TIPCO: รายงานประจำปี 2559

Page 1


สารบัญ Click เพื่อเลือกบท

พันธกิจ / วิสย ั ทัศน์ / ค่านิยม ผังองค์กร

4 12

ข้อมูลทางการเงินทีส ่ ำ�คัญ 13 สารจากประธานกรรมการ

15

ประวัตค ิ ณะกรรมการ

24

ประวัตผ ิ บ ู้ ริหาร

30

ข้อมูลทัว ่ ไปและข้อมูลสำ�คัญอืน ่ 34 นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

37

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

46

การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ 58

การบริหารความเสีย ่ ง

66

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

67

ความรับผิดชอบต่อสังคม

70

รายงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ 82

การกำ�กับดูแลกิจการ

84

โครงสร้างการถือหุน ้

110

โครงสร้างการจัดการ

114

การควมคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย ่ ง

124

รายการระหว่างกัน

127

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

131

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

132

รายงานการตรวจสอบงบการเงินโดยผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต

136

งบการเงิน

142


IN NATURE WE ALL LIVE ธรรมชาติมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่มนุษย์และสร้างมนุษย์ ให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน ทิปโก้เชื่อใน พลังมหัศจรรย์ของธรรมชาติ เรามุ่งมั่นค้นคว้าและ นำ�สิ่งที่ดีที่สุดจากธรรมชาติมามอบให้ผู้บริโภคด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรม เราภูมิใจที่ได้นำ�สิ่งที่ดีที่สุด จากธรรมชาติ ม าสร้ า งชี วิ ต ที่ เ ต็ ม เปี่ ย มไปด้ ว ยพลั ง ความสุข ความอิสระ และคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคมี ชีวิตที่เต็มคุณค่า สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเต็มที่ด้วย สุขภาพที่ดีจากธรรมชาติ


พันธกิจ นำ�สุขภาวะทีด ่ ส ี ส ู่ ง ั คม ความหมายของสุขภาวะที่ดี คือ การมีสุขภาพกายและสุขภาพ จิตที่ดี ซึ่งต้องได้ มาจากการดำ�เนินชีวิตโดยรวม มิใช่จากการ เน้นทำ�สิง ่ ใดสิง ่ หนึง ่ ต้องใช้ทง ้ั วินย ั และเวลาไม่มท ี างลัด ดังนัน ้ ทิปโก้ จึงไม่ใช่บริษท ั ทีม ่ ง ุ่ ขายผลิตภัณฑ์เพียงอย่างเดียว แต่เป็น บริษท ั ทีเ่ กิดมาเพือ ่ เรียนรูเ้ ข้าใจการใช้ชว ี ต ิ ของผูค ้ น และคิดค้นเพือ ่ นำ�เสนอรูปแบบการใช้ชว ี ต ิ ทีน ่ ำ�มาซึง ่ สุขภาวะทีด ่ ี โดยใช้ผลิตภัณฑ์ และบริการเป็นตัวตอบโจทย์ของการนำ�สุขภาวะทีด ่ ส ี ส ู่ ง ั คม


วิสัยทัศน์ เป็นบริษท ั ทีข่ บ ั เคลือ ่ นชีน ้ ำ�ตลาด เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผู้มีส่วน ร่วมทางธุรกิจ เพื่อให้พันธกิจเป็นจริง ทิปโก้ไม่สามารถเป็นเพียงแค่ผู้สนองตอบความต้องการของผูบ ้ ริโภค เท่านั้น แต่ต้องเป็นผู้ท่ชี ้น ี ำ�และขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค รวม ถึงรูปแบบการใช้ชีวิตด้วย และการขับเคลื่อนชี้นำ�ตลาดดังกล่าวจะต้องนำ�มาซึ่งมูลค่าเพิ่มแก่ ทุกฝ่ายทีเ่ กีย ่ วข้องไม่วา่ จะเป็นพนักงาน ลูกค้า คูค ่ า้ พันธมิตรผูถ ้ อ ื หุน ้ ผูส ้ นับสนุนทางการเงิน ตลอดจนชุมชนและสังคม กล่าวคือต้องนำ�มาซึง ่ ชีวต ิ ความเป็นอยูท ่ ด ่ี ขี น ้ึ ของทุกฝ่าย


ค่านิยม T

Teamwork เป้าหมายเดียวกัน

I

Innovation สร้างสรรค์สง ่ิ ใหม่

P

Passion ด้วยใจเต็มร้อย

C

Commitment ไม่ถอยมุง ่ มัน ่

O

Openness สือ ่ สารจริงใจ


12

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ผังองค์กร คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล

กรรมการผู้จัดการ

คณะผู้บริหาร

ธุรกิจผลไม้แปรรูป

ธุรกิจสารสกัด และการเกษตร

ธุรกิจคอนซูมเมอร์

ธุรกิจค้าปลีก


13

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน ณ วันที่ หรือ สำ�หรับปีสน ้ิ สุด

2559

2559

2558

2558

วันที่ 31 ธันวาคม

(รวม)

(บริษท ั )

(รวม)

(บริษท ั )

ข้อมูลเกีย ่ วกับหุน ้ สามัญ (ต่อหุน ้ )

มูลค่าทีต ่ ราไว้

1.00

1.00

1.00

1.00

มูลค่าตามบัญชี

8.44

กำ�ไรต่อหุน ้ ขัน ้ พืน ้ ฐาน

1.69

3.67

7.39

3.39

0.79

2.46

0.38

ผลการดำ�เนินงาน(บาท)

รายได้จากการขาย

5,273,206,676

2,773,320,086

4,677,507,627

2,266,843,958

รายได้รวม

5,366,966,970

3,100,879,023

4,899,034,995

2,599,658,322

กำ�ไรขัน ้ ต้น

1,456,474,138

458,289,718

1,066,329,777

191,346,815

กำ�ไรก่อนดอกเบีย ้ และภาษีเงินได้

821,383,684

407,953,922

1,249,760,326

223,922,378

กำ�ไรสุทธิ

765,845,662

380,920,313

1,178,936,355

182,967,033

1,698,511,961

796,626,808

1,754,047,906

611,246,000

ข้อมูลเกีย ่ วกับงบแสดงฐานะการเงิน(บาท)

สินทรัพย์หมุนเวียน

สินทรัพย์รวม

6,808,820,972

2,771,920,942

6,714,943,708

2,649,113,691

หนีส ้ น ิ หมุนเวียน

1,507,690,273

488,081,381

2,157,894,279

860,370,919

หนีส ้ น ิ รวม

2,366,386,487

1,000,584,382

2,734,164,641

1,014,046,009

482,579,640

482,579,640

482,579,640

482,579,640

ทุนทีอ ่ อกและเรียกชำ�ระแล้ว

ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ บริษท ั ใหญ่

4,074,332,347

1,771,336,560

3,565,419,357

1,635,067,682

ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้

4,442,434,485

1,771,336,560

3,980,779,067

1,635,067,682

อัตราส่วนทางการเงิน (บาท)

อัตราส่วนกำ�ไรขัน ้ ต้นต่อยอดขาย (%)

27.6%

16.5%

22.8%

8.4%

อัตราส่วนกำ�ไรก่อนดอกเบีย ้ และภาษี

15.3%

13.2%

25.5%

8.6%

เงินได้ตอ ่ รายได้รวม (%)

อัตราส่วนกำ�ไรสุทธิตอ ่ รายได้รวม (%)

14.3%

12.3%

24.1%

7.0%

อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)

23.1%

49.4%

10.2%

65.8%

ผลตอบแทนต่อส่วนผูถ ้ อ ื หุน ้ (%)

20.0%

21.5%

33.3%

11.2%

ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน(%)

15.0%

19.3%

23.8%

9.0%

ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม(%)

11.2%

13.7%

17.6%

6.9%

อัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระ

20.8

18.8

21.2

6.4

1.1

1.6

0.8

0.7

0.5

0.7

0.5

0.4

0.5

0.6

0.7

0.6

ดอกเบีย ้ (เท่า)

อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี ้

สินหมุนเวียน(เท่า)

อัตราส่วนสภาพคล่องต่อหนีส ้ น ิ

หมุนเวียน (เท่า)

อัตราส่วนหนีส ้ น ิ ต่อส่วนผูถ ้ อ ื หุน ้

(เท่า)


ไร่สับปะรดหอมสุวรรณ จ.ประจวบคีรีขันธ์


สารจากประธานกรรมการ เรียน ผู้ถือหุ้นทุกท่าน ในปี 2559 ที่ผ่านมา ภาพรวมของสภาวะเศรษฐกิจเริ่มมีสัญญาณ ฟื้นตัวจากปีก่อนหน้าเล็กน้อย และสถานการณ์การแข่งขันในกลุ่ม ธุรกิจต่างๆของบริษัทอยู่ในระดับสูง ดิฉันมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ จะรายงานความสำ�เร็จในด้านผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2559 โดย บริษัทมีรายได้ 5,273 ล้านบาท เติบโตจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 13 และ มีกำ�ไรสุทธิในส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท 814 ล้านบาท ทั้งนี้ ความสำ�เร็จดังกล่าวเป็นผลจากความมุ่งมั่นและความร่วมมือของ บุคลากรและผูบ ้ ริหารของบริษท ั ในการวางแผนและการบริหารจัดการ ความท้าทายของกลุ่มธุรกิจต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำ�หรับภาพรวมการดำ�เนินงานรายกลุม ่ ธุรกิจนัน ้ ธุรกิจผลไม้แปรรูป ถือเป็นธุรกิจที่มีความท้าทายเป็นอย่างยิ่งในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากราคาวัตถุดิบที่ยังคงอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม ด้วย การบริหารจัดการด้านราคาขายผลิตภัณฑ์ ต้นทุนการผลิตและราคา วัตถุดบ ิ ด้วยโครงการเกษตรแบบพันธสัญญา (Contract Farming) ส่งผลให้ในปีทผ ี่ า่ นมาธุรกิจผลไม้แปรรูปมีผลการดำ�เนินงานทีด ่ อ ี ก ี ครัง ้ ธุรกิจคอนซูมเมอร์ แม้จะมีการแข่งขันที่สูงจากคู่แข่งรายใหม่ที่เข้ามา ในตลาดน้ำ�ผลไม้ แต่บริษัทยังรักษาความเป็นผู้นำ�ในตลาดน้ำ�ผลไม้ ไว้ได้ โดยในปีที่ผ่านมาบริษัทยังคงมุ่งเน้นในการนำ�ผลิตภัณฑ์ใหม่นำ� เสนอแก่ผู้บริโภค อาทิเช่นทิปโก้พลัส คอลลาเจน และทิปโก้ มอคเทล เป็นต้น สำ�หรับน้ำ�แร่ธรรมชาติ ออราซึ่งมีแหล่งกำ�เนิดจากน้ำ�พุเย็น บนเทือกเขาสูง 2,700 ฟุต ยังคงมีการเติบโตในด้านยอดขายและส่วน แบ่งการตลาดอย่างต่อเนือ ่ งและมีการใช้กำ�ลังการผลิตของโรงงานที่ อำ�เภอแม่รม ิ จังหวัดเชียงใหม่ ในระดับสูง ดังนัน ้ การขยายกำ�ลังการ ผลิตเพือ ่ รองรับการเติบโตของน้ำ�แร่ธรรมชาติ ออรานับเป็นอีกพันธกิจ สำ�คัญในแผนการสร้างความเติบโตให้แก่บริษัทในอนาคต ธุรกิจการเกษตรยังมียอดขายทีเ่ ติบโตอย่างต่อเนือ ่ งจากการตอบรับ ทีด ่ ขี องผูบ ้ ริโภคต่อรสชาติอน ั เป็นเอกลักษณ์ของสับปะรดหอมสุวรรณ ส่วนธุรกิจค้าปลีกบริษัทยังพัฒนารูปแบบการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่มี ความหลากหลายมากขึ้น ได้แก่ อาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ เพือ ่ ตอบสนองแนวโน้มการเลือกผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ ่ สุขภาพของผู้บริโภค นอกจากธุรกิจหลักแล้ว ในปีทผ ี่ า่ นมาบริษท ั ได้เปิดธุรกิจใหม่ 2 ธุรกิจ ด้วยกันคือ ร้านอาหาร August Organic Eatery สาขาแรกที่ อาคาร เมอร์คว ิ รี่ วิลล์ นำ�เสนออาหารรูปแบบ organic fusion เน้นวัตถุดบ ิ ที่ เป็นผลิตภัณฑ์ออแกนนิกและรสชาติทผ ี่ า่ นการพัฒนาด้วยความพิถพ ี ถ ิ น ั เพือ ่ ตอบสนองแนวโน้มความนิยมอาหารเพือ ่ สุขภาพของผูบ ้ ริโภค และ

ร้าน Homsuwan Pina Pina สาขาแรกที่ห้างสรรพสินค้าสยาม พารากอน นำ�เสนอของว่างและเครื่องดื่มที่ผลิตภัณฑ์เกือบทั้งหมด พัฒนาจากสับประรดหอมสุวรรณของบริษัท โดยมีจุดเด่นที่รสชาติ อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของสับปะรดหอมสุวรรณนำ�มาสร้าง สรรค์เป็นเมนูที่หลากหลาย นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างและตอกย้ำ� คุณภาพของแบรนด์ “หอมสุวรรณ” ให้เป็นทีร ่ จ ู้ ก ั ของผูบ ้ ริโภคมากขึน ้ ในปีที่ผ่านมานับเป็นปีสำ�คัญที่กลุ่มบริษัทได้แสดงให้เห็นถึงคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์และความเชือ ่ มัน ่ ของผูบ ้ ริโภคต่อ แบรนด์ทป ิ โก้ บริษท ั ประสบความสำ�เร็จอย่างยิ่งโดยได้รับรางวัลคุณภาพระดับโลกและ ระดับประเทศ ดังนี้ • น้ำ�แร่ธรรมชาติ ออรา ได้รบ ั รางวัล Grand Gold Quality Award 2016 ประเภทเบียร์ น้ำ�ดื่มและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอลล์ นับเป็น รางวัลเหรียญทองสูงสุด ด้านคุณภาพการผลิต และรสชาติ จาก Monde Selection ซึ่ ง เป็ น สถาบั น นานาชาติ เ พื่ อ การคั ด เลื อ ก ผลิตภัณฑ์ทม ่ี ค ี ณ ุ ภาพยาวนานกว่า 50 ปี • น้ำ� แร่ ธ รรมชาติ ออรา และสั บ ปะรดหอมสุ ว รรณ ได้ รับ รางวั ล

Superior Taste Award ระดับ 3 ดาวซึง ่ เป็นรางวัลสูงสุดจากสถาบัน เพือ ่ รับรองรสชาติอาหารและเครือ ่ งดืม ่ นานาชาติ (iTQi) องค์กรชัน ้ นำ� ของโลกในด้านการทดสอบและการส่งเสริมผลิตภัณฑ์อาหารและเครือ ่ ง ดืม ่ ทีม ่ ร ี สชาติดเี ลิศ โดยสับปะรดหอมสุวรรณเป็นสับปะรดเพียงชนิด เดียวทีไ่ ด้รบ ั รางวัล Superior Taste Award ในปีน้ี นอกจากนีผ ้ ลิต ภัณฑ์อน ่ื ๆของบริษท ั ทีไ่ ด้รบ ั รางวัล ได้แก่ น้ำ�บร็อคโคลี่ น้ำ�แครนเบอร์ร่ี น้ำ�แครอท น้ำ�ส้มโชกุน และน้ำ�มะพร้าว • แบรนด์ “ทิปโก้” ของบริษท ั เป็นแบรนด์นำ้ �ผลไม้แบรนด์แรกของโลก ที่ได้รับการยกย่องให้เป็น “Brand of the Year” ในการประกวด World Branding Award 2016 จาก World Branding Forum โดย พิจารณาจากการสร้างคุณค่าของแบรนด์ และการวิจย ั ตลาดผูบ ้ ริโภค • บริษัทได้รับรางวัลในฐานะ No.1 Brand Thailand 2015-2016 ยอดนิยมสูงสุด (ทัว ่ ประเทศ) ในหมวด 100% Fruit Juice และ Non 100% Fruit Juice จำ�นวน 2 หมวด โดยนิตยสาร Marketeer สือ ่ ธุรกิจการตลาดชัน ้ นำ�ของประเทศ • บริษท ั ได้รบ ั รางวัลผูป ้ ระกอบธุรกิจส่งออกยอดเยีย ่ ม หรือ Prime Minister’s Export Award ในสาขา Best Exporter ซึง ่ รางวัลนี้ จะมอบให้แก่ผผ ู้ ลิต ผูส ้ ง ่ ออกสินค้าของไทยทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ มีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์และภาพลักษณ์ทด ่ี ี ในนามของคณะกรรมการบริษัท ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น คู่ค้า และ พันธมิตรทางธุรกิจทุกภาคส่วนสำ�หรับการให้การสนับสนุนและให้ ความเชื่อมั่นในบริษัทตลอดมา รวมทั้งผู้บริหาร พนักงานทุกท่าน สำ�หรับความทุม ่ เทและทำ�งานหนักตลอดปี 2559 เราจะยังคงยึดมัน ่ ในหลักการของการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ แี ละสร้างความสำ�เร็จอย่าง ยัง ่ ยืนในการก้าวไปสูก ่ ารเป็นบริษท ั ผูข้ บ ั เคลือ ่ นตลาดและสร้างมูลค่า ให้กับการลงทุนของผู้ถือหุ้นทุกท่าน

(ลักษณา ทรัพย์สาคร) ประธานคณะกรรมการ


คณะกรรมการบริษัท


คณะกรรมการอิสระ


คณะกรรมการผู้จัดการ และเลขานุการบริษัท


คณะผู้บริหาร กลุ่มธุรกิจอาหาร ทิปโก้


24


คณะกรรมการบริษท ั

25


26 คณะกรรมการบริษัท


คณะกรรมการอิสระ

27


28 คณะกรรมการอิสระ


29


30


31


32

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

NEW PRODUCT


34

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไป 1. ข้อมูลทั่วไป

1.1 ข้อมูลบริษัท

บริษท ั ทิปโก้ฟด ู ส์ จำ�กัด (มหาชน) [เดิมชือ ่ บริษท ั ทิปโก้ฟด ู ส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)]

ประกอบธุรกิจหลัก ประเภทผลิตและส่งออกสับปะรดกระป๋อง น้ำ�สับปะรดและผลไม้รวมปัจจุบันมีทุนชำ�ระ

แล้ว 482.58 ล้านบาท สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

เลขที่ 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษัท

บมจ.0107535000052

Home Page

www.tipco.net

โทรศัพท์

0-2273-6200

โทรสาร

0-2271-4304, 0-2271-1600

สถานที่ตั้งสำ�นักงานโรงงาน

เลขที่ 212 หมู่ 16 ตำ � บลอ่ า วน้ อ ย อำ � เภอเมื อ ง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77210

สถานที่ตั้งสำ�นักงานโรงงาน

เลขที่ 205/1 หมู่ 2 ตำ � บลโป่ ง แยง อำ � เภอแม่ ริ ม จังหวัดเชียงใหม่ 50180

1.2 บริษัทร่วมและบริษัทย่อย บริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจ ผลิตยางมะตอยและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมปัจจุบน ั บริษท ั ฯ ถือหุน ้ อยูร ่ อ ้ ยละ 23.82 มีทน ุ จด ทะเบียนชำ�ระแล้ว 1,552.99 ล้านบาท สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

เลขที่ 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไทกรุงเทพมหานคร 10400

บริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด ประกอบธุรกิจ ผลิตและจำ�หน่ายเครื่องดื่มพร้อมดื่มปัจจุบันบริษัทฯ ถือหุ้น ในอัตราร้อยละ 50 มีทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้ว 600ล้านบาท สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

เลขที่ 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

สถานที่ตั้งสำ�นักงานโรงงาน

เลขที่

212 หมู่ 1 6 ตำ � บลอ่ า วน้ อ ย

35

อำ � เภอเมื อ ง

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77210 สถานที่ตั้งสำ�นักงานโรงงาน

เลขที่ 90/1 หมู่ 7 ตำ � บลสนั บ ทึ บ อำ � เภอวั ง น้ อ ย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170

บริษัท ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำ�กัด ประกอบธุรกิจ ผลิตสารสกัดจากสมุนไพรและการเกษตรปัจจุบน ั บริษท ั ฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 มีทน ุ จดทะเบียน ชำ�ระแล้ว 36.8 ล้านบาท สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

เ ล ข ที่ 1 1 8 / 1 อ า ค า ร ทิ ป โ ก้

ถนนพระราม 6

แขวงสามเสนใน เขตพญาไทกรุงเทพมหานคร 10400 สถานที่ตั้งสำ�นักงานโรงงาน

เลขที่ 504 ตำ � บลประจวบคี รี ขั น ธ์

อำ � เภอเมื อ ง

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77210 บริษัท ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด ประกอบธุรกิจ กิจการค้าปลีกปัจจุบันบริษัทฯ ถือหุ้นในอัตราร้อยละ 50.99 และถือหุ้นผ่านบริษัท ทิปโก้ เอฟ แอนด์บี จำ�กัด ในอัตราร้อยละ 49 มีทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว 50 ล้านบาท สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

เลขที่ 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไทกรุงเทพมหานคร 10400

บริษัท ทีเอฟบี ดิสทิบิวชั่น จำ�กัด ประกอบธุรกิจจัดจำ�หน่ายขายปลีก ขายส่ง

ปัจจุบันบริษัทฯ ถือหุ้นผ่าน บริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด ใน

อัตราร้อยละ 50 มีทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว 0.25 ล้านบาท สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

เลขที่ 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไทกรุงเทพมหานคร 10400

1.3 บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหุ้น

บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ข้าง สถานทูตจีน) ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขต ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000


36

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ผูส ้ อบบัญชี

นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3930 และ/หรือ นายณรงค์ พันตาวงษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3315 และ/หรือ นางสาววราพร ประภาศิริกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4579 บริ ษั ท สำ � นั ก งาน อี ว าย จำ � กั ด เลขที่ 193/136-137 ชั้ น 33 อาคารเลค รั ช ดา ถนนรั ช ดาภิ เ ษก คลองเตย กรุ ง เทพมหานคร 10110 โทรศั พ ท์ 0-2264-9090

ที่ปรึกษาทางกฎหมาย

นายธวัชชัย

จรณะกรัณย์

สำ�นักงานทนายความซ.ชนะสงคราม เลขที่ 52 / 3 ถนนพระสุเมรุ กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2282-2955

2. ข้อมูลสำ�คัญอื่น - ไม่มี -

“ผูล ้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษท ั ทีอ ่ อกหลักทรัพย์เพิม ่ เติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท www.tipco.net ”


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

37

นโยบายและภาพรวมการ ประกอบธุรกิจ บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22

บริษัทได้รับมาตรฐาน FAI ซึ่งเป็นโปรแกรมการตรวจ

มีนาคม พ.ศ. 2519 โดยมีทุน จดทะเบียนเริ่มต้น 10 ล้าน

สอบ Food Safety and Food Security โดยสถาบัน

บาท ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 500 ล้านบาท มีทุนชำ�ระ

FAI (Food Audit International)โดยที่ทิปโก้ได้รับ

แล้ ว 482.6 ล้ า นบาท บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยประกอบ

rating “Excellent” นอกจากนีย ้ ง ั ได้รบ ั Organic Aloe

ธุรกิจหลักประเภทผลิตและจำ�หน่ายสับปะรดกระป๋อง น้ำ�

Vera Certified จากกรมวิชาการเกษตรและ Organic

สับปะรดเข้มข้น น้ำ�ผลไม้รวมและเครือ ่ งดืม ่ บรรจุพร้อมดืม ่

Agriculture Certification Thailand สำ�หรับการ

น้ำ�แร่ธรรมชาติพร้อมดื่ม และผลิตสารสกัดจากสมุนไพร

ปลู ก ว่ า นหางจระเข้ อี ก ด้ ว ย ในปี 2554 โรงงานผลิ ต

และการเกษตร โดยจำ�หน่ายทั้งในและต่างประเทศ ทิปโก้

สับปะรดกระป๋องได้รับใบรับรองมาตรฐาน มรท.8001-

ได้รับการรับรองมาตรฐาน

2553ระดับสมบูรณ์ขั้นริเริ่ม

ISO 9002 เป็นแห่งแรก

ของโลกในด้านการผลิตสับปะรดซึ่งได้ปรับปรุงเป็น ISO 9001 Version 2000 และยั ง ผ่ า นการรั บ รองระบบ

ทิ ป โก้ ได้ รั บ การประเมิ น ผลการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การของ

HACCP (HAZARD ANALYTICAL CRITICAL CONTROL

บริษท ั ประจำ�ปี 2559 โดยบรรษัทภิบาลแห่งชาติ มีคะแนน

POINT) จากบริษัท SGS(Thailand) จำ�กัด นอกจากนี้

รวม 83% อยู่ในระดับ“ดีมาก”

ยังได้รบ ั SGF TRMAV (Sure–Global– Fair) การไดัรบ ั การรับรองมาตรฐานเป็นหลักประกันต่อคุณภาพสินค้า

ทิปโก้ ยังมีระบบการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ

ของบริษัทว่าเป็นสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ใน

มีการดำ�เนินการป้องกันความเสี่ยงและขจัดอุปสรรคใน

เดือนธันวาคม 2549 บริษท ั ได้ผา่ นการรับรองระบบ ISO

การดำ�เนินธุรกิจอย่างเป็นขัน ้ ตอน ตัง ้ แต่ปี 2552 เป็นต้น

22000 ซึง ่ เป็นระบบเกีย ่ วกับ Food Safety Manage-

มา ทิปโก้ ได้เน้นในเรือ ่ งการปรับปรุงกระบวนการจัดการ

ment โดยเป็นโรงงานผลิตสับปะรดกระป๋องรายแรกใน

ภายในตัง ้ แต่ประมาณการความต้องการสินค้าของลูกค้า

ประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองและยังเป็นบริษัทแรกใน

จนถึง การส่งมอบสินค้า (Demand & Supply Man-

โลกที่ได้รับการตรวจประเมินแบบ Integrate ระหว่าง

agement) อี ก ด้ ว ย ทิ ป โก้ มี เ ป้ า หมายในการดำ � เนิ น

ระบบ ISO 9001:2000, GMP, HACCP และ ISO 22000

ธุรกิจ ผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพออกสู่ตลาด โดยเลือก

พร้อมกันในครัง ้ เดียว และในวันที่ 5 กรกฎาคม 2550 ทิป

ใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ควบคุมการผลิตให้มีประสิทธิภาพ

โก้ ได้ประกาศอีกก้าวหนึ่งของความสำ�เร็จ ด้วยการได้

พร้ อ มทั้ ง ขายในราคาที่ เ หมาะสม เพื่ อ ตอบสนองความ

รับการรับรอง “Single Food Audit Pack” โดยเป็น

ต้องการสูงสุดของผู้บริโภค

บริ ษั ท อาหารแห่ ง แรกในประเทศไทย ที่ ผ่ า นการตรวจ สอบในทุกระบบพร้อมกันในครั้งเดียว ได้แก่ระบบ ISO

ทิปโก้ ได้มก ี ารปรับมาตราฐานการดูแลสังคมและแรงงาน

9001, ISO 22000, HACCP, GMP และ IFS ในปี 2551

ของทิปโก้ให้สอดคล้องกับข้อเรียกร้องและมาตราฐานของ


38

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ลูกค้าจากกลุ่มยุโรป โดยเข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์กร

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญ

BSCI (Business Social Compliance Initiative) และ SMETA (Sedex Members Ethical Trade Audit)

ปีพ.ศ. 2532

ซึ่งจะต้องดำ�เนินธุรกิจและการผลิตตาม แนวทางปฏิบัติ

บริษัทฯ ได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นโดยการ

และระบบการติดตามตรวจสอบการปฏิบต ั ต ิ ามมาตรฐาน

จดทะเบียนเป็นบริษัทจดทะเบียน

ด้านสังคมในกระบวนการผลิต ที่เน้นการดูแลสังคมสิ่ง

แห่งประเทศไทย และมีการกระจายหุ้นสู่ประชาชนทั่วไป

แวดล้อม และแรงงาน

ทั้ ง นี้ ยั ง คงกลุ่ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ใหญ่ เ ป็ น กลุ่ ม บุ ค คลเดิ ม โดยมี

ในตลาดหลักทรัพย์

สัดส่วนการถือครองหุ้นลดลง ในส่วนของพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตนัน ้ ทาง โรงงานได้ดำ�เนินการปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือ ่ งจักร

ปีพ.ศ. 2536

และลดต้ น ทุ น การผลิ ต โดยการนำ�เทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย

บริษัทฯ ได้ขยายการลงทุนในบริษัทย่อย บริษัท ทิปโก้

และมีประสิทธิภาพ

มาปรับปรุง รวมถึงการติดตั้ง

เอฟแอนด์บี จำ�กัด โดยได้ขยายธุรกิจ เข้าสู่ตลาดน้ำ�ผล

เครือ ่ งจักรใหม่เพือ ่ ให้สามารถรองรับการขยายการเติบโต

ไม้พร้อมดื่ม ซึ่งผลิตภัณฑ์น้ำ�ผลไม้ของบริษัท ได้รับการ

ที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตด้วย

ตอบรับอย่างดีจากตลาดผู้บริโภคภายในประเทศ ต่อมา บริษัทฯ ได้ทุ่มเทให้กับการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้

ความสำ�เร็จของ ทิปโก้ เกิดขึน ้ จากความตัง ้ ใจของพนักงาน

สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง

และทีมบริหารที่ พร้ อมจะนำ� สิ่ ง ที่ ดีที่สุด เพื่ อเสนอให้กับ

และมีนโยบายเพิม ่ ผลิตภัณฑ์อย่างน้อยปีละหนึง ่ ผลิตภัณฑ์

ลูกค้า ความพึงพอใจของลูกค้าคือความภาคภูมิใจของ

โดยเริ่มตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ในปี 2550 ได้มี

เรา นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ยั ง มี ก ารพั ฒ นาการที่ ไ ม่ ห ยุ ด ยั้ ง

การจับมือเป็นพันธมิตร กับ บริษัท ซันโทรี่ ประเทศญี่ปุ่น

ในการสร้ า งสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพออกสู่ ต ลาด มี ที ม งานที่

มีเป้าหมายร่วมกันกับบริษท ั ซันโทรี่ ในการขยายตลาดทัง ้

มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และยั ง มี โ ปรแกรมการพั ฒ นาบุ ค ลากร

ผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญและผลิตภัณฑ์เด่น

อย่างต่อเนื่อง บริษัทได้ตั้งปฏิญาณกับตนเองว่าจะนำ�

จากบริษท ั ซันโทรีไ่ ปยังตลาดในประเทศและตลาดอาเซียน

ความปรารถนาของลูกค้าเป็นที่ตั้งและจะเป็นส่วนหนึ่งที่

โดยใช้โรงงานเครือ ่ งดืม ่ ทีท ่ น ั สมัยทีอ ่ ำ�เภอวังน้อย จังหวัด

จะทำ�ให้วิถีชิวิตของผู้บริโภคดียิ่งขึ้น และจะนำ�เสนอสินค้า

พระนครศรีอยุธยา เป็นแหล่งผลิตในสายธุรกิจเครือ ่ งดืม ่

และวิธีการใหม่ๆให้กับผู้บริโภคในปีต่อๆไป

ทิปโก้ยังคงสร้างความเติบโตอย่างต่อเนื่องด้วยกลยุทธ์ สำ�คัญที่เน้นให้ความสำ�คัญด้านคุณภาพสินค้าและการ แนะนำ�สิ น ค้ า ใหม่ จากผลงานการพั ฒ นาสิ น ค้ า โดยที ม งานมืออาชีพ และการลงทุนพัฒนาด้านเทคโนโลยีที่ทัน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

39

สมัย ซึ่งได้สร้างความเข้มแข็งให้กับตราสินค้าทิปโก้ให้ได้

และยังมีโรงงานสกัดสารจากพืช และสมุนไพรด้วยตัวทำ�

รับความเชื่อถือและเป็นที่ไว้วางใจของผู้บริโภคเสมอมา

ละลายขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ซึ่งมีประสิทธิภาพ และระบบความปลอดภั ย ในระดั บ สู ง โดยทางบริ ษั ท มี

ปีพ.ศ. 2547

บริการครบวงจรแก่ลก ู ค้าตัง ้ แต่การจัดหาวัตถุดบ ิ การอบ

บริษัทฯ ได้ขยายธรุกิจใหม่เข้าสู่ธุรกิจค้าปลีก น้ำ�ผลไม้

แห้งบดผงและ ผลิตเป็นสารสกัด อีกทัง ้ ยังมีบริการพัฒนา

ปัน ่ สด โดยใช้ตราผลิตภัณฑ์ Squeeze Juice Bar โดย

กระบวนการสกัดร่วมกับลูกค้าเริม ่ ตัง ้ แต่ระดับทดลองใน

เริ่มต้นเพียง 10 สาขา จนถึงปีพ.ศ. 2550 ได้จัดตั้งบริษัท

ห้องปฏิบัติการตลอดจนผลิตจริงในระดับอุตสาหกรรม

ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจนี้ ปัจจุบันมีร้าน Tipco Squeeze Juice Bar ทั้งสิ้น 58

ปีพ.ศ.2556

สาขา โดยบริษท ั เป็นเจ้าของ 48 สาขาและเป็น Franchise

บริษัทฯ ยังคงมุ่งเน้นและให้ความสำ�คัญอย่างจริงจังใน

10 สาขา บริษัทได้มีการปรับยุทธศาสตร์ เรื่องของการ

การพัฒนาศักยภาพของ บริษัท ทิปโก้

ปรับเมนูและรูปแบบ ของสาขาเก่าที่สร้างทั้งยอดขายและ

โดยพัฒนาระบบคุณภาพการผลิตและการขยายการทำ�

กำ�ไรอย่างต่อเนื่อง และวางแผนงานธุรกิจระยะยาวใน

กิจกรรมการตลาดอย่างต่อเนือ ่ ง ซึง ่ โรงงานสกัดสารจาก

การขยายสาขาใหม่ๆ โดยในการขยายสาขาใหม่จะปรับ

พืชและสมุนไพรนี้ ประกอบไปด้วยตัวทำ�ละลายขนาดใหญ่

ขนาดและเมนูของร้านให้เหมาะสมกับสาขาในแต่ละช่องทาง

ที่สุดของประเทศไทย ซึ่งมีประสิทธิภาพและระบบความ

ไบโอเท็ค จำ�กัด

ปลอดภัยในระดับสูง โดยทางบริษัทมีบริการครบวงจร ปีพ.ศ. 2550

แก่ลูกค้าซึ่งได้รับการรับรองมารตฐานคุณภาพ Good

บริ ษั ท ฯ ได้ ล งทุ น ในบริ ษั ท ทิ ป โก้ ไบโอเทค จำ�กั ด ซึ่ ง มี

Manufacturing Practice (GMP) จากสถาบันอาหาร

สิ น ทรั พ ย์ ที่ สำ � คั ญ คื อ พื้ น ที่ เ พาะปลู ก ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร

(National Food Institute)

ชีววิทยา Tissue Culture Lab สำ�หรับคัดเลือกและ ขยายสายพันธุ์พืช และโรงงานสกัดสารจากพืช

ปีพ.ศ.2557 บริษัทฯ ได้ทำ�การติดตั้งเครื่องจักรเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มกำ�ลัง

ปีพ.ศ. 2552

การผลิตน้ำ�แร่ตราออรา แล้วเสร็จในเดือนเมษายน จึง

บริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด ตั ว สั บ ปะรดพั น ธุ์ ทิ ป โก้ ห อมสุ ว รรณ ซึ่ ง

ทำ�ให้ปัจจุบัน บริษัทสามารถเพิ่มกำ�ลังการผลิตขึ้นเป็น

ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคเป็นอย่างดีโดยสับปะรด

2 เท่า เพื่อเร่งการผลิตให้ตอบสนองความต้องการของ

พันธุ์นี้มีลักษณะเด่นคือ กลิ่นหอม เนื้อมีสีเหลืองทองทั้ง

ตลาด ที่มีอัตราการเติบโตในระดับที่สูง

ลูก เนือ ้ แน่น ไม่ฉ่ำ�น้ำ� ตาสับปะรดตืน ้ มีความสุกทัว ่ กันทัง ้ ลูก ปริมาณวิตามินซีสูงกว่าสับปะรดศรีราชาถึง 4 เท่า


40

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ปีพ.ศ.2558

ปีพ.ศ.2559

บริ ษั ท ฯได้ พั ฒ นาและแนะนำ � สิ น ค้ า ที่ มี น วั ต กรรมใหม่ ๆ

บริษัทฯ ได้เปิดตัวธุรกิจใหม่อีก 2 ธุรกิจ ได้แก่

เข้าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง โดยในรอบปีที่ผ่านได้ทำ�งาน

1. ร้านอาหาร August Organic Eatery

ร่ ว มกั บ ลู ก ค้ า ในการพั ฒ นาสิ น ค้ า ใหม่ ห ลายรายการ

ร้ า นอาหารรู ป แบบ full service restaurant

โดยใช้ จุ ด แข็ ง ของบริ ษั ท ฯที่ มี ส ายการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์

รายการอาหารเป็น organic fusion เน้นวัตถุดิบ

สับปะรดและมะพร้าวอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน ส่วนผสม

ทีเ่ ป็น organic สาขาแรกที่ อาคาร MERCURY VILLE

ของผลิตภัณฑ์ทั้งสองทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์สับปะรดในน้ำ�

เพื่อตอบสนองแนวโน้มความนิยมอาหารเพื่อสุขภาพ

กะทิบรรจุในถ้วยพลาสติก ซึง ่ ได้เริม ่ แนะนำ�สินค้าดังกล่าว

2. ร้าน Homsuwan Pina Pina ร้านขนม ของว่าง

เข้าสูต ่ ลาดอเมริกาและมีผลตอบรับเป็นทีน ่ า่ พอใจอย่างยิง ่

และเครือ ่ งดืม ่ ทีเ่ มนูเกือบทัง ้ หมดพัฒนาจาก

นอกจากนีบ ้ ริษท ั ฯยังได้พฒ ั นาและแนะนำ� น้ำ�มะพร้าวผสม

รดพั น ธุ์ ห อมสุ ว รรณ โดยมี จุ ด เด่ น ที่ ร สชาติ อั น เป็ น

รสช็อคโกแลตบรรจุ กระป๋อง และ เมล็ดเชียในน้ำ�กะทิใน

เอกลักษณ์เฉพาะตัวของสับปะรดพันธุ์หอมสุวรรณ

รสต่างๆบรรจุในถ้วยพลาสติก อาทิ รสกล้วย รสช็อค

และคัดสรรเป็นเมนูที่หลากหลาย ที่ห้างสรรพสินค้า

โกแลต รสเชอร์รี่ผสมอัลมอนต์ และรสวานิลาผสมซินนา

สยามพารากอน

มอน (อบเชย) เข้าสูต ่ ลาดอเมริกาและแคนนาดาในปีทีผ ่ า่ น มาอีกด้วย โดยในปี 2559 มีการคาดหวังว่าผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆเหล่านี้จะเติบโตและขยายออกสู่ตลาดอื่นๆต่อไป

สับประ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

41

การรับรองคุณภาพของสินค้ามาตรฐานสากลต่าง โดยมีลำ�ดับดังต่อไปนี้ ปีพ.ศ. 2537

มาตรฐาน ISO 9002 โดยเป็นโรงงานสับปะรดกระป๋องแห่งแรกของโลกที่ได้รับมาตรฐาน นี้ โดยการรับรองของสำ�นักงานผลิตภัณฑ์มาตรฐานอุตสาหกรรม และสถาบัน RW TUV ประเทศเยอรมัน

ปีพ.ศ. 2538

มาตรฐาน HACCP โดยการรับรองของ เอสจีเอส (ประเทศไทย)

ปีพ.ศ. 2543

มาตรฐาน ISO 9002 สำ�หรับผลิตภัณฑ์น้ำ�สับปะรด และน้ำ�สับปะรดเข้มข้น โดยการรับรอง ของ SGF International E.V./IRMA ประเทศเยอรมัน

ปีพ.ศ. 2545

มาตรฐาน HALAL รับรองโดยคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย มาตรฐาน KOSHER รับรองโดย Thai Kashurt Service Co., Ltd.

. ปีพ.ศ. 2545/2546

มาตรฐาน BRC ที่ผู้ค้าปลีกในเครือสหราชอาณาจักรได้จัดทำ�ขึ้น เพื่อประเมินผู้ผลิตอาหาร ที่ส่งไปประเทศอังกฤษ ได้รับการรับรองโดย เอสจีเอส (ประเทศไทย) และโดย EFAIA (SAI GLOBAL)

ปีพ.ศ. 2546

มาตรฐาน ISO 9001 version 2000 รับรองโดยเอสจีเอส (ประเทศไทย)

ปีพ.ศ. 2547

มาตรฐาน International Food Standard (IFS) ที่ผู้ค้าปลีกในประเทศเยอรมันและ ฝรั่งเศส ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อประเมินผู้ผลิตอาหารที่ส่งไปประเทศแถบยุโรป รับรองโดยเอสจี เอส ประเทศเยอรมัน

ปีพ.ศ. 2549

มาตรฐาน ISO 22000 ในเรื่อง Food Safety Management เป็นบริษัทผู้ผลิตอาหาร รายแรกในประเทศไทยที่ได้รับมาตรฐานนี้ รับรองโดย เอสจีเอส(ประเทศไทย)

ปีพ.ศ. 2550

ได้รับการตรวจประเมินแบบ Integrated Audit รวม 5 ระบบพร้อมกัน คือ ISO 22000, ISO 9001, GMP, HACCP, และ IFS (Single Food Audit Pack) เป็นบริษัทแรกของ


42

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ประเทศไทย รับรองโดย เอสจีเอส (ประเทศไทย) ซึ่งต่อมา เอสจีเอส ได้ใช้ทิปโก้เป็นต้นแบบ ของการตรวจประเมินแบบ Integrate Audit สำ�หรับทั่วโลกในปีเดียวกันบริษัท ได้รับการ รับรองระบบ GMA-SAFE AUDIT ของประเทศสหรัฐอเมริกาในเรื่อง Food Safety โดย Food Audit International (FAI) ปีพ.ศ.2550/2551

ได้รับการรับรองสินค้าว่านหางจระเข้บดออกานิกปลอดเชื้อ ตั้งแต่การปลูกในไร่จนถึงการ ผลิตในโรงงาน โดยกรมวิชาการเกษตร

ปีพ.ศ. 2551/2552

ได้รับการรับรอง IFOAM Organic Standards สินค้าว่านหางจระเข้บดออกานิกปลอด เชื้อตั้งแต่การปลูกในไร่จนถึงการผลิตในโรงงาน โดยสำ�นักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย

ปีพ.ศ. 2552

ได้รับการรับรอง Food Safety and Food Security Audit Program ของประเทศ สหรัฐอเมริกา โดย FAI (ประเทศไทย) ซึ่งผลการประเมินอยู่ในระดับ “Excellent”

ปีพ.ศ. 2553

มาตรฐาน ISO 9001 version 2008 รับรองโดย เอสจีเอส (ประเทศไทย)

ปีพ.ศ. 2554

ได้ รั บ รางวั ล ธรรมมาภิ บ าลสิ่ ง แวดล้ อ ม ของโรงงานจั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ใบรั บ รอง มาตรฐาน มรท.8001-2553 ระดับสมบูรณ์ขั้นริเริ่มและรางวัลสถานประกอบการดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์ และสวัสดิการแรงงาน

ปีพ.ศ. 2555

โรงงานประจวบได้มก ี ารเพิม ่ ขอบเขตของการรับรองสำ�หรับผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น ผลิตภัณฑ์น้ำ� มะพร้าว (Coconut water) ได้รับการรับรองมาตรฐานGMP / HACCP / BRC / IFS และ ผลิตภัณฑ์ผลไม้ในถ้วยพลาสติก(Fruit in Plastic Cup) ได้รบ ั การรับรองมาตรฐานGMP/ HACCP/IFS ผลิตภัณฑ์สับปะรดสามารถผ่านมาตรฐานโรงงานของ TESCO และ YUM ผลิตภัณฑ์สับปะรดผลไม้รวม น้ำ�สับประรดเข้มข้น และผลิตภัณฑ์ว่านหางจระเข้ สามารถ แสดงเครื่ อ งหมายSTAR K ของ Kosher ได้ แ ล้ ว นอกเหนื อ จากการที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง กระบวนการผลิต


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ปีพ.ศ. 2556

43

ในเดือนมิถุนายนได้รับการรับรองมาตราฐานระบบคุณภาพสินค้าอาหารสำ�หรับธุรกิจค้า ปลีก ประเทศอังกฤษ (British Retail Consortium, BRC) และโรงงานสกัดสารจาก พืชและสมุนไพร ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ Good Manufacturing Practice (GMP) จากสถาบันอาหาร (National FoodInstitute)

ปีพ.ศ. 2557

ผ่านการรับรองเรื่อง IFS ในส่วนของผลิตภัณฑ์ Canned Coconut Milk Aseptic and Frozen pineapple single strength juice และ รวมทั้งได้ Kosher เพิ่มของ ผลิตภัณฑ์coconut water with pomegranate juice และ coconut water with mango flavor ผ่านการรับรองสถานภาพผู้นำ�ของเข้า ผู้ส่งของออกระดับมาตรฐานเออีโอ

ปีพ.ศ. 2558

โรงงานวังน้อย ผ่านการรับรองมาตรฐานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบ การ (มยส.) ประจำ�ปี 2558 ยังได้รับรางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ระดับดีเด่น ของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และได้รับใบประกาศเกียรติคุณจากโครงการสถานประกอบการปลอดภัยเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ปีพ.ศ. 2559

โรงงานออรา อำ�เภอแม่รม ิ จังหวัดเชียงใหม่ ได้รบ ั การรับรองมาตรฐาน HALAL FSSC22000 GMP Codex และ HACCP Codex โรงงานวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้รับการรับรองมาตรฐาน FSSC22000 จาก UKAS Management System


44

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ปี 2559 รางวัลแห่งความสำ�เร็จ

Asociaciones de Cocineros de España, Federerazione dei Cuochi Italiana, Årets

•• น้ำ�แร่ธรรมชาติ ออรา ของบริษท ั ฯ ได้รบ ั รางวัลสูงสุด

Kock of Sweden, Euro-Toques, Gilde Van

(Grand Gold Quality Award 2016) ประเภทเบียร์

Nederlandse Meesterkoks, Associação

น้ำ�ดื่มและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอลล์ (Beers ,

de Cozinheiros Profissionais de Portu-

Waters and Soft Drinks) ซึง ่ เป็นรางวัลเหรียญ

gal, Craft Guild of Chefs, Turkish Cooks

ทองสูงสุด ด้านคุณภาพการผลิต และรสชาติ จาก

Association, World Master Chefs Society

Monde Selection ซึ่งเป็นสถาบันนานาชาติเพื่อ

(WMCS) and the Association de la Som-

การคั ด เลื อ กที่ มี คุ ณ ภาพได้ รั บ การพั ฒ นามานาน

mellerie Internationale (ASI) โดย ผลิตภัณฑ์

กว่า 50 ปีแล้ว มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในการ

เข้ า ร่ ว มทดสอบทั้ ง หมด 7 ตั ว ได้ ผ ลลั พ ธ์ ดั ง นี้

ทดสอบและสินค้า และวิเคราะห์ สินค้าอุปโภคบริโภค

- สับปะรดหอมสุวรรณ 3ดาว

จากทั่วทุกมุมโลก

- น้ำ�แร่ออรา 3 ดาว

•• ผลิตภภัณฑ์ของกลุม ่ บริษท ั ได้รบ ั รางวัล Superior

- บร๊อคโคลี่ 2 ดาว

Taste Award ซึง ่ เป็นสัญลักษณ์ทีม ่ ก ี ารยอมรับใน

- แครนเบอร์รี่ 2 ดาว

ระดับสากล จากสถาบันเพื่อรับรองรสชาติอาหาร

- น้ำ�แครอท 2 ดาว

และเครือ ่ งดืม ่ นานาชาติ (iTQi) โดยการตัดสินใจของ

- น้ำ�ส้มโชกุน 1 ดาว

เชฟและผูเ้ ชีย ่ วชาญด้านเครือ ่ งดืม ่ สัญลักษณ์รางวัล

- น้ำ�มะพร้าว 1 ดาว

นี้เป็นเครื่องมือการตลาดที่มีประสิทธิภาพเพื่อแยก

•• บริษัท ได้รับรางวัลในฐานะ No.1 Brand Thai-

ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม

land2015-2016 ยอดนิ ย มสู ง สุ ด (ทั่ ว ประเทศ)

รางวัล โดย iTQi เป็นองค์กรชั้นนำ�ของโลกที่ทุ่มเท

ในหมวด Fruit Juice (100%) และ Fruit

ให้กบ ั การทดสอบและการส่งเสริมผลิตภัณฑ์อาหาร

Juice(Non100%) จำ�นวน 2 หมวด โดยนิตยสาร

และเครื่องดื่มที่มีรสชาติดีเลิศ โดยคณะกรรมการ

M a r k e t e e r สื่ อ ธุ ร กิ จ ก า ร ต ล า ด ชั้ น นำ � ข อ ง

และผูเ้ ชีย ่ วชาญด้านเครือ ่ งดืม ่ จะถูกคัดเลือกมาจาก

ประเทศ เพื่ อ เป็ น เกี ย รติ แ ก่ แ บรนด์ ที่ ไ ด้ รั บ ความ

ภายใน 15 สมาคมทีม ่ ชี ือ ่ เสียงทีส ่ ด ุ ในยุโรปอย่างเช่น

นิยมสูงสุดของประเทศ โดยอ้างอิงข้อมูลจากงาน

The Maîtres Cuisiniers of France, Academy

วิ จั ย T-Cube โดยบริ ษั ท วิ ดี โ อ รี เ สิ ร์ ช อิ น เตอร์

of Culinary Arts, Hellenic Chefs’ Associa-

เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งมีสำ�นักงานใหญ่

tion, Académie Culinaire of France, Verband

ณ ประเทศญีป ่ น ุ่ ได้สำ�รวจทัศนคติทม ี่ ต ี อ ่ แบรนด์ตา่ ง

der Köche Deutschlands, Federación de

ๆ ในประเทศไทย ในประเด็นแบรนด์ที่มีผู้นิยมมาก


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

45

ที่สุดในประเทศไทย หรือ No.1 Brand Thailand

ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2557 เป็นต้นมา โดยพิจารณาจาก 3

การสำ � รวจวิ จั ย ครอบคลุ ม ผู้ บ ริ โ ภค ทั่ ว ประเทศ

องค์ประกอบหลัก คือ การสร้างคุณค่าของแบรนด์

กว่า 4,000 ตัวอย่าง กว่า 1,000 แบรนด์ มากกว่า

การวิจัยตลาดผู้บริโภค และการเปิดให้สาธารณชน

100 หมวดสินค้า และใช้ระเบียบวิธีการวิจัยอย่าง

กว่า 120,000 รายจากทั่วโลกร่วมลงคะแนนทาง

เคร่งครัด ผลที่ออกมาจึงเป็นที่น่าเชื่อถือและเป็นที่

ออนไลน์

ยอมรับอย่างยิ่ง

2,800 แบรนด์ จาก 35 ประเทศ ได้รับการเสนอ

•• บริษัทฯได้รับรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออกยอด

โดยในปี พ .ศ. 2559 นี้ มี แ บรนด์ ก ว่ า

ชื่อชิงเข้าชิงรางวัลประจำ�ปี 2559-2560

เยีย ่ ม (Best Exporter 2016) ซึง ่ รางวัลนีจ ้ ะมอบ

•• โรงงานออราได้รบ ั รางวัลผูท ้ ำ�ความดีในการตอบแทน

ให้แก่ผู้ผลิต/ผู้ส่งออกสินค้าของไทยที่มีคุณภาพ มี

คุณระบบนิเวศตามหลักการ PES “Thailand PES

การพัฒนาผลิตภัณฑ์และภาพลักษณ์ที่ดี รางวัลผู้

Award 2016” ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 จาก

ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น หรือ Prime Minis-

หน่วยงาน สำ�นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ

ter’s Export Award ถือเป็นรางวัลแห่งความ

(องค์การมหาชน)

สำ�เร็จ สูงสุดสำ�หรับผู้ประกอบการทั้งสินค้า และ

•• โรงงานผลิ ต น้ำ � ผลไม้ ที่ อำ � เภอวั ง น้ อ ย จั ง หวั ด

บริการประเภทต่างๆ ซึ่งส่งผลให้เกิดการกระตุ้นให้

พระนครศรีออยุธยา ได้รับรางวัลสถานประกอบ

ผู้ที่ได้รับรางวัล (รวมไปถึง ผู้ประกอบการที่ยังไม่

การปลอดโรคปลอดภัย กายใจเป็นสุข ระดับจังหวัด

ได้รับรางวัล)ได้มุ่งมั่นพัฒนาสินค้าและบริการของ

ของสำ�นัก งานสาธารณสุข ผลการประเมินอยู่ใน

ตนเองให้มค ี ณ ุ ภาพได้มาตรฐานและเป็นทีย ่ อมรับ ใน

ระดับดีเยี่ยม

ระดับสากลรวมถึงทำ�ให้ผู้นำ�เข้าและผู้ซื้อจากต่าง

•• โรงงานจั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ได้ รั บ รางวั ล

ประเทศเพิ่มความเชื่อมั่นต่อผู้ส่งออกของไทยที่ได้

สถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และ

รับรางวัลอีกด้วย

สวัสดิการแรงงานเป็นปีที่ 6 ติดต่อกัน จากอธิบดี

•• “ทิปโก้” เป็นแบรนด์น้ำ�ผลไม้แบรนด์แรกของโลกทีไ่ ด้

กรมสวั ส ดิ ก ารและคุ้ ม ครองแรงงาน และรางวั ล

รับการยกย่องให้เป็น “Brand of the Year” ใน

สถานประกอบการดี เ ด่ น ด้ า นความปลอดภั ย ใน

การประกวดเวิลด์ แบรนดิง อวอร์ด 2016 (World

การทำ�งาน ระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการและ

Branding Award 2016) จากเวิ ล ด์ แ บรนดิ ง

คุ้มครองแรงงาน

ฟอรัม (World Branding Forum) โดยรางวัล เวิลด์แบรนดิงอวอร์ดเป็นรางวัลทีม ่ อบให้แก่องค์กร ทีป ่ ระสบความสำ�เร็จในการสร้างแบรนด์ ทัง ้ ในระดับ นานาชาติและระดับประเทศ ซึ่งจัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง


46

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ธุรกิจผลไม้แปรรูป

(Diced) หรือ (Cubes) ในถุงดังกล่าว

ดำ�เนินการโดย บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้

•• ผลไม้ ร วม (Canned Tropical Fruit Salad)

ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ซึ่งประกอบด้วยผลิตภัณฑ์

บริ ษั ท ผลิ ต ผลไม้ ร วมส่ ง ออกไปขายต่ า งประเทศ

ดังนี้

ทั้งหมดบรรจุในกระป๋องขนาดต่าง ๆ ถึง 4 ขนาด

•• สับปะรดกระป๋อง (Canned Pineapple) บริษัท

คือ 15 ออนซ์ 20 ออนซ์ 30 ออนซ์ และ108 ออนซ์

สามารถผลิ ต สั บ ปะรดบรรจุ ใ นกระป๋ อ งขนาด

•• ผลไม้รวมบรรจุในถ้วยพลาสติก (Tropical fruit

ต่ า ง ๆ ถึ ง 5 ขนาด คื อ 8 ออนซ์ 15 ออนซ์ 20

salad in plastic cup) ขนาดบรรจุ 4 ออนซ์

ออนซ์ 30 ออนซ์ และ 108 ออนซ์ ชนิดต่าง ๆ เช่น

และ 7 ออนซ์

สับปะรดเต็มแว่น (Slice) สับปะรดชิน ้ ใหญ่(Chunk)

•• ว่ า นหางจระเข้ ก ระป๋ อ ง (Canned Aloe Vera)

สับปะรดลิ่ม (Tidbit) สับปะรดชิ้นคละ(Pieces)

ชนิดลูกเต๋า (Diced) ขนาด 15 ออนซ์ และ108 ออนซ์

สับปะรดลูกเต๋า(Diced) หรือ (Cubes) สับปะรด

•• ว่ า นหางจระเข้ บ ดละเอี ย ดบรรจุ ถุ ง ปลอดเชื้ อ

ชิน ้ ย่อย(Crushed)ให้เป็นไปตามมาตรฐานของผูน ้ ำ�

(Aseptic Crush) บริษัทผลิตว่านหางจระเข้บด

เข้ า และมาตรฐานสำ�นั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์

ละเอียดบรรจุถง ุ ปลอดเชือ ้ ขนาด 23 ลิตร และ 200

อุตสาหกรรม

ลิตร

•• น้ำ�สับปะรดเข้มข้น (Pineapple Juice Concen-

•• ผลิตภัณฑ์ กะทิ บรรจุในกระป๋องขนาด15 ออนซ์

trate) บริษท ั สามารถผลิตน้ำ�สับปะรดเข้มข้นบรรจุ

และ น้ำ�มะพร้าวบรรจุกระป๋อง240 มิลลิลิตรและ

ถุงชนิดแช่แข็ง (Frozen) ชนิดปลอดเชือ ้ (Aseptic)

520 มิลลิลิตร

และชนิดใส่สารกันบูด (Preservative ) บรรจุใน ถังเหล็กขนาด 200 ลิตร

ผลิตภัณฑ์หลักของธุรกิจผลไม้แปรรูป ได้แก่ สับปะรด

•• สับปะรดบดละเอียดบรรจุถุงปลอดเชื้อ (Aseptic

กระป๋อง และน้ำ�สับปะรดเข้มข้น นอกจากนีย ้ ง ั มีผลิตภัณฑ์

Crushed) บริษท ั ผลิตสับปะรดบดละเอียดบรรจุถง ุ

อืน ่ ๆทีส ่ ำ�คัญ ได้แก่ สับปะรดบดละเอียดและว่านหางจระเข้

ปลอดเชื้อขนาด 23 ลิตร และ 200 ลิตร

บดละเอียดบรรจุถุงปลอดเชื้อ ผลไม้รวมบรรจุกระป๋อง

•• สั บ ปะรดบรรจุ ใ นถ้ ว ยพลาสติ ก (Pineapple in plastic cup) ขนาดบรรจุ 4 ออนซ์ และ 7 ออนซ์

ว่านหางจระเข้บรรจุกระป๋อง น้ำ�มะพร้าวบรรจุกระป๋อง และกะทิคั้นสดบรรจุกระป๋อง

•• สับปะรดบรรจุในถุง retort pouch (Pineappple in retort pouch) บรรจุในถุงขนาด 1.5 กิโลกรัม

ธุรกิจคอนซุมเมอร์

และ 10 กิ โ ลกรั ม โดยสามารถบรรจุ สั บ ปะรดลิ่ ม

ดำ�เนินการโดย บริษท ั ทิปโก้ เอฟ แอนด์ บี จำ�กัด เป็นบริษท ั

(Tidbit) สับปะรดชิน ้ คละ(Pieces) สับปะรดลูกเต๋า

ย่อยร่วมทุน ระหว่าง บริษท ั กับ Suntory Beverage


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

& Foods Asia ซึ่งประกอบไปด้วยผลิตภัณฑ์ดังนี้ •• น้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผักพร้อมดื่ม ได้แก่ •• ทิ ป โก้ น้ำ � ผลไม้ 100% บรรจุ ใ นกล่ อ งขนาด 200 มิลลิลิตร และ 1 ลิตร

47

ธรรมชาติบรรจุขวด โดยปราศจากกระบวนการ ที่ใ ช้สารเคมี •• ชาพร้ อ มดื่ ม ซั น โทรี่ ที พ ลั ส เครื่ อ งดื่ ม ชาอู่ ห ลง โอทีพีพี บรรจุขวด PET500 มิลลิลิตรเป็นชาอู่หลง

•• ทิ ป โก้ เวจจี้ น้ำ � ผั ก ผสมน้ำ � ผลไม้ ร วม 100%

ยี่ห้อแรก และยี่ห้อเดียวในประเทศไทย ที่มี OTPP

บรรจุในกล่องขนาด 200 มิลลิลต ิ ร และ 1 ลิตร

( Oolong Tea Polymerized Polyphenols )

•• ทิปโก้ ซุปเปอร์คิด น้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผักผสมน้ำ�

มากกว่า 70 มิลลิกรัม ในทุกๆ รสชาติ OTPP มี

ผลไม้รวม 100% สำ�หรับเด็กบรรจุในกล่อง

ความสามารถป้องกันการดูดซึมไขมันเข้าสูร ่ า่ งกาย

ขนาด 110 มิลลิลิตร

เพราะเข้ า ไปขั ด ขวางขบวนการย่ อ ยไขมั น เอมไซน์

•• ทิปโก้ ซุปเปอร์ฟรุต เอสเซนส์ น้ำ�ทับทิมสกัดเข้ม

ไลเปสในลำ�ไล้เล็ก

ข้น และน้ำ�พรุนสกัดเข้มข้นผสมผลฟิกบรรจุใน กล่องขนาด 110 มิลลิลิตร

ธุรกิจสารสกัดและการเกษตร

•• ทิปโก้ สควีซ น้ำ�ผลไม้ และน้ำ�ผักผสมน้ำ�ผลไม้

ดำ�เนินการโดยบริษท ั ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำ�กัด ซึง ่ เป็นบริษท ั ย่อย

รวม 100% แบบพาสเจอร์ไรส์ บรรจุในกล่อง

•• ธุ ร กิ จ สารสกั ด ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ า นสารสกั ด จาก

300 มิลลิลิตร และ 1 ลิตร

ธรรมชาติ เพื่อนำ�มาเป็นวัตถุดิบ ส่วนประกอบของ

•• ทิ ป โก้ คู ล ฟิ ต น้ำ�ผั ก ผสมน้ำ�ผลไม้ ร วม 40%

อาหาร เครื่องดื่ม เครื่องสำ�อาง ผลิตภัณฑ์เสริม

บรรจุในกล่องขนาด 200 มิลลิลต ิ ร และ 1 ลิตร

อาหารและยา โดยโรงงานของบริษัท ทิปโก้ ไบโอ

•• ทิปโก้โปรไฟเบอร์ น้ำ�ผักผสมน้ำ�ผลไม้และใย

เท็ค จำ�กัด เป็นโรงงานสกัดสารจากพืชและสมุนไพร

อาหารรวม 100% ในขวดขนาด 300 มิ ล ลิ

ด้วยตัวทำ�ละลายขนาดใหญ่ทีส ่ ด ุ ของประเทศไทยซึง ่

ลิตรและ บรรจุในกล่องขนาด 1 ลิตร

มีประสิทธิภาพในการสกัดและระบบความปลอดภัย

• • น้ำ � แร่ ธ รรมชาติ ออรา บรรจุ ใ นขวดขนาด 300

ในระดับสูง โดยขอบเขตการให้บริการครอบคลุม

มิ ล ลิ ลิ ต ร 500 มิ ล ลิ ลิ ต ร และ 1.5 ลิ ต ร ผลิ ต

ตั้ ง แต่ ก ารจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ อบแห้ ง บดผงและผลิ ต

จากแหล่ ง น้ ำ � แร่ ธ รรมชาติ บนเทื อกเขาสูง 2,700

เป็นสารสกัด นอกจากนี้ บริษัทยังให้บริการพัฒนา

ฟุ ต จากระดั บ น้ ำ � ทะเล ที ่ ต.โป่ ง แยง อ.แม่ ริ ม

กระบวนการสกั ด ร่ ว มกั บ ลู ก ค้ า ครอบคุ ล มตั้ ง แต่

จ.เชียงใหม่ ลึกลงไปจากพื ้นดินใต้ภูเขา 297 ฟุต มี

ระดับทดลองในห้องปฏิบัติการตลอดจนผลิตจริง

แอ่งน้�ำ ขนาดใหญ่ท ีเ่ กิดขึน ้ เองตามธรรมชาติทีเ่ รียก

ในระดั บ อุ ต สาหกรรม บริ ษั ท ได้ ใ ห้ บ ริ ก ารรั บ จ้ า ง

ว่ า “น้ ำ � พุ เ ย็ น ” ซึ ่ ง มี เ พี ย งไม่ ก ี ่ แ ห่ ง ในโลกและเป็ น

สกัดสารจากพืชและสมุนไพรต่างๆเพื่อป้อนให้กับ

แหล่งเดียวในประเทศไทย ถูกนำ�มาผลิตเป็นน้ ำ�แร่

ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ โดยปัจจุบันสินค้าและ


48

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริการของบริษัท ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำ�กัด มี 2 รูป

•• Hi Fiber

แบบหลักคือ

•• Mega Smoothie

•• บริ ก ารรั บ จ้ า งสกั ด สารสกั ด จากพื ช และ สมุนไพรตามความต้องการของลูกค้าเพื่อใช้ เป็นส่วนประกอบของอาหาร ผลิตภัณฑ์เสริม อาหารเครื่องสำ�อางและยา (OEM) •• สกัดและจำ�หน่ายสารสกัดจากพืชและสมุนไพร เพือ ่ ใช้เป็นส่วนประกอบของอาหาร ผลิตภัณฑ์

•• Anti-Aging 2. ต้ น อ่ อ นข้ า วสาลี (Wheatgrass) ต้ น อ่ อ นข้ า ว สาลีคั้นสด 3. เครื่องดื่มกาแฟ (Mountain Beans) 4. อาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Meal) เช่น สลัด ซุป แซนวิช เป็นต้น

เสริมอาหารเครือ ่ งสำ�อางและยา (Ingredient)

5. สิ น ค้ า พิ เ ศษ (Special Goods) เช่ น Happy

•• ธุ ร กิ จ การเกษตร ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ า นการวิ จั ย และ

yoghurt (โยเกิร์ตพร้อมดื่ม), Happy Soya (นม

พัฒนาพันธุพ ์ ชื และการเพาะปลูก โดยผลิตภัณฑ์หลัก

ถั่วเหลืองเข้มข้น)

ได้แก่ สับปะรดสดพันธุ์หอมสุวรรณ ที่มีเอกลักษณ์

โดย ณ สิ้นปี 2559 Squeeze Juice Bar มีจำ�นวน

ด้านรสชาติและคุณค่าทางอาหารทีเ่ กิดจากการวิจย ั

สาขาทั้งสิ้น 58 สาขา นอกจากนี้ร้าน Squeeze ยัง

และพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยจั ด จำ�หน่ า ยในห้ า ง

เป็นจุดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัทในเครือ เช่น น้ำ�ผล

สรรพสินค้าชั้นนำ�ทั่วไป ร้าน Squeeze Juice

ไม้ ทิ ป โก้ สั บ ปะรดสดพั น ธุ์ ห อมสุ ว รรณ เป็ น ต้ น ธุ ร กิ จ

Bar by Tipco และร้าน Homsuwan Pina Pina

ของ Squeeze ยังครอบคลุมไปถึงการให้บริการของ ว่าง (Snack Box) สำ�หรับงานจัดเลี้ยงและของว่างบน

ธุรกิจค้าปลีก ดำ�เนินการโดย บริษัท ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด เป็นบริษัทย่อย เป็ น การร่ ว มทุ น กั น ระหว่ า ง บริ ษั ท ทิ ป โก้ ฟู ด ส์ จำ�กั ด (มหาชน) กับ บริษท ั ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจ ค้าปลีก ภายใต้ตราสัญญลักษณ์ “Squeeze Juice Bar by Tipco” ประกอบไปด้วยผลิตภัณฑ์ดังนี้ 1. เ ค รื่ อ ง ดื่ ม ส มู ต ตี้ ( S m o o t h i e ) น้ำ � ผ ล ไ ม้ ปั่ น ส ด โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ เ ติ ม น้ำ � ต า ล ห รื อ น้ำ � เ ชื่ อ ม แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ •• Super fruit

รถโดยสาร เป็นต้น


49

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑ์ หรือบริการให้บุคคลภายนอก ในระยะ 3 ปี (หน่วย : ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์/

ดำ�เนินการโดย

บริการ

% การ

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ถือหุน ้ ของบริษท ั

%

รายได้

%

รายได้

%

34%

1,863

40%

2,394

45%

3,502

64%

2,670

57%

2,788

53%

อืน ่ ๆ

117

2%

145

3%

91

2%

รวม

5,507

100%

4,678

100%

5,273

100%

ผลิตภัณฑ์จากพืชผัก

บมจ.ทิปโก้ฟด ู ส์

และผลไม้

บจ.ทิปโก้ ไบโอเทค

เครือ ่ งดืม ่ *

บจ.ทิปโก้ รีเทล

75

บ จ . ทิ ป โ ก้ เ อ ฟ

50

100

รายได้

1,888

แอนด์บี

* หมายเหตุ รายได้จากเครื่องดื่มในปี 2558 และ 2559 มีการบันทึกบัญชีแบบ Net Sale ซึ่งจะนำ�ค่าใช้จ่ายในการขายบางส่วนมา หักจากรายได้

การเปลี่ยนแปลงในปีที่ผ่านมา

ผ่านมาทำ�ให้ราคาสับปะรดยังทรงตัวในระดับสูง อย่างไร ก็ตามความต้องการสับปะรดกระป๋อง ของตลาดทั่วโลก

ธุรกิจผลไม้แปรรูป

ยังคงมีอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงเป็นผลให้

ในปี 2559 ที่ผ่านมาสภาวะปริมาณวัตถุดิบหลักอย่าง

ราคาจำ�หน่ายสับปะรดกระป๋องและผลิตภัณฑ์เกีย ่ วเนือ ่ ง

สั บ ปะรดทั้ ง ในประเทศไทยและภู มิ ภ าคอื่ น ๆของโลกยั ง

ต่างๆ ปรับตัวสูงขึน ้ นอกจากนัน ้ บริษท ั ยังให้ความสำ�คัญ

ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด โดยเฉพาะอย่าง

กับกระบวนการจัดหาวัตถุดบ ิ ทีใ่ ห้ความสำ�คัญกับปริมาณ

ยิ่งในประเทศไทยที่ประสบกับกับสภาวะภัยแล้งในช่วงปีที่

และคุณภาพผ่านทางเกษตรพันธะสัญญารูปแบบต่างๆ


50

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รวมทัง ้ การควบคุมต้นทุนและการเพิม ่ ประสิทธิภาพในการ

ธุรกิจค้าปลีก

ผลิต เป็นผลให้การดำ�เนินงานของธุรกิจผลไม้แปรรูปของ

ธุรกิจค้าปลีกของกลุม ่ บริษท ั มีการขยายตัวทัง ้ ในด้านของ

บริษัทมีการพลิกฟื้นจากปีก่อนหน้าอย่างชัดเจน

จำ�นวนสาขาและการเริ่มธุรกิจใหม่ โดยร้าน Squeeze Juice Bar มีการเปิดสาขาใหม่ 6 สาขา ได้แก่ อาคาร

ธุรกิจคอนซูมเมอร์

ยู เฮ้ า ส์ , ฟิ ต เนส เฟริ ส ท์ พระราม 3, เดอะ ไนน์ , ท่ า

ตลาดน้ำ�ผลไม้แบบ Premium ในประเทศไทยปี 2559 มี *

มูลค่าตลาดประมาณ 5,200 ล้านบาท เติบโตจากปีกอ ่ น

อากาศยาน ดอนเมือง, ฟิตเนส เฟริสท์ บางนา และ The Jas รามอินทรา

หน้าประมาณ 7 % โดยแบรนด์ทป ิ โก้ยง ั คงเป็นผูน ้ ำ�ในด้าน ส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 และมีการผลิตใหม่เพื่อตอบ

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขัน

สนองความต้องการของผูบ ้ ริโภค เช่น Tipco Season’s Best และ Tipco Plus เป็นต้น ในขณะที่ตลาดน้ำ�แร่ปี

ธุรกิจผลไม้แปรรูป

2559 มีมูลค่าตลาดประมาณ 3,888 ล้านบาท* เติบโต

ความยากลำ�บากของอุตสาหกรรมสับปะรดของไทยยัง

จากปีกอ ่ นหน้าประมาณ 15% โดยน้ำ�แร่ ออราของบริษท ั

คงดำ�เนินต่อเนือ ่ งมาถึงปี พ.ศ. 2559 สืบเนือ ่ งจากสภาวะ

มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 26% สำ�หรับตลาดชาเพื่อ

ภัยแล้งอย่างรุนแรง นอกจากปริมาณวัตถุดบ ิ ทีไ่ ม่สามารถ

*

สุขภาพในปี 2559 มีมล ู ค่าประมาณ 400 ล้านบาท โดย

เพิม ่ กลับขึน ้ มาสูภ ่ าวะสมดุลย์กบ ั ความต้องการในการผลิต

เครือ ่ งดืม ่ ชาอูห ่ ลงทีพลัสมีสว ่ นแบ่งการตลาดประมาณ 18%

แล้ว ผลกระทบที่ตามมาที่สำ�คัญได้แก่ราคาผลสับปะรด ที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างเป็นประวัติการณ์และคุณภาพของ

ธุรกิจสารสกัดและการเกษตร

วัตถุดบ ิ ในประเด็นของคุณภาพวัตถุดบ ิ โดยเฉพาะประเด็น

ในปี 2559 บริษัท ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำ�กัด ได้เริ่มดำ�เนิน

สารไนเตรทตกค้างในผลสับปะรด ทีส ่ ง ่ ผลกระทบต่อเนือ ่ ง

การเชิ ง พาณิ ช ย์ สำ � หรั บ สารสกั ด ชนิ ด ใหม่ ใ ห้ แ ก่ ลู ก ค้ า

ทำ�ให้ปริมาณวัตถุดบ ิ ทีอ ่ อกมาน้อยจะต้องถูกคัดออกจาก

ต่างประเทศ ได้แก่ ใบกฤษณา (Agarwood) และได้รบ ั คำ�

ระบบไปอีกส่วนหนึง ่ ทำ�ให้ราคาวัตถุดบ ิ คงอยูใ่ นระดับทีส ่ ง ู

สั่งซื้อสำ�หรับปีต่อๆไปด้วย นับเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์

มากอย่างต่อเนื่องจนถึงปลายปี พ.ศ. 2559

ใหม่ทส ี่ ำ�คัญอีกครัง ้ ในส่วนของธุรกิจการเกษตร สับปะรด หอมสุวรรณ ยังมียอดขายเติบโตอย่างต่อเนื่องและเริ่มมี

ผลด้านบวกจากสถานะการณ์ดง ั กล่าวทำ�ให้ผผ ู้ ลิตสับปะรด

การส่งออกสับปะรดหอมสุวรรณแช่ แ ข็ ง แบบ IFQ ไปยัง

ซึง ่ ถูกราคาวัตถุดบ ิ ดังกล่าวกดดัน ต้องปรับราคาขายขึน ้

ตลาดต่างประเทศครั้งแรกและได้รับการตอบรับอย่างดี

สูงอย่างเป็นประวัติการณ์เช่นกัน โดยเฉพาะราคาของน้ำ�

รวมทัง ้ การสร้างประสบการณ์แบรนด์หอมสุวรรณให้แก่

สับปะรดเข็มข้น มีการปรับตัวสูงขึน ้ ถึงเกือบ 4000 usd/

ผู้บริโภคผ่านร้าน Homsuwan Pina Pina

ton ในปีทผ ี่ า่ นมา เมือ ่ เทียบกับราคาในช่วงเวลาปกติทอ ี่ ยู่

* ที่มา Nielsen Report


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

51

ระหว่าง 1000 – 1500 usd/ton อย่างไรก็ตามผลบวก

บริษัทได้รับประโยชน์ทั้งในแง่ปริมาณและความต่อ

นี้เป็นประโยชน์เฉพาะในระยะสั้น เนื่องจากการที่ราคาน้ำ�

เนือ ่ งของวัตถุดบ ิ ต้นทุนการขนส่งทีต ่ ่ำ�กว่า และการ

สับปะรดเข้มข้นที่ปรับสูงขึ้นอย่างรุนแรง ส่งผลต่อเนื่อง

ควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ

ให้ผน ู้ ำ�เข้าและผูผ ้ ลิตน้ำ�ผลไม้โดยเฉพาะในทวีปยุโรปทำ�การ

3. ความหลากหลายของสินค้า บริษท ั มีความสามารถ

ปรับสูตรการใช้น้ำ�สับปะรดเข้มข้นให้ลดลงหรือตัดสินใจใน

ในการผลิตสับปะรดกระป๋องได้หลากหลายทั้งใน

การถอดรายการสินค้าออกจากชัน ้ วางจำ�หน่าย ในระยะ

แง่ของขนาดกระป๋องที่ใช้บรรจุ ประเภทการตัดชิ้น

ยาวผูผ ้ ลิตของไทยอาจจะต้องเผชิญกับภาวะความต้องการ

สั บ ปะรด และน้ำ�ที่ ใ ช้ บ รรจุ ซึ่ ง ทำ�ให้ ส ามารถตอบ

น้ำ�สับปะรดเข้มข้นถดถอยอย่างมีนัยสำ�คัญ

สนองความต้องการของตลาดต่างๆได้ครอบคลุม ทั่วทุกภูมิภาคซึ่งมีความต้องการแตกต่างกันไป

สำ�หรับในปี พ.ศ. 2560 คาดว่าประเทศไทยจะพ้นจากสภาพ

4. คุณภาพของสินค้า จากมาตรฐานต่างๆที่บริษัทได้

การเผชิญกับภัยแล้งอย่างรุนแรง มีการประเมินว่าผลผลิต

รับการรับรองจากหน่วยงานที่เป็นที่ยอมรับระดับ

สับปะรดจะค่อยๆเพิ่มขึ้นจนถึงในสภาวะสมดุลย์กับความ

นานาชาติ และชื่อเสียงที่บริษัทได้สั่งสมมาเป็นระยะ

ต้องการของโรงงาน และคาดการณ์ว่าราคาวัตถุดิบจะ

เวลายาวนานเป็นเครื่องรับประกันถึงคุณภาพของ

มีการปรับลงอย่างต่อเนื่องเช่นกัน

สินค้าและบริการของบริษัทได้เป็นอย่างดี

กลยุทธ์ทางการตลาด

ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย

กลยุทธ์ในการแข่งขันโดยสังเขป

ผู้นำ�เข้ารายใหญ่ในต่างประเทศต่าง ๆ ตัวแทนจำ�หน่าย

ความได้เปรียบในการแข่งขันของบริษัท ได้แก่

Supermarket chain และ Blending House สำ�หรับ

1. ฐานลูกค้าของบริษท ั ซึง ่ ส่วนใหญ่เป็นลูกค้าทีม ่ ก ี าร

น้ำ�สับปะรดเข้มข้น

ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งยาวนาน โดยครอบคลุมทุกกลุม ่ ไม่วา่ จะเป็นผูน ้ ำ�เข้า ซุปเปอร์

ตลาดหลักของการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์

มาเก็ต ร้านค้าขายปลีก ผู้ผลิตอาหารและธุรกิจให้

ในเชิงภูมิศาสตร์ ตลาดหลักของบริษัทสามารถแบ่งออก

บริการด้านอาหาร

ได้เป็น 4 ภูมิภาคหลัก

2. ฐานชาวไร่ ทีไ่ ห้การสนับสนุนการผลิตของบริษท ั มา

1. ทวีปอเมริกา รวมถึงประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา

อย่างต่อเนื่องยาวนานเช่นกัน ซึ่งชาวไร่ส่วนใหญ่

และกลุม ่ ประเทศในแถบลาตินอเมริกา โดยมีประเทศ

มี แ หล่ ง เพาะปลู ก สั บ ปะรดอยู่ ใ กล้ กั บ โรงงานของ

สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศคู่ค้าที่มีมูลค่าสูงสุดของ

บริ ษั ท โดยส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ภ ายใต้ ร ะบบ Contract

บริษัท ซึ่งมีมูลค่าการจำ�หน่ายประมาณร้อยละ 35

Farming, Big Grower, Quality Grower ทำ�ให้

ของปริมาณการส่งออกของบริษท ั ในแต่ละปีในอดีต


52

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทเคยมีความได้เปรียบทางการค้าในประเทศ

ศักยภาพ เนื่องจากมีรายได้ต่อประชากรที่สูงและ

สหรั ฐ อเมริ ก าเนื่ อ งจากระบบภาษี ทุ่ ม ตลาดของ

มี ค วามต้ อ งการในการบริ โ ภคสั บ ปะรดกระป๋ อ ง

กระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐอเมริกาที่มีต่อบริษัท

เนื่ อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ในยุ โ รปและยุ โ รปตะวั น

ทั่วไป แต่จากการยกเลิกภาษีทุ่มตลาดดังกล่าวใน

ออกมีความซบเซาลงเนื่องจากปัญหาความขัดแย้ง

ปีพ.ศ.2547 ทำ�ให้ ก ารแข่ ง ขั นในตลาดดั ง กล่า วมี

ระหว่างประเทศ ส่งผลกระทบต่อกำ�ลังซือ ้ และความ

ความรุนแรงมากขึ้น

ต้องการบริโภคในตลาดดังกล่าว กลุ่มประเทศใน

2. ทวี ป ยุ โ รป และกลุ่ ม ประเทศยุ โ รปตะวั น ออก และ

ตะวันออกกลางจึงเป็นเป้าหมายทางการตลาดที่

สหพันธรัฐรัสเชีย การจำ�หน่ายสินค้าของบริษท ั ไปยัง

ผู้ประกอบการทั้งหมดพยายามที่จะขยายเข้าไปเพื่อ

กลุ่มประเทศดังกล่าวมีสัดส่วนเป็นอันดับสองรอง

ทดแทนส่วนการตลาดที่หดหายจากกลุ่มประเทศ

จากประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีสัดส่วนประมาณ

ยุโรปและยุโรปตะวันออก

ร้อยละ 30 ของแต่ละปี ตลาดกลุ่มนี้เป็นตลาดหลัก สำ � หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ำ � สั บ ปะรดเข้ ม ข้ น ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่

ธุรกิจคอนซูมเมอร์

เป็นการจำ�หน่ายให้กับ Blending houses ต่างๆ

ตลาดน้ำ � ผลไม้ แ ละน้ำ � ผั ก พร้ อ มดื่ ม ของประเทศไทยใน

ในกลุ่มประเทศยุโรป ในส่วนสับปะรดกระป๋องกลุ่ม

ปี 2559 มีมูลค่าทั้งหมดประมาณ 13,836 ล้านบาท*

ตลาดนีเ้ ป็นกลุม ่ ทีม ่ ค ี วามอ่อนไหวต่อราคามากทีส ่ ด ุ

สามารถจำ�แนกตามคุ ณ ลั ก ษณะของสิ น ค้ า ออกเป็ น 5

ส่ ว นหนึ่ ง เนื่ อ งจากสามารถยอมรั บ คุ ณ ภาพของ

ประเภท

สินค้าได้หลากหลายทำ�ให้มผ ี ผ ู้ ลิตทีส ่ ามารถจำ�หน่าย เข้าไปในตลาดนีม ้ จ ี ำ�นวนมากและหลากหลายเช่นกัน 3. ทวีปเอเชีย รวมถึงออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ลูกค้า ในกลุ่ ม นี้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ลู ก ค้ า ญี่ ปุ่ น มี ค วาม ต้ อ งการสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง และทำ � การค้ า โดย อาศัยความเชื่อใจต่อกันเป็นอย่างมาก มีมูลค่าการ

•• ตลาดน้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผัก 100 % (Premium market)โดยมีมูลค่าการตลาดอยู่ ร้อยละ 38 •• ตลาดน้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผัก 40% (Medium market) โดยมีมูลค่าการตลาดอยู่ ร้อยละ 9 •• ตลาดน้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผัก 25% (Economy market) โดยมีมูลค่าการตลาดอยู่ ร้อยละ 12

ค้าในแต่ละปีประมาณร้อยละ20 สำ�หรับประเทศ

•• ตลาดน้ำ � ผลไม้ แ ละน้ำ � ผั ก ต่ำ � กว่ า 25% (Super

เกาหลี ปั จ จุ บั น เป็ น ลู ก ค้ า หลั ก สำ � หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์

Economy market ) โดยมีมูลค่าการตลาดอยู่

ว่านหางจระเข้บดละเอียดบรรจุถุงปลอดเชื้อซึ่งมี

ร้อยละ27

ยอดสั่งซื้ออย่างต่อเนื่อง 4. กลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง ปัจจุบันมีสัดส่วน ป ร ะม าณ ร้ อ ย ล ะ 7 * ที่มา Nielsen Report

นั บว่ า เ ป็ น อี ก ต ล าดที่ มี

•• ตลาดน้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผักอืน ่ ๆ เช่น น้ำ�ลำ�ไย น้ำ�ตาลสด (Other market) โดยมีมล ู ค่าการตลาดอยู่ ร้อยละ 14 ตลาดของน้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผักยังสามารถแบ่งประเภทแบบ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ตามลักษณะการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ได้อีกสอง แบบ คือ

53

กลยุทธ์ในการแข่งขันโดยสังเขป

แบบที่สามารถเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องและมีอายุประมาณ

1. ผลิ ต สิ น ค้ า ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ของตลาดและรั ก ษา

6-12 เดือนหรือทีเ่ รียกว่า UHT และแบบทีม ่ อ ี ายุประมาณ

มาตรฐานของสินค้าทั้งในด้านคุณภาพและรสชาติ

30-45วัน และต้องเก็บไว้ในตู้แช่หรือที่เรียกว่า Pas-

อย่างต่อเนื่อง

teurized

2. ความหลากหลายของสินค้าเพือ ่ สนองความต้องการ ของลูกค้าอย่างเต็มที่บริษัทมีการวิจัยและพัฒนา

ในปี 2559 อั ตราการเติ บโตของตลาดน้ำ�ผลไม้และน้ำ�

ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ๆ เพือ ่ ตอบสนองความ

ผักพร้อมดื่มอยู่ที่ประมาณร้อยละ 1* บริษัท ทิปโก้ เอฟ

ต้องการของผู้บริโภค

แอนด์ บี จำ�กัด ยังคงรักษาความเป็นผู้นำ�ส่วนแบ่งตลาด

3. จัดทำ�กิจกรรมทางการตลาดสม่ำ�เสมอ เพือ ่ เป็นการ

ในตลาดน้ำ�ผลไม้ 100% โดยเน้นการสร้างคุณค่าของตรา

รั ก ษาสั ม พั น ธภาพกั บ ลู ก ค้ า ตลอดจนสร้ า งความ

ผลิตภัณฑ์ คุณภาพทีค ่ ด ั สรรของวัตถุดบ ิ และกระบวนการ

จดจำ�ในยีห ่ อ ้ และความต้องการสินค้าในครัง ้ ต่อ ๆ ไป

ผลิต ทีใ่ ห้คณ ุ ประโยชน์ ต่อสุขภาพของผูบ ้ ริโภคเป็นสำ�คัญ

4. วางแผนจัดซื้อวัตถุดิบ การผลิตสินค้าและการเก็บ

รวมถึ ง การพั ฒ นาและออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ เพื่ อ เพิ่ ม

สินค้าคงคลังให้สอดคล้องกับความต้องการของ

ส่วนแบ่งการตลาด นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการขยายฐาน

ตลาด

ตลาดของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มน้ำ�ผลไม้และน้ำ�ผักไปยัง ประเทศต่างๆในภูมิภาคเอเชีย เช่น เกาหลีใต้ จีน อินโดนี เชีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น

5. มี ก า ร บ ริ ห า ร ต้ น ทุ น ด้ า น ก า ร ผ ลิ ต อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพเพื่อดำ�รงสถานภาพของการแข่งขัน 6. สามารถกระจายสิ น ค้ า ได้ ทั่ ง ถึ ง และมี ร ะบบการ หมุนเวียนสินค้าให้สดใหม่อยู่เสมอ

ตลาดน้ำ�แร่ ในปี 2559 มี มู ลค่ า ประมาณ 3,888 ล้า น บาท* มีอัตราการเติบโตสูงถึงร้อยละ 15 โดยหลังจากที่

ตลาดหลักของการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์

บริษัทฯได้ขยายกำ�ลังการผลิต ออรา เพิ่มขึ้น เพื่อรองรับ

สำ�หรับการขายในประเทศการสามารถแบ่งได้เป็นสอง

กับการเติบโตของตลาดตั้งแต่ปี 2557 ทำ�ให้ออรามีการ

ส่วนด้วยกันคือ การจัดจำ�หน่ายผ่านผูแ้ ทนจำ�หน่าย (Dis-

เติบโตอย่างแข็งแกร่งทัง ้ ในด้านยอดขายและส่วนแบ่งการ

tributor) ซึ่งเป็นช่องทางจัดจำ�หน่ายหลัก ส่วนอีกทาง

ตลาด สำ�หรั บ ตลาดชาเพื่ อ สุ ข ภาพในปี 2559 มี มู ล ค่ า

คื อ ทางบริ ษั ท เป็ น ผู้ ข ายเองตามช่ อ งทางการออกร้ า น

ประมาณ 400 ล้านบาท

*

จำ � หน่ า ยสิ น ค้ า และช่ อ งทางจำ� หน่ า ยพิ เ ศษ ในส่ ว นของ ตลาดต่างประเทศนั้นมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วจาก การที่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องบริ ษั ท ได้ รั บ การตอบรั บ ที่ ดี โดย ตลาดต่างประเทศที่สำ�คัญได้แก่ ทวีปเอเซียและแอฟริกา

* ที่มา Nielsen Report


54

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ธุรกิจสารสกัดและการเกษตร

ตา ทำ�ให้ผู้บริโภคสามารถซื้อเป็นผลสดและกลับไป

•• ธุรกิจสารสกัด : แนวโน้มของการให้ความสำ�คัญ

ปอกเองที่บ้านได้ โดยสับปะรดหอมสุวรรณมียอด

ด้ า นสุ ข ภาพ และ ความงามเพิ่ ม สู ง ขึ้ น และตลาด

ขายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่เริ่มเข้าสู่ตลาดใน

ผลิตภัณฑ์ สินค้าและบริการด้านสุขภาพและความ

ช่วง 4 ปีที่ผ่านมา

งามภายในประเทศ มีการเติบโตสูงในช่วงหลายปี

ธุรกิจค้าปลีก

ที่ ผ่ า นมา นั บ เป็ น โอกาสสำ�หรั บ บริ ษั ท ทิ ป โก้ ไบ

ธุรกิจค้าปลีกประเภทอาหารและเครือ ่ งดืม ่ ในประเทศไทย

โอเทค จำ�กัด ที่จะสร้างอัตราการเติบโตของยอด

ยังมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันแนวโน้ม

ขายจากธุ ร กิ จ การสกั ด สารจากพื ช และสมุ น ไพร

พฤติกรรมผูบ ้ ริโภคเริม ่ เปลีย ่ นแปลงไปจากเดิม โดยกระแส

ต่างๆ เพื่อเป็นวัตถุดิบให้กับผู้ผลิตอาหาร เครื่อง

การดูแลห่วงใยสุขภาพ และความปลอดภัยของผู้บริโภค

ดื่ ม อาหารเสริ ม เครื่ อ งสำ � อาง และ ยา ภายใน

ได้รับความนิยมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จาก

ประเทศ ขณะเดี ย วกั น ยั ง มุ่ ง เน้ น การสร้ า งความ

ความนิ ย มในอาหาร ประเภทออแกนิ ก ส์ หรื อ คลี น ฟู้ ด

ร่วมมือกับพันธมิตร และ คู่ค้าจากต่างประเทศ ที่

(อาหารที่ ผ่ า นกระบวนการปรุ ง แต่ ง น้ อ ยที่ สุ ด ) ธุ ร กิ จ

มีความต้องการวัตถุดิบจากสารสกัดจากพืชและ

ค้าปลีกของกลุ่มบริษัทเล็งเห็นถึงแนวโน้มดังกล่าวและ

สมุนไพรทีม ่ เี ฉพาะพืน ้ ทีบ ่ างชนิด หรือมีตน ้ ทุนต่ำ�กว่า

นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อสุขภาพของผู้บริโภค

•• ธุ ร กิ จ การเกษตร : ในแต่ ล ะปี ป ระเทศไทยบริ โ ภค สั บ ปะรดสดประมาณปี ล ะ300,000 ตั น ซึ่ ง ส่ ว น

ร้าน Squeeze Juice Bar นอกจากจะมีน้ำ�ผลไม้ปั่น

ใหญ่เป็นสับปะรดพันธุป ์ ต ั ตาเวีย (สับปะรดศรีราชา)

ซึง ่ เป็นผลิตภัณฑ์หลักทีไ่ ด้รบ ั การยอมรับจากผูบ ้ ริโภคมา

สำ�หรับสับปะรดพันธุ์หอมสุวรรณของบริษัท ทิปโก้

ยาวนานแล้ว Squeeze Juice Bar มีผลิตภัณฑ์อาหาร

ไบโอเท็ค จำ�กัด มีคณ ุ ลักษณะทีแ่ ตกต่างจากสับปะรด

และเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพใหม่ๆนำ�เสนออย่างต่อเนื่องและ

ทัว ่ ไป ในด้านความหอม หวาน เนือ ้ แน่นนุม ่ ไม่กด ั

มีสัดส่วนรายได้จากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเพื่อขึ้นอย่างต่อ

ลิน ้ มีวต ิ ามินสูงกว่าสับปะรดทัว ่ ไป เป็นเอกลักษณ์

เนื่อง ร้านอาหาร August Organic Eatery เป็นร้าน

ที่โดดเด่นในท้องตลาด และไม่ได้ตัดแต่งพันธุกรรม

อาหารแนว Organic Fusion เพือ ่ ตอบสนองกลุม ่ คนรัก

ทำ�ให้เป็นที่ชื่นชอบของผู้บริโภค แม้ราคาจะค่อนข้าง

สุขภาพที่ชื่นชอบอาหารรสชาติจัดจ้าน โดยมีเมนูที่หลาก

สูงเมื่อเทียบกับคู่แข่งในตลาด เนื่องจากสับปะรด

หลายจากวัตถุดบ ิ Organic และวัตถุดบ ิ ทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพจาก

หอมสุวรรณต้องมีการดูแลอย่างดีเพือ ่ ให้ผลผลิตที่

แหล่งต่างๆ ร้าน Homsuwan Pina Pina เป็นร้านขนม

ได้มค ี ณ ุ ภาพดีกว่าสับปะรดทัว ่ ๆ ไป ลักษณะเปลือก

ของว่างและเครื่องดื่มที่เมนูเกือบทั้งหมดพัฒนาจากสับ

ทีบ ่ างทำ�ให้ตอ ้ งเก็บเกีย ่ วและคัดบรรจุอย่างพิถพ ี ถ ิ น ั

ประรดพันธุ์หอมสุวรรณ โดยมีจุดเด่นที่รสชาติอันเป็น

เพื่อมิให้ช้ำ�เสียหาย ซึ่งต้องใช้แรงงานจำ�นวนมาก

เอกลักษณ์เฉพาะตัวของสับปะรดพันธุ์หอมสุวรรณ และ

แต่ก็เป็นข้อดีต่อผู้บริโภคคือ ปอกง่าย ไม่ต้องควั่น

คัดสรรเป็นเมนูที่หลากหลาย


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

55

คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะ การเงินและผลการดำ�เนินงาน ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี ปี 2559 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายและการให้บริการรวม 5,273.21 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 595.70 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.74 โดยมีกำ�ไรก่อนส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงิน และภาษีเงินได้เพิ่มขึ้นเป็น 80.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 47.05 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 140.07 อย่างไรก็ตามในปีนี้ ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมลดลงเหลือ 740.75 ล้านบาท ลดลง 475.42 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 39.09 ส่งผลให้กำ�ไรสุทธิในส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ลดลงเหลือ 813.64 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนหน้า 374.83 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 31.54 เป็นผลให้ในปีนี้กำ�ไรต่อหุ้นปรับลดลงเหลือ 1.69 บาทต่อหุ้น จาก 2.46 บาทต่อ หุ้นในปีที่ผ่านมา การวิเคราะห์รายได้ การวิเคราะห์รายได้จากการขายและบริการ รายได้จากการขายและการให้บริการจำ�แนกตามส่วนงานธุรกิจ รายได้ จ ากการขายและ การให้บริการ จำ�แนกตาม ส่วนงานธุรกิจ (พันบาท)

ปี 2559 รายได้

หน่วย : พันบาท ปี 2558

% ของ

รายได้

รายได้รวม

การเปลีย ่ นแปลง % ของ

2559/2558

รายได้รวม

2,393,617.42

45.39%

1,863,736.10

39.85%

28.43%

2,787,646.90

52.87%

2,669,548.24

57.07%

4.42%

อื่นๆ

91,942.35

1.74%

144,223.29

3.08%

-36.25%

รวม

5,273,206.67

100.00%

4,677,507.63

100.00%

12.74%

ผลิตภัณฑ์จากพืช ผัก และ ผลไม้ เครื่องดื่ม


56

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

สัดส่วนรายได้จำ�แนกตามส่วนงานธุรกิจ ในปี 2559 ร้อยละ 52.86 ของรายได้จากการขายและการให้บริการของบริษัทฯมาจากธุรกิจเครื่องดื่ม น้ำ�ผลไม้ และน้ำ�ผักตราทิปโก้ น้ำ�แร่ธรรมชาติ ออรา และเครื่องดื่มชาอูหลง Tea+ หากเปรียบเทียบรายได้ธุรกิจเครื่องดื่ม กับปี 2558 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.42 ในส่วนของรายได้จากผลิตภัณฑ์จากพืช ผัก และผลไม้มีสัดส่วนร้อยละ 45.39 โดยผลิตภัณฑ์หลักคือ สับปะรดบรรจุกระป๋อง ว่านหางจระเข้บรรจุกระป๋อง น้ำ�มะพร้าวบรรจุกระป๋อง สับปะรดสด หอมสุวรรณ ซึ่งหากเปรียบเทียบรายได้ที่มาจากผลิตภัณฑ์จากพืช ผัก และผลไม้ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อย ละ28.43 จากการปรับราคาขายให้สูงขึ้นตามสภาวะต้นทุนวัตถุดิบ และปริมาณยอดสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้น รายได้จากการขายและการให้บริการจำ�แนกตามส่วนงานภูมิศาสตร์ รายได้ จ ากการขายและ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร จำ � แ น ก ตามส่ ว นงานภู มิ ศ าสตร์

ปี 2559 รายได้

หน่วย : พันบาท ปี 2558

%

รายได้

การเปลีย ่ นแปลง %

2559/2558

(พันบาท) ต่างประเทศ

2,648,229.89

50.22%

2,201,607.13

47.07%

20.29%

ในประเทศ

2,624,976.78

49.78%

2,475,900.50

52.93%

6.02%

รวม

5,273,206.67

100.00%

4,677,507.63

100.00%

12.74%

สัดส่วนรายได้จำ�แนกตามส่วนงานภูมิศาสตร์ ในปีนี้ บริษัทมีรายได้จากการขายและการให้บริการเพิ่มขึ้นทั้งจากการขายสินค้าในประเทศและในต่างประเทศ โดย รายได้จากการขายในประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 2,624.98 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 149.08 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.02 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของยอดขายในธุรกิจเครื่องดื่ม ในส่วนของรายได้จากการขายสินค้าต่างประเทศ เพิ่มขึ้นเป็น 2,648.23 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 446.62 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.29 โดยมีสาเหตุหลักมาจากยอด จำ�หน่ายผลไม้แปรรูปที่เพิ่มขึ้น


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

57

คำ�อธิบายสถานการณ์รายได้ตามประเภทธุรกิจ ธุรกิจผลไม้แปรรูป ในปี 2559 ที่ผ่านมาสภาวะปริมาณวัตถุดิบหลักอย่างสับปะรดทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคอื่นๆของโลกยังไม่เพียง พอต่อความต้องการของตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทยที่ประสบกับกับสภาวะภัยแล้งในช่วงปีที่ผ่านมาทำ�ให้ ราคาสับปะรดยังทรงตัวในระดับสูง อย่างไรต้องการความต้องการสับปะรดกระป๋อง ของตลาดทั่วโลกยังคงมีอยู่ใน ระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงเป็นผลให้ราคาจำ�หน่ายสับปะรดกระป๋องและผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่องต่างๆ ปรับตัวสูง ขึ้น นอกจากนั้นบริษัทยังให้ความสำ�คัญกับกระบวนการจัดหาวัตถุดิบที่ให้ความสำ�คัญกับปริมาณและคุณภาพผ่าน ทางเกษตรพันธะสัญญารูปแบบต่างๆ รวมทั้งการควบคุมต้นทุนและการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เป็นผลให้การ ดำ�เนินงานของธุรกิจผลไม้แปรรูปของบริษัทมีการผลิกฟื้นจากปีก่อนหน้าอย่างชัดเจน ธุรกิจคอนซูมเมอร์ ตลาดน้ำ�ผลไม้แบบ Premium ในประเทศไทยปี 2559 มีมูลค่าตลาดประมาณ 5,200 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อนหน้า ประมาณ 7 % โดยแบรนด์ทิปโก้ยังคงเป็นผู้นำ�ในด้านส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 และมีการผลิตใหม่เพื่อตอบสนอง ความต้องการของผู้บริโภค เช่น Tipco Season’s Best และ Tipco Plus เป็นต้น ในขณะที่ตลาดน้ำ�แร่ปี 2559 มี มูลค่าตลาดประมาณ 3,888 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อนหน้าประมาณ 15% โดยน้ำ�แร่ออราของบริษัทมีส่วนแบ่งการ ตลาดประมาณ 26% สำ�หรับตลาดชาเพื่อสุขภาพในปี 2559 มีมูลค่าประมาณ 400 ล้านบาท โดยเครื่องดื่มชาอู่หลง ทีพลัสมีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 18% (ที่มา Nielsen Report) ธุรกิจสารสกัดและการเกษตร ในปี 2559 บริษท ั ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำ�กัด ได้เริม ่ ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์สำ�หรับสารสกัดชนิดใหม่ลก ู ค้าต่างประเทศ ได้แก่ ใบกฤษณา (Agarwood) และได้รับคำ�สั่งซื้อสำ�หรับปีต่อๆไปด้วย นับเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สำ�คัญอีกครั้ง ในส่วนของธุรกิจการเกษตร สับปะรดหอมสุวรรณ ยังมียอดขายเติบโตอย่างต่อเนื่องและเริ่มส่งออกสับปะรดหอม สุวรรณแช่แข็งแบบ IFQ ไปยังตลาดต่างประเทศครั้งแรกและได้รับการตอบรับอย่างดี รวมทั้งการสร้างประสบการณ์ แบรนด์หอมสุวรรณให้แก่ผู้บริโภคผ่านร้าน Homsuwan Pina Pina ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจค้าปลีกของกลุ่มบริษัทมีการขยายตัวทั้งในด้านของจำ�นวนสาขาและการเริ่มธุรกิจใหม่ โดยร้าน Squeeze Juice Bar มีการเปิดสาขาใหม่ 6 สาขา ได้แก่ อาคาร ยู เฮ้าส์, ฟิตเนส เฟริสท์ พระราม 3, เดอะ ไนน์, ท่าอากาศยาน


58

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ดอนเมือง, ฟิตเนส เฟริสท์ บางนา และ The Jas รามอินทรา นอกจากนั้นบริษัทได้เปิดตัวธุรกิจใหม่ในปี 2559 อีก 2 ธุรกิจ ได้แก่ ร้านอาหาร August Organic Eatery ร้านอาหารรูปแบบ full service restaurant รายการ อาหารเป็น organic fusion เน้นวัตถุดิบที่เป็น organic สาขาแรกที่ อาคาร MERCURY VILLE เพื่อตอบสนอง แนวโน้มความนิยมอาหารเพื่อสุขภาพ และร้าน Homsuwan Pina Pina ร้านขนม ของว่างและเครื่องดื่มที่เมนูเกือบ ทัง ้ หมดพัฒนาจากสับประรดหอมสุวรรณ โดยมีจด ุ เด่นทีร ่ สชาติอน ั เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของสับปะรดหอมสุวรรณ และคัดสรรเป็นเมนูที่หลากหลาย ที่ห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน

การวิเคราะห์ต้นทุนขายและกำ�ไรขั้นต้น หน่วย : พันบาท ปี 2559 จำ�นวน

ปี 2558

% ยอดขาย

จำ�นวน

% ยอดขาย

รายได้จากการขายและการให้บริการ

5,273,207

100.00%

4,677,508

100.00%

ต้นทุนขายและบริการ

3,816,733

72.38%

3,611,178

77.20%

กำ�ไรขั้นต้น

1,456,474

27.62%

1,066,330

22.80%

ในปี 2559 บริษัทมีกำ�ไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นเป็น 1,456.47 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 390.14 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.59 จากปีก่อนหน้า โดยในปีนี้ บริษัทมีอัตรากำ�ไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 27.62 จากปีก่อนหน้าที่มีร้อยละ 22.80 โดย มีสาเหตุหลักมาจากการธุรกิจผลไม้แปรรูปที่มีต้นทุนในการผลิตลดลง


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

หน่วย : พันบาท ปี 2559 จำ�นวน

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

59

ปี 2558

% ยอดขาย

1,282,709

23.90%

จำ�นวน

% ยอดขาย

1,252,929

25.58%

ในปี 2559 บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารรวม 1,282.71 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 29.78 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.38 โดยสัดส่วนค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารต่อรายได้รวมในปี 2559 มีสัดส่วนลดลงเหลือ ร้อยละ 23.90 จากร้อยละ25.58 ในปีที่ผ่านมา การลดลงของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมีสาเหตุหลักมาจาก การลดลงของค่าใช้จ่ายในการขายและส่งเสริมการขายในธุรกิจคอนซูมเมอร์ นอกจากนี้แล้ว ในปี 2559 บริษัทได้ บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าของเครื่องจักรและอุปกรณ์รวม 186.47 ล้านบาท การวิเคราะห์กำ�ไรสุทธิในส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ หน่วย : พันบาท ปี 2559 จำ�นวน กำ�ไรสุทธิในส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่

813,638

ปี 2558

% ยอดขาย 15.16%

จำ�นวน 1,188,468

% ยอดขาย 24.26%

กำ�ไรสุทธิในส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ลดลงเหลือ 813.64 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนหน้า 374.83 ล้านบาท หรือ ลดลงร้อยละ 31.54โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมเป็นจำ�นวน 475.42 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 39.09 ทั้งนี้ผลกำ�ไรที่ไม่นับรวมส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมก็มี แนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญ


60

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานการวิเคราะห์กระแสเงินสด รายการ

หน่วย : พันบาท ปี2559

ปี 2558

เงินสดสุทธมาจาก(นำ�ไปใช้ใน)กิจกรรมดำ�เนินงาน

702,176

59,632

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน

77,087

249,491

(796,636)

(274,424)

(17,373)

34,699

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยกมา

76,356

41,657

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยกไป

58,983

76,356

กระแสเงินสดจากการดำ�เนินงาน

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง)

ในปี 2559 บริษัทมีเงินสดรับสุทธิได้จากการดำ�เนินงาน 702.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 เนื่องจากยอดขายที่ เพิ่มขึ้น รวมทั้งลูกหนี้การค้าลดลงจากการที่ยอดลูกหนี้การค้าของบริษัทย่อยที่คงค้าง ณ สิ้นปี 2558 ได้รับชำ�ระ บัญชีเรียบร้อยแล้ว ส่วนเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการลงทุนในปี 2559 มีเงินสดสุทธิรับ จากเงินปันผลรับที่ได้จาก บริษัทร่วม จำ�นวน 258.9 ล้านบาท ส่วนการลงทุนเพิ่มเติมเป็นลงทุนทางด้านเครื่องมืออุปกรณ์รวมทั้ง ทางด้าน IT เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งาน สำ�หรับกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ระยะสั้นลดลง โดยบริษัทฯ มีการเบิกเงินกู้ระยะยาวเพิ่ม จำ�นวน 480.5 ล้านบาท โดยเริ่มชำ�ระคืนเงินต้นในปี 2559 นี้ และมีการจ่ายเงินปันผล จำ�นวน 230.7 ล้านบาท สภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง สินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น (เท่า)

ปี 2559

ปี 2558

1.1

0.8

20.8

21.2

0.5

0.7


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

61

ในปี 2559 อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน เพิ่มสูงขึ้นเป็น 1.1 เท่า จากปีก่อนหน้าที่ 0.8 เท่า โดย มีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ยลดลงเหลือ 20.8 เท่า จาก 21.2 เท่าในปีก่อนหน้า มาจากกำ�ไรก่อนค่าใช้จ่าย ทางการเงินและภาษีเงินได้ลดลงมากกว่าค่าใช้จ่ายภาษีทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้นปรับลดลงเหลือ 0.5 เท่า จาก 0.7 เท่า โดยมีสาเหตุหลักมาจากการปรับเพิ่มสูงขึ้น ของกำ�ไรสะสมในส่วนที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น 3,650.87 ล้านบาท จาก 3,081.06 ล้านบาทในปีก่อนหน้า ส่งผลให้ส่วน ของผู้ถือหุ้นปรับเพิ่มขึ้นเป็น 4,442.43 ล้านบาท จาก 3,980.78 ล้านบาท นอกจากนั้นแล้ว ในส่วนของหนี้สินรวม ปรับลดลงเหลือ 2,366.39 ล้านบาท จาก 2,734.16 ล้านบาท

อัตราส่วน

ปี 2559

ปี 2558

ผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น

20.0%

33.3%

อัตราส่วนกำ�ไรขั้นต้น

27.6%

22.8%

อัตรากำ�ไรสุทธิ

14.3%

24.1%

อัตราส่วนผลตอบแทนส่วนผู้ถือหุ้นในปี 2559 ลดลงเหลือร้อยละ 20.0 เนื่องจากกำ�ไรสุทธิในส่วนที่เป็นของบริษัท ใหญ่ลดลงเหลือ 813.64 ล้านบาท อัตรากำ�ไรขั้นต้นในปี 2559 ปรับสูงขึ้นเป็นร้อยละ 27.62 โดยมีสาเหตุหลักมาจากธุรกิจผลไม้แปรรูป ที่สามารถ ควบคุมต้นทุนการผลิตได้ดีขึ้น อีกทั้งในปี 2559 ที่ผ่านมา บริษัทสามารถเจรจาต่อรองปรับราคาขายให้สะท้อน ราคาต้นทุนที่แท้จริงได้ดีขึ้น อัตรากำ�ไรสุทธิในปี 2559 ลดลงเหลือร้อยละ 14.3 มีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วม


62

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

การบริหารความเสี่ยง บริษท ั มีคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง เป็นผูว ้ เิ คราะห์

3. ความพร้อมผู้สืบทอดตำ�แหน่งงานสำ�คัญ บริษัทฯ

ความเสีย ่ งทีม ่ ผ ี ลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจ ทัง ้ 4 ด้านได้แก่

ได้คัดเลือกตำ�แหน่งงานที่สำ�คัญแล้ว และวางแผนผู้

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านการปฎิบัติการ

สืบทอดไว้ส่วนหนึ่ง ซึ่งอยู่ระหว่างทำ�แผนพัฒนา

ความเสีย ่ งด้านการเงิน และความเสีย ่ งด้านกฎหมาย และ

รายบุคคล (Individual Development Plan)

ประเมินความรุนแรงทีอ ่ าจเกิดขึน ้ เพือ ่ หาแนวทางป้องกัน

เพื่อดำ�เนินการตามแผนต่อไป

และจัดการ เพื่อลดความรุนแรงดังกล่าว

4. ความเสี่ ย งจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นผั น ผวน

ในปี

2559 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้น โดยในปี 2559 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการจัดการความเสี่ยง

โดยเฉพาะเงินดอลล่าร์สหรัฐนัน ้ ก่อให้เกิดผลกระทบ

ในเรื่องหลักๆ ดังนี้

ต่อรายได้และกำ�ไรของบริษัทเป็นอย่างมาก บริษัท

1. ความเสี่ยงจากปริมาณและราคาวัตถุดิบสับปะรด ผันผวน

จึงต้องใช้เครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงอัตรา

เนื่องจากสับปะรด เป็นพืชเกษตร สภาพ

แลกเปลี่ยน ได้แก่ สัญญาขายเงินตราต่างประเทศ

ดินฟ้าอากาศ เป็นปัจจัยหลักทีค ่ วบคุมไม่ได้ แต่สง ่ ผล

ล่วงหน้ากับธนาคาร เพือ ่ ให้สามารถบริหารจัดการ

กระทบโดยตรงต่อปริมาณและคุณภาพ ทำ�ให้ราคา

รายได้และต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สับปะรดผันผวน มีผลต่อต้นทุนการผลิต บริษัทฯ จึงได้นำ�ภาพถ่ายดาวเทียมพืน ้ ทีป ่ ลูกสับปะรด ข้อมูล ผลผลิ ต ระดั บ ประเทศของสำ � นั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร (สศก.) และทดลองติดตั้ง software เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการพยากรณ์ผลผลิต 2. ความเสี่ยงจากการทำ�กำ�ไรในธุรกิจหลัก

ด้วย

กำ�ไรของธุรกิจหลัก มาจากการส่งออกเป็นหลัก สัญญาซื้อขายมักเป็นการซื้อขายล่วงหน้าทั้งระยะ สั้น 1-3 เดือน หรือระยะยาว 6-12 เดือน ปัจจัย ที่ส่งผลกระทบต่อกำ�ไรอย่างมากคือต้นทุนราคา ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ สั บ ปะรด บริ ษั ท ฯ จึ ง ปรั บ วิ ธี ก ารทำ � สั ญ ญาการขายและการส่ ง มอบสิ น ค้ า เป็ น ระยะ สั้น หรือยาว ตามสภาพแวดล้อมของปริมาณและ ราคาวัตถุดิบเป็นหลัก และยังได้พัฒนาสินค้าใหม่ เพื่อขยายออกไปในตลาดที่มีแนวโน้มการเติบโตที่ดี


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

63

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯและบริษัทย่อย จะจ่ายเงินปันผล เมื่อมีกำ�ไรสะสมเป็นผลบวก อัตราการจ่ายเงินปันผลขึ้นอยู่กับผลประกอบ การของบริษัทและโครงการลงทุนในอนาคตโดยกำ�หนดว่าไม่ต่ำ�กว่า 1 ใน 3 ของกำ�ไรสุทธิของเฉพาะกิจการ ปี

2559

2558

2557

2556

2555

อัตรากำ�ไรสุทธิ/หุ้น

0.79

0.38

(0.28)

(0.16)

0.14

อัตราเงินปันผล/หุ้น

0.39

0.25

0.00

0.00

0.00

49.4%

66%

0%

0%

0%

อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อกำ�ไรสุทธิ(%)


ความรับผิดชอบต่อสังคม


66

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัท ดำ�เนินธุรกิจโดยยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อผู้มี

และส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและสังคม หัวหน้าคณะทำ�งาน

ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และด้วยความตระหนักดีว่าเป็นส่วน

คณะทำ�งานและเลขานุการ ประจำ�โรงงานแต่ละแห่งและ

หนึ่งของชุมชน จึงมุ่งมั่นในการแสดงความรับผิดชอบต่อ

สำ�นักงานใหญ่ โดยกำ�หนดหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้

สิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คมโดยทำ�หน้ า ที่ เ ป็ น พลเมื อ งดี ที่ อ ยู่

1. นำ�เสนอเพื่อพิจารณาให้การสนับสนุนกิจกรรมเพื่อ

ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างเต็มภาคภูมิ และได้ปลูกฝัง

สิง ่ แวดล้อมและสังคมสำ�หรับหน่วยงานราชการ และ

แนวความคิดดังกล่าวให้กับพนักงานทุกระดับชั้นในทุก

ชุมชนในแต่ละพื้นที่ที่สังกัด

บริษัท ซึ่งได้แก่ คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารระดับสูง ผู้จัดการ และเจ้าหน้าที่ระดับบังคับบัญชา พนักงาน และ

2. ประสานงานและดำ�เนินกิจกรรมเพือ ่ สิง ่ แวดล้อมและ สังคมตามงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ

ผู้ที่มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ ให้ถือปฏิบัติเป็นบรรทัดฐาน

3. ดู แ ล สอดส่ อ ง และนำ � เสนอกิ จ กรรมเพื่ อ ให้ ก าร

เดียวกัน ตลอดจนจัดทำ�เอกสารนโยบายและหลักการ

จัดการด้านสิ่งแวดล้อมของโรงงานเป็นไปตามข้อ

ด้านความรับผิดชอบของบริษัท เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียใช้

กำ�หนด กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง

เป็นแนวทางในการปฏิบัติในทุกกรณีอย่างสม่ำ�เสมอและ

4. เป็นศูนย์กลางการประชาสัมพันธ์ข่าวสารเกี่ยวกับ

จริงจัง จนกล่าวได้ว่า การดำ�เนินธุรกิจและการปฏิบัติ

การดำ�เนินกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมผ่าน

งานอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมนั้น

สื่อท้องถิ่น

เป็นหลักประจำ�ใจของผู้มีส่วนได้เสียทุกคนในกลุ่มธุรกิจ อาหารทิปโก้ตามนโยบาย

“ทิปโก้ พัฒนาธุรกิจ ควบคูก ่ บ ั สิง ่ แวดล้อม และสังคม”

5. จัดทำ�แผนกิจกรรมประจำ�ปี และเสนองบประมาณ ดำ � เนิ น การสำ � หรั บ โครงการสนั บ สนุ น ด้ า นสิ่ ง แวดล้อมและสังคม 6. กิจกรรมอืน ่ ๆ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการส่งเสริมภาพลักษณ์ ที่ ดี ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คมของบริ ษั ท ตามที่ ไ ด้ รับมอบหมาย ทั้งนี้ ให้คณะทำ�งานเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมจัดประชุม เพือ ่ การวางแผนดำ�เนินกิจกรรม ติดตามงานและรายงาน

นอกจากนี้ เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารงานและการดำ � เนิ น งาน

ผลการดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมให้ฝ่าย

ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คมของบริ ษั ท เป็ น ไปอย่ า งมี

บริหารทราบอย่างสม่ำ�เสมอ

ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวบริษัท

โดยกำ�หนดแผนกิจกรรมออกเป็น 3 ประเภท คือ

จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะทำ�งานเพื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คม ซึ่ ง

1. กิจกรรมด้านสังคม

ประกอบด้ ว ยตั ว แทนฝ่ า ยบริ ห ารด้ า นการสนั บ สนุ น

•• สนับสนุนทุนการศึกษาให้กับโรงเรียนในชุมชน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริาัษัท ทิปโก้ฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน)

•• สนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาให้ กั บ บุ ต รเกษตรกรที่ ส่ ง วัตถุดิบ •• ออกหน่วยชุมชนสัมพันธ์ร่วมกับชุมชนใกล้เคียงและ

67

•• จัดให้มีกระบวนการดำ�เนินการหลังจากมีผู้แจ้งข้อ ร้องเรียน โดยให้มีการตรวจสอบข้อมูลและมีการ รายงานต่อคณะกรรมการ

หน่วยงานราชการ เช่น ออกหน่วยดูแลสุขภาพผู้สูง อายุร่วมกับโรงพยาบาลในชุมชน •• สนับสนุนงบประมาณตามปีงบประมาณของบริษัท เพื่อช่วยเหลือชุมชนและสังคม 2. กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม •• สนับสนุนกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ และจัดสร้าง ระบบนิเวศของป่าไม้ในประเทศ 3. กิจกรรมด้านศาสนา

สำ�หรับผลการประเมินความพึงพอใจและความคิดเห็น ของชุมชน Community Satisfaction Level (CSL) ซึง ่ บริษท ั ดำ�เนินการมาอย่างต่อเนือ ่ งนัน ้ ผลการสำ�รวจใน ปี 2559 ได้รับความพึงพอใจโดยเฉลี่ย 4.42คะแนน สูง กว่าปีที่แล้ว 4.41 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5.00 โรงงาน ประจวบคีรขี น ั ธ์ ได้ 4.51 คะแนน ต่ำ�กว่าปีกอ ่ นทีไ่ ด้ 4.52 คะแนน โรงงานเชียงใหม่ได้ 4.30 คะแนน ต่ำ�กว่าปีก่อนที่

•• เพือ ่ สร้างเสริมคุณธรรม บำ�เพ็ญประโยชน์ตอ ่ สังคม

ได้ 4.37 คะแนน และโรงงานวังน้อยได้ 4.45 คะแนน สูง

เพือ ่ ส่งเสริมให้พนักงานมีจต ิ สำ�นึกในเรือ ่ งการอาสา

กว่าปีก่อนที่ได้ 4.37 คะแนน ทั้งนี้บริษัทได้มอบหมายให้

การทำ�ความดี มีคุณธรรม จริยธรรมและมีความ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำ�ข้อเสนอแนะต่างๆ ของชุมชนไป

ซื่อสัตย์สุจริต

ดำ�เนินการปรับปรุงและแก้ไขต่อไป

จากนโยบายของบริษท ั ทีไ่ ด้กำ�หนดแนวทางการปฏิบต ั ง ิ าน

และเพื่ อ ให้ ก ารรั บ รู้ แ ละตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ข องผู้ มี ส่ ว นได้

ให้อยู่บนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ โปร่งใสและเป็นธรรม

เสียที่เกี่ยวข้องได้มีการปฏิบัติอย่างแท้จริง บริษัทได้นำ�

ไม่ แ สวงหาประโยชน์ ส่ ว นตั ว ที่ ขั ด แย้ ง กั บ ประโยชน์ ข อง

ไปกำ�หนดเป็นกรอบใหญ่ในการดำ�เนินธุรกิจ และจัดทำ�

บริษัทและผู้มีส่วนได้เสีย อันรวมถึงการเก็บรักษาความ

วิสัยทัศน์ และค่านิยมร่วม ดังนี้

ลับทีเ่ กีย ่ วข้องกับการประกอบธุรกิจต่อผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย จึง ได้กำ�หนดให้มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน/ทุจริต คือ •• เปิดโอกาสให้แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการกระ ทำ�ความผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ ตามที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท •• ออกพบปะชุมชนเพื่อรับฟังความคิดเห็น •• เสวนาร่วมกับองค์กรปกครองท้องถิ่น ผู้นำ�ชุมชน และชุมชน


68

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

สินค้าที่มีคุณภาพ ตอบสนองความพึงพอใจแก่ผู้บริโภค

“เป็นบริษท ั ทีข่ บ ั เคลือ ่ น ชี้นำ�ตลาดเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่มแก่ผู้มีส่วน ร่วมทางธุรกิจ”

และผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมใน การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งในปี 2559 ผลคะแนนจาก การส่งแบบประเมินความพึงพอใจจากลูกค้ากลุ่มต่างๆ (Customer Satisfaction Index) ได้รับการตอบรับ ในระดับพอใช้ถึงดีมาก โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 97.6% บริษัทยังได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของพนักงานซึ่งเป็น กลไกสำ�คัญ ในการผลัก ดันให้เกิดการเติบโตอย่า งต่อ เนื่อง บริษัทได้มีการจัดทำ�การสำ�รวจความคิดเห็นของ

(ผู้มีส่วนร่วมทางธุรกิจ : พนักงาน ผู้บริโภค คู่ค้าทาง

พนั ก งาน Employee Opinion Survey (EOS) ที่ มี

ธุรกิจ ผู้ร่วมทุน สังคม )

ต่อองค์กรในเรื่องภาพลักษณ์ ชื่อเสียง สวัสดิการ การ บริหารงานและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ในปี 2559

ค่านิยมร่วม (Core Values) กำ�หนด 5 ข้อ ตามตัวย่อ

ผลสำ�รวจได้ 4.08 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5.00 สูง

ว่า TIPCO มีความหมายดังนี้

กว่าปีก่อนที่ได้ 3.99 คะแนน

T มาจากคำ�ว่า Teamwork (เป้าหมายเดียวกัน)

นอกจากนีบ ้ ริษท ั ยังได้สง ่ แบบสำ�รวจความพึงพอใจของคู่

I มาจากคำ�ว่า Innovation (สร้างสรรค์สิ่งใหม่)

ค้า (Supplier) ได้ระดับความพึงพอใจเฉลีย ่ 4.59 คะแนน

P มาจากคำ�ว่า Passion (ด้วยใจเต็มร้อย)

จากคะแนนเต็ ม 5.00 คะแนนต่ำ�กว่ า ปี ก่ อ นที่ ไ ด้ 4.65

C มาจากคำ�ว่า Commitment (ไม่ถอยมุ่งมั่น) และ

คะแนน โดยบริษัทได้นำ�ความคิดเห็นต่างๆ มาปรับปรุง

O มาจากคำ�ว่า Openness (สื่อสารจริงใจ)

โดยกำ�หนดบุคคลทีร ่ บ ั ผิดชอบและระยะเวลาในการดำ�เนิน การที่แน่นอน พร้อมกับมีการประเมินผลเป็นระยะๆ เพื่อ

โดยยังคงเน้นถึงความสัมพันธ์ของวิสัยทัศน์และค่านิยม

ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลที่ดีและปฏิบัติต่อผู้มีส่วน

ร่วมของบริษัท เพื่อผลักดันให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืน

ได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน

ในเรื่องค่านิยมร่วมได้กล่าวถึงความมุ่งมั่นที่มอบให้กับ ลู ก ค้ า ซึ่ ง รวมถึ ง ลู ก ค้ า ทั้ ง ภายในและภายนอกของทุ ก

(หมายเหตุ คะแนน 1-5 มีความหมายดังนี้ 5 หมายถึง

หน่ ว ยงานของบริ ษั ท โดยให้ ทุ ก หน่ ว ยงานของบริ ษั ท

ดีมาก 4 หมายถึงดี 3 หมายถึงพอใช้ 1 และ 2 หมาย

ตระหนักถึงจิตและวิญญาณในการให้บริการและเสนอ

ถึง ต้องปรับปรุง)


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

69

และเยาวชนหันมาสนใจเรือ ่ งกีฬา และได้เรียนรูท ้ ก ั ษะ เทคนิคเบื้องต้นของกีฬาฟุตบอล •• ร่ ว มกั บ จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ส นั บ สนุ น น้ำ � ดื่ ม ออราในกิ จ กรรมถวายความอาลั ย แด่ พ ระบาท •• สนับสนุนผลิตภัณฑ์น้ำ�ผลไม้ให้แก่เด็กกำ�พร้าในความ อุปการะมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทย

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช เป็นจำ�นวน เงิน 12,000 บาท

•• สนับสนุนผลิตภัณฑ์น้ำ�ผลไม้และน้ำ�ดืม ่ เพือ ่ ช่วยเหลือ ทหารและเยาวชนใน3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ แ ก่ ตัวแทนผู้รับบริจาคแห่งโครงการในพระราชดำ�ริสม เด็พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ

•• สนั บ สนุ น น้ำ�แร่ ออรา ให้ กั บ ชุ ม ชนในการร่ ว มกั น ดับไฟป่า ณ พื้นที่ไฟไหม้บริเวณใกล้เคียงโรงงาน

•• สนับสนุนกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจำ�ปี 2559

•• สนั บ สนุ น น้ำ � แร่ ออรา โครงการทำ � ฝายชะลอน้ำ �

โดยได้ ม อบน้ำ � ผลไม้ น้ำ � ชาที พ ลั ส และผลิ ต ภั ณ ฑ์

เฉลิมพระเกียรติ (ฝ่ายประชารัฐ) ณ บ้านแม่สาใหม่

ต่างๆ ให้กับโรงเรียนและหน่วยงานราชการ ในเขต

•• สนั บ สนุ น น้ำ�แร่ อ อรา จั ด กิ จ กรรมปลู ก หญ้ า แฝก

อ.วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา •• สนับสนุนน้ำ�แร่ ออรา กิจกรรมวันแรงงานแห่งชาติ ปี 2559 จังหวัดเชียงใหม่

เพื่อลดการชะล้างพังทลายของหน้าดินและรักษา สิ่งแวดล้อม ณ บ้านบวกเต๋ย ศูนย์พัฒนาโครงการ หลวงทุ่งเรา ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่

•• สนับสนุนผลิตภัณฑ์น้ำ�ผลไม้ ให้กับ อบต. กบเจา

•• สนับสนุนน้ำ�แร่ออรา จัดกิจกรรมวันแม่แห่งชาติและ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบ

ปลูกป่าฟืน ้ ฟูอนุรก ั ษ์ตน ้ น้ำ�บ้านแม่สาใหม่ แม่สาน้อย

ภัยน้ำ�ท่วม

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่สาใหม่ ต.โป่งแยง

•• สนั บ สนุ น และร่ ว มกิ จ กรรมจั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ ริ ก าร

อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่

ประชาชน ณ ท้องสนามหลวง กิจกรรม ทำ�ความ ดีถวายพ่อหลวง ร่วมกับกลุ่มธุรกิจทิปโก้ •• สนับสนุนและร่วมกิจกรรมวันทันตสาธารณสุขแห่ง ชาติกับรพ.ส่งเสริมสุขภาพตำ�บลเฉลิมพระเกียรติ •• ร่วมกับทีมฟุตบอล ประจำ�จังหวัด (ประจวบ FC) ให้การสนับสนุนด้านกีฬาฟุตบอลของเด็กและเยาวชน ในพื้นที่อำ�เภอเมืองประจวบคีรีขันธ์เป็นจำ�นวนเงิน 1,000,000.-บาท โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ เ ด็ ก

•• มอบทุ น การศึ ก ษาบุ ต รพนั ก งานที่ มี ผ ลการเรี ย น ดี และบุตรของเกษตรกร ทั้งในส่วนของสำ�นักงาน ใหญ่ และพืน ้ ทีโ่ รงงานประจวบคีรขี น ั ธ์ จำ�นวน 169 ทุน เป็นจำ�นวนเงิน 401,000 บาท •• สนั บ สนุ น น้ำ�ผลไม้ กิ จ กรรมวั น ดอกรั ก บาน ของ โรงเรียนเซนต์โยเซฟ คอนแวนต์


70

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

•• สนับสนุนน้ำ�แร่ออรา กิจกรรมการแข่งขันกีฬาต้าน ภัยยาเสพติด ตำ�บลโป่งแยง โรงเรียนวัดโป่งแยง

•• ร่ ว มทอดกฐิ น สามั ค คี กั บ วั ด ในชุ ม ชน เป็ น จำ � นวน เงิน 30,000 บาท

เฉลิมพระเกียรติ ต.โป่งแยง อ.แม่รม ิ จังหวัดเชียงใหม่ •• สนับสนุนข้าวสาร เครื่องเขียน และอุปกรณ์กีฬาให้ กับ รร.บ้านบึง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ •• สนับสนุนน้ำ�แร่ออรา จัดกิจกรรมค่ายการอบรม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมนั ก เรี ย น โรงเรี ย นวั ด โป่ ง

ทั้งนี้ กลุ่มธุรกิจอาหารทิปโก้ ได้สนับสนุนช่วยเหลือ กิจกรรมอื่นๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน เช่น การออก เยี่ยมเยียนชุมชน การส่งพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับองค์กร หน่วยงานราชการ โรงเรียน วัด ฯลฯ

แยงเฉลิมพระเกียรติ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ •• สนั บ สนุ น น้ำ � แร่ ออรา การเปิ ด อาคารเรี ย นใหม่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านบวกจัน ่ ต.โป่งแยง อ.แม่รม ิ

คณะกรรมการบริษัทพิจารณาส่งเสริมให้บริษัทเข้าร่วม

จังหวัดเชียงใหม่

แสดงเจตจำ�นงปฏิบัติตามหลักการต่อต้านคอรัปชั่นใน ประเทศไทย (Anti –Corruption Collective Action in Thailand)ในปี 2553 ร่วมกับสมาคมส่งเสริมสถาบัน

•• สนั บ สนุ น น้ำ � แร่ อ อรา ทำ � บุ ญ ทอดผ้ า ป่ า สามั ค คี

กรรมการบริษท ั สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคม

โ ค ร ง กา ร ส ร้ า ง ง า นส ร้ า ง บุ ญเ พื่ อ ป ร องดอง

บริษท ั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ สมาคมธนาคารไทย

สมานฉั น ท์ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สำ�นั ก งานจั ด หางาน

และสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ

จังหวัดเชียงใหม่

ทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ดังมีรายละเอียดดังนี้

•• สนับสนุนกิจกรรม บ่ายนีไ้ ด้บญ ุ ครัง ้ ที่ 3 กับบริษท ั อสมท จำ�กัด (มหาชน) •• สนับสนุนและดำ�เนินกิจกรรมรดน้ำ�ผูส ้ ง ู อายุ ร่วมกับ เทศบาลไผ่ต่ำ� จังหวัดพระนครศรีอยุธยา •• สนั บ สนุ น น้ำ � ผลไม้ กิ จ กรรมกิ จ กรรมวั น แม่ แ ห่ ง ชาติ 2559 ของสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่ง ประเทศไทย

1. บริษท ั มีนโยบายในการดำ�เนินการต่อต้านการทุจริต คอร์รป ั ชัน ่ โดยได้จด ั ทำ�แนวทางการปฏิบต ั ิ เป็นลาย ลักษณ์อก ั ษรไว้ในจรรยาบรรณของบริษท ั ซึง ่ ได้ผา่ น การอนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการบริษท ั แล้ว และได้เปิด เผยไว้ในเว็บไซด์ของบริษัท 2. คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กำ � หนดนโยบายการต่ อ ต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยได้แสดงเจตนารมณ์

•• สนับสนุนน้ำ�แร่ออรา จัดกิจกรรมทอดผ้าป่ากองทุน

เข้าร่วมกับโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชน

แม่ ข องแผ่ น ดิ น บ้ า นม่ ว งคำ � ต.โป่ ง แยง อ.แม่ ริ ม

ไทยในการต่อต้านการทุจริต โดยบริษัทได้ร่วมให้

จังหวัดเชียงใหม่

สัตยาบรรณเพื่อรับทราบข้อตกลงตามคำ�ประกาศ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริาัษัท ทิปโก้ฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน)

เจตนารมณ์ ข องแนวร่ ว มดั ง กล่ า วในการต่ อ ต้ า น

นอกจากนี้ บริษัทได้มีการดำ�เนินการเพื่อป้องกันการมี

การทุจริตคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ

ส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตและคอร์รัปชั่น ดังนี้

3. คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ อ นุ มั ติ ม าตรการต่ อ ต้ า น

ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ น โ ย บ า ย ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต

คอร์รัปชั่นเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในเว็บไซด์ของ

คอร์รัปชัน

บริษัท เพื่อให้พนักงานทุกคนถือปฏิบัติในแนวทาง

เพื่อให้ทุกคนในองค์กรได้รับทราบนโยบายการต่อ

เดียวกันอย่างเคร่งครัด ในการดำ�เนินธุรกิจอย่าง

ต้านการทุจริตคอร์รัปชัน บริษัทจะดำ�เนินการดัง

โปร่งใสและเป็นธรรม สอดคล้องกับนโยบายการ

ต่อไปนี้

กำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และนโยบายการต่ อ ต้ า น

1. ติ ด ประกาศนโยบายการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต

คอร์รัปชั่น

คอร์รัปชัน ณ บอร์ดประชาสัมพันธ์ของบริษัทใน

4. ในปี 2559 บริษัทตั้งคณะทำ�งานโดยประกอบด้วย

กลุ่มธุรกิจอาหารทิปโก้ทุกแห่ง

ผู้รับผิดชอบทุกฝ่ายมาร่วมทำ�งานเพื่อนำ�เสนอขอ

2. เผยแพร่นโยบายการต่อต้านการทุจริต ผ่านช่อง

การรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบต ั ขิ องภาคเอกชน

ทางการสือ ่ สารของบริษท ั เช่น จดหมาย-อิเล็คทรอ

ไทยในการต่ อ ต่ า นการทุ จ ริ ต (CAC) และได้ ผ่ า น

นิกส์ (e-mail) เว็บไซต์บริษัท รายงานการเปิดเผย

เกณฑ์รับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของ

ข้อมูลประจำ�ปี (56-1) รายงานประจำ�ปี (56-2)

ภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต่ า นการทุ จ ริ ต ในวั น ที่

และแผ่นพับ เป็นต้น

14 ตุลาคม 2559

3. จัดให้มก ี ารอบรมนโยบายการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชัน ให้แก่พนักงานใหม่ และบรรจุลงในคู่มือ พนักงาน

กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานทุกระดับของกลุ่มธุรกิจ

4. ทบทวนนโยบายการต่อต้านการคอร์รัปชั่นทุกปี

อาหารทิปโก้ และผู้เกี่ยวข้องจะไม่ดำ�เนินการคอร์รัปชั่น ทุ ก รู ป แบบไม่ ว่ า กรณี ใ ดๆ ทั้ ง ทางตรงหรื อ ทางอ้ อ ม

ช่องทางการแจ้งเบาะแส ร้องเรียน

อย่างเคร่งครัด โดยกลุ่มธุรกิจอาหาร ทิปโก้ จะจัดให้มี

ผู้พบเห็นเหตุสงสัยที่เข้าข่ายการกระทำ�ทุจริต การ

มาตรการสอบทานและทบทวนการปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายต่อ

คอร์รป ั ชัน หรือได้รบ ั ผลกระทบจากการปฏิเสธการ

ต้านคอร์รัปชั่นอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับการ

คอร์รป ั ชัน ่ สามารถแจ้งเบาะแส / ร้องเรียน โดยเปิด

เปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อกำ�หนด

เผยหรือไม่เปิดเผยชื่อพร้อมทั้งระบุข้อเท็จจริง หรือ

ของกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนกระทำ�การใดๆ อันเป็นการ

แจ้งหลักฐานทีช่ ด ั เจนเพียงพอ ทีแ่ สดงให้เห็นว่ามีเหตุ

สนับสนุนการคอร์รัปชั่นจะได้รับการพิจารณาโทษตาม

อันควรให้เชื่อได้ว่ามีการคอร์รัปชัน หรือได้รับผล

ระเบียบของบริษัทฯ

กระทบจากการปฏิเสธการคอร์รัปชัน โดยผ่านช่อง

71


72

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ทางหนึ่งทางใดต่อไปนี้

กระทำ�ดังกล่าวนัน ้ จะไม่ทำ�ให้ผแู้ จ้งได้รบ ั ความเดือด

1. Email : anti-corruption@tipco.net

ร้อน และ เสียหาย ดังนี้

2. Website : www.tipco.net (หัวข้อ

1. ให้หน่วยงานที่ได้รับแจ้งเรื่อง พิจารณาข้อมูลใน

การแจ้งเบาะแสการกระทำ�ทุจริต การ

เบื้องต้นหรือหาข้อมูลประกอบ หากเห็นว่าสมควร

คอร์รัปชัน)

ให้มีการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงอย่างละเอียด ให้ผู้

3. โทรศัพท์หมายเลข 02-273-6888,

บริหารสูงสุดของหน่วยงานที่รับเรื่องให้ความเห็น

02-273-6400

ชอบ แล้วส่งเรื่องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปดำ�เนิน

4. จดหมายส่งที่ : กรรมการผู้จัดการ

การตามขั้นตอน

ที่อยู่ : บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

2. บริษท ั จะให้ความคุม ้ ครองผูท ้ ีใ่ ห้ความร่วมมือกับ

118/1 ถนนพระราม 6 สามเสนใน

บริษท ั ในการแจ้งเบาะแสหรือ ปฏิเสธการคอร์รป ั ชัน

พญาไท กรุงเทพฯ 10400

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ษั ท มิ ใ ห้ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น

1. กรณี ที่ เ ป็ น เรื่ อ งสำ � คั ญ หรื อ เรื่ อ งเร่ ง ด่ ว น ที่

อันตราย หรือไม่ได้รับความเป็นธรรมอันเกิดจาก

อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ภาพลั ก ษณ์ ข องบริ ษั ท หรื อ

การให้ความร่วมมือในการต่อต้านการคอร์รัปชัน

เกี่ ย วข้ อ งกั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง หรื อ กรรมการ

ดังกล่าว

บริษท ั เป็นต้น ให้แจ้งเรือ ่ งโดยตรงต่อประธานคณะ

3. บริษท ั จะไม่ลดตำ�แหน่ง ลงโทษ หรือให้ผลทางลบ

กรรมการตรวจสอบ

ต่อพนักงาน หรือผู้บริหารที่ปฏิเสธการคอร์รัปชัน

2. บริษัทจะดำ�เนินการตรวจสอบข้อร้องเรียนโดย

แม้ว่า การกระทำ�นั้นจะทำ�ให้บริษัทสูญเสียโอกาส

พิจารณาจากข้อเท็จจริงทีม ่ ค ี วามน่าเชือ ่ ถือ อย่างไร

ทางธุรกิจ

ก็ดี ผูแ้ จ้งเบาะแส หรือร้องเรียนพึงตระหนักว่า การ

4. กรณีผู้แจ้งเบาะแส / ร้องเรียน พบว่าตนเองได้

รายงานในลักษณะไม่เปิดเผยชือ ่ นัน ้ อาจเป็นข้อจำ�กัด

รั บ ความไม่ ป ลอดภั ย หรื อ อาจเกิ ด ความเสี ย หาย

ของบริษัทในการตรวจสอบข้อเท็จจริง

สามารถร้องขอให้บริษท ั กำ�หนดมาตรการคุม ้ ครอง ที่เหมาะสมได้

การคุ้มครองการแจ้งเบาะแส และการปฏิเสธการ

5. เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ร้องเรียน และ

คอร์รัปชัน

ให้ข้อมูลที่กระทำ�โดยสุจริต บริษัทจะปกปิดข้อมูล

บริษท ั ได้กำ�หนดกลไกในการให้ความคุม ้ ครองผูท ้ ใี่ ห้

ผู้แจ้งเบาะแส หรือ ให้ข้อมูลและเก็บข้อมูลดังกล่าว

ความร่วมมือกับบริษท ั ในการต่อต้านการคอร์รป ั ชัน

เป็นความลับ โดยจำ�กัดเฉพาะผูท ้ ีม ่ ห ี น้าทีร ่ บ ั ผิดชอบ

ได้แก่ การแจ้งเบาะแส หรือการให้ขอ ้ มูล รวมถึงการ

ในการตรวจสอบ ค้นหาความจริง หากมีการเปิด

ปฏิเสธการคอร์รป ั ชัน เพือ ่ ให้เกิดความเชือ ่ มัน ่ ว่าการ

เผยข้อมูลดังกล่าวให้กบ ั บุคคลอืน ่ จะถือถือเป็นการ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

73

กระทำ�ผิดวินัย และต้องได้รับโทษตามระเบียบข้อ

ระเบียบข้อบังคับของบริษัท และต้องรับผิดชอบต่อ

บังคับของบริษัท

ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ทั้งต่อบริษัท และ ผู้ที่ได้

6. กรณีพบว่ามีพนักงาน หรือผู้บริหาร ปฏิบัติต่อ

รับผลกระทบจากการกระทำ�ดังกล่าว

บุคคลอื่นด้วยวิธีการที่ไม่เป็นธรรม หรือก่อให้เกิด

ทัง ้ นี้ รายละเอียดของนโยบายและการดำ�เนินการที่

ความเสียหายต่อบุคคลอืน ่ อันมีเหตุจง ู ใจจากการที่

เกีย ่ วข้องกับการป้องกันการมีสว ่ นเกีย ่ วข้องกับการ

บุคคลอื่นนั้นได้แจ้งเบาะแส / ร้องเรียน หรือปฏิเสธ

ทุจริตคอร์รัปชั่นได้เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท

การคอร์รป ั ชัน ให้ถอ ื ว่าเป็นการกระทำ�ผิดวินย ั และ

ภายใต้หัวข้อการกำ�กับดูแลกิจการ

ต้องได้รับโทษตามระเบียบข้อบังคับของบริษัท ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย บทลงโทษ

กลุ่ ม ธุ ร กิ จ อาหารทิ ป โก้ ไ ด้ กำ�หนดข้ อ พึ ง ประพฤติ

ผู้ที่กระทำ�การใดๆ โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ

ปฏิบต ั ส ิ ำ�หรับฝ่ายจัดการนำ�ไปปฏิบต ั ใิ ช้ในการทำ�งาน

ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ รวมถึงมีพฤติกรรมที่ส่อไป

ซึ่งได้กำ�หนดไว้ในจรรยาบรรณทางธุรกิจของ

ในทางกลั่นแกล้ง ข่มขู่ ลงโทษทางวินัย หรือ เลือก

บริษัทฯ(เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท) โดยถือเอา

ปฏิ บั ติ ด้ ว ยวิ ธี อั น มิ ช อบ อั น เนื่ อ งมาจากการแจ้ ง

คุณธรรมและความสุจริตเป็นที่ตั้งสำ�หรับผู้มีส่วน

เบาะแส / ร้องเรียน ต่อผู้แจ้งเบาะแส / ร้องเรียน

ได้เสีย ดังต่อไปนี้ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้าหรือผู้

หรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดำ�เนินการตามระเบียบ

บริโภค คู่ค้าและ/หรือเจ้าหนี้ คู่แข่งทางการค้า สิ่ง

นี้ ให้ถือว่าผู้นั้นกระทำ�ผิดวินัย ต้องได้รับโทษตาม

แวดล้อม และการมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน




78

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษท ั ฯในฐานะทีเ่ ป็นคณะกรรมการกำ�กับ

สมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน

ดูแลกิจการที่ดี มีความมุ่งมั่นที่จะทำ�ให้การดำ�เนินงาน

การทุจริต(CAC)

ของบริษท ั ฯ เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลกิจการที่ ดีทต ี่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด ซึง ่ สอดคล้อง

ผลของการยึ ด มั่ น และดำ � เนิ น การตามหลั ก เกณฑ์ ก าร

กับมาตรฐานสากล

กำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทำ�ให้ บ ริ ษั ท ฯได้ รั บ รางวั ล SET Award ในด้ า นการรายงานการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การ

บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ง านที่ มี ธ รรมาภิ บ าลให้ กั บ

กำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี จำ�นวน 5 ครั้ ง (ปี 2 546-2549

พนักงานทุกระดับชั้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ถือหุ้น

และปี 2553) ในปี 2559 ได้รับการประเมินการกำ�กับ

ผู้ ล งทุ น ลู ก ค้ า และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เชื่ อ มั่ น ว่ า บริ ษั ท ฯมี

ดู แ ลที่ ดี โ ดยบรรษั ท ภิ บ าลแห่ ง ชาติ ได้ ค ะแนนรวม 83%

ระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบ

ระดับ “ดีมาก” สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียน

ได้ และเป็นธรรมต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างมูลค่า

โดยรวมที่ได้ 78% นอกจากนี้บริษัทฯ ได้รับการประเมิน

เพิ่ ม และส่ ง เสริ ม การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง

คุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี 2559 โดย

สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ที่มุ่งให้ธุรกิจเติบโต

สมาคมส่ ง เสริ ม ผู้ ล งทุ น ไทย ได้ ค ะแนน 98.75 คะแนน

อย่างต่อเนื่องสามารถแข่งขันได้ และเป็นที่ได้รับความไว้

คือ ระดับ“ดีเยี่ยม”

วางใจจากลูกค้าทั้งในประเทศ และต่างประเทศ บริษัทได้รับรางวัล CSR-DIW Continuous Award บริษัทฯได้อบรมเกี่ยวกับคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ตัง ้ แต่ป2 ี 553 ถึง ปี 2558 ในฐานะผูป ้ ระกอบการทีด ่ ำ�เนิน

และจรรยาบรรณธุรกิจ เพื่อสื่อสารนโยบายของบริษัทฯ

งานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน

ในเรือ ่ งนีไ้ ปยังผูบ ้ ริหารและพนักงานทุกระดับอย่างเป็นรูป

และพร้ อ มเข้ า สู่ ม าตรฐานสากล เที ย บชั้ น ISO 26000

ธรรม เพื่อให้พนักงานเห็นความสำ�คัญของธรรมาภิบาล

ก้าวสู่ Sustainable Development จากกรมโรงงาน

และตระหนั ก ในความรั บ ผิ ด ชอบและปฏิ บั ติ ต ามจรรยา

อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และยังได้จัดทำ�

บรรณของบริษัทฯ เพื่อก่อให้เกิดวัฒนธรรมการกำ�กับ

รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ตามมาตรฐาน

ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ใ นบริ ษั ท ฯอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มกั น นี้ ไ ด้

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ซึง ่ เป็นการแสดงให้เห็น

เข้าร่วมงานวันต่อต้านคอรัปชั่นแห่งชาติ ในปี 2559 ผล

ว่าบริษัทมีการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม

ประเมินความพึงพอใจของพนักงานในเรื่องการต่อต้าน

อย่างต่อเนื่องตลอดมา สำ�หรับการดูแลด้านทรัพยากร

การทุจริตคอรัปชัน ่ ได้คะแนนสูงสุดทุกสถานประกอบการ

บุคคล บริษัทฯ เน้นในด้านการพัฒนาความสามารถของ

ได้คะแนนเฉลีย ่ 4.38 คะแนน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) และ

พนักงานควบคู่ไปกับการสร้างและส่งเสริมบรรยากาศที่

ในวันที่ 14 ตุลาคม 2559 บริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็น

ดีในการทำ�งานให้กบ ั พนักงานซึง ่ จากการดำ�เนินการด้าน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

79

พั ฒ นาทรั พ ยากรอย่ า งมี ร ะบบมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทำ�ให้

ทั้งนี้เพื่อบริษัทฯ จะสามารถเติบโตอย่างยั่งยืน และอยู่

บริ ษั ท ทิ ป โก้ ฟู ด ส์ จำ�กั ด (มหาชน) ได้ รั บ รางวั ล สถาน

ร่วมกับสังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุข สมดังความ

ประกอบการดี เ ด่ น ด้ า นแรงงานสั ม พั น ธ์ แ ละสวั ส ดิ ก าร

มุ่งหวังของนโยบายการดำ�เนินงาน โดยมีการกำ�กับดูแล

แรงงาน เป็นปีที่ 6 ติดต่อกัน จากกรมสวัสดิการและ

กิจการที่ดี

คุ้มครองแรงงาน รางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้าน ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทำ�งาน ระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน

(นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร) ประธานคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ


80

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

การกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทได้นำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สำ�หรับบริษัท

ที่จะสร้างวัฒนธรรมองค์กรและการดำ�เนินธุรกิจด้วย

จดทะเบียนปี 2555ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ความซื่อสัตย์และโปร่งใส

ซึง ่ เป็นการนำ�ข้อพึงปฏิบต ั จ ิ ากหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549 มากำ�หนดเป็นแนว

นอกจากนี้ บริษัทยังได้จัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับคู่มือนี้

ปฏิบัติการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ที่ได้ปฏิบัติมาระหว่าง

ในทุกสถานประกอบการของบริษัทในกลุ่มธุรกิจอาหาร

ปี 2549-2555 มาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมในปี 2555

ทิปโก้ เพื่อให้พนักงานเข้าใจถึงการปฏิบัติตามการกำ�กับ

เพื่อให้เทียบเคียงกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตาม

ดูแลกิจการทีด ่ แี ละจรรยาบรรณทางธุรกิจดังกล่าวอย่าง

แนวทางของ OECD (The Organization for Eco-

ชัดเจน และถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตลอดจนผลักดันให้

nomic Co-operation and Development) และ

เกิดวัฒนธรรมในการกำ�กับดูแลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็น

หลักเกณฑ์ของอาเซียน

รากฐานในการเติบโตอย่างยั่งยืนและสร้างมูลค่าเพิ่มให้ แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม

ในปี 2559 บริษัทได้ปรับปรุงคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ ดี แ ละจรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ เพิ่ ม เติ ม อี ก ครั้ ง โดย

ผลการประเมินการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท ประจำ�

ได้ กำ � หนดนโยบายการต่ อ ต้ า นคอร์ รั บ ชั น เพื่ อ ยื น ยั น

ปี 2559 โดยบรรษัทภิบาลแห่งชาติ บริษัทได้คะแนนรวม

เจตนารมณ์เข้าเป็นหนึ่งในแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชน

83% อยู่ในระดับ“ดีมาก” โดยมีรายละเอียดคะแนน ดังนี้

ไทย ในเชิงธุรกิจสิ่งสำ�คัญที่จะทำ�ให้บริษัทมีชื่อเสียง และ

2559

2558

สิทธิของผู้ถือหุ้น

99%

99%

สำ � คั ญ อย่ า งมาก ได้ แ ก่ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ และบริ ห าร

การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น

98%

96%

งานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความโปร่งใส และตรวจ

อย่างเท่าเทียม สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย

73%

65%

ภายในบริ ษั ท และผู้ บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ รั บ ทราบถึ ง ผลเสี ย

การเปิดเผยข้อมูลและ

83%

84%

ของการคอร์ รั ป ชั น เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามเจตนารมณ์ และ

ความโปร่งใส 78%

78%

เจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องได้นั้น จะต้องมีปัจจัยหลาย อย่างที่นำ�ไปสู่ความสำ�เร็จ แต่สิ่งหนึ่งที่บริษัทให้ความ

สอบได้ ซึ่ ง การสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ ทุ ก ภาคส่ ว นได้ นั้ น ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ย บริ ษั ท จึ ง เริ่ ม ต้ น จากภายในองค์ ก ร ด้วยการปลูกฝังสร้างจิตสำ�นึก ให้ความรู้แก่พนักงาน

ความมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น ในทุ ก รู ป แบบ เพื่อให้บุคลากรภายในองค์กรรับทราบ เข้าใจและ

ความรับผิดชอบ

พร้อมนำ�ไปปฏิบัติอย่างเคร่งครัด บริษัทมีความมุ่งมั่น

ของคณะกรรมการ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

81

ปฏิบัติพร้อมทั้งสื่อสารให้พนักงานในองค์กรเข้าใจ และปฏิบัติอย่างทั่วถึง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัท สร้างความรับผิด ชอบต่อผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ สร้างความโปร่งใส

บริ ษั ท ได้ ท บทวนวิ สั ย ทั ศ น์ เป้ า หมายในการทำ � งาน

บนพืน ้ ฐานของความซือ ่ สัตย์ เพิม ่ ขีดความสามารถในการ

ยุทธศาสตร์ ตลอดจนแผนการดำ�เนินการเร่งด่วนต่างๆ

แข่งขันของกิจการอย่างยั่งยืน และเพิ่มความเชื่อมั่นให้ผู้

เพือ ่ ให้เหมาะกับสภาพการทำ�ธุรกิจในปัจจุบน ั และในอนาคต

มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) คณะกรรมการบริษัท

วิสย ั ทัศน์ใหม่นี้ ได้เน้นเรือ ่ งการสร้างมูลค่าเพิม ่ แก่ผูม ้ ส ี ว ่ น

จึงมีนโยบายให้ดำ�เนินการตามบรรษัทภิบาล ดังต่อไปนี้

ร่วมทางธุรกิจซึง ่ ได้แก่ พนักงาน ผูบ ้ ริโภค คูค ่ า้ ทางธุรกิจ ผู้ร่วมทุน สังคม และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่สอดคล้อง

1. ดู แ ลให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต าม

กับวิสัยทัศน์ บริษัทเน้นการบริหารตามมุมมอง 4 ด้าน

บทบาทและความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายอย่าง

คือ ด้านการเงิน (Financial) ด้านลูกค้า (Customer)

มีประสิทธิภาพ

ด้านการจัดการภายในองค์กร (Internal Process) และ

2. จัดให้มร ี ะบบการควบคุม และการบริหารความเสีย ่ ง ทางธุรกิจอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ 3. ให้นโยบายและทบทวนแผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ กับฝ่ายบริหาร 4. ดู แ ลไม่ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หาการขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) 5. ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียม กันและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย 6. ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส มีคณ ุ ธรรม สามารถ ตรวจสอบได้ 7. เปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอแก่ผู้มีส่วนได้เสียโดย เฉพาะเรื่องผลประกอบการและงบการเงิน

ด้านการเติบโตของบุคลากร (Learning and Growth) นอกจากนีบ ้ ริษท ั ยังนำ�องค์ประกอบทีท ่ ำ�ให้สำ�เร็จ (Critical Success Factors) และจุดเด่น (Excellence) ของบริษท ั มาปรับใช้กบ ั การดำ�เนินงานของบริษท ั หรือพูด อีกนัยหนึ่งว่า เป้าหมายของทุกหน่วยในองค์กร เช่น เป้า หมายของแต่ละบุคคล แผนก ฝ่าย และสายธุรกิจ ถูกเชือ ่ ม โยงเข้าด้วยกัน เพื่อเสริมและผลักดันไปสู่เป้าหมายใหญ่ และวิสัยทัศน์ขององค์กร นอกจากนี้บริษัทยังได้กำ�หนด นโยบายต่ า งๆ เช่ น นโยบายคุ ณ ภาพซึ่ ง เน้ น เรื่ อ งการ สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า โดยใช้ปัจจัยด้านบุคลากร กระบวนการทำ�งาน ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และ สังคม เข้ามาผลักดันอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ สร้างและสนับสนุน

8. จั ด ให้มี คู่ มื อ จรรยาบรรณของบริ ษั ท เพื่ อ ให้

ให้เกิดจิตวิญญาณในการปฏิบัติงานให้เป็นแบบอย่างที่ดี

กรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานทุกคนถือปฏิบต ั ิ

ต่อสังคมและประเทศชาติ คณะกรรมการบริษท ั ได้แต่งตัง ้

9. ดำ�เนินกิจกรรมเพือ ่ สิง ่ แวดล้อมและสังคมอย่างเป็น

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ

รูปธรรมและฝ่ายบริหารได้นำ�นโยบายดังกล่าวไปใช้

บริษัททั้งคณะ และได้กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการกำ�กับ


82

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ดูแลกิจการทีด ่ แี ละจรรยาบรรณทางธุรกิจโดยเปิดเผยไว้

เพือ ่ ให้ทราบจำ�นวนผูเ้ ข้าร่วมประชุมและการนับคะแนนลง

ในรายงานประจำ�ปีและ Website ของบริษัท และยัง

มติแต่ละวาระได้รวดเร็วยิ่งขึ้น และในการลงคะแนนเสียง

ผลักดันให้เกิดการพัฒนาในเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการที่

ประธานในทีป ่ ระชุมได้แจ้งให้ผูถ ้ อ ื หุน ้ ทราบถึงวิธก ี ารออก

ดีให้มค ี วามชัดเจนเป็นรูปธรรมยิง ่ ขึน ้ ด้วยการปลูกฝังให้

เสียงลงคะแนนโดยใช้บต ั รลงคะแนนก่อนการประชุมในการ

เกิดจิตสำ�นึกในองค์กรเพื่อให้พนักงานทุกคนได้เข้าใจและ

นับคะแนนยังกำ�หนดให้มีตัวแทนจากกรรมการอิสระและ

ถือปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ผู้สอบบัญชีภายนอกเป็นพยานในการนับคะแนนร่วมกับ พนักงานของบริษัท และยังมีการบันทึกภาพพร้อมเสียง

ในปี 2559 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลได้อนุมัติให้ยึด

ในการประชุมเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและตรวจสอบได้

หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียนปี

นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเท่าเทียมกันใน

2555 ซึ่งหลักการปฏิบัติเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ

การตรวจสอบการดำ�เนินงานของบริษัท สอบถามและ

มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

แสดงความคิดเห็น พร้อมทั้งเปิดเผยรายงานการประชุม ดังกล่าวไว้ใน Website ของบริษท ั อย่างไรก็ตามสำ�หรับ เรือ ่ งการให้สท ิ ธิแก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ ส่วนน้อยในการเสนอวาระการ

การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามั ญ ในปี 2559 มี ก รรมการเข้ า

ประชุมและเสนอแต่งตัง ้ กรรมการเป็นการล่วงหน้า และให้

ร่วมประชุม 9 ท่าน ซึ่งรวมถึงประธานคณะกรรมการ

เวลาแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยมากพอสมควร ซึ่งได้ลงไว้ใน

ตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า

Website ของบริษท ั บริษท ั ได้รบ ั การประเมินโครงการ

ตอบแทน กรรมการอีกสองท่าน คือ นางสาวรวมสิน

ประเมินคุณภาพการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ สามัญประจำ�ปี 2559

ทรัพย์สาคร กรรมการและนายชลิต ลิมปนะเวช กรรมการ

โดยผลการประเมิ น อยู่ ใ นช่ ว งคะแนน 98.75 คะแนน

อิสระ ติดภาระกิจในต่างประเทศ จึงไม่สามารถมาร่วม

(คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ผลประเมิน “ดีเยี่ยม” คะแนน

ประชุมได้ โดยบริษัทได้กำ�หนดให้มีขั้นตอนในการประชุม

เฉลีย ่ ของบริษท ั จดทะเบียนโดยรวมเท่ากับ 91.62 คะแนน

อย่างถูกต้องตามกฎหมายตัง ้ แต่การเรียกประชุม การจัด ส่งเอกสาร และแจ้งวาระการประชุม และยังให้สารสนเทศ ทีเ่ พียงพอแก่ผูถ ้ อ ื หุน ้ ในเวลาทีเ่ หมาะสมเพือ ่ พิจารณาก่อน

บริษัท ตระหนักถึงสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือ

การประชุม รวมทัง ้ เสนอทางเลือกให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ทีไ่ ม่สามารถ

หุ้นในการได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เพียงพอ และมีระยะเวลา

เข้าประชุมสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระเข้าประชุม

ที่เหมาะสมในการพิจารณา บริษัทได้จัดส่งหนังสือนัด

และออกเสียงลงคะแนนแทน (ดูรายเอียดเพิ่มเติมในเรื่อง

ประชุ ม แก่ ผู้ ถื อ หุ้ น พร้ อ มทั้ ง ข้ อ มู ล ประกอบการประชุ ม

ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น) ปี 2559 บริษัทใช้ระบบ

ตามวาระต่างๆรวมทั้งเอกสารที่ต้องใช้แสดงตัวเพื่อเข้า

barcode ในการลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้

ประชุม หนังสือมอบฉันทะและรายละเอียดวิธีการมอบ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริาัษัท ทิปโก้ฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน)

83

ฉันทะ ให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม 14 วัน

ประชุมและลงความเห็นแทนแล้ว ผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีไ่ ม่สามารถเข้า

นอกจากนีต ้ ง ั้ แต่การประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ครัง ้ ที่ 1/2549

ร่วมประชุมได้ยังสามารถมอบอำ�นาจให้กรรมการอิสระ

เป็นต้นมา บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรับทราบข้อมูล

เป็นผู้รับมอบอำ�นาจจากผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงแทน ใน

โดยเร็ว โดยได้เผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุมผู้

การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นทุกครั้ง กรรมการบริษัทได้ให้

ถือหุ้นล่วงหน้าไว้ใน Website ก่อนการจัดส่งเอกสาร

ความสำ�คัญอย่างมาก กรรมการทุกท่านมีเป้าหมายที่

และตั้งแต่ปี 2552 ได้เผยแพร่ข้อมูลใน Website ก่อน

จะเข้าประชุมร่วมกันทุกครั้ง นอกจากมีเหตุจำ�เป็นจริงๆ

การประชุม 30 วัน นอกจากนี้บริษัทยังได้กำ�หนดเวลา

นอกจากนี้ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทยังเข้าร่วมประชุม

การประชุมและสถานที่จัดประชุมที่เหมาะสมเพื่ออำ�นวย

เป็นประจำ� และสม่ำ�เสมออีกด้วย

ความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น ในการดำ�เนินการปฏิบัติจริง ในวันประชุมผู้ถือหุ้น ได้เปิดให้ลงทะเบียนล่วงหน้าก่อน

รายงานการประชุมมีรายละเอียดสาระสำ�คัญครบถ้วน

การประชุม 2 ชั่วโมงและยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดง

เช่ น กรรมการที่ เ ข้ า ประชุ ม คำ � ชี้ แ จงของประธานคณะ

ความคิดเห็นและซักถามได้โดยอิสระ การลงคะแนนเสียง

กรรมการบริ ษั ท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ลงตามลำ�ดับวาระทีก ่ ำ�หนด ไม่มก ี ารเพิม ่ วาระการประชุม

กรรมการผู้ จั ด การ และกรรมการท่ า นอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง

โดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า มีการแจ้งวิธีการลง

ตลอดจนข้อซักถาม และแสดงความเห็นของผู้ถือหุ้น วิธี

คะแนนให้ผู้ถือหุ้นทราบก่อนลงคะแนน เปิดให้มีการชี้แจง

การลงคะแนนและวิธีการนับคะแนน จำ�นวนคะแนนแยก

และอภิปรายในที่ประชุมก่อนลงคะแนนในแต่ละวาระ ผู้

เป็น เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง และข้อมูล

ถื อ หุ้ น ทุ ก รายสามารถลงคะแนนได้ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น

อื่นๆที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้รายงานการประชุมดังกล่าว

ยกเว้ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ให้ ง ดออกเสี ย ง ตั้ ง แต่ ปี

ยังส่งให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใน 14 วัน มีการเผยแพร่

2551 ได้เผยแพร่วัตถุประสงค์และหลักเกณฑ์ให้ผู้ถือหุ้น

ผ่าน Website ของบริษท ั เพือ ่ ให้ผู้ถอ ื หุ้นสามารถตรวจ

ส่วนน้อยได้มโี อกาสเสนอวาระการประชุมและชือ ่ บุคคลที่

ดูความถูกต้องของมติ และเรือ ่ งทีอ ่ ภิปรายหรือชีแ้ จงในที่

มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการผ่านทาง Website

ประชุมและให้คำ�แนะนำ�เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องที่ควรบันทึก

ของบริษท ั สำ�หรับปี 2559 บริษท ั มีการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ 1

เพิม ่ เติมหรือแก้ไขได้กอ ่ นทีบ ่ ริษท ั จะนำ�รายงานการประชุม

ครั้ง โดยที่วาระการประชุมในแต่วาระมีเนื้อหาเรื่องราย

ดังกล่าวเสนอเพือ ่ รับรองในการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ครัง ้ ถัดไป

ละเอียดทัว ่ ไป เหตุผลและผลกระทบเพิม ่ เติมและความเห็น ของคณะกรรมการฯ เพือ ่ ให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ มีความเข้าใจในเนือ ้ หา

บัตรลงคะแนนตลอดจนเอกสารหลักฐานอื่นๆ มีระบบ

ในแต่ละวาระและสามารถวิเคราะห์ตัดสินใจได้ชัดเจนมาก

การจัดเก็บที่ดี สามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ บริษัท

ขึ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ และบริษัทยังได้

ได้แจ้งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นผ่านระบบข่าวของตลาดหลัก

เพิม ่ ทางเลือกให้กบ ั ผูถ ้ อ ื หุน ้ นอกจากมอบฉันทะให้ผูอ ้ ืน ่ มา

ทรัพย์ฯ ภายในวันถัดไปโดยมติดังกล่าวระบุผลของมติ


84

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ว่าเห็นด้วย ไม่ เ ห็ นด้ ว ย และงดออกเสี ยงในแต่ ละวาระ

การประกอบธุรกิจ” ซึ่งได้แก่การต่อต้านการคอร์รัปชั่น

อย่ า งครบถ้ ว นให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ข้ า ประชุ ม ได้ ท ราบมติ

การมี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ งอย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ

ผลการประชุมได้อย่างรวดเร็ว

การปฏิบัติเสมอภาคและเป็นธรรมแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และการปฏิบัติด้าน

สำ�หรับสิทธิในส่วนแบ่งกำ�ไร บริษท ั มีกลไกทีท ่ ำ�ให้ผูถ ้ อ ื หุน ้

แรงงานและความเคารพในสิทธิของพนักงาน และข้อพึง

มีความมั่นใจว่าจะได้รับผลตอบแทนอย่างครบถ้วน โดย

ปฏิบัติของบุคคล 3 กลุ่มหลักที่มีส่วนร่วมในการปฏิบัติ

บริษัทมีโครงสร้างการถือหุ้นที่ชัดเจน ไม่มีลักษณะการ

งานและมีส่วนได้เสียในบริษัทได้แก่ ฝ่ายจัดการ (หมาย

ถือหุ้นไขว้กัน แต่มีการถือหุ้นในลักษณะที่มีผู้ถือหุ้นร่วม

ถึง คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายบริหารระดับสูง ผู้จัดการ

กันกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง (บริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำ�กัด

และเจ้าหน้าที่ระดับบังคับบัญชา) พนักงาน และผู้ถือหุ้น

(มหาชน)) ในรูปของเงินลงทุนในหุ้นสามัญในสัดส่วนเงิน

รายใหญ่ โดยเฉพาะข้อพึงปฏิบัติของฝ่ายจัดการมีการ

ลงทุนในอัตราร้อยละ 23.82 สำ�หรับมาตรการในการ

ระบุเป็นรายละเอียดข้อพึงปฏิบัติของฝ่ายจัดการต่อผู้มี

อนุ มั ติ ก ารทำ�รายการเกี่ ย วโยงกั น ผ่ า นการพิ จ ารณา

ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ 7 กลุ่ ม ได้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น พนั ก งาน

ของคณะกรรมการตรวจสอบแล้วนำ�เสนอคณะกรรมการ

ลูกค้าหรือผูบ ้ ริโภค คูค ่ า ้ และ/หรือเจ้าหนี้ คูแ่ ข่งทาง การ

บริษท ั เป็นผู้พจ ิ ารณาอนุมต ั ิ โดยกรรมการทีม ่ ส ี ว ่ นได้เสีย

ค้า สิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน

จะงดออกเสียงในการอนุมต ั ร ิ ายการดังกล่าว นอกจากนี้

โดยที่จริยธรรมในการประกอบธุรกิจและข้อพึงปฏิบต ั ิดง ั

คณะกรรมการตรวจสอบยังมีอำ�นาจหน้าทีใ่ นการดูแลไม่

กล่าวอยู่บนรากฐานของอุดมการณ์ในเรื่องคุณภาพและ

ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และให้มม ี าตรการดูแล

คุณธรรม นอกจากนีย ้ ง ั เน้นเรือ ่ งกระบวนการกำ�กับดูแล

ข้อมูลภายในเพือ ่ ป้องกันการนำ�ไปใช้เพือ ่ ประโยชน์สว ่ นตน

กิจการเพื่อไม่ให้ผู้ถือหุ้นรายใหญ่แทรกแซง การตัดสินใจ

ในทางมิชอบเพิม ่ เติม กำ�หนดให้ตอ ้ งรายงานให้เลขานุการ

ใดๆของนักบริหารที่บริหารงานโดยสุจริตและบนพื้นฐาน

คณะกรรมการบริ ษั ท ทราบทุ ก ครั้ ง ที่ มี ก ารเคลื่ อ นไหว

ของความเป็นมืออาชีพ นอกจากนี้บริษัทยังตะหนักดีว่า

ของการถือหุน ้ ของกรรมการและผูบ ้ ริหาร โดยเริม ่ ตัง ้ แต่

เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของชุ ม ชน จึ ง กำ � หนดเป็ น นโยบายในการ

ปี 2547 จากเดิมที่ต้องรายงานด้วยตัวเอง นอกเหนือ

ดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบที่ดี

จากได้กำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหารเปิดเผยการถือ

ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม มีการกำ�หนดบุคลากรที่รับผิด

หุ้นของบริษท ั ในการประชุมคณะกรรมการบริษท ั ทุกครัง ้

ชอบและกิจกรรมต่างๆที่ส่งเสริมให้เป็นไปตามนโยบาย ซึ่งกิจกรรมในด้านสิ่งแวดล้อมและการช่วยเหลือชุมชน ดังตัวอย่างเช่น การรับโรงเรียนทีต ่ ัง ้ อยูใ่ กล้โรงงาน หรือ

บริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทั้ ง

โรงเรียนอื่นตามความเหมาะสม เป็นโรงเรียนในอุปถัมภ์

ภายในและภายนอก โดยได้มีการกำ�หนด“จริยธรรมใน

โดยสนับสนุนทุนการศึกษาแก่นักเรียน จัดอุปกรณ์การ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

85

ศึกษา หรือพัฒนาโรงเรียนโดยวิธีการอื่นๆ อย่างเหมาะ

ประเทศไทย ที่ใช้บังคับกับการทำ�รายการที่เกี่ยว

สม การสนั บ สนุ น เงิ น หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สำ � หรั บ กิ จ กรรม

โยงกั น ของบริ ษั ท จดทะเบี ย นหรื อ การได้ ม าหรื อ

ต่างๆ ของหน่วยงานราชการ โรงเรียน วัด องค์กรอื่นๆ

จำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนแล้ว

และชาวบ้านชุมชนใกล้เคียงรักษาสิ่งแวดล้อมในบริเวณ

แต่กรณี ให้บริษัทปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการ

โรงงานไม่ให้มีหรือมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมชุมชนโดย

ตามทีป ่ ระกาศดังกล่าวกำ�หนดไว้ในเรือ ่ งนัน ้ ๆ ด้วย”

รอบและอื่นๆอีก นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ยั ง ได้ ป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง ทางผล ประโยชน์ โดยการให้พนักงานลงนามใน “ข้อตกลงเรื่อง บริษท ั ขจัดรายการทีม ่ ค ี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ด้วย

การกระทำ�ที่ขัดต่อผลประโยชน์ของบริษัท” ซึ่งบันทึกข้อ

การปฏิบัติตามนโยบายในจริยธรรมธุรกิจ โดยได้มีการ

ตกลงดังกล่าวได้ระบุการลงโทษทางวินย ั ตามขัน ้ ตอนและ

กำ�หนดข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ โดย

ถึงขั้นเลิกจ้างหากพบว่ามีการจงใจฝ่าฝืนหรือละเมิดข้อ

เฉพาะผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึ่งเน้นเรื่องการควบคุมไม่ให้เกิด

ตกลงและเพือ ่ ให้มม ี าตรการดูแลข้อมูลภายในเพือ ่ ป้องกัน

ผลกระทบทางลบต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่น นอกจากนี้

การนำ�ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนในทางมิชอบเพิ่มเติมได้

คณะกรรมการได้ทราบถึงรายการทีม ่ ค ี วามขัดแย้งทางผล

กำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหารเปิดเผยการถือหุ้นของ

ประโยชน์และรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกันและได้พจ ิ ารณาความ

บริษท ั ในการประชุมคณะกรรมการทุกไตรมาส และต้อง

เหมาะสมอย่างรอบคอบทุกครัง ้ (โปรดดูรายละเอียดเรือ ่ ง

รายงานให้เลขานุการคณะกรรมการบริษท ั ทราบทุกครัง ้

การขจัดความขัดแย้งของผลประโยชน์เพิ่มในหัวข้อความ

ที่มีการเคลื่อนไหวของการถือหุ้น

เท่าเทียมกันของผูถ ้ อ ื หุน ้ ประกอบ) รวมทัง ้ ยังมีการปฏิบต ั ิ ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และได้เพิม ่ เติมในข้อ

รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามหลั ก เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก

บังคับของบริษัทเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นส่วน

ทรัพย์ฯ ต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการตรวจ

น้อยซึง ่ ได้รบ ั อนุมต ั จ ิ ากทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ในปี 2546 ให้เพิม ่

สอบ จากนัน ้ นำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษท ั อนุมต ั ิ โดยที่

เติมข้อบังคับดังกล่าว ดังมีรายละเอียดดังนี้

กรรมการที่มีส่วนได้เสียงดออกเสียง และถ้าขนาดของ รายการที่ใหญ่ต้องผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

“ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท หมวด 8 ข้ อ 48 ในกรณี ที่

พร้อมทั้งลงประกาศในหนังสือพิมพ์ อนึ่งรายการที่เกี่ยว

บริษัทหรือบริษัทย่อยตกลงเข้าทำ�รายการที่เกี่ยว

โยงกัน เป็นรายการที่ใช้ราคาตลาดเป็นเกณฑ์ในการทำ�

โยงกัน หรือรายการเกีย ่ วกับการได้มาหรือจำ�หน่าย

รายการ โดยจะมีการเปรียบเทียบราคาตลาดกับบริษัท

ไปซึง ่ สินทรัพย์ของบริษท ั หรือบริษท ั ย่อย ตามความ

อื่นอีกอย่างน้อย 3 ราย

หมายที่กำ�หนดตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่ง


86

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ต้องตามที่กฎหมายกำ�หนด โดยมีสาระสำ�คัญครบถ้วน จริยธรรมธุรกิจได้กำ�หนดไว้ในจรรยาบรรณของกลุ่ม

เพี ย งพอ เชื่ อ ถื อ ได้ โปร่ ง ใส และทั น เวลา ทั้ ง ภาษาไทย

ธุรกิจอาหาร ทิปโก้ เพื่อเป็นแนวทางและข้อพึงปฏิบัติที่

และภาษาอังกฤษ โดยเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบ

ดี ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย อุ ด มการณ์ อั น ได้ แ ก่ เชื่ อ มั่ น ในการ

SET Portal ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ

กำ�กับดูแลกิจการที่ดี มุ่งมั่นในความเป็นเลิศ และถือมั่น

Website ของบริษัทฯ

ในความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมในการประกอบ ธุรกิจ อันได้แก่ การต่อต้านการคอร์รป ั ชัน ่ การมีสว ่ นร่วม

บริษท ั ยึดถือปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และข้อบังคับ

ทางการเมืองอย่างรับผิดชอบ การปฏิบัติเสมอภาคและ

ต่างๆ ที่กำ�หนดโดยสำ�นงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก

เป็นธรรมแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ความรับผิดชอบต่อสังคมและ

ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตลาดหลักทรัพย์

สิง ่ แวดล้อมและการปฏิบต ั ด ิ า้ นแรงงานและความเคารพใน

แห่งประเทศไทย และหน่วยงานของรัฐ อย่างเคร่งครัด

สิทธิของพนักงาน พร้อมทัง ้ กำ�หนดข้อพึงปฏิบต ั ส ิ ำ�หรับผู้

และติดตามการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอยู่อย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อ

มีส่วนได้เสีย อันได้แก่ข้อพึงปฏิบัติของฝ่ายจัดการ ข้อพึง

ให้มั่นใจได้ว่ากฎหมาย กฏเกณฑ์ ข้อบังคับที่บริษัทฯ ถือ

ปฏิบต ั ขิ องพนักงาน และข้อพึงปฏิบต ั ขิ องผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่

ปฏิบัตินั้นมีความถูกต้อง และเป็นหลักประกันให้ผู้ถือหุ้น

และข้อเสนอแนะเมื่อเกิดปัญหา พร้อมทั้งสื่อให้กรรมการ

เชือ ่ มัน ่ ในการดำ�เนินธุรกิจทีโ่ ปร่งใส ถูกต้อง ตรงไปตรงมา

และพนั ก งานทุ ก คนทราบอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น เวลานาน ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องลงนามรับทราบทุก 2 ปี และตกลงที่จะ

คณะกรรมการบริษัทยึดมั่นแนวปฏิบัติเรื่องการเปิดเผย

ถือปฏิบัติ นอกจากนี้ฝ่ายจัดการต้องรับผิดชอบในการ

ข้อมูลทีเ่ กีย ่ วข้องกับบริษท ั ฯ เพือ ่ เป็นการจัดระเบียบ การ

ดู แ ลให้ พ นั ก งานที่ อ ยู่ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาทุ ก คน ปฏิ บั ติ ต าม

เปิดเผยข้อมูลของบริษัท ให้เป็นระบบ และป้องกันความ

ข้อกำ�หนดต่างๆอย่างเคร่งครัด กรณีพนักงานไม่ปฏิบัติ

เสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการเปิดเผยข้อมูลอย่างไม่ถูก

ตามจรรยาบรรณของบริษท ั ฯ จะถูกพิจารณาลงโทษตาม

ต้องรวมทั้งเพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน สาธารณชน หรือผู้

ระเบียบของบริษัท

มีสว ่ นได้เสียต่างๆ มัน ่ ใจว่าการเปิดเผยข้อมูลของบริษท ั มี ความถูกต้องชัดเจนสอดคล้องกับกฎหมาย และเท่าเทียม กันตามนโยบายเปิดเผยข้อมูล

บริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ เรื่ อ งการเปิ ด เผยสารสนเทศ เนื่องจากเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสีย จึงมีความจำ�เป็นที่ต้องมีการ

ทุกปีคณะกรรมการบริษท ั จะพิจารณาว่าจะปรับปรุงแก้ไข

ควบคุม และกำ�หนดมาตรการในการเปิดเผยสารสนเทศ

นโยบายในการดำ � เนิ น การบรรษั ท ภิ บ าล เพื่ อ ให้ บ รรลุ

ทั้งที่เป็นสารสนเทศทางการเงินและไม่ใช่ทางการให้ถูก

วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องบริ ษั ท สร้ า งความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผล


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

87

การปฏิ บั ติ ง านตามหน้ า ที่ สร้ า งความโปร่ ง ใสบนพื้ น

เต็ ม 5.00 ทั้ ง นี้ ก ารวางระบบในเรื่ อ งการกำ � กั บ ดู แ ล

ฐานของความซือ ่ สัตย์ เพิม ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน

กิจการดังกล่าว ทำ�ให้บริษัทสามารถผลักดันให้เกิดการ

ของกิ จ การอย่ า งยั่ ง ยื น เพิ่ ม ความเชื่ อ มั่ น ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้

ปฏิบต ั อ ิ ย่างต่อเนือ ่ งและกระตุน ้ ให้อยูใ่ นจิตวิญญาณของ

เสีย (Stakeholder) และสอดคล้องในการดำ�เนินธุกร

พนักงานทุกระดับ

กิจในปัจจุบัน นอกจากนีเ้ พือ ่ ให้พนักงานทุกระดับเข้าใจและใช้เป็นแนวทาง ในการทำ�งานอยูเ่ สมอ ได้วางรากฐานในเรือ ่ งนโยบายการ กำ�กับดูแลกิจการทีด ่ แี ละจรรยาบรรณในการบริหารธุรกิจ ตัง ้ แต่การอบรมเริม ่ แรกเมือ ่ รับเข้าทำ�งาน (Orientation)

คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ย ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี

และยังมีการทบทวนในเรื่องดังกล่าวอย่างน้อย ปีละ 2

ความรู้ ค วามสามารถอย่ า งสู ง พร้ อ มทั้ ง มี ก ารพั ฒ นา

ครั้ง และนอกจากนี้ยังกำ�หนดเป็นคำ�ถาม และ ให้เสนอ

ตนเองตามหลักสูตรสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

ความคิ ด เห็ น ในแบบสำ � รวจความคิ ด เห็ น ของพนั ก งาน

บริษัทไทย (IOD) อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการได้มีส่วน

ประจำ�ปี (Employee Opinion Survey) เช่น “ท่าน

ร่วมในการกำ�หนด และให้ความเห็นชอบในเรือ ่ งวิสย ั ทัศน์

เห็นด้วยกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ

กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริษัท

ปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ทั้งด้านผู้ถือหุ้น พนักงาน

ตลอดจนกำ�กับดูแลให้ฝา่ ยจัดการดำ�เนินการให้เป็นไปตาม

ลูกค้า และผูม ้ ส ี ว ่ นได้สว ่ นเสีย” และ “ท่านเห็นด้วยเกีย ่ วกับ

แผนธุรกิจและงบประมาณทีก ่ ำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

การดำ�เนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

และประสิทธิผล คณะกรรมการและฝ่ายจัดการมีความรับ

และสังคม (CSR) และปฏิบัติตามนโยบายบริษัท” อีกด้วย

ผิดชอบตามหน้าทีต ่ อ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ มีระบบการแบ่งแยกบทบาท

ซึ่ ง ผลการประเมิ น ทั้ ง สองหั ว ข้ อ ในปี 2559 ได้ ค ะแนน

หน้าที่รับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการกับฝ่ายจัดการ

4.30 และ 4.36 ตามลำ�ดับ จากคะแนนเต็ม 5.00 คะแนน

รวมทัง ้ ได้มก ี ารทบทวนและประเมินผลการควบคุมภายใน

นอกจากนี้เพื่อให้สอดคล้องกับจริยธรรมในการดำ�เนิน

และการบริหารความเสีย ่ งให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม ภายใต้

ธุรกิจซึ่งนอกเหนือจากการสื่อสารให้พนักงานตระหนัก

กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษท ั

ในเรื่องการต่อต้านการคอร์รัปชั่นแล้ว บริษัทยังได้เพิ่ม

ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และรักษาผลประโยชน์ของ

คำ�ถามในแบบสำ�รวจความคิดเห็นของพนักงานประจำ�ปี

บริษท ั บนพืน ้ ฐานของหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี โดยได้

2559 ว่า “ท่านเห็นด้วยและจะปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายบริษท ั

จัดตัง ้ คณะอนุกรรมการขึน ้ 4 คณะได้แก่ คณะกรรมการ

เรื่องการต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น (Anti-corrup-

ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

tion)” ซึ่งผลการประเมินได้ 4.38 คะแนน จากคะแนน

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และ คณะกรรมการบริหาร


88

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ความเสี่ ย ง ประกอบด้ ว ยกรรมการที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละ

5. ให้คำ�ปรึกษาร่วมอภิปรายปัญหาอย่างกว้างขวาง

หน้าทีร ่ บ ั ผิดชอบตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง

โดยทัว ่ กันและวินจ ิ ฉัยด้วยดุลยพินจ ิ ทีร ่ อบคอบเรือ ่ ง

ประเทศไทย ซึ่งได้มีการกำ�หนดบทบาทและภาระหน้าที่

ที่เสนอตามวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัท

ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการกับฝ่ายจัดการ

6. จัดให้มก ี ารทำ�งบดุลและบัญชีกำ�ไรขาดทุน ณวันสิน ้

และคณะกรรมการกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่เป็นลายลักษณ์

สุดของรอบปีบญ ั ชีของบริษท ั เสนอต่อทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื

อักษรอย่างชัดเจน

หุน ้ ในการประชุมสามัญประจำ�ปีเพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ิ งบดุลและบัญชีกำ�ไรขาดทุนและคณะกรรมการบริษท ั ต้องจัดให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบให้เสร็จสิ้นก่อนนำ�

1. ดู แ ลและจั ด การให้ ก ารดำ � เนิ น การของบริ ษั ท เป็ น

เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น

ไปตามกฎหมายวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละข้ อ บั ง คั บ ของ

7. แต่งตั้งและกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการ

บริษัทตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และรักษาผล

8. มอบอำ�นาจดำ�เนินการให้กรรมการผูจ ้ ด ั การในการ

ประโยชน์ของบริษัทบนพื้นฐานของหลักการกำ�กับ

ดำ�เนินกิจการของบริษัทตลอดจนมีอำ�นาจแต่งตั้ง

ดูแลกิจการที่ดี

และถอดถอนพนั ก งานของบริ ษั ท รวมทั้ ง กำ � หนด

2. กำ�หนดนโยบายและทิศทางการดำ�เนินงานของบริษท ั

ค่ า ตอบแทนในการทำ � งานตามนโยบายของคณะ

และกำ�กับควบคุมดูแลให้ฝ่ายจัดการดำ�เนินการให้

กรรมการรวมทัง ้ มอบอำ�นาจดำ�เนินการแก่พนักงาน

เป็นตามนโยบายที่กำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของธุรกิจ

และประสิทธิผลเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด ให้แก่กิจการและความมั่งคั่งสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น 3. จัดให้มก ี ารประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ เป็นการประชุมใหญ่สามัญ ประจำ�ปีภายในไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันปิดบัญชีสิ้น ปีของบริษัทและจัดประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุม วิสามัญเมื่อมีความจำ�เป็น

9. พิจารณาอนุมต ั ง ิ บประมาณในการลงทุนและในการ ดำ�เนินกิจการของบริษท ั ประจำ�ปีรวมทัง ้ ดูแลการใช้ ทรัพยากรของบริษัท 10. กำ�หนดหลักการและนโยบายค่าตอบแทนการทำ�งาน ของผู้บริหารระดับสูง 11. จัดให้มีการควบคุมและตรวจสอบภายในตลอดจน

4. จัดประชุมคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาสและใน

จัดทำ�ระบบการควบคุมทางการเงินการดำ�เนินงาน

การประชุ ม ต้ อ งมี ก รรมการไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง

และ การกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานรวมทั้งควบคุม

ของทั้ ง หมดการวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ

และบริหารความเสี่ยง

เอาเสี ย งข้ า งมากเป็ น มติ ถ้ า คะแนนเสี ย งเท่ า กั น ให้ ประธาน

ของที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียง

หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

12. จัดให้มีการรายงานข้อมูลทางการเงิน และข้อมูล ทัว ่ ไปทีส ่ ำ�คัญต่อผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างครบถ้วนถูกต้องเพียง พอและยืนยันการตรวจสอบรับรองข้อมูลทีร ่ ายงาน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

89

โดยไม่เสียการควบคุม เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการ 1. จัดการงานและดำ�เนินงานของบริษัทตามนโยบาย และอำ�นาจที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด 2. กำ�หนดเป้าหมายธุรกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

บริษัทอนุมัติ 9. ทำ�รายงานสถานะการเงินและงบการเงินให้คณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติทุกๆไตรมาส

ในแผนธุรกิจประจำ�ปีรวมทั้งงบประมาณค่าใช้จ่าย และแผนยุ ท ธ์ ศ าสตร์ ร ะยะยาวให้ ค ณะกรรมการ บริษัทอนุมัติ 3. บริหารการปฏิบต ั ง ิ านผ่านคณะจัดการให้บรรลุเป้า หมายตามที่กำ�หนดไว้ในแผนธุรกิจโดยสร้างความ สามารถการแข่งขันและให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม แก่ผู้ถือหุ้น 4. จัดสรรทรัพยากรและสรรหาบุคคลากรทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5. ส่งเสริมและสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เข้มแข็งและ สนับสนุนวิสัยทัศน์และการเติบโตของธุรกิจ 6. ติ ด ตามการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท อย่ า งใกล้ ชิ ด วัดผลการดำ�เนินการและรายงานถึงกิจการที่ฝ่าย

1. ดูแลรายงานทางการเงินของบริษท ั ให้ตรงต่อความ เป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอและเชื่อถือได้ 2. ดูแลให้บริษัทและฝ่ายจัดการดำ�เนินการให้มีระบบ การควบคุมภายในที่เหมาะสมและมี 3. ประสิ ท ธิ ภ าพ หากเห็ น สมควรสามารถที่ จ ะเชิ ญ กรรมการ ผู้บริหาร หรือเจ้าหน้าที่ของบริษัทเข้า ร่วมประชุม และให้ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องได้ 4. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตัง ้ ผูส ้ อบบัญชีของ บริษัท พร้อมกำ�หนดค่าตอบแทน 5. ดูแลให้บริษัทและฝ่ายจัดการปฏิบัติตามข้อกำ�หนด และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

จัดการได้กระทำ�ไปแล้วต่อคณะกรรมการบริษท ั เป็น

6. ดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์

ระยะและทันสถานการณ์

7. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดย

7. พิจารณากลั่นกรองและนำ�เสนอขออนุมัติจากคณะ

เปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษท ั ซึง ่ รายงาน

กรรมการบริษท ั ในเรือ ่ งเกีย ่ วกับนโยบายและทิศทาง

ดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการ

ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เรื่ อ งที่ ห ากทำ � ไปแล้ ว จะเกิ ด การ

ตรวจสอบและต้องมีความเห็นในเรื่องต่างๆ ตาม

เปลี่ยนแปลงอย่างสำ�คัญแก่กิจการของบริษัทและ

ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

เรื่ อ งที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและข้ อ บั ง คั บ ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 8. จัดทำ�รายละเอียดอำ�นาจดำ�เนินการภายในบริษัท เพื่อกระจายอำ�นาจให้พนักงานสามารถปฏิบัติงาน

1. คณะกรรมการมี ห น้ า ที่ ทำ � การสรรหา และเสนอ

และตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพมีความคล่องตัว

บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมสำ � หรั บ การดำ � รง


90

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ตำ � แหน่ ง กรรมการตามระเบี ย บปฏิ บั ติ เ รื่ อ งการ

5.1.1 พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ต่ อ ข้ อ เสนอ

คัดเลือกสรรหากรรมการบริษัท และพิจารณาผล

ของประธานกรรมการบริหาร และ/หรือ

งาน คุณสมบัติ และความเหมาะสมของกรรมการ

กรรมการผู้จัดการ เพื่อนำ�เสนอต่อคณะ

ที่พ้นตำ�แหน่งและสมควรได้รับเลือกตั้งใหม่ เสนอ

กรรมการบริษัท

ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาให้ ค วาม

ทรัพยากรบุคคลสำ�หรับผู้บริหารระดับสูง

เห็นชอบ และเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งเป็น

เพือ ่ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการทำ�ธุรกิจ

กรรมการบริษัท

ของบริษัท

เกี่ยวกับนโยบายด้าน

2. คณะกรรมการมี ห น้ า ที่ เ สนออั ต ราค่ า ตอบแทน

5.1.2 สร้ า งความมั่ น ใจว่ า แผนการสื บ ทอด

และกำ�หนดเงื่อนไขในการว่าจ้าง และอัตราค่าจ้าง

ตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหาร และ

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจ ้ ด ั การ และ

ตำ�แหน่งทีส ่ ำ�คัญ มีรายชือ ่ ผูท ้ ีอ ่ ยูใ่ นเกณฑ์

ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทตามที่คณะกรรมการ

ทีจ ่ ะได้รบ ั การพิจารณา และตรวจสอบให้

บริษัทมอบหมาย

แน่ใจว่าแผนการสืบทอดตำ�แหน่งผู้บริหาร

3. คณะกรรมการมีบทบาทในการเสนอความเห็นต่อ

ระดั บ สู ง ผู้ บ ริ ห าร และตำ�แหน่ ง ที่ สำ�คั ญ

คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ อนุ มั ติ เกี่ ย วกั บ อั ต รา

ได้ รั บ การทบทวนอยู่ เ สมอโดยประธาน

ค่ า ตอบแทนของประธานกรรมการบริ ษั ท และ

กรรมการบริหาร และกรรมการผูจ ้ ด ั การ

กรรมการบริ ษั ท ตามระเบี ย บการพิ จ ารณาผล

5.2 กลยุทธ์ด้านการประเมินผลและผลประโยชน์

ตอบการทำ�งาน

เพื่อขอรับความเห็นชอบจากที่

ประชุมผู้ถือหุ้นในภายหลัง 4. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร มี ห น้ า ที่ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ต่ อ ค ณ ะ กรรมการบริษท ั เกีย ่ วกับผูส ้ บ ื ทอดตำ�แหน่งประธาน

ตอบแทนสำ�หรับผู้บริหารระดับสูง 5.2.1 ทบทวนกลยุ ท ธ์ ใ นการให้ ผ ลประโยชน์ ตอบแทน และเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อรับรอง

กรรมการบริหาร กรรมการผูจ ้ ด ั การ และทบทวน

5.2.2 ทบทวนผลประโยชน์ตอบแทนและเสนอคณะ

แผนการสืบทอดตำ�แหน่งผูบ ้ ริหารระดับสูง ผูบ ้ ริหาร

กรรมการบริษัท เพื่อการจูงใจให้ผู้บริหาร

และตำ�แหน่ ง ที่ สำ�คั ญ ที่ ป ระธานกรรมการบริ ห าร

ระดับสูงเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของ

หรือกรรมการผู้จัดการได้จัดเตรียมไว้

ตน รวมถึ ง ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาด้ ว ย และ

5. คณะกรรมการ มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ

อุทิศตนเพื่อพัฒนาธุรกิจของบริษัทอย่าง

กลยุทธ์ดังต่อไปนี้

เต็ ม สติ ปั ญ ญาและความสามารถในการ

5.1 กลยุทธ์ดา้ นทรัพยากรบุคคลสำ�หรับผูบ ้ ริหาร

ปฏิบัติงานทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวม

ระดับสูง

ถึงการพิจารณาให้ถือหุ้นของบริษัทด้วย


รายงานประจำ�ปี 2559 บริาัษัท ทิปโก้ฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน)

91

5.2.3 ให้คำ�เสนอแนะแก่ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร และกรรมการผู้ จั ด การ ถึ ง หลั ก การ พิจารณาเงินเดือน สวัสดิการค่าตอบแทน

นายวิรชั ไพรัชพิบล ู ย์ (สามารถดูประวัตไิ ด้จากหน้า 27 )

และผลประโยชน์ต่างๆ แก่ผู้บริหารระดับ

รายชื่อกรรมการที่มีความรู้ทางด้านการเงิน

สูงของบริษัท

นายสมจิตต์ เศรษฐิน นายเอกพล พงศ์สถาพร และนาย

5.2.4 พิ จ า ร ณ า แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ต่ อ ค ณ ะ

วิรชั ไพรัชพิบล ู ย์ (สามารถดูประวัตไิ ด้จากหน้า 26-29)

กรรมการบริษัทเกี่ยวกับนโยบายและรูป แบบของการให้ ผ ลประโยชน์ ต อบแทนซึ่ ง

ออกแบบไว้สำ�หรับการจูงใจ และรักษาไว้ ซึ่งพนักงานที่มีความสามารถ มีคุณภาพ และมีศักยภาพ 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท กำ � ห น ด คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการผูจ ้ ด ั การ 1. กำ � หนดนโยบายบรรษั ท ภิ บ าลให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ

2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทำ�การ

กำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

กลั่นกรองสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม

2. ทบทวนนโยบายบรรษัทภิบาลและการประเมินผล

ตามทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั กำ�หนดไว้ เสนอให้คณะ

การปฏิบัติตามนโยบายเป็นระยะ 3. พิจารณาอนุมต ั จ ิ รรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ ของบริษัท

กรรมการบริษัทพิจารณา 3. คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเลือกผู้ที่เหมาะสมที่ จะเป็นกรรมการ เสนอให้ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ พิจารณา แต่งตั้งเป็นกรรมการ 4. คณะกรรมการพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ผู้ ที่ เ หมาะสมเป็ น

1. จัดประชุมเพือ ่ ประเมินความเสีย ่ งทีอ ่ าจส่งผลต่อการ

กรรมการผู้จัดการ

ดำ�เนินธุรกิจทัง ้ ในระยะสัน ้ และระยะยาว และมี การ ทบทวนความเสี่ยง อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง 2. กำ�หนดแผนการดำ�เนิ น งานเพื่ อ ลดความเสี่ ย งต่ อ การดำ�เนินธุรกิจ

1. เป็นผู้มีคุณสมบัติของกรรมการตามที่กำ�หนดไว้ 2. เป็นกรรมการทีส ่ ามารถปฏิบต ั ห ิ น้าทีแ่ สดงความคิด

3. ติดตามและรายงานผลการดำ�เนินการบริหารความเสีย ่ งให้

เห็นโดยใช้ดุลยพินิจของตนเองอย่างเป็นอิสระและมี

คณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริษท ั ทราบ

จริยธรรมโดยยึดถือประโยชน์ขององค์กรเป็นหลัก


92

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

โดยไม่ได้คำ�นึงถึงเฉพาะประโยชน์ของผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นรายย่อยหรือตนเอง 3. เป็นผูม ้ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วนตามทีต ่ ลาดหลักทรัพย์ฯ กำ�หนด และเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ดี ดังต่อไปนี้ 3.1 ถือหุน ้ ไม่เกินร้อยละ 2 ของจำ�นวนหุน ้ ทีม ่ ส ี ท ิ ธิ ออกเสี ย งทั้ ง หมด ในบริ ษั ท บริ ษั ท ในเครื อ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

1. เป็นบุคคลที่ไม่มีประวัติด่างพร้อย 2. เป็ น ผู้ มี วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละสามารถมองภาพรวมของ ธุรกิจได้ดี 3. เป็ น ผู้ มี ม นุ ษ ย์ สั ม พั น ธ์ ดี มี คุ ณ ธรรม และมี บุ ค ลิ ก ที่เหมาะสม

(นับรวมบุคคลที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 258

4. เป็นผู้มีทักษะในการสื่อความอย่างมีประสิทธิภาพ

ตามกฎหมายหลักทรัพย์)

5. เป็นผู้มแี นวคิดทางธุรกิจและการตัดสินใจอย่างเป็น

3.2 ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานรวมทั้งไม่เป็น

ระบบ

ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือน

6. เป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจด้ า นการเงิ น หรื อ

ประจำ�หรือผูม ้ อ ี ำ�นาจควบคุมของบริษท ั บริษท ั

การพาณิ ช ยกรรมหรื อ การอุ ต สาหกรรมและมี

ในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความ

ประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

ขัดแย้งโดยต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้ เสี ย ในลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว เป็ น เวลาไม่

7. เป็นผู้มีประสบการณ์เคยเป็นกรรมการของบริษัท หรือรัฐวิสาหกิจ

น้อยกว่า 1 ปี 3.3 ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ไม่มีผลประโยชน์ หรือส่วนได้เสียไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อมทัง ้

1. มีคุณธรรมและไม่มีประวัติด่างพร้อย

ในด้านการเงินและการบริหารงานของบริษัท

2. ไม่เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่และเป็นนักบริหารและจัดการ

บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมี ความขั ด แย้ ง ในลั ก ษณะที่ จ ะทำ�ให้ ข าดความ เป็นอิสระ 3.4 ไม่เป็นญาติสนิทกับผูบ ้ ริหาร ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ ของบริ ษั ท บริ ษั ท ในเครื อ บริ ษั ท ร่ ว ม หรื อ

สมัยใหม่โดยอาชีพ 3. มีทก ั ษะและมีประสบการณ์ในการทำ�งานหลากหลาย หน้าที่รวมทั้งธุรกิจต่างประเทศ 4. มีความเป็นผู้นำ�สูง วิสัยทัศน์กว้าง มนุษย์สัมพันธ์ ดี สื่อสารกระจ่าง และบุคลิกเหมาะสม

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่ได้รับการ

5. สามารถประสานความแตกต่างและความสามารถ

แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น ตั ว แทนเพื่ อ รั ก ษาผลประโยชน์

ของพนักงานให้บรรลุเป้าหมายธุรกิจและสอดคล้อง

ของกรรมการผู้ถือหุ้นรายใหญ่

กับวัฒนธรรมขององค์กร

3.5 เปิดเผยความสัมพันธ์ใดๆ ทีอ ่ าจทำ�ให้ขาดความ เป็นอิสระแก่คณะกรรมการบริษัท


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

93

6. มีทก ั ษะเรือ ่ งการตลาด การเงินและการบริหารบุคคล

ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ทส ี่ ด ุ กับส่วนหนึง ่ ในสาม กรรมการ

7. สามารถกำ�กับดูแลและอำ�นวยการทำ�งานของทั้ง

ที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลัง

องค์กร 8. มองโอกาสธุรกิจได้ดีและแก้ปัญหาเป็นเยี่ยม

จดทะเบียนบริษัทนั้นให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วน ปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุด นั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่งกรรมการซึ่งพ้นจากตำ�แหน่ง แล้วอาจได้รับเลือกตั้งใหม่ได้

1. บุ ค คลต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการตรงตามที่ กำ�หนดไว้ 2. กรรมการทัง ้ คณะควรมีความหลากหลายของความ

ข้อ 17. น อ ก จ า ก ก า ร พ้ น ตำ � แ ห น่ ง ต า ม ว า ร ะ แ ล้ ว กรรมการจะพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ

ชำ�นาญที่เป็นประโยชน์ต่อการกำ�หนดทิศทางและ

(1) ตาย

ควบคุมการดำ�เนินงานของบริษัท

(2) ลาออก

(3)

มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน

จำ�กัด พ.ศ. 2535

(4) ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ลงมติให้ออกตามข้อ 20.

(5) ศาลมีคำ�สั่งให้ออก

1. ให้ทป ี่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ลงคะแนนเสียงเลือกตัง ้ กรรมการ ทีละหนึ่งตำ�แหน่ง

ขาดคุณสมบัติ มีลักษณะต้องห้ามตาม

2. ในการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการแต่ละ ตำ�แหน่งนัน ้ ให้ผูถ ้ อ ื หุน ้ แต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับ

ข้อ 18. กรรมการคนใดลาออกจากตำ�แหน่ง ให้ยน ื่ ใบลา

จำ�นวนหุน ้ ทีต ่ นถืออยู่ โดยถือว่าหุน ้ หนึง ่ มีเสียงหนึง ่

ออกต่อบริษัท การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกถึง

3. ในการลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการแต่ละตำ�แหน่ง

บริษัทฯ

ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการในตำ�แหน่งนั้น

กรรมการซึง ่ ลาออกตามวรรคหนึง ่ จะแจ้งการ

ต้ อ งได้ รั บ คะแนนเสี ย งข้ า งมากของผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ม า

ลาออกของตนให้นายทะเบียนทราบด้วยกันก็ได้

ประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ข้อ19.

ในกรณีทต ี่ ำ�แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอน ื่

นอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการเลือก ข้อ 16. ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้

บุคคลหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตาม

กรรมการออกจากตำ � แหน่ ง เป็ น อั ต ราหนึ่ ง ในสาม ถ้ า

มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ.

จำ�นวนกรรมการทีจ ่ ะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็

2535 เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ


94

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

คราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า

คณะกรรมการประกอบด้ ว ยกรรมการที่ มี คุ ณ สมบั ติ

2 เดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าว จะอยู่

ของกรรมการอิ ส ระเกิ น กว่ า หนึ่ ง ในสามและมี จำ � นวน

ในตำ�แหน่งกรรมการแทนได้ เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่

กรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหารมากกว่า 1 ใน 2 ของจำ�นวน

ของกรรมการที่ตนแทน ไม่มีการกำ�หนดสัดส่วน

กรรมการทั้งคณะ

มติข องคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ ง ต้อง

ประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่นอ ้ ยกว่าสามในสีข่ องจำ�นวน

จำ � นวนกรรมการที่ เ ป็ น ตั ว แทนของผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี อำ � นาจ

กรรมการที่ยังเหลืออยู่

ควบคุม (Significant Shareholders) เป็นสัดส่วนที่ ยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้นรายอื่น

ข้อ 20. ที่ประชุมผู้ถือหุ้น อาจลงมติให้กรรมการคน ใดออกจากตำ�แหน่ง ก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วย

ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการ

คะแนนเสียงไม่นอ ้ ยกว่าสามในสีข่ องจำ�นวนผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง ่ มา

ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละ

ประชุมและมีสท ิ ธิออกเสียง และมีหุน ้ นับรวมกันได้ไม่นอ ้ ย

ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ตลอดจนมติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น

กว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุม

ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ตามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลที่ ดี

และมีสิทธิออกเสียง

โดยกรรมการบริษัทมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ซึ่งตาม ข้อบังคับฯของบริษัทกำ�หนดไว้ว่า ในการประชุมสามัญ

ข้อ 21. กรรมการจะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือไม่ก็ได้

ประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการจำ�นวน 1 ใน 3 ออกจาก ตำ�แหน่ง (โปรดดูรายละเอียดในเรื่องข้อบังคับของบริษัท

การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

ในส่วนเกี่ยวข้องกับคณะกรรมการประกอบ) นอกจาก

คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวน 11 ท่านประกอบด้วยผู้มี

นี้ ตั้ ง แต่ ปี 2546 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ เ ริ่ ม ประเมิ น

ความรูแ้ ละประสบการณ์หลากหลาย ซึง ่ เป็นประโยชน์ตอ ่

ตนเอง (Self - Assessment) และประเมินผลงานคณะ

บริษัท โดยประกอบด้วย

กรรมการทั้งคณะ กรรมการแต่ละท่านให้ความสนใจต่อ ท่าน

คิดเป็นร้อยละ

การพัฒนาตนเอง เพือ ่ เพิม ่ พูนความรู้ ทักษะและมาตรฐาน

1

9

การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการในการบริหารงานบริษัท

กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

10

91

ให้มีประสิทธิภาพและมีการกำ�กับดูแลที่ด

กรรมการอิสระ

4

36

(โปรดดูหัวข้อการประเมินคณะกรรมการประกอบ)

กรรมการที่เป็นผู้บริหาร

ประธานกรรมการและกรรมการ 5 ท่าน รวมเป็น 6 ท่าน เป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

95

กรรมการผู้ จั ด การเป็ น ผู้ บ ริ ห ารมื อ อาชี พ ไม่ มี ส่ ว น

สมตามอุตสาหกรรม และได้ขออนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว

เกีย ่ วข้องหรือมีความสัมพันธ์ใดๆกับผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ และ

กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรรมการตรวจสอบ

โครงสร้างคณะกรรมการมีกรรมการอิสระเกินกว่าหนึง ่

ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมตามปริมาณงานที่เพิ่ม

ในสาม และมีจำ�นวนกรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหารมากกว่า 1

ขึ้น กรรมการผู้จัดการและพนักงานได้รับค่าตอบแทนที่

ใน 2 ของจำ�นวนกรรมการทั้งคณะ ก่อให้เกิดการถ่วง

เชือ ่ มโยงกับผลการปฏิบต ั ง ิ านของแต่ละคน ค่าตอบแทนที่

ดุลและการสอบทานการบริหารงานทีด ่ ี นอกจากนีก ้ าร

ได้รบ ั ได้ผา่ นการพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาและ

แบ่งแยกหน้าที่ในการกำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลและ

กำ�หนดค่าตอบแทนและเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและความ

การบริหารงานประจำ�อย่างชัดเจน (โปรดดูรายละเอียด

ชัดเจนในการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการและ

บทบาทและอำ�นาจหน้าที่ของ กรรมการผู้จัดการ คณะ

ผู้บริหารระดับสูง ผู้ถือหุ้นได้พิจารณานโยบายและหลัก

กรรมการบริษท ั และคณะอนุกรรมการแต่ละคณะในหัวข้อ

การค่าตอบแทนกรรมการผูจ ้ ด ั การและผูบ ้ ริหารระดับสูง

โครงสร้างการจัดการ) คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง

แล้วในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2549 ในวัน

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทำ�หน้าที่

ที่ 28 เมษายน 2549

พิจารณาคัดเลือกและกลัน ่ กรองบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตเิ หมาะ สมตามที่คณะกรรมการบริษัทเสนอเพื่อดำ�รงตำ�แหน่ง

ในแต่ละปีคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการผูจ ้ ด ั การหรือกรรมการ พร้อมทัง ้ พิจารณาค่า

จะพิจารณาว่าค่าตอบแทนของคณะกรรมการเหมาะสม

ตอบแทนของคณะกรรมการ และคณะผู้บริหาร

หรือไม่โดยเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมในกลุ่มเดียวกัน และขนาดธุรกิจในระดับเดียวกัน

เพือ ่ ให้กลไกติดตาม ตรวจสอบ และถ่วงดุลอำ�นาจในการ บริหารงานมีความถูกต้องโปร่งใส หน่วยงานตรวจสอบ ภายในมีความเป็นอิสระในการร่วมกำ�หนดขอบเขตในการ ตรวจสอบและเสนอรายงานผลการตรวจสอบโดยตรง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษท ั ซึง ่ ประกอบด้วย

การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษ ัทย่อย

กรรมการอิสระ 3 ท่าน(โปรดดูขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ อง

ใช้ ห ลั ก เกณฑ์ ก ารปฏิ บ ั ติ ง านเหมื อ นกั น ซึ่ ง เขี ย นเป็ น

คณะกรรมการตรวจสอบประกอบ)

ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ อาหาร ทิ ป โก้ การ บริหารงานในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมปฏิบัติ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษท ั พิจารณาส่งตัวแทนของบริษท ั

บริษัทได้กำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่าง

เข้าไปเป็นกรรมการของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

ชั ด เจนและโปร่ ง ใส โดยค่ า ตอบแทนอยู่ ใ นระดั บ เหมาะ

ตามอัตราส่วนการลงทุน


96

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

2. บริ ษ ั ท ย่ อ ยรายงานผลการดำ � เนิ น งานและการ

กรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการบริ ห ารต้ อ ง

ควบคุ ม ภายในต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบทุ ก

รายงานการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทต่อสำ�นัก

ไตรมาส เพื่ อ นำ � เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท

งานก.ล.ต. ตามระเบียบข้อกำ�หนดอย่างเคร่งครัด

ต่อไป

และขอความร่วมมือคณะกรรมการบริษัทห้ามซื้อ

3. จัดกิจกรรมร่วมกันทั้งบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

ขายหลักทรัพย์ระหว่างหลังประชุมคณะกรรมการ

เพื่ อ ให้ ร ั บ ทราบแผนการดำ � เนิ น งานไปในแนวทาง

บริ ษั ท และก่ อ นส่ ง ข้ อ มู ล ให้ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ห รื อ

เดียวกัน

สำ�นักงานก.ล.ต อย่างไรก็ตามตั้งแต่ปี 2547 ทุก

4. การจัดทำ�งบประมาณต้องนำ�มารวมกัน เพื ่อนำ�

ครั้ ง ที่ มี ก ารซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ต้ อ งส่ ง

เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาร่ ว มกั น

รายงานซื้ อ ขายผ่ า นเลขานุ ก ารบริ ษั ท จากเดิ ม ที่

ทั้งกลุ่มธุ ร กิ จ อาหาร

รายงานด้ ว ยตนเอง เพื่ อ นำ � ส่ ง สำ � นั ก งานก.ล.ต.

5. การทำ � รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น นำ � เสนอต่ อ คณะ

ต่อไปนอกเหนือจากนี้ต้องรายงานการถือหุ้นของ

กรรมการบริษ ัททุกไตรมาสโดยผ่านการพิจารณา

บริษัทของคณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูงใน

ของคณะกรรมการตรวจสอบ

แต่ละไตรมาสเพื่อให้ทราบความเคลื่อนไหวในการ

6. มีการโยกย้ายหรือเลือ ่ นตำ�แหน่งภายในกลุม ่ ธุรกิจ

ถือหุ้นของบริษัท

อาหาร ทิ ป โก้ ได้ ต ลอดและอายุ ก ารทำ � งานนั บ ต่อเนื่อง มีการตักเตือนหรือลงโทษทางวินัยตามหลักเกณฑ์การ บริหารงานบุคคลของบริษัทและบริษัทย่อย บริ ษั ท มี ก ารกำ � หนดนโยบายและข้ อ บั ง คั บ ห้ า มไม่ ใ ห้ ผู้ บริ ห ารในการนำ � ข้ อ มู ล ไปใช้ เ พื่ อ ประโยชน์ ส่ ว นตนรวม ทั้งเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์โดยเฉพาะในช่วง 1 เดือน

คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาคุณสมบัติและการ

ก่อนทีง ่ บการเงินเผยแพร่ตอ ่ สาธารณชนนโยบายดังกล่าว

ปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี นำ�เสนอต่อคณะกรรมการ

มีรายละเอียดดังนี้

บริษัทในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีแต่ละปี รวมถึงค่าสอบ

•• ไม่แสวงหาประโยชน์ให้ตนเองและผูท ้ ีเ่ กีย ่ วข้องโดยใช้

บัญชี เพื่อเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ราย

ข้อมูลใดๆขององค์กรซึง ่ ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ

ชื่อผู้สอบบัญชีที่จะเสนอเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นผู้สอบ

•• ไม่เปิดเผยข้อมูลลับขององค์กรต่อบุคคลภายนอก

บัญชีของบริษัท จะต้องเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็น

โดยเฉพาะคู่แข่ง •• กำ�หนดให้คณะผู้บริหารระดับสูง 4 คนแรก คณะ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

97

ชอบจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ

ความรุนแรงแล้ว ยังประเมินถึงโอกาสทีจ ่ ะเกิดและผลกระ

ตลาดหลักทรัพย์

ทบที่จะได้รับ และปลูกฝังให้เกิดการบริหารความเสี่ยงใน ทุกระดับของการปฏิบัติงาน โดยมีการประชุมย่อยทุกวัน

ในปี 2559 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ประกอบด้วย 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee)

ในระดับหน่วยงาน ประชุมทุกเดือนในระดับฝ่าย และระดับ จัดการ และประชุมทุก 3 เดือน ในระดับคณะกรรมการ

บริษท ั และบริษท ั ย่อยจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชี

บริหารความเสี่ยง พร้อมกันนี้คณะกรรมการตรวจสอบ

รวมจำ�นวน 3,012,500 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

กำ�หนดให้ฝ่ายตรวจสอบการควบคุมภายในตรวจสอบ

- งบการเงินของบริษัทและงบการเงินรวม จำ�นวน

การบริหารความเสี่ยงว่าสามารถปฏิบัติได้จริงหรือไม่

1,350,000 บาท

มีความคืบหน้าในการแก้ไขในแต่ละประเด็นอย่างไรบ้าง

- งบการเงิ น ของบริ ษั ท ย่ อ ย 4 บริ ษั ท จำ � นวน

ซึ่งมีการพิจารณาทุกไตรมาส ถ้ามีสิ่งใดที่ต้องปรับปรุง

1,662,500บาท

คณะกรรมการตรวจสอบจะนำ� เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะ

2. ค่าบริการอื่น (Non-audit fee)

กรรมการบริษัทต่อไป

บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยจ่ า ยค่ า บริ ก ารอื่ น จำ � นวน 123,768 บาท ไ ด้ กำ � ห น ด บุ ค ค ล ที่ เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม สามารถเฉพาะ พร้อมทั้งมีความเข้าใจในเรื่องกฎหมาย ต่ า งๆ รวมถึ ง หลั ก เกณฑ์ ข้ อ กำ � หนด และหลั ก ปฏิ บั ติ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะ จากเดิมระยะเวลาในการทบทวนเรื่องการบริหารความ

กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เป็นอย่าง

เสีย ่ งจะทำ�ทุก 6 เดือนปรับเปลีย ่ นเป็นทบทวนทุก 3 เดือน

ดี ซึ่งบริษัทได้แต่งตั้งและส่งอบรมหลักสูตรเลขานุการ

พร้อมให้ มีระบบเตือนภัย และทบทวนเป็นประจำ�ถึงขนาด

บริษัทแล้วในปี2547

ของความรุนแรงว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นหรือน้อย ลง รวมทั้ ง มาตรการที่ ใ ช้ ใ นการแก้ ไ ขและป้ อ งกั น ว่ า มี ประสิทธิภาพหรือไม่ ระยะเวลาและความถีใ่ นการทบทวนขึน ้

ให้เผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วง

อยูก ่ บ ั ลักษณะของรายการควรทำ�บ่อยแค่ไหน ซึง ่ ได้นำ�ไป

หน้าไว้ใน Website ของบริษัทก่อนจัดส่งเอกสาร และ

ปฏิบต ั ต ิ ง ั้ แต่ปี 2557 โดยมีการกำ�หนดสัญญาณเตือนภัย

ก่อนการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างน้อย 30 วัน โดยเริม ่ ปฏิบต ั ิ

ที่ชัดเจนขึ้น ระบุความรุนแรงเป็นระดับพร้อมใช้สีประกอบ

ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ครั้ ง ที่ 1/2551 วั น ที่ 24

เช่นสีแดง แปลว่า รุนแรงมาก เป็นต้นซึง ่ นอกจากระบุระดับ

เมษายน 2551 เป็นต้นไป


98

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ในปี 2549 บริ ษั ท ได้ เ ริ่ ม ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ว นน้ อ ยเสนอชื่ อ

ซึ่งได้ปฏิบัติแล้วในปี 2549

บุคคลเพือ ่ เป็นกรรมการอิสระโดยส่งหนังสือถึงผูจ ้ ด ั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้แจ้งถึงผู้ถือหุ้นของ บริ ษั ท ใน Website ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยได้มีโอกาสเสนอชื่อบุคคลที่มี

ซึ่งเริ่มตั้งแต่รายงานประจำ�ปี 2548

คุณสมบัตเิ หมาะสม เข้าสมัครเพือ ่ พิจารณาเป็นกรรมการ อิสระแทนกรรมการที่ออกตามวาระตามกระบวนการ สรรหาของบริษัท เพื่อให้ทันการคัดเลือกกรรมการแทน

กำ�หนดให้ประธานกรรมการไม่เป็นประธานหรือสมาชิก

กรรมการอิสระที่ออกตามวาระ และตั้งแต่ปี 2551 เสนอ

ในคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยตั้ ง แต่ ปี 2546 และประธาน

ผ่าน Website ของบริษัทได้โดยตรง

กรรมการไม่เป็นประธานคณะกรรมการบริหารเริ่มใน ปี 2550

ในกรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียมีประเด็นที่เป็นห่วงเกี่ยวข้องกับ

ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ไม่ ไ ด้ มี ก ารประชุ ม กรรมการบริ ษั ท ทุ ก

ความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุม

เดือน บริษท ั จัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานเสนอให้คณะ

ภายในทีบ ่ กพร่อง หรือการทำ�ผิดกฎหมายและผิดจรรยา

กรรมการทราบทุกเดือน โดยได้เริ่มจัดทำ�ตั้งแต่ปี 2550

บรรณ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย สามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ คณะ

และปรับปรุงการรายงานใหม่ในปี 2552

กรรมการ ได้โดยส่งถึงคณะกรรมการบริหารโดยตรง ตามเส้นทาง ดังนี้ •• www.tipco.net (หัวข้อการแจ้งเบาะแสและการก ระทำ�การทุจริตคอร์รัปชัน)

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้รา่ งหลัก

•• anti-corruption@tipco.net

การและนโยบายให้คณะกรรมการบริษท ั พิจารณาและนำ�

•• โทรศัพท์หมายเลข 02-273-6888, 02-273-6400

เสนอให้ผู้ถือหุ้นอนุมัติแล้วในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

•• นำ�ส่ง กรรมการผู้จัดการ บมจ.ทิปโก้ฟูดส์ เลขที่

ครั้งที่ 1/2549 คณะกรรมการสรรหาฯได้พิจารณาการ

118/1 ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ

ปรับค่าตอบแทนของพนักงานทุกระดับเพื่อให้สอดคล้อง

10400

การดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั และเป็นไปแนวทางเดียวกันกับ กลุ่มธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกัน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริาัษัท ทิปโก้ฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน)

99

ให้กรรมการผู้จัดการรายงานเป็นประจำ�ถึงแผนสืบทอด

ตำ�แหน่งกรรมการชัดเจน

ตำ�แหน่งกรรมการผู้จด ั การและผู้บริหารระดับสูง จัดทำ�

ยังไม่ได้กำ�หนดวาระที่กรรมการจะดำ�รงตำ�แหน่ง

และรายงานโครงการสำ�หรับพัฒนาผู้บริหารเป็นประจำ�

ติดต่อกันได้นานที่สุด เนื่องจากเกรงว่าจะหาผู้ที่

ทุกปีโดยได้เริ่มทำ�ตั้งแต่ปี 2548

เหมาะสมมาเป็นกรรมการไม่ได้ ถึงแม้ขณะนี้ IOD ได้ จัดทำ�ทำ�เนียบของ Chartered director ขึ้น ซึ่งมี

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ในปี 2559 มีการ

ผูผ ้ า่ นเกณฑ์นอ ้ ยมาก แต่ได้กำ�หนดอายุเกษียณ คือ

ประเมินตนเองเรื่องการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแล

เมื่อครบอายุ 75 ปีบริบูรณ์

กิจการทีด ่ ต ี ามหัวข้อจำ�นวน 99 ข้อย่อย ในแบบฟอร์มของ ฝ่ายพัฒนาธรรมภิบาลเพือ ่ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่ง

ในเรื่ อ งคณะกรรมการกำ � หนดวาระการดำ � รง

ประเทศไทย พฤษภาคม 2556 โดยคณะกรรมการมีการ

ตำ�แหน่งของกรรมการชุดย่อยชัดเจน

ประเมินล่วงหน้าก่อนการประชุม และมติจากที่ประชุมได้

ยังไม่ได้ปฏิบัติ เหตุผลเดียวกันกับกำ�หนดวาระการ

พิจารณาแลกเปลีย ่ นความคิดเห็นเกีย ่ วกับการปฏิบต ั โิ ดย

ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

ข้อที่กรรมการเห็นว่ายังไม่ได้ปฏิบัติหรือไม่แน่ใจในความ สมบูรณ์ของการปฏิบัติดังต่อไปนี้

ในเรื่องคณะกรรมการกำ�หนดนโยบายการดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการทีบ ่ ริษท ั อืน ่ ของกรรมการให้เหมาะ

ในเรื่องประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ

สมกับลักษณะหรือสภาพธุรกิจ

ยังไม่ได้ปฏิบัติด้วยความไม่พร้อมของผู้ถือหุ้นใหญ่

มี น โยบายกำ � หนดให้ ก รรมการดำ � รงตำ � แหน่ ง

ที่ จ ะปรั บ ปรุ ง และกรรมการอิ ส ระไม่ ป ระสงค์ ที่ จ ะ

กรรมการในบริษท ั จดทะเบียนอืน ่ ได้ไม่เกิน 3 บริษท ั

รับตำ�แหน่ง

แต่ ไ ม่ ไ ด้ กำ�หนดการเป็ น กรรมการในบริ ษั ท ที่ มิ ไ ด้ จดทะเบียน

ในเรื่ อ งคณะกรรมการกำ � หนดวาระการดำ � รง


100

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รายชือ ่ กรรมการ(จำ�นวนครัง ้ ทีเ่ ข้า

คณะกรรมการ

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการ

การเข้าร่วมการ

ร่วมประชุม/จำ�นวนครัง ้ ทีป ่ ระชุม)

ตรวจสอบ

และกำ�หนดค่าตอบแทน

บริษัท

ประชุมผู้ถือหุ้น

น.ส.ลักษณา ทรัพย์สาคร

5/5

1/1

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

5/5

1/1

4/5

1/1

5/5

1/1

นายสมจิตต์ เศรษฐิน

5/5

1/1

นายชลิต ลิมปนะเวช

4/5

0/1

น.ส.รวมสิน ทรัพย์สาคร

5/5

0/1

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

5/5

1/1

นายวิรัช ไพรัชพิบูลย์

4/5

นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

2/2

นายไพศาล พงษ์ประยูร

4/5

2/2

4/5

1/1

นางอัจฉรา ปรีชา

5/5

2/2

5/5

1/1

5/5

1/1

นายเอกพล พงศ์สถาพร

เพื่อใช้ประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ แบบ ตามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สำ � หรั บ บริ ษั ท จด ทะเบียน คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยของ บริษท ั จดทะเบียนควรมีการประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านด้วย ตนเองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้คณะกรรมการร่วม

ประเมินดังกล่าวประกอบด้วย 1. แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบ รายคณะ 2. แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบ

กันพิจารณาผลงานและปรับปรุงแก้ไข โดยการประเมิน

รายบุคคล โดยมีกระบวนการดังนี้

ควรจัดทำ�ทั้งแบบรายคณะและรายบุคคล

1. คณะกรรมการบริษัทประเมินตนเองผ่านแบบ ประเมินที่จัดทำ�โดยตลาดหลักทรัพย์ 2. เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท ส รุ ป ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาของคณะกรรมการ

แบบประเมินจัดทำ�และเผยแพร่โดยตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย

บริษัททุกท่าน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

101

3. เลขานุ ก ารบริ ษั ทรายงานผลการประเมินต่อ

หน้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสมทำ � ให้ บ รรยากาศในการ

คณะกรรมการบริษท ั และดำ�เนินการปรับปรุงดำ�เนิน

ประชุมดีมาก ดำ�รงความเป็นกลางและเปิดโอกาส

งานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ให้กรรมการทุกท่านแสดงความเห็นได้อย่างอิสระ

แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบ

โดยไม่จำ�กัดเวลาในการประชุมแต่ละวาระ ทำ�ให้

รายคณะและรายบุคคล ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ

กรรมการมี ค วามรู้ สึ ก ว่ า มี คุ ณ ค่ า ที่ ทำ � หน้ า ที่ ไ ด้

1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ

อย่างเต็มที่

2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของ

คณะกรรมการ

ในการประเมิ น คณะกรรมการไม่ พ บสิ่ ง ที่ ต้ อ ง

3. การประชุมคณะกรรมการ

ปรับปรุงที่มีนัยสำ�คัญ

4. การทำ�หน้าที่ของกรรมการ

5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ

คณะกรรมการมี ค วามเห็ น ว่ า คณะกรรมการได้

6. การพัฒนาตนเองของกรรมการและการ

ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจบทบาทและ

พัฒนาผู้บริหาร

หน้าที่ของตนเอง เข้าใจธุรกิจและสถานการณ์ของ บริษัท เป็นอย่างดี

และกรรมการแต่ละท่านอุทิศ

เวลาทำ�หน้าที่อย่างมีส่วนร่วมต่อผลงานของคณะ คณะกรรมการประเมิ น บทบาทและประสิ ท ธิ ภ าพ

กรรมการ

ในการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง โดยการอภิปราย ทบทวนหัวข้อวาระการประชุมทีผ ่ า่ นมา และผลงาน

การประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อย

ที่สำ�คัญ เช่น ผลการดำ�เนินงานในรอบปีเทียบกับ

เพื่อใช้ประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ

แผนธุรกิจ ประสิทธิภาพของการบริหารความเสีย ่ ง

ชุดย่อยต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะ

การกำ�หนดยุทธศาสตร์ การอนุมต ั แิ ผนธุรกิจ การ

กรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน และ

พิจารณาการลงทุนที่สำ�คัญ เป็นต้น ส่วนที่คณะ

คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล โดยได้ กำ�หนดให้ มี

กรรมการยั ง ปฏิ บั ติ ไ ม่ ไ ด้ คื อ ประธานกรรมการ

การประเมินผลปีละ 1 ครั้ง แบบประเมินดังกล่าว

เป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการประกอบด้วย

ประกอบด้วย

กรรมการอิสระเกินกว่าครึง ่ หนึง ่ ของคณะกรรมการ

1. แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อย

และกรรมการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นทุกท่าน

แบบรายคณะ

กรรมการประเมิ น ประธานกรรมการ ด้ ว ยการ

2. แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อย

อภิปรายกรรมการชืน ่ ชมประธานกรรมการว่าปฏิบต ั ิ

แบบรายบุคคล


102

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

โดยมีกระบวนการดังนี้

ให้คณะกรรมการรับทราบเพือ ่ เป็นแนวทางปรับปรุง

1.

แก้ไขต่อไป

2. เลขานุการบริษัทสรุปผลการประเมิน

ประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาของคณะกรรม

คณะกรรมการมีความเห็นว่า คณะกรรมการตรวจ

การชุดย่อย และดำ�เนินการปรับปรุงดำ�เนินงาน

สอบทำ � งานได้ ค รบถ้ ว น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมาก

ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

การให้ความคิดเห็นและเสนอแนะต่างๆ เป็นประโยชน์

3. เลขานุการบริษท ั รายงานผลการประเมินของ

ต่อการบริหารงานของบริษัทฯ อีกทั้งข้อแนะนำ�ให้

คณะกรรมการชุดย่อยต่อคณะกรรมการบริษท ั

ระมัดระวังในเรื่องต่างๆ ที่ให้แก่ฝ่ายจัดการนำ�ไป

แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท

ปรับแผน ซึ่งช่วยป้องกันความเสียหายอันอาจจะ

แบบรายคณะและรายบุคคล ประกอบด้วย 6

เกิดขึ้น เป็นผลงานที่ดีมาก

หัวข้อ คือ

คณะกรรมการชุดย่อยจัดทำ�ประเมินตนเอง

1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะ

การประเมินคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า

กรรมการ

ตอบแทน

2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิด

ชอบของคณะกรรมการ

ประเมินตนเองโดยนำ�วัตถุประสงค์พร้อมกับอำ�นาจ

3. การประชุมคณะกรรมการ

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรร

4. การทำ�หน้าที่ของกรรมการ

หาฯ มาทำ�เป็น check list พิจารณาเปรียบเทียบ

5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ

กับปีที่แล้ว เห็นว่าคณะกรรมการฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่

6. การพัฒนาตนเองของกรรมการ

ครบถ้วน

และการพัฒนาผู้บริหาร

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการผู้จัดการประเมินตนเอง และถูกประเมิน คณะกรรมการตรวจสอบประเมิ น ตนเองว่ า ได้

โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

ทำ�หน้ า ที่ ค รบถ้ ว นตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย มี ก าร

และประธานกรรมการ โดยพิจารณาผลการปฏิบัติ

ประชุ ม ปกติ ทุ ก ไตรมาสร่ ว มกั บ ผู้ ต รวจสอบบั ญ ชี

หน้าที่ อาทิ เช่น ผลการดำ�เนินงานของบริษท ั การ

ภายนอกและผู้ตรวจสอบภายในเพื่อพิจารณาเรื่อง

วั ด ผลการดำ�เนิ น งานระดั บ องค์ ก ร (Business

ต่างๆ ว่ามีการควบคุมอย่างเพียงพอ และมีการ

Performance Scorecard) การตั้งเป้าหมาย

ประชุมกับผู้ตรวจสอบบัญชีแยกต่างหากจากการ

ในการทำ � งานรายบุ ค คล (Smart Goal)

ประชุมปกติด้วย และได้นำ�ผลการประชุมรายงาน

บรรลุเป้าหมายธุรกิจ งบประมาณ แผนงาน เป็นต้น

การ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

103

คณะกรรมการมี ค วามเห็ น ว่ า คณะกรรมการ

การประเมินประธานกรรมการ

สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้ทำ�หน้าทีค ่ รบถ้วน

กรรมการอิสระ ได้ประเมินประธานกรรมการ ว่า

สามารถแนะนำ�สิง ่ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ บริษท ั เช่น การ

ทำ�หน้าที่ครบถ้วนอย่างดียิ่ง ให้โอกาสกรรมการ

บริหารงานทรัพยากรมนุษย์ การให้ความเห็นเกีย ่ ว

ทุกท่านแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและเต็มที่

กับโครงสร้างเงินเดือน เป็นต้น

ไม่มก ี ารขัดขวาง ทำ�ให้กรรมการแสดงความคิดเห็น อย่างที่คิดไว้ได้โดยไม่ลำ�บากใจ ไม่อึดอัดใจ ทำ�ให้ กรรมการมีคุณค่าในการทำ�หน้าที่เป็นกรรมการ ของบริษัทฯ

ผู้เข้าร่วมอบรม นายเอกพล พงศ์สถาพร

ตำ�แหน่ง • กรรมการผู้จัดการ

หลักสูตร 1. Succession Plan&People

วันที่ 15/8/2559

Challenge in Global Business 2. ทุจริตในองค์กร ภัยมืดที่ป้องกัน

24/8/2559

และควบคุมได้ 3. C E O B r a n d i n g & C E O a s a Brand Champion for

31/8/2559-1/92559

Sustainability 4. M a r k e t i n g w i t h D i g i t a l

5/10/2559

Teechnology Era 5. กลยุทธ์การแข่งขัน(Competitive

21/12/2559

strategy) นายไพศาล พงษ์ประยูร

• กรรมการอิสระ • ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร สรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน • กรรมการตรวจสอบ

1. Audit Committee Forum

29/6/ 2559


104

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ผู้เข้าร่วมอบรม

นางอัจฉรา ปรีชา

ตำ�แหน่ง

• กรรมการอิสระ

หลักสูตร

1. C l e a n

Business

• กรรมการตรวจสอบ

Engagement with Public

• กรรมการสรรหาและ

Sector

• กำ�หนดค่าตอบแทน

2. Nurture Social Enterprise

วันที่

29 /2/2559 20 /4/ 2559 21 /4/ 2559

3. Quarterly Economic WrapUP for Listed Companies

17 /5/ 2559

4. สุ จ ริ ต ระมั ด ระวั ง เกราะคุ้ ม กั น กรรมการ

30/5/ 2559

5. S u s t a i n i n g B u s i n e s s through Ethical Leadership

9 /6/ 2559

6. Enhancing Growth Through Governance in Family Controlled Business

29 /6/ 2559

7. Audit Committee Forum

26 /6/ 2559

8. เทคนิคการจัดการอินไซค์แบบฉบับ นักบริหารแบบมืออาชีพ 9. การประชุมเสวนาระดับกรรมการ เรือ ่ ง Corporate Governance Code

13 /9/ 2559


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษท ั ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูล ทัง ้ รายงานทางการเงินและข้อมูลทัว ่ ไปให้มค ี วามถูกต้อง ทันเวลาและโปร่งใส ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์ นั้น บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานขึ้นเฉพาะมีผู้รับผิดชอบคือ Corporate Planning Manager นายพงศ์ธร กาญจนอัครเดช ทำ�หน้ า ที่ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ผู้ ล งทุ น ซึ่ ง ผู้ ล งทุ น สามารถ ติดต่อขอทราบข้อมูลบริษท ั ได้ทีโ่ ทร 02-273-6200 ต่อ 7860หรือที่ Website : www.tipco.net หรือที่ e-mail address : Pongtorn@tipco.net ผูล ้ งทุนสามารถเข้า ถึงข้อมูลของบริษัทได้ทาง Website ซึ่งได้แยกหัวข้อ นักลงทุนสัมพันธ์ (Investor)ไว้โดยเฉพาะ

105


106

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างการถือหุ้น ลำ�ดับที่

รายชื่อผู้ถือหุ้น

จำ�นวนหุ้น

%

1

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

55,500,000

11.397

2

น.ส. รวมสิน ทรัพย์สาคร

48,500,000

10.050

3

น.ส. ลักษณา ทรัพย์สาคร

37,861,267

7.845

4

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

30,966,765

6.417

5

น.ส. ปิยะรัตน์ ทรัพย์สาคร

30,379,328

6.295

6

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด

24,131,468

5.001

7

นายวิวัฒน์ โกวิทย์โสภณ

19,900,000

4.124

8

นางเรียม ทรัพย์สาคร

18,039,299

3.738

9

น.ส. นาตาลี ทรัพย์สาคร

12,000,000

2.487

10

นายสมจิตต์ เศรษฐิน

11,599,846

2.404

บุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ส่วนได้เสียของผู้บริหารในบริษัทรายละเอียดการประกอบธุรกิจของแต่ละบริษัทที่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องบางบริษัทเป็นลูกค้าของบริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) บางบริษัทเป็นSupplier ให้บริการขนส่งสินค้าหรือวัตถุดิบโดยที่ราคาของสินค้าที่ขายให้หรืออัตราค่าบริการที่บริษัทดังกล่าวคิดกับบริษัทจะ เป็นราคาตลาดมีนโยบายราคาระหว่างกันเป็นไปตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.10 และไม่มีสัญญาผูกพัน ระหว่างกันโดยคณะกรรมการของบริษัทมีส่วนได้เสียในฐานะกรรมการหรือเป็นผู้ถือหุ้น ดังรายระเอียดต่อไปนี้ 1. นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร 2. นางอนุรัตน์

เทียมทัน

3. นายสุรเชษฐ์

ทรัพย์สาคร

4. นายสมจิตต์

เศรษฐิน

5. นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร 6. นายสิทธิลาภ

ทรัพย์สาคร


รายงานประจำ�ปี 2559 บริาัษัท ทิปโก้ฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

107

ประเภทและลักษณะ

ความสัมพันธ์กับบริษัทที่

ความสัมพันธ์กับบริษัท/

ธุรกิจ

เกี่ยวข้อง

ชื่อผู้ถือหุ้นและร้อยละของหุ้นที่ถือต่อ หุ้นทั้งหมดในบริษัทที่เกี่ยวข้อง

บ จ . ถ น อ ม ว ง ศ์

จำ � ห น่ า ย ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

บริการ

ปิ โ ต ร เ ลี ย ม รั บ เ ห ม า

กรรมการ

ก่ อ สร้ า งอาคาร ถนน

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

และซ่อมบำ�รุงผิว

กรรมการ นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

-ไม่มีนายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร 1 หุน ้ -ไม่มี-

กรรมการ นายสมจิตต เศรษฐิน

-ไม่มี-

กรรมการ บมจ.ทิปโก้

ผลิ ต และจำ � หน่ า ยยาง

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

แอสฟัลท์

แ อ ส ฟั ล ต์ อิ มั ล ชั น แ ล ะ

กรรมการ

จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง

นายสมจิตต เศรษฐิน

บมจ.ทิปโก้ฟูดส์ 23.82%

กรรมการ นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร กรรมการ บจ.สยามคอนเทน

ทำ�การจัดตัง ้ สถานีบรรจุ

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

เนอร์เทอร์มินอล

และรั บ จ้ า งบรรจุ สิ น ค้ า

กรรมการ

16.67%

เข้าตูค ้ อนเทนเนอร์และทำ�

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

ธุ ร กรรมด้ า นขนส่ ง และ

กรรมการ

16.67%

บริการด้านShipping

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

กรรมการ

16.67%


108

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

ประเภทและลักษณะ

ความสัมพันธ์กับบริษัทที่

ความสัมพันธ์กับบริษัท/

ธุรกิจ

เกี่ยวข้อง

ชื่อผู้ถือหุ้นและร้อยละของหุ้นที่ถือต่อ หุ้นทั้งหมดในบริษัทที่เกี่ยวข้อง

บจ.รวมทรัพย์สิน

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

16.67%

ทำ�การจัดซื้อ จัดหา รับ

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

เช่า เช่าซื้อถือกรรมสิทธิ์

กรรมการ

20.00%

ครอบครอง ปรั บ ปรุ ง

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

ใช้ และจั ด การโดยประ

กรรมการ

20.00%

การอื่ น ๆซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

ใดๆ ตลอดจนดอกผล

กรรมการ

20.00%

ของทรัพย์สินนั้น

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

20.00%

นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

-ไม่มี-

กรรมการ บจ. ทิปโก้

ค่าเช่า,บริการสำ�นักงาน

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

ทาวเวอร์

รับเหมาก่อสร้างอาคาร

กรรมการ

20.00%

ถนนและรับทำ�งานโยธา

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

ทุกประเภท

กรรมการ

20.00%

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

กรรมการ

20.00%

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

20.00%

นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

-ไม่มี-

กรรมการ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

109

ประเภทและลักษณะ

ความสัมพันธ์กับบริษัทที่

ความสัมพันธ์กับบริษัท/

ธุรกิจ

เกี่ยวข้อง

ชื่อผู้ถือหุ้นและร้อยละของหุ้นที่ถือต่อ หุ้นทั้งหมดในบริษัทที่เกี่ยวข้อง

บจ.ไทยสเลอรี่ ซิล จำ�กัด

สร้างและซ่อมแซมถนน

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

กรรมการ

7.50% -

นางอนุรัตน์ เทียมทัน 0.84%

-

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร 7.50%

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

7.50%

นายสมจิตต์ เศรษฐิน

-ไม่มี-

กรรมการ


110

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ 1. นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

ประธานกรรมการ

2. นางอนุรัตน์ เทียมทัน

กรรมการ

3. นายสมจิตต์ เศรษฐิน

กรรมการ

4. นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

กรรมการ

5. นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

6. นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

7. นายวิรัช ไพรัชพิบูลย์

กรรมการอิสระ

8. นายชลิต ลิมปนะเวช

กรรมการอิสระ

9. นางอัจฉรา ปรีชา

กรรมการอิสระ

10. นายไพศาล พงษ์ประยูร

กรรมการอิสระ

11. นายเอกพล พงศ์สถาพร

กรรมการผู้จัดการ

12. นายพิจารณ์ สลักเพชร

เลขานุการ

1. นายวิรัช ไพรัชพิบูลย์

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

2. นายไพศาล พงษ์ประยูร

กรรมการ

3. นางอัจฉรา ปรีชา

กรรมการ

4. นางสาวกุลกาน จีนปั่น

เลขานุการ

1. นายไพศาล พงษ์ประยูร

ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

2. นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

3. นางอัจฉรา ปรีชา

กรรมการ

คณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง คณะทำ�หน้ า ที่ เ ป็ น คณะกรรม การบรรษัทภิบาล


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

1. นายเอกพล พงศ์สถาพร

ประธานกรรมการ

2. นายโชคชัย โตเจริญธนาผล

กรรมการ

3. นายกิตติ ธัญนารา

กรรมการ

4. นางกาญจนา วโรตมาภรณ์

กรรมการ

5. นายพงศ์ธร กาญจนอัครเดช

กรรมการ

6. นางภรอนงค์ อยู่ชา

กรรมการและเลขานุการ

7. น.ส.กนิษฐา สืบจากดี

ผู้ช่วยเลขานุการ

111

การประชุมคณะกรรมการ รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนครั้ง

จำ�นวนครัง ้

การประชุม

เข้าร่วมการประชุม

น.ส.ลักษณา ทรัพย์สาคร

ประธานกรรมการ

5

5

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

กรรมการ

5

5

นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

5

5

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

2

2

นายสมจิตต์ เศรษฐิน

กรรมการ

5

5

น.ส.รวมสิน ทรัพย์สาคร

กรรมการ

5

5

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

5

5

นายวิรัช ไพรัชพิบูลย์

กรรมการอิสระ

5

4


112

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

การประชุมคณะกรรมการ รายชื่อกรรมการ

จำ�นวนครั้ง

จำ�นวนครัง ้

การประชุม

เข้าร่วมการประชุม

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

5

4

กรรมการอิสระ

5

4

กรรมการตรวจสอบ

5

4

ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

2

2

กรรมการอิสระ

5

5

กรรมการตรวจสอบ

5

5

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

2

2

นายชลิต ลิมปนะเวช

กรรมการอิสระ

5

4

นายเอกพล พงศ์สถาพร

กรรมการผู้จัดการ

5

5

นายไพศาล พงษ์ประยูร

นางอัจฉรา ปรีชา

ตำ�แหน่ง

1. นายเอกพล พงศ์สถาพร

กรรมการผู้ จั ด การ,รั ก ษาการผู้ อำ � นวยการสายงาน บริ ห ารการเงิ น -ธุ ร กิ จ ผลไม้ แ ปรรู ป และรั ก ษาการ ผู้ อำ � นวยการสายงานบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ

2. นายเซอิชิ อูเอโนะ

ผู้อำ�นวยการสายปฏิบัติการ-ธุรกิจคอนซูมเมอร์


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

3. นางสาวนิธิมา อังอติชาติ

113

ผูอ ้ ำ�นวยการสายงานบริหารการเงิน–ธุรกิจคอนซูมเมอร์ และธุรกิจค้าปลีก

4. นายพีรพงษ์ อาชวพงษ์สวัสดิ์

กรรมการการผู้จัดการ บริษัท ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด

5. นายโชคชัย โตเจริญธนาผล

ผู้อำ�นวยการสายปฏิบัติการ-ธุรกิจผลไม้แปรรูป กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องและการกำ�กับดูแล

คณะกรรมการบริษท ั ได้มม ี ติแต่งตัง ้ ให้ นายพิจารณ์ สลัก

กิจการที่ดี

เพชร ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 25

•• ให้ คำ � ปรึ ก ษาและข้ อ เสนอแนะเบื้ อ งต้ น กั บ คณะ

มีนาคม 2547 โดยบริษัทได้แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณวุฒิ

กรรมการในประเด็นด้านกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ

และประสบการณ์ที่เหมาะสม ทำ�หน้าที่เลขานุการบริษัท

และข้อพึงปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการ

โดยกำ�หนดคุณวุฒิและคุณสมบัติ ตลอดจนหน้าที่ความ รับผิดชอบดังนี้

•• ถ่ า ยทอดมติ น โยบายของคณะกรรมการไปยั ง ผู้ เกี่ยวข้อง ติดตามผล และรายงานคณะกรรมการ •• ติ ด ต่ อ และให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ กิ จ การของบริ ษั ท แก่

คุณวุฒิ และคุณสมบัติ •• ปริญญาตรี (ด้านบัญชีหรือกฎหมาย) •• มี ค วามรู้ เ รื่ อ งหลั ก กฎหมายต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริษัทและ กลต.

กรรมการ •• จั ด ปฐมนิ เ ทศกรรมการใหม่ และสนั บ สนุ น การ พัฒนากรรมการอย่างต่อเนื่อง •• ประสานกับทีป ่ รึกษาภายนอก เช่น ทีป ่ รึกษากฎหมาย

•• มีมนุษยสัมพันธ์และความสามารถสื่อสารดี •• มีประสบการณ์ทำ�งานตำ�แหน่งนี้มาก่อน •• มีความรู้เรื่องบรรษัทภิบาล

บริษัทได้กำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่าง ชัดเจนและโปร่งใส โดยค่าตอบแทนอยู่ในระดับเหมาะสม

หน้าที่ความรับผิดชอบ

ตามอุตสาหกรรม ผลตอบแทนอยู่ในระดับค่าเฉลี่ยกลาง

•• ดำ�เนินการเกีย ่ วกับการประชุมคณะกรรมการ คณะ

ของตลาด และได้ขออนุมต ั จ ิ ากผูถ ้ อ ื หุน ้ แล้ว กรรมการทีไ่ ด้

กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ

รับมอบหมายให้เป็นกรรมการตรวจสอบได้รบ ั ค่าตอบแทน

กำ�หนดค่าตอบแทน และการประชุมผู้ถือหุ้น

เพิ่ ม ที่ เ หมาะสมตามปริ ม าณงานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น กรรมการผู้

•• จั ด ทำ � รายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และเก็บรักษา •• ดูแลเปิดเผยข้อมูล และการรายงานให้เป็นไปตาม

จัดการและพนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เชื่อมโยงกับผล การปฏิบัติงานของแต่ละคน ค่าตอบแทนที่ได้รับได้ผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า


114

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ตอบแทนและเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและความชัดเจนใน

28 เมษายน 2549

การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการและผู้บริหาร ระดั บ สู ง ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ พิ จ ารณานโยบายและหลั ก การค่ า

ในปี 2559 บริษัทจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท

ตอบแทนกรรมการผู้จัดการและผู้บริหารระดับสูงแล้ว

และผู้บริหารดังต่อไปนี้อนึ่งกรรมการแต่ละท่านไม่ได้รับ

ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ครั้ ง ที่ 1/2549 ในวั น ที่

ค่าตอบแทนจากบริษัทย่อย

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ประกอบด้วยเบี้ยประชุม ซึ่งจ่ายตามจำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม ดังนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง คณะ

คณะ

คณะกรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

สรรหาและ

บริษัท

ตรวจสอบ

กำ�หนดค่า

รวม

ตอบแทน นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร

ประธานกรรมการ

960,000

960,000

นางอนุรัตน์ เทียมทัน

กรรมการ

720,000

720,000

นางสาวรวมสิน ทรัพย์สาคร

กรรมการ

720,000

720,000

นายสมจิตต์ เศรษฐิน

กรรมการ

720,000

720,000

นายสิทธิลาภ ทรัพย์สาคร

กรรมการ

720,000

720,000

นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาคร

- กรรมการ

720,000

- กรรมการสรรหา

30,000

750,000


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

115

ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง คณะ

คณะ

คณะกรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

สรรหาและ

บริษัท

ตรวจสอบ

กำ�หนดค่า

รวม

ตอบแทน แ ล ะ กำ � ห น ด ค่ า ตอบแทน นายวิรัช ไพรัชพิบูลย์

- กรรมการอิสระ

720,000

240,000

960,000

- ประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายชลิต ลิมปนะเวช

กรรมการอิสระ

720,000

360,000

นายไพศาล พงษ์ประยูร

- กรรมการอิสระ

720,000

160,000

50,000

930,000

720,000

160,000

30,000

910,000

- ประธานกรรมการ สรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทน -กรรมการตรวจสอบ -กรรมการอิสระ นางอัจฉรา ปรีชา

-กรรมการสรรหา แ ล ะ กำ � ห น ด ค่ า ตอบแทน

นายเอกพล พงศ์สถาพร

กรรมการผู้จัดการ

720,000

720,000


116

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนผู้บริหาร ในปี 2559 บริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนประกอบด้วย เงิน เดือนและโบนัส ให้กบ ั ผู้บริหารจำ�นวน 7 ราย รวมทัง ้ สิน ้

บริษท ั มีพนักงานทัง ้ หมด 1,479 คน โดยในปี 2559 บริษท ั

30,980,683.43 บาท

ได้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานจำ�นวนทั้งสิ้น 416 ล้าน บาท ซึง ่ ผลตอบแทน ได้แก่ เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินช่วย เหลือค่าครองชีพ เงินช่วยเหลือพิเศษ เงินประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ เป็นต้น นอกจากนีบ ้ ริษท ั

- ไม่มี -

ย่อยได้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานในลักษณะเดียวกัน กับบริษัทรวม 276 ล้านบาท

บริษท ั ได้จด ั ให้มก ี องทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพให้แก่ผบ ู้ ริหาร โดย บริษท ั ได้สมทบในอัตราส่วนร้อยละ 5 ของเงินเดือน โดย

บริษท ั ยังให้ความสำ�คัญเรือ ่ งสุขภาพของพนักงาน โดยจัดให้

ในปี 2559 บริษท ั ได้จา่ ยเงินสบทบกองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ

มีการตรวจสุขภาพประจำ�ปี ซึง ่ ใช้งบประมาณ 789,723.83

สำ�หรับผูบ ้ ริหาร 7 ราย รวมทัง ้ สิน ้ 1,260,897.00 บาท

บาท และในปี ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ได้ จ่ า ยค่ า รั ก ษาพยาบาล

กรรมการบริหารและผูบ ้ ริหารรวม 2 ราย มีรถยนต์ประจำ�

(ประกันสุขภาพ) รวมถึงให้พนักงานฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อ

ตำ�แหน่ง และผูบ ้ ริหาร 5 ราย ได้รบ ั เงินช่วยเหลือค่ารถยนต์

ไวรัสไข้หวัดใหญ่ เป็นจำ�นวนเงิน 2,054,846.65 บาท

และค่าพาหนะเดินทางรวมกันเท่ากับ 2,956,437.49 บาท ปี 2559

บมจ.ทิปโก้

บจ.ทิปโก้

บจ.ทิปโก้

บจ.ทิปโก้

ฟูดส์

เอฟแอนด์ บี

รีเทล

ไบโอเท็ค

1,436

565

307

146

43

28

4

4

1,479

593

311

150

133

125

104

3

พนักงานนอกสำ�นักงานใหญ่

1,346

468

207

147

1,479

593

311

150

416

200

47

29

พนักงานปฏิบัติการ พนักงานบริหาร

รวม (คน)

พนักงานในสำ�นักงานใหญ่ รวม (คน)

ค่าตอบแทนพนักงาน(ล้านบาท)


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

117

การเปลี่ยนแปลงจำ�นวนพนักงานในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) มีจำ�นวนพนักงาน รวมทั้งสิ้น ดังนี้ •• ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจำ�นวนพนักงานทัง ้ สิน ้ จำ�นวน 2,155 คน •• ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจำ�นวนพนักงานทัง ้ สิน ้ จำ�นวน 1,470 คน •• ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจำ�นวนพนักงานทัง ้ สิน ้ จำ�นวน 1,414 คน

1. ทุกตําแหน่งงานจะต้องมีการกําหนดหน้าที่ และความ รับผิดชอบ (JOB DESCRIPTION) และคุณสมบัติ (QUALIFICATION) และ สมรรถนะ (COMPETENCY) เบื้องต้นของผู้ดํารงตําแหน่งนั้น เช่น วุฒิการ ศึกษา ประสบการณ์ และความชํานาญอืน ่ ๆ ทีจ ่ ําเป็น สําหรับการปฏิบัติงานในตําแหน่งนั้นๆ 2. ทำ�การประเมินสมรรถนะของพนักงานทีจ ่ ําเป็นในแต่ ละตําแหน่งงาน (CORE COMPETENCY ANALYSIS) สำ�หรับตำ�แหน่งงาน ตั้งแต่ระดับ OM5 / O5 ขึ้นไป ซึ่งรวมถึง ความรู้ ทักษะ และความชํานาญ

บริ ษั ท ไม่ มี ข้ อ พิ พ าทด้ า นแรงงานที่ สำ�คั ญ ในช่ ว ง 3 ปี ที่

ในด้านต่างๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ�แผน

ผ่านมา ไม่มีการประท้วงหรือนัดหยุดงานแต่ประการใด

พั ฒ นาพนั ก งานรายบุ ค คล ( I D P : I N D I V I D U A L D E V E L O P M E N T P L A N ) โดยให้ ก าร กําหนดตําแหน่งทีจ ่ ะดําเนินการประเมินนี้ สอดคล้อง

•• เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน จำ�นวน 10 ราย (LTA. หรืออัตราความถี่ = 0.62) •• จำ�นวนวันที่หยุดงาน 345 วัน (DLT. หรืออัตรา ความรุนแรง = 21.27)

กับแผนพัฒนาบุคลากรประจําปีของบริษัท 3. การพัฒนาความรูค ้ วามสามารถและสมรรถนะของ พนักงานในตําแหน่งอืน ่ ๆ ทีไ่ ม่ได้รบ ั การประเมินความ สามารถเป็นรายบุคคลให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณา จากผลการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปีของ พนักงาน และกําหนดแผนการพัฒนาสําหรับพนักงาน โดยนำ�เสนอต่อผู้บังคับบัญชาในลำ�ดับต่อไป เพื่อ

เพื่ อ ให้ พ นั ก งานได้ พั ฒ นาความสามารถอย่ า งเพี ย งพอ

การอนุมัติ และส่งต่อให้ฝ่ายทรัพยากรบุคคลรวบ

และต่อเนื่องที่จะปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดจน

รวมพื่อจัดทำ�แผนการฝึกอบรมและพัฒนาต่อไป

พร้อมเติบโตก้าวหน้าในสายอาชีพเพื่อรองรับงานใหม่ที่

4. การพั ฒ นาความรู้ ค วามสามารถและสมรรถนะ

จะเพิม ่ ขึน ้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล บริษท ั

ของพนั ก งานในด้ า นต่ า ง ๆ เช่ น ด้ า นการบริ ห าร

จึงได้กําหนดให้มก ี ารบริหารการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

การจัดการ ทักษะการบังคับบัญชา ด้านเทคนิคและ

อย่างต่อเนื่อง และสม่ำ�เสมอ

วิชาชีพเฉพาะด้าน ความชํานาญงานพิเศษ ความ


118

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รอบรู้ ใ นเชิ ง ธุ ร กิ จ ตลอดจนความรู้ พื้ น ฐานของ

ของพนักงานอย่างเท่าเทียม และไม่เลือกปฏิบัติ

ระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพ และการสร้ า งจิ ต สํ า นึ ก ใน

4. พนักงานสามารถขอตรวจสอบแผนการพัฒนาราย

ด้านคุณภาพเป็นต้นนั้น ให้ดําเนินการโดย วิธีหนึ่ง

บุคคล และ/หรือ ความก้าวหน้าในการพัฒนาตนเอง

วิธีใดหรือหลายวิธีก็ได้ เช่น

ได้ทผ ี่ บ ู้ ง ั คับบัญชาหรือฝ่ายทรัพยากรบุคคลได้ตลอด

4.1 การฝึกอบรมในงาน

เวลา และสามารถร้องเรียนไปยังฝ่ายบริหารได้ หาก

4.2 การอบรม สัมมนา ศึกษางาน หรือดูงาน

พบว่าตนเองได้รับการละเลย ยกเว้น หรือเพิกเฉย

ทั้งภายในและภายนอก

ในการพัฒนาตนเองอย่างไม่เป็นธรรม

4.3 การหมุนเวียนงาน 4.4 การแต่งตั้งรักษาการ

ในปีที่ผ่านมาบริษัทจึงได้จัดการฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ

4.5 การมอบหมายงาน หรือโครงการพิเศษ

เพื่อสนับสนุนเป้าหมายดังกล่าว อาทิเช่น

4.6 วิธีการอื่นๆ ที่เหมาะสม 5. ฝ่ายทรัพยากรบุคคลรับผิดชอบในการดําเนินการ และประสานงานกั บ ผู้ จั ด การฝ่ า ยต่ า งๆ ในการ พั ฒ นาพนั ก งาน ตลอดจนติ ด ตามผลการพั ฒ นา และการจัดเก็บประวัติการพัฒนาพนักงาน

•• ห ลั ก สู ต ร ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ น กระบวนการผลิต (Problem Solving and Decision Making) •• หลักสูตร การพัฒนาหัวหน้างานสู่ความเป็นผู้สอน งาน (Train the Trainers) •• หลั ก สู ต ร สานใจสู่ ค วามเป็ น ที ม (Ways to Be One Team)

1. การประเมิ น สมมรรถนะของพนั ก งานและแผน พัฒนาพนักงานรายบุคคล (IDP) จะต้องผ่านการ

•• หลักสูตร มาตรฐานการให้บริการ (Service Standard)

พิจารณาและเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างผูบ ้ ง ั คับบัญชา

•• หลักสูตร เทคนิคการสัมภาษณ์งานด้วยคำ�ถามเชิง

พนักงาน ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และคณะกรรมการ

พฤติกรรม (Competency-Based Interview

บริหาร งานทรัพยากรบุคคล (HR Committee)

Techniques)

สำ�หรับพนักงานระดับ M4/P4 ขึ้นไป เพื่อประโยชน์ สูงสุด ต่อตัวพนักงานและบริษัท

นอกจากหลั ก สู ต รต่ า งๆ ที่ จ ะช่ ว ยให้ พ นั ก งานมี ค วาม

2. ผู้บังคับบัญชาและพนักงานเป็นผู้รับผิดชอบหลักใน

พร้อมในการปฏิบัติงานแล้ว บริษัทยังได้จัดให้มีการฝึก

การจัดทำ�แผนพัฒนารายบุคคล (IDP) เพื่อความ

อบรมเฉพาะทางให้ กั บ พนั ก งานในหลั ก สู ต รต่ า งๆ เช่ น

ก้าวหน้าและพัฒนาในสายวิชาชีพของพนักงาน

ด้านการตลาด การขาย การให้บริการ การบัญชี การ

3. ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผูบ ้ ง ั คับบัญชา และฝ่ายบริหาร

เงิน การบริหารงานทรัพยากรบุคคล การซ่อมบำ�รุง และ

มีหน้าที่ดูและและจัดสรรงบประมาณให้พนักงานได้

การบริหารจัดการการผลิต เป็นต้น โดยเป็นจำ�นวนเงิน

รับการพัฒนาตนเองอย่างทั่วถึง ตามความจำ�เป็น

ทั้งสิ้นประมาณ 5 ล้านบาท


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

119

การควบคุมภายในและการ บริหารจัดการความเสี่ยง 1. ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน

ในการประกอบธุรกิจและมีการทบทวนนโยบายและการ ประเมินผลการปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายเป็นระยะๆ มีการสร้าง

คณะกรรมการได้ จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่

วัฒนธรรมการกำ�กับดูแล เนือ ่ งจากบริษท ั มีความเชือ ่ เรือ ่ ง

ครอบคลุมทุกด้านทั้งด้านการเงิน การปฏิบัติงานการ

การบริหารงานด้วยคุณภาพและคุณธรรม ด้วยความ

ดำ�เนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ ระเบี ย บที่

โปร่งใส เป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายซึ่งจะเป็นส่วนช่วยผลักดัน

เกี่ ย วข้ อ งและการบริ ห ารความเสี่ ย งและจั ด ให้ มี ก ลไก

ให้บริษัทมีการเติบโตอย่างยั่งยืนได้

การตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย งพอใน การบริหารงาน การดูแลทรัพย์สิน รวมถึงผลตอบแทน

2. ระบบการควบคุมภายใน

ที่เป็นธรรมแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกท่าน บริษัทมีการกำ�หนด อำ�นาจดำ�เนินการในการอนุมัติและกำ�หนดความรับผิด

ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 1/2559

ชอบของผูบ ้ ริหารและพนักงานเป็นลำ�ดับขัน ้ มีการกำ�หนด

เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมีกรรมการอิสระ 3

ขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ง ิ านเป็นลายลักษณ์อก ั ษร มีการพัฒนา

ท่าน เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษท ั ได้ประเมิน

พนักงานระดับผู้จัดการและผู้มีศักยภาพให้ผ่านหลักสูตร

ระบบการควบคุมภายในของบริษัท โดยการอนุมัติแบบ

Internal Quality Audit ISO 9001 : 2000 ทำ � ให้

ประเมินที่ฝ่ายบริหารจัดทำ�และรายงานคณะกรรมการ

สามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานข้ามสายงาน มีหน่วย

ตรวจสอบ สามารถสรุปได้ดังนี้

งานตรวจสอบภายในแยกเป็นอิสระ ตัง ้ แต่ปี 2547 ได้จา้ ง บริษัทภายนอกทำ�การตรวจสอบภายในให้ซึ่งจะร่วมกัน

ในด้านการควบคุมการปฏิบต ั ง ิ าน

พิจารณาแผนงานตรวจสอบภายในและรายงานตรงกับ

บริษท ั มีการกำ�หนดอำ�นาจดำ�เนินการ ขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ขิ อง

คณะกรรมการตรวจสอบ

ผูป ้ ฏิบต ั ง ิ านและผูบ ้ ริหารไว้เป็นลายลักษณ์อก ั ษรอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ มีการควบคุมดูแลการใช้ทรัพย์สน ิ ของ

นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท มอบอำ�นาจหน้าที่และ

บริษท ั ให้เกิดประโยชน์ มีระบบงบประมาณและการพิจารณา

ความเป็นอิสระแก่คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า

ความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนก่อนลงทุนในทรัพย์สน ิ มี

ตอบแทน เพือ ่ ให้เกิดความเป็นธรรมในการคัดเลือกบุคคล

ระบบการติดตามหากผลการดำ�เนินงานแตกต่างจากงบ

ที่ มี ค วามสามารถเข้ า มาบริ ห ารงานในฐานะกรรมการ

ประมาณ และยังมีการแบ่งแยกหน้าทีผ ่ ป ู้ ฏิบต ั ง ิ าน ผูต ้ ด ิ ตาม

และกรรมการผู้จัดการ รวมถึงพิจารณาผลตอบแทนที่

ควบคุมและประเมินผลออกจากกันเพือ ่ ให้เกิดการถ่วงดุล

ให้แก่กรรมการ และพนักงานเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม

และตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยัง

ตามผลงาน และยั ง ได้ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการบรรษั ท ภิ

มีการควบคุมภายในที่เกี่ยวกับระบบการเงิน โดยมีระบบ

บาล เพื่ อ กำ�หนดนโยบายบรรษั ท ภิ บ าล จรรยาบรรณ

รายงานทางการเงินเสนอผูบ ้ ริหารสายงานทีร ่ บ ั ผิดชอบ


120

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ในด้านการตรวจสอบภายใน

ได้ทำ�แล้วจะลดความเสี่ยงได้จริงหรือไม่ และให้นำ�เสนอ

บริษัทจ้างบริษัทภายนอกปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ต่อคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส

เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการ เงินสำ�คัญของบริษัทได้ดำ�เนินการตามแนวทางที่กำ�หนด

ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับความเพียง

รวมถึงตรวจสอบการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายและข้อกำ�หนด

พอของระบบการควบคุมภายใน

ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท และเพื่อให้บริษัทภายนอกดังกล่าว

คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายใน การ

มีความเป็นอิสระ สามารถทำ�หน้าทีต ่ รวจสอบและถ่วงดุล

บริ ห ารความเสี่ ย งทางธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และการกำ�กั บ

ได้อย่างเต็มที่

คณะกรรมการจึงกำ�หนดให้บริษัทที่รับ

ดูแลกิจการโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและสามารถ

หน้าที่ตรวจสอบภายในดังกล่าวรายงานผลการตรวจ

สร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความโปร่งใสและงบ

สอบโดยตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบและกำ�หนด

การเงินของบริษัทและบริษัทย่อยประจำ�ปี 2559 ที่คณะ

ขอบเขตในการตรวจสอบร่วมกันกับคณะกรรมการตรวจ

กรรมการตรวจสอบได้สอบทานร่วมกับฝ่ายบริหารและ

สอบอีกด้วย

ผู้สอบบัญชีของบริษัทได้แสดงฐานะการเงินและผลการ ดำ � เนิ น งานถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น เชื่ อ ถื อ ได้ สมเหตุ ส มผล

ในด้านการบริหารความเสีย ่ ง

ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการ

คณะกรรมการได้แต่งตัง ้ คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง

ใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ

เพื่อทำ�หน้าที่กำ�หนดขอบเขตและนโยบายในการบริหาร

เปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า งเพี ย งพอ ดั ง ที่ ผู้ ส อบบั ญ ชี ไ ด้ แ สดง

ความเสี่ยง รวมทั้งมีการจัดประชุมร่วมกับผู้จัดการฝ่าย

ความเห็นต่องบการเงินของบริษัทไว้แล้วในรายงานของ

ทีเ่ กีย ่ วข้องเพือ ่ กำ�หนดและประเมินความเสีย ่ งของกิจการ

ผู้สอบบัญชี

ทุ ก 3 เดื อ น และกำ � หนดให้ มี ก ารประชุ ม ย่ อ ยทุ ก วั น ใน ระดับหน่วยงาน และประชุมทุกเดือนในระดับฝ่ายจัดการ

3. การตรวจสอบภายใน

และคณะกรรมการบริหาร พร้อมทั้งกำ�หนดมาตรการ ป้องกันและจัดการความเสี่ยงที่มีผลต่อการดำ�เนินงาน

ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 3/2547

ของบริษท ั มีการกำ�หนดสัญญาณเตือนภัย มีการกำ�กับ

เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2547 ได้แต่งตั้ง

ดูแลการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง

แอนด์ แมเนจเม้นท์ คอนซัลแตนท์ จำ�กัด (AMC)ให้ปฏิบัติ

และมีการจัดทำ�รายงานบริหารความเสี่ยงซึ่งสามารถ

หน้าทีผ ่ ต ู้ รวจสอบภายในของบริษท ั ตัง ้ แต่วน ั ที่ 9 สิงหาคม

ตรวจสอบได้ ตั้งแต่ปี 2547 คณะกรรมการตรวจสอบ

2547 ซึ่งบริษัทออดิต แอนด์ แมเนจเม้นท์ คอนซัลแตนท์

กำ�หนดให้ผู้ตรวจสอบภายในติดตามการบริหารความ

จำ�กัด ได้มอบหมายให้นางพิไล เปีย ่ มพงศ์สานต์ตำ�แหน่งผู้

เสี่ ย งว่ า ผู้ บ ริ ห ารได้ ทำ�ตามที่ กำ�หนดไว้ ห รื อ ไม่ หรื อ ถ้ า

ตรวจสอบภายใน เป็นผูร ้ บ ั ผิดชอบหลักในการปฏิบต ั ห ิ น้าที่

บริษัท ออดิต


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

121

ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทคณะกรรมการตรวจสอบ

ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม บริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายกฎ

ได้พิจารณาคุณสมบัติของบริษัทออดิต แอนด์ แมเนจเม้น

ระเบียบข้อบังคับนโยบายและข้อกำ�หนดของหน่วยงาน

ท์ คอนซัลแตนท์ จำ�กัด และนางพิไล เปีย ่ มพงศ์สานต์แล้ว

ทางการทีเ่ กีย ่ วข้องเช่นธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นักงาน

เห็นว่ามีความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบัติหน้าที่ดัง

คณะกรรมการก.ล.ต. สำ�นักงานคณะกรรมการคปภ.

กล่าวเนื่องจากมีความเป็น อิสระและมีประสบการณ์ใน

สำ�นักงานกกพ.หรือหน่วยงานทางการอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับ

ปฏิบต ั ง ิ านด้านการตรวจสอบภายใน เคยเข้ารับการอบรม

การดำ�เนินธุรกิจของบริษัททั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้

ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านตรวจสอบ

อนุมัตินโยบายด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compli-

ภายในได้แก่ Certified Public Account an (Thai-

ance Policy) โดยกำ�หนดให้คณะกรรมการบริษท ั คณะ

land)– (CPA No.2336)และ Honorary Certified

กรรมการตรวจสอบผูบ ้ ริหารระดับสูงฝ่ายงานหรือหน่วย

Internal Auditor, Institute of Internal Audi-

งานและพนักงานต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายรวม

tors – (CIA No.30861)โดยบริษัทยังได้ให้ฝ่ายจัดการ

ถึงมีการสื่อสารกับพนักงานได้ตระหนักว่าพนักงานทุก

เพื่อทำ�หน้ า ที่ ประสานงานกั บผู้ ตรวจสอบที่ว่า จ้า งจาก

คนมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการศึกษาและทำ�ความ

ภายนอกด้วย

เข้าใจในกฎหมายรวมถึงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในงานที่ รับผิดชอบและปฏิบัติให้ถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามกฎ

ทั้งนี้การพิจารณาและอนุมัติแต่งตั้งถอดถอนโยกย้ายผู้

เกณฑ์อย่างเคร่งครัด(ประวัติ หน้า 29)

ดำ�รงตำ�แหน่ ง หั ว หน้ า หน่ ว ยงานตรวจสอบภายในของ บริษท ั จะต้องผ่านการอนุมต ั ห ิ รือได้รบ ั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ

2. รายละเอียดหัวหน้างานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตั้งบริษัท ออดิต แอนด์ แมเนจเม้นท์ คอนซัลแตนท์ จำ�กัดให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจ

รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายในและ

สอบภายในของบริษท ั ซึง ่ บริษท ั ออดิต แอนด์ แมเนจเม้นท์

หัวหน้างานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน

คอนซัลแตนท์ จำ�กัด ได้มอบหมายให้นางพิไล เปี่ยมพงศ์

1. รายละเอียดหัวหน้างานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน

สานต์ตำ�แหน่งผู้ตรวจสอบภายใน เป็นผู้รับผิดชอบหลัก

คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง นายพิจารณ์ สลักเพชร

ในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีผ ่ ูต ้ รวจสอบภายในของบริษท ั ( ประวัติ

ให้ปฎิบัติหน้าที่เป็นหัวหน้างานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน

ตามเอกสารแนบ 3 ในแบบ 56-1)

มีหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบเป็นศูนย์กลางการกำ�กับดูแลการ


122

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน รายการบัญชีระหว่างบริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อยที่มีกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกันในปี 2559 มีรายละเอียดดังนี้ ลักษณะรายการ

บริษัท / ความสัมพันธ์

มูลค่ารายการ

นโยบายการคิดราคา

ระหว่างกัน (ล้านบาท) 1. รายได้อื่นๆ

2. รับบริการและอื่นๆ

บมจ. ทิปโก้แอสฟัลท์

0.24

ราคาตลาดเทียบเท่ากับ

บจ. เรย์ โ คลแอสฟั ล ท์

0.01

ราคาที่ทำ�กับบุคคลภายนอก

บจ. ไทยบิทูเมน

0.01

รวม

0.26

บจ. ถนอมวงศ์บริการ

0.18

ราคาตลาดเทียบเท่ากับ

บมจ. ทิปโก้แอสฟัลท์

0.08

ราคาที่ทำ�กับบุคคลภายนอก

บจ. สยามคอนเทนเนอร์ฯ

0.69

บจ. รวมทรัพย์สิน

0.42

บจ. ทิปโก้ ทาวเวอร์

19.08

บจ. มาร์เก็ตติ้งคอนซัลเท็น รวม

1.41 21.86

รายการระหว่างกันระหว่างบริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ลักษณะรายการ

บริษัท / ความสัมพันธ์

มูลค่ารายการ

นโยบายการคิดราคา

ระหว่างกัน (ล้านบาท) 1. ขายสินค้า

บจ. สยามคอนเทนเนอร์ฯ

0.20

ราคาตลาดเทียบเท่ากับ

บจ. ถนอมวงศ์บริการ

1.02

ราคาที่ทำ�กับบุคคลภายนอก

บมจ. ทิปโก้แอสฟัลท์

1.82

บจ. รัตนะจิตต์

0.36


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ลักษณะรายการ

บริษัท / ความสัมพันธ์

มูลค่ารายการ

123

นโยบายการคิดราคา

ระหว่างกัน (ล้านบาท)

2. รับบริการและอื่นๆ

บจ. ไทยบิทูเมน

0.17

บจ. ไทยสเลอรี่ซีล

0.04

บจ. ทิปโก้ มารีไทม์

0.07

บจ. รวมทรัพย์สิน

0.02

รวม

3.70

บมจ. ทิปโก้แอสฟัลท์

0.37

ราคาตลาดเทียบเท่ากับ

บจ. ถนอมวงศ์บริการ

0.13

ราคาที่ทำ�กับบุคคลภายนอก

บจ. สยามคอนเทนเนอร์ฯ

0.27

บจ. รวมทรัพย์สิน

9.63

บจ. ทิปโก้ ทาวเวอร์

7.08

บจ. มาร์เก็ตติง ้ คอนซัลเท็น

1.51

รวม

18.99

รายการระหว่างกันระหว่างบริษัท ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ลักษณะรายการ

บริษัท / ความสัมพันธ์

มูลค่ารายการ

นโยบายการคิดราคา

ระหว่างกัน (ล้านบาท) 1. รับบริการและอื่นๆ

บจ. ถนอมวงศ์บริการ

0.01

ราคาตลาดเทียบเท่ากับ

บมจ. ทิปโก้แอสฟัลท์

0.10

ราคาที่ทำ�กับบุคคลภายนอก

บจ. รวมทรัพย์สิน

7.40

บจ. ทิปโก้ ทาวเวอร์

1.74

บจ. มาร์เก็ตติง ้ คอนซัลเท็น

0.06

รวม

9.31


124

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รายการค่าบริการและอืน ่ ๆ ซึง ่ เป็นค่าเช่าอาคารทิปโก้ กับ

นโยบายและแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต

บริษัท ทิปโก้ ทาวเวอร์ เป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ บริษัท

รายการระหว่างกันของบริษท ั ทีเ่ กิดขึน ้ และอาจเกิดขึน ้ ต่อ

ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด และบริษัท ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด

ไปในอนาคต จะเป็นรายการที่ดำ�เนินการทางธุรกิจตาม

จำ�นวนเงิน 11.31 ล้านบาท 4.61 ล้านบาท และ 1.40 ล้าน

ปกติเช่นเดิม ไม่มีรายการใดเป็นพิเศษ ไม่มีการถ่ายเทผล

บาท ตามลำ�ดับ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา

ประโยชน์ ระหว่าง บริษท ั บริษท ั ย่อย กับบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้อง

อย่างละเอียด โดยได้ เ ปรี ยบเที ยบค่ า เช่ า และสิ่ ง อำ�นวย

ทั้งนี้ บริษัท จะให้คณะกรรมการตรวจสอบหรือผู้สอบ

ความสะดวก (Facility) กับตึกต่างๆระดับเดียวกันใน

บัญชีของบริษัท หรือผู้เชี่ยวชาญอิสระ พิจารณาตรวจ

กรุงเทพฯและมีความเห็นว่าอัตราค่าเช่ามีความเหมาะสม

สอบและให้ ค วามเห็ น ถึ ง ความเหมาะสมของราคา และ

แล้ว และได้เสนอคณะกรรมการบริษท ั ซึง ่ พิจารณาอนุมต ั ิ

ความสมเหตุสมผลของการทำ�รายการด้วยพร้อมทัง ้ เปิด

โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ได้ออกเสียง

เผยชนิดและมูลค่าของรายการดังกล่าว พร้อมทัง ้ เหตุผล ในการทำ�รายการต่อทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ในรายงานประจำ�ปี

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ

นอกจากนีค ้ ณะกรรมการบริษท ั จะต้องปฏิบต ั ใิ ห้เป็นไปตาม

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท บริษัทย่อย

กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์และข้อ

กั บ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น เป็ น รายการดำ � เนิ น การทาง

บังคับ ประกาศ คำ�สัง ่ หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์

ธุรกิจตามปกติ และได้ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากคณะ

แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อกำ�หนด

กรรมการบริษัทหลังจากได้ผ่านการพิจารณาจากคณะ

เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการเกี่ยวโยง และ

กรรมการตรวจสอบก่อนแล้ว ซึ่งเป็นไปตามขั้นตอนการ

การได้มาหรือจำ�หน่ายทรัพย์สน ิ ทีส ่ ำ�คัญของบริษท ั หรือ

อนุ มั ติ ที่ เ หมาะสมตามระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ทุ ก

บริษท ั ย่อย ตามมาตรฐานการบัญชีทีก ่ ำ�หนดโดยสมาคม

ประการรวมทั้ ง เป็ น ไปตามกระบวนการจั ด ซื้ อ ปกติ ซึ่ ง

นักบัญชีและผู้สอบบัญชีรบ ั อนุญาตแห่งประเทศไทย ทัง ้ นี้

ต้องมีการเปรียบเทียบราคากับผู้ขายรายอื่น และราคา

หากมี ร ายการระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย

ที่ซื้อขายกันเป็นราคาตามราคาตลาด

เกิดขึ้นกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีส่วนได้ส่วนเสียหรืออาจ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ใ นอนาคต บริ ษั ท จะได้

มาตรการหรือขัน ้ ตอนการอนุมต ั ก ิ ารทำ�รายการระหว่างกัน

ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับ

รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน ้ และอาจเกิดขึน ้ ต่อไปในอนาคต

ความจำ�เป็น และความเหมาะสมของรายการนัน ้ ในกรณี

จะต้องผ่านการพิจารณาอนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการบริษท ั

ที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบไม่ มี ค วามชำ � นาญ ในการ

หลังจากผ่านการตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจ

พิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะได้

สอบ ซึ่ ง เป็ น ไปตามขั้ น ตอนการอนุ มั ติ ที่ เ หมาะสมตาม

ให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้สอบบัญชีของบริษัทเป็นผู้ให้

ระเบียบข้อบังคับของบริษัทและตามกระบวนการจัดซื้อ

ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนำ�

ซึง ่ ต้องมีการเปรียบเทียบราคาและคัดเลือกผูข้ ายทุกครัง ้

ไปใช้ ป ระกอบการตั ด สิ น ใจของคณะกรรมการ หรื อ ผู้

รวมทั้งมีการประเมินผลผู้ขายเพื่อจัดอันดับอีกด้วย โดย

ถือหุ้นแล้วแต่กรณี

กรรมการที่มีส่วนได้เสียงดออกเสียงในการอนุมัติการ เข้าทำ�รายการดังกล่าว


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

125

รายงานความรับผิดชอบของคณะ กรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงิน

บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี มี ค วามถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น เพี ย ง

ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงิน

พอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน และป้องกันไม่ให้เกิด

ที่ปรากฎในรายงานประจำ�ปี

การทุจริตหรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติ และเพื่อให้การ

งบการเงินดังกล่าวจัด

ทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือก

ดำ�เนินงานมีความรอบคอบและปราศจากความเสี่ยง

ใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม ซึ่งถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจ

ใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุด

สอบ ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระ 3 ท่ า น เป็ น ผู้ ดู แ ล

ในการจั ด ทำ � รวมทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล สำ � คั ญ อย่ า ง

รับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและ

เพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และได้ผ่านการ

ระบบควบคุมภายใน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจ

ตรวจสอบและให้ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขจากผู้สอบ

สอบเกีย ่ วกับเรือ ่ งนีป ้ รากฏในรายงานของคณะกรรมการ

บัญชีรับอนุญาตที่เป็นอิสระ งบการเงินจึงสะท้อนฐานะ

ตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว

การเงินและผลการดำ�เนินงานที่เป็นจริง สมเหตุสมผล และเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น และผู้ มี ส่ ว นได้

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ค วามเห็ น ว่ า ระบบควบคุ ม

เสียอย่างโปร่งใส

ภายในและระบบการตรวจสอบ งบการเงินของบริษัทฯ อยูใ่ นระดับทีน ่ า่ พอใจ สามารถสร้างความเชือ ่ มัน ่ อย่างมี

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดให้มีและดำ�รงไว้ซึ่งระบบ

เหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินรวมของบริษัทฯ

ควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และระบบ

และงบการเงินของบริษท ั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

บริหารความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าการ

(นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร)

(นายเอกพล พงศ์สถาพร)

ประธานกรรมการ

กรรมการผูจ ้ ด ั การ


126

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบบริ ษั ท ทิ ป โก้ ฟู ด ส์ จำ � กั ด

มาตรฐานการรายงานทางการเงินและเปิดเผยข้อมูล

(มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จำ�นวน 3 ท่าน

อย่างเพียงพอ ครบถ้วนและเชื่อถือได้

โดยนายวิรัช ไพรัชพิบูลย์ เป็นประธานกรรมการตรวจ

3. ได้สอบทานการทำ�รายการระหว่างบริษท ั กับบุคคล

สอบ นายไพศาล พงษ์ประยูร และ นางอัจฉรา ปรีชา

และนิตบ ิ ค ุ คลทีเ่ กีย ่ วโยงกัน เห็นว่ารายการดังกล่าว

เป็นกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้

เป็นการดำ�เนินการตามธุรกิจปกติของบริษท ั ในราคา

ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ

ที่สมเหตุสมผลและได้มีการเปรียบเทียบราคากับผู้

บริ ษั ท ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กำ � หนดของสำ � นั ก งานคณะ

ขายรายอื่นๆทุกครั้ง

กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และ ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

4. ไ ด้ ส อ บ ท า น ใ ห้ มี ร ะ บ บ ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ที่ มี ประสิ ท ธิ ผ ลและไม่ พ บข้ อ บกพร่ อ งที่ มี นั ย สำ�คั ญ ที่ อาจก่อให้เกิดผลกระทบที่มีสาระสำ�คัญ และเน้นย้ำ�

ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับ

ให้ฝา่ ยบริหารปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน และ

ผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้ตรวจสอบภายใน อย่างเป็น

ระบบ

ทางการจำ�นวน 5 ครัง ้ และได้รว ่ มปรึกษาหารือกับผูต ้ รวจ

และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจอย่างต่อ

สอบภายใน ผู้สอบบัญชีภายนอกและฝ่ายบริหารหลาย

เนื่อง รวมทั้งส่งเสริมและผลักดันให้การปฏิบัติงาน

ครัง ้ ซึง ่ มีสาระสำ�คัญสรุปผลการปฏิบต ั ง ิ านได้ดง ั ต่อไปนี้

ตรวจสอบภายในเป็นไปตามมาตรฐานสากล

การบริหารความเสีย ่ งให้มป ี ระสิทธิภาพ

1. ร่วมกำ�หนดแผนการตรวจสอบประจำ�ปี เพือ ่ ทบทวน

5. ติ ด ตามโครงการลงทุ น ของบริ ษั ท โดยสอบถาม

ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในกั บ

ความคื บ หน้ า และรั บ ฟั ง รายงานจากฝ่ า ยจั ด การ

บริษท ั ออดิต แอนด์ แมเนจเม้นท์ คอนซัลแตนท์ จำ�กัด

เป็นระยะ ๆ

ซึ่ ง เป็ น ผู้ ต รวจสอบภายในของบริ ษั ท นอกจากนี้

6. สอบทานการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดและกฎหมายที่

ยั ง เน้ น ถึ ง การบริ ห ารความเสี่ ย งของธุ ร กิ จ ซึ่ ง ได้

เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความถูกต้องและโปร่งใส แก่

มอบหมายให้ ผู้ ต รวจสอบภายในทำ � การทบทวน

ผู้ถือหุ้นและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พบว่าบริษัทฯได้

ทุ ก ไตรมาส และทบทวนแบบประเมิ น ตนเองเกี่ ย ว

ปฏิ บั ติ ค รบถ้ ว น ถู ก ต้ อ งตามข้ อ กำ � หนดและตาม

กับมาตรการต่อต้านคอร์รัปชันเพื่อนำ�เสนอคณะ

กฎหมาย

กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ

7. พิจารณาเสนอแต่งตั้งเปลี่ยนแปลงผู้สอบบัญชีตาม

2. ได้ ส อบทานงบการเงิ น และรายงานทางการเงิ น

เวลาที่เหมาะสม และ เสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี

ประจำ � ไตรมาสและประจำ � ปี ร่ ว มกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี

ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติต่อที่ประชุม

ภายนอก เพื่ อ นำ � เสนอให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท

ผู้ ถื อ หุ้ น สำ � หรั บ ปี 2559 ได้ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ผู้

พิจารณาอนุมัติ พบว่างบการเงินได้จัดทำ�ขึ้นตาม

สอบบัญชีจากบริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด เป็น


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

127

ผู้สอบบัญชีของบริษัท และ เสนอค่าตอบแทนผู้สอบ

การจั ด ทำ � งบการเงิ น ของบริ ษั ท มี ร ะบบการควบคุ ม

บั ญ ชี ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ขออนุ มั ติ ต่ อ ที่

อย่า งเหมาะสมเพียงพอ และงบการเงินของบริษัทฯได้

ประชุมผู้ถือหุ้น

จั ด ทำ�ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น เชื่ อ ถื อ

โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบได้ทบทวนการดำ�เนิน

ได้ นอกจากนี้ยังพิจารณาเปลี่ยนแปลงผู้สอบบัญชีตาม

งานหลักของบริษัทฯและได้พิจารณาร่วมกับผู้บริหารที่

เวลาที่เหมาะสม และคณะกรรมการตรวจสอบได้มีการ

มีหน้าที่รับผิดชอบ ผู้ตรวจสอบภายในและผู้ตรวจสอบ

สอบทานกฏหมาย ข้ อ บั ง คั บ และระเบี ย บปฏิ บั ติ ต่ า งๆ

ภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบมีความพอใจว่า ระบบ

อย่างสม่ำ�เสมอรวมทั้งได้มีการประเมินเพื่อให้มั่นใจว่า

การควบคุมภายในของบริษัทในปัจจุบันมีความเพียงพอ

บริษัทได้ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบปฏิบต ั ิ

และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีระบบการกำ�กับดูแล

ต่าง ๆ อย่างถูกต้อง

กิจการและการบริหารความเสีย ่ งทีด ่ ี รวมทัง ้ กระบวนการ

(นายวิรัช ไพรัชพิบูลย์) ประธานกรรมการตรวจสอบ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560


งบการเงิน


130

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานของผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต เสนอต่อผู ้ถ ือหุ้นของบริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ผู้ ป ระกอบวิ ช าชี พ บั ญ ชี ที่ กำ � หนดโดยสภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจ สอบงบการเงิ น และข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ กำ � หนด

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท ทิปโก้ฟู ด ส์

ด้านจรรยาบรรณอื่นๆตามที่ระบุในข้อกำ�หนดนั้นด้วย

จำ � กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย ( ก ลุ ่ ม บ ริ ษั ท )

ข้ า พเจ้ า เชื่ อ ว่ า หลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี ที่ ข้ า พเจ้ า ได้ รั บ

ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยงบแสดงฐานะการเงิ น รวม ณ วั น ที ่

เพียงพอและเหมาะสมเพื ่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความ

31 ธั น วาคม 2559 งบกำ � ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ รวม

เห็นของข้า พเจ้า

งบแสดงการเปลี ่ ย นแปลงส่ ว นของผู ้ ถ ื อ หุ ้ น รวมและ งบกระแสเงินสดรวม สำ� หรั บปี สิ ้ นสุ ดวั นเดี ยวกั น และ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม รวมถึ ง หมายเหตุ

เรื่ อ งสำ � คั ญ ในการตรวจสอบคื อ เรื่ อ งต่ า งๆ ที่ มี นั ย

สรุปนโยบายการบัญชีที่ส� ำ คัญ และได้ตรวจสอบงบการ

สำ � คั ญ ที ่ สุ ด ตามดุ ล ยพิ นิ จ เยี ่ ย งผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ของ

เงินเฉพาะกิจการของบริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ข้าพเจ้าใน การตรวจสอบงบการเงินสำ�หรับงวดปัจจุบัน

(บริษัทฯ) ด้วยเช่ นกั น

ข้าพเจ้าได้นำ�เรื ่องเหล่านี ้มาพิจารณาในบริบทของการ ตรวจสอบงบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็น

ข้ า พเจ้ า เห็ น ว่ า งบการเงิ น ข้ า งต้ น นี ้ แ สดงฐานะการเงิ น

ของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่าง

ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 ผลการดำ � เนิ น งานและ

หากสำ�หรับเรื่องเหล่า นี้

กระแสเงิ น สด สำ � หรั บ ปี ส ิ ้ น สุ ด วั น เดี ย วกั น ของบริ ษั ท ทิปโก้ฟูดส์ จำ� กั ด (มหาชน) และบริ ษ ั ทย่ อย และเฉพาะ

ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ง านตามความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ ก ล่ า ว

ของบริ ษ ั ท ทิ ป โก้ ฟู ด ส์ จำ � กั ด (มหาชน) โดยถู ก ต้ อ ง

ไว้ ใ นส่ ว นของความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ ส อบบั ญ ชี ต่ อ การ

ตามที่ ค วรในสาระสำ � คั ญ ตามมาตรฐานการรายงาน

ตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ซึ ่งได้รวม

ทางการเงิน

ความรับผิดชอบที่เกี ่ยวกับเรื่องเหล่านี้ด้วย การปฏิบัติ งานของข้าพเจ้าได้รวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมา เพื่อตอบสนองต่อการประเมินความเสี่ยงจากการแสดง

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบ

ข้อมูลทีข่ ด ั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน

บั ญ ชี ความรั บ ผิ ด ชอบของข้ า พเจ้ า ได้ ก ล่ า วไว้ ใ นส่ ว น

ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมวิธีการ

ของความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบ

ตรวจสอบสำ � หรั บ เรื ่ อ งเหล่ า นี ้ ด ้ ว ย ได้ ใ ช้ เ ป็ น เกณฑ์ ใ น

งบการเงิ น ในรายงานของข้ า พเจ้ า ข้ า พเจ้ า มี ค วามเป็ น

การแสดงความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม

อิสระจากกลุ่มบริษัทตามข้อกำ�หนดจรรยาบรรณของ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

131

เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธ ีการตรวจสอบ

ร่ ว มซึ่ ง แสดงมู ล ค่ า ตามวิ ธี ส่ ว นได้ เ สี ย จำ � นวน 2,895

สำ�หรับ แต่ ละเรื ่ องมี ดั ง ต่ อไปนี ้

ล้า นบาท ในงบแสดงฐานะการเงินรวม และมีส่วนแบ่ง กำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษท ั ร่วมในงบกำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม จำ�นวน 741 ล้านบาท ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

เนื่ อ งจากรายได้ จ ากขายเป็ น รายการที่ มี มู ล ค่ า ที ่ เ ป็ น

ซึ่งเป็นจำ�นวนเงินที่มีสาระสำ�คัญต่องบการเงินและส่ง

สาระสำ � คั ญ ในงบการเงิ น สำ � หรั บ ปี 2559 และเป็ น

ผลกระทบโดยตรงต่อส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนรวม

รายการที ่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผลการดำ � เนิ น งานของ กลุ่ ม บริ ษ ั ท โดยตรง ประกอบกั บ กลุ ่ ม บริ ษั ท เข้ า ทำ �

ข้ า พเจ้ า ได้ ส อบถามผู ้ บ ริ ห ารถึ ง ความมี อิ ท ธิ พ ลอย่ า ง

สัญญากับลูกค้าเป็นจำ�นวนมากและเงื่อนไขที่ระบุไว้ใน

เป็ น สาระสำ � คั ญ ในบริ ษั ท ร่ ว มเพื ่ อ ประเมิ น ความเหมาะ

สัญญาที ่ทำ�กับลูกค้ามีความหลากหลาย เช่น รายการ

สมของการบั น ทึ ก รายการเกี ่ ย วข้ อ งกั บ เงิ น ลงทุ น ใน

ส่งเสริมการขาย ส่วนลดต่าง ๆ รวมทั ้งการให้ส่วนลด

บริษัทร่วมของฝ่ายบริหาร การประเมินความเหมาะสม

พิ เ ศษเพื ่ อ กระตุ้ น ยอดขาย ดั ง นั ้ น ข้ า พเจ้ า จึ ง ให้ ค วาม

ของนโยบายการบั ญ ชี ที่ บ ริ ษั ท ร่ ว มใช้ และการบั น ทึ ก

สำ � คั ญ เป็ น พิ เ ศษต่ อ การรั บ รู ้ ร ายได้ ทั ้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ มั่ น ใจ

รายการระหว่ า งกั น นอกจากนั้ น ข้ า พเจ้ า ยั ง ได้ ข องบ

ว่ารายได้ จ ากการขายถู ก รั บรู ้ ในบั ญชี ถ ู กงวด

การเงินทีผ ่ า ่ นการตรวจสอบโดยผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาติ ของบริษัทร่วมดังกล่าวเพื่อทดสอบการคำ�นวณมูลค่า

ข้ า พเจ้ า ได้ ป ระเมิ น ความเหมาะสมและทดสอบความมี

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและมูลค่าเงิน

ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบการควบคุ ม ภายในของกลุ่ ม

ลงทุนในบริษัทร่วมว่าเป็นไปตามสัดส่วนของเงินลงทุน

บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วงจรรายได้ การสุ ่ ม ตรวจสอบ

ในบริษท ั ร่วมทีบ ่ ริษท ั ฯมีสว ่ นได้เสียในบริษท ั ร่วมดังกล่าว

เอกสารประกอบรายการขายที่เกิดขึ้นในระหว่างปีและ

ตลอดจนได้ตรวจสอบความเหมาะสมของการเปิดเผย

ขยายขอบเขตการตรวจสอบในช่ ว งใกล้ สิ้ น รอบระยะ

ข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

เวลาบั ญ ชี ตรวจสอบใบลดหนี ้ ที ่ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท ออกหลั ง วันสิ ้นรอบระยะเวลาบัญชี วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล บัญชีรายได้แบบแยกย่อยเพื ่อตรวจสอบความผิดปกติที่ อาจเกิดขึ ้นของรายการขายตลอดรอบระยะเวลาบัญชี

กลุ ่มบริษ ัทได้เปิดเผยนโยบายการบัญชีและรายละเอียด

โดยเฉพาะรายการบั ญชี ที ่ ทำ� ผ่ า นใบสำ� คั ญทั่วไป

เกี ่ ย วกั บ ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี ไ ว้ ใ นหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 5.16 และข้อ 23 ตามลำ�ดับ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริษัทบันทึกรายการ

ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯมีเงินลงทุนในบริษัท

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากผลขาดทุนทาง


132

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ภาษีจำ�นวนประมาณ 34 ล้านบาท ซึ่งในการพิจารณา ว่ากลุ ่มบริษ ัทจะมีกำ�ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที ่จะ

งบการเงินรวมของบริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

นำ � ผลขาดทุ น ทางภาษี ม าใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ นั ้ น ต้ อ งอาศั ย

และบริ ษั ท ย่ อ ย (กลุ ่ ม บริ ษั ท ) และงบการเงิ น เฉพาะ

ดุ ล ยพิ นิ จ ของฝ่ า ยบริ ห ารอย่ า งมากในการจั ด ทำ � แผน

กิจการของบริษัททิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทฯ)

ธุรกิจและประมาณการกำ�ไรทางภาษีในอนาคตที ่คาดว่า

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ตรวจสอบโดย

จะเกิดขึ ้นตามแผนธุรกิจที่ได้อนุมัติแล้วซึ่งอาจมีผลกระ

ผู้สอบบัญชีท่านอื่น ซึ่งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข

ทบกับจำ�นวนของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

ตามรายงานลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559

จากผลขาดทุนทางภาษี ที ่ บั นทึ ก ไว้ ในบั ญชี ข้ าพ เ จ้ าไ ด้ ทำ � คว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ก า ร จั ดทำ � แ ล ะ อ นุ ม ั ต ิ

ผู้บริหารเป็นผู้ร ับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูล

ป ร ะ ม า ณ ก า ร กำ � ไ ร ท า ง ภ า ษี ใ น อ น า ค ต เ พื ่ อ รั บ รู ้

ที่รวมอยู่ในรายงานประจำ�ปีของกลุ่มบริษัท (แต่ไม่รวม

รายการสิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี ข้ า พเจ้ า

ถึงงบการเงินและรายงานของผู ้สอบบัญชีที ่แสดงอยู ่ใน

ได้ ป ระเมิ น ประมาณการกำ � ไรทางภาษี ใ นอนาคตโดย

รายงานนั ้ น ) ซึ ่ ง คาดว่ า จะถู ก จั ด เตรี ย มให้ กั บ ข้ า พเจ้ า

การตรวจสอบข้ อ มู ล ที ่ จ ำ � เป็ น และข้ อ สมมติ ท างด้ า น

ภายหลังวันที่ใ นรายงานของผู้สอบบัญชีนี้

เศรษฐกิจทีส ่ ำ�คัญทีใ่ ช้ในการจัดทำ�ประมาณการดังกล่าว โดยการเปรี ย บเที ย บกั บ แหล่ ง ข้ อ มู ล ทั ้ ง ภายนอกและ

ความเห็ น ของข้ า พเจ้ า ต่ อ งบการเงิ น ไม่ ค รอบคลุ ม ถึ ง

ภายในของกลุ ่ ม บริ ษ ั ท โดยข้ า พเจ้ า ได้ ใ ห้ ค วามสำ� คั ญ

ข้ อ มู ล อื ่ น และข้ า พเจ้ า ไม่ ไ ด้ ใ ห้ ข ้ อ สรุ ป ในลั ก ษณะการให้

เป็ น พิ เ ศษกั บ ข้ อ มู ล และสมมติ ฐ านที ่ ม ี ผ ลกระทบกั บ

ความเชื่อมั่นในรูปแบบใดๆต่อข้อมูลอื่นนั้น

อั ต ราการเติ บ โตของรายได้ แ ละอั ต รากำ � ไรขั ้ น ต้ น โดยตรง นอกจากนี ้ ข ้ า พเจ้ า ได้ เ ปรี ย บเที ย บประมาณ

ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจ

การกำ � ไรทางภาษี ใ นอดี ต กั บ กำ � ไรทางภาษี ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น

สอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่น

จริ ง เพื ่ อ ประเมิ น ความน่ า เชื ่ อ ถื อ ของประมาณการ

นั้ น มี ค วามขั ด แย้ ง ที่ มี ส าระสำ � คั ญ กั บ งบการเงิ น หรื อ

กำ � ไรทางภาษี ด ั ง กล่ า วตลอดจนทดสอบการคำ � นวณ

กับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรือไม่

ประมาณการกำ � ไรทางภาษี ใ นอนาคตตามข้ อ มู ล และ

หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น

ข้ อ สมมติ ด ั ง กล่ า วข้ า งต้ น และพิ จ ารณาผลกระทบ

สาระสำ�คัญหรือไม่

ของการเปลี ่ ย นแปลงข้ อ สมมติ ท ี ่ ส ำ � คั ญ ต่ อ ประมาณ การกำ � ไรทางภาษี ใ นอนาคต

เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจำ�ปีของกลุ่มบริษัทตาม ที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูล


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

133

ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ ข้าพเจ้าจะสื่อสาร

เชือ ่ มัน ่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจาก

เรื่องดังกล่าวให้ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลทราบเพื่อให้

การแสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระสำ�คั ญ

มีการดำ� เนิ นการแก้ ไ ขที ่ เ หมาะสมต่ อไป

หรื อ ไม่ ไม่ ว่ า จะเกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ข้ อ ผิ ด พลาด และ เสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของ ข้าพเจ้าอยูด ่ ว ้ ย ความเชือ ่ มัน ่ อย่างสมเหตุสมผลคือความ เชือ ่ มัน ่ ในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการปฏิบต ั ิ

ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำ�และนำ�เสนองบ

งานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถ

การเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการ

ตรวจพบข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระสำ � คั ญ

รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุม

ที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจาก

ภายในทีผ ่ บ ู้ ริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพือ ่ ให้สามารถจัดทำ�

การทุจริตหรือข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสำ�คัญเมื่อ

งบการเงิ น ที่ ป ราศจากการแสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ

คาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้วา่ รายการทีข่ ด ั ต่อข้อเท็จจริง

จริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ

แต่ ล ะรายการหรื อ ทุ ก รายการรวมกั น จะมี ผ ลต่ อ การ

ข้อผิดพลาด

ตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบ การเงินเหล่านี้

ในการจัดทำ�งบการเงิน ผูบ ้ ริหารรับผิดชอบในการประเมิน ความสามารถของกลุ่มบริษัทในการดำ�เนินงานต่อเนื่อง

ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร

การเปิ ด เผยเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ การดำ�เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งใน

สอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัย

กรณีทม ี่ เี รือ ่ งดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ�หรับ

เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้า

กิจการที่ดำ�เนินงานต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจ

ได้ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ด้วย

ที่จะเลิกกลุ่มบริษัทหรือหยุดดำ�เนินงานหรือไม่สามารถ ดำ�เนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้

•• ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบ

ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแล

และปฏิบต ั ง ิ านตามวิธก ี ารตรวจสอบเพือ ่ ตอบสนอง

กระบวนการในการจัดทำ�รายงานทางการเงินของกลุ่ม

ต่อความเสีย ่ งเหล่านัน ้ และได้หลักฐานการสอบบัญชี

บริษัท

ที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็ น ของข้ า พเจ้ า ความเสี่ ย งที่ ไ ม่ พ บข้ อ มู ล ที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญซึ่งเป็นผลมา

การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความ

จากการทุ จ ริ ต จะสู ง กว่ า ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากข้ อ


134

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ผิดพลาด เนือ ่ งจากการทุจริตอาจเกีย ่ วกับการสมรู้

ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทต้องหยุดการ

ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง ้ ใจ

ดำ�เนินงานต่อเนื่องได้

ละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลทีไ่ ม่ตรงตาม

•• ประเมิ น การนำ � เสนอ โครงสร้ า งและเนื้ อ หาของ

ข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน

งบการเงิ น โดยรวม รวมถึ ง การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่

•• ทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่

เกี่ ย วข้ อ ง ตลอดจนประเมิ น ว่ า งบการเงิ น แสดง

เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการ

รายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่

ตรวจสอบให้ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ แต่ ไ ม่ ใ ช่

ควรหรือไม่

เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมี

•• รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีทีเ่ หมาะสม

ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัท

อย่างเพียงพอเกีย ่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการ

•• ประเมิ น ความเหมาะสมของนโยบายการบั ญ ชี ที่

หรือของกิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุ่มบริษัทเพื่อ

ผู้ บ ริ ห ารใช้ แ ละความสมเหตุ ส มผลของประมาณ

แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิด

การทางบั ญ ชี แ ละการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่

ชอบต่อการกำ�หนดแนวทาง การควบคุมดูแล และ

ผู้บริหารจัดทำ�

การปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็น

•• สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การ

ผูร ้ บ ั ผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า

บั ญ ชี สำ � หรั บ กิ จ การที่ ดำ � เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งของผู้ บริ ห าร และสรุ ป จากหลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี ที่ ไ ด้

ข้าพเจ้าได้สื ่อสารกับผู ้ม ีหน้าที ่ในการกำ�กับดูแลเกี่ยวกับ

รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวกับ

ขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ่ ด้วางแผนไว้

เหตุ ก ารณ์ ห รื อ สถานการณ์ ที่ อ าจเป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด

ประเด็ น ที ่ มี นั ย สำ � คั ญ ที ่ พ บจากการตรวจสอบรวมถึ ง

ข้ อ สงสั ย อย่ า งมี นั ย สำ�คั ญ ต่ อ ความสามารถของ

ข้ อ บกพร่ อ งที่ มี นั ย สำ � คั ญ ในระบบการควบคุ ม ภายใน

กลุ่มบริษัทในการดำ�เนินงานต่อเนื่องหรือไม่ หาก

ซึ่งข้า พเจ้า ได้พบในระหว่า งการตรวจสอบของข้า พเจ้า

ข้าพเจ้าได้ขอ ้ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม ่ ส ี าระสำ�คัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ข้อสังเกตไว้ในรายงานของผู้สอบ

ข้ า พเจ้ า ได้ ใ ห้ คำ � รั บ รองแก่ ผู้ มี ห น้ า ที่ ใ นการกำ � กั บ ดู แ ล

บัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย ่ วข้องใน

ว่ า ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ กำ � หนดจรรยาบรรณที ่

งบการเงิน หรือหากเห็นว่าการเปิดเผยดังกล่าวไม่

เกี่ ย วข้ อ งกั บ ความเป็ น อิ ส ระและได้ สื่ อ สารกั บ ผู้ มี ห น้ า

เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป

ที่ในการกำ�กับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอด

ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึน ้ อยูก ่ บ ั หลักฐานการสอบบัญชี

จนเรื่องอื่นซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอก

ที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของ

อาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์

และมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข ้าพเจ้าขาด ความเป็นอิสระ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

135

จากเรือ ่ งทัง ้ หลายทีส ่ ือ ่ สารกับผูม ้ ห ี น้าทีใ่ นการกำ�กับดูแล

การกระทำ�ดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุ

ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยสำ�คัญที่สุดในการ

สมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์

ตรวจสอบงบการเงินในงวดปัจจุบันและกำ�หนดเป็นเรื่อง

ที่ผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว

สำ�คัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ ไว้ ใ นรายงานของผู้ ส อบบั ญ ชี เว้ น แต่ ก ฎหมายหรื อ ข้ อ

ผู้สอบบัญชีที่รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการนำ�เสนอ

บังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรือ

รายงานฉบับนี้คือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน

ในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะ

(ศุภชัย ปัญญาวัฒโน) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3930 บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด กรุงเทพฯ: 21 กุมภาพันธ์ 2560


136

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมาย เหตุ

2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

2559

8

เงินลงทุนชัว ่ คราว

58,983,257

76,355,545

3,846,390

3,800,857

2558

25,295,630

-

39,155,492

-

ลูกหนีก ้ ารค้าและลูกหนีอ ้ น ่ื

7,9

689,864,254

859,793,098

317,129,277

251,367,419

สินค้าคงเหลือ

10

882,245,761

778,357,555

433,586,623

304,986,735

สินทรัพย์ชว ี ภาพ

3, 4

2,800,857

เงินจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอืน ่

-

-

-

14,188,871

14,860,944

7,583,343

8,468,045

46,582,571

20,879,907

13,031,935

7,268,309

1,754,047,906

796,626,808

611,246,000

1,016,000

1,016,000

-

-

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารทีม ่ ภ ี าระค้ำ�ประกัน เงินลงทุนในบริษท ั ย่อย

11

-

-

465,336,902

465,336,902

เงินลงทุนในบริษท ั ร่วม

12

2,894,859,580

2,466,355,206

644,929,739

644,929,739

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน -

13

7,269,561

7,269,561

7,269,561

7,269,561

ทีด ่ น ิ อาคารและอุปกรณ์

14

2,023,191,014

2,314,494,369

761,469,255

819,733,849

สินทรัพย์ไม่มต ี ว ั ตน

15

68,099,837

46,411,924

35,954,345

35,654,906

สิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด

23

97,889,724

106,684,272

54,217,114

56,052,793

ทีด ่ น ิ รอการขาย

บัญชี - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน ่

17,983,295

18,664,470

6,117,218

8,889,941

5,110,309,011

4,960,895,802

1,975,294,134

2,037,867,691

6,808,820,972

6,714,943,708

2,771,920,942

2,649,113,691

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

137

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมาย เหตุ

หนีส ้ น ิ หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ้ ม ื ระยะ

2559

16

2558

417,000,000

1,320,288,281

17

2559

สัน ้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนีอ ้ น ่ื

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558

120,000,000

620,058,736

859,126,100

720,540,421

241,296,027

222,357,918

631,976

1,563,976

-

932,000

171,500,000

92,950,000

91,500,000

12,950,000

ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย

2,247,671

3,044,170

-

-

หนีส ้ น ิ หมุนเวียนอืน ่

57,184,526

19,507,431

35,285,354

4,072,265

1,507,690,273

2,157,894,279

488,081,381

860,370,919

ส่วนของหนี้สินภายใต้สัญญาเช่า การเงินทีถ ่ ง ึ กำ�หนด

ชำ�ระภายในหนึง ่ ปี

ส่ ว นของเงิ น กู้ ยื ม ระยะยาวจาก สถาบันการเงินทีถ ่ ง ึ กำ�หนด

ชำ�ระภายในหนึ่งปี

18

หนีส ้ น ิ ไม่หมุนเวียน หนีส ้ น ิ ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน -

สุทธิจากส่วนทีถ ่ ง ึ

กำ�หนดชำ�ระภายในหนึง ่ ปี

-

631,976

-

-

เงินกูย ้ ม ื ระยะยาวจากสถาบันการ เงิน - สุทธิจาก

ส่วนทีถ ่ ง ึ กำ�หนดชำ�ระภายใน

18

776,950,000

หนึง ่ ปี ประมาณการต้นทุนการรือ ้ ถอน

516,550,000

456,950,000

116,550,000

2,406,000

-

-

2,649,600

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


138

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมาย

สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เหตุ

2559

2558

2559

2558

20

79,096,614

56,682,386

55,553,001

37,125,090

858,696,214

576,270,362

512,503,001

153,675,090

2,366,386,487

2,734,164,641

1,000,584,382

1,014,046,009

พนักงาน

ทุนเรือนหุน ้

ทุนจดทะเบียน

หุน ้ สามัญ 500,000,000

หุน ้ มูลค่าหุน ้ ละ 1 บาท

ทุนออกจำ�หน่ายและชำ�ระเต็ม

มูลค่าแล้ว

หุน ้ สามัญ 482,579,640

หุน ้ มูลค่าหุน ้ ละ 1 บาท

500,000,000

500,000,000

500,000,000

500,000,000

482,579,640

482,579,640

482,579,640

482,579,640

1,494,466

1,494,466

ส่วนของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทีไ่ ม่มอ ี ำ�นาจ

-

-

ควบคุ ม ในบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ร่ ว มที่ ซ้ื อ ในราคาต่ำ � กว่ า มู ล ค่ า

การเปลี่ ย นแปลงส่ ว นได้ เ สี ย ใน

(135,832,635)

(73,900,864)

บริษัทย่อยของบริษัทร่วมโดยไม่

ตามบัญชี

ได้สญ ู เสียอำ�นาจควบคุมของบริษท ั ร่วม ส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หน ุ้ เป็น

28,433,655

เกณฑ์ของบริษท ั ร่วม

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

18,078,255


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

139

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมาย เหตุ กำ�ไรสะสม

จัดสรรแล้ว - สำ�รองตาม

2559

21

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558

2559

2558

50,000,000

50,000,000

50,000,000

50,000,000

กฎหมาย

3,650,873,429

3,081,058,341

1,238,756,920

1,102,488,042

(3,216,208)

6,109,519

ยังไม่ได้จด ั สรร

องค์ ป ระกอบอื่ น ของส่ ว นของผู้

-

-

ถือหุน ้

รวมส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ฯ

4,074,332,347

3,565,419,357

1,771,336,560

1,635,067,682

368,102,138

415,359,710

ส่วนของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทีไ่ ม่มอ ี ำ�นาจ ควบคุมของบริษท ั ย่อย

-

-

4,442,434,485

3,980,779,067

1,771,336,560

1,635,067,682

6,808,820,972

6,714,943,708

2,771,920,942

2,649,113,691

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


140

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมาย เหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

5,273,206,676

4,677,507,627

2,773,320,086

2,266,843,958

-

258,917,162

222,003,996

กำ�ไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์

-

-

37,719,870

เพือ ่ การลงทุน

รายได้จากการขายและบริการ รายได้อน ่ื เงินปันผลรับจากบริษท ั ร่วม

12

37,719,870

รายได้คา่ สนับสนุนทางการตลาด

-

63,737,550

19,925,917

-

93,760,294

120,069,948

48,715,858

73,090,498

5,366,966,970

4,899,034,995

3,100,879,023

2,599,658,322

3,816,732,538

3,611,177,850

2,315,030,368

2,075,497,143

ค่าใช้จา่ ยในการขาย

824,976,270

877,247,789

106,328,280

96,013,686

ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร

457,732,891

375,681,620

271,566,453

202,884,456

อืน ่ ๆ

ต้นทุนขายและบริการ

ค่าใช้จา่ ยอืน ่ ค่าเผือ ่ หนีส ้ งสัยจะสูญ ข า ด ทุ น จ า ก ก า ร ด้ อ ย ค่ า ข อ ง

14

419,926 186,471,519

เครือ ่ งจักรและอุปกรณ์

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษท ั ร่วม

12

-

-

1,340,659

-

1,340,659

5,286,333,144

4,865,447,918

2,692,925,101

2,375,735,944

80,633,826

33,587,077

407,953,922

223,922,378

740,749,858

1,216,173,249

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

-


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

141

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมาย เหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

กำ�ไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินภาษีเงินได้

821,383,684

1,249,760,326

407,953,922

223,922,378

ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน

(39,535,509)

(59,018,771)

(21,718,547)

(34,980,595)

กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้

781,848,175

1,190,741,555

386,235,375

188,941,783

(16,002,513)

(11,805,200)

(5,315,062)

(5,974,750)

765,845,662

1,178,936,355

380,920,313

182,967,033

-

1,781,897

ภาษีเงินได้

23

กำ�ไรสำ�หรับปี

รายการที่จะถูกบันทึกในส่วนของกำ�ไร หรือขาดทุนในภายหลัง การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ

สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเงินกู้

-

ยืม - สุทธิจากภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ในบริษท ั

1,781,897

12

(9,325,727)

35,541,302

ร่วม

รายการที่จะถูกบันทึกในส่วนของกำ�ไร

(9,325,727)

37,323,199

-

1,781,897

หรือขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษี เงินได้ รายการทีจ ่ ะไม่ถก ู บันทึกในส่วนของกำ�ไร

หรือขาดทุนในภายหลัง ผลขาดทุนจากการประมาณการ

(14,566,193)

ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได้

-

(13,917,530)

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


142

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมาย เหตุ รายการทีจ ่ ะไม่ถก ู บันทึกในส่วนของกำ�ไร หรือขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจาก

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

(14,566,193)

-

(13,917,530)

2558

-

ภาษีเงินได้ (23,891,920)

37,323,199

(13,917,530)

1,781,897

741,953,742

1,216,259,554

367,002,783

184,748,930

ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ฯ

813,638,314

1,188,467,999

380,920,313

182,967,033

ส่วนทีเ่ ป็นของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทีไ่ ม่มี

(47,792,652)

(9,531,644)

765,845,662

1,178,936,355

อำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อย

ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ฯ

789,211,314

1,225,791,198

ส่วนทีเ่ ป็นของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทีไ่ ม่มี

(47,257,572)

(9,531,644)

741,953,742

1,216,259,554

367,002,783

184,748,930

อำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อย

25 กำ�ไรต่อหุน ้ ขัน ้ พืน ้ ฐาน กำ�ไรส่วนทีเ่ ป็นของผูถ ้ อ ื หุน ้ ของ

บริษท ั ฯ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

1.69

2.46

0.79

0.38


143

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)


144

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน ของผู้ถือหุ้น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

ทุนเรือนหุน ้ ทีอ ่ อก

ส่วนของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทีไ่ ม่มี

การเปลีย ่ นแปลงส่วนได้

ส่วนทุนจากการ

และชำ�ระแล้ว

อำ�นาจควบคุมในบริษท ั ย่อยของ

เสียในบริษัทย่อยของ

จ่ายโดยใช้หน ุ้ เป็น

บริษท ั ร่วมทีซ่ อ ้ื ในราคาต่ำ�กว่า

บริษท ั ร่วมโดยไม่ได้สญ ู

เกณฑ์ของบริษัท

มูลค่าตามบัญชี

เสียอำ�นาจควบคุมของ

ร่วม

บริษท ั ร่วม

482,579,640

1,510,347

(74,686,161)

9,305,759

กำ�ไรสำ�หรับปี

-

-

-

-

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ สำ�หรับปี

-

-

-

-

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี

-

-

-

-

การจ่ายโดยใช้หน ุ้ เป็นเกณฑ์ของบริษท ั ร่วม

-

(15,881)

785,297

8,772,496

482,579,640

1,494,466

(73,900,864)

18,078,255

482,579,640

1,494,466

-

-

-

-

กำ�ไรสำ�หรับปี

-

-

-

-

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ สำ�หรับปี

-

-

-

-

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี

-

-

-

-

-

-

(61,931,771)

-

การจ่ายโดยใช้หน ุ้ เป็นเกณฑ์ของบริษท ั ร่วม

-

-

-

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 28)

-

-

-

482,579,640

1,494,466

(73,900,864)

18,078,255

ผลสะสมจากการเปลีย ่ นแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับเกษตรกรรม (หมายเหตุ 3, 4)

การเปลีย ่ นแปลงส่วนได้เสียในบริษท ั ย่อย ของบริษท ั ร่วมโดยไม่สญ ู เสีย อำ�นาจควบคุมของบริษท ั ร่วม

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(135,832,635)

10,355,400

28,433,655


145

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ฯ องค์ประกอบอืน ่ ของส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ กำ�ไรสะสม

มูลค่ายุตธ ิ รรม

ส่วนแบ่งกำ�ไร

รวมองค์ประกอบ

ของสัญญาแลก

ขาดทุนเบ็ดเสร็จ

อืน ่ ของส่วนของ

สำ�รองตาม

เปลีย ่ นอัตรา

อืน ่ ในบริษท ั ร่วม

ผูถ ้ อ ื หุน ้

กฎหมาย

ดอกเบีย ้ เงินกูย ้ ม ื

จัดสรรแล้ว -

ยังไม่ได้จด ั สรร

50,000,000

1,892,590,342

-

1,188,467,999

-

รวมส่วนของผู้

(1,781,897)

(29,431,783)

-

-

-

1,781,897

-

1,188,467,999

-

50,000,000

ถือหุน ้ ของ บริษท ั ฯ

ส่วนของผูม ้ ี

รวมส่วนของ

ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มี

ผูถ ้ อ ื หุน ้

อำ�นาจควบคุม ของบริษท ั ย่อย

(31,213,680)

2,330,086,247

424,891,354

2,754,977,601

-

1,188,467,999

(9,531,644)

1,178,936,355

35,541,302

37,323,199

37,323,199

-

37,323,199

1,781,897

35,541,302

37,323,199

1,225,791,198

(9,531,644)

1,216,259,554

-

-

-

-

9,541,912

-

9,541,912

3,081,058,341

-

6,109,519

6,109,519

3,565,419,357

415,359,710

3,980,779,067

50,000,000

3,081,058,341

-

2,011,952

-

813,638,314

-

-

-

-

-

-

6,109,519

-

-

-

-

(15,101,273)

-

798,537,041

6,109,519

3,565,419,357

-

2,011,952

-

813,638,314

(9,325,727)

(9,325,727)

(24,427,000)

-

(9,325,727)

(9,325,727)

-

-

-

-

-

-

(230,733,905)

-

-

50,000,000

3,650,873,429

-

(3,216,208)

415,359,710

3,980,779,067

-

2,011,952

(47,792,652)

765,845,662

535,080

(23,891,920)

789,211,314

(47,257,572)

741,953,742

-

(61,931,771)

-

(61,931,771)

-

10,355,400

-

10,355,400

-

(230,733,905)

-

(230,733,905)

(3,216,208)

4,074,332,347

368,102,138

4,442,434,485


เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 28)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ สำ�หรับปี

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ สำ�หรับปี

กำ�ไรสำ�หรับปี

กำ�ไรสำ�หรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

482,579,640

-

-

-

-

482,579,640

482,579,640

-

-

-

482,579,640

และชำ�ระแล้ว

ทุนเรือนหุน ้ ทีอ ่ อก

50,000,000

-

-

-

-

50,000,000

50,000,000

-

-

-

50,000,000

สำ�รองตามกฎหมาย

จัดสรรแล้ว -

1,238,756,920

(230,733,905)

367,002,783

(13,917,530)

380,920,313

1,102,488,042

1,102,488,042

182,967,033

-

182,967,033

919,521,009

ยังไม่ได้จด ั สรร

กำ�ไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน ของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

-

-

-

-

-

-

-

1,781,897

1,781,897

-

(1,781,897)

อัตราดอกเบีย ้ เงินกูย ้ ม ื

สัญญาแลกเปลีย ่ น

มูลค่ายุตธ ิ รรมของ

-

-

-

-

-

-

-

1,781,897

1,781,897

-

(1,781,897)

ของส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้

รวมองค์ประกอบอืน ่

องค์ประกอบอืน ่ ของส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้

1,771,336,560

(230,733,905)

367,002,783

(13,917,530)

380,920,313

1,635,067,682

1,635,067,682

184,748,930

1,781,897

182,967,033

1,450,318,752

รวมส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้

(หน่วย: บาท)

146 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)


147

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

781,848,175

1,190,741,555

386,235,375

188,941,783

258,220,970

232,371,658

115,732,106

123,636,023

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ ปรับกระทบกำ�ไรก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ค่าเสือ ่ มราคาและค่าตัดจำ�หน่าย ค่าเผือ ่ หนีส ้ งสัยจะสูญ

รายการปรับลดราคาทุนของสินค้าคงเหลือ ให้เป็นมูลค่าสุทธิทจ ่ี ะได้รบ ั (โอนกลับ)

419,926 15,621,895

33,316,173

กำ�ไรจากมูลค่ายุตธ ิ รรมของสินทรัพย์ชว ี ภาพ

2,800,857

(กำ�ไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย ่ นทีย ่ ง ั ไม่

เกิดขึน ้ จริง

การเปลี่ ย นแปลงในมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ

-

-

(30,411,841)

988,491

ขาดทุนจากการทำ�ลายสินค้า

สัญญาซือ ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า

-

96,912

-

(กำ � ไร) ขาดทุ น จากการจำ � หน่ า ยและตั ด

(22,337,949)

(30,956,916)

จำ�หน่ายเครือ ่ งจักรและอุปกรณ์

245,519

ตัวตน

ลงทุน

ขาดทุนจากการด้อยค่าของเครื่องจักรและ อุปกรณ์ สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

(209,935)

337,303

-

-

(10,313,750)

-

-

934,123

(10,766,808)

-

1,340,659

(37,719,870)

20,312,699

9,432,059

245,516

(37,719,870)

186,471,519

(7,671,250)

กำ�ไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ

-

-

(487,475)

-

-

ขาดทุนจากการตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มี

กำ�ไรจากการขายเงินลงทุนในบริษท ั ร่วม

-

(32,506,460)

21,698,061

(325,240)

232,164

1,340,659

5,717,074

17,021,121

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


148

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558

2559

2558

ประมาณการต้นทุนการรือ ้ ถอน

334,330

-

-

รายได้เงินปันผลจากบริษท ั ร่วม

-

-

(258,917,162)

(222,003,996)

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษท ั ร่วม

(740,749,858)

(1,216,173,249)

รายได้ดอกเบีย ้ รับ

-

-

(65,572)

(133,683)

(725,423)

38,837,935

59,018,770

21,146,279

34,980,511

564,633,410

180,461,403

293,496,008

51,673,855

170,123,229

(391,948,891)

(65,250,818)

(122,065,254)

สินค้าคงเหลือ

(156,416,037)

156,547,557

(151,286,439)

79,760,710

สินทรัพย์หมุนเวียนอืน ่

(32,836,532)

2,712,145

(7,186,837)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน ่

357,646

2,772,721

(572,349)

167,560,483

113,970,666

24,482,773

97,094,697

หนีส ้ น ิ หมุนเวียนอืน ่

35,984,024

76,038,675

31,213,089

(1,045,487)

หนีส ้ น ิ ไม่หมุนเวียนอืน ่

(4,920,323)

(3,409,073)

(4,686,076)

(3,254,793)

744,809,429

134,730,128

(39,567,992)

(60,251,672)

(21,545,562)

(35,714,547)

(3,065,823)

(14,846,332)

1,970,610

(1,474,410)

702,175,614

59,632,124

ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย ้

กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน

(157,217)

-

สินทรัพย์และหนีส ้ น ิ ดำ�เนินงาน สินทรัพย์จากการดำ�เนินงาน (เพิม ่ ขึน ้ ) ลดลง ลูกหนีก ้ ารค้าและลูกหนีอ ้ น ่ื

681,175

772,522

หนีส ้ น ิ จากการดำ�เนินงานเพิม ่ ขึน ้ (ลดลง) เจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนีอ ้ น ่ื

จ่ายดอกเบีย ้ รับคืน (จ่าย) ภาษีเงินได้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


149

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

(45,533)

(63,357)

-

-

-

33,500,000

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชัว ่ คราวเพิม ่ ขึน ้ เงินให้กย ู้ ม ื ระยะสัน ้ แก่กจ ิ การทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

เพิม ่ ขึน ้

-

-

เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษท ั ร่วม เงินสดรับจากการจำ�หน่ายอุปกรณ์

-

12,493,750

23,361,243

87,290,943

-

48,734,370

-

12,493,750

1,316,621

63,569,917

-

48,734,370

เงินสดรับจากการจำ�หน่ายอสังหาริมทรัพย์

เพือ ่ การลงทุน

เงินสดจ่ายเพือ ่ ซือ ้ เครือ ่ งจักรและอุปกรณ์

(165,695,028)

(114,867,381)

(58,201,961)

(27,897,060)

(39,606,801)

(6,167,227)

(7,230,195)

(4,051,043)

258,917,162

222,003,996

258,917,162

222,003,996

เงินสดจ่ายเพือ ่ ซือ ้ สินทรัพย์ไม่มต ี ว ั ตน เงินปันผลรับ ดอกเบีย ้ รับ

157,217

65,572

133,683

725,423

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ้ ม ื จากสถาบันการ

(903,288,281)

(164,545,309)

(500,058,736)

(369,941,264)

เงินลดลง

เงินสดจ่ายชำ�ระตามสัญญาเช่าการเงิน

(1,563,976)

(4,609,931)

(932,000)

(3,702,729)

เงินสดรับจากเงินกูย ้ ม ื ระยะยาว

480,500,000

129,500,000

480,500,000

129,500,000

เงินสดจ่ายคืนเงินกูย ้ ม ื ระยะยาว

(141,550,000)

(234,769,231)

(61,550,000)

(149,000,000)

เงินปันผลจ่าย

(230,733,905)

-

(230,733,905)

-


150

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม ่ ขึน ้ สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

(17,372,288)

34,698,319

(13,859,862)

21,110,304

76,355,545

41,657,226

39,155,492

18,045,188

58,983,257

76,355,545

25,295,630

39,155,492

18,217,316

35,723,962

2,576,836

4,056,313

62,520

12,430,511

56,260

3,745,728

ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิม ่ เติม รายการทีไ่ ม่ใช่เงินสด รายการซือ ้ อุปกรณ์ทย ่ี ง ั ไม่ได้จา่ ยชำ�ระ รายการซื้ อ สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตนที่ ยั ง ไม่ ไ ด้

จ่ายชำ�ระ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

151

หมายเหตุ ป ระกอบ งบการเงิ น รวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลำ�เนาในประเทศไทย บริษัทฯมีผู้ ถือหุ้นรายใหญ่คือกลุ่มครอบครัวทรัพย์สาคร ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและจำ�หน่ายสับปะรดกระป๋อง น้ำ�สับปะรดและผลไม้รวม ที่อยู่ตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯอยู่ที่ 118/1 ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จังหวัดกรุงเทพมหานคร 2. เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน 2.1 งบการเงิ นนี้ จั ดทำ�ขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อกำ�หนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษา อังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียก ว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้

จัดตั้ง ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจประเทศ

ขึ้นใน ประเทศ

บ ริ ษั ท ทิ ป โ ก้ เ อ ฟ แ อ น ด์ บี

ทุนเรียก

อัตราร้อยละ

ชำ�ระแล้ว

ของการถือหุน ้

2559

2558

2559

2558

(ล้าน

(ล้าน

(ร้อย

(ร้อย

บาท)

บาท)

ละ)

ละ)

ผลิตและจำ�หน่ายเครือ ่ งดืม ่ พร้อมดืม ่

ไทย

600.00

600.00

50.00

50.00

กิจการค้าปลีก

ไทย

50.00

50.00

75.50

75.50

จำ�กัด บริษัท ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด


152

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

จัดตั้ง ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

ขึ้นใน

ผลิ ต สารสกั ด จากสมุ น ไพรและ

อัตราร้อยละ

ชำ�ระแล้ว

ของการถือหุน ้

2559

2558

2559

2558

(ล้าน

(ล้าน

(ร้อย

(ร้อย

บาท)

บาท)

ละ)

ละ)

ไทย

36.80

36.80

99.99

99.99

ไทย

0.25

0.25

50.00

50.00

ประเทศ

บริษท ั ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำ�กัด

ทุนเรียก

การเกษตร บริษัท ทีเอฟบี ดิสทริบิวชั่น

ไม่มีกิจกรรมดำ�เนินงาน

จำ�กัด (ถือหุน ้ ทัง ้ หมดโดยบริษท ั ทิป โก้เอฟแอนด์บี จำ�กัด) ข) บริษัทฯจะถือว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรือบริษัทย่อยได้ หากบริษัทฯมีสิทธิได้รับหรือ มีส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อำ�นาจในการสั่งการกิจกรรมที่ส่ง ผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อจำ�นวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ค) บริษัทฯนำ�งบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทำ�งบการเงินรวมตั้งแต่วันที่บริษัทฯมีอำ�นาจใน การควบคุมบริษัทย่อยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ง) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญได้ถูกตัดออกจาก งบการเงินรวมนี้แล้ว ฉ) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม คือ จำ�นวนกำ�ไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัท ย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนรวมและ ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษัทฯจัดทำ�งบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

153

3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน ในระหว่ า งปี บริ ษั ทฯและบริ ษั ทย่อยได้นำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2558) และฉบับใหม่รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญชี ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการ เงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการ เงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยคำ�และคำ�ศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบัติ ทางการบัญชีกับผู้ใช้มาตรฐาน การนำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบัตินี้ไม่มี ผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีและ แนวปฏิบัติทางบัญชี ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม และแนวปฏิบัติทางบัญชีสำ�หรับการวัดมูลค่าและรับรู้ รายการของพืชเพื่อการให้ผลิตผล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 และแนวปฏิบต ั ท ิ างการบัญชีฯ นีม ้ ว ี ต ั ถุประสงค์เพือ ่ กำ�หนดวิธป ี ฏิบต ั ท ิ างบัญชี สำ�หรับสัตว์หรือพืชที่มีชีวิต (“สินทรัพย์ชีวภาพ”) และผลิตผลที่เก็บเกี่ยวได้จากสินทรัพย์ชีวภาพ (“ผลิตผล ทางการเกษตร”) ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเกษตรโดยมีหลักการดังนี้ •• วัดมูลค่าของสินทรัพย์ชีวภาพ เมื่อเริ่มแรกและ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานด้วยมูลค่ายุติธรรม หักต้นทุนในการขาย •• กรณีสินทรัพย์ชีวภาพนั้นเป็นพืชเพื่อการให้ผลิตผล (Bearer plant) ให้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อย่างไรก็ตามยัง คงถือว่าผลผลิตที่เจริญเติบโตจากพืชเพื่อการให้ผลิตผลเป็นสินทรัพย์ชีวภาพซึ่งต้องวัดมูลค่าของ สินทรัพย์ชีวภาพ เมื่อเริ่มแรกและ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนใน การขาย •• วัดมูลค่าผลิตผลทางการเกษตรด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว การนำ�มาตรฐานข้างต้นมาใช้ทำ�ให้บริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยจัดประเภทต้นสับปะรดซึง ่ เป็นพืชเพือ ่ การให้ผลิตผล (Bearer plant) จากเดิมบันทึกในบัญชีสินค้าคงเหลือไปบันทึกเป็นบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และวัด มูลค่าผลสับปะรดที่ยังไม่ได้เก็บเกี่ยว (สินทรัพย์ชีวภาพ) และผลสับปะรดที่เก็บเกี่ยวแล้ว (ผลิตผลทางการ เกษตร) ด้วยวิธีการวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชีดังกล่าวแสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4


154

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับในอนาคต ในระหว่างปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2559) จำ�นวนหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใช้ สำ�หรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยคำ�และคำ�ศัพท์ การตีความและการให้แนว ปฏิบัติทางการบัญชีกับผู้ใช้มาตรฐาน ฝ่ายบริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยเชื่อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง จะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินเมื่อนำ�มา ถือปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงหลักการสำ�คัญ สรุป ได้ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้กำ�หนดทางเลือกเพิ่มเติมสำ�หรับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงิน ลงทุนในการร่วมค้า และเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยเลือกบันทึกตามวิธีส่วน ได้เสียได้ ตามที่อธิบายไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัท ร่วมและการร่วมค้า ทัง ้ นี้ กิจการต้องใช้วธ ิ ก ี ารบันทึกบัญชีเดียวกันสำ�หรับเงินลงทุนแต่ละประเภทและหาก กิจการเลือกบันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสียในงบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการต้องปรับปรุง รายการดังกล่าวโดยวิธีปรับย้อนหลัง ปัจจุบันฝ่ายบริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงินใน ปีที่เริ่มนำ�มาตรฐานดังกล่าวมาถือปฏิบัติ 4. ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการนำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่มา ถือปฏิบัติ ตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ที่สำ�คัญในระหว่างปีปัจจุบันในเรื่องที่เกี่ยวกับเกษตรกรรม โดยกิจการได้เลือกปรับ ผลสะสมจากการ เปลี่ยนแปลงโดยบันทึกปรับกับกำ�ไรสะสมต้นงวด ณ วันที่ 1 มกราคม 2559


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

155

ผลการเปลี่ยนแปลงนี้ทำ�ให้มีการปรับปรุงกำ�ไรสะสมต้นงวดของบริษัทฯและบริษัทย่อยในงบการเงินรวม เพิ่มขึ้น 2 ล้านบาท ซึ่งผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำ�ให้กำ�ไรส่วนที่เป็นของผู้ ถือหุ้นของบริษัทใหญ่และกำ�ไรต่อหุ้นในงบการเงินรวมสำ�หรับปี 2559 เพิ่มขึ้น จำ�นวน 1 ล้านบาท และ 0.002 บาทต่อหุ้น ตามลำ�ดับ 5. นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ 5.1 การรับรู้รายได้ ขายสินค้า รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อบริษัทฯได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยสำ�คัญของความเป็น เจ้าของสินค้าให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำ�กับสินค้าโดยไม่รวมภาษี มูลค่าเพิ่ม สำ�หรับสินค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว รายได้ค่าบริการ รายได้ค่าบริการรับรู้เมื่อได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความสำ�เร็จของงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำ�นึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล 5.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพ คล่องสูง ซึง ่ ถึงกำ�หนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันทีไ่ ด้มาและไม่มขี อ ้ จำ�กัดในการเบิกใช้ 5.3 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงมูลค่าตามจำ�นวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญสำ�หรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอ ่ าจเกิดขึน ้ จากการเก็บเงินจากลูกหนีไ้ ม่ได้ ซึง ่ โดยทัว ่ ไปพิจารณาจาก ประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้


156

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

5.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าสำ�เร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุน (ตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก) หรือมูลค่า สุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึงต้นทุนวัตถุดิบ แรงงานและค่าโสหุ้ยใน การผลิต วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุโรงงานแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใด จะต่ำ�กว่า และจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้ 5.5 เกษตรกรรม บริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยมีสน ิ ทรัพย์ชว ี ภาพเป็นผลสับปะรดทีย ่ ง ั ไม่ได้เก็บเกีย ่ ว และผลิตผลทางการเกษตรเป็น ผลสับปะรดที่เก็บเกี่ยวแล้ว ซึ่งจะถูกวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย และมูลค่ายุติธรรม หักต้นทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว ตามลำ�ดับ มูลค่ายุติธรรมของผลสับปะรด คำ�นวณโดยใช้วิธีอ้างอิงจากราคามูลค่ายุติธรรมหักประมาณการค่าใช้ จ่าย ณ จุดเก็บเกีย ่ ว ผลกำ�ไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดจากการเปลีย ่ นแปลงในมูลค่ายุตธ ิ รรมของสินทรัพย์ชว ี ภาพ และผลิตผลทางการเกษตรบันทึกในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน 5.6 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ข) เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคา ทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) เมื่อมีการจำ�หน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับกับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะ ถูกบันทึกในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน 5.7 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - ที่ดินรอการขาย บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - ที่ดินรอการขายในราคา ทุนซึ่งรวมต้นทุนการทำ�รายการ หลังจากนั้น บริษัทฯจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - ที่ดินรอ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

157

การขาย ด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ผลต่างระหว่างจำ�นวนเงินที่ได้รับสุทธิจากการจำ�หน่ายกับมูลค่าตามบัญชี ของสินทรัพย์ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนในปีที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี 5.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์และพืชเพื่อการให้ผลิตผลซึ่งเป็นต้นสับปะรดแสดงมูลค่า ตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์และพืชเพื่อการให้ผลิตผล คำ�นวณจากราคาทุนหักมูลค่าคงเหลือ ของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ และคำ�นวณตามประมาณการกำ�ลัง การผลิตของเครื่องจักร และประมาณการผลผลิตที่เก็บเกี่ยว ดังนี้ ค่าพัฒนาที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักรและส่วนประกอบ

10 ปี 10 ถึง 25 ปี 10 ถึง 20 ปี และ ตามประมาณการกำ�ลังการผลิต

เครื่องมือและอุปกรณ์

5 ถึง 20 ปี

เครื่องตกแต่งและติดตั้ง

3 ถึง 10 ปี

ยานพาหนะ

5 ถึง 10 ปี

พืชเพื่อการให้ผลิตผล

ตามประมาณการผลผลิตที่เก็บเกี่ยว

ต้นทุนที่ประมาณในเบื้องต้นสำ�หรับการรื้อ การขนย้าย และการบูรณะสภาพของสินทรัพย์ซึ่งเป็นภาระ ผูกพันของบริษัทฯและบริษัทย่อย ถือรวมเป็นส่วนหนึ่งของราคาทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำ�หรับที่ดิน สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างและอุปกรณ์ระหว่างติดตั้ง บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจำ�หน่ายสินทรัพย์หรือ คาดว่าจะไม่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจำ�หน่ายสินทรัพย์ รายการผลกำ�ไร


158

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

หรือขาดทุนจากการจำ�หน่ายหรือตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ จะรับรูใ้ นส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนเมือ ่ บริษท ั ฯและ บริษัทย่อยตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี 5.9 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำ�กัดอย่างมีระบบตลอด อายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อ มีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจำ�หน่ายและ วิธีการตัดจำ�หน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำ�หน่ายรับรู้เป็นค่าใช้ จ่ายในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำ�กัดมีดังนี้

อายุการให้ประโยชน์

ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

3 ถึง 10 ปี

บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีการตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอนแต่ จะใช้วิธีการทดสอบการด้อยค่าทุกปีทั้งในระดับของแต่ละสินทรัพย์นั้นและในระดับของหน่วยสินทรัพย์ที่ ก่อให้เกิดเงินสด บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนทุกปีว่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวยังคงมีอายุการ ให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอน 5.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯและบริษัทย่อย หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำ�นาจควบคุม บริษัทฯและบริษัทย่อย หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯและบริษัทย่อย

5.11 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็น


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

159

สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า หรือมูลค่าปัจจุบน ั สุทธิของจำ�นวนเงินทีต ่ ้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มล ู ค่าใดจะต่ำ�กว่า ภาระผูกพันตาม สัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของ กำ�ไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคา ตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า สัญญาเช่าอาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไป ให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงาน จำ�นวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดำ�เนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายใน ส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า 5.12 เงินตราต่างประเทศ บริษัทฯและบริษัทย่อยแสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็นสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงิน ที่ใช้ในการดำ�เนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลก เปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กำ�ไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน 5.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทำ�การประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนอื่นของบริษัทฯและบริษัทย่อยหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าว อาจด้อยค่า และจะทำ�การประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบ แน่นอนเป็นรายปี บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของ สินทรัพย์มีมูลค่าต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่า ยุตธ ิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สน ิ ทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการ ประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการ คาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และคำ�นวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อน ถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะ เฉพาะของสินทรัพย์ที่กำ�ลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯและ บริษัทย่อยใช้แบบจำ�ลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำ�นวนเงินที่


160

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

กิจการสามารถจะได้มาจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจำ�หน่าย โดยการจำ�หน่ายนั้น ผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระใน ลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ มีข้อบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของ สินทรัพย์ที่รับรู้ในงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์นั้น และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ในงวดก่อนก็ต่อเมื่อมีการ เปลี่ ยนแปลงประมาณการที่ ใช้ กำ�หนดมูลค่า ที่คาดว่า จะได้รับคืนภายหลังจากการรับรู้ผลขาดทุนจาก การด้อยค่าครั้งล่าสุด โดยมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจาก การด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีที่ควรจะเป็นหากกิจการไม่เคยรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่า ของสินทรัพย์ในงวดก่อนๆ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของ สิ น ทรั พ ย์ โ ดยรั บ รู ้ ไ ปยั ง ส่ ว นของกำ � ไรหรื อ ขาดทุ น ทั น ที เว้ น แต่ ส ิ น ทรั พ ย์ น ั ้ น แสดงด้ ว ยราคาที ่ ต ี ใ หม่ การกลับรายการส่วนที่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีที่ควรจะเป็นถือเป็นการตีราคาสินทรัพย์เพิ่ม 5.14 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อ เกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯบริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงาน จ่ายสะสมและเงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนสำ�รองเลี้ยง ชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทฯ เงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

161

โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระสำ�หรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมาย ซึ่ง บริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสำ�หรับพนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยคำ�นวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธี คิดลดแต่ละหน่วยทีป ่ ระมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชีย ่ วชาญอิสระได้ทำ�การ ประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผลกำ�ไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย สำ�หรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู้ทันทีในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 5.15 ประมาณการหนี้สิน บริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนีส ้ น ิ ไว้ในบัญชีเมือ ่ ภาระผูกพันซึง ่ เป็นผลมาจากเหตุการณ์ใน อดีตได้เกิดขึน ้ แล้ว และมีความเป็นไปได้คอ ่ นข้างแน่นอนว่าบริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจ ไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 5.16 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปจ ั จุบน ั ตามจำ�นวนทีค ่ าดว่าจะจ่ายให้กบ ั หน่วยงานจัดเก็บภาษีของ รัฐ โดยคำ�นวณจากกำ�ไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้อง นั้น โดยใช้อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน


162

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีทุก รายการ แต่ รั บ รู้ สิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี สำ�หรั บ ผลแตกต่ า งชั่ ว คราวที่ ใ ช้ หั ก ภาษี รวมทั้ ง ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ในจำ�นวนเท่าที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทฯจะมีกำ�ไรทางภาษีใน อนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้นั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะ เวลารายงานและจะทำ�การปรับลดมูลค่าตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะไม่มีกำ�ไรทางภาษีเพียงพอต่อการนำ�สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือ บางส่วนมาใช้ประโยชน์ 5.17 ตราสารอนุพันธ์ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าแสดงไว้ในงบการเงินตามมูลค่ายุติธรรม กำ�ไรขาดทุนที่ยังไม่ เกิดขึ้นจริงจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน 5.18 การวัดมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะได้รับจากจากการขายสินทรัพย์หรือเป็นราคาที่จะต้องจ่ายเพื่อ โอนหนี้สินให้ผู้อื่นโดยรายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย (ผู้ร่วม ในตลาด) ณ วันที่วัดมูลค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้ราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัด มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินซึ่งมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกำ�หนดให้ต้อง วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีตลาดที่มีสภาพคล่องสำ�หรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่มี ลักษณะเดียวกันหรือไม่สามารถหาราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องได้ บริษัทฯและบริษัทย่อย จะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายาม ใช้ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ลำ�ดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ใช้วัดมูลค่าและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินในงบการเงิน แบ่งออกเป็นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นำ�มาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

163

ระดับ 1 ใช้ข้อมูลราคาเสนอซื้อขายของสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง ระดับ 2 ใช้ข้อมูลอื่นที่สามารถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางตรงหรือทางอ้อม ระดับ 3 ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น ทุกวันสิน ้ รอบระยะเวลารายงาน บริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยจะประเมินความจำ�เป็นในการโอนรายการระหว่าง ลำ�ดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมสำ�หรับสินทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่มีการ วัดมูลค่ายุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจำ� 6. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ ในการจัดทำ�งบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการ ประมาณการในเรื่องที่มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบ ต่อจำ�นวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจ แตกต่างไปจากจำ�นวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่สำ�คัญมีดังนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผล ขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคำ�นึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คง ค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ ในการประมาณค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่าสุทธิ ทีจ ่ ะได้รบ ั ของสินค้าคงเหลือ โดยจำ�นวนเงินทีค ่ าดว่าจะได้รบ ั จากสินค้าคงเหลือพิจารณาจากประมาณการราคา ขายซึ่งอิงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงิน และประมาณการต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา ในการคำ�นวณค่าเสือ ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องทำ�การประมาณอายุการให้ประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือ ใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น


164

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของทีด ่ น ิ อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึก ขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการ นี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่อง กับสินทรัพย์นั้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบั น ทึ ก และวั ด มู ล ค่ า ของสิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตน ณ วั น ที่ ไ ด้ ม า ตลอดจนการทดสอบการด้ อ ยค่ า ในภาย หลัง ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ หรือ หน่วย ของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคำ�นวณหามูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดนั้นๆ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อย จะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสำ�หรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและ ขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะมีกำ�ไรทางภาษีในอนาคต เพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องประมาณการ ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยควรรับรู้จำ�นวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นจำ�นวนเท่าใด โดยพิจารณา ถึงจำ�นวนกำ�ไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆในการประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจำ�นวนพนักงาน เป็นต้น 7. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจ ดังกล่าวเป็นไปตามเงือ ่ นไขทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต ่ กลงกันระหว่างบริษท ั ฯและบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย ่ วข้อง กันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

165

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

งบการเงิน

นโยบายการกำ�หนดราคา

เฉพาะกิจการ 2559

2558

2559

2558

ขายสินค้า

-

-

390

337

ค่าเช่ารับ

-

-

2

3

ราคาตามสัญญา

ค่าบริการรับ

-

-

20

13

ราคาที่ตกลงร่วมกัน

ดอกเบี้ยรับ

-

-

-

1

ซื้อสินค้า

-

-

15

23

-

-

259

222

2

2

-

-

ราคาตลาด

50

41

22

17

ราคาตลาด

รายการธุรกิจกับบริษท ั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ราคาต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิม ่

อัตราร้อยละ 3.65 ต่อปี ราคาต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิม ่

รายการธุรกิจกับบริษท ั ร่วม เงินปันผลรับ รายการธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน ขายสินค้า ค่าเช่าและค่าบริการจ่าย


166

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

บริษัทย่อย

-

-

18,327

17,545

บริษัทร่วม

1,206

1,028

20,611

-

บริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกัน (มีผูถ ้ อ ื หุน ้ และกรรมการร่วมกัน)

1,919

1,486

-

-

3,125

2,514

38,938

17,545

905

-

858

-

905

-

858

-

8,681

5,894

3,591

2,148

8,681

5,894

3,591

2,148

บริษัทย่อย

-

-

2,640

2,524

บริษัทร่วม

453

652

34

223

8,224

9,446

1,862

5,325

8,677

10,098

4,536

8,072

ลูกหนีก ้ ารค้าและลูกหนีอ ้ น ่ื - กิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน (หมายเหตุ 9)

รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า - กิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน บริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกัน (มีผูถ ้ อ ื หุน ้ และกรรมการร่วมกัน) รวมค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินประกัน - กิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

บริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกัน (มีผูถ ้ อ ื หุน ้ และกรรมการร่วมกัน)

รวมเงินประกัน - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนีอ ้ น ่ื - กิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน (หมายเหตุ 17)

บริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกัน (มีผูถ ้ อ ื หุน ้ และกรรมการร่วมกัน) รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

167

เงินให้กย ู้ ม ื แก่กจ ิ การทีเ่ กีย ่ วข้องกัน ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 และการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ ภาระค้ำ�ประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หน่วย: พันบาท) เงินให้กู้ยืม

ลักษณะความ สัมพันธ์

งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ

เพิ่มขึ้น

ลดลง

ยอดคงเหลือ

ณ วันที่

ระหว่างปี

ระหว่างปี

ณ วันที่

31 ธ.ค. 2558 บริ ษั ท ทิ ป โก้ ไบโอเท็ ค

บริษัทย่อย

31 ธ.ค. 2559

-

3,000

-

(3,000)

จำ�กัด

ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ ้ ริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ที่ให้แก่กรรมการและผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

43

49

35

38

1

1

1

1

44

50

36

39

ภาระค้ำ�ประกันกับกิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระจากการค้ำ�ประกันให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 19


168

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

1,721

1,620

558

590

เงินฝากธนาคาร

57,262

74,736

24,738

38,565

รวม

58,983

76,356

25,296

39,155

เงินสด

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 เงิ น ฝากออมทรั พ ย์ มี อั ต ราดอกเบี้ ย ระหว่ า งร้ อ ยละ 0.10 ถึ ง 0.50 ต่ อ ปี (2558: ร้อยละ 0.10 ถึง 0.50 ต่อปี) 9. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

2,637

2,392

20,611

17,473

12

21

-

-

2,649

2,413

20,611

17,473

ลูกหนีก ้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน (หมายเหตุ 7) อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนีก ้ ารค้า - กิจการทีไ่ ม่เกีย ่ วข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

169

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

518,858

465,148

232,785

206,305

54,661

337,169

37,859

26,083

3 - 6 เดือน

4,172

31

4,144

-

6 - 12 เดือน

-

30

-

-

7,235

6,850

6,479

6,549

584,926

809,228

281,267

238,937

หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

(7,230)

(6,880)

(6,479)

(6,549)

รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ

577,696

802,348

274,788

232,388

รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ

580,345

804,761

295,399

249,861

476

101

18,327

72

103,871

49,964

3,227

1,238

(70)

-

(70)

-

รวมลูกหนี้อื่น - สุทธิ

104,277

50,065

21,484

1,310

เงินทดรองพนักงาน

709

138

154

61

รายได้ค้างรับ

4,533

4,829

92

135

รวมลูกหนี้อื่น

109,519

55,032

21,730

1,506

รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

689,864

859,793

317,129

251,367

ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน

เกิน 12 เดือนขึ้นไป รวม

ลูกหนีอ ้ น ่ื ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 7) ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ


170

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

10. สินค้าคงเหลือ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ราคาทุน

รายการปรับลดราคาทุน

สินค้าคงเหลือ-สุทธิ

ให้เป็นมูลค่าสุทธิทจ ่ี ะได้รบ ั 2559

2558

2559

2558

2559

2558

สินค้าสำ�เร็จรูป

511,301

408,554

(17,555)

(12,585)

493,746

395,969

งานระหว่างทำ�

34,703

50,283

-

-

34,703

50,283

304,593

283,536

(23,962)

(12,387)

280,631

271,149

อะไหล่และวัสดุใช้สิ้นเปลือง

55,363

51,951

(8,014)

(8,937)

47,349

43,014

สินค้าระหว่างทาง

25,817

17,943

-

-

25,817

17,943

รวม

931,777

812,267

(49,531)

(33,909)

882,246

778,358

วัตถุดิบ

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน

รายการปรับลดราคาทุน

สินค้าคงเหลือ-สุทธิ

ให้เป็นมูลค่าสุทธิทจ ่ี ะได้รบ ั 2559

2558

2559

2558

2559

2558

สินค้าสำ�เร็จรูป

356,941

242,574

(9,989)

(8,824)

346,952

233,750

งานระหว่างทำ�

5,833

3,791

-

-

5,833

3,791

วัตถุดิบ

65,253

58,603

(12,793)

(12,072)

52,460

46,531

อะไหล่และวัสดุใช้สิ้นเปลือง

33,281

28,294

(7,967)

(8,864)

25,314

19,430

สินค้าระหว่างทาง

3,028

1,485

-

-

3,028

1,485

464,336

334,747

(30,749)

(29,760)

433,587

304,987

รวม


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

171

11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย 11.1 เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) บริษัท

ราคาทุน 2559

2558

279,050

279,050

บริษัท ทิปโก้ รีเทล จำ�กัด

25,500

25,500

บริษัท ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำ�กัด

160,787

160,787

รวม

465,337

465,337

บริษัท ทิปโก้เอฟแอนด์บี จำ�กัด

11.2 รายละเอียดของบริษัทย่อยซึ่งมีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมที่มีสาระสำ�คัญ (หน่วย: ล้านบาท) บริษัท

สัดส่วนที่ถือโดย

ส่วนได้เสียที่

ขาดทุนทีแ่ บ่งให้กบ ั

ส่วนได้เสีย

ไม่มีอำ�นาจควบคุม

ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอ ี ำ�นาจ

ที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม

ในบริษัทย่อยสะสม

ควบคุมในบริษัทย่อย ในระหว่างปี

บริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด

2559

2558

(ร้อยละ)

(ร้อยละ)

50

50

2559

2558

2559

2558

381

427

(46)

(8)


172

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

11.3 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทย่อยที่มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมที่มีสาระสำ�คัญ ซึ่งเป็นข้อมูล ก่อนการตัดรายการระหว่างกัน สรุปรายการฐานะทางการเงิน (หน่วย: ล้านบาท) บริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด 2559

2558

สินทรัพย์หมุนเวียน

902

1,119

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

1,221

1,438

หนี้สินหมุนเวียน

1,022

1,285

338

417

หนี้สินไม่หมุนเวียน สรุปรายการกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

(หน่วย: ล้านบาท) บริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำ�กัด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

2558

2,637

2,500

ขาดทุนสุทธิ

(93)

(17)

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

(92)

(17)

รายได้


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

173

สรุปรายการกระแสเงินสด (หน่วย: ล้านบาท) บริษัท ทิปโก้เอฟแอนด์บี จำ�กัด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

2558

กระแสเงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน

558

(49)

กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(84)

(69)

(484)

121

(10)

3

กระแสเงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ 12. เงินลงทุนในบริษัทร่วม

บริษัทฯมีเงินลงทุนในบริษัทร่วมคือบริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย โดยประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ยางมะตอยและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม บริษัทฯมีสัดส่วนเงินลงทุน ในบริษัทร่วมดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 คิดเป็นร้อยละ 23.8173 และร้อยละ 23.9584 ตามลำ�ดับ 12.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

ราคาทุน

644,930

644,930

644,930

644,930

มูลค่าตามบัญชีตามวิธีส่วนได้เสีย

2,894,860

2,466,355

-

-


174

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

12.2 ส่วนแบ่งกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและเงินปันผลรับ ในระหว่างปี บริษัทฯรับรู้ส่วนแบ่งกำ�ไรจากการลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมและรับรู้เงินปันผล รับจากบริษัทร่วมดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการ ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมในระหว่างปี

741

1,216

-

-

ส่ ว นแบ่ ง กำ � ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื่ น จากเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท

(9)

36

-

-

-

-

259

222

ร่วมในระหว่างปี เงินปันผลที่บริษัทฯรับในระหว่างปี

12.3 มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในบริษัทร่วมที่เป็นบริษัทจดทะเบียนฯ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ทิ ป โก้ แ อสฟั ล ท์ จำ � กั ด (มหาชน) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีจำ�นวนเงินประมาณ 7,028 ล้านบาท และ 14,980 ล้านบาท ตามลำ�ดับ 12.4 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วมที่มีสาระสำ�คัญ สรุปรายการฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 (หน่วย: ล้านบาท) 2559

2558

สินทรัพย์หมุนเวียน

9,361

8,807

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

10,142

8,062

หนี้สินหมุนเวียน

6,312

4,119

926

2,186

หนี้สินไม่หมุนเวียน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

175

สรุปรายการกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 (หน่วย: ล้านบาท) 2559

2558

24,295

37,492

กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี

3,127

5,196

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

(45)

124

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

3,082

5,320

รายได้

13. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - ที่ดินรอการขาย ยอดคงเหลือของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็นที่ดินรอการขายแห่งหนึ่งในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งมี มูลค่ายุตธ ิ รรมซึง ่ ประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้วธ ิ เี ปรียบเทียบกับราคาตลาดเป็นจำ�นวณเงินประมาณ 7.5 ล้านบาท 14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ทีด ่ น ิ และค่า

อาคารและ

เครือ ่ งจักร

เครือ ่ งมือ

อืน ่ ๆ

สินทรัพย์

รวม

พัฒนาทีด ่ น ิ

สิง ่ ปลูก

และส่วน

และ

ระหว่าง

สร้าง

ประกอบ

อุปกรณ์

ติดตัง ้

334,725

1,167,530

2,954,980

312,745

170,953

75,504

5,016,437

-

704

2,186

10,522

29,963

134,015

177,390

(2,010)

(368)

(338,009)

(19,888)

(13,496)

(118)

(373,889)

-

8,213

66,392

19,742

-

(97,763)

(3,416)

332,715

1,176,079

2,685,549

323,121

187,420

111,638

4,816,522

-

54

111

16,921

35,205

96,815

149,106

(634)

(1,864)

(236,440)

(15,738)

(10,505)

-

(265,181)

-

27,588

115,105

30,693

5,690

(179,076)

-

332,081

1,201,857

2,564,325

354,997

217,810

29,377

4,700,447

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ซือ ้ เพิม ่ จำ�หน่าย โอนเข้า(โอนออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ซือ ้ เพิม ่ จำ�หน่าย/ตัดจำ�หน่าย โอนเข้า(โอนออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559


176

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ทีด ่ น ิ และค่า

อาคารและ

เครือ ่ งจักร

เครือ ่ งมือ

อืน ่ ๆ

สินทรัพย์

พัฒนาทีด ่ น ิ

สิง ่ ปลูก

และส่วน

และ

ระหว่าง

สร้าง

ประกอบ

อุปกรณ์

ติดตัง ้

รวม

ค่าเสือ ่ มราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

33,193

539,086

1,400,039

220,896

100,502

-

2,293,716

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับปี

3,994

54,651

126,713

28,708

62,512

-

276,578

-

(417)

(270,620)

(13,428)

(27,657)

-

(312,122)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

37,187

593,320

1,256,132

236,176

135,357

-

2,258,172

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับปี

4,005

53,640

113,960

37,184

44,126

-

252,915

-

(1,982)

(62,737)

(13,370)

(10,368)

-

(88,457)

41,192

644,978

1,307,355

259,990

169,115

-

2,422,630

ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

-

-

264,565

-

-

-

264,565

บันทึกเพิม ่ ขึน ้ ระหว่างปี

-

-

1,341

-

-

-

1,341

ลดลงจากการจำ�หน่าย

-

-

(22,050)

-

-

-

(22,050)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

-

-

243,856

-

-

-

243,856

บันทึกเพิม ่ ขึน ้ ระหว่างปี

-

-

186,472

-

-

-

186,472

ลดลงจากการจำ�หน่าย

-

-

(175,702)

-

-

-

(175,702)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

-

-

254,626

-

-

-

254,626

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

295,528

582,759

1,185,561

86,945

52,063

111,638

2,314,494

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

290,889

556,879

1,002,344

95,007

48,695

29,377

2,023,191

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับส่วนที่ จำ�หน่าย

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับส่วนที่ จำ�หน่าย/ ตัดจำ�หน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าเผือ ่ การด้อยค่า

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับปี 2558 (จำ�นวน 204 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร)

276,578

2559 (จำ�นวน 200 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร)

252,915


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

177

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ทีด ่ น ิ และค่า

อาคารและ

เครือ ่ งจักร

เครือ ่ งมือ

อืน ่ ๆ

สินทรัพย์

รวม

พัฒนาทีด ่ น ิ

สิง ่ ปลูก

และส่วน

และ

ระหว่าง

สร้าง

ประกอบ

อุปกรณ์

ติดตัง ้

210,114

655,574

1,513,650

132,557

79,926

2,312

2,594,133

ซือ ้ เพิม ่

-

-

-

3,663

451

27,839

31,953

จำ�หน่าย

-

(368)

(255,402)

(10,642)

(6,671)

-

(273,029)

โอนเข้า (โอนออก)

-

6,174

693

9,933

1,225

(18,824)

(799)

210,114

661,380

1,258,941

135,511

74,985

11,327

2,352,258

ซือ ้ เพิม ่

-

-

41

5,040

1,701

49,940

56,722

จำ�หน่าย/ตัดจำ�หน่าย

-

(254)

(29,762)

(4,405)

(7,672)

-

(42,093)

โอนเข้า (โอนออก)

-

21,842

11,802

17,610

4,840

(56,094)

-

210,114

682,968

1,241,022

153,756

73,854

5,173

2,366,887

32,397

395,397

989,145

96,453

65,373

-

1,578,765

3,757

30,249

72,405

14,347

15,848

-

136,606

-

(417)

(208,385)

(9,507)

(16,750)

-

(235,059)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

36,154

425,229

853,165

101,293

64,471

-

1,480,312

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับปี

3,767

28,518

59,687

15,039

5,725

-

112,736

-

(245)

(29,334)

(2,384)

(7,452)

-

(39,415)

39,921

453,502

883,518

113,948

62,744

-

1,553,633

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ค่าเสือ ่ มราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับปี ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับส่วนที่ จำ�หน่าย

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับส่วนที่ จำ�หน่าย/ตัดจำ�หน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559


178

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ทีด ่ น ิ และค่า

อาคารและ

เครือ ่ งจักร

เครือ ่ งมือ

อืน ่ ๆ

สินทรัพย์

พัฒนาทีด ่ น ิ

สิง ่ ปลูก

และส่วน

และ

ระหว่าง

สร้าง

ประกอบ

อุปกรณ์

ติดตัง ้

รวม

ค่าเผือ ่ การด้อยค่า

ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

-

-

52,717

-

-

-

52,717

บันทึกเพิม ่ ขึน ้ ระหว่างปี

-

-

1,341

-

-

-

1,341

ลดลงจากการจำ�หน่าย

-

-

(1,846)

-

-

-

(1,846)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

-

-

52,212

-

-

-

52,212

ลดลงจากการจำ�หน่าย

-

-

(427)

-

-

-

(427)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

-

-

51,785

-

-

-

51,785

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

173,960

236,151

353,564

34,218

10,514

11,327

819,734

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

170,193

229,466

305,719

39,808

11,110

5,173

761,469

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

ค่าเสือ ่ มราคาสำ�หรับปี 2558 (จำ�นวน 127 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร)

136,606

2559 (จำ�นวน 103 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร)

112,736

ในปี 2559 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าของเครื่องจักรและอุปกรณ์ส่วนหนึ่งจำ�นวน 186 ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จำ�นวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้ว แต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า ของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำ�นวน เงินประมาณ 1,738 ล้านบาท (2558: 1,538 ล้านบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 972 ล้านบาท 2558: 895 ล้านบาท) บริษัทฯได้นำ�ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มูลค่าสุทธิตามบัญชี จำ�นวนประมาณ 358 ล้านบาท (2558: 433 ล้านบาท) ไปค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อที่ได้รับจากสถาบันการเงิน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

179

15. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ดังนี้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม เครื่องหมาย

ซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์

การค้า

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์

รวม

ระหว่างติดตั้ง ราคาทุน 26,051

26,528

-

52,579

ซื้อเพิ่ม

-

-

14,547

14,547

ตัดจำ�หน่าย

-

(505)

-

(505)

โอนออก

-

-

(1,500)

(1,500)

26,051

26,023

13,047

65,121

ซื้อเพิ่ม

-

464

26,775

27,239

ตัดจำ�หน่าย

-

(287)

-

(287)

โอนเข้า (โอนออก)

-

4,053

(4,053)

-

26,051

30,253

35,769

92,073

ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

-

13,260

-

13,260

ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี

-

5,954

-

5,954

ค่ า ตั ด จำ � หน่ า ยสำ � หรั บ ส่ ว นที่ ตั ด

-

(505)

-

(505)

ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม

จำ�หน่าย


180

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม เครื่องหมาย

ซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์

การค้า

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์

รวม

ระหว่างติดตั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

-

18,709

-

18,709

ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี

-

5,305

-

5,305

ค่ า ตั ด จำ � หน่ า ยสำ � หรั บ ส่ ว นที่ ตั ด

-

(41)

-

(41)

-

23,973

-

23,973

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

26,051

7,314

13,047

46,412

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

26,051

6,280

35,769

68,100

จำ�หน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

181

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องหมาย

ซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์

การค้า

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์

รวม

ระหว่างติดตั้ง ราคาทุน 26,463

16,003

-

42,466

ซื้อเพิ่ม

-

-

7,797

7,797

ตัดจำ�หน่าย

-

(505)

-

(505)

โอนออก

-

-

(1,500)

(1,500)

26,463

15,498

6,297

48,258

ซื้อเพิ่ม

-

430

3,110

3,540

ตัดจำ�หน่าย

-

(260)

-

(260)

โอนเข้า (โอนออก)

-

3,069

(3,069)

-

26,463

18,737

6,338

51,538

ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

-

9,408

-

9,408

ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี

-

3,700

-

3,700

ค่ า ตั ด จำ � หน่ า ยสำ � หรั บ ส่ ว นที่ ตั ด

-

(505)

-

(505)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

-

12,603

-

12,603

ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี

-

2,996

-

2,996

ค่ า ตั ด จำ � ห น่ า ย สำ � ห รั บ ส่ ว น ที่

-

(15)

-

(15)

-

15,584

-

15,584

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

26,463

2,895

6,297

35,655

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

26,463

3,153

6,338

35,954

ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม

จำ�หน่าย

จำ�หน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ


182

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

16. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หน่วย: พันบาท) อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน รวม

MOR 1.93% - 3.70% และ MRR

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

-

288

-

59

417,000

1,320,000

120,000

620,000

417,000

1,320,288

120,000

620,059

17. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

1,084

-

2,415

2,524

306,025

295,453

135,814

139,038

7,593

10,098

2,121

5,548

362,908

305,134

93,483

51,668

อื่นๆ

181,516

109,855

7,463

23,580

รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

859,126

720,540

241,296

222,358

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 7) เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 7) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

183

18. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หน่วย: พันบาท) เงินกู้

อัตราดอกเบี้ย(ร้อยละ)

การชำ�ระคืน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

548,450

129,500

548,450

129,500

400,000

480,000

-

-

รวม

948,450

609,500

548,450

129,500

หัก: ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี

(171,500)

(92,950)

(91,500)

(12,950)

เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายใน

776,950

516,550

456,950

116,550

1

อัตราซึ่งอ้างอิงกับอัตรา

ทุกสามเดือนตาม

THBFIX + 2.4%

จำ�นวนที่ กำ�หนด ในสัญญาเริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2559

2

อัตราซึ่งอ้างอิงกับอัตรา

ทุกสามเดือนตาม

BIBOR + 0.525%

จำ�นวนที่ กำ�หนด ในสัญญาเริ่มตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2558

หนึ่งปี เงินกู้ยืมดังกล่าวค้ำ�ประกันโดยการจำ�นองที่ดิน อาคารและอุปกรณ์บางส่วนของบริษัทฯ ภายใต้สัญญาเงินกู้ บริษัทฯและบริษัทย่อยต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการตามที่ระบุในสัญญา เช่น การดำ�รง อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระหนี้ให้เป็นไปตามอัตราที่กำ�หนดใน สัญญา การห้ามก่อให้เกิดภาระผูกพันแก่ทรัพย์สิน และการดำ�รงสัดส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นต้น


184

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

19. วงเงินสินเชื่อ วงเงินสินเชื่อที่บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับจากสถาบันการเงินมีหลักประกันดังต่อไปนี้ ก) การค้ำ�ประกันโดยบริษัทฯและบริษัทย่อยของบริษัทฯ ข) การจำ�นองสินทรัพย์ของบริษัทฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สินทรัพย์ดังกล่าวมี มูลค่าสุทธิตามบัญชีสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) 2559

2558

ที่ดิน

47

47

อาคารและสิ่งปลูกสร้าง

157

180

เครื่องจักรและอุปกรณ์

154

206

ค) การมีข้อจำ�กัดว่าบริษัทย่อยแห่งหนึ่งจะไม่ก่อให้เกิดภาระผูกพันต่อทรัพย์สิน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

185

20. สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน จำ � นวนเงิ น สำ � รองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก งานซึ่ ง เป็ น เงิ น ชดเชยพนั ก งานเมื่ อ ออกจากงานแสดง ได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

56,682

39,778

37,125

23,359

ต้นทุนบริการในปัจจุบัน

6,837

6,460

3,963

3,869

ต้นทุนดอกเบี้ย

2,595

2,340

1,754

1,639

-

11,513

-

11,513

1,366

-

2,685

-

ส่วนทีเ่ กิดจากการเปลีย ่ นแปลงข้อสมมติทางการเงิน

7,988

-

5,367

-

ส่วนที่เกิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ์

8,459

-

9,345

-

ผลประโยชน์ทจ ่ี า่ ยในระหว่างปี

(4,830)

(3,409)

(4,686)

(3,255)

สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานปลายปี

79,097

56,682

55,553

37,125

สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานต้นปี ส่วนที่รับรู้ในกำ�ไรหรือขาดทุน :

ต้นทุนบริการในอดีต ส่วนทีร ่ บ ั รูใ้ นกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ : ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ส่ ว นที่ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงข้ อ สมมติ ด้ า น ประชากรศาสตร์

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร

9,432

20,313

5,717

17,021

รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในกำ�ไรหรือขาดทุน

9,432

20,313

5,717

17,021


186

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทฯและบริษัทย่อยคาดว่าจะจ่ายชำ�ระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปีข้างหน้า เป็นจำ�นวนประมาณ 3 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: จำ�นวน 3 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักในการจ่ายชำ�ระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานของบ ริษัทฯและบริษัทย่อยประมาณ 10 ปี (เฉพาะกิจการ: 10 ปี) สมมติฐานที่สำ�คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ร้อยละต่อปี) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559

2558

2.7%

4.3%

3.0% - 4.5%

3.0% - 5.0%

0.0% - 50.0%

0.0% - 50.0%

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน อัตราการเปลี่ยนแปลงในจำ�นวนพนักงาน

ผลกระทบของการเปลีย ่ นแปลงสมมติฐานทีส ่ ำ�คัญต่อมูลค่าปัจจุบน ั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินรวม

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เพิ่มขึ้น 0.5%

ลดลง 0.5%

เพิ่มขึ้น 0.5%

ลดลง 0.5%

(4)

4

(3)

3

4

(4)

3

(3)

21. สำ�รองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิ ประจำ�ปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำ�รองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้า มี) จนกว่าทุนสำ�รองนี้จะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถ นำ�ไปจ่ายเงินปันผลได้ ในปัจจุบัน บริษัทฯได้จัดสรรสำ�รองตามกฎหมายไว้ครบถ้วนแล้ว


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

187

22. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำ�คัญดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน

748,536

612,000

426,074

330,269

ค่าเสื่อมราคา

252,915

230,249

112,736

119,926

ค่าตัดจำ�หน่าย

5,305

5,389

2,996

3,700

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน

39,536

59,019

21,719

34,981

2,962,570

2,687,626

1,979,217

1,799,674

ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการให้บริการ (ไม่รวมค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน และค่าเสื่อมราคา) 23. ภาษีเงินได้

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

(3,963)

(3,362)

-

-

(12,040)

(8,443)

(5,315)

(5,975)

(16,003)

(11,805)

(5,315)

(5,975)

ภาษีเงินได้ปจ ั จุบน ั : ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับปี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี จ ากการเกิ ด ผลแตกต่ า ง ชั่วคราวและการกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ทแ่ี สดงอยูใ่ นงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ


188

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

จำ � นวนภาษี เ งิ น ได้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ส่ ว นประกอบแต่ ล ะส่ ว นของกำ � ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื่ น สำ � หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

มูลค่ายุตธ ิ รรมของสัญญาแลกเปลีย ่ นอัตราดอกเบีย ้ เงินกูย ้ ม ื

-

(445)

-

(445)

ภ า ษี เ งิ น ไ ด้ ร อ ก า ร ตั ด บั ญ ชี ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ข า ด ทุ น

3,246

-

3,479

-

3,246

(445)

3,479

(445)

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทีเ่ กีย ่ วข้องกับการเปลีย ่ นแปลงใน

จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

รายการกระทบยอดจำ�นวนเงินระหว่างค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้กับผลคูณของกำ�ไรทางบัญชีกับอัตราภาษีที่ใช้สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สามารถแสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

กำ�ไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล

781,848

1,190,742

386,235

188,942

ภาษีเงินได้คำ�นวณในอัตราภาษีเงินได้ของประเทศไทยร้อยละ 20

(156,370)

(238,148)

(77,247)

(37,788)

ขาดทุนทางภาษีที่ถูกใช้ประโยชน์ในปีปัจจุบัน แต่ไม่เคยรับรู้

23,463

-

23,244

-

ค่าใช้จ่ายต้องห้าม

(851)

(5,875)

(32)

(3,964)

ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหักได้เพิ่มขึ้น

4,581

-

3,883

-

เป็นสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ผลกระทบทางภาษีสำ�หรับ:


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

189

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

-

-

51,783

44,401

170

-

-

-

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม

148,150

243,235

-

-

ขาดทุนทางภาษีปีปัจจุบันที่ยังไม่ได้ใช้

(13,963)

-

-

-

อื่นๆ

(21,183)

(11,017)

(6,946)

(8,624)

รวม

116,904

226,343

48,688

31,813

(16,003)

(11,805)

(5,315)

(5,975)

รายได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ การส่งเสริมการลงทุน (หมายเหตุ 24)

ภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ใน งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ประกอบด้วยรายการ ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

1,310

10,877

1,310

1,310

ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ

9,798

5,962

6,150

5,952

ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์

50,925

48,289

10,357

10,443

สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

14,672

10,647

11,111

7,425

ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้

34,336

34,336

34,336

34,336

อื่นๆ

12,083

2,407

67

2,407

123,124

112,518

63,331

61,873

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

รวม


190

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

ค่าตัดจำ�หน่ายเครื่องหมายการค้า

(1,450)

(1,160)

(1,450)

(1,160)

ผลกระทบจากการคิดค่าเสื่อมราคาทางบัญชีและภาษี

(6,283)

(4,235)

(6,283)

(4,235)

อื่นๆ

(17,501)

(439)

(1,381)

(425)

(25,234)

(5,834)

(9,114)

(5,820)

97,890

106,684

54,217

56,053

หนีส ้ น ิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

รวม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีรายการผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ ยังไม่ได้ใช้จำ�นวน 416 ล้านบาท (2558: 458 ล้านบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 259 ล้านบาท (2558: 371 ล้านบาท)) ที่ บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่ได้บันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยพิจารณาแล้ว เห็นว่าอาจไม่มีกำ�ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะนำ�ผลแตกต่างชั่วคราวและผลขาดทุนทางภาษีมาใช้ประโยชน์ได้ 24. การส่งเสริมการลงทุน บริษัทฯได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนสำ�หรับผลิตภัณฑ์น้ำ�กะทิบรรจุภาชนะผนึก และมะพร้าวฝอยอบแห้งที่โรงงานที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1308(2)/2556 เมื่อ วันที่ 4 มีนาคม 2556 ภายใต้เงื่อนไขที่กำ�หนดบางประการ สิทธิพิเศษดังกล่าวรวมถึงการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลสำ�หรับกำ�ไรที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมเป็นระยะเวลาแปดปีนับแต่วันที่เริ่มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนั้น (วันที่ 30 พฤษภาคม 2556) รายได้ของบริษัทฯ จำ�แนกตามกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

191

(หน่วย: พันบาท) กิจการที่ได้รับ

กิจการที่ไม่ได้รับ

การส่งเสริม

การส่งเสริม

รวม

2559

2558

2559

2558

2559

2558

119

3,787

594,705

510,915

594,824

514,702

82,907

34,176

2,095,589

1,717,966

2,178,496

1,752,142

83,026

37,963

2,690,294

2,228,881

2,773,320

2,266,844

รายได้จากการขาย รายได้จากการขายในประเทศ รายได้จากการส่งออก รวมรายได้จากการขาย

นอกจากนัน ้ บริษท ั ย่อยแห่งหนึง ่ ยังได้รบ ั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนสำ�หรับผลิตภัณฑ์น้ำ� พืชผักผลไม้ ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1733(2)/2549 เมือ ่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2549 ภายใต้เงือ ่ นไขทีก ่ ำ�หนด บางประการ สิทธิพเิ ศษดังกล่าวรวมถึงการได้รบ ั ยกเว้นภาษีเงินได้นต ิ บ ิ ค ุ คลสำ�หรับกำ�ไรทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมเป็นระยะเวลาแปดปีนับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (วันที่ 1 เมษายน 2551) รายได้ของบริษัทย่อยดังกล่าว จำ�แนกตามกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) กิจการที่ได้รับ

กิจการที่ไม่ได้รับ

การส่งเสริม

การส่งเสริม

รวม

2559

2558

2559

2558

2559

2558

490,260

2,113,798

2,330,516

642,769

2,820,776

2,756,567

88,242

403,211

345,682

922

433,924

404,133

578,502

2,517,009

2,676,198

643,691

3,254,700

3,160,700

รายได้จากการขาย รายได้จากการขายในประเทศ รายได้จากการส่งออก รวมรายได้จากการขาย


192

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

25. กำ�ไรต่อหุ้น กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำ�นวณโดยหารกำ�ไรสำ�หรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี 26. ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน ข้อมูลส่วนงานดำ�เนินงานที่นำ�เสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษัทฯที่ผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการ ดำ�เนินงานได้รับและสอบทานอย่างสม่ำ�เสมอเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กับส่วนงานและประเมิน ผลการดำ�เนินงานของส่วนงาน ทัง ้ นีผ ้ ูม ้ อ ี ำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดำ�เนินงานของบริษท ั คือคณะกรรมการบริหาร ของกลุ่มบริษัท ข้อมูลรายได้และกำ�ไรของส่วนงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มี ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์จากพืช

เครื่องดื่ม

อื่นๆ

งบการเงินรวม

ผัก และผลไม้ 2559

2558

2559

2558

2559

2558

2559

2558

2,394

1,863

2,788

2,670

91

145

5,273

4,678

340

146

1,090

920

26

-

1,456

1,066

94

221

ค่าใช้จา่ ยในการขาย

(825)

(877)

ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ

(644)

(376)

81

34

741

1,216

รายได้จากการขายและ การให้บริการ กำ�ไรขั้นต้น รายได้อน ่ื

บริหาร กำ�ไรก่อนส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษท ั ร่วม ค่าใช้จา่ ยทางการเงินและภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

193

(หน่วย: ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์จากพืช

เครื่องดื่ม

อื่นๆ

งบการเงินรวม

ผัก และผลไม้ 2559

2558

2559

2558

2559

2558

2559

2558

822

1,250

ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน

(40)

(59)

ภาษีเงินได้

(16)

(12)

766

1,179

กำ � ไ ร ก่ อ น ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ท า ง ก า ร เ งิ น แ ล ะ ภ า ษี เงินได้

กำ�ไรสำ�หรับปี ส่วนงานทางภูมิศาสตร์สำ�หรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท) ขายสินค้าในประเทศ

ขายสินค้า

งบการเงินรวม

ในต่างประเทศ

รายได้จากการขายและการให้บริการ กำ�ไรขั้นต้น

2559

2558

2559

2558

2559

2558

2,625

2,476

2,648

2,202

5,273

4,678

586

842

870

224

1,456

1,066

27. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ย่ อ ยและพนั ก งานบริ ษั ท ฯได้ ร่ ว มกั น จั ด ตั้ ง กองทุ น สำ � รองเลี้ ย งชี พ ขึ้ น ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สำ�รองเลี้ ย งชี พ พ.ศ. 2530 โดยบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ย่ อ ยและพนั ก งานจะจ่ า ยสมทบเข้ า กองทุ น เป็ น รายเดื อ นในอั ต รา


194

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพนีบ ้ ริหารโดยบริษท ั อเมริกน ั อินเตอร์แนชชัน ่ แนลแอสชัวรันส์ จำ�กัด และ จะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯและบริษัทย่อย ในระหว่าง ปี 2559 บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้เงินสมทบดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายจำ�นวน 14 ล้านบาท (2558: 13 ล้านบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 7 ล้านบาท (2558: 6 ล้านบาท)) 28. เงินปันผล เงินปันผล

เงินปันผลประจำ�ปี 2558

อนุมัติโดย

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น

(ล่านบาท)

(บาทต่อหุ้น)

120.1

0.25

110.6

0.23

230.7

0.48

เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 เงินปันผลระหว่างกาลสำ�หรับปี 2559

ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั ฯ เมือ ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2559

รวมเงินปันผลสำ�หรับปี 2559 29. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 29.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายจ่ายฝ่ายทุนซึ่งเกี่ยวข้องกับการซื้อ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง เครื่องมือและอุปกรณ์ และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ คงเหลือเป็นจำ�นวนเงินดังนี้ (หน่วย: ล้าน) สกุลเงิน

บาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

6

-

1

-

29.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำ�เนินงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ทำ�สัญญาเช่าที่เกี่ยวข้องกับการเช่าอาคารและโกดัง การเช่ารถ การเช่าเครื่องใช้ สำ�นักงาน รวมทั้งสัญญาจ้างบริการต่างๆ


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

195

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าเช่าและค่า บริการตามสัญญาดังกล่าวดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

1 ปี

71

70

24

20

2 ถึง 5 ปี

96

95

26

30

มากกว่า 5 ปี

11

13

-

-

จ่ายชำ�ระภายใน

29.3 การค้ำ�ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค้ำ�ประกันที่ออกโดยธนาคารใน นามบริษัทฯและบริษัทย่อย ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจคงเหลือ อยู่เป็นจำ�นวนเงินดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

หนังสือค้ำ�ประกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

44

30

19

12

30. ลำ�ดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม แยกแสดงตามลำ�ดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้


196

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ระดับที่ 1

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

ระดับที่ 1

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

-

43

-

43

-

69

-

69

-

344

-

344

-

-

-

-

สิ น ท รั พ ย์ ที่ วั ด มู ล ค่ า ด้ ว ย มูลค่ายุตธ ิ รรม ตราสารอนุพน ั ธ์ สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า ง ประเทศล่วงหน้า

หนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุตธ ิ รรม ตราสารอนุพน ั ธ์ สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า ง ประเทศล่วงหน้า


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

197

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ระดับที่ 1

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

ระดับที่ 1

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

-

-

-

-

-

-

-

-

-

337

-

337

-

-

-

-

สิ น ท รั พ ย์ ที่ วั ด มู ล ค่ า ด้ ว ย มูลค่ายุตธ ิ รรม ตราสารอนุพน ั ธ์ สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า ง ประเทศล่วงหน้า

หนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุตธ ิ รรม ตราสารอนุพน ั ธ์ สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า ง ประเทศล่วงหน้า

31. เครื่องมือทางการเงิน 31.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำ�คัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดง รายการและการเปิดเผยข้อมูลสำ�หรับเครือ ่ งมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ การค้า เงินให้กู้ยืม เงินลงทุน เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง กับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสีย ่ งด้านการให้สน ิ เชือ ่ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ฝ่ายบริหารควบคุม ความเสี่ยงนี้โดยการกำ�หนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทย่อยจึง ไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำ�คัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯและบริษัท ย่อยไม่มก ี ารกระจุกตัวเนือ ่ งจากบริษท ั ฯและบริษท ั ย่อยมีฐานของลูกค้าทีห ่ ลากหลายและมีอยูจ ่ ำ�นวนมากราย จำ�นวน เงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ เงินให้กู้ยืม และลูก หนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน


198

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ความเสีย ่ งจากอัตราดอกเบีย ้ บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งจากอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ สำ � คั ญ อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ เงิ น ฝากสถาบั น การเงิ น เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มี อัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สินทรัพย์และหนีส ้ น ิ ทางการเงินทีส ่ ำ�คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีย ้ และสำ�หรับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำ�หนด หรือ วันที่มีการ กำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบีย ้ คงที2 ่ 559 ภายใน 1 ปี

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

อัตรา

ไม่มี

รวม

ดอกเบีย ้

อัตรา

ดอกเบีย ้

ปรับขึน ้ ลง

ดอกเบีย ้

ทีแ่ ท้จริง

ตามราคา

อัตรา

(ร้อยละต่อปี)

ตลาด

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

-

-

1

58

59

หมายเหตุ 8

เงินลงทุนชัว ่ คราว

4

-

-

-

4

0.95

ลูกหนีก ้ ารค้าและลูกหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

690

690

-

เงินฝากธนาคารทีม ่ ภ ี าระค้ำ�ประกัน

1

-

-

-

1

0.95

5

-

1

748

754


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

199

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบีย ้ คงที2 ่ 559 ภายใน 1 ปี

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

อัตรา

ไม่มี

รวม

ดอกเบีย ้

อัตรา

ดอกเบีย ้

ปรับขึน ้ ลง

ดอกเบีย ้

ทีแ่ ท้จริง

ตามราคา

อัตรา

(ร้อยละต่อปี)

ตลาด

หนีส ้ น ิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ้ ม ื ระยะ

417

-

-

-

417

หมายเหตุ 16

เจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

859

859

-

เงินกูย ้ ม ื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

-

-

948

-

948

หมายเหตุ 18

หนีส ้ น ิ ตามสัญญาเช่าการเงิน

-

1

-

-

1

4.47

417

1

948

859

2,225

สัน ้ จากสถาบันการเงิน


200

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบีย ้ คงที2 ่ 559 ภายใน 1 ปี

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

อัตรา

ไม่มี

รวม

ดอกเบีย ้

อัตรา

ดอกเบีย ้

ปรับขึน ้ ลง

ดอกเบีย ้

ทีแ่ ท้จริง

ตามราคา

อัตรา

(ร้อยละต่อปี)

ตลาด

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

-

-

2

74

76

หมายเหตุ 8

เงินลงทุนชัว ่ คราว

4

-

-

-

4

0.95

ลูกหนีก ้ ารค้าและลูกหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

860

860

-

เงินฝากธนาคารทีม ่ ภ ี าระค้ำ�ประกัน

1

-

-

-

1

0.95

5

-

2

934

941

1,320

-

-

-

1,320

หมายเหตุ 16

เจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

721

721

-

เงินกูย ้ ม ื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

-

-

610

-

610

หมายเหตุ 18

หนีส ้ น ิ ตามสัญญาเช่าการเงิน

1

1

-

-

2

4.47 - 4.78

1,321

1

610

721

2,653

หนีส ้ น ิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ้ ม ื ระยะ สัน ้ จากสถาบันการเงิน


รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

201

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบีย ้ คงที่ ภายใน 1 ปี

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

อัตรา

ไม่มี

รวม

ดอกเบีย ้

อัตรา

ดอกเบีย ้

ปรับขึน ้ ลง

ดอกเบีย ้

ทีแ่ ท้จริง

ตามราคา

อัตรา

(ร้อยละต่อปี)

ตลาด

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

-

-

1

24

25

หมายเหตุ 8

ลูกหนีก ้ ารค้าและลูกหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

317

317

-

-

-

1

341

342

120

-

-

-

120

หมายเหตุ 16

เจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

241

241

-

เงินกูย ้ ม ื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

-

-

548

-

548

หมายเหตุ 18

120

-

548

241

909

หนีส ้ น ิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ้ ม ื ระยะ สัน ้ จากสถาบันการเงิน


202

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบีย ้ คงที2 ่ 559 ภายใน 1 ปี

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

อัตรา

ไม่มี

รวม

ดอกเบีย ้

อัตรา

ดอกเบีย ้

ปรับขึน ้ ลง

ดอกเบีย ้

ทีแ่ ท้จริง

ตามราคา

อัตรา

(ร้อยละต่อปี)

ตลาด

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

-

-

1

38

39

หมายเหตุ 8

ลูกหนีก ้ ารค้าและลูกหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

251

251

-

-

-

1

289

290

620

-

-

-

620

หมายเหตุ 16

เจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนีอ ้ น ่ื

-

-

-

222

222

-

เงินกูย ้ ม ื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

-

-

130

-

130

หมายเหตุ 18

หนีส ้ น ิ ตามสัญญาเช่าการเงิน

1

-

-

-

1

4.78

621

-

130

222

973

หนีส ้ น ิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ้ ม ื ระยะสัน ้ จากสถาบันการเงิน


203

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำ�คัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินค้า บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ตกลงทำ�สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้ เป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่ เป็นสกุลเงินต่างประเทศดังนี้

งบการเงินรวม สินทรัพย์ทางการเงิน สกุลเงิน

หนีส ้ น ิ ทางการเงิน

2559

2558

2559

2558

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

อัตราแลกเปลีย ่ นเฉลีย ่ 2559

2558

(บาทต่อหน่วยเงินตรา ต่างประเทศ)

เหรียญสหรัฐอเมริกา

7

7

1

1

38.83

36.04

เยนญีป ่ น ุ่

-

-

2

-

0.31

0.30

งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ทางการเงิน สกุลเงิน

หนีส ้ น ิ ทางการเงิน

2559

2558

2559

2558

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

อัตราแลกเปลีย ่ นเฉลีย ่ 2559

2558

(บาทต่อหน่วยเงินตรา ต่างประเทศ)

เหรียญสหรัฐอเมริกา

7

6

-

-

35.03

36.04


204

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าซึ่งครบ กำ�หนดภายในหนึ่งปีคงเหลือดังนี้ 2559 งบการเงินรวม

สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

งบการเงินเฉพาะกิจการ

อัตราแลกเปลีย ่ นตามสัญญาของ

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

ทีข่ าย

ทีซ่ อ ้ื

ทีข่ าย

ทีซ่ อ ้ื

ทีข่ าย

ทีซ่ อ ้ื

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

0.4

0.3

0.4

-

34.86 - 34.93

35.63 - 35.91

-

0.1

-

-

-

37.65 - 37.90

(บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ)

2558 งบการเงินรวม

สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา

งบการเงินเฉพาะกิจการ

อัตราแลกเปลีย ่ นตามสัญญาของ

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

จำ�นวน

ทีข่ าย

ทีซ่ อ ้ื

ทีข่ าย

ทีซ่ อ ้ื

ทีข่ าย

ทีซ่ อ ้ื

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

(ล้าน)

2.5

0.8

2.5

-

(บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 35.48 - 36.28

34.24 - 36.25

31.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯและบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินให้ กู้ยืมและเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ส่วน ตราสารอนุพันธ์แสดงมูลค่ายุติธรรมตามราคาตลาด หรือคำ�นวณตามหลักเกณฑ์การประเมินมูลค่าที่เป็นที่ ยอมรับทั่วไปหากกรณีที่ไม่มีราคาตลาด


205

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันหรือจ่ายชำ�ระหนี้สินในขณะที่ ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะ ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำ�หนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่า ยุติธรรมจะกำ�หนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำ�หนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม 32. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำ�คัญของบริษัทฯและบริษัททย่อย คือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทุนที่

เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อยและเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับ

ผู้ถือหุ้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.89 : 1

(2558: 1.54 : 1) และเฉพาะบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.56 : 1 (2558: 1.19 : 1) 33. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2560 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2560 มีมติเห็นชอบการปรับโครงสร้างของ

กิจการโดยการโอนกิจการบางส่วนสำ�หรับกิจการแปรรูปผลไม้ให้แก่บริษัทย่อยของบริษัทฯที่จะจัดตั้งขึ้นใหม่

ปัจจุบัน บริษัทฯอยู่ระหว่างดำ�เนินการตามกฏหมายที่เกี่ยวข้อง 34. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน

บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดประเภทรายการบัญชีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม

สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

ตามที่จัดประเภทใหม่

ตามที่เคยรายงานไว้

778,358

808,684

2,314,494

2,284,168


206

รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ตามที่จัด

ตามที่เคย

ตามที่จัด

ตามที่เคย

ประเภทใหม่

รายงานไว้

ประเภทใหม่

รายงานไว้

4,677,508

5,337,909

2,266,844

2,266,844

รายได้อื่น

221,527

252,499

332,814

365,881

ต้นทุนขายและบริการ

3,611,178

3,635,920

2,075,497

2,108,564

ค่าใช้จ่ายในการขาย

877,248

1,430,458

96,014

87,298

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

375,682

489,103

202,884

211,600

รายได้จากการขายและบริการ

การจัดประเภทรายการบัญชีดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อกำ�ไรหรือส่วนของผู้ถือหุ้นตามที่ได้รายงานไว้ 35. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560


บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

เลขที่ 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2273-6200 โทรสาร : 0-2271-4304, 0-2271-1600

www.tipco.net


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.