ละช่วงเวลาสอดคล้องกับการ ดาเนินธุรกิจของบริ ษทั โดย ณ สิ้นปี 2560 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2559 จานวน 15.81 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากเจ้าหนี้การค้าอื่นๆ ของการซื้อวัสดุและอุปกรณ์ที่เพิ่มขึ้นจากการเริ่ มพัฒนาโครงการ The Title หาดในยาง เฟส 1 และเฟส 2 ณ สิ้ นปี 2561 เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่นลดลงจากปี 2560 จานวน 7.54 ล้านบาท ซึ่ งเกิดจากเจ้าหนี้ การค้าอื่นๆ ของ การซื้อวัสดุและอุปกรณ์ที่ลดลงจากการพัฒนาโครงการ The Title หาดในยาง เฟส 1และ เฟส 2 เสร็ จในปี 2561 โดยเจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ ื่นของบริษัท มีรายละเอียดสรุปดังนี้ ตารางที่ 9 เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ ื่น เจ้ าหนีก้ ารค้าและเจ้ าหนีอ้ ื่น งานก่อสร้างอาคาร อื่นๆ1/ รวม

หน่วย : ล้านบาท ณ 31 ธันวาคม 2561 4.29

ณ 31 ธันวาคม 2559 0.39

ณ 31 ธันวาคม 2560 9.52

2.79

9.47

7.15

3.18

18.99

11.44

หมายเหตุ 1/อื่นๆ ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็ นหลัก

ภาษีเงินได้ ค้างจ่ าย ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559-31 ธันวาคม 2561 มีจานวนเท่ากับ 14.04 ล้านบาท 5.80 ล้านบาท และ 4.04 ล้านบาท คิ ดเป็ น ร้ อยละ 2.66 ร้ อยละ 0.60 และร้ อยละ 0.23 ของหนี้ สินและส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นรวม ตามลาดับ ซึ่ ง สอดคล้องกับผลกาไรสุทธิจากการดาเนินงานของบริ ษทั เงินรับล่ วงหน้ า เงิ นรับล่วงหน้า คือ เงิ นที่ บริ ษทั ได้รับจากผูซ้ ้ื อก่อนถึงวันโอนกรรมสิ ทธิ์ เช่น เงิ นจอง เงิ นมัดจา และเงิ นทาสัญญา โดยบริ ษทั จะบันทึกรายการดังกล่าวเป็ นเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า และจะถูกตัดเป็ นรายได้เมื่อมีการโอนกรรมสิ ทธิ์ให้ผซู ้ ้ือ สาหรับเงื่ อนไขของ เงิ นจอง เงิ นมัดจา และเงิ นทาสัญญา กรณี ลูกค้าชาวไทย บริ ษทั กาหนดให้ลูกค้าจะต้องทาการชาระ ค่าเงินจอง เงินทาสัญญาและเงินดาวน์ให้แก่บริ ษทั อย่างน้อยคิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 10.00 - 15.00 ของมูลค่าห้องชุด ก่อนโอนกรรมสิ ทธิ์ ในขณะที่ลูกค้าชาวต่างชาติซ่ ึ งเป็ นกลุ่มที่ติดตามการชาระเงินได้ยากกว่าลูกค้าชาวไทยกาหนดให้ตอ้ ง

179


ทาการชาระค่าเงินจอง เงินทาสัญญาและเงินดาวน์ให้แก่บริ ษทั อย่างน้อยคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 50.00 - 75.00 ของ มูลค่าห้องชุดก่อนการโอนกรรมสิ ทธิ์ตามเงื่อนไขในสัญญาตามลาดับ ในปี 2559-2561 บริ ษทั มีเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เท่ากับ 138.63 ล้านบาท 327.40 ล้านบาท และ 891.29 ล้านบาท คิด เป็ น ร้อยละ 26.31 ร้อยละ 33.76 และร้อยละ 50.80 ของหนี้สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวม ตามลาดับ โดยเงินรับล่วงหน้าจาก ลูกค้า มีจานวนเพิม่ ขึ้นสอดคล้องกับยอดขายโครงการ The Title หาดในยาง เฟส1,เฟส 2 และการเปิ ดตัวโครงการ The Title หาดราไวย์ เฟส 5

180


ข้ อมูลของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ

ข้อมูลอ้างอิง

นายทะเบียนหลักทรัพย์หุน้ สามัญ

ผูส้ อบบัญชี

ผูต้ รวจสอบภายใน

บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 02-009-9000 โทรสาร 02-009-9991 บริ ษทั สยาม ทรู ธ สอบบัญชี จากัด 338 อาคาร A ชั้น 8 โครงการปรี ชาคอมเพล็กซ์ ถนนรัชดาภิเษก ซอยรั ชดาภิ เษก 20 แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 02-275-9599 บริ ษทั สานักงาน โปรเฟส วัน จากัด เลขที่ 145 ซอยลาดพร้าว 101 แขวงคลองจัน่ เขตบางกะปิ กรุ งเทพมหานคร 10240 โทรศัพท์ 02-731-5200 โทรสาร 02-731-5201

181


182


183



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.