20170410 thai ar2016 th

Page 1



สารบัญ สารจากประธานกรรมการ สารจากฝายบร�หาร นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปจจัยความเสี่ยง ขอมูลทั�วไปและขอมูลสําคัญอื่น รายช�่อผูถือหุนรายใหญ นโยบายการจายเง�นปนผล โครงสรางการจัดการ การกํากับดูแลกิจการ รายงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ สงเสร�มกิจการเพ��อสังคมประจําป 2559 ความรับผิดชอบตอสังคม การควบคุมภายในและการบร�หารจัดการความเสี่ยง รายการระหวางกัน ขอมูลทางการเง�นที่สําคัญ การว�เคราะหและคําอธิบายของฝายจัดการ งบการเง�น คณะกรรมการบร�ษัทฯ ฝายบร�หาร สํานักงานสาขา

3 4 6 14 40 46 52 55 56 70 94 96 98 106 124 129 143 196 204 210

ผูลงทุนสามารถศึกษาขอมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพยเพิ่มเติมไดจาก แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไวใน www.sec.or.th หรือ www.thaiairways.com


2

รายงานประจําป 2559


สารจากประธานกรรมการ ป 2559 เปน ปที่การบินไทยไดดําเนินการตามแผนปฏิรูป ขั้นที่ 2 “การสรางความแข็งแกรงในการแขงขัน” ซึ่งประกอบ ดวย 4 แผนกลยุทธหลัก คือ แผนหารายได แผนลดคาใชจาย แผนการสรางขีดความสามารถอยางยั่งยืน และแผนสราง ความเปนเลิศในการบริการลูกคา โดยการบินไทยไดมุงเนน การปรับปรุงระบบสําคัญที่เปนรากฐาน (Foundation) ของ การดําเนินการ เพือ่ เสริมสรางศักยภาพของการบินไทย ไดแก การปรับปรุงระบบบริหารเครือขายเสน ทางบินใหม ทําให สามารถจัดทําตารางบิน (TPI) ไดลวงหนาอยางรวดเร็ว และ ทําใหการบินไทยสามารถวางโครงสรางเครือขายเสนทางบิน ที่สนับสนุนการเปนศูนยกลางการบิน (Bank Structure) ซึ่ง จะทําใหทาอากาศยานสุวรรณภูมิกลายเปนศูนยกลาง (Hub) การบินหลักของภูมภิ าค รวมทัง้ ไดเพิม่ เครือขายเสนทางบินและ ความถี่ของเที่ยวบินไปยุโรปและตะวันตก (เตหะราน มอสโคว ภูเก็ต-แฟรงคเฟรต ) และเพิม่ ความถีข่ องเทีย่ วบินไปลอนดอน บรัสเซลส ออสโล นอกจากนี้ การบินไทยยังไดปรับปรุงระบบบริหารราคาใหม ทําใหปรับปรุงราคาไดอยางรวดเร็วทันกับคูแขง อีกทั้งติดตั้ง ระบบเชื่อมโยงการบริการในเที่ยวบินและภาคพื้น เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริการจากการเชื่อมตอขอมูลการบริการใน เทีย่ วบิน การบริการภาคพืน้ และการซอมบํารุงเครือ่ งบิน ซึง่ จะ ทําใหแกไขปญหาในการบริการไดรวดเร็ว เหมาะสม และนําไป ตอยอดการปรับปรุงบริการตอไป สําหรับการขายผานเว็บไซต การบินไทยไดปรับปรุงระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาอยาง ตอเนื่องและอยูระหวางการนําระบบใหมมาใชภายในป 2560 สําหรับการเสริมความแข็งแกรงของฝูงบิน และการปรับปรุง ผลิตภัณฑในเครือ่ งบิน การบินไทยไดรบั มอบเครือ่ งบินรุน ใหม Airbus A350-900 XWB ที่มีความสะดวกสบายและทันสมัย โดยจะไดทยอยรับมอบเครือ่ งบินรุน เดียวกันในป 2560 จํานวน 5 ลํา รวมทัง้ การบินไทยไดปรับปรุงบริการในชัน้ ธุรกิจ โดยมุง บูรณาการการบริการในทุกจุดสัมผัสสูความเปนเลิศอยาง ครบวงจร หรือ Magic Service Ring โดยเนนการใหบริการ แกผูโดยสารตั้งแตเริ่มใชบริการของการบินไทยจนสิ้นสุดการ เดินทาง เพื่อใหการเดินทางเปนไปอยางราบรื่น สรางความ ประทับใจใหกับผูโดยสาร อีกทั้งการบินไทยไดรับพนักงาน ตอนรับบนเครือ่ งบินรุน ใหมจาํ นวน 600 คน และปรับหลักสูตร ในการอบรมที่มุงเนนการสรางจิตสํานึกในการบริการตาม บทบาทและหนาที่ โดยคํานึงความปลอดภัยและคุณภาพในการ บริการสูงสุด ทั้งนี้ ผลลัพธของการปรับปรุงบริการมาอยาง ตอเนื่อง ทําใหผลการสํารวจความคิดเห็นของนักเดินทางและ ผูโดยสารทั่วโลกของหลายสถาบัน แสดงวาผูใชบริการไดเห็น ความเปลี่ยนแปลงของการบินไทยในทางที่ดีขึ้น และบริษัทฯ

ไดรับรางวัลตางๆ มากมาย อาทิ รางวัลอันดับที่ 1 ประเภท สายการบินที่มีการปรับปรุงคุณภาพการบริการดีขึ้นมากที่สุด สายการบินที่ใหบริการ สปาเลานจยอดเยีย่ ม จากสกายแทรกซ (Skytrax) และรางวัลสายการบินทีน่ กั ทองเทีย่ วจีนชืน่ ชอบทีส่ ดุ ประจําป 2559 จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนตน ซึ่งผลงานที่เกิดขึ้นในป 2559 นี้ เปนผลมาจากความรวมมือ รวมใจกันของคณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร และพนักงาน ที่ไดทมุ เทในการดําเนินการตามแผนปฏิรปู และจากลูกคาที่ได ใหการสนับสนุน เลือกใชบริการของการบินไทย รวมถึงผูถ อื หุน ทุกทานที่ใหความไววางใจในการลงทุนในบริษัท การบินไทย นอกจากนี้ ในป 2559 การบินไทยยังไดปรับปรุงกระบวนการ ทํางานของหลายหนวยงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหมากขึ้น และยังคงกํากับดูแลบริหารตนทุน และคาใชจา ยอยางเขมงวด โดยดําเนินการอยางตอเนื่องไปในป 2560 และไดบริหาร จัดการดานการเงิน เพื่อจัดการเงินสดคงเหลือใหอยูในระดับ ที่เหมาะสม และปรับโครงสรางเงินกูใหเหมาะสมกับกระแส เงินสดคงเหลือของแตละสกุลเงิน ซึ่งมีผลทําใหตนทุนทาง การเงินลดลงในระยะยาว และไดกําหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติ งานของพนักงานใหสอดคลองกับผลดําเนินงานตามแผนปฏิรปู เพื่อใหมั่นใจวาพนักงานที่ใหความรวมมือตามแผนปฏิรูปจะได รับผลตอบแทนอยางเหมาะสม ในป 2560 นี้ การบินไทยไดกาวเขาสูแผนปฏิรูปขั้นที่ 3 คือ การเติบโตและมีกําไรอยางยั่งยืน ซึ่งยังมีเรื่องที่ตองดําเนิน การอีกมากเพื่อจะนําพาการบินไทยไปสูการเปนสายการบิน ชั้นนําของโลก สุดทายนี้ ผมในนามของคณะกรรมการบริษั ทฯ ฝายบริหาร และพนักงานการบินไทยขอขอบพระคุณ ทานผูมีอุปการคุณ ทุกทาน ที่ใหการสนับสนุนการดําเนินงานของบริษัทฯ มาอยาง ตอเนื่อง และผมหวังวาจะไดรับการสนับสนุนจากทุกทานใน ป 2560 เชนเดียวกับที่ผานมาในป 2559 ดวยความเชื่อมั่นวา การบินไทยจะสามารถเติบโตไดอยางมั่นคง และทะยานสู ทองฟาไดอยางสงางาม ซึง่ คณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร และพนักงานทุกคนจะไดรวมมือกันอยางเต็มที่ เพื่อใหการ ดําเนินการบรรลุเปาหมายของบริษัทฯ ตอไป

(นายอาร�พงศ ภูชอุม) ประธานกรรมการ

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

3


สารจาก า ร าร ป 2559 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ไดดาํ เนินการตาม แผนปฏิรปู ขัน้ ที่ 2 ประกอบดวยกลยุทธหลัก 4 กลยุทธ และ 20 แผนงานหลักทีส่ อดคลองกัน โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สรางความ แข็งแกรงในการแขงขัน (Strengt Bui ding) เพื่อพรอมตอสู ในเวทีระดับโลก จากการที่การบินไทยไดดําเนินการตามแผน ปฏิรปู และไดมกี ารพั นาและปรับปรุงการดําเนินงานทีส่ าํ คัญ ตางๆ ไดแก การจัดวางระบบบริหารเครือขายเสนทางบิน การเพิม่ เครือขายเสนทางบินและความถี่ การวางระบบบริหารราคา การยกระดับการใหบริการในชัน้ ธุรกิจ การพั นาและปรับปรุง การบริการ (Service Ring I rove ent) ซึ่งตองปรับปรุง ใหครบทุกจุดบริการสําหรับผูโดยสารทุกชั้นบริการ รวมทั้งมี การปรับปรุงกระบวนการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ การบริหารจัดการดานการเงินทีเ่ หมาะสมนัน้ ทําใหสถานการณ กลับมามีกําไรสุทธิเปนเงิน 4 ลานบาท เปนครั้งแรกหลังจาก ขาดทุนมาตั้งแตป 2556 ทั้งนี้ การบินไทยคงดําเนินการตาม แผนปฏิรปู ตอไป โดยจะพิจารณาปรับแผนกลยุทธใหเหมาะสม ตามสถานการณการแขงขันทางธุรกิจการบินในปจจุบัน ทั้งนี้ ภายใตการติดตามการประเมินผลอยางใกลชดิ โดยหนวยงาน ใดที่ปรับเปลี่ยนตามแผนปฏิรูปแลวประสบความสําเร็จก็ตอง รักษามาตรฐานไว และพั นาตอไปอยางตอเนื่อง เพื่อเปน ตนแบบที่ดีใหกับหนวยงานอื่นตอไป ในชวงเวลาเดียวกันของการปฏิรูปองคกร ประเทศไทยตอง เผชิญกับวิก ต I A ซึ่งนําไปสูการยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยทางการบิน การบินไทยในฐานะสายการบินแหงชาติ พรอมที่จะพั นาองคกร รวมทั้งใหการสนับสนุนและความ รวมมือกับสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) ในกระบวนการทบทวนการออกใบรับรองการเดิน อากาศ (A Re-certi ication) ใหเปนไปตามก ระเบียบ ขอกําหนด ตามมาตรฐานการบินใหม ที่ กพท รวมกับ ivi Aviation Aut ority Internationa AAi พั นาขึน้ เพือ่ ใหประเทศไทย สามารถแกไขขอบกพรองที่มีนัยสําคัญดานความปลอดภัย

ตามโครงการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัยของ องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) ทั้งนี้ ตลอดเวลาที่ผานมา การบินไทยไดมงุ เนนในเรือ่ งการรักษาคุณภาพ ความปลอดภัย ความมัน่ คงและมาตรฐานการบินใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ในป 2560 การบินไทยจะกาวสูแผนปฏิรูประยะที่ 3 คือ การเติบโตอยางยั่งยืน (Sustainab e ro t ) โดยจะมุงเนน เรื่องการหารายไดจากการขนสงผูโดยสาร การบริหารจัดการ หนวยธุรกิจ ไดแก การซอมบํารุงอากาศยาน การใหบริการ ภาคพืน้ ครัวการบิน การบริการขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ อีกทั้งจะตองเรงบริหารจัดการทรัพยสินที่ ไมมีความจําเปน ในการถือครองทั้งอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพย นอกจากนี้ การบิ นไทยยั ง มี โ ครงการลงทุ น ที่ สํ า คั ญ คื อ โครงการพั นาศู น ย ซ  อ มอากาศยาน ณ ท า อากาศยาน นานาชาติอตู ะเภา ซึง่ ถือไดวา เปนโอกาสทางธุรกิจทีก่ ารบินไทย ไดรับความไววางใจจากรัฐบาลใหดําเนินการ โดยเปนหนึ่งใน แผนพั นาพื้นที่ฝงทะเลดานตะวันออก เนื่องดวยการบินไทย มีความพรอมและมีบุคลากรที่มีศักยภาพ ทั้งนี้ การบินไทย มุงมั่นจะพั นาโครงการดังกลาวใหเกิดผลสําเร็จขึ้นอยางเปน รูปธรรม เพือ่ ทีจ่ ะรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการบิน ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และเอื้อใหเกิดการพั นาไปสูงาน บริการดานอื่นๆ อาทิ ธุรกิจบริการภาคพื้น ธุรกิจคลังสินคา และการขนสงสินคา สุดทายนี้ ดิ ันและฝายบริหาร และพนักงานการบินไทย ขอขอบพระคุณทานผูมีอุปการคุณทุกทาน ที่ใหการสนับสนุน การบินไทยดวยดีเสมอมา จึงขอใหมั่นใจวา ฝายบริหาร และพนักงานมีเปาหมายรวมกัน ที่จะทําใหการบินไทยเปน สายการบินอันดับ 1 ใน 5 ของโลกอยางยั่งยืน

(นางอุษ ย

ง ิง ก )

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ห น ยธุรกิจบร�การการบิน รักษาการกรรมการ ูอําน ยการ ห 

4

รายงานประจําป 2559


บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

5


นโยบายและภาพรวม

การประกอบธุรกิจ ความเปนมาของบริษัทฯ

รัฐบาลไทยในป 2503 ไดจดั ตัง้ บริษัท การบินไทย จํากัด เพือ่ ใหประเทศไทย มีสายการบินแหงชาติที่ ใหบริการในระดับสากล โดยการรวมทุนระหวาง บริษัท เดินอากาศไทย จํากัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียนแอรไลน ซิสเต็ม มีวัตถุประสงคแรกเริ่มเพื่อดําเนินธุรกิจการบินระหวางประเทศ โดย บริษัทฯ ไดรับการสนับสนุนทางดานการบริหาร และดานเทคนิค จากสายการบินสแกนดิเนเวียนแอรไลน ซิสเต็ม


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2503 บริษัทฯ ไดจดทะเบียนเปนบริษัท จํากัด ดวยทุนจดทะเบียนแรกเริ่ม 2 ลานบาท มีบริษั ท เดินอากาศไทย จํากัด ถือหุนรอยละ 0 และสายการบิน สแกนดิเนเวียนแอรไลน ซิสเต็ม ถือหุนรอยละ 30 ของทุน จดทะเบียน การดําเนินการของบริษัทฯ ประสบผลสําเร็จดวยดี หลังการ กอตั้งในวันที่ 30 มีนาคม 2520 สายการบินสแกนดิเนเวียน แอรไลน ซิสเต็ม ไดโอนหุน ที่มีอยูทั้งหมดใหแก บริษั ท เดินอากาศไทย จํากัด ทําใหการรวมทุนสิน้ สุดลง และบริษัทฯ ไดทําการเพิ่มทุนโดยมีกระทรวงการคลังเขาเปนผูถือหุน ตอมาเมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2531 รัฐบาลในสมัยนายกรัฐมนตรี ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดรวมกิจการการบิน ภายในประเทศที่บริษั ท เดินอากาศไทย จํากัด ใหบริการ เขากับกิจการของบริษัทฯ ตามมติคณะรัฐมนตรีฝา ยเศรษฐกิจ สงผลใหเงินทุนจดทะเบียนของบริษั ทฯ เพิ่มขึ้นเปน 2 230 ลานบาท โดยมีกระทรวงการคลังเปนผูถือหุนรายใหญ จากการขยายตัวของธุรกิจอยางตอเนื่อง บริษั ทฯ ไดเขา จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 19 กรก าคม 2534 โดยไดแปลงกําไรสะสมใหเปนทุนของ บริษั ทฯ ทําใหทุนจดทะเบียนเพิ่มขึ้นเปน 13 000 ลานบาท และไดทําการเพิ่มทุนใหมอีกจํานวน 1 000 ลานบาทในป 2535 และ 3 000 ลานบาท ในป 2546 และ 4 3 09 6 0 บาท ในป 2553

เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ ไดจดั ตัง้ บริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด ดวยทุนจดทะเบียน 1 00 ลานบาท ชําระ แลวรอยละ 100 เปนเงิน 1 00 ลานบาท โดยมีบริษัทฯ ถือ หุนรอยละ 100 สายการบินไทยสมายล ไดเริ่มดําเนินการบิน ตั้งแตวันที่ 10 เมษายน 255 ดวยรหัสสายการบิน W โดยทําการบินจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งในชวงแรก ทําการบินเสนทางภายในประเทศ ทัง้ หมด 10 เสนทาง ตอมา เมื่อวันที่ สิงหาคม 255 สายการบินไทยสมายล ไดเพิ่ม การใหบริการจากทาอากาศยานดอนเมือง โดยทําการบิน เ พาะเสนทางภายในประเทศ 3 เสนทาง และตั้งแตวันที่ 25 ตุลาคม 255 สายการบินไทยสมายล ไดเพิ่มการใหบริการ ในเสนทางระหวางประเทศ

ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษั ทฯ มีทุนจดทะเบียน 26 9 9 009 500 บาท มีทุนชําระแลว 21 2 19 1 0 บาท มีกระทรวงการคลังและธนาคารออมสินถือหุนคิดเปนรอยละ 53 16 สวนที่เหลือรอยละ 46 4 ถือหุนโดยประชาชนทั่วไป ทั้ ง ในประเทศและต า งประเทศ ซึ่ ง รวมถึ ง พนั ก งานของ บริษัทฯ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สายการบินไทยสมายล อํานวย ความสะดวกใหแกผูโดยสารโดยใหบริการทั้งทาอากาศยาน สุ ว รรณภู มิ แ ละท า อากาศยานดอนเมื อ ง โดยมี เ ที่ ย วบิ น ระหวางประเทศและภายในประเทศบริการจากทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ 20 เสนทาง และเที่ยวบินภายในประเทศบริการ จากทาอากาศยานดอนเมือง 3 เสนทาง

จากบริบทแรกในการสรางธุรกิจการบินที่ไดสงั่ สมประสบการณ และกลยุทธในการบริหารองคกรจนสามารถเพิ่มทุน และ สามารถจดทะเบียนเขา ตลาดหลัก ทรัพ ย ป จ จุ บั น บริ ษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนสายการบินแหงชาติ ของประเทศไทย มีสถานะเปนรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวง คมนาคม ประกอบธุรกิจการบริการขนสงทางอากาศทั้ง ภายในประเทศและระหวางประเทศ ณ สํานักงานใหญที่ กรุงเทพมหานคร โดยมีฐานปฏิบัติการบินที่ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ เปนศูนยกลางของเครือขายการขนสง ประกอบ ด ว ยการให บ ริ ก ารขนส ง ทางอากาศ ได แ ก การขนส ง ผูโดยสาร การขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ และมีธุรกิจที่ เกี่ยวของ คือ บริการคลังสินคา บริการลูกคาภาคพื้น บริการ อุปกรณภาคพืน้ ครัวการบิน และบริการซอมบํารุงอากาศยาน

วิสัยทัศน (Vision)

เปนสายการบินที่ลูกคาเลือกเปนอันดับแรก ใหบริการดีเลิศ ดวย “เสนหความเปนไทย” The First Choice Carrier with Touches of Thai การบินไทย มุงมั่นที่จะเปนสายการบินที่ลูกคาเลือกใชบริการ เปนอันดับแรก ดวยการสรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา ให เ หนื อ ความคาดหมาย และสร า งความผู ก พั น ที่ ยั่ ง ยื น ระหวางบริษั ทฯ กับลูกคา โดยการสรางประสบการณการ เดินทางที่ราบรื่นและประทับใจดวยเอกลักษณความเปนไทย ใหแกลูกคาทุกคนอยางตอเนื่อง ดวยบริการที่ดีเลิศและ สมํ่าเสมอ ( onsistency o Service xce ence) ในทุกจุด สัมผัสของการใหบริการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

7


พันธกิจ (Mission)

พันธกิจหลักของบริษั ทฯ ประกอบดวย พันธกิจตอลูกคา ผูถือหุน พนักงาน และสังคม ดังนี้ ใหบริการขนสงทางอากาศอยางครบวงจรทั้งภายในและ ระหวางประเทศ โดยมุง เนนในเรือ่ งมาตรฐานความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และการบริการทีม่ คี ณุ ภาพดวยเอกลักษณ ความเปนไทย เพื่อสงมอบผลิตภัณฑที่มีคุณคาและความ นาเชื่อถือสูง รวมทั้งเสริมสรางความประทับใจและความ สัมพันธที่ดีกับลูกคา มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามมาตรฐานสากล เพื่อสราง การเติบโตอยางยั่งยืนใหแกองคกรและสรางผลตอบแทน จากการลงทุนที่สูงใหแกผูถือหุน เปนองคกรแหงการเรียนรูที่สรางความแข็งแกรงใหกับ พนักงาน เพื่อใหทํางานไดอยางเต็มศักยภาพ ตระหนักถึง การใหความสําคัญแกลูกคา เสริมสรางขีดความสามารถ ทักษะ และความรับผิดชอบ ตลอดจนเพิ่มพูนความผูกพัน ตอองคกร ชวยเหลือ สงเสริม และแสดงความรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอม ในฐานะเปนสายการบินแหงชาติ ทัง้ นี้ ตองดําเนินการภายใตการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ตามหลัก ธรรมาภิบาล

คุณคาหลัก (Core Values)

เพื่อใหบริษั ทฯ สามารถเติบโตอยางแข็งแกรงและยั่งยืน และสามารถแขงขันไดในสภาวะแวดลอมทางธุรกิจที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว บริษั ทฯ สงเสริมและยึดมั่นใน คุณคาหลักสําคัญ 3 ประการ ไดแก 1 มุงเนนการสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา ( usto er Satis action) 2 ใหการบริการระดับโลก (Wor d ass Services) 3 สรางคุณคาในทุกมิติ ( a ue reation)

กลยุทธ

ในป 255 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) (บริษัทฯ) ประสบปญหาเรือ่ งความสามารถในการแขงขันลดลง มีจาํ นวน เสนทางบินทีม่ ผี ลประกอบการขาดทุนมากกวาทีม่ กี าํ ไร ฝูงบิน มีแบบเครื่องบินหลากหลายทําใหมีตนทุนในการบํารุงรักษา สูงกวาคาเ ลี่ยอุตสาหกรรม การบริหารจัดการตน ทุนใน ภาพรวมไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร การบริหารจัดการและ พั นาบุคลากรยังไมเหมาะสม ประกอบกับสภาวะการแขงขัน ของธุรกิจการบินในภูมิภาคมีความรุนแรง และเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว จึงทําใหบริษั ทฯ ประสบปญหาขาดทุนอยาง ตอเนื่อง และยังไมสามารถฟนตัว คณะกรรมการและฝาย บริหารของบริษัทฯ จึงไดรวมกันพิจารณากําหนดแผนปฏิรูป องคกรระยะ 3 ป (พ ศ 255 -2560) โดยมีเปาหมายในการ 8

รายงานประจําป 2559

ลดการขาดทุนใหไดอยางรวดเร็ว และสรางความแข็งแกรง ในการแขงขันเพื่อใหบริษัทฯ สามารถดําเนินการภายใตการ เปลีย่ นแปลงของอุตสาหกรรมการบินไดอยางเติบโตและยัง่ ยืน

แผนปฏิรูประยะที่ 1 (พ.ศ. 2558)

แผนปฏิรูประยะที่ 1 เริ่มดําเนินการในป 255 ประกอบดวย กลยุทธหลัก 6 กลยุทธ 21 แผนงานหลักทีส่ อดคลองกัน โดยมี วัตถุประสงคเพื่อลดการขาดทุนใหไดอยางรวดเร็ว 6 กลยุทธ ดังกลาวประกอบดวย 1 กลยุทธการปรับปรุงเครือขายเสนทางบิน 2 กลยุทธการปรับปรุงฝูงบิน 3 กลยุทธการพาณิชย 4 กลยุทธการปรับปรุงการป ิบัติการและตนทุน 5 กลยุทธการปรับปรุงการบริหารทรัพยากรบุคคล 6 กลยุทธการบริหารจัดการบริษั ทในเครือและกลุมธุรกิจ ของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดเรงดําเนินการตามแผนปฏิรูป ระยะที่ 1 โดยปด สถานีและลดเที่ยวบินที่ไมทํากําไร ปลดประจําการเครื่องบิน ที่มีอายุการใชงานสูงเกินอายุเ ลี่ยของอุตสาหกรรม เพื่อลด แบบและชนิดของเครื่องบินใหนอยลง รวมทั้งลดคาใชจาย ดานบุคลากร และคาใชจายอื่นที่เกี่ยวของกับการปดสถานี และลดเที่ยวบิน เรงขายเครื่องบินที่ปลดระวาง จัดทําตัวชี้ผล การปฏิบัติงาน ( PI) เพื่อจะใหผลตอบแทนที่สอดคลองกับ ผลการปฏิบัติงาน

แผนปฏิรูประยะที่ 2 (พ.ศ. 2559)

ป 2559 บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูประยะที่ 2 ซึ่ง ประกอบดวยกลยุทธหลัก 4 กลยุทธ และ 20 แผนงานหลักที่ สอดคลองกัน โดยบางแผนงานเปนการดําเนินการตอเนือ่ งจาก แผนปฏิรูประยะที่ 1 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความ แข็งแกรงในการแขงขัน (Strengt Bui ding) ซึ่ง 4 กลยุทธ ดังกลาวประกอบดวย การหารายไดที่ Aggressive การลด ค าใช จ  ายและเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การสร าง a abi ity เพื่อความยั่งยืน และการสรางความเปนเลิศในการบริการ ลูกคา บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูประยะที่ 2 โดย ปรับปรุงระบบหลักที่เปนรากฐาน (Foundation) ในการ ดําเนินการของบริษัทฯ เพื่อเสริมสรางศักยภาพของบริษัทฯ ไดแก วางระบบบริหารเครือขายการบิน เพือ่ ใหบริษัทฯ สามารถ สร า งเครื อ ข า ยการบิ น ที่ ทํ าให ท  า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ กลายเปนศูนยกลางการบินของภูมภิ าค ระบบบริหารการจัดหา รายได เพื่อพั นาประสิทธิภาพในการหารายได ปรับปรุง ระบบการขายพาณิชยอิเล็กทรอนิกส อีกทั้งไดปรับปรุงการ บริการ เพื่อเสริมสรางความเปนเลิศในการใหบริการ โดยยก ระดับการใหบริการ ผลิตภัณฑ และอาหารที่ใหบริการในชั้น ธุรกิจ รวมถึงปรับปรุงกระบวนการการทํางานของฝายตางๆ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพใหมากขึน้ และลดตนทุนการดําเนินการ


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

เชน ปรับปรุงกระบวนการบริการในชัน้ ประหยัด กระบวนการ การทํางานของหนวยธุรกิจพาณิชยสินคาและไปรษณียภัณฑ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ บริหารตนทุน และกํากับดูแลคาใชจา ย อยางเขมงวด และมีการกําหนดคาตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานใหสอดคลองกับผลการดําเนินงานตามแผนปฏิรปู และเตรียมคาตอบแทนใหพนักงานของหนวยงานที่สามารถ ลดคาใชจายที่ไมใชคาใชจายนํ้ามัน ทั้งนี้ การดําเนินการตาม แผนปฏิรปู มีการกํากับดูแลอยางตอเนือ่ งและใกลชดิ โดยคณะ กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปองคกร ผานสํานัก บริหารการปฏิรูปบริษั ทฯ โดยมีการติดตามการดําเนินงาน รายสัปดาห และคณะกรรมการบริษัท บริษัทฯ ติดตามผล การดําเนินการทุกเดือน

แผนปฏิรูประยะที่ 3 (พ.ศ. 2560)

การดําเนินการแผนปฏิรปู ระยะที่ 3 (พ ศ 2560) มีวตั ถุประสงค เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน (Sustainab e ro t ) และกลับ

มาทํากําไรอยางยั่งยืนดวย โดยจะมุงเนนเรื่องการหารายได จากการขนสงผูโดยสาร การบริหารจัดการหนวยธุรกิจ ไดแก การซอมบํารุงอากาศยาน การใหบริการภาคพื้น ครัวการบิน การบริการขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ อีกทั้งจะตอง เรงขายเครื่องบินที่ปลดประจําการแลว และบริหารจัดการ ทรัพยสนิ ที่ไมมคี วามจําเปนในการถือครองทัง้ อสังหาริมทรัพย ในประเทศและตางประเทศ ในการดําเนินการแผนปฏิรูปป 2560 จะเปนสวนหนึ่งของแผนยุทธศาสตร 5 ป ของบริษัทฯ และไดมกี ารปรับปรุงแผนปฏิรปู ใหมคี วามเหมาะสม โดยปรับ กลยุทธเปน 6 กลยุทธ และ 16 แผนงานหลัก โดยแบงเปน แผนปฏิรูปที่ดําเนินการตอเนื่องจากป 2559 จํานวน 12 แผน และแผนดําเนินการสําคัญของแผนยุทธศาสตรที่ตองติดตาม อยางใกลชิดจํานวน 4 แผน ทั้งนี้ กลยุทธทั้ง 6 กลยุทธ มีดังนี้ 1 กลยุทธพั นาเครือขายการบินที่แขงขันไดและทํากําไร และลดความซับซอนของฝูงบิน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

9


2 กลยุทธเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันและเสริมสราง รายได 3 กลยุทธสรางความเปนเลิศในการใหบริการ (Service Ring) 4 กลยุ ท ธ มี ต  น ทุ น ที่ แ ข ง ขั น ได และการดํ า เนิ น การมี ประสิทธิภาพ 5 กลยุทธสรางวั นธรรมองคกรที่สนับสนุนความยั่งยืน และพั นาบุคลากรใหมีคุณภาพดีเยี่ยม 6 กลยุทธบริหารบริษั ทในเครือและกลุมธุรกิจ และพั นา กลยุทธธุรกิจใหมเพื่อความยั่งยืน

การเปลี่ยนแปลงลักษณะการประกอบธุรกิจ ของปที่ผานมา

• การบริหารจัดการดานการเงิน - ในป 2559 บริษั ทฯ ไดบริหารจัดการดานการเงินแบบ องครวม โดยพิจารณาในดานการบริหารเงินสด โครงสราง เงินกูยืม ตลอดจนการบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันอยาง 10 รายงานประจําป 2559

มีความคลองตัวและสอดคลองกับสถานการณราคานํ้ามัน ในตลาดโลก - ดานการบริหารเงินสด บริษั ทมีการบริหารกระแสเงินสด คงเหลือใหอยูในระดับที่เหมาะสม โดยพิจารณาประกอบ กับวงเงินสินเชื่อระยะสั้นที่มีอยูกับสถาบันการเงินตางๆ มี การกระชับจํานวนบัญชีที่ใชงานจริงๆ เทานัน้ ทําใหเงินสด โดยเ ลี่ ย ของบริ ษั ท ลดลงสามารถนํ า ไปชํ า ระคื น หนี้ ระยะสั้นและลดคาใชจายดอกเบี้ยของบริษัทได - บริษัทฯ มีการปรับโครงสรางเงินกูย ม ื โดยปรับใหสอดคลอง กับรายไดและคาใชจายหลากหลายสกุลเงินที่มีมากกวา 50 สกุลเงิน โดยมุงเนนการหลีกเลี่ยงการกอหนี้หรือเพิ่ม คาใชจา ยในสกุลเงิน S เนือ่ งจากบริษัทฯ มีภาระคาใชจา ย เปน S มากอยูแลว บริษั ทฯ ไดดําเนินการบริหาร ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนแบบ สมดุล ( atura Hedging) คือจัดการใหรายจายหรือการ ชําระคืนหนีเ้ ปนสกุลเงินเดียวกันกับรายไดมากทีส่ ดุ โดยมี


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

การปรับโครงสรางเงินกู ใหเหมาะสมกับกระแสเงินสด คงเหลือของแตละสกุลเงิน โดยใชเครื่องมือทางการเงิน ไดแก ross urrency S a ( S) และ หรือ Interest Rate S a (IRS) ตามความเหมาะสมของตลาดโดย พิจารณาสกุลเงินที่เปนประโยชนแกบริษัทฯ มากที่สุด - การจัดการดานการเงินเหลานีม ้ ผี ลทําใหคา ใชจา ยดอกเบีย้ ของบริษัทฯ ลดลง 10 จาก 5 9 พันลานในป 255 เปน 5 3 พันลานในป 2559 ในขณะที่เงินกูเ ลี่ยของบริษัทฯ ลดลง 4 จาก 190 พันลานบาทเปน 1 2 พันลานบาท หรือตนทุนทางการเงิน ( ost o Fund) ของบริษั ทฯ ลดลง 0 40 • การวางระบบบริหารเครือขายเสนทางบิน ดําเนินการเสร็จ ตามแผน ทําใหจัดทําตารางบิน (TPI) เสร็จ 4 ดูลวงหนา ดวยระบบใหม และวางโครงสรางตารางเทีย่ วบินสนับสนุน การเปนศูนยกลางการบิน (Bank Structure) ทีส่ วุ รรณภูมิ ใหมเพื่อใหเปนศูนยกลาง (Hub) หลักของภูมิภาค • ในป 2559 บริษัทฯ ไดเพิม่ เครือขายเสนทางบินและความถี่ ไปยุโรปและตะวันตก (เตหะราน มอสโคว ภูเก็ตแฟรงคเฟรต ) และเพิม่ ความถี่ไป ลอนดอน บรัสเซลส ออสโล • การวางระบบบริหารราคาดําเนินการแลวเสร็จเชนกัน ทําใหสามารถเปรียบเทียบราคาขายบัตรโดยสารของ บริษัทฯ กับสายการบินคูแขง และปรับปรุงราคาไดอยาง รวดเร็ว และอยูระหวางเรงฝกอบรมบุคคลากรที่จะดําเนิน การระบบบริหารรายไดใหม เพื่อใหมีความชํานาญเพิ่มขึ้น และใชประโยชนจากระบบบริหารราคาขายไดเต็มที่ • การยกระดับการใหบริการ ผลิตภัณฑ และอาหารที่ ให บริการในชั้นธุรกิจ เปนไปตามแผน และไดรับการตอบรับ จากผูโดยสารอยางดี ขณะนี้อยูระหวางทยอยเปลี่ยนการ บริการในชัน้ ธุรกิจใหเปนไปตามกระบวนการบริการแบบใหม • บริษัทฯ ไดรบั มอบเครือ่ งบินแบบแอรบสั A350-900 XWB ใหม จํานวน 2 ลํา ที่มีความสะดวกสบายและทันสมัย ซึ่ง เบือ้ งตนไดทาํ การทดลองบินเสนทาง กรุงเทพฯ-เชียงใหม และกรุงเทพฯ-ภูเก็ต ระหวางวันที่ 4-15 กันยายน 2559 และต อ มาจึ งได นํ า เข า ประจํ า เส น ทางกรุ ง เทพฯ-โรม กรุงเทพฯ-มิลาน และกรุงเทพฯ-สิงคโปร • บริษัทฯ ไดจดั หาระบบเชือ่ มโยงขอมูลการบริการในเทีย่ วบิน การบริการภาคพื้นและฝายชาง เพื่อใหสามารถแกไข ป ญ หาการบริ ก ารและพิ จ ารณาชดเชยให ผู  โ ดยสารที่ ประสบปญหาไดอยางรวดเร็วและเหมาะสม สําหรับการขาย ผานเว็บไซต บริษัทฯ ไดปรับปรุงระบบพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส อยางตอเนือ่ ง และมีแผนทีจ่ ะนําระบบใหมมาใชในป 2560 • การปรับปรุงกระบวนการทํางานใหมปี ระสิทธิภาพ ประสบ ความสําเร็จที่หนวยธุรกิจสินคาและไปรษณียภัณฑ ทําให คาใชจายในการดําเนินการของหนวยธุรกิจดังกลาวลดลง

อยางตอเนือ่ ง และจะไดขยายผลตอไปยังฝายบริการลูกคา ภาคพื้น ฝายบริการอุปกรณภาคพื้น และฝายอื่นๆ ตอไป นอกจากนี้ ในป 2559 บริษัทฯ ยังไดพั นาและปรับปรุงการ ดําเนินงานดานอื่นๆ ดังนี้ • การพัฒนาและปรับปรุงการบริการในทุกจุดสัมผัส ตาม Service Ring บริษั ทฯ มุงบูรณการการบริการในทุกจุดสัมผัสสูความเปน เลิศอยางครบวงจร เพื่อใหการบริการในทุกจุดบริการตั้งแต ตนจนจบกระบวนการเดิน ทางของผูโดยสารเปนไปอยาง ราบรื่น ไรรอยตอ สรางประสบการณที่ประทับใจใหกับ ผูโดยสาร นอกจากนี้ ยังมีองคความรูการใหบริการลูกคา ของทุกจุดบริการ ที่สามารถใชเปนมาตรฐานการใหบริการ รวมถึงมีกลไกเชือ่ มตอการประสานงานของทุกจุดบริการเพือ่ ไขขอของใจ และแกปญหาใหกับผูโดยสารไดตรงประเด็น รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา และเพื่อตอบสนองความตองการ ของผูโดยสารในยุคดิจิตอล โดยบริษั ทฯ ไดเพิ่มชองทาง การจายเงินในเว็บไซตใหมากขึ้น เพิ่มชองทางการเช็กอิน ดวยตนเองที่โรงแรมโนโวเทล สุวรรณภูมิ (จะขยายตอไป ในโรงแรมในเครือโนโวเทล) เพิ่มเคานเตอร Bag ro ที่ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สําหรับลูกคาที่เช็กอินดวยตนเอง (e-c eck-in) และตั้งแตเดือนกรก าคม 2559 มอบบริการ Free Wi-Fi จํานวน 20 MB สําหรับลูกคาชั้นหนึ่ง และจํานวน 5 MB สํ า หรั บ ลู ก ค า ชั้ น ธุ ร กิ จ บนเครื่ อ งบิ น แบบแอร บั ส A3 0- 00 และแอรบัส A350-900 • การอบรมพนักงานตอนรับบนเครื่องบินแบบใหม บริษัทฯ ไดจดั ระบบการฝกอบรมพนักงานตอนรับบนเครือ่ งบิน รุนใหม โดยเชื่อมโยงหลักการฝกอบรมแบบ o etency Base Training และพื้นฐานความรูดาน Sa ety Security และ Service เพื่อสรางมโนทัศนดานการบริการที่มุงเนน usto er x erience Manage ent รวมถึงการสราง จิตสํานึกดานการใหบริการที่มุงเนนบทบาทและหนาที่ในการ ใหบริการที่มีความปลอดภัยและมีคุณภาพ รวมถึงการสราง ความภาคภูมใิ จในการเปนพนักงานตอนรับฯ ของบริษัทฯ ทีม่ ี สวนผลักดันใหบริษัทฯ มีศักยภาพในการแขงขันระดับโลก • New Business Class Service บริษั ทฯ ไดจัดทําแผนปฏิรูปบริษั ทฯ ดานการปรับปรุงการ บริ ก ารในชั้ น ธุ ร กิ จ แบบใหม โดยเป น การปรั บ ทั้ ง ระบบ บุคลากร อาหารและเครื่องดื่ม โดยพื้นฐานแนวคิดที่ทําให การบริการแตกตาง มีตนทุนที่เหมาะสม และตรงตามความ ตองการของลูกคา เพือ่ ใหสามารถแขงขันได โดยไดเริม่ ดําเนิน การตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2559 ในเที่ยวบินกรุงเทพฯบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 11


นาริตะ-กรุงเทพฯ และไดพจิ ารณาขอมูลที่ไดรบั จากลูกคาเพือ่ นํามาปรับปรุงการบริการมาโดยตลอด ในปจจุบัน สามารถ ดําเนินการไดในเที่ยวบินในยุโรป ญี่ปุน ตะวันออกกลาง ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด • การปลดระวางเครื่องบิน ในการจัดหา ปลดระวาง และจําหนายเครื่องบิน เครื่องยนต อะไหล และอุปกรณการบินหมุนเวียน บริษัทฯ ไดพิจารณา ความเหมาะสมสอดคลองกับสภาวะตลาดเครื่องบิน แนวโนม อุตสาหกรรมการบินโลก แผนการตลาดของบริษั ทฯ และ ศักยภาพของฝูงบินปจจุบนั ทัง้ นี้ ในป 2559 บริษัทฯ ไดรบั มอบ เครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 จํานวน 2 ลํา และได รับอนุมัติใหปลดระวางเครื่องบินเชาแบบโบอิ้ง -200 จํานวน 2 ลํา ป 2559 บริษั ทฯ ไดดําเนินการขายเครื่องบินและสงมอบ เรียบรอยแลวจํานวน 5 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบเอทีอาร 2 จํานวน 2 ลํา พรอมเครื่องยนตอะไหล เครื่องบินแบบแอรบัส A330-300 จํานวน 2 ลํา และเครื่องบินแบบแอรบัส A340500 จํานวน 1 ลํา สําหรับเครื่องบินที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติขายแลว และอยู ในขั้นตอนการจัดทําขอตกลงและ สัญญาซื้อขาย ไดแก เครื่องบินแบบแอรบัส A330-300 จํานวน 3 ลํา นอกจากนี้ ยังมีเครือ่ งบินทีร่ อขาย 22 ลํา ไดแก เครือ่ งบินแบบ แอรบสั A300-600R จํานวน 1 ลํา แอรบสั A340-500 จํานวน 3 ลํา แอรบัส A 340-600 จํานวน 6 ลําแบบโบอิ้ง 4 -400 จํานวน 2 ลํา เครื่องบินขนสงสินคาแบบ โบอิ้ง 4 -400B F จํานวน 2 ลํา และรวมถึงเครือ่ งบินที่ไดรบั อนุมตั ใิ หทาํ การขาย ในป 255 แตผูซื้อขอยกเลิกการซื้อขาย อีกจํานวน ลํา คือ เครือ่ งบินแบบแอรบสั A330-300 จํานวน 4 ลํา และเครือ่ งบิน แบบโบอิ้ง 3 -400 จํานวน 4 ลํา ขณะนี้อยูระหวางการ ดําเนินการขายใหม • โครงการรวมใจจากองคกร (MSP) บริษัทฯ มีโครงการรวมใจจากองคกร MSP สําหรับพนักงาน ทุกระดับ ที่มีอายุครบ 4 ปบริบูรณและอายุงานครบ 15 ป ขึ้นไป ทั้งนี้ ไมรวมนักบินและพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน โดยมีพนักงานผานการอนุมัติใหออกตามโครงการจํานวน ทั้งสิ้น 2 0 คน ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 1 มิถุนายน 2559 ครั้งที่ 2 วันที่ 1 กรก าคม 2559

12 รายงานประจําป 2559

จํานวน 11 คน จํานวน 269 คน

รางวัลที่บริษัทฯ ไดรับ

ในป 2559 บริษัทฯ ไดรับรางวัลในดานตางๆ อาทิ

รางวัลสายการบินยอดเยี่ยม

รางวัลสายการบินยอดเยี่ยมแหงเอเชียตะวันออกเ ียงใต จาก TT Trave A ards 2016 รางวัลสายการบินยอดเยี่ยมอันดับที่ 1 จากสกายแทรกซ 2 รางวัล ไดแก - รางวัลอันดับที่ 1 ประเภทสายการบินที่มีการปรับปรุง คุณ ภาพการบริการดีขึ้น มากที่สุด (Wor d s Most I roved Air ine) - รางวัลอันดับที่ 1 ประเภทสายการบินที่ใหบริการสปา เลาจนยอดเยี่ยม (Wor d s Best Air ine ounge S a) การจัดอันดับจากสกายแทรกซ ใหเปน 1 ใน 3 ของ สายการบินที่ใหบริการยอดเยี่ยม 3 ประเภท ไดแก - สายการบิ น ที่ ใ ห บ ริ ก ารอาหารสํ า หรั บ ชั้ น ประหยั ด ยอดเยีย่ ม (Best cono y ass nboard atering) - สายการบินที่มีพนักงานใหบริการยอดเยี่ยมของเอเชีย (Best Air ine Sta Service in Asia) - สายการบิน ที่ ใหบริการภาคพื้น ที่สนามบินยอดเยี่ยม (Wor d s Best Air ort Services) รางวัล “2016 Peo e s oice A ards T ai and oted by inese Tourists” ประเภทสายการบินที่นักทองเที่ยว จีนชื่นชอบที่สุดประจําป 2559 (To oice A ard Air ine ategory) จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย รางวัล Best eck-in Service A ard-Waiting Ti e in eck-in ueue - Airines จากทาอากาศยานนานาชาติ อ งกง

รางวัลดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย

รางวัลสํานักงานสีเขียว จากกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม รางวั ล สถานประกอบกิ จ การต น แบบดี เ ด น ด า นความ ปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน ระดับประเทศประจําป 2559 จากกระทรวงแรงงาน สําหรับ ฝายการพาณิชยสินคาและไปรษณียภัณฑ และอาคาร ศูนยปฏิบัติการ รางวัลสถานทีด่ เี ดนทีเ่ อือ้ ตอคนพิการ จากกระทรวงพั นา สังคมและความมั่นคงของมนุษย

รางวัลอื่นๆ

รางวัลปฏิทินดีเดนรองชนะเลิศ ชนิดปฏิทินแขวน ประเภท สงเสริมเอกลักษณและศิลปวั นธรรมของชาติ ในชื่อชุด “A irc e o ourney” จากการประกวด ปฏิทินดีเดน รางวัล “สุริยศศิธร” ครั้งที่ 36 ประจําป 2559 จัดโดย สมาคมนักประชาสัมพันธแหงประเทศไทย รางวัลรายงานความยัง่ ยืน (Sustainabi ity Re ort A ard) ประเภทดีเดน จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

โครงสรางการถือหุนของบริษัทฯ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 13


ลักษณะ

การประกอบ ธุรกิจ


ลก

ะการประกอบธุรกิจ

โครงสรางรายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย รายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ใน 3 ปที่ผานมา มีดังนี ป ลานบา

รายได ากกิ การ นส คาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน คาระวางขนสงและไปรษณียภัณฑ รวมรายได ากกิ การ นส รายไดการบริการอื่นๆ(1) รวมรายได ากการ ายหรือการใหบริการ รายไดอื่น(2) รวมรายได หมายเหตุ

(1) (2)

ป รอยละ

ลานบา

ป รอยละ

ลานบา

14 060 1 5

16 10 3

152 4 1 651

92 9

154 1 23 601

11 6 4

64

11 5

60

9 5

3 134

1

51

15 522

9 64

รอยละ

60 11 6 4 6

รายไดการบริการอืน่ ๆ ประกอบดวย รายไดจากหนวยธุรกิจและรายไดจากกิจการสนับสนุนอืน่ ๆ รายไดอนื่ ประกอบดวย ดอกเบีย้ รับ ผลกําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ และรายไดอนื่ ๆ

2559

2558

2557

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 15


ในฐานะทีบ่ ริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม และดํารงสถานะเปนสายการบิน แหงชาติ บริษั ทฯ ไดดําเนินกิจการดานการบินพาณิชยทั้ง เส น ทางบิ น ระหว า งประเทศและเส น ทางบิ น ในประเทศ ใหบริการเกี่ยวของกับการขนสงทางอากาศแบบครบวงจร โดยแบงการบริหารจัดการธุรกิจออกเปน 3 กิจการ ประกอบ ดวย กิจการขนสงทางอากาศ ( ore Business) หนวยธุรกิจ (Business nit) และกิจการอื่นๆ กิจการขนสงทางอากาศ ประกอบดวย บริการขนสงผูโ ดยสาร บริการขนสงสินคาพัสดุภัณฑและไปรษณียภัณฑ สวนหนวย ธุรกิจเปนกิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งโดยตรงกับการขนสง ประกอบดวย การบริการคลังสินคา การบริการลูกคาภาคพื้น การบริการ ลานจอดและอุปกรณภาคพื้น และครัวการบิน สําหรับกิจการ อืน่ ๆ เปนกิจการสนับสนุนการขนสง ประกอบดวย การบริการ ซอมบํารุงอากาศยาน การบริการอํานวยการบิน การจําหนาย สินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน การจําหนายสินคาที่ระลึก บริการเครือ่ งฝกบินจําลอง และการดําเนินงานของบริษัทยอย ทั้งหมด มีรายละเอียดดังนี้

กิจการขนสงทางอากาศ

กิ จ การขนส ง ทางอากาศถื อ เป น กิ จ การหลั ก ของบริ ษั ท ฯ ประกอบดวยการบริการขนสงผูโดยสาร บริการขนสงสินคา พัสดุภัณฑและไปรษณียภัณฑ โดยใหบริการขนสงในเสนทาง บินไปยังจุดบินตางๆ ทั้งแบบเที่ยวบินประจําและเที่ยวบินเชา เหมาลํา ครอบคลุมทัง้ เสนทางบินระหวางประเทศและภายใน ประเทศ

หนวยธุรกิจ

หนวยธุรกิจของบริษัทฯ มีความเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับกิจการ ขนสงและมีสวนสําคัญในการสนับสนุนใหการดําเนินธุรกิจ สายการบินเปนไปอยางราบรืน่ แตละหนวยธุรกิจมีการดําเนิน 16 รายงานประจําป 2559

งานที่สอดคลองกันอยางเปนระบบ เพื่อใหเครื่องบินสามารถ เดินทางจากสถานีตนทางถึงสถานีปลายทางตรงตามกําหนด เวลาที่ระบุในตารางบิน ดวยความสะดวก รวดเร็ว และ ปลอดภัย ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่จะชวยสรางความนาเชื่อถือ ใหแกบริษัทฯ พรอมทัง้ สรางความมัน่ ใจใหแกผใู ชบริการ ทัง้ นี้ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการขนสงมีรายละเอียดการให บริการดังนี้ ธุรกิจการบริการคลังสินคา (Cargo an ling Services) ใหบริการจัดการคลังสินคา ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ท า อากาศยานเชี ย งใหม ท า อากาศยานหาดใหญ และ ทาอากาศยานภูเก็ต โดยการดําเนินงานจัดการคลังสินคา ประกอบดวย การจัดการเก็บรักษาชัว่ คราวและการเคลือ่ นยาย สินคาทั่วไป สินคาที่ตองไดรับการดูแลพิเศษ เชน สินคาสด สัตวที่ยังมีชีวิต วัตถุมีคา และการใหบริการขนสงสินคาที่ ตองการควบคุมอุณหภูมิเปนพิเศษ เปนตน ธุรกิจการบริการลูกคาภาคพืน ( roun Cus o er Services) ใหบริการอํานวยความสะดวกโดยตรงกับผูโดยสารตั้งแตเขา มาสูทาอากาศยาน ผานขั้นตอนตางๆ จนเขาสูตัวอากาศยาน จากตัวอากาศยานสูภาคพื้น ในเที่ยวบินทั้งขาเขา-ขาออก โดยใหบริการแกผูโดยสารของบริษั ทฯ และผูโดยสารของ สายการบินลูกคา ธุรกิจการบริการอุปกรณภาคพืน ( roun ui en Services) ใหบริการที่เกี่ยวของกับอากาศยาน อํานวยความสะดวก บริเวณลานจอดอากาศยาน ใหกับบริษัทฯ และสายการบิน ลูกคา ใหเปนไปดวยความเรียบรอย มีความปลอดภัยสูงสุด พรอมทําการบินเขา-ออก ไดตรงเวลา


ลก

ธุรกิจครัวการบิน (Ca ering Services) ดําเนินการในการผลิตอาหารสําหรับบริการผูโดยสารทั้ง เที่ยวบินในประเทศและระหวางประเทศของบริษัทฯ รวมถึง อาหารสําหรับบริการผูโดยสารของสายการบินชั้น นําอื่นๆ พรอมทั้งดําเนินธุรกิจภาคพื้น ที่เกี่ยวของกับอาหาร เชน ภัตตาคาร ณ ทาอากาศยานนานาชาติ รานเบเกอรี่พัฟแอนด พาย (Pu Pie Bakery House) การใหบริการจัดเลี้ยงทั้ง ในและนอกสถานที่ และรานอาหารสวัสดิการพนักงาน

กิจการอื่นๆ

ในสวนของกิจการอื่นๆ ที่สนับสนุนการขนสง ไดแก ฝายชาง การบริการอํานวยการบิน การจําหนายสินคาปลอดภาษีบน เครือ่ งบิน การจําหนายสินคาทีร่ ะลึก และบริการเครือ่ งฝกบิน จําลอง โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

กิจการขนสงทางอากาศ

บริษัทฯ เปนสายการบินแหงชาติ ที่ใหบริการดานการขนสง ทางอากาศ เปนกิจการหลักซึง่ ไดพั นาการขนสงไปสูภ มู ภิ าค ตางๆ ของโลก ประกอบดวย กิจการขนสงผูโดยสาร กิจการขนสงสินคา พัสดุภัณฑและไปรษณียภัณฑ

ะการประกอบธุรกิจ

โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการดังนี้

กิจการขนสงผูโดยสาร

กิจการขนสงผูโดยสารมีเปาหมายในการพั นาตลาดและ เครือขายเสนทางบินอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถแขงขัน ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนขีดความสามารถและดําเนิน การพั นาทาอากาศยานสุวรรณภูมิใหเปนศูนยกลางการบิน (Hub) ที่สําคัญของภูมิภาค ลักษณะผลิตภัณ  หรือบริการ

ูงบิน องบริ ั

ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2559 บริ ษั ท ฯ และสายการบิ น ไทยสมายล มีจํานวนเครื่องบินที่ใชปฏิบัติการบินจํานวน 95 ลํา ประกอบดวยเครื่องบินพิสัยไกลที่ ใชทําการบินเสนทาง ขามทวีป จํานวน 3 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบแอรบัส A3 0- 00 แอรบัส A350-900 โบอิ้ง 4 -400 โบอิ้ง -200 R 300 R เครื่องบิน พิสัยกลางที่ ใชทําการบิน เสนทางภูมิภาค จํานวน 35 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบโบอิ้ง -200 300 แอรบัส A330-300 โบอิ้ง - และ เครื่องบินลําตัวแคบที่ใชทําการบินเสนทางระยะใกล จํานวน 22 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบโบอิ้ง 3 -400 และเครื่องบิน แบบแอรบัส A320-200

เครื่องบินที่ใ ในการปฏิบัติการบิน แบบ รอ บิน

แอรบัส A3 0- 00 แอรบัส A350-900 โบอิ้ง 4 -400 โบอิ้ง -200 R โบอิ้ง -300 R โบอิ้ง -300 โบอิ้ง -200 แอรบัส A330-300 โบอิ้ง โบอิ้ง 3 -400 แอรบัส A320-200 รม

จานวน ลา วน

ธนวา ม

6 2 10 6 14 6 6 1 6 2 20

วน

ธนวา ม

6 10 6 14 6 1 6 2 20

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 17


ในป 2559 บริษัทฯ ไดรับมอบเครื่องบินแบบแอรบัส A350900 จํานวน 2 ลํา เพื่อนํามาใชในเสนทางบินภูมิภาคและ เสนทางบินขามทวีป

การพั นา สน างบิน ล ุ บิน

ในป 2559 บริษัทฯ มีเปาหมายปรับปรุงเครือขายเสนทางบิน ตามแผนปฏิรูปการบินไทย เพื่อสรางความแข็งแกรงของ เครือขายเสนทางบินของบริษั ทฯ โดยดําเนินการปรับเวลา หรือแบบเครื่องบิน ใหเหมาะสมกับสภาพตลาดของแตละ จุดบิน รวมทั้งพั นาตลาด โดยเนนการปรับความถี่ของ เที่ยวบินในจุดบิน ที่มีศักยภาพ สรางความแข็งแกรงของ เครือขายเสนทางบินรอบๆ ประเทศไทย โดยเพิ่มจุดบินใหม และเพิ่มการใชประโยชนจากความรวมมือกับสายการบิน พันธมิตร เพื่อขยายเครือขายเสนทางบินใหครอบคลุมลูกคา ไดทกุ กลุม เปาหมาย เพิม่ ความคลองตัวในการปรับแผนตาราง การบินใหสอดคลองกับสภาวะความตองการในแตละ ดูกาล รวมทั้งตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงความตองการของการ เดินทางและสภาวะการแขงขัน รวมถึงเตรียมการเชื่อมโยง เครือข า ยเพื่ อ รองรั บ การเปดเสรีภ ายใตก รอบประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AS A cono ic o unity A ) อีกดวย

วันเสารสุดทายของเดือนมีนาคมของแตละป เปนไปตาม ข อ กํ าหนดของสมาคมขนส ง ทางอากาศระหว างประเทศ (Internationa Air Trans ort Association IATA) ทั้งนี้ ในแตละ ดูจะมีการกําหนดความถีข่ องเทีย่ วบิน ชนิดเครือ่ งบิน และตารางการบินไปยังจุดบินตางๆ ทีอ่ าจแตกตางกันตามการ เปลี่ยนแปลงของความตองการในแตละชวงเวลา ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2559 บริ ษั ท ฯ และสายการบิ นไทยสมายล มี เครือขายเสนทางบินใหบริการครอบคลุม จุดบิน ใน 32 ประเทศทั่วโลก โดยเปน 11 จุดบินภายในประเทศ (ไมรวม กรุงเทพมหานคร)

สน างบินภา น ร

บริษัทฯ ยังคงความรวมมือกับสายการบินนกแอรในเสนทาง บินรอง โดยบริษัทฯ มีเทีย่ วบินรหัสรวม ( ode S are F ig t) กับสายการบินนกแอรในเสนทางไปกลับ ดอนเมือง-รอยเอ็ด สงผลใหบริษั ทฯ สามารถจัดสงผูโดยสารจากตางประเทศ เขามาทองเทีย่ วในประเทศไทยไดอยางตอเนือ่ ง และครอบคลุม เมืองในภูมภิ าคอยางทัว่ ถึง ในสวนของสายการบินไทยสมายล ทําการบินทดแทนการบินไทย และทําการบินเสริมในจุดบินที่ เหมาะสม รวมทั้งขยายเสนทางบินใหครอบคลุมในภูมิภาค อาเซี ย น จี น และอิ น เดี ย เพื่ อ เสริ ม ความแข็ ง แกร ง ของ เครื อ ข า ยเส น ทางบิ น ของบริ ษั ท ฯ โดยทํ า การบิ น ภายใน ประเทศ รวม 10 เมือง ไปยังอุดรธานี อุบลราชธานี ขอนแกน เชียงใหม เชียงราย ภูเก็ต กระบี่ หาดใหญ สุราษฏรธานี และ นราธิวาส เสนทางภายในประเทศขามภาค คือ เชียงใหมภูเก็ต และทําการบินไปยังตางประเทศ รวม 10 เมือง ไดแก างซา งชิ่ง ปนัง มัณฑะเลย ยางกุง พุทธคยา พาราณสี ชัยปุระ เสียมราฐ และลัคเนา

บริษัทฯ ไดพั นาเทีย่ วบินภายในประเทศ โดยใหความสําคัญ กับจุดบินหลัก ขณะทีจ่ ดุ บินรองและจุดบินยอยบางจุด บริษัทฯ ไดรวมมือกับสายการบินพันธมิตร เพื่อรักษาสวนแบงการ ตลาด

นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได จั ด ทํ า ตารางบิ น เป น สองช ว ง ดู ประกอบดวย ตารางบิน ดูรอน (Su er Sc edu e) เริ่ม จากวันอาทิตยสดุ ทายของเดือนมีนาคมถึงวันเสารสดุ ทายของ เดือนตุลาคมของแตละป และตารางบิน ดูหนาว (Winter Sc edu e) เริ่มจากวันอาทิตยสุดทายของเดือนตุลาคมถึง

บริษัทฯ ทําการบินเสนทางระหวางประเทศทัง้ สิน้ 6 0 เทีย่ วบิน ตอสัปดาห โดยแบงเปน 2 เสนทางหลัก ไดแก เสนทางภูมภิ าค เอเชีย 53 เที่ยวบินตอสัปดาห ไปยัง 50 จุดบิน ใน 20 ประเทศ และเสนทางขามทวีป 133 เทีย่ วบินตอสัปดาห ไปยัง 1 จุดบิน ใน 12 ประเทศ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

18 รายงานประจําป 2559

บริษัทฯ ทําการบินจากกรุงเทพฯ ดวยความถี่ 13 เที่ยวบิน ตอสัปดาหดังนี้ ภาคเหนือ ไดแก เชียงใหม ภาคใต ไดแก ภูเก็ต กระบี่ และเกาะสมุย โดยมีการเสริมผลิตภัณฑและให บริการโดยสายการบินไทยสมายล ดวยความถี่ 3 เที่ยวตอ สัปดาห ทําการบินในเสนทางหลัก ไดแก กรุงเทพฯ-เชียงใหม กรุงเทพฯ-ภูเก็ต กรุงเทพฯ-กระบี่ และทําการบินทดแทน การบินไทย ในเสน ทางกรุงเทพฯ-เชียงราย กรุงเทพฯสุราษ รธานี กรุงเทพฯ-หาดใหญ กรุงเทพฯ-ขอนแกน กรุงเทพฯ-อุดรธานี กรุงเทพฯ-อุบลราชธานี เชียงใหม-ภูเก็ต และเสนทางอื่น ไดแก กรุงเทพ-นราธิวาส

สน างบินร ห าง ร


ลก

ะการประกอบธุรกิจ

สน างภูมิภาค อ บริ ษั ท ฯ ได ป รั บ แผนเครื อ ข า ยการบิ น ให ส อดคล อ งกั บ ยุทธศาสตรการพั นาเครือขายการบินใหประเทศไทยเปน ศูนยกลางการบินในภูมิภาคเอเชีย ครอบคลุม 50 จุดบิน ใน 20 ประเทศ โดยบริษัทฯ แบงเสนทางบินในภูมภิ าคเอเชียเปน 5 เสนทาง ไดแก เสนทางสายเหนือ เสนทางสายใต เสนทาง สายตะวันตก เสนทางสายตะวันออกกลาง และเสนทางสาย อินโดจีน เส นทางสายเหนือ เปนเสน ทางที่มีปริมาณผูโดยสารหนาแนน ทํากําไรสูงให บริษัทฯ อยางตอเนื่อง โดยบริษัทฯ มีจุดบินไปยัง 19 จุดบิน ใน 5 ประเทศ ดวยความถี่ 245 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก องกง โตเกียว (นาริตะและ าเนดะ) โอซากา นาโกยา ฟูกูโอกะ ซัปโปโร ไทเป โซล มะนิลา ปกกิ่ง ปูซาน เซี่ยงไ  กวางโจว คุนหมิง เซี้ยะเหมิน และเ ิงตู สําหรับจุดบินของสายการบินไทยสมายล ไดแก างซา งชิ่ง เส นทางสายใต เปนเสนทางที่มีการแขงขันสูงจากการที่สายการบินตนทุนตํ่า ทําการบินดวยความถีส่ งู หลายสายการบิน บริษัทฯ มีจดุ บินให บริการ 5 จุดบิน ใน 3 ประเทศ ดวยความถี่ 1 เที่ยวบินตอ สัปดาห ไดแก สิงคโปร กัวลาลัมเปอร เดนปาซาร และ จาการตา สําหรับจุดบินของสายการบินไทยสมายล ไดแก ปนัง

เส นทางสายตะวันตก เสนทางนี้มีปริมาณผูโดยสารหนาแนนสูง มีการเจริญเติบโต ที่ดี โดยเ พาะตลาดหลัก ไดแก อินเดีย ในขณะเดียวกัน การแขงขันทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากสายการบินจาก อินเดียมีการพั นาอยางรวดเร็ว และมุงเขาสูประเทศไทย เชนเดียวกัน บริษั ทฯ มีจุดบินใหบริการ 1 จุดบิน ใน 6 ประเทศ ดวยความถี่ 13 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก เดลี มุมไบ กัลกัตตา ไ เดอราบาด บังคาลอร ธากา โคลัมโบ กาฐมาณฑุ ยางกุง เจนไน การาจี อิสลามาบัด ลา อร สําหรับจุดบินของสายการบินไทยสมายล ไดแก มัณฑะเลย ยางกุง พุทธคยา พาราณสี ชัยปุระ ลัคเนา เส นทางสายตะวันออกกลาง สายการบินตะวันออกกลางมีความเขมแข็งดานเงินทุน ซึ่ง เอื้อตอการขยายฝูงบินและเสนทางบินไดอยางรวดเร็ว สงผล ใหเสนทางสายตะวันออกกลางเปนเสนทางที่มีการแขงขันสูง บริษัทฯ มีจุดบินใหบริการไปยัง 3 จุดบิน ใน 3 ประเทศ ดวย ความถี่ 14 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก ดูไบ มัสกัต และเพิ่ม จุดบินใหมไปยัง เตหะราน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559 เส นทางสายอินโดจีน เปนเสนทางที่เปนจุดแข็งของเครือขายเสนทางบินภูมิภาค เนือ่ งจากมีการเจริญเติบโตทีด่ ี และมีศกั ยภาพในการทํากําไร สูง ขณะเดียวกันมีการแขงขันจากสายการบินตนทุนตํา่ เพิม่ ขึน้ รวมถึงสายการบินตางๆ ทําการบินตรงจากตะวันออกกลาง และยุโรปเพิม่ มากขึน้ โดยบริษัทฯ มีจดุ บินใหบริการ 5 จุดบิน ใน 3 ประเทศ ดวยความถี่ 0 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก เวียงจันทน พนมเปญ านอย และโ จิมนิ ท สําหรับจุดบินของ สายการบินไทยสมายล ไดแก เสียมราฐ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 19


สน าง าม

สน างอ มริกา หนือ สําหรับเสน ทางสายนี้เปนตลาดที่มีขนาดใหญ และมีการ แขงขันสูงมาก การใหบริการเสนทางบินขึน้ อยูก บั การเชือ่ มโยง กับเครือขายภายในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ป จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ ไม ไ ด ทํ า การบิ น โดยตรงไปยั ง เส น ทาง อเมริ ก าเหนื อ บริ ษั ท ฯ ได ทํ า ความร ว มมื อ กั บ พั น ธมิ ต ร การบินสตารอลั ไลแอนซ (Star A iance) ทําเทีย่ วบินรหัสรวม ( ode S are F ig t) ไปยังจุดบินอื่นๆ เชน เสนทางขาม แปซิฟก บริษัทฯ ไดทาํ เทีย่ วบินรหัสรวมกับออลนิปปอนแอรเวย ในเสนทางจากญี่ปุนเขาอเมริกาเหนือ คือ เสนทางโตเกียว ไปยั ง ลอสแองเจลิ ส ชิ ค าโก นิ ว ยอร ก ซานฟรานซิ สโก วอชิงตัน ดี ซี ซีแอตเทิล และแซนโ เซ บริษัทฯ ไดทําเที่ยวบินรหัสรวมกับสายการบิน อีวา แอรเวย โดยมี ไตหวันเปนศูนยกลางไปยัง นิวยอรก ซานฟรานซิสโก แวนคูเวอร ลอสแองเจลิส ซีแอตเทิล เท็กซัส และโทรอนโต และบริษั ทฯ ไดทําการบินรหัสรวมกับสายการบินเอเชียนา ในเสน ทางเกาหลี เขาอเมริกาเหนือ เสน ทางโซล ไปยัง ลอสแองเจลิส ซานฟรานซิสโก นิวยอรก และซีแอตเทิล สําหรับเสนทางขามแอตแลนติก บริษั ทฯ ไดทําการบินรหัส ร ว มกั บ สายการบิ น ลุ ฟ ท ั น ซา โดยมี แ ฟรงค เ ฟ ร  ต เป น ศูนยกลางไปยังนิวยอรก แอตแลนตา ไมอามี ชิคาโก ดัลลัส และวอชิงตัน ดี ซี บริษัทฯ ไดทาํ การบินรหัสรวมกับสายการบิน บรั ส เซลส โดยมี บ รั ส เซลส เ ป น ศู น ย ก ลางไปยั ง นิ ว ยอร ก วอชิงตัน ดี ซี และโทรอนโต บริษัทฯ ไดทําการบินรหัสรวม กับสายการบินแอรแคนาดา ในเสนทาง แฟรงคเฟรต ไปยัง มอนทรีออล และโทรอนโต เสนทาง องกง ไปยังโทรอนโต และแวนคูเวอร เสนทางลอนดอน ไปยังโทรอนโต เสนทาง ซูริก ไปยังโทรอนโต เสน ทางโตเกียว ไปยังแวนคูเวอร รวมทั้งหมด 14 จุดบินในสหรัฐอเมริกา และแคนาดา ทัง้ นีบ้ ริษัทฯ มีรายไดทเี่ พิม่ ขึน้ จากเทีย่ วบินรหัสรวม เนือ่ งจาก มีนโยบายมุง เนนการขายเสนทางเครือขาย โดยจะสงเสริมการ ขายรวมกับสายการบินพันธมิตรมากขึน้ ซึง่ จะสงผลใหบริษัทฯ มีรายไดเพิ่มขึ้นในเสน ทางที่บริษั ทฯ ทําการบินเองและมี เทีย่ วบินเชือ่ มตอกับสายการบินอืน่ ในรูปแบบเทีย่ วบินรหัสรวม

สน าง ุ ร

บริษัทฯ มีบริการเที่ยวบินไปยัง 12 จุดบินใน 10 ประเทศของ ภูมิภาคยุโรป ดวยความถี่รวม 9 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก ลอนดอน แฟรงคเฟรต ปารีส โรม โคเปนเ เกน สตอกโ ลม 20 รายงานประจําป 2559

ซูริก มิวนิก บรัสเซลส มิลาน ออสโล และเพิ่มจุดบินใหมไป ยัง มอสโคว เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 สําหรับตลาดที่บริษั ทฯ ไมไดเปดทําการบินโดยตรง ทั้งใน ยุโรปและสหราชอาณาจักร บริษั ทฯ ไดทําความรวมมือกับ สายการบิ น พั น ธมิ ต รในการให บ ริ ก ารเส น ทางบิ น โดยใช เที่ยวบินรหัสรวม ซึ่งครอบคลุม 46 จุดบิน ใน 16 ประเทศ

สน างออส ตร ล ล นิ

ลน

ในภาคพื้นออสเตรเลีย บริษั ทฯ ใหบริการ 5 จุดบินใน 2 ประเทศ ไดแก ซิดนีย เมลเบิรน บริสเบน เพิรธ ในออสเตรเลีย และโอคแลนด ในนิวซีแลนด ดวยความถี่รวม 44 เที่ยวบินตอ สัปดาห นอกจากนี้ บริษั ทฯ ไดจัดเที่ยวบินรหัสรวม กับ สายการบินแอรนิวซีแลนด ซึ่งเปนสายการบินพันธมิตร โดย การเชื่อมโยงเครือขายการบินของบริษั ทฯ เขากับเที่ยวบิน ระหวางเมืองทองเที่ยวตางๆ รวม 2 จุดบิน ใน 1 ประเทศ คือ เวลลิงตัน ไครสตเชิรช และเสนทาง องกง-โอคแลนด

การบริการลูกคา

ในป 2559 บริษั ทฯ ยังคงมุงมั่น พั นาปรับปรุงคุณ ภาพ ผลิตภัณฑและการบริการในทุกจุดสัมผัสอยางตอเนื่อง เพื่อ ใหลกู คาในแตละกลุม เปาหมายไดสมั ผัสประสบการณการบิน ทีโ่ ดดเดนงดงามผสานเอกลักษณของความเปนไทย เริม่ ตัง้ แต การบริการกอนเที่ยวบิน (Pre- ig t Services) การบริการ


ลก

บนเที่ยวบิน (In- ig t Services) ไปจนถึงการใหบริการหลัง เที่ยวบิน (Post- ig t Services) โดยมีแผนการดําเนินงาน แนวคิดและภาพลักษณท่ีชัดเจนภายใตนโยบายการบริการ จากใจ (Service ro t e Heart) ซึ่งพนักงานการบินไทย ทุกคนยึดมั่นมาตลอด 5 ทศวรรษของการใหบริการ ดวย ตระหนักดีวาคุณภาพของการบริการลูกคาเปนปจจัยหลักสู ความสําเร็จของภารกิจการใหบริการการขนสง และขับเคลือ่ น ใหบริษัทฯ สามารถแขงขันกับสายการบินคูแ ขงไดอยางยัง่ ยืน เพือ่ เนนยํา้ ถึงการบริการทีเ่ ปนเลิศ สมํา่ เสมอ และเปนไปตาม มาตรฐานที่ตกลงไว การบริการลูกคาถือวาเปนหัวใจในการ ดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ไดกําหนดขั้นตอนการใหบริการและทํา ขอตกลงระดับบริการครบวงจร (Service eve Agree ent S A) กับทุกจุดบริการหลัก ตั้งแตการสํารองที่นั่ง จนเสร็จสิ้น การเดินทางที่จุดหมายปลายทาง รวมทั้งตรวจประเมินทุกจุด บริการเหลานั้นอยางตอเนื่อง เพื่อใหแน ใจวาลูกคาไดรับ ความพึ ง พอใจสู ง สุ ด จากการใช บ ริ ก ารและผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี คุณภาพตลอดการเดินทาง มีการตรวจติดตามคุณภาพการ บริการใหเปนไปตามคูม อื การปฏิบตั งิ าน (Service eration Procedure) ดวยการสุมตรวจการปฏิบัติงานแบบไมแจง (Mystery S o ing) รวมถึงการประเมินความพึงพอใจ เปรียบเทียบผลิตภัณฑและการบริการจากหนวยงานภายนอก (T ird Party Survey) การประเมินผลและการกํากับดูแลขอตกลงระดับการบริการ ที่ดี นอกจากเปนการเสริมสรางประสบการณที่ดี ในการ เดินทาง ( usto er x erience) ใหลกู คาเกิดความพึงพอใจ ภักดีตอผลิตภัณฑและบริษัทฯ (Brand oya ty) อันเปนการ รักษาฐานลูกคาเดิมใหกลับมาใชบริการอีก และยังชวยใหเกิด การตลาดแบบปากตอปาก (Word o Mout ) โดยเ พาะจาก ผูบริโภคที่ชอบพูดถึงแบรนดหรือผลิตภัณฑใดๆ ที่ตนชื่นชอบ (Brand Advocates) ทางสื่อสังคมออนไลน (Socia Media) สําหรับรายละเอียดของการพั นาการบริการลูกคาในแตละ ขั้นตอน มีดังนี้ ดานการบริการกอนเที่ยวบิน บริ ษั ท ฯ ได พั นาระบบการให บ ริ ก ารผ า นอิ น เทอร เ น็ ต โทรศัพทมือถือ ( ectronic and Mobi e Service) เพื่อเพิ่ม ความสะดวกสบายและความรวดเร็วใหลูกคาสามารถเขาถึง ขอมูลที่เกี่ยวของกับการเดินทางไดงายขึ้น อาทิ ขอมูลการ จองบัตรโดยสาร การตรวจสอบรายละเอียดเกี่ยวกับเที่ยวบิน ตารางบิน นอกจากนี้ ยังเพิ่มชองทางการจายเงินในเว็บไซต ใหมากขึน้ และอยูร ะหวางดําเนินการใหบริการ Website ive at 24 ชัว่ โมง วัน เพือ่ เพิม่ ความสะดวกสบายและใหความ

ะการประกอบธุรกิจ

ชวยเหลือกับลูกคา รวมทั้งการเช็คอินผาน SMS การเช็คอิน โดยใช 2 Barcode และการสัง่ พิมพบตั รโดยสารขึน้ เครือ่ งบิน ตั้งแตที่บาน (Ho e Print Boarding Pass) นอกจากนี้ ยังเพิ่มชองทางการเช็คอินดวยตนเองที่โรงแรมโนโวเทล สุวรรณภูมิ (จะขยายตอไปในโรงแรมในเครือโนโวเทล) สวนที่ ทาอากาศยาน ไดเพิ่มเคานเตอร Bag ro ที่ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ สําหรับลูกคาที่เช็คอินดวยตนเอง (e-c eck-in) ซึ่งลูกคาสามารถนําอี-บอรดดิ้งพาสไปเปนสวนลด 15 เพื่อ ซื้อสินคาที่ราน THAI S o ของการบินไทย ดานการบริการบนเครื่องบิน บริษั ทฯ มุงเนนการพั นาบริการของพนักงานตอนรับบน เครือ่ งบิน โดยปรับรูปแบบการใหบริการเปนแบบเ พาะบุคคล มากขึน้ ทัง้ ในชัน้ หนึง่ และชัน้ ธุรกิจ รวมถึงปรับรายการอาหาร และเครื่องดื่มที่ใหบริการและการนําเสนอใหมีความโดดเดน และนาสนใจมากขึ้น อาทิ อาหารยอดนิยมของแตละทองถิ่น อาหารสํารับไทย เครื่องดื่มสมุนไพร และเมนูพิเศษในชวง เทศกาล นอกจากนี้ ไดปรับรายการอาหารเสนทางภายใน ประเทศเปน Hot Snack และเสนทางอินโดจีนเปน Hot ig t Mea อุปกรณและบริการ บริษั ทฯ ไดปรับกลยุทธและแผนงานดานการใหบริการเพื่อ ตอบสนองความคาดหวังของลูกคา เพิ่มขีดความสามารถให พรอมตอการแขงขัน เพิ่มความสะดวกสบายโดยรวมใหแก ผูโดยสารมากขึ้น ดังมีรายละเอียดดังนี้

การ รับ รุงรู บบ ล คุ ภาพ อง นัง สาร ล ร บบสาร บัน ิง

วัตถุประสงคหลักของการปรับปรุงอุปกรณในเครื่องบินของ บริษัทฯ คือ การปรับปรุงอุปกรณในเครือ่ งบินทุกลําทีเ่ ปนแบบ เดียวกัน ใหมีที่นั่งโดยสารและระบบสาระบันเทิงลักษณะ เดียวกันในแตละชั้นโดยสาร เพื่อสรางความพึงพอใจใหกับ ผูโดยสาร การปรับปร รูปแบบแล ค า อ ที่นั่ ดยสาร บริษัทฯ อยูในระหวางการดําเนินการปรับปรุงทีน่ งั่ โดยสารบน เครือ่ งบินแบบแอรบสั A330-300 จํานวน 3 ลํา และแบบโบอิง้ -200 R จํานวน 6 ลํา ใหมคี วามทันสมัยและสะดวกสบาย มากยิง่ ขึน้ โดยเกาอีโ้ ดยสารชัน้ ธุรกิจจะสามารถปรับเอนนอน ราบได 1 0 องศา นอกจากนี้ ยังไดเพิ่มรูปแบบเกาอี้โดยสาร ชั้นประหยัด พรีเมี่ยมบนเครื่องบินแบบโบอิ้ง -200 R เพือ่ เปนทางเลือกใหกบั ผูโ ดยสารอีกดวย โดยคาดวาจะดําเนิน การปรับปรุงแลวเสร็จทั้ง 6 ลําภายในป 2562 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 21


การ ั นาทา ดานร บบสาร บันเทิ บริษั ทฯ ไดปรับปรุงระบบสาระบันเทิงทั้งดานภาพและเสียง บนเครื่อ งบิ น ในเส น ทางระหวา งประเทศทุก ลํา เพื่อให มี คุณภาพสูง ทันสมัยและไดมาตรฐานเดียวกันทั้งหมด โดยจะ มีจอภาพสวนตัวในทุกชั้นโดยสาร ระบบเพลงและภาพยนตร ทีส่ ามารถเลือกชมไดตามความตองการ และมีรายการบันเทิง ใหผูโดยสารเลือกอยางหลากหลาย รวมทั้งเกมส ขอมูล และ ภาพเสนทางบิน นอกจากนี้ ยังพั นาและปรับปรุงซอฟตแวร (So t are) รองรับจํานวนเนื้อหา ( ontent) ที่เพิ่มขึ้น อาทิ e-Menu และ e-S o ing เปนตน

การติ ตังอุ กร อาน ค ามส กสาหรับ ธุรกิ ล การสือสาร

บริษัทฯ ไดใหบริการอินเทอรเน็ต (T ai Sky onnect) บน เครื่องบินเพื่อใหผูโดยสารสามารถติดตอสื่อสารกับภาคพื้น โดยใชอุปกรณสื่อสารสวนตัวของตนเอง โดยในป 2559 ได ใหบริการบนเครื่องบิน จํานวนรวม 15 ลํา ไดแก เครื่องบิน แบบแอรบสั A330-300 จํานวน ลํา แบบแอรบสั A3 0- 00 จํานวน 6 ลํา และแบบแอรบัส A350-900 จํานวน 2 ลํา และ เพื่อความสะดวกสบายของลูกคา บริษั ทฯ ไดมอบบริการ Free Wi-Fi จํานวน 20 MB สําหรับลูกคาชัน้ หนึง่ บนเครือ่ งบิน แบบแอรบัส A3 0- 00 และจํานวน 5 MB สําหรับลูกคาชั้น ธุรกิจบนเครื่องบินแบบแอรบัส A3 0- 00 และแบบแอรบัส A350-900 สําหรับเครือ่ งบินใหมทจี่ ะไดรบั มอบ มีการติดตัง้ ระบบสือ่ สาร สนเทศ ( In- ig t onnectivity IF ) ไวเปนที่เรียบรอย แลว โดยในป 2560 บริษัทฯ จะไดรับมอบเครื่องบินอีก ลํา ไดแก เครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 จํานวน 5 ลํา และ แบบโบอิง้ -9 จํานวน 2 ลํา นอกจากนี้ ยังมีแผนทีจ่ ะติดตัง้ ระบบสื่อสารสนเทศบนเครื่องบินของบริษัทฯ ใหครบทุกลํา การปฏิบัติการบิน ความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตร านการบิน ความปลอดภัยในการปฏิบตั กิ ารบินเปนหัวใจของธุรกิจการบิน ตลอดระยะเวลากวา 5 ทศวรรษ บริษั ทฯ มุงมั่นที่จะสราง ความปลอดภัยสูงสุดในการเดินทางของผูโดยสาร โดยเนน ที่ ก ารปฏิ บั ติ ก ารบิ น ตามมาตรฐานความปลอดภั ย ของ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย กพท (T e ivi Aviation Aut ority o T ai and AAT) องคการการบิน พลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) หนวยงานควบคุมความปลอดภัยดาน การบินของยุโรป ( uro ean Aviation Sa ety Agency ASA) มาตรฐานการตรวจประเมินความปลอดภัยดานการ 22 รายงานประจําป 2559

ปฏิบัติการ จากสมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA erationa Sa ety Audit I SA) และหนวยงาน กํากับดูแลดานการบินพลเรือนของประเทศตางๆ ทั่วโลก ในป 2559 หนวยงานกํากับดูแลดานการบิน พลเรือนของ ประเทศตางๆ ทั่วโลกยังคงเพิ่มความถี่ ในการตรวจสอบ มาตรฐานความปลอดภัยของสายการบินของประเทศไทย ที่ทําการบินเขาในแตละประเทศ โดยบริษั ทฯ ไดรับการ ตรวจสอบมาตรฐานดานความปลอดภัย (Ra Ins ection) ตามมาตรฐานสากลทั้งสิ้น ครั้ง ผลการตรวจสอบไมพบ ขอบกพรองที่มีนัยสําคัญ ซึ่งเปนสิ่งที่ยืนยันความมีมาตรฐาน ดานการบินของบริษัทฯ ไดเปนอยางดี ในฐานะสายการบินแหงชาติ บริษัทฯ พรอมทีจ่ ะพั นาองคกร รวมทัง้ ใหการสนับสนุนและความรวมมือกับสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) ในกระบวนการทบทวนการ ออกใบรับรองการเดินอากาศ (A Re-certi ication) ซึง่ ดําเนินการตามแผนงานอยางตอเนือ่ งตัง้ แตป 2559 ใหเปน ไปตามก ระเบียบ ขอกําหนด มาตรฐานการบินใหมที่ กพท รวมกับ ivi Aviation Aut ority Internationa AAi พั นาขึน้ เพือ่ ใหประเทศไทยสามารถแกไขขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญดานความปลอดภัย (Signi icant Sa ety oncern SS ) ตามโครงการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัย ( niversa Sa ety versig t Audit Progra S AP) ขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) บริ ษั ท ฯ ได เ น น การรั ก ษามาตรฐานและข อ พึ ง ปฏิ บั ติ (Standards and Reco ended Practices SARPs) ของ I A ที่กําหนดใหสายการบินตองจัดใหมีระบบบริหาร ความปลอดภัย (Sa ety Manage ent Syste SMS) และระบบบริหารการกํากับการปฏิบัติตามขอบังคับการบิน ( o iance Manage ent Syste MS) เพื่อใหเปนไป ตามก ระเบียบและเปนการปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนิน การอยางตอเนื่อง ยิ่งไปกวานั้น บริษั ทฯ ไดเริ่มโครงการ มาตรฐานเหนือระดับ (Sa ety Beyond o iance) ในป 255 ดวยการนํามาตรฐานของ uro ean Aviation Sa ety Agency ( ASA) ซึ่งเปนที่ยอมรับจากองคกรการบินทั่วโลก เปนตนแบบ เพื่อพั นามาตรฐานความปลอดภัยไปยังระดับ สูงสุด (Best in ass) โดยสรางวั นธรรมองคกรในการรักษา มาตรฐาน ( o iance u ture) และวั นธรรมความ ปลอดภัย (Sa ety u ture) ตลอดจนพั นาขีดความสามารถ การบริหารคุณภาพและการบริหารความปลอดภัย (Sa ety and ua ity Manage ent) และตัวชี้วัดความปลอดภัย


ลก

(Sa ety Per or ance Indicator) ดวยการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการบริหารจัดการ (In or ation Tec no ogy So ution Syste ) ดวยเหตุนี้ ทําใหบริษัทฯ ไดรับใบอนุญาต T ird ountry erators (T ) จาก ASA โดยความเห็น ชอบของ Air Sa ety o ittee (AS ) ดวยใบอนุญาต นี้ บริษัทฯ สามารถคงการปฏิบัติการบินเขายุโรป ตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 255 ตอไป ควบคูกับใบรับรองผูดําเนินการเดิน อากาศ (Air erator erti icate A ) ของประเทศไทย ปจจุบันบริษัทฯ ยังคงมุงมั่น และทุมเททรัพยากรเพื่อพั นา ความปลอดภัยการบินโดยใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศชวย สนับสนุนการบริหารความปลอดภัยและลดความเสีย่ ง เขามา ควบคุมและวิเคราะหงานดานความปลอดภัย ทัง้ หมด 4 ระบบ ไดแก 1 Sa ety Re orting In or ation Syste คือ ระบบ บันทึกรายงานดานความปลอดภัยที่อนุญาตใหพนักงาน กวาสองหมื่นคนมีสวนรวมบันทึกรายงานฯ ผานอุปกรณ หลากหลายชนิด อาทิ eskto o uter a to o uter Tab et Mobi e สามารถทํางาน n ine ine และสงขอมูลกลับมายังศูนยขอมูลผานเครือขาย Internet จากนั้นจะทําการประมวลผลแสดงคาออกมาใน as board สงตรงถึงฝายบริหาร 2 F ig t ata Monitoring Ani ation Progra คือ โปรแกรมที่ ใชเฝาสังเกต ติดตามและบันทึกการปฏิบัติ การบินเพื่อประเมินความเสี่ยงในการปฏิบัติการบินใน สนามบินตางๆ 3 F ig t Si u ator Syste คือ เครือ่ งบินจําลองเสมือนจริง ที่บรรจุสถานการณจําลองเพื่อใหนักบินมีโอกาสฝกซอม รับสถานการณจนมีความชํานาญพรอมรับทุกสถานการณ จริง เชน หมอกลงหนา หิมะตก เพลิงไหม เครือ่ งยนตชนนก 4 Big ata Syste คือ การเก็บขอมูลที่เชื่อมโยงขอมูลจาก ระบบตางๆ เชน ขอมูลเสนทางการบิน ขอมูลระบบการ ทํางานของเครื่องบิน ขอมูลผูโดยสาร ขอมูลสภาพอากาศ มาจัดเก็บเพื่อทํา ata Inte igence ซึ่งโครงการนี้เปน การประสานความรวมมือระหวาง การบินไทย สายการบิน Scandinavian Air ines Syste (SAS) ผูผลิตเครื่องบิน ผูผลิต Hard are So t are ที่เกี่ยวของเพื่อนําขอมูลที่มี คุณคาถือเปนสินทรัพยมหาศาลนี้มาใชประโยชน ชวยใน การวิเคราะห การประเมินความเสี่ยง (Risk Ana ysis) และชวยในการตัดสินใจดานความปลอดภัยไดอยางมี ประสิทธิภาพ บริษั ทฯ ไดพั นาศักยภาพบุคลากรดานการบินใหมีความรู ความสามารถตามมาตรฐานสากล รวมทัง้ ใหมจี ติ สํานึกสูงสุด

ะการประกอบธุรกิจ

ดานความปลอดภัย มุงเนนการสรรหาบุคลากรการบินที่มี คุณ ภาพระดับสากล โดยกําหนดใหมีการตรวจสอบความ พรอมทั้งดานรางกาย จิตใจ ความรู ( no edge) ทักษะ (Ski ) และพ ติกรรม (Be avior) นักบินของบริษัทฯ จะตอง ผานการทดสอบและประเมินความถนัด ในการเปนนักบิน พาณิชย (A titude Test) จาก Scandinavian Institute o Aviation Psyc o ogy (SIAP) ประเทศสวีเดนซึ่งเปนสถาบัน ทีม่ ชี อื่ เสียงและไดรบั การยอมรับดานการคัดเลือกนักบินใหกบั สายการบินชัน้ นําของโลก การสอบจิตวิทยาการบิน (Aviation Psyc o ogy Test) จากสถาบันเวชศาสตรการบินกองทัพ อากาศ รวมทั้งจะตองผานการทดสอบความสามารถดาน ทักษะการบิน (Ride eck) และการใชภาษาอังก ษตาม มาตรฐานสากล ( ng is I A Pro iciency) นอกจากนี้ ยั ง มุ  ง เน น การฝกอบรมทั้ ง ภาคท ษ ี แ ละภาคปฏิ บั ติ แ ก พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน เรื่องระบบความปลอดภัยและ การบริการ เพื่อใหมีความรูความชํานาญแบบมืออาชีพ มี ทัศนคติและใจรักตองานบริการ ควบคูไปกับความตระหนัก เรื่องความปลอดภัยอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ บริษั ทฯ ไดจัดใหมีการอบรมหลักสูตร n anced Sa ety Manage ent Syste ใหกับบุคลากรการบินและพนักงาน ในสวนทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ใหมนั่ ใจวาบุคลากรการบินของบริษัทฯ มีความพรอมในการปฏิบัติการบินอยางปลอดภัยและเปนไป ตามขอกําหนดของ I A และบริษัทฯ ไดจัดใหมีการอบรม หลั ก สู ต ร ngage ent โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ พั นา บุคลากรดานการบิน ใหเกิดความผูกพันตอองคกร มีความ รวมมือรวมใจในการปฏิบัติงานตามหนาที่เพื่อชวยพั นา องคกรไปในทิศทางที่บริษั ทฯ กําหนด โดยมีเปาหมายให เกิดความปลอดภัยอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได นํ า ระบบการเรี ย นรู  ผ  า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (e- earning) และการนําแนวทางจัดการความรู ( no edge Manage ent) มาประยุกตใชเพื่อสงเสริมใหเกิดการแลก เปลี่ยนความรูในกลุมผูปฏิบัติงาน อันจะนําไปสูประสิทธิภาพ สูงสุดในการใหบริการแกผูโดยสารดวย บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ดี ว  า การดู แ ลสุ ข ภาพอนามั ย และความ ปลอดภั ย ของพนั ก งาน รวมถึ ง การป อ งกั น อั น ตรายและ สงเสริมสุขภาพอนามัย เปนสิ่งสําคัญยิ่งที่ตองดําเนินการ ควบคูไปกับการดําเนินธุรกิจ บริษั ทฯ จึงมีนโยบายในการ ดําเนินงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดลอมในการทํางานบนพื้นฐานของมนุษ ยธรรม โดยถือ ประโยชนของพนักงานเปนหลัก และไดดําเนินการอยางครบ วงจร คือการสงเสริมสุขภาพอนามัย การเฝาระวังและตรวจ สอบเพือ่ ความปลอดภัย การปองกันและควบคุมอุบตั เิ หตุและ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 23


สภาพแวดลอมที่เปนอันตรายในการทํางาน การเฝาระวัง สุขภาพและปองกันโรคจากการทํางาน การปฐมพยาบาล และ การฟนฟูสมรรถภาพหลังการบาดเจ็บ บริษั ทฯ ไดปฏิบัติตามมาตรฐานขอกําหนดดานความมั่นคง การบิน (Aviation Security) ขององคกรและหนวยงานที่ เกีย่ วของทัง้ ในประเทศและตางประเทศอยางเครงครัด ไดแก I A AAT หนวยงานดานความมั่นคงในการเดิน ทาง ของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า (Trans ortation Security Ad inistration e art ent o Ho e and Security TSA) หนวยงานดานความมั่นคงในการเดินทางของประเทศ ออสเตรเลีย ( ice o Trans ort Security TS) ก ขอ บังคับของสหภาพยุโรป ( uro ean nion Regu ations Regu ations) er an ivi Aviation Aut ority ( BA) และมาตรฐานการตรวจประเมินความปลอดภัยดาน การปฏิบัติการ จากสมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA erationa Sa ety Audit I SA) รวมถึงก เกณฑ ขอบังคับ ขอกําหนดของทุกประเทศที่บริษั ทฯ ทําการบิน อีกทั้งบริษั ทฯ มีระบบการบริหารจัดการดานความมั่นคง การบิน (Security Manage ent Syste SeMS) ที่มี ประสิทธิภาพ สอดคลองกันอยางทั่วถึงทั้งองคกร เพื่อใหการ ปฏิ บั ติ ง านด า นความมั่ น คงการบิ น อยู  ใ นระดั บ ที่ สู ง กว า มาตรฐานสากล โดยผลการตรวจสอบจากองคกรภายนอกทัง้ ในประเทศ และตางประเทศ ไมพบขอบกพรองที่มีนัยสําคัญ นอกจากนี้ บริษั ทฯ ไดปฏิบัติตามมาตรฐานการจัดการเหตุ ุกเ ินและภาวะวิก ติ ( ergency risis Res onse Manage ent) อยางเขมงวด ยึดหลักก หมาย ขอบังคับ ระหวางประเทศ และนํามาประยุกตใชในการบริหารจัดการ ของหนวยงานภายใน และสถานีการบินของบริษัทฯ เพื่อให สอดคลองกับก เกณฑที่มีการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งบริษั ทฯ ไดเขารวมฝกซอมการบริหารจัดการในภาวะ กุ เ นิ เต็มรูปแบบ กับหนวยงานภาครัฐอยางตอเนื่อง โดยในป 2559 บริษั ทฯ ไดเขารวมการฝกซอมการบริหารวิก ติระดับชาติประจําป 2559 ( -M X 16) ที่ทาอากาศยานภูเก็ต การฝกซอมการ บริหารจัดการในภาวะ ุกเ ินเต็มรูปแบบตามแผน ุกเ ิน ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (S M X 16) เพื่อสามารถพรอม รับมือกับเหตุ ุกเ ินที่อาจเกิดขึ้น โดยมีศูนยปฏิบัติการภาวะ วิก ติ ( risis Manage ent erations enter M ) ของบริษัทฯ ไดทําหนาที่เฝาระวังเหตุที่อาจเปนภัยคุกคามตอ การประกอบธุ รกิ จ ของบริษั ทฯ ตลอด 24 ชม อีก ทั้ง มี ศูนยปฏิบัติการของชุดใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมแก ผูประสบภัยฯ (Fa i y Assistance Su ort Tea FAST enter) สํ า หรั บ เที่ ย วบิ น ของบริ ษั ท ฯ และสายการบิ น พันธมิตร 24 รายงานประจําป 2559

ดวยมาตรฐานดานความปลอดภัย ความมัน่ คง และมาตรฐาน การบินทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทําใหบริษัทฯ สามารถบริหารจัดการ กับเหตุการณตางๆ ในป 2559 ไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การบริหารจัดการเที่ยวบินไปประกอบพิธี ัจญ ณ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย การบริหารจัดการกรณีเหตุระเบิดที่กรุง บรัสเซลส และหลายประเทศในยุโรป ซึ่งบริษั ทฯ ใหการ สนับสนุนแกภาครัฐและดูแลผูโดยสารเดินทางกลับมาดวย ความปลอดภัย การบริหารจัดการกรณีการแพรระบาดของ เชื้อไวรัส I A โดยบริษัทฯ ปฏิบัติตามขอบังคับ คําแนะนํา ขององคการอนามัยโลก และกระทรวงสาธารณสุขอยาง เครงครัด จนสามารถสรางความมั่นใจในมาตรฐานความ ปลอดภัยของการบินไทยทีส่ งู กวามาตรฐานสากล รวมถึงในป ทีผ่ า นมา ซึง่ บริษัทฯ ใหการสนับสนุนแกภาครัฐในการเดินทาง ของเจาหนาที่ทีมกูภัยคณะตางๆ และการขนสงอุปกรณสิ่ง ของกูภัยบรรเทาทุกขจากทั่วโลกจํานวนมากในกรณี วิก ติ แผนดินไหวที่เนปาล รวมทั้ง กรณีเกิดภัยพิบัติภูเขาไฟระเบิด ในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งการบินไทยไดใหความชวยเหลือแก ผูโ ดยสารทีป่ ระสบเหตุ รวมถึงการเดินทางของญาติมติ รของ ผูป ระสบเหตุเปนอยางดี อีกทัง้ บริษัทฯ ไดทาํ แผนบริหารความ ตอเนื่องทางธุรกิจ (Business ontinuity Manage ent P an) เพื่อเตรียมพรอมรับวิก ติการณตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น เชน กรณีไมสามารถใชสนามบินสุวรรณภูมไิ ดตามปกติ กรณี ถูกระงับเสนทางการบิน เปนตน เพือ่ ใหมนั่ ใจไดวา การบินไทย จะสามารถดํารงธุรกิจไดอยางตอเนื่องในทุกสถานการณ ในภาพรวมของการปฏิบัติการบิน บริษัทฯ ไดมุงเนนในเรื่อง ของมาตรฐานดานความปลอดภัยในระดับสูงสุด และคุณภาพ การใหบริการบนเครื่องบิน ที่ดีเลิศ โดยการนําเทคโนโลยี สารสนเทศทีท่ นั สมัยและมีมาตรฐานดานความปลอดภัยทีเ่ ปน ที่ยอมรับในระดับสากล มาประยุกตใชกับเอกลักษณการให บริการดวยเสนหไทย บริษั ทฯ มุงมั่น ที่จะรักษาคุณ ภาพ ความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตรฐานการบินใหเปนไป ตามมาตรฐานสากล อีกทัง้ การปฏิบตั ติ ามก เกณฑ ขอบังคับ และก หมายทีเ่ กีย่ วของนัน้ เปนปจจัยหลักในการดําเนินธุรกิจ ที่บริษั ทฯ ใหความสําคัญเปนอันดับแรกมาโดยตลอด และ บริษั ทฯ จะไดดําเนินนโยบายเชิงรุกในการดําเนินงานดาน ความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตรฐานการบินอยาง ตอเนื่องดวย รายละเอียดของมาตรฐานสากลที่ฝายตางๆ และหนวยธุรกิจ ของบริษัทฯ ที่ไดรับ ผูสนใจสามารถศึกษารายละเอียดไดใน หนังสือรายงานการพั นาอยางยั่งยืน ซึ่งบริษั ทฯ จัดสงให ผูถือหุน ทุกรายและเปดเผยตอประชาชนทางเว็บไซตของ บริษัทฯ ที่ t aiair ays co


ลก

การตลาดและการแขงขัน

นโยบายและลักษณะตลาด ในป 2559 บริษั ทฯ ไดดําเนินตามแผนธุรกิจ 5 ป (255 2561) มีการปรับแผนกลยุทธตามลักษณะตลาด ซึ่งแบงออก เปน 4 กลุม ดังนี้ กลุมตลา บริ ั นผูนาตลา เชน ตลาดกลุมประเทศ สแกนดิเนเวีย จีน และญี่ปุน เปนตน บริษัทฯ มุงเนนในการ ดํารงความเปนผูนําตลาด ปรับกลยุทธเพื่อรักษาสวนแบง ตลาดและผลกําไรในการดําเนินงานเปนหลัก โดยการเพิ่ม เที่ยวบิน และเปลี่ยนแบบเครื่องบินที่มีอุปกรณทันสมัย เพื่อ ปองกันการสูญเสียลูกคาใหแกสายการบินอื่น กลุมตลา มการ ง นั สูง เชน ตลาดสิงคโปร อ งกง และ กลุมประเทศในอาเซียน บริษั ทฯ มุงเนนการปรับปรุงความ สามารถในการแขงขัน เพือ่ รักษาสวนแบงตลาด โดยเพิม่ ความ รวมมือกับสายการบินพันธมิตร เพื่อเพิ่มผูโดยสารเชื่อมตอที่ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ รวมทั้งใชสายการบินไทยสมายล ในการรักษาสวนแบงตลาดในเสนทางภูมิภาคระยะสั้น กลุมตลา คู งมค าม ม ง เชน ตลาดรัสเซีย และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส บริษัทฯ มุงเนนการเฝาระวังปริมาณ การขนสงและผลกําไรขาดทุนอยางตอเนื่อง เพื่อปรับกลยุทธ ใหเหมาะสมกับสภาพการณ โดยใชเครื่องบินที่เหมาะสมกับ ความตองการของตลาด และมีความคลองตัวในการปรับ เปลี่ยนเที่ยวบินโดยตองมีการติดตามผลการดําเนินงานอยาง ตอเนื่องและรวดเร็ว กลุมตลา หม ม ัก ภาพ การบิน ังมิ  บริการ ไดแก (1) เมืองรองในตลาดอินเดีย เชน โคชิ อัมริสสา (2) เมืองรองในตลาดจีน เชน หังโจว เสินเจิ้น และซัวเถา (3) ตลาดใหม อาทิ ตลาดในยุโรปตะวันออก เชน เวียนนา และ (4) เขตพื้นที่ใหมๆ เชน อิหราน ตุรกี อิสราเอล โดยในการเขาตลาดเหลานี้ บริษั ทฯ จะศึกษาสภาพตลาด สภาวะการแขงขัน เสนทางบิน เพื่อใชเปนสวนหนึ่งในการ กําหนดกลยุทธดานเสนทางบิน เครือขายการบิน และฝูงบิน นโยบายการตลาดและลักษณะตลาด ของสายการบินไทยสมายล สายการบินไทยสมายลไดกําหนดตําแหนงทางการตลาดของ สายการบินเปนสายการบินแบบเต็มคุณภาพ (Fu Service Air ines) ทีม่ งุ เนนในการพั นาคุณภาพและมาตรฐานการให บริการที่เยี่ยมยอด ควบคูไปกับความคุมคาของราคาบัตร

ะการประกอบธุรกิจ

โดยสารทีก่ าํ หนดไวใหครอบคลุมทุกบริการ โดยมีการกําหนด แนวทางในการดําเนินนโยบายการตลาด ดังนี้

การ หบริการมุงสูค าม น ลิ

เนนเพิ่มเติมการนําเสนอคุณคาใหกับลูกคาทุกจุดสัมผัสของ การบริการ (Touc Point) โดยมีแนวทางดังนี้ xce ent eck-in พั นาปรับปรุงระบบและขั้นตอน การเช็คอินทางอินเทอรเน็ต ใหผูโดยสารสามารถเช็คอิน ลวงหนาไดดวยตนเอง เชน สามารถเลือกที่นั่ง และพิมพ บัตรขึ้นเครื่อง (Boarding Pass) ตลอดจนการจัดใหมีหอง รับรองผูโดยสาร ( ounge) สําหรับผูโดยสารทุกทาน xce ent In-F ig t Services พั นาปรับปรุงวิธีการ และขั้ น ตอนการให บ ริ ก ารผู  โ ดยสารในเที่ ย วบิ น ให มี ประสิทธิภาพ และสรางความประทับใจใหผูโดยสารเพิ่ม มากยิ่งขึ้น อาทิ การใหบริการและบรรยากาศภายใน หองโดยสาร อาหารและเครื่องดื่มในเที่ยวบิน เปนตน xce ent usto er Re ation พั นาระบบการสงมอบ ผลิตภัณฑ โดยการสรางความพึงพใจใหลูกคาในทุกราย ละเอียด อาทิ ระบบการจองตัว การเช็คอินผูโดยสาร ผลิตภัณฑภายในหองโดยสาร นอกจากนี้ยังใหบริการแก ลูกคาอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดในทุก กลุมเปาหมาย อาทิ การทํากิจกรรมรวมกับลูกคาในชวง เทศกาลตางๆ การพั นาระบบใหขอมูลและการสื่อสาร กับลูกคา เปนตน

การกาหน ราคา า หมา สม ปรับโครงสรางการกําหนดราคาเพือ่ ใหมรี าคาบัตรโดยสาร ทีห่ ลากหลายเหมาะสมสําหรับแตละตลาด เพือ่ สรางโอกาส ในการแขงขันกับสายการบินอื่น (Rig t Price Rig t Market) สราง Price a ue เพื่อดึงดูดใหลูกคาใชบริการ ตลอดจน มุงเนนการสื่อสารกับผูโดยสารผานทางชองทางออนไลน หรืออินเทอรเน็ตเพิ่มเติม

การพั นา ครือ า สน างบิน เสริมสรางเครือขายการบินใหแข็งแกรง ดวยการเพิ่ม ความถี่ ห รื อ ความจุ ข องเที่ ย วบิ น ให เ พี ย งพอกั บ ความ ตองการของตลาด และพั นาการเชือ่ มตอเทีย่ วบินในเวลา ทีเ่ หมาะสม เพือ่ เพิม่ จํานวนผูโ ดยสารทัง้ แบบจุดบินตอจุดบิน (Point to Point) และแบบตอเที่ยวบิน ( onnecting Tra ic) จากจุดตนทางถึงปลายทางใหมากขึน้ เชน เสนทาง จีน อินเดีย อินโดจีน และภูมิภาค บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 25


ขยายเครื อ ข า ยเส น ทางบิ น โดยอาศั ย ความร ว มมื อ กั บ การบินไทยเพื่อใหเกิดการเชื่อมตอเที่ยวบินอยางตอเนื่อง และสะดวกแกผโู ดยสารเพิม่ ขึน้ (Sea ess onnectivity) เชน การเชื่อมตอเสน ทางบินจากประเทศอินเดียของ ไทยสมายล กั บ เส น ทางบิ น สู  ป ระเทศออสเตรเลี ย ของ การบินไทย ซึ่งมีผูโดยสารชาวอินเดียทั้งที่เดินทางดวย ตัวเอง และที่เดินทางเปนหมูคณะซึ่งมีความตองการใน การเดินทางเปนจํานวนมาก เปนตน

สริมสรางค าม ง กรง น อง าง ล สือสารการตลา

เพิ่มชองทางการโ ษณาและสื่อสารการตลาดใหมีความ เหมาะสม เพื่อใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาไดอยางตรง เปาหมายและครอบคลุม ไมวาจะเปนกลุมลูกคาทั่วไป ลูกคาองคกร รวมไปถึงลูกคาที่ซื้อผานชองทางออนไลน เพิ่มความถี่ ในการติดตอสื่อสาร และใชประโยชนจาก การสื่อสารผานชองทางออนไลน เชน Facebook I icia Instragra We at ใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้

การพั นากล ุ ธการตลา มค าม หมา สม ล ตอบสนองตอสภาพตลา มค าม ตกตางกัน เสนทางประเทศจีน มุงเนนลูกคาที่เดินทางดวยตนเอง (FIT Fu y Inde endent Trave er) ที่มีกําลังซื้อสูงเพิ่ม มากขึ้น โดยการสรางสื่อและทํากิจกรรมประชาสัมพันธ ทางการตลาด (Marketing o unication) ที่เขาถึง กลุมลูกคา (Focus rou ) เปนตน เสนทางประเทศอินเดีย มุง เนนลูกคาทีเ่ ดินทางดวยตนเอง (FIT Fu y Inde endent Trave er) ลูกคากลุม MI (Meeting Incentives onvention x ibition) ลูกคา ที่ตองการการจัดงานแตงงานภายในประเทศ (Wedding) และลูกคากลุมผูใชแรงงาน ( abor) เปนตน เสนทางในประเทศ รักษาฐานลูกคาเดิม และเพิ่มฐาน ลูกคาใหม โดยการทํากลยุทธทางการตลาดและการขายที่ มีความนาดึงดูดและเขาถึงกลุมลูกคา ผานทางชองทาง การขายทุกชองทาง ตลอดจนสรางประสบการณในการ เดินทางทีป่ ระทับใจและมีคณ ุ ภาพเพิม่ มากขึน้ เมือ่ เทียบกับ สายการบินอื่นๆ ( o etitive dge)

บรรลุ าหมา นการ นองคกร มค าม ง กรง ล ัง ืน สรางผลกา รสูงสุ เปนองคกรที่มุงเนนลูกคา ( usto er riented) 26 รายงานประจําป 2559

เปนองคกรที่มีขีดความสามารถในการแขงขัน ( o etitive) เปนองคกรที่มีความคลองตัวสูง ( yna ic) แผนบริหารรายไดและพัฒนา องทาง การจัดจาหนาย

ผนบริหารรา 

เพื่อรักษาและเพิ่มคุณ ภาพรายไดในสภาวะเศรษฐกิจโลก ถดถอย การเมืองไมปกติ ความผันผวนของตลาด การแขงขัน ที่รุนแรง รวมทั้งการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยดาน การบินขององคกรตรวจสอบตางๆ บริษั ทฯ จึงมีแผนงาน มุงเนนการขายและเพิ่มรายไดโดย ปรั บ ปรุ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก ารโดยการบริ ห ารฝู ง บิ น แนวใหมดวยการใชเครื่องบินใหเกิดประโยชนสูงสุดใน เสนทางหลักดวยการใชเครือ่ งบินรุน ใหมทดี่ กี วา ปรับกําลัง การผลิตในบางตลาด และเพิ่มการใชเครื่องบินใหมากขึ้น เพิม่ การขายแบบเครือขาย ( et ork Sa es) โดยแสวงหา ลูกคาใหมๆ ในเสนทางรอบๆ เสนทางหลัก โดยการจัดทํา ความตกลงรวมกับสายการบินคูค า ดังทีป่ รากฏในรายการ สงเสริมการขายจุดบินใหมๆ ของบริษัทฯ ในทวีปยุโรป เสริมสรางรายไดจากการขายผานบริการอิเล็กทรอนิกส (e-Service) โดยพั นาระบบที่สามารถอํานวยความ สะดวกสนองตอความตองการของผูโดยสารสําหรับตลาด ภายในประเทศและตางประเทศ

การหารา  สริม

นอกเหนือจากธุรกิจการบินหลักทีบ่ ริษัทฯ ดําเนินงานดานการ ขนสงผูโ ดยสารทางอากาศ บริษัทฯ ยังมีผลิตภัณฑและบริการ เสริมตางๆ เปนรายไดเสริมองคกรอีกทางหนึง่ โดยการบินไทย ได จั ด ทํ า บริ ก ารเสริ ม ในรู ป แบบการช อ ปป งออนไลน (S o ing n ine) บนเว็บไซต เชน การเลื่อนชั้น ที่นั่ง บริการรถเชา รถรับสงสนามบิน โรงแรม รวมทั้งเสนอขาย ผลิตภัณฑและบริการที่บริษัทฯ มีอยูแลว อาทิ สินคา THAI S o ชองทางพิเศษ (Fast Track) หองรับรองพิเศษ ( ounge) เปนตน รวมทั้งหาผลิตภัณฑตางๆ ที่คิดวาเปน ที่นาสนใจ คุณภาพทีค่ ดั สรรมาอยางดีจากทีต่ า งๆ ทัง้ ในและตางประเทศ อาทิ ผลิตภัณฑในสังกัดกระทรวงพาณิชย ผลิตภัณฑ T P นอกจากจะเปนการสงเสริมผลิตภัณฑในประเทศแลว ยัง เป น การสนั บ สนุ น นโยบายรั ฐ บาลและต อ นรั บ การเป ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) อีกทางหนึ่ง ทั้งนี้บริษัทฯ มีขีดความสามารถที่จะหารายเสริมที่อื่นๆ ไดนอกเหนือจาก ธุรกิจการบิน โดยการหาความรวมมือทางธุรกิจที่มีความ สอดคลองกันเพิ่มขึ้น รวมทั้งการเจรจาและตอยอดธุรกิจกับ พันธมิตรทางธุรกิจใหมๆ ที่จะเขามาเสริมธุรกิจการบินให


ลก

เขมแข็งขึ้น เพื่อตอบสนองรสนิยม ( i esty e) ของลูกคา ยุคใหมทตี่ อ งการความสะดวกสบาย รวดเร็วและเปนการเพิม่ มูลคาเพิม่ ใหกบั แบรนด (Brand) ดวย รวมทัง้ จะทําใหเว็บไซต (Website) ของบริษั ทฯ มีบทบาทและแข็งแกรงมากยิ่งขึ้น และเพิม่ ความประทับใจใหกบั ลูกคาของการบินไทยตามความ ตองการในการใชบริการทีแ่ ตกตางกันในระหวางการเดินทาง ( usto er x erience Manage ent) ธุรกิจการขนสงทางอากาศ การทองเที่ยวและการขนสง เปน ธุรกิจที่มีความโดดเดนและอยูในความสนใจทั้งจากผูบริโภค ภายในประเทศและจากประเทศเพื่อนบาน โดยบริษัทฯ วาง กลยุ ท ธ เ พื่ อ รองรั บ กั บ ความต อ งการของลู ก ค าในระดั บ นานาชาติและบริการจัดสงแบบครบวงจร คือสัง่ ซือ้ สินคาและ ผลิตภัณฑผานออนไลนของบริษั ทฯ จายเงินและดําเนินการ จัดสงใหถงึ มืออยางเรียบรอย ทัง้ นีล้ กู คาจะไดรบั ความสะดวก ในการซื้อบริการเสริมตางๆ ที่มีคุณภาพ มีความคุมราคาที่ การบินไทยทําการคัดสรรมาแลว และนําเสนอเปนทางเลือก ตามรสนิยมและความตองการของผูโ ดยสารตามเสนทางและ วัตถุประสงคของการเดินทาง ซึ่งบริการเสริมดังกลาว จะทํา ใหผูโดยสารของการบินไทยไดรับประสบการณที่ดีตลอด การเดิน ทาง และบอกตอประสบการณการเดิน ทางผาน สื่อสังคมออนไลนและกับเพื่อนๆ เพื่อจูงใจใหหันกลับมาใช บริการของการบินไทยตอไป

กลุมลูกคา ล การพั นา อง าง ั าหนา

ในการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ใหบริการขนสงผูโ ดยสารเปนหลัก โดยทําการขนสงเชื่อมโยงเมืองหลักของประเทศไทย ไปยัง เมืองตางๆ ทัว่ โลกทัง้ ในแบบเทีย่ วบินประจํา และเทีย่ วบินเชา เหมาลํา ในเสนทางบินระหวางประเทศและภายในประเทศ โดยวางตําแหนงทางการตลาด (Marketing Positioning) เปน สายการบินชั้นเยี่ยมระดับโลก (Pre iu Service Air ine) ใหบริการในลักษณะครบวงจร (Fu Service) มาโดยตลอด บริษัทฯ ยังคงดูแลลูกคาในทุกกลุม (Seg ent) เปนอยางดี โดยเนนการตอบสนองแตละกลุม และการพั นาชองทาง จัดจําหนาย ใหตรงกับความตองการและความคาดหวังอยาง แทจริง กลุมลูกคาแบงออกเปน ลูกคาพรีเมี่ยม ประกอบดวยลูกคาชั้นหนึ่ง ชั้นธุรกิจ สมาชิกแพลตินั่ม สมาชิกบัตรทอง ลูกคาภาคราชการ ( overn ent) ลูกคากลุมองคกร ( or orates) และลูกคานักธุรกิจ ธุรกิจขนาดยอม (SM S a and Mediu nter rise) ลูกคากลุมทองเที่ยว ( eisure) นักเรียน และลูกคากลุมเยี่ยมเพื่อนและญาติ ( FR isiting Friends and Re atives)

ะการประกอบธุรกิจ

ลูกคานิยมกี า และกิจกรรมพิเศษ (S ecia Interest and i esty e) ลูกคากลุม ประชุมสัมมนา นิทรรศการการคา การทองเทีย่ ว ที่ไดรับเปนรางวัล (MI ) ลูกคากลุมอื่นๆ ทั้งนี้ บริษั ทฯ พรอมบริการลูกคาทุกกลุม (A Seg ents Product ering) โดยใชกลยุทธทั้งในเชิงบริหารรายได (Revenue Manage ent) ควบคูกับการบริหารราคาขาย (Pricing) ที่แตกตางกันไปในแตละกลุมลูกคาที่มีความ ตองการของแตละกลุมไมเหมือนกัน

การ า บบ ครือ า การบินสตารอัล ล อน

ล กลุมพันธมิตร

โดยบริษั ทฯ มีเปาหมายในการเพิ่มเที่ยวบิน ที่บินตรงเขา ประเทศไทยใหมากขึ้น เนนความถี่ของเที่ยวบินในจุดบินที่มี ศักยภาพ ควบคูกับการเปดจุดบินใหมอยางระมัดระวัง มี เปาหมายในการขยายเสน ทางบินเพื่อใหครอบคลุมจุดบิน มากที่สุด ผานเครือขายพันธมิตรการบินสตารอัลไลแอนซ ทั้งแบบการบินตรงในลักษณะจุดบินตอจุดบิน (Point-toPoint) และเชื่อมตอในลักษณะตอเลยไปยังอีกจุดบินหนึ่ง (Beyond Point) ครอบคลุมระหวางจุดบินทุกจุดที่บริษั ทฯ ใหบริการเอง และการที่บริษัทฯ เปนสวนหนึ่งของพันธมิตร การบินที่ใหญและมีความเขมแข็งที่สุด คือ สตารอัลไลแอนซ ทําใหบริษั ทฯ สามารถใหบริการในเสนทางอื่นเพิ่มเติมโดย เชื่อมตอกับเสน ทางตางๆ ของเครือขายพันธมิตรการบิน สตารอัลไลแอนซ ซึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 2 สายการบินให บริการมากกวา 1 500 เที่ยวบินตอวัน ไปยัง 1 330 จุดบิน ทั่วโลก THAI ontact enter ศูนยบริการลูกคาทางโทรศัพท (02-356-1111) เปนดานแรกของจุดบริการหลักที่ลูกคาจะ ตัดสินใจใชบริการ บริษั ทฯ เล็งเห็นความสําคัญในการให บริการในสวนนี้เปนอยางมาก โดยมีขอตกลงระดับการให บริการ (Service eve Agree ent S A) คือ ตองใหบริการ ตอบรับสายลูกคารอยละ 0 ของปริมาณสายที่เรียกเขา ทั้งหมดภายในเวลา 20 วินาที และมีอัตราละทิ้งสายไมเกิน รอยละ โดยมีบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญดานนี้รับการวาจาง มาใหบริการภายใตการดูแลของหนวยงาน T ตามมาตรฐาน ที่กําหนด เพื่อเพิ่มความพึงพอใจสูงสุดใหแกลูกคา บริษั ทฯ มีชองทางในการตอบรับการบริการลูกคาหลาย ชองทาง ทัง้ ทางโทรศัพท อีเมล แฟกซ และโทรศัพทเลขหมาย บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 27


พิเศษ สําหรับลูกคากลุมตางๆ ทั้งลูกคากลุมพรีเมี่ยม ลูกคา ภาคราชการ และลูกคากลุมองคกร จากการเติบโตอยางรวดเร็วของชองทางดิจิทัล ( igita ) ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงอยางตอเนือ่ งของเทคโนโลยีใหม ที่ กํ า ลั ง เข า มา ทํ า ให เ กิ ด การแข ง ขั น อย า งรุ น แรงใน อุตสาหกรรมและธุรกิจการบินของโลก จึงไมสามารถปฏิเสธ ไดวา ผูบริโภคจะมีบทบาทสําคัญมากขึ้น ทั้งโทรศัพทมือถือ สมารทโฟน (S art P one) และเครือขายทางสังคมออนไลน (Socia et ork) สงผลใหเกิดสังคมแหงอุปนิสัยใหมของ ผูบ ริโภคทีเ่ รียกวา Socia no ics ทําใหแนวโนมของผูบ ริโภค หัน มาใชชองทางดิจิทัลในการซื้อบัตรโดยสารและการใช บริการทีส่ ามารถทําดวยตนเองได (Se Service) การสือ่ สาร ต า งๆ กั บ บริ ษั ท ฯ ผ า นช อ งทางดิ จิ ทั ล มากขึ้ น เป น ลํ า ดั บ การบินไทยจึงใหความสําคัญกับชองทางดิจิทัล เพื่อรองรับ แนวโนมการเติบโตของเทคโนโลยี รวมทั้งการสรางสรรคสิ่ง ใหมๆ ทีแ่ ตกตางไปจากเดิมและรวดเร็วกวาคูแ ขงขัน บริษัทฯ จึงมุงเนนการพั นาการใหบริการออนไลนอยางตอเนื่อง เพือ่ ใหลกู คาสามารถใชงานเว็บไซตของการบินไทยไดงา ยและ ทันสมัยอยูตลอดเวลาจากทุกอุปกรณ เชน โทรศัพทมือถือ สมารทโฟน เปนตน นอกจากบริษัทฯ เนนความสะดวกรวดเร็วในการคนหาเทีย่ วบิน และเครือขายเสนทางบินทีเ่ ชือ่ มตอกับสายการบินพันธมิตรไป ทัว่ โลก บริษัทฯยังสามารถใหบริการลูกคาแบบบริการเบ็ดเสร็จ ในจุดเดียว ( ne Sto Services) บริษัทฯ ไดมกี ารปรับตัวและ รับมือกับสภาพการแขงขันตางๆ ใหมปี ระสิทธิภาพทีแ่ ตกตาง กัน โดยการขยายชองทางชําระเงิน หลากหลายชองทางมากขึน้ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายใหกับลูกคา เชน ชําระเงินผาน ounter Service even Tesco otus PayPa ine Pay ATM Bank Trans er และอืน่ ๆ เปนตน นอกจากนี้ ยังพั นา การสือ่ สารขอมูล เพือ่ ดึงดูดความสนใจกับลูกคาและชวยเผยแพร ไปในวงกวาง รวมทั้งการบริหารการสงเสริมภาพลักษณของ บริษั ทฯ ขยายเครือขายและสรางความสัมพันธกับชุมชน ออนไลน ( n ine o unication) ผานชองทาง Socia Media ของการบินไทย ซึง่ จัดทําในหลายรูปแบบ อาทิ Banner In o gra ic เปนตนตลอดจนการใชชอ งทาง Socia Media ในการสงเสริมรายไดใหบริษัทฯ ไดอกี ทางหนึง่

กิ กรรมสง สริมการตลา ล สง สริมการ า

บริษัทฯ ไดดําเนินการดานสงเสริมการขายและการตลาดทั้ง ในและตางประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อรักษาสวนแบงตลาด เสริมความสามารถในการแขงขัน และสรางรายไดใหมากทีส่ ดุ 28 รายงานประจําป 2559

ในสภาวะตลาดที่ ไดรับผลกระทบจากปจจัยผันผวนภายนอก ทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง และการแขงขันในตลาด รวมถึง กิจกรรมสงเสริมการขายและการตลาดโดยโปรแกรมสะสมไมล รอยัล ออรคิด พลัส (Roya rc id P us R P) และรายการ แพ็คเกจทองเที่ยว รอยัล ออรคิด อลิเดย เอื้องหลวง (Roya rc id Ho iday R H) ทีห่ ลากหลาย ซึง่ คัดสรรแลว สําหรับนักทองเที่ยวผูโดยสารการบินไทย เปนการใหบริการ เชือ่ มตอจากการโดยสารเครือ่ งบิน ในการใหบริการทีพ่ กั และ การทองเที่ยวแกผูโดยสารของการบินไทย รอยัล ออรคิด อลิเดย มีการขายผานทั้งสํานักงานขายและ ตัวแทนจําหนายของการบินไทย มีการพั นาระบบเพื่อให รองรับการขายผานอินเทอรเน็ต ( n ine) มีการพั นา รายการทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ ที่ตอบสนองความ ตองการของลูกคาไดอยางครบถวนและหลากหลาย มีการ สงเสริมการขายผานสื่อโ ษณาประชาสัมพันธ การจัด vent และการเขารวมงานแสดงสินคาตางๆ รวมทั้งการจัดรายการ สงเสริมการขายชวงนอก ดูกาลทองเที่ยว นโยบายเหลานี้ เปนทั้งการสงเสริมการขายและการประชาสัมพันธรายการ ทัวร รอยัล ออรคดิ อลิเดย และทัวรเอือ้ งหลวง ใหเปนทีร่ จู กั ของลูกคามากขึน้ และยังเปนการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลใน การสงเสริมประเทศไทยใหเปนศูนยกลางการทองเที่ยวของ เอเชียตะวันออกเ ียงใตดวย

อง างการ ั าหนา องสา การบิน สมา ล

แมวาสายการบินไทยสมายลไดแยกระบบการจัดจําหนาย และบริการลูกคา ( istribution and Passenger Service Syste PS) ออกจากการบินไทย ตัง้ แตเดือนตุลาคม 255 เปนตนมา สายการบินไทยสมายลไดดําเนินการจัดจําหนาย ผานระบบของสายการบินไทยสมายลเอง แตเพื่อใหการ บริการผูโ ดยสารทีเ่ ดินทางตอเนือ่ งในเสนทางของการบินไทย รวมไปถึงเพิ่มศักยภาพของเครือขายการบินไทยใหแข็งแกรง สายการบินไทยสมายลจึงยังคงมีการจัดจําหนายรวมกับ การบินไทย ผานสัญญาเที่ยวบินรหัสรวม ( ode S are Agree ent) สายการบินไทยสมายลมุงเนนการควบคุมและบริหารจัดการ ตนทุนใหมีประสิทธิภาพ โดยรักษาระดับตนทุนคงที่ (Fixed ost) ให ตํ่ า เน น การดํ า เนิ น งานเ พาะกิ จ กรรมหลั ก ที่ เกี่ยวของโดยตรงกับธุรกิจ ไดแก การปฏิบัติการบิน การ ควบคุมมาตรฐานความปลอดภัย การกําหนดรูปแบบและ มาตรฐานการใหบริการลูกคา การใหบริการลูกคาบนเครือ่ งบิน การบริหารภาพลักษณตราสินคาและการสื่อสารการตลาด การกํ า หนดราคาและการบริ ห ารรายได ทั้ ง นี้ น อกจาก


ลก

สายการบินไทยสมายลจะจัดจําหนายผานระบบจัดจําหนาย ตรงและผานระบบอิเล็กทรอนิกสเปนหลักแลว ยังไดมกี ารขาย ผานระบบอะมาดิอุส และผานเอเยนตออนไลน ( n ine Trave Agent) เช น x edia Tri Advisor unar SkyScanner etRadar MakeMyTri eartri และ oibibo เพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายฐานลูกคาและเพิ่มการ รับรูใหมากขึ้น เปนตน สภาวะอุตสาหกรรมการบินและการแขงขัน ในป 2559 เศรษฐกิจโลกชะลอตัว โดยเติบโตรอยละ 3 1 ตํ่า กวาปกอน ปจจัยหลักมาจากเศรษฐกิจประเทศพั นาแลวมี การฟนตัวอยางลาชาและเปราะบาง ขณะที่เศรษฐกิจของ ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหมและกําลังพั นายังคงชะลอตัวจาก การคาโลกที่ซบเซา อีกทั้ง นโยบายการเงินที่สวนทางกันของ ประเทศเศรษฐกิจหลัก ประกอบกับความไมแนนอนกรณี สหราชอาณาจั ก รลงประชามติ อ อกจากสหภาพยุ โ รป (BR XIT) และการเปลี่ ย นแปลงผู  นํ า ของสหรั ฐ อเมริ ก า ประเทศเศรษฐกิจใหญอันดับ 1 ของโลก ซึ่งอาจกระทบตอ การเปลี่ยนแปลงนโยบายตางๆ รวมถึงภัยกอการรายและ ความตึงเครียดทางดานภูมิรัฐศาสตรยังคงมีอยู ทั้งนี้ การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนถือเปนปจจัยสําคัญที่สง ผลกระทบตอการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก เนื่องจากจีนมี ขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 2 ของโลกและมีการคาขายกับ หลายประเทศทั่วโลก ซึ่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจจีนลดลง อยูที่รอยละ 6 สําหรับสหรัฐอเมริกามีการขยายตัวลดลงอยู ที่รอยละ 1 6 จากการขยายตัวครึ่งปแรกที่ออนแอเกินคาด และคาเงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งคากระทบภาคการผลิตและ สงออก รวมถึงยังคงเปราะบางจากความไมแนนอนทาง นโยบายการเงิน ในสวนของยูโรโซนและญีป่ นุ ขยายตัวลดลง อยูที่รอยละ 1 และ 0 9 ตามลําดับ ดวยเศรษฐกิจมีการ ฟนตัวอยางชาๆ แตยังคงมีความเสี่ยงจากภาวะเงินฝดและ การบริโภคภายในชะลอตัว โดยเ พาะยุโรปมีความเสี่ยงจาก BR XIT และวิก ตผูอพยพ ขณะที่รัสเซียมีการหดตัวทาง เศรษฐกิจลดลงอยูที่รอยละ 0 6 ผลจากภาวะราคานํ้ามันเริ่ม ปรับตัวขึ้น สําหรับประเทศไทยมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจตํา่ สุดในกลุม อาเซียน แตเติบโตจากปกอนที่รอยละ 3 2 สวนแนวโนมป 2560 กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) คาดการณ การขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกดีขนึ้ ทีป่ ระมาณรอยละ 3 4 โดย คาดการณ ก ารฟ นตั ว ของเศรษฐกิ จ ประเทศพั นาแล ว แข็งแกรงขึน้ และเศรษฐกิจของกลุม ประเทศเกิดใหมและกําลัง พั นาปรับตัวดีขึ้น โดยเ พาะประเทศที่มีการหดตัวทาง

ะการประกอบธุรกิจ

เศรษฐกิจ อาทิ รัสเซียคาดการณการเติบโตอยูที่รอยละ 1 1 สําหรับประเทศไทยคาดการณการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ทีป่ ระมาณ รอยละ 3 3 (ที่มา รายงานสภาวะเศรษฐกิจโลกของกองทุน การเงินระหวางประเทศ (IMF) เดือนมกราคม 2560) ในสวนของราคานํ้ามันซึ่งถือเปนตนทุนหลักของสายการบิน นั้น ราคานํ้ามันดิบและนํ้ามันเครื่องบินเ ลี่ยป 2559 เริ่ม ปรับตัวสูงขึน้ แตยงั คงตํา่ กวาป 255 อยูท รี่ อ ยละ 1 จากภาวะ เศรษฐกิจโลกชะลอตัว สงผลใหความตองการนํ้ามันลดลง ขณะทีป่ ริมาณนํา้ มันดิบยังคงลนตลาด โดยการผลิตนํา้ มันของ กลุมโอเปก ผูผลิตนํ้ามันรายใหญของโลกยังอยูในระดับสูง (เดือนตุลาคม 2559 สูงสุดที่ 33 64 ลานบารเรลตอวัน) ผลจากอิหรานสงออกนํ้ามันไดเพิ่มขึ้นตอเนื่องหลังจากไดรับ การยกเลิกมาตรการควํ่าบาตร และความไมสงบในบาง ประเทศเริ่มคลี่คลายซึ่งทําใหผลิตสงออกไดเพิ่มขึ้น อาทิ ไนจีเรีย และลิเบีย อีกทั้งผูผลิตนํ้ามันรายอื่นนอกกลุมโอเปก มีกาํ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ โดยเ พาะสหรัฐอเมริกา สงผลใหราคา นํ้ามันดิบและนํ้ามันเครื่องบินเ ลี่ยป 2559 อยูที่ 45 06 และ 52 3 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ตามลําดับ อยางไรก็ดีราคานํ้ามันยังคงผันผวนไปตามสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้น อาทิ ความไมสงบในประเทศผูผลิตนํ้ามัน สภาวะ เศรษฐกิจ อัตราแลกเปลี่ยน และการเก็งกําไรราคานํ้ามัน เปนตน แมสมาชิกกลุม โอเปกมีมติปรับลดกําลังการผลิตอยูท ี่ 32 5-33 0 ลานบารเรลตอวันและกําหนดโควตาการผลิตของ แตละประเทศสมาชิกเพือ่ รักษาเสถียรภาพราคานํา้ มัน แตมติ ดังกลาวยังไมไดขอสรุปที่ชัดเจน สายการบินจึงตองเผชิญกับ ความเสี่ยงจากความไมแนนอนที่เกิดขึ้น ซึ่งจะสงผลตอการ บริหารจัดการและผลประกอบการของสายการบิน สําหรับแนวโนมป 2560 ซิตี้กรุปคาดการณวาราคานํ้ามันดิบ และนํ้ามันเครื่องบินจะปรับตัวสูงขึ้นอยูในระดับที่ 60 และ 0 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ตามลําดับ อยางไรก็ดี ระดับราคา ดังกลาวยังคงตํ่ากวาป 255 ซึ่งแนวโนมราคานํ้ามันที่ยังอยู ในระดับตํ่าถือเปนผลดีตออุตสาหกรรมการบินและบริษั ทฯ เนื่องจากคาใชจายดานนํ้ามันเปนสัดสวนคาใชจายในการ ดําเนินงานทีส่ งู ทีส่ ดุ (ทีม่ า รายงานความเคลือ่ นไหวราคานํา้ มัน รายเดือนแผนกเอกสารและสัญญาการบริหารความเสี่ยง ราคานํา้ มันและคาดการณราคานํา้ มันรายเดือนซิตกี้ รุป เดือน มกราคม 2560 ) อยางไรก็ดี การแขงขันระหวางสายการบินดวยกันยังคงทวี ความรุนแรงอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนการขยายเครือขาย เสนทางบิน ฝูงบิน และการแขงขันดานราคา ทัง้ จากสายการบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 29


ภูมิภาคตะวันออกกลาง สายการบินตนทุนตํ่า และการเพิ่ม ศักยภาพโดยการรวมตัวของกลุม สายการบินในลักษณะตางๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ซึ่งสงผลกระทบ โดยตรงตอการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน ( andsca e) ของการ แขงขันในหลายๆ ภูมิภาคในอุตสาหกรรมการบิน ดังนั้น การปรับตัวของสายการบินควบคูกับการวางกลยุทธในการ บริหารจัดการอยางชัดเจนรอบคอบ และสอดคลองทันตอ เหตุการณ จึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญตอการดําเนินงานเพื่อ รักษาความยั่งยืนของสายการบิน สภาวะการขนสงผูโดยสารทางอากาศ สมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (Internationa Air Trans ortation Association IATA) ไดสรุปปริมาณการ ขนสงผูโดยสารทางอากาศ (RP ) ของสายการบินในแตละ ภูมิภาค ป 2559 โดยรวมมีการขยายตัวอยางตอเนื่องรอยละ 6 3 โดยภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ  ก มี ก ารขยายตั ว สู ง กว า อุตสาหกรรมโดยรวมอยูที่รอยละ 9 2 ในขณะที่ภูมิภาคยุโรป มีอัตราการขยายตัวตํ่ากวาอุตสาหกรรมโดยรวมอยูที่รอยละ 4 6 และ ในป 2560 IATA คาดวาการขนสงผูโดยสารโดยรวม จะเติบโตที่รอยละ 5 1 ซึ่งจะเติบโตตํ่ากวาป 2559 สําหรับสายการบินในภูมิภาคที่มีปริมาณการขนสงผูโดยสาร ทางอากาศ (RP ) ขยายตั ว มากที่ สุ ด คื อ ภู มิ ภ าค ตะวันออกกลาง มีการขยายตัวในป 2559 อยางตอเนื่อง รอยละ 11 2 แตหากเปรียบเทียบสัดสวนการขนสงผูโดยสาร จะอยูท รี่ อ ยละ 9 6 ซึง่ นอยกวาสัดสวนของสายการบินภูมภิ าค เอเชียแปซิฟกประมาณ 3 เทา ซึ่งอยูที่รอยละ 32 9 ของ อุตสาหกรรมโดยรวม อยางไรก็ตาม สายการบินในภูมิภาค ตะวันออกกลางยังคงมีความไดเปรียบจากศักยภาพในการ ขยายธุรกิจ อีกทัง้ มีการเขารวมพันธมิตรและหุน สวนทางธุรกิจ กับหลายสายการบินหลัก ทําใหเพิ่มความสามารถในการให บริการครอบคลุมไปทุกภูมิภาคของโลก สําหรับประเทศไทยในป 2559 ภาพรวมการทองเที่ยวของ ประเทศปรับตัวดีขึ้น จากการที่สถานการณทางการเมืองใน ประเทศคลี่ ค ลาย มาตรการเร ง ฟนฟู ค วามเชื่ อ มั่ น และ มาตรการสงเสริมการทองเที่ยวอยางตอเนื่องของภาครัฐ โดยในภาพรวมมีสายการบินที่ทําการบิน (Sc edu e onSc edu e F ig t) ในเสนทางระหวางประเทศและในประเทศ จํานวน 151 สายการบิน ขนสงผูโดยสารรวม 102 4 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 10 เมื่อเทียบกับป 255 โดยมีปจจัยหนุน จากการขยายตัวของเสน ทางการบิน ภายในประเทศและ เสนทางการบินระหวางประเทศ เชนเดียวกับการเติบโตของ นักทองเที่ยวตางชาติที่เดิน ทางมายังประเทศไทยเพิ่มขึ้น 30 รายงานประจําป 2559

รอยละ 9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป 255 จํานวน 32 6 ลานคน ทั้งนี้ ในป 2559 มีผูโดยสารที่เดิน ทางกับ บริษัทฯ (การบินไทยและไทยสมายล) จํานวน 21 6 ลานคน เพิม่ ขึน้ รอยละ 5 คิดเปนสวนแบงทางการตลาด รอยละ 21 1 (ทีม่ า บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)) การแขงขันของอุตสาหกรรมการบินภายในประเทศ ธุรกิจการบินภายในประเทศปจจุบันมีการแขงขันที่รุนแรง มากขึ้น ทั้งจากสายการบินตนทุนตํ่าที่ใหบริการอยูเดิมมีการ ขยายตัวในตลาดอยางรวดเร็ว และสายการบินตน ทุนตํ่า รายใหมที่เห็นโอกาสจากการขยายตัวของอุปสงคในตลาด เสน ทางภายในประเทศที่มีอยูอยางตอเนื่อง สงผลใหใน แตละปตลาดสามารถเติบโตไดในอัตราสูง โดยในป 2559 มี สายการบินทีท่ าํ การบินภายในประเทศจํานวน 1 สายการบิน มีปริมาณผูโดยสารของสายการบินที่ทําการบิน (Sc edu e on-Sc edu e F ig t) ภายในประเทศเพิ่มขึ้นเปน 35 1 ลานคน เติบโตสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 12 4 ทัง้ นี้ โดยบริษัทฯ (การบินไทยและไทยสมายล) มีการขนสงผูโ ดยสาร ทัง้ สิน้ จํานวน 6 9 ลานคน เติบโตสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น รอยละ 14 คิดเปนสวนแบงตลาดรอยละ 19 6ในป 2559 การแขงขันในอุตสาหกรรมการบินระหวางประเทศ สภาวะแวดลอมและสถานการณตางๆ ในป 2559 ยังคงเปน ปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอธุรกิจการบินและปริมาณการ เดินทางของผูโ ดยสารทางอากาศ อาทิ ราคานํา้ มันทีล่ ดตํา่ ลง ปญหาเศรษฐกิจในภูมิภาคตางๆ ความผันผวนของอัตรา แลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ ความไมสงบทางการเมืองใน หลายประเทศ รวมทั้งสภาวะการแขงขันที่รุนแรงมากขึ้นจาก การขยายเครื อ ข า ยและการเป ด เส น ทางบิ น ใหม ข องทั้ ง สายการบิ น ที่ ใ ห บ ริ ก ารเต็ ม รู ป แบบ สายการบิ น จาก ตะวันออกกลาง และสายการบินตนทุนตํ่า รวมทั้งมีการเขา รวมเปนพันธมิตรทางธุรกิจในรูปแบบตางๆ ของสายการบิน มากขึ้น อยางไรก็ตาม เมื่อสถานการณความไมสงบทาง การเมืองภายในประเทศคลี่คลายลง การที่ภาครัฐดําเนิน นโยบายกระตุนเศรษฐกิจในหลายดานและการสงเสริมการ ทองเทีย่ วอยางตอเนือ่ ง สงผลใหปริมาณการเดินทางเขา-ออก ประเทศไทยฟนตัวกลับมาเติบโตอีกครัง้ อีกทัง้ บริษัทฯ เห็นวา ยังมีปจจัยบวกที่เปนโอกาสของตลาดประเทศไทยที่สามารถ ขยายตัวได เพราะความเปนศูนยกลางที่เหมาะสมในการ เชื่อมตอระหวางเมืองในอาเซียนและภูมิภาคใกลเคียง อีกทั้ง การตืน่ ตัวจากการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) ใน ป 255 จะเปนแรงกระตุนใหมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคทั้งดานการคาและการลงทุน ซึ่งจะชวยกระตุน และสรางความเชื่อมั่นแกตางชาติในการเดินทางเขา-ออก ประเทศไทยมากขึ้น


ลก

แมวา องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) ไดประกาศปรับลด อั น ดั บ ความน า เชื่ อ ถื อ ด า นความปลอดภั ย ในการออกใบ อนุ ญ าตทํ า การบิ น ของประเทศไทย ส ง ผลกระทบต อ อุตสาหกรรมการบินของไทย ทั้งในสวนของสายการบินที่มี ขนาดเล็ก สายการบินเชาเหมาลําและสายการบินเกิดใหม โดย ในสวนของสายการบินขนาดใหญโดยเ พาะสายการบินที่มี การปฏิบัติการบินเขาสูภ าคพื้นทวีปยุโรป การที่ปรระเทศใดๆ ไม ผ  า นการประเมิ น ด า นมาตรฐานความปลอดภั ย ของ I A - S AP จะทําใหมีความเปนไปไดสูงมากที่จะถูกระบุ อยูใน Air Sa ety ist หรือ ที่เรียกกันวา Banned ist ดังนั้น การบินไทยจึงใชการขออนุญาตเปน T ird ountry erator (T ) เพือ่ ใหไดเปนสายการบินที่ไดรบั การยกเวน จากการถูก Banned ในกรณีที่การแกไขปญหาดาน มาตรฐานความปลอดภัยของประเทศไทย ลาชา หรือไมเปน ไปตามที่ Air Sa ety o ittee (AS ) คาดหวัง ประกอบ กับ บริษั ทฯ มีการดําเนินการดานความปลอดภัยตรงตาม มาตรฐานและอยู ในระดับสากลอยูแลว และไดพลิกวิก ต ครัง้ นี้ใหเปนโอกาสดวยการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย การบินของบริษัทฯ โดยไดนํามาตรฐานขององคการบริหาร ความปลอดภัยการบินของสหภาพยุโรป หรือ ASA มาเปน รากฐาน (Bedrock) ของมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ของบริษัทฯ สรางความมัน่ ใจในการใหบริการดวยคุณภาพและ มาตรฐานความปลอดภัย อยางไรก็ตาม มีความเสีย่ งทําใหไมสามารถเพิม่ เทีย่ วบินไปยัง ตลาดหลัก เชน ญี่ปุนและเกาหลีใต ฯลฯ อีกทั้งในชวงปลาย ป 2559 การปราบทัวรศนู ยเหรียญของรัฐบาลสงผลใหจาํ นวน นักทองเทีย่ วจีนซึง่ เปนตลาดทีม่ นี กั ทองเทีย่ วมายังประเทศไทย มากที่สุดเปนอันดับ 1 ลดลง แตจะสงผลกระทบในระยะสั้น เทานั้น โดยในป 2559 มีปริมาณผูโดยสารของสายการบิน ที่ทําการบิน (Sc edu e on-Sc edu e F ig t) ระหวาง ประเทศเพิม่ ขึน้ เปน 6 2 ลานคน สูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น รอยละ 9 9 ทัง้ นี้ โดยบริษัทฯ (การบินไทยและไทยสมายล) มีการขนสงผูโ ดยสารทัง้ สิน้ จํานวน 14 ลานคน เติบโตรอยละ 2 0 อยางไรก็ดี บริษัทฯ ยังคงเปนผูน าํ ตลาดทีม่ สี ว นแบงตลาด ผูโดยสารระหวางประเทศมากที่สุด คือรอยละ 21 9 ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดมีการติดตามประเมินสถานการณและปจจัย ที่เกี่ยวของตางๆ เพื่อปรับกลยุทธใหทันตอทุกเหตุการณและ พ ติกรรมของลูกคาที่เปลี่ยนแปลงไปในแตละตลาดอยาง ตอเนื่อง รวมทั้งพยายามสรางความแข็งแกรงในการแขงขัน ในดานตางๆ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและประสิทธิภาพในการบริการ ให ดี ยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ สร า งภาพลั ก ษณ ที่ ดี แ ละรั ก ษาความเป น สายการบินชั้นนํา

ะการประกอบธุรกิจ

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขันของ สายการบินไทยสมายล อุตสาหกรรมการบินยังคงเจริญเติบโตอยางตอเนือ่ ง และเปน อุตสาหกรรมที่มีการแขงขันที่รุนแรงและรวดเร็ว โดยเ พาะ อยางยิง่ ในภูมภิ าคเอเชีย ทัง้ นี้ ในปจจุบนั สายการบินไทยสมายล ทําการบินในเสนทางบินในประเทศเปนจํานวน 14 เสนทางบิน คิดเปนสัดสวนรอยละ 4 2 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด อย า งไรก็ ต าม ด ว ยอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตที่ ร วดเร็ ว ของ สายการบินตนทุนตํา่ ( o ost Air ine) อาทิ สายการบินไทย แอรเอเชีย สายการบินไทยไลออนแอร สายการบินนกแอร สายการบินไทยเวียดเจ็ท ทําใหสายการบินไทยสมายลตอง เผชิญกับการแขงขันดานราคาและการตลาด ดังเห็นไดจาก อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตของจํ า นวนเที่ ย วบิ น และจํ า นวน ผูโ ดยสารในประเทศของสายการบินตนทุนตํา่ จากทาอากาศยาน ดอนเมือง ในป 255 เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาถึงรอยละ 30 และรอยละ 34 0 ตามลําดับ ทั้งนี้ ในสวนของทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ อัตราการเจริญเติบโตของจํานวนเที่ยวบิน และ จํานวนผูโดยสารในประเทศในป 255 เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา ถึงรอยละ 4 4 และรอยละ 4 9 ตามลําดับ (ที่มา ขอมูลสถิติ การขนสงทางอากาศจากการทาอากาศยานแหงประเทศไทย ป 255 ) ในขณะที่เสนทางบินระหวางประเทศที่ทําการบินในปจจุบัน ไดแก ประเทศสาธารณรัฐพมา ประเทศกัมพูชา ประเทศ มาเลเซีย ประเทศจีน ประเทศอินเดีย และเสนทางบินอื่นๆ ที่ สายการบินไทยสมายลจะดําเนินการเปดขึ้นในอนาคต ตอง เผชิญกับการแขงขันที่รุนแรงของสายการบิน Fu Services อาทิ สายการบินบางกอกแอรเวย และสายการบินตนทุนตํ่า อาทิ สายการบินไทยแอรเอเชีย สายการบินไทยไลออนแอร สายการบินนกแอร สายการบินไทยเวียดเจ็ท และสายการบิน จากตางประเทศ ทั้งสายการบินแบบบินประจํา (Sc edu e F ig t) และแบบเชาเหมาลํา ( arter F ig t) สายการบินไทย สมายลจึงไดดําเนินการปรับกลยุทธทั้งในดานเสน ทางบิน ดานการตลาดและการขาย การบริการ และเพิ่มชองทาง การขายและการจัดจําหนายใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาได งายขึ้น เพื่อเปนการขยายฐานลูกคา รวมไปถึงเพิ่มสวนแบง การตลาด พรอมการปรับปรุงคุณภาพและการบริการใหดี ยิ่งขึ้น รวมทั้งดําเนินการประชาสัมพันธเพิ่มการรับรูตรา สินคา (Brand A areness) ทั้งในประเทศและตางประเทศ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหสายการบินเปนทีร่ จู กั และใชบริการ โดย มุงเนนถึงความคุมคาในการใหบริการ ในราคาที่ผูโดยสาร สามารถเขาถึงและซื้อได

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 31


รอ บิน จ า

- B -300 R - A350-900 - B -9 -B - A320 รม หมายเหตุ

(1)

3 2 3

2

รวม ป

5 2

(1)

5

3 12 2 2 3

บริษัท แอรบัส แจงเลื่อนการรับมอบเครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 จากเดิมในป 2560 เปนป 2561

การจัดหาผลิตภัณ หรือบริการ แผน ูงบิน

ป จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ มี ก ารให บ ริ ก ารการขนส ง สิ น ค า และ ไปรษณียภัณฑ ไปยังปลายทางครอบคลุม จุดบิน ใน 32 ประเทศ

กิจการขนสงสินคา พัสดุภัณ  และไปรษณียภัณ 

การตลาดและการแขงขันของการขนสงสินคา และไปรษณียภัณ  การตลาดของบริษั ทฯ เนนการพั นาผลิตภัณฑและบริการ การขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ ใหเปนไปตามความ ตองการของลูกคาและใหเปนที่ยอมรับในการเลือกใชบริการ พรอมทัง้ กําหนดราคาใหสามารถชวงชิงตลาดได นอกจากนัน้ จะตองปรับการตลาดของบริษัทฯ เนนการแขงขันการขนสง สินคาและไปรษณียภัณฑ ยังคงใชราคาเปนปจจัยในการชวงชิง ตลาด นอกจากจะตองปรับแผนการขายใหสอดคลองกับ ทิศทางของตลาด ซึ่งใชนโยบายเชิงรุก โดยใหบริการตาม ความตองการของลูกคาในแตละตลาดเพือ่ ธุรกิจระยะยาวแลว ยังรวมถึงสรางพันธมิตรการบิน สําหรับรองรับจุดบินอื่นๆ ที่ นอกเหนือจากจุดบินในปจจุบนั ในขณะเดียวกันก็เปนการเสริม การขายโดยรับสินคาของพันธมิตรบนเที่ยวบิน ที่บริษั ททํา การบิน การแลกเปลี่ยนธุรกิจกับพันธมิตรนี้จะเพิ่มตลาดใหม และสรางศักยภาพในการแขงขันเพื่อความแข็งแกรงในการ เติบโตอยางยั่งยืน

บริษั ทฯ มีแผนการลงทุนหลักในระยะเวลา 4 ป (ป 255 2561) คือการจัดหาเครื่องบินและอุปกรณการบิน จํานวน 22 ลํา (ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการจัดหาเครื่องบินใหมที่ ไดรับการ อนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลวตามแผนยุทธศาสตร ป 25562561) โดยเปนการจัดหาเครื่องบินใหมสําหรับรองรับการ เติบโตทางธุรกิจ และทดแทนการปลดระวางเครื่องบินที่มี อายุการใชงานนาน จํานวน 29 ลํา ทั้งนี้ เพื่อเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพฝูงบิน และรักษาขีดความสามารถในการแขงขัน มีรายละเอียดแผนฝูงบินดังตารางดานบน

ลักษณะผลิตภัณ และบริการ การใหบริการในการขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ มีการแยก ประเภทการบริการเพือ่ ใหตอบสนองความตองการของลูกคา เชน บริการ T Force (T X) เปนการบริการสงสินคาเรงดวน ระหวางประเทศ โดยรับประกันความรวดเร็วและตรงตามเวลา T Fres (T F) เปนการขนสงสินคาทีส่ ดหรือเนาเสียงาย เชน กลวยไม ฯลฯ T oo (T ) เปนการขนสงสินคาทีต่ อ งรักษา อุณหภูมิ เชน ผัก ผลไม ของสดแชแข็ง ฯลฯ THAI Sensitive Te erature Products (T T) ใหบริการสําหรับสินคาทีต่ อ ง ควบคุมอุณหภูมิ เชน วัคซีน หรือ ยา ฯลฯ โดยการใหเชาตู คอนเทนเนอรควบคุมอุณหภูมิ ( ontro ed Te erature nit oading evices - ) ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดวางแผนการ จัดซื้อตูควบคุมอุณหภูมิเพิ่ม เพื่อรองรับการเติบโตของการ ขนสงผลิตภัณฑยา และเวชภัณฑ ซึ่งขยายตัวอยางตอเนื่อง นอกจากนัน้ ยังมีการบริการ THAIPA เปนการขนสงกระเปา ผูโดยสาร ( nacco anied Baggage) ไปยังตางประเทศ และ T ใหบริการขนสงสินคาเรงดวนระหวางสนามบิน ภายในประเทศ โดยมีการประกันรับสงถึงมือผูรับปลายทาง ภายในสถานที่ที่กําหนดใน 24 ชั่วโมง 32 รายงานประจําป 2559

ผลจากการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) เมื่อป 255 ที่ผานมา ประเทศสมาชิกไดมีการพั นาทางดานการ คาและการลงทุน เสนทางการคมนาคมทัง้ ทางบก และทางนํา้ เพื่อเชื่อมตอระหวางกัน ดังนั้น บริษั ทฯ จึงรางกลยุทธเพื่อ รองรับการขนสงทีเ่ ชือ่ มโยงในรูปแบบ Mu ti Moda ขึน้ ทัง้ นี้ บริษั ทฯ ไดเจรจาและทําสัญญากับบริษั ทที่ทําการขนสง ทางบกในประเทศและตางประเทศ เพือ่ ทําการขนสงเชือ่ มโยง จุดขายอื่นๆ นอกเหนือจากจุดที่ทําการบิน เพื่อใหเขาถึง กลุมลูกคาไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะสงเสริมใหสนามบินนานาชาติ สุวรรณภูมิเปนศูนยกลางของการขนสงสินคาทางอากาศ ที่ดีที่สุดในเขต A


ลก

ะการประกอบธุรกิจ

การแขงขันขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑของประเทศไทยมี ตลาดหลักทีส่ าํ คัญ คือ เสนทางภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกกลาง และยุโรป ซึ่งในปจจุบันมีสายการบินคูแขงหลายสาย ทําให การใชราคาเปนเครื่องมือสําคัญเพื่อชวงชิงลูกคา และเพิ่ม สวนแบงทางการตลาด

ในสวนของการขนสงสินคาของประเทศไทย ในป 2559 การสงออกโดยรวม มีปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ และ การนําเขาโดยรวมมีปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ 2 ในขณะที่ การขนสงผานแดนเพิ่มขึ้นรอยละ 0 6 ทําใหการขนสงสินคา โดยรวมมีปริมาณ 1 2 ลานตัน เพิม่ ขึน้ จากป 255 รอยละ 3

บริ ษั ท ฯ จึ ง เริ่ ม นโยบายแต ง ตั้ ง ตั ว แทนขายและบริ ก าร ( enera Sa es and Services Agent SSA) หรือบริษัท ตัวแทนขาย ( enera Sa es Agent SA) ที่มีศักยภาพให กับการบินไทยในบางจุดบิน เพือ่ ใหเกิดความคลองตัวในตลาด นั้นๆ และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการขายสินคา ขาเขามายังประเทศไทย

หนวยธุรกิจ

เพื่อธุรกิจระยะยาวบริษัทฯ ยังคงมุงเนนการเสริมสรางความ สัมพันธที่ดีกับผูผลิต ผูสงออกรายสําคัญ และบริษัทตัวแทน ขนสงสินคาทางอากาศที่ทําการขนสงในเสนทางที่บริษั ทฯ ทําการบิน ทั้งนี้ เพื่อสรางความมั่นคงกับฐานลูกคาเดิมที่ สามารถขยายตัว และจะใชบริการกับบริษัทฯ อยางตอเนื่อง นอกเหนือจากการเขาเยี่ยมพบลูกคาแลว บริษั ทฯ ไดจัด กิจกรรมรวมเพื่อเชื่อมความสัมพันธระหวางหนวยงานกับ บริษัทตัวแทนขนสงสินคาทางอากาศเปนประจําในระหวางป

ลักษณะผลิตภัณ หรือบริการ บริษัทฯ ไดดําเนินการใหบริการคลังสินคาที่เขต Free one ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เพือ่ รองรับการขยายตัวของปริมาณ การขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ ทั้งการนําเขา-สงออก รวมถึงสินคาถายลําทั้งการขนสงระหวางประเทศและภายใน ประเทศ ปจจุบนั มีลกู คาสายการบินตางชาติ 120 ราย เพิม่ ขึน้ จากปที่ผานมา รอยละ 12 ที่ใชบริการของคลังสินคา

สภา การ นสงสินคา างอากา

สมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA) คาดการณ วาป 2560 ปริมาณการขนสงสินคาระหวางประเทศทางอากาศ โดยรวมจะขยายตัวเพิ่มขึ้น เ ลี่ยประมาณรอยละ 3 การเติบโตของเที่ยวบินใหมทําใหปริมาณพื้นที่ระวางใตทอง (Be y Ho d a acity) เพิ่มขึ้นจนในบางเสนทางมีมากเกิน ความตองการของตลาด ทําใหเกิดการแขงขันดานราคา ของสิ น ค า ทั่ ว ๆ ไป ในขณะเดี ย วกั น ธุ ร กิ จ ขายตรง และ e- o erce ก็ผลักดันใหการบริการแบบ oor-to- oor ขยายตัวอยางมาก จึงสงผลใหปริมาณไปรษณียภัณฑแบบ ธรรมดาและแบบ x ress เติบโตอยางรวดเร็ว โดยเ พาะ ในตลาดสงออกของประเทศจีน ดวยเหตุที่ความตองการ ของลูกคาเนน ที่ความสะดวกในการสั่งและรับสินคาแบบ oor-to- oor มากขึ้น ดังนั้น การขนสงสินคาทางอากาศ ตองหันมาใหความสําคัญธุรกิจ e- o erce มากยิ่งขึ้น นอกเหนือจากการบริการขนสงสินคาและวัตถุดิบสําหรับ Su y ain ตางๆ ทัว่ โลก โดยการขยายเสนทางบิน (Su y et ork) โดยการหันมาจับมือกันระหวางสายการบิน เพื่อ สนองตอบความตองการของลูกคาโดยขยายตลาดออกไป

บริษัทฯ ดําเนินกิจการที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการขนสงโดย จัดตัง้ เปนหนวยธุรกิจ ประกอบดวยการบริการคลังสินคาและ การจัดการขนสง การบริการลูกคาภาคพืน้ การบริการลานจอด และอุปกรณภาคพื้น และครัวการบิน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ธุรกิจการบริการคลังสินคา

เพื่ อ สร า งความพึ ง พอใจให กั บ ลู ก ค า การดํ า เนิ น งานด า น การบริ ก ารคลั ง สิ น ค า บริ ษั ท ฯ ได เ ริ่ ม นํ า แนวคิ ด ean Manage ent มาใชในการเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับปรุง กระบวนการบริการขนสงสินคาของบริษัทฯ โดยเริม่ จากความ รวมมือและระดมความคิดระหวางพนักงานและผูบริหารให เกิดความเขาใจที่ตรงกัน ในวัตถุประสงคและเปาหมายที่ ชัดเจน เพื่อสรางระบบและกระบวนการในการทํางานใหมี ประสิทธิภาพ ลดการสูญเสียจากขั้นตอนที่ ไ มจําเปน หรือ ซํ้าซอน รวมถึงลดขอผิดพลาดในการทํางาน สามารถให บริการไดรวดเร็ว สินคาสงถึงลูกคาตามเวลาโดยไมเกิดความ เสียหาย ในขณะเดียวกันก็ยงั คงไวซงึ่ มาตรฐานความปลอดภัย สภาพแวดลอมในการทํางานที่เหมาะสม และเพื่อนําไปสูการ บริการที่เปนมาตรฐานระดับโลก โครงการกอสรางอาคารคลังสินคา ระยะที่ 2 พื้นที่ประมาณ 22 125 ตารางเมตร ณ บริเวณดานขางอาคารคลังสินคาเดิม จะสามารถรองรับปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นไดอีกประมาณ 1 3 ลานตัน โดยปริมาณการขนสงสินคาในป 2559 มีปริมาณ สินคา 9 0 แสนตัน โดยแยกเปนของสายการบินไทย 5 1 แสนตัน และสายการบินลูกคารวมกัน 3 9 แสนตัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 33


บริษั ทฯ วางแผนที่จะปรับปรุงศูนยลูกคาสัมพันธ ( argo ontact enter ) ที่อาคารคลังสินคาการบินไทย เขตปลอดอากร สุวรรณภูมิ ในป 2560 สําหรับบริการดาน ขอมูลขาวสารแกลูกคา แบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ ( ne Sto In or ation Service enter or usto er) ซึ่งสามารถ ติดตอไดที่หมายเลขโทรศัพท 02-13 -4200 นอกจากนั้นมี การใหบริการระบบติดตามสืบคนสถานะสินคา (Track and Trace) เพื่อสามารถติดตามสถานการณขนสงสินคาผานทาง เว็บไซต t aicargo co ทําใหลูกคาสามารถรับทราบ สถานะของสินคาไดอยางถูกตอง เพื่อสนับสนุนการดําเนินธุรกิจ เพิ่มความสามารถในการ แขงขัน และเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน ตลอดจนเพือ่ สรางความพึงพอใจและตอบสนองความตองการของลูกคา บริษั ทฯ ไดทําการพั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหม เรียกโดยยอวา “ H R S” เพือ่ ทดแทนระบบเดิม ( R HI S) H R S เปนระบบ Integrated Syste ของการสํารอง ระวางบรรทุกสินคา การบริหารจัดการคลังสินคา การบริหาร จัดการ ( nit oading evices) และการบริหารบัญชี รายไดของฝายการพาณิชยสินคาและไปรษณียภัณฑ บริษัท ไดนาํ ระบบ H R S นีเ้ ขามาเริม่ ปฏิบตั งิ านทดแทนระบบเดิม ตั้งแตเดือนสิงหาคม 255 และปจจุบันอยูใน P ase ที่ 2 ที่มี ระบบปฏิบตั งิ านไดแลวเพิม่ ขึน้ คือ ระบบ ai Manage ent ระบบ Revenue P anning Syste (RPS) และกําลังพั นา ระบบ MISB ซึง่ เปนระบบทีช่ ว ยในการจัดทํารายงาน วิเคราะห ขอมูลใหกับผูบริหารในการวิเคราะห วางแผน และตัดสินใจ นอกจากนี้ มีการพั นาระบบ Ware ouse Auto ation ซึ่ ง เป น การเชื่ อ มข อ มู ล ของอุ ป กรณ ใ นคลั ง สิ น ค า ทั้ ง หมด เขากับระบบ H R S เพื่อใชเปนเครื่องมือชวยในการ บริหารจัดการคลังสินคาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นและลด ขอผิดพลาดในกระบวนการทํางานในคลังสินคา คาดวาระบบ H R S จะมีขดี ความสามารถเต็มรูปแบบไดประมาณปลาย ป 2560

ธุรกิจการบริการลูกคาภาคพืน

ลักษณะผลิตภัณ หรือบริการ บริษั ทฯ ไดเพิ่มศักยภาพในการใหบริการลูกคาภาคพื้นแบบ เต็มรูปแบบ (Fu round Hand ing) และสามารถใหบริการ ครบทุ ก แบบของเครื่ อ งบิ น (A Aircra t Ty es) จาก ประสบการณและความเชี่ยวชาญในการใหบริการลูกคา ภาคพื้นมากวา 50 ป นับแตเริ่มใหบริการ ณ ทาอากาศยาน ดอนเมืองเปนตนมา แมวาปจจุบันไดยายฐานการปฏิบัติงาน มาอยูที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษั ทฯ ยังไดรับอนุญาต 34 รายงานประจําป 2559

จากบริษั ท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ใหเปน ผู  ป ระกอบการบริ ก ารลู ก ค า ภาคพื้ น ณ ท า อากาศยาน สุวรรณภูมิ ตามสัญญาเลขที่ ทสภ 1-4 2549 โดยมีระยะ เวลาของสัญญารวม 34 ป นับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2549 ถึงวันที่ 2 กันยายน 25 3 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั งได รั บ อนุ ญ าตจากท า อากาศยาน นานาชาติ ใ นภู มิ ภ าค ได แ ก เชี ย งใหม หาดใหญ ภู เ ก็ ต กระบี่ และเชียงราย ใหเปนผูใหบริการลูกคาภาคพื้น ณ ทาอากาศยานดังกลาวมาโดยตลอด ทัง้ นี้ สัญญาการอนุญาต ใหเปนผูประกอบการบริการ ณ ทาอากาศยานตางๆ นั้น ยังอยูในระหวางการดําเนินการของบริษัท ทาอากาศยานไทยฯ ยกเวนทาอากาศยานกระบี่ที่เปนของกรมทาอากาศยาน

ร ภ องการ หบริการ

บริการผู สาร ประกอบดวย บริการตรวจรับบัตรโดยสาร เอกสารการเดินทาง หมายเลขที่นั่ง อาหารพิเศษ และ หรือ บริการพิเศษในแตละรูปแบบการเดินทางหรือตามที่ไดสาํ รอง ไวลว งหนา ตรวจสอบและบันทึกนํา้ หนักสัมภาระของผูโ ดยสาร รวมถึ ง บริ การผู  โ ดยสารขาออกบริ เ วณห อ งพั กผู  โ ดยสาร กอนเขาอากาศยาน ใหบริการตรวจทานเอกสารการเดินทาง จัดลําดับและระเบียบการเขาสูอากาศยาน และอํานวยความ สะดวกผูโดยสารที่ออกจากอากาศยานสําหรับเที่ยวบินขาเขา บริการหองรับรองพิ สําหรับใหบริการแกผโู ดยสารชัน้ หนึง่ ชัน้ ธุรกิจ ผูโ ดยสารสมาชิกบัตรแพลททินมั่ และสมาชิกบัตรทอง มีบริการสปา (Roya rc id S a) สําหรับผูโดยสารชั้นหนึ่ง และชั้นธุรกิจ บริการ านสัมภาร ใหบริการตรวจสอบ ติดตามสัมภาระ สูญหาย และซอมแซมหรือชดใชกรณีกระเปาชํารุดเสียหาย รวมถึงใหบริการนําสัมภาระลาชาสงใหกับผูโดยสารถึงที่พัก รวมถึงติดตามและจัดเก็บสิ่งของลืมบนเครี่องบิน บริการค บคุมร างบรร ุก และบริการวางแผนระวาง บรรทุก คํานวณนํ้าหนักบรรทุก ควบคุมการบรรทุกสัมภาระ สินคา และไปรษณียภัณฑทั้งขาขึ้นและขาลง ( oading and n oading) บริการสนับสนุนการ หบริการ เชน ดูแลชวยเหลือผูโดยสาร ทีป่ ระสบปญหาตางๆ ทัง้ เทีย่ วบินขาเขา-ขาออก และผูโ ดยสาร ตอเครื่องหรือผูโดยสารพลาดการตอเที่ยวบิน (กรณีเที่ยวบิน ขาเขาของบริษัทการบินไทยลาชา) ใหสามารถเดินทางตอไป ยังจุดหมายปลายทางไดอยางราบรื่น ไดรับความสะดวก


ลก

ะการประกอบธุรกิจ

ดวยตนเอง ถือเปนเปาหมายที่บริษั ทฯ จะรุกเขาไปเสนอให บริการแกสายการบินเหลานี้ดวย ในสวนของการใหบริการ ณ ทาอากาศยานภูมภิ าคทีเ่ ชียงใหม หาดใหญ ภูเก็ต กระบี่ และเชียงรายนั้น จะมีคูแขงอยูเพียง แหงละ 1 ราย โดยสัดสวนทางการตลาดของบริษั ทฯ จะ มากกวารอยละ 0 ทั้งนี้ ทาอากาศยานภูเก็ตจะเปนตลาด ที่มีอุปสงค ( e and) มาก ทั้งสายการบินแบบ ดูกาล (Seasona ) และแบบเชาเหมาลํา ( arter) รวมทั้งสายการ บินราคาประหยัด ( o ost arriers) ซึ่งจะมีจํานวนเพิ่ม มากขึ้นเรื่อยๆ ปลอดภั ย มากที่ สุ ด การให บ ริ ก ารยั ง ครอบคลุ ม ถึ ง การ ประสานงานกับหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจอื่นๆ เชน กองบั ง คั บ การตรวจคนเข า เมื อ ง กรมศุ ล กากรและการ ทาอากาศยานฯ นอกจากนี้ ยังมีบริการพิเศษตางๆ (S ecia Services) เชน การบริการเ พาะบุคคลสําคัญ ผูโดยสารที่ เดินทางในชัน้ หนึง่ การใหบริการเช็คอินลวงหนาทางโทรศัพท สําหรับผูโดยสารชั้นหนึ่ง และเคานเตอรเช็คอินพิเศษสําหรับ ผูโดยสารชั้นธุรกิจ สมาชิกแพลททินั่ม และสมาชิกบัตรทอง รวมทั้งการบริการผูโดยสารสูงอายุ ผูพิการ ผูปวยที่แพทย รับรองการเดินทาง และผูโดยสารที่มีอายุตํ่ากวา 12 ปที่ เดินทางลําพัง เปนตน บริ การพิ

พา ลู ก ค า องหน งาน อก น อาทิ ธนาคาร และบริษั ท เอกชนตางๆ ที่ตองการใหบริษั ทฯ อํานวยความสะดวกให ลูกคาของตนเปนพิเศษ เชน บริการดานการอํานวยความ สะดวกในการเดินทาง หองรับรองพิเศษ และการบริการพิเศษ ตางๆ ตามที่ระบุในสัญญาการใหบริการ บริการสา การบินลูกคา ใหบริการผูโดยสาร สัมภาระ การควบคุมระวางบรรทุก หองรับรองพิเศษ และการบริการพิเศษตางๆ ตามที่มีระบุไว ในสัญญาการใหบริการ การตลาดและการแขงขัน นโยบายการตลาดของฝายบริการลูกคาภาคพื้น เนนการเพิ่ม สัดสวนของบริษัทฯ ในตลาดการใหบริการลูกคาภาคพื้น ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งมีคูแขงอยูอีก 2 ราย โดยฝาย บริการลูกคาภาคพื้นมีสายการบินลูกคา 43 สายการบิน เปน สัดสวนอยูรอยละ 35 บริษั ทคูแขงมีสัดสวนทางตลาดอยู รอยละ 3 สวนสายการบินที่มีการบริการภาคพื้นดวยตนเอง มีสดั สวนอยูร อ ยละ 2 และสายการบินทีม่ กี ารบริการภาคพืน้

การใหบริการเที่ยวบินแบบเหมาลํา ( arter F ig t) ที่ ทาอากาศยานดอนเมือง เพือ่ ใหสอดคลองกับนโยบายการเปด ใหบริการทาอากาศยานดอนเมืองของบริษั ททาอากาศยาน ไทยฯ ที่ประกาศใชมาตั้งแตป 255 เปนโอกาสในการขยาย รูปแบบบริการที่จะสามารถเพิ่มรายไดจากการใหบริการ ภาคพื้น ณ ทาอากาศยานดอนเมืองในอีกทางหนึ่งดวย การจัดหาผลิตภัณ และการบริการ ปจจัยสําคัญที่มีผลกระทบอยางยิ่งตอการใหบริการลูกคา ภาคพืน้ ในทุกๆ ทาอากาศยาน คือ แรงงาน เนือ่ งจากการปรับ คาจางแรงงานขั้นตํ่าในประเทศไทย ทําใหแรงงานที่มีอยูใน ภาคอุตสาหกรรมการเดินอากาศ หรือธุรกิจการบิน มีการ โยกยายไปสูอุตสาหกรรมอื่นๆ เนื่องดวยการไดรับคาจาง เทากันหรือตํ่ากวาเล็กนอย แตไมตองเหนื่อยจากการทํางาน เปนกะ ซึ่งทั้งบริษัทฯ เองและคูแขง ตางไดรับผลกระทบจาก สถานการณที่เกิดขึ้นเชนเดียวกัน ในสวนของบริษัทฯ นั้น ไดมีการบริหารจัดการแรงงาน เพื่อ ดําเนินการแกไขปญหาดังกลาว ดวยการวาจางแรงงานแบบ จัดจางคนภายนอก ( utsources) และแบบเหมางานบริการ ( ut- ob) รวมทั้งหาแรงงานแบบไมเต็มเวลา (Part Ti e) มาเสริม เพื่อใหมีปริมาณแรงงานเพียงพอตอการใหบริการ ลูกคาภาคพื้นในทุกทาอากาศยานดังกลาวขางตน อีกทั้ง บริษัทฯ มีนโยบายในการแปรสภาพการจางแรงงานภายนอก ของบริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด ที่บริษัทฯ ถือหุนอยู ใหเปน พนักงานแบบสัญญา เพื่อสรางความมั่นคงในการ ทํางานใหแกพนักงานเหลานั้น

ธุรกิจการบริการอุปกรณภาคพืน

ลักษณะผลิตภัณ  หรือบริการ ฝ า ยบริ ก ารอุ ป กรณ ภ าคพื้ น ได รั บ อนุ ญ าตจากบริ ษั ท ทาอากาศยานไทยฯ ใหเปนผูประกอบการบริการอุปกรณ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 35


ภาคพืน้ ตามสัญญาที่ ทสภ 1-50 2549 โดยมีระยะเวลาของ สัญญา 34 ปนับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2549 ถึงวันที่ 2 กันยายน 25 3

โดยการจั ด ทํ า เป น แผนป อ งกั น และการฝ กเตรี ย ม ความพร อ มสํ า หรั บ รองรั บ เหตุ ุ ก เ ิ น ร ว มกั บ บริ ษั ท ทาอากาศยานไทยฯ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง

ฝายบริการอุปกรณภาคพืน้ มีประสบการณและความเชีย่ วชาญ ในการใหบริการอุปกรณภาคพืน้ มากวา 55 ปในการใหบริการ กับอากาศยานทุกประเภททั้งอากาศยานของบริษั ทฯ และ สายการบินลูกคา

นอกจากการใหบริการขางตนแลว ฝายบริการอุปกรณภาคพืน้ ยังมีขดี ความสามารถในการซอมบํารุงอุปกรณบริการภาคพืน้ และตูคอนเทนเนอรบรรจุสัมภาระของผูโดยสาร ( nit oading evices) ซึ่งผานการรับรองแหลงซอม จาก สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท )

ประเภทของการใหบริการประกอบดวย 1 การใหบริการขนถายสัมภาระไดทกุ ประเภทในรูปแบบของ สัมภาระผูโดยสาร สินคาและไปรษณียภัณฑทั้งเที่ยวบิน ขาเขาและขาออก โดยการใหบริการดังกลาวยังรวมถึง การขนถายสินคาขนาดใหญที่ขนสงดวยอากาศยานแบบ เครื่องบินขนสงสินคา (Freig ter) 2 การใหบริการบันไดสําหรับใชขึ้น-ลงอากาศยาน การให บริ ก ารขนส ง ผู  โ ดยสารจากอาคารผู  โ ดยสารไปยั ง อากาศยาน และ หรื อ จากอากาศยานมายั ง อาคาร ผูโดยสาร ทั้งนี้ ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นสามารถให บริการแกผูโดยสาร IP ดวยรถโดยสารพิเศษที่มีความ หรูหรา และทันสมัยเหมาะสมกับระดับของผูโ ดยสารแตละ ประเภทรวมถึงการใหบริการผูโดยสารปวยหรือทุพลภาพ 3 การใหบริการอากาศยานดวยอุปกรณจายกระแสไฟฟา อุปกรณชว ยติดเครือ่ งยนตของอากาศยาน อุปกรณสง ลมเย็น เพื่อชวยปรับอุณหภูมิภายในหองโดยสารของอากาศยาน การบริการขนถายสิง่ ปฏิกลู จากอากาศยาน การบริการเติม นํา้ ดืม่ แกอากาศยานดวยมาตรฐานสมาคมขนสงทางอากาศ ระหวางประเทศ (I P IATA rinking-Water ua ity Poo ) และเปนไปตามขอกําหนดของ WH (Wor d Hea t rgani ation) รวมถึงการใหบริการเคลื่อนยาย อากาศยานภาคพื้นดิน 4 การใหบริการทําความสะอาดภายในอากาศยานทัง้ ประเภท อากาศยานจอดแวะ (Transit) และการทําความสะอาดขัน้ โรงเก็บ ( ee ean) ทัง้ นี้ การใหบริการทัง้ สองประเภท นัน้ อยูในระดับของ Secure ean เปนการทําความสะอาด ควบคูไ ปกับการตรวจเช็คดานความมัน่ คงการบินไปในเวลา เดียวกันและจากความทุมเทและการพั นาดานบุคลากร อยางตอเนื่องทําใหการทําความสะอาดภายในอากาศยาน ได รั บ รางวั ล จาก Skytrax และได รั บ การชมเชยจาก สายการบินลูกคามาโดยตลอด 5 การใหบริการอากาศยานในสภาวะ ุกเ ินทั้งกรณี ุกเ ิน ทางการแพทยที่เปนการติดตอจากโรคระบาด การเตรียม รับสภาวะ กุ เ นิ เมือ่ อากาศยานเกิดไฟไหม รวมถึงการยาย ฐานในกรณีสนามบินสุวรรณภูมิไมสามารถใหบริการได 36 รายงานประจําป 2559

การบริการของฝายบริการอุปกรณภาคพื้นไดรับมาตรฐาน ดานความปลอดภัยจากการตรวจประเมินจาก I SA (ตาม มาตรฐานของสมาพันธผูขนสงทางอากาศนานาชาติ (IATA)) มาตรฐานด า นคุ ณ ภาพ IS 9001 และมาตรฐานด า น ความมั่นคงการบินจากการตรวจประเมินจากหนวยงานดาน ความปลอดภัยในการเดิน ทางของประเทศสหรัฐอเมริกา (Trans ortation Security Ad inistration e art ent o Ho e and Security TSA) หนวยงานดานความปลอดภัย ในการเดินทางของประเทศออสเตรเลีย ( ice o Trans ort Security TS) ทําใหลูกคามั่นใจวาการใชบริการจากฝาย บริการอุปกรณภาคพื้นจะไดรับความปลอดภัย ไดมาตรฐาน คุณภาพการใหบริการ และมีความมั่นคงการบินสูงสุด นอกจากการให บ ริ ก ารอุ ป กรณ ภ าคพื้ น ที่ ท  า อากาศยาน สุวรรณภูมิแลว ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นยังใหบริการที่ ทาอากาศยานภูมภิ าคอีก 10 แหง ประกอบดวยทาอากาศยาน ดอนเมือง ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานแมฟาหลวง เชี ย งราย ท า อากาศยานภู เ ก็ ต ท า อากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานกระบี่ ทาอากาศยานอุดรธานี ทาอากาศยาน อู  ต ะเภา ท า อากาศยานขอนแก น และท า อากาศยาน สุราษ รธานี อยางไรก็ตามหากทาอากาศยานนอกเหนือไป จากที่ ใหบริการขางตน มีความจําเปนที่ตองใชการบริการ อุปกรณภาคพื้น เชน การบริการเที่ยวบินพิเศษ IP และ IP โดยเครือ่ งบินกองทัพอากาศ การบริการเทีย่ วบิน จั ญ ที่ ทาอากาศยานนราธิวาส ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นสามารถ นํ า อุ ป กรณ ภ าคพื้ น จากท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ห รื อ ทาอากาศยานขางเคียงมาใหบริการไดอยางเต็มขีดความ สามารถ การตลาดและการแขงขัน การบริการอุปกรณภาคพื้นที่สนามบินสุวรรณภูมิมีคูแขงอยู 1 ราย โดยฝายบริการอุปกรณภาคพืน้ มีลกู คา 5 สายการบิน เปนสัดสวนอยูรอยละ 43 บริษัทคูแขงมีสัดสวนทางตลาดอยู รอยละ 3 สวนสายการบินที่มีการบริการภาคพื้นดวยตนเอง


ลก

ะการประกอบธุรกิจ

มีสัดสวนอยูรอยละ 19 ทั้งนี้ ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นตอง มีศกั ยภาพในการรักษาฐานลูกคาเดิม และแสวงหาลูกคาใหม เพิ่มเติมอยางตอเนื่อง โดยการนําขอมูลจากลูกคาทั้งขอมูล ดานการรองเรียน ( o aint) และขอมูลดานการวัดความ พึงพอใจมาศึกษา วิเคราะหและวางแผนการทํางานเพื่อให ลูกคาไดรับการบริการตามมาตรฐานและเกิดความพึงพอใจ ในการรับบริการอยางสูงสุด สําหรับการหาลูกคาใหมนั้น ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นไดใช จุดแข็ง คือ ศักยภาพในการฝกอบรมผูปฏิบัติงานไดตาม มาตรฐานสากล และการมีหนวยงานควบคุมการบริการภาค พืน้ ทีม่ ขี ดี ความสามารถในการตัดสินใจ ทัง้ ในสถานการณปกติ และสถานการณ กุ เ นิ ในการนําเสนอใหลกู คาเกิดความมัน่ ใจ และตัดสินใจเลือกใชบริการ การจัดหาผลิตภัณ และการบริการ ปจจัยสําคัญในการใหบริการอุปกรณภาคพืน้ คือ อุปกรณและ แรงงาน ในดานของอุปกรณ ฝายบริการภาคพื้นไดจัดทํา โครงการวางแผนอุปกรณภาคพืน้ เพือ่ รองรับฝูงบินของบริษัทฯ และสายการบินลูกคา ( round ui ent Services F eet P an) เพื่อใหมีอุปกรณที่พรอมและเพียงพอตอการใหบริการ และทันสมัยอยูเสมอ โดยมีคาใชจายในการปฏิบัติงานและ การซอมบํารุงตํ่าที่สุด สวนในดานแรงงานนั้น ไดดําเนินการ วาจางแรงงานทั้งแบบจัดจางคนภายนอก ( utsources) และแบบเหมางานบริการ ( ut- ob) โดยแรงงานจะไดรบั การ อบรมภาคท ษ ี และภาคปฏิบัติจากฝายฝกอบรม ตาม มาตรฐานของทาอากาศยาน และมาตรฐานสากล รวมทัง้ การ พั นาแรงงานเดิมใหมีขีดความสามารถควบคุมการใชงาน อุปกรณไดหลายประเภท (Mu ti Ski ) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใหบริการอุปกรณและมีแรงงานเพียงพอตอการปฏิบัติ งานรวมถึงมีตน ทุนอยูในระดับทีส่ ามารถแขงขันได นอกจากนัน้ ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นไดจัดทีมงานวิศวกรศึกษา และ จัดหาอุปกรณที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยเหมาะกับพื้นที่ ในการ ทํางานและอากาศยานทุกประเภท เชน รถลากจูงขบวน สัมภาระแบบใชระบบไฟฟา ( ectric To ing Tractor) เปน รถที่ใชระบบไฟฟาในการขับเคลื่อนสําหรับลากจูงตูสัมภาระ เปนการตอบสนองตอโครงการ reen Air ort ซึ่งทําให ประหยัดตนทุนในการดําเนินการและรักษาสภาพแวดลอมไป ในคราวเดียวกัน

ธุรกิจครัวการบิน

ครัวการบิน เปนอีกหนึง่ ในกิจกรรมสนับสนุนธุรกิจของบริษัทฯ ที่มีการพั นาความเจริญกาวหนาอยางตอเนื่อง และสงผล ดานบวกตอรายไดของบริษัทฯ มาโดยตลอด

ครัวการบิน มีฐานการปฏิบัติการ 2 แหง คือ ครั การบิน าอากา านสุ รร ภูมิ ตั้งอยู ในเขต ปลอดอากร บนพื้ น ที่ ป ระมาณ 90 000 ตารางเมตร ดําเนินการผลิตอาหารเพื่อใหบริการแกผูโดยสารสําหรับ เที่ยวบินระหวางประเทศของบริษั ทฯ และผูโดยสารของ สายการบินชั้นนําอื่นๆ อีกกวา 60 สายการบิน ครั การบิน าอากา าน อน มือง บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 40 200 ตารางเมตร ดําเนินการผลิตอาหารเพื่อใหบริการ แกผูโดยสารสําหรับเที่ยวบินภายในประเทศของบริษั ทฯ และผูโดยสารของสายการบินชั้นนําอื่นๆ ที่ทําการบินออก จากทาอากาศยานดอนเมือง นอกจากนี้ ยังดําเนินธุรกิจภาคพืน้ ที่เกี่ยวของกับอาหาร เชน ภัตตาคาร ณ ทาอากาศยาน นานาชาติ รานเบเกอรี่พัฟแอนดพาย (Pu Pie) ดําเนิน การโดยฝายครัวการบินและผูแทนจําหนาย การใหบริการ จั ด เลี้ ย งทั้ ง ในและนอกสถานที่ ร า นอาหารสวั ส ดิ ก าร พนักงาน เปนตน ในตางจังหวัด ครัวการบินยังดําเนิน กิจการตางๆ ณ ทาอากาศยานกระบี่ เชียงใหม และภูเก็ต ในการใหบริการอาหาร และเครื่องดื่มภายในภัตตาคาร ผลิตอาหารเพื่อใหบริการแกผูโดยสารของบริษั ทฯ และ สายการบินอื่นๆ ดวย ครั ว การบิ น เป น ผู  นํ า ในการผลิ ต อาหารและบริ ก ารแก สายการบิน โดยมีสวนแบงการตลาดมากกวารอยละ 0 ให บริการแกเที่ยวบินมากกวา 0 000 เที่ยว ป ผลิตอาหาร มากกวา 0 000 ชุด วัน มีสัดสวนการจัดซื้อวัตถุดิบใน ประเทศ รอยละ 9 และนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศ รอยละ 21 กระบวนการผลิตอาหารและบริการของครัวการบินไดรบั การ รับรองฯ ตามมาตรฐานสากล ซึ่งเปนที่ยอมรับจากสมาคม ขนสงทางอากาศระหวางประเทศและองคการอนามัยโลก ประกอบดวย ระบบการจัดการคุณภาพ (IS 9001 2015) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 37


ระบบการประกั น ความปลอดภั ย ของอาหาร (Ha ard Ana ysis ritica ontro Points HA P) ระบบการจัดการ สุขลักษณะที่ดี ในการผลิตอาหาร ( ood Manu acturing Practices MP) โดยไดประยุกตใชทั้ง 3 ระบบนี้อยาง บูรณาการ ( ua ity-Hygiene-Sa ety HS) นอกจากนี้ ครัวการบินยังไดรับการรับรองระบบการผลิตอาหาร าลาล (Ha a Ha - ) ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย ( HSAS 1 001) และระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (IS 14001) ดวยมาตรฐานสากลและจากประสบการณกวา 50 ป ใน การดําเนินธุรกิจดานอาหารของครัวการบิน มีสวนทําให สายการบินไทยไดรับรางวัลสายการบินยอดเยี่ยมอันดับที่ 1 จาก Skytrax ประเภทการใหบริการอาหารบนเครื่องบิน ชัน้ ประหยัดยอดเยีย่ มป 255 (Wor d s Best cono y ass atering 2014) นอกจากนี้ สายการบิน A i on Air ays (A A) จากประเทศญี่ปุน ไดมอบรางวัล o d Pri e Best Midd e Hau aterer A ard o 2014 รวมถึงสายการบิน A Air (BR) จากประเทศไตหวัน ไดมอบรางวัล xce ent atering Service A ard Si ver 2014 และรางวัล xce ent atering Service A ard o d 2015 รางวัลระดับนานาชาติ เหล า นี้ เป น เครื่ อ งยื น ยั น ถึ ง คุ ณ ภาพและการบริ ก ารของ ครัวการบิน นับเปนความภาคภูมิใจของฝายครัวการบิน ที่ผานมา ครัวการบินไดรับผลกระทบจากเหตุการณตางๆ หลายดาน อาทิ สภาวะเศรษฐกิจ สถานการณทางการเมือง วิก ตการณตางๆ มากมาย รวมถึงตนทุนสินคาและราคา วัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น แตดวยความมุงมั่นของฝายบริหารและ พนักงานที่พยายามบริหารจัดการ ปรับกลยุทธในดานตางๆ ใหสอดคลองกับภาวการณตางๆ อาทิ การขยายฐานลูกคา การขยายฐานการผลิต การพั นาผลิตภัณฑอาหารแชแข็งที่ มีรสชาติอาหารไทยแท โดยใหบริการในเที่ยวบินขากลับ บางเสนทาง การขยายสาขาธุรกิจรานเบเกอรี่ การปรับลด คาใชจายเพื่อลดตนทุนในการดําเนินงาน การควบคุมการใช พลังงานเพือ่ ลดคานํา้ คาไฟฟา การนําเอาระบบบริหารมาชวย เพิ่มประสิทธิภาพ ( ean Manage ent) และประยุกตใชใน กระบวนการปฏิบตั งิ านตางๆ ทําใหลดการสูญเสียของวัตถุดบิ มีผลใหคาใชจายวัตถุดิบลดลง ผลจากการปรับโครงสราง ตนทุนใหเหมาะสมตอการแขงขัน ทําใหครัวการบินสามารถ สรางผลกําไรที่เจริญเติบโตอยางตอเนื่อง และยั่งยืน

กิจการอื่นๆ

นอกจากนี้ ยังมีกิจการอื่น ที่เปนธุรกิจสนับสนุนการขนสง ไดแก ธุรกิจบริการซอมบํารุงอากาศยาน ธุรกิจบริการอํานวย 38 รายงานประจําป 2559

การบิน ธุรกิจจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครือ่ งบิน และธุรกิจ จําหนายสินคาที่ระลึก โดยมีรายละเอียดดังนี้

ธุรกิจบริการ อมบารุงอากาศยาน

ฝายชาง เปนหนวยงานที่มีภารกิจรับผิดชอบในการซอมบํารุง อากาศยานของบริษัทฯ ตัง้ แตเริม่ เขาประจําฝูงบิน จนกระทัง่ ปลดประจําการและจําหนายออกจากฝูงบิน ใหคงสภาพความ สมควรเดินอากาศ โดยใหมคี ณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามขอกําหนด ของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) และ องคกรตางๆ ที่ควบคุมสายการบิน พาณิชยตามที่บริษั ทฯ ตกลงรับที่จะผูกพัน ซึ่งมุงเนนความปลอดภัยสูงสุด และ นอกจากนี้ ฝายชางยังใหบริการซอมบํารุงอากาศยานของ สายการบินลูกคาอีกดวย การซอมบํารุงอากาศยานของฝายชางประกอบดวยงานหลัก ดังนี้ งาน อมบารุงอากา าน นลาน ั อ เปนการใหบริการตรวจทางเทคนิคและการซอมบํารุง อากาศยานทุกครั้งที่มีการจอดแวะ (Transit) การบินกลับ ตนทาง (Turnaround) ตลอดจนการจอดคางคืน ( ig t Sto ) ทีท่ า อากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง และทาอากาศยานอื่นๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ งาน อมบารุง อ เปนการให บริการตรวจทางเทคนิคและการบํารุงรักษาอากาศยาน ตามระยะเวลาบินหรือชั่วโมงบิน ดําเนินการที่ศูนยซอม อากาศยาน ฐานปฏิบัติการสุวรรณภูมิ ดอนเมืองและ อูตะเภา งาน อมบารุง นั รงงาน เปนการ ใหบริการตรวจทางเทคนิคและการบํารุงรักษาอากาศยาน ทั้งลําตัวอากาศยาน (Air ra e) เครื่องยนต ( ngine) อุปกรณ ( o onent) และสวนประกอบตางๆ ตามระยะ เวลาบินหรือชั่วโมงบิน ดําเนินการที่ศูนยซอมอากาศยาน ฐานปฏิบัติการดอนเมือง อูตะเภา และสุวรรณภูมิ การดําเนินการซอมบํารุงอากาศยานของฝายชางในแตละงาน ตามทีก่ ลาวขางตนนัน้ ฝายชางตองมีคณ ุ สมบัตติ ามหลักเกณฑ และผานกระบวนการตรวจสอบจนไดรับการรับรองขีดความ สามารถจากสํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย (กพท ) และจากองคกรควบคุมการบินตางๆ เชน องคการ บริ ห ารการบิ น แห ง สหรั ฐ อเมริ ก า (Federa Aviation Ad inistration - FAA) และองคการความปลอดภัยดาน การบินแหงสหภาพยุโรป ( uro ean Aviation Sa ety Agency - ASA) เปนตน


ลก

นอกจากงานหลักในการซอมบํารุงอากาศยานแลว ฝายชางยัง ใหบริการทําสีลําตัวอากาศยาน ( xterior Aircra t Painting) ใหกับสายการบินตางๆ ที่ทาอากาศยานดอนเมือง รวมทั้งให บริการลางทําความสะอาดลําตัวอากาศยานใหกบั สายการบิน ตางๆ ทีท่ า อากาศยานสุวรรณภูมแิ ละทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อชวยสรางภาพลักษณที่ดี ใหกับสายการบิน อีกทั้งยัง ชวยใหประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงและชวยลดมลภาวะดาน สิ่งแวดลอม การซอมบํารุงอากาศยานเปนภารกิจทีต่ อ งใชเงินทุนสูงทัง้ ดาน บุคลากร พัสดุ โรงซอม อุปกรณ และเครือ่ งมือเครือ่ งใชตา งๆ ใหเปนไปตามมาตรฐาน และตองมีการพั นาอยางตอเนื่อง ใหทันเทคโนโลยีอากาศยานที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว เพื่อ มุงเนนใหผูโดยสารและผูที่ ใชงานอากาศยานที่ฝายชางให บริการ ไดรับความสะดวกสบายและมีความปลอดภัยสูงสุด

ธุรกิจสนับสนุนการขนสง

กิจการสนับสนุนการขนสงประกอบดวย บริการอํานวยการบิน การจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน และการจําหนาย สินคาที่ระลึก

ะการประกอบธุรกิจ

การ หบริการอาน การบิน การให บริการอํานวยการบินเปนการใหบริการวางแผนการบินและ จัดเตรียมขอมูลรายละเอียดของเสนทางบิน พยากรณ อากาศ รวมทัง้ เอกสารการบินทีเ่ กีย่ วของอืน่ ๆ แกเทีย่ วบิน ของบริษัทฯ และเที่ยวบินของสายการบินลูกคา ใหเปนไป ตามก ระเบียบการบิน และขอกําหนดตามทีร่ ะบุในสัญญา เพื่อใหเที่ยวบินสามารถปฏิบัติการบินไปถึงที่หมายอยาง ปลอดภัย การ าหนา สินคา ลอ ภา บน ครืองบิน ในป 2559 บริษัท ing Po er Marketing and Manage ent o td เปนผูร บั สัมปทานในการจําหนาย สินคาปลอดภาษีบนเครือ่ งบินของบริษัทฯ เพือ่ อํานวยความ สะดวกใหแกผูโดยสาร การ าหนา สินคา ร ลก บริษัทฯ ไดดาํ เนิน การเปดรานจําหนายสินคาที่ระลึก รวมทั้งสิ้น 6 แหง ประกอบด ว ย สํ า นั ก งานใหญ ข องบริ ษั ท ฯ สํ า นั ก งาน หลานหลวง สํานักงานสีลม สํานักงานเชียงใหม ศูนยปฏิบตั ิ การ ( eration enter P ) ณ ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ และสํานักงานหลักสี่ อีกทั้งไดเปดจําหนาย สินคาผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 39


ปจจย

าม ส

ทามกลางความเสี่ยงจากหลายปจจัยทั้งภายในและภายนอกตลอดระยะเวลาหลายป ที่ผานมา บริษัทฯ เล็งเห็นความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีกลไกการบริหารงานเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ ควบคูกับการดําเนินธุรกิจดวยความระมัดระวังอยางสูง เพื่อเสริมสราง ความแข็งแกรงใหธุรกิจการบินสามารถเดินหนาตอไปไดอยางมั่นคง บริษัทฯ จึงมุงให ความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองคกรอยางตอเนื่องมาตั้งแตป 2546 เพื่อ สรางผลตอบแทนที่นาพึงพอใจและความเชื่อมั่นใหแกผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย โดยมี การระบุปจจัยเสี่ยงและแนวทางการดําเนินการระยะสั้นและระยะยาวในแผนวิสาหกิจ รวมถึงการจัดการฝกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Works o ) เรือ่ งการบริหารความเสีย่ งใหแก ผูบริหารทุกระดับอยางตอเนื่อง เพื่อสนับสนุนการปลูกฝงการบริหารความเสี่ยงใหเปน สวนหนึ่งของวั นธรรมองคกร


ปจจัย าม ยง

คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง (Risk Manage ent o ittee) อันประกอบดวย กรรมการบริษัทฯ ซึ่งมีกรรมการอิสระรวมอยูดวย และฝาย บริหารกําหนดและทบทวนนโยบายและกรอบการบริหาร ความเสี่ยงในดานตางๆ อยางสมํ่าเสมอ พรอมทั้งกํากับดูแล ติดตามประสิทธิผลของการบริหารความเสีย่ งดังกลาว เพือ่ ให มั่นใจวาผูบริหารและพนักงานมีการระบุความเสี่ยง ประเมิน และจัดลําดับความสําคัญ สําหรับวางมาตรการปองกัน แกไข ควบคุม และจัดการปจจัยความเสี่ยงทั้งในระดับองคกรและ ระดับฝายทีอ่ ยูในความดูแลรับผิดชอบใหอยูในระดับทีย่ อมรับ ได และเปนระบบสอดคลองกับมาตรฐาน ( o ittee o S onsoring rgani ations o t e Tread ay o ission S ) ประกอบกับมีการรายงานตอคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและคณะกรรมการบริษั ทฯ ในทุกไตรมาส ทั้งนี้ มาตรการดังกลาวเปนไปเพือ่ สงเสริมใหผบู ริหารและพนักงาน ทุกฝายขององคกรใชการบริหารความเสี่ยงเปนเครื่องมือใน การบริหารงาน

ลดผลกระทบตอตนทุนดานนํ้ามันฯ หากราคามีการปรับตัว สูงขึน้ สําหรับป 2559 บริษัทฯ ไดดาํ เนินการบริหารความเสีย่ ง ราคานํ้ามันฯ ใหคาใชจายนํ้ามันฯ ของบริษัทฯ เปนไปตาม งบประมาณที่ไดตงั้ ไว โดยบริษัทฯ ไดประกันความเสีย่ งราคา นํ้ามันฯ ลวงหนาไวในสัดสวนถัวเ ลี่ยรอยละ 55 ของปริมาณ การใช ทัง้ นีร้ ะหวางปการดําเนินงาน บริษัทฯ ไดมกี ารบริหาร จัดการปรับปรุงธุรกรรมประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ให สอดคลองกับสถานการณราคานํ้ามันโลกอยางใกลชิด

เพื่อปองกันผลกระทบหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจาก ความไม แ น น อน พร อ มกั บ สนั บ สนุ น ให ก ารดํ า เนิ น แผน ฟนฟูกิจการของบริษั ทฯ เปนไปตามเปาหมายที่วางไว ใน ป 255 บริษัทฯ จึงมีการบูรณาการการบริหารความเสี่ยง ระดับองคกรเขากับแผนฟนฟูกิจการของบริษั ทฯ วิเคราะห ถึงสาเหตุของความเสี่ยงและความสัมพันธของความเสี่ยง ตางๆ รวมทั้งไดดําเนินการจัดทําดัชนีชี้วัดความเสี่ยงหลัก ( ey Risk Indicator) เพื่อใชเปนเครื่องเตือนภัยลวงหนา และปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการบริหารความเสี่ยง ( nter rise- ide Risk Manage ent Syste ) ใหทันสมัย และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันเอื้อตอการเชื่อมโยงการจัดทํา รายงานการควบคุมภายใน และระบบการบริหารจัดการอื่นๆ ของบริษัทฯ

ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

ปจจัยเสี่ยงที่มีนัยสาคั

ความเสี่ยงจากความผันผวนของ ราคานามันอากาศยาน

คาใชจายนํ้ามันอากาศยานเปนคาใชจายหลักในการดําเนิน ธุรกิจการบิน โดยบริษัทฯ มีตน ทุนคานํา้ มันอากาศยานคิดเปน ประมาณรอยละ 26 ของคาใชจายในการดําเนินงาน ซึ่งราคา นํ้ามันอากาศยานมีความผันผวนอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ไดมี การจัดทําประกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา นํ้ามัน (Fue Hedging) เพื่อลดความผันผวนของตนทุนดาน นํ้ามันอากาศยาน โดยบริษัทฯ มีนโยบายบริหารความเสี่ยง ราคานํ้ามันอากาศยาน ซึ่งมีผลกระทบตอการดําเนินงานของ บริษั ทฯ มิใชเปนการแสวงหากําไร แตเปนการชะลอและ

นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการเรียกเก็บเงินชดเชยคานํา้ มันสวนเพิม่ ของบริษัทฯ ผานทางคาธรรมเนียมชดเชยคานํา้ มันไดบางสวน ขึน้ อยูก บั สภาวะของตลาด การแขงขัน ความผันผวนของราคา นํา้ มันอากาศยาน การตอบสนองของตลาด และการประมาณ การคาใชจา ยนํา้ มันอากาศยานทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง รวมทัง้ ได มีการบริหารจัดการนํา้ มันคงคลัง (Fue Stock Manage ent) และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารจั ด การการใช นํ้ า มั น เชื้อเพลิง (Fue Manage ent)

เนื่องจากบริษั ทฯ มีรายไดเปนเงินตราตางประเทศกวา 50 สกุลเงิน คิดเปนประมาณรอยละ 62 ของรายไดรวมทั้งหมด บริษั ทฯ ไดดําเนินการบริหารความเสี่ยงอันเนื่องจากความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการ บริหารภายใตนโยบายการบริหารความเสี่ยงแบบธรรมชาติ ( atura Hedging) คือ การจัดใหรายจายเปนเงินสกุลเดียว กับรายไดมากทีส่ ดุ หลังจากนัน้ บริษัทฯ บริหารกระแสเงินสด โดยจัดการแลกเปลีย่ นเงินคงเหลือในแตละสกุลเขามาเปนเงิน สกุลเงินที่เปนคาใชจายหลักของบริษัทฯ เชน คาใชจายนํ้ามัน คาเชาเครื่องบิน คาใชจายพนักงาน และปรับโครงสรางเงินกู ในสกุลเงินตางๆ ใหสอดคลองกับสกุลเงินของเงินสดสุทธิ จากการดําเนินการ ( et erating as F o ) พรอมๆ กับลดความเสี่ยงของการมีหนี้เปนเงินสกุลตางประเทศมาก เกินไป โดยการมีหนีส้ กุลบาทดวยสวนหนึง่ เพือ่ ลดความผันผวน ของรายการผลกําไร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในงบ การเงิน ทัง้ นี้ บริษัทฯ ไดนาํ เครือ่ งมือทางการเงินมาใชในการ บริหารความเสีย่ งใหมคี วามเหมาะสม เชน สัญญาแลกเปลีย่ น เงินตราตางประเทศ ( ross urrency S a S) การ Restructure S การแลกเปลีย่ นลวงหนา (For ard) ในชวง ที่ตลาดเงินเอื้ออํานวย โดยในป 2559 บริษัทฯ ดําเนินการออกและเสนอขายหุนกู จํานวน 000 ลานบาท กูเ งินระยะสัน้ ตอจากกระทรวงการคลัง ในรูปแบบการออกตราสาร P จํานวน 150 ลานเหรียญสหรัฐ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 41


เบิกเงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (Revo ving redit ine) จํานวน 2 000 ลานบาท ดําเนินการทํา S จํานวน รายการ และ Restructure S จํานวน 4 รายการ โดย เปนการเปลี่ยนหนี้จากเงินสกุลยูโรและบาท เปนเงินเยน จํานวน รายการ และเปลีย่ นหนีจ้ ากสกุลเหรียญสหรัฐฯ เปน สกุลสวิสฟรังก จํานวน 4 รายการ รวมถึงดําเนินการใช การแลกเปลี่ยนทันที (S ot) และการแลกเปลี่ยนลวงหนา (For ard) จากสกุลเงินอืน่ เปนสกุลเงิน S สําหรับคาใชจา ย นํ้ามัน คาเชาเครื่องบิน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสัดสวนเงินกูระยะยาวในเงินสกุลหลักภายหลังจาก การทํา S ดังนี้ R 39 P 19 และ THB 34 HF (ไมรวมภาระผูกพันคาเชาเครื่องบินเพื่อการดําเนินงาน)

ความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราดอกเบีย

บริษั ทฯ มีนโยบายบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ย โดยใชเครื่องมือทางการเงิน ไดแก Interest Rate S a (IRS) เพือ่ แปลงอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวทีม่ แี นวโนม ปรับตัว สู ง ขึ้ น มาเป น อั ตราดอกเบี้ยคงที่ หรือ ดํา เนิน การ Restructure ธุรกรรม S หากทําใหบริษัทฯ สามารถลด ตนทุนทางการเงินไดในระยะยาว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสดั สวนของภาระหนีส้ นิ ระยะยาวภายหลังการ S a ที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตออัตราดอกเบี้ยคงที่เทากับ รอยละ 3 ตอ 62 (ไมรวมคาเชาเครือ่ งบินเพือ่ การดําเนินงาน) ทัง้ นี้ หากอัตราดอกเบีย้ ปรับตัวสูงขึน้ รอยละ 1 ตอป จะสงผล ใหบริษัทฯ มีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นประมาณ 605 ลานบาท

42 รายงานประจําป 2559

ความเสี่ยงจากการแขงขันในธุรกิจการบิน

การกาวเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) ในปลาย ป 255 ตลอดจนนโยบายเปดเสรีการบินของประเทศไทย ทํ า ให ทุ ก สายการบิ น เห็ น โอกาสในการขยายธุ ร กิ จ ทั้ ง สายการบินที่ ใหบริการอยูเดิมไดเพิ่มปริมาณการผลิตผาน เขาและออกประเทศไทยมากขึ้น และสายการบินใหมที่เปด เสนทางบินเขาและออกประเทศไทย ทําใหการแขงขันทวี ความรุนแรง ซึง่ จะเห็นไดจากปริมาณการสัง่ ซือ้ เครือ่ งบินของ สายการบินที่ใหบริการเต็มรูปแบบและสายการบินตนทุนตํ่า ที่จะเพิ่มอยางมากในชวง 5-10 ปขางหนา รวมทั้งการเติบโต สูงอยางตอเนือ่ งของสายการบินตนทุนตํา่ ในประเทศไทย จาก การเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวและการปรับเปลี่ยนพ ติกรรม การเดินทางของคนไทย ซึง่ เปนผลมาจากการกําหนดราคาของ สายการบินตนทุนตํา่ และสายการบินตนทุนตํา่ ยังมีการปรับตัว โดยการพั นารูปแบบการใหบริการจากแบบจุดบินตอจุดบิน (Point-to-Point) เปนลักษณะเชื่อมโยงเครือขายระหวาง สายการบินภายในกลุมมากขึ้น อีกทั้งเพิ่มการใหบริการใน เสนทางบินระยะกลางไดแก จีน ญี่ปุน เกาหลี นอกจากนั้น การแข ง ขั น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ของเส น ทางบิ น ระยะไกลที่ ทํ า การบินโดยสายการบินตะวันออกกลางที่ใหบริการเต็มรูปแบบ ทําการบินขามทวีป จากทวีปยุโรป ไปทวีปออสเตรเลียโดย ไมผานประเทศไทย และใชตะวันออกกลางเปนจุดเชื่อมตอ ระหวางทวีป ทําใหบริษัทฯ เสียสวนแบงตลาดในเสนทางบิน ยุโรป และเสนทางบินออสเตรเลีย


ปจจัย าม ยง

ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดกําหนดแนวทางตอบสนองการแขงขันโดย มีการติดตามผลการดําเนินงานของแตละเสนทางบินอยาง ใกลชดิ โดยตรวจสอบความเหมาะสมของจํานวนทีน่ งั่ เสนอให บริการและจํานวนผูโดยสารที่ใชบริการ และปรับปรุงความถี่ ของเทีย่ วบินใหเกิดประโยชนสงู สุด มีการปรับปรุงการบริหาร รายไดและราคา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองการ แขงขันดานราคาอยางรวดเร็ว เหมาะสมกับความตองการ ของตลาด พั นาประสิทธิภาพความรวมมือกับสายการบิน พันธมิตรใหเชื่อมตอเสนทางบินของบริษัทฯ กับกลุมสายการ บินพันธมิตรในการขยาย et ork ไปจุดตางๆ ใหมากขึ้น มีการปรับปรุงการขายและการจัดจําหนายดาน Web Sa es ให สะดวกและทันสมัย และดําเนินโครงการบริหารจัดการรายได เสริม Anci ary Revenue โดยหารายไดเสริมจากผลิตภัณฑ และบริการ ในการตอบสนองความตองการของลูกคาไดครบ ทุกจุดบริการ รวมทั้งไดพั นาปรับปรุงโครงการสะสมไมล รอยัล ออรคิด พลัส เพื่อรักษาลูกคา และจูงใจใหมีการกลับ มาเลือกใชบริการอยางสมํ่าเสมอ

ความเสี่ยงจากกรณีกรมการบินพลเรือ (บพ.) ไมผานการตรวจประเมินของ C

ตามที่กรมการบินพลเรือน (บพ ) ของประเทศไทยไดถูก ตรวจสอบตามโครงการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัย สากล ( niversa Sa ety versig t Audit Progra S AP) ขององค ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว า งประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) และพบ ขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญ (Signi icant Sa ety oncern SS ) โดยปรากฏสัญลักษณธงแดงที่ชื่อประเทศไทยในเว็บไซต สาธารณะของ I A สงผลใหหนวยงานกํากับดานความ ปลอดภัยการบินพลเรือนของประเทศตางๆ ขาดความเชื่อมัน่ ในมาตรฐานความปลอดภัยของสายการบินของประเทศไทย และไดดําเนินการมาตรการเขมงวดในการกํากับดูแลความ ปลอดภัยดานการบินกับสายการบินของประเทศไทย

บริษั ทฯ ไดติดตามและดําเนินการตามแผนหลักเพื่อบริหาร ความเสี่ยงจากกรณีขางตน โดยมีการเตรียมความพรอมเพื่อ รองรับการตรวจประเมินดานความปลอดภัยการบินจากทุก องคกรสากล มุงเนนใหมีระบบบริหารจัดการดานคุณภาพ และมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง (Sa ety ua ity Manage ent Syste ) ควบคูไปกับการเตรียมความพรอม รองรับการตรวจสอบความปลอดภัยในการปฏิบัติการบินใน ทุกๆ ดาน ซึ่งผลการตรวจสอบที่ผานมาเปนที่นาพอใจเปน อยางยิ่งมาโดยตลอด อยางไรก็ตาม บริษั ทฯ ไดแสดงความมุงมั่นในการพั นา มาตรฐานความปลอดภัยดานการบิน เพื่อสรางความเชื่อมั่น ใหกบั ผูใ ชบริการ และหนวยงานกํากับดานความปลอดภัยการ บินของประเทศตางๆ ที่อาจมีขอกังวลเกี่ยวกับขอบกพรอง อยางมีนยั สําคัญของกรมการบินพลเรือน จึงไดรเิ ริม่ โครงการ มาตรฐานความปลอดภั ย เหนื อ ระดั บ (Sa ety Beyond o iance) เพื่ อ ยกระดั บ มาตรฐานความปลอดภั ย ดานการบินของบริษั ทฯ และนํามาตรฐานของ uro ean Aviation Sa ety Agency ( ASA) ซึง่ เปนทีย่ อมรับจากองคกร การบินทั่วโลกมาเปนตนแบบ โดยมีเปาหมายสูงสุดในการ เปนสายการบินที่สามารถบินเขาสูนานฟาของทุกประเทศได อยางภาคภูมิใจ โดยบริษัทฯ ไดดําเนินการยื่นขอเปน T ird ountry erators (T ) ของสหภาพยุโรป และไดรับ T Aut ori ation จาก ASA แลว เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 255 ทําใหบริษัทฯ คงสิทธิในการไดรับอนุญาตใหทําการบิน เขายุโรป แสดงใหเห็นวา บริษัทฯ มีมาตรฐานความปลอดภัย ในระดับสูง นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทําแผนบริหารความตอ เนื่องทางธุรกิจ (Business ontinuity P an) รวมทั้งไดมีการ ฝกซอมเพื่อเตรียมความพรอมรองรับในสถานการณตางๆ เชน การถูกระงับการบินเขายุโรปจาก ASA โดยคํานึงถึง ผลกระทบที่มีตอผูโดยสาร ผูมีสวนไดเสีย ขอจํากัดตางๆ รวมไปถึงผลกระทบทางดานการเงิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 43


ปจจุบนั บริษัทการบินไทยอยูในขัน้ ตอนการทํา Re-A R (Re Air erator erti icate Re uire ents) ของสํานักงาน การบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) เดิมคือกรมการบิน พลเรือน และคาดวา บริษัทฯ จะได A ใหมประมาณกลาง ป 2560 ซึ่งการทํา Re-A R เปนสวนหนึ่งของขั้นตอนการ ปลดธงแดงออกจาก กพท

ความเสี่ยงจากวิก ตการณภายนอก และภัยธรรม าติ

ธุรกิจสายการบินซึ่งเปนธุรกิจหลักของบริษัทฯ ประกอบดวย การบริการขนสงผูโดยสารและสินคาทางอากาศทั้งภายใน ประเทศและระหวางประเทศ ซึ่งลวนมีความสัมพันธโดยตรง กับอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว ดังนัน้ จึงทําใหบริษัทฯ อาจได รับผลกระทบจากการชะลอตัวของอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว อันเปนผลจากปจจัยเสีย่ งจากสภาวะแวดลอมตางๆ ทัง้ ภายใน ประเทศและตางประเทศ อาทิ ภัยธรรมชาติ โรคระบาด การกอการราย ความขัดแยงระหวางประเทศ รวมถึงปจจัย การเมืองภายในประเทศ ฯลฯ ซึง่ อาจสงผลใหการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ หยุดชะงักลงได บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความจําเปนในการรับมือตอเหตุการณ ดังกลาวใหทัน ทวงที จึงจัดตั้งศูนยปฏิบัติการภาวะวิก ต ( risis Manage ent eration enter M ) เฝาระวัง และติดตามสถานการณตางๆ อยางใกลชิด รวมทั้งกําหนด มาตรการปองกันและแกไขรวมถึงการดําเนินการอยางตอเนือ่ ง เพื่อลดระดับความรุนแรงของความเสี่ยงลง รวมถึงจัดตั้ง คณะกรรมการบริหารภาวะวิก ต และจัดทําการบริหารความ ตอเนื่องทางธุรกิจ (Business ontinuity Manage ent B M) ในกระบวนการที่สําคัญเพื่อรองรับสถานการณตางๆ โดยจัดทําแผนและคูมือรองรับสถานการณ พรอมฝกซอม และประสานความรวมมือกับพันธมิตรการบิน และหนวยงาน รั ฐ วิ ส าหกิ จในสั ง กั ด กระทรวงคมนาคม เพื่ อให บ ริ ษั ท ฯ สามารถดําเนินธุรกิจไดอยางตอเนื่องเมื่อเกิดวิก ตการณ ตางๆ อีกทั้งเพื่อใหเกิดภาพลักษณที่ดีแกบริษั ทฯ และเพิ่ม ความมั่นใจในการเดินทางของผูโดยสาร นอกจากนี้ เพื่อการ ปรับตัวทีร่ วดเร็ว ( yna ic) บริษัทฯ ยังมีการจัดทําประมาณ การผลการดําเนินงานเปนประจําทุกเดือน และมีการประเมิน ผลกระทบจากปจจัยตางๆ ทัง้ ภายในประเทศและตางประเทศ ที่มีผลตอการดําเนินงานของบริษั ทฯ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ อยางมีนัยสําคัญ เพื่อเปนขอมูลใหฝายบริหารพิจารณาปรับ เปลี่ยนกลยุทธ รองรับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิ การปรับลดปริมาณการผลิต (Production) เมื่อจํานวน ผูโดยสารลดลง เปนตน

44 รายงานประจําป 2559

ความเสี่ยงจากคุณภาพและประสิทธิภาพ ของบุคลากร

บริษั ทฯ มีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับธุรกิจการบินจํานวนมาก และอยูรวมในองคกรเดียวกัน ทําใหมีบุคลากรรวมทั้งองคกร จํานวนมาก แตบคุ ลากรมีความรูเ พาะเรือ่ ง และระบบบริหาร ผลการปฏิบัติงานอาจไมสามารถกําหนดตัวชี้วัดที่ดี ในการ ประเมินพนักงานและไมเปนมาตรฐานเดียวกัน ทําใหพนักงาน ขาดแรงจูงใจและอาจไมสามารถผลักดันใหบรรลุเปาหมาย ของบริษัทฯ ทั้งนี้ หลายปที่ผานมาบริษัทฯ พยายามควบคุม จํานวนพนักงานไม ใหเพิ่มขึ้น โดยไมมีการรับพนักงานใหม ทดแทนพนักงานที่ออกไปยกเวนหนวยงานที่มีความจําเปน ทําใหบางหนวยงานมีพนักงานที่ ไมเพียงพอ นอกจากนี้บาง กระบวนการทํางานมีขั้นตอนการดําเนินงาน และการอนุมัติ ที่ลาชาซึ่งอาจเปนอุปสรรคทําใหบริษัทฯ ไมสามารถปรับตัว เขากับสภาพการแขงขันได บริษั ทฯ ไดมุงเสริมสรางพนักงานใหมีขีดความสามารถ มี ผลผลิต และมีความผูกพันตอองคกร โดยบริษั ทฯ จะได ดําเนินการพั นาโครงสรางองคกร ปรับปรุงกระบวนการ ทํ า งาน และอั ต รากํ า ลั ง ให ส อดคล อ งกั บ กลยุ ท ธ ธุ ร กิ จ ( eve o rgani ation Re rocess and Man o er A ign it Business Strategy) พั นาการบริหารผล การปฏิบัติงาน (I rove Per or ance Manage ent) โครงการปรับปรุงโครงสรางคาตอบแทน (I e ent e Pay Structure) การบริหารจัดการพนักงานที่มีศักยภาพสูง และการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง (Ta ent Manage ent and Succession P anning) และโครงการพั นาศักยภาพ ทั้ง So t Ski และ Hard Ski รวมทั้งโครงการยกระดับการ ปลูกฝงวั นธรรมองคกรและคุณคาหลักในจิตสํานึกของ พนักงาน ( bed or orate u ture and ore a ues in THAI A) เพือ่ เปนรากฐานการพั นาวิถปี ฏิบตั ขิ องพนักงาน สูการเปนองคกรแหงการเรียนรู


ปจจัย าม ยง

ความเสี่ยงจากคุณภาพของ ผลิตภัณ และบริการ

เนื่องจากพ ติกรรมของผูบริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม บริบทของการแขงขันในธุรกิจการบินอยางรวดเร็ว ความคุม คา เงิ น เป น กลจั ก รสํ า คั ญ ที่ ผู  โ ดยสารพิ จ ารณาในการเลื อ ก สายการบิน ประกอบกับความคาดหวังของผูโดยสารที่จะได รับการบริการตามความชอบและรสนิยมที่แตกตางกันไปใน แตละบุคคล (Individua i ed Service) บริ ษั ท ฯ มี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพการบริ ก าร ( ua ity Assurance) แบบครบวงจร โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ ตรวจสอบผลิตภัณ ฑและการบริก ารใหเปนไปตามคํ ามั่ น สัญญาการสงมอบที่ ใหไวกับผูโดยสาร ซึ่งการประเมินมีทั้ง การประเมินเชิงรุก จากการตรวจติดตามคุณภาพการบริการ ใหเปนไปตามคูมือการปฏิบัติงาน (Service eration Procedure) ดวยการสุมตรวจการปฏิบัติงานแบบไมแจง (Mystery S o ing) และการตรวจติดตามคุณภาพตาม ขอตกลงการบริการ (Service eve Agree ent) ที่เปน ขอกําหนดรวมกับหนวยงานหลักของแตละจุดบริการ รวมถึง การประเมินความพึงพอใจของลูกคาทีด่ าํ เนินการจากหนวยงาน ภายใน (In- ouse Survey) และการประเมินความพึงพอใจ เปรียบเทียบผลิตภัณฑและการบริการจากหนวยงานภายนอก ตลอดจนการสํารวจเ พาะเรื่อง เพื่อมุงเนนในประเด็น ที่ ตองการทราบความตองการของลูกคา ทําการสังเคราะห รวมกับการประเมินแบบเชิงรับ คือ การรับขอมูลปอนกลับจาก ลูกคา ( usto er Feedback) เพือ่ นํามาพั นาและปรับปรุง

ขอบกพรอง ( orrective Action) ใหเปนไปตามที่ลูกคา คาดหวัง ทัง้ นี้ บริษัทฯ ไดจดั ทําโครงการเสริมสรางความภักดี ของลูกคาประจํา และพั นาความเปนเลิศดานการบริการ ลูกคา เชน โครงการยกระดับการบริการชั้นธุรกิจ (Service Beyond e Business ass Service) โครงการพั นาการ บริการภาคพื้น ชั้น First ass และชั้น Business ass และ โครงการปรับปรุงอุปกรณและผลิตภัณฑภายในหองโดยสาร เครื่องบิน (In- abin Product eve o ent and Aircra t Retro it Progra ) ทั้งนี้ บริษัทฯ จะไดมีการประเมินความ พึ ง พอใจของลู ก ค า และเปรี ย บเที ย บการให บ ริ ก ารและ ผลิตภัณฑกับคูแขงเพื่อปรับปรุงคุณภาพการใหบริการและ ผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง

ความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอสิทธิหรือ การลงทุนของผูถือหุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กระทรวงการคลังและธนาคาร ออมสินถือหุนในบริษั ทฯ รอยละ 53 16 ของจํานวนหุนที่ จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษั ทฯ จึงทําใหกระทรวงการ คลังสามารถควบคุมมติที่ประชุมผูถือหุนไดเกือบทั้งหมด ไมวาจะเปนเรื่องการแตงตั้งกรรมการ หรือการขอมติใน เรื่องอื่นที่ตองใชเสียงสวนใหญของที่ประชุมผูถือหุน ยกเวน เรือ่ งทีก่ หมายหรือขอบังคับบริษัทฯ กําหนดใหตอ งไดรบั เสียง 3 ใน 4 ของที่ประชุมผูถือหุน ดังนั้น ผูถือหุนรายอื่นจึงอาจไม สามารถรวบรวมคะแนนเสียง เพือ่ ตรวจสอบและถวงดุลเรือ่ ง ที่ผูถือหุนใหญเสนอได

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 45


ขอมูลทั่วไป

และขอมูลสําคัญอื่น


อมู ทั ไป ะ อมู ํา ั อน

ขอมูลทั่วไป บริษัทที่ออกหลักทรัพย ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งสํานักงานใหญ เลขทะเบียนบริษัท Ho e Page โทรศัพท THAI ontact enter argo ontact enter Roya rc id Ho iday

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ชื่อภาษาอังก ษเปน THAI AIRWA S I T R ATI A P B I MPA IMIT ชื่อยอ THAI บริการขนสงทางอากาศและกิจการอื่นที่เกี่ยวของ เลขที่ 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 010 53 001 5 t aiair ays co 66 2545 1000 66 2025 1000 66 2356 1111 66 213 4200 66 2356 2

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลวดังนี้ ทุนจดทะเบียน 2 69 900 950 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 26 9 9 009 500 บาท ทุนชําระแลว 2 1 2 1 91 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 21 2 19 1 0 บาท

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 47


ขอมูลนิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุนมากกวารอยละ 10 ื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

ทุน จดทะเบี ยน นิดของหุน าระแลว (ลานบาท)

สัดสวน การถือหุน ( )

บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด อาคารดิออฟฟศเศสเแอทเซ็นทรัลเวิลด 999 9 ยูนิตที่ 3406-3412 ชั้นที่ 34 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0-220 -9090 โทรสาร 0-220 -9191

บริการดานคอมพิวเตอร สําหรับการสํารองที่นั่ง โดยสารและบริการเดินทาง อื่นๆ ใหกับตัวแทนจําหนาย

สามัญ

15 00

55 00

บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) 1 3 อาคารรัจนาการ ชั้น 1 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 0-262 -26 โทรสาร 0-222 -6944

บริการขนสงผูโดยสาร ทางอากาศ

สามัญ

625 00

39 20

บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0-2545-126 โทรสาร 0-2545-1535

บริหารจัดการเรื่องบุคลากร ใหกับบริษัทฯ

สามัญ บุริมสิทธิ

09 1 02

49 00 (มีอํานาจ ควบคุม)

บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0-2545-4603 โทรสาร 0-2545-4602

บริการฝกอบรมดานการบิน

สามัญ บุริมสิทธิ

09 1 02

49 00 (มีอํานาจ ควบคุม)

บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0-2356-2 โทรสาร 0-22 - 15

บริการทองเที่ยวและ กิจกรรมทองเที่ยว

สามัญ บุริมสิทธิ

0 49 ถือหุนผาน 0 51 บริษัท วิงสแปนเซอร วิสเซส 49 00 (มีอํานาจ ควบคุม)

บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด เลขที่ 9 ชั้น 1 ยูนิต 1 04 1 05-1 0 A อาคารเอไอเอ แคปปตอล เซ็นเตอร ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-211 - 00 โทรสาร 0-211 - 95-6

บริการขนสงผูโดยสาร และสินคา

สามัญ

48 รายงานประจําป 2559

1 00 00

100 00


อมู ทั ไป ะ อมู ํา ั อน

ื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

ทุน จดทะเบี ยน นิดของหุน าระแลว (ลานบาท)

สัดสวน การถือหุน ( )

บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด 333 หมู 10 ถนนเชิดวุ ากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0-2566-1020-1 โทรสาร 0-2566-1941

โรงแรมและรานอาหาร

สามัญ

120 00

40 00

บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด 10 3 หมู 6 ถนนสนามบิน ตําบลไมขาว อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 3110 โทรศัพท (0 6) 32 -49 -502 โทรสาร (0 6) 32 -123-4

ครัวการบิน

สามัญ

100 00

30 00

บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) โรงแรมและรานอาหาร จํากัด (มหาชน) 2 ตรอกกัปตันบุช ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท 0-2266-0123 โทรสาร 0-2236- 320

สามัญ

93 50

24 00

บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 1 1 2 ถนนกําแพงเพชร 6 แขวงดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0-2 34- 900 โทรสาร 0-2 34- 999

สามัญ

63 50

22 59

คลังเชื้อเพลิงและบริการ เติมเชื้อเพลิงใหแกเครื่องบิน

บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด โรงแรมและรานอาหาร 999 อาคารโรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ หมู 1 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท 0-2131-1111 โทรสาร 0-2131-11

สามัญ

1 01

30 00

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 49


บุคคลอางอิง บุคคลอางอิง

นายทะเบียนหลักทรัพย

ประเภทหลักทรัพย

หุนสามัญ

ผูสอบบัญชี

นายทะเบียนหุนกู

ผูแทนผูถือหุนกู

50 รายงานประจําป 2559

สถานที่ติดตอ

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 93 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 S T ontact enter 0-2009-9999 - ai S T ontact enter set or t Website tt set or t สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-22 1- 000 ตอ 2405 โทรสาร 0-261 -5 3

ครั้งที่ 1 2555 ครั้งที่ 1 2556 ครั้งที่ 2 2556 ครั้งที่ 1 255

ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) ฝายปฏิบัติการหลักทรัพยและกองทุน ชั้น 5A เลขที่ 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0-2299-1 24 0-2299-1536 โทรสาร 0-2242-32 0

ครั้งที่ 1 2554 ครั้งที่ 2 2555

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) ฝายป ิบัติการตลาดทุนตลาดเงินและการชําระเงิน ชั้น 15 เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 0-2626- 503-4 โทรสาร 0-2626- 543

ครั้งที่ 3 2555 ครั้งที่ 2 255 ครั้งที่ 1 255 ครั้งที่ 2 255 ครั้งที่ 1 2559

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ฝายปฏิบัติการบริการธุรกิจหลักทรัพย ชั้น AA เลขที่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2296-5690 โทรสาร 0-26 3-129

ครั้งที่ 1 2554

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) ฝายป ิบัติการตลาดทุนตลาดเงินและการชําระเงิน ชั้น 15 เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 0-2626- 591 0-2626- 50 โทรสาร 0-2626- 543


อมู ทั ไป ะ อมู ํา ั อน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 51


รายชื่อ

ผูถือหุนรายใหญ


รายชอ ู อหุนราย ห 

จานวนทุนจดทะเบียนและทุน าระแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลวดังนี้ ทุนจดทะเบียน 2 69 900 950 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 26 9 9 009 500 บาท ทุนชําระแลว 2 1 2 1 91 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 21 2 19 1 0 บาท

ราย ื่อผูถือหุนรายให 

รายชือ่ ผูถ อื หุน รายใหญ 10 รายแรก พรอมทัง้ จํานวนหุน ทีถ่ อื และสัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 10 มีนาคม 2559 มีรายละเอียดดังนี้ ลาดับที่

ื่อผูถือหุน

จานวนหุน สามั

สัดสวนการถือหุน (รอยละ)

1 2 3 4 5 6

กระทรวงการคลัง กองทุนรวม วายุภักษ หนึ่ง โดย บลจ เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) กองทุนรวม วายุภักษ หนึ่ง โดย บลจ กรุงไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ธนาคาร ออมสิน นายประทีป ตังมติธรรม AST F RT IMIT - IM SI A M R M TS A F นางสมทรง ลาภานันตรัตน นายวิชัย คณาธนะวนิชย นายเอี่ยม อาชวกุลเทพ ผูถือหุนอื่น อ ร ม ุน าร ล ผูถือหุนสั าติ ผูถือหุนสั าติตาง า

1 113 931 061 165 03 5 2 165 03 5 2 54 9 3 316 46 409 5 1 146 400 1 20 211 15 400 00 14 24 100 13 6 9 400 55 591 5 0

51 03 56 56 2 52 2 13 0 3 0 2 0 1 06 0 63 25 53

9 10 11

กระทรวงการคลังและธนาคารออมสิน ถือหุน ในบริษัทฯ คิดเปน สัดสวนรอยละ 53 16 ของหุน ทัง้ หมดของบริษัทฯ ทําใหบริษัทฯ มีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ อันจะมีผลตอบริษัทฯ ในการทําธุรกรรมบางประเภท ไดแก 1 บริษัทฯ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีในการดําเนินการลงทุนขนาดใหญ 2 สํานักงานการตรวจเงินแผนดินจะตองเปนผูตรวจสอบงบการเงินของบริษัทฯ

การออกหลักทรัพยอื่น หุนกูของบริษัทฯ

ปจจุบัน บริษัทฯ มีหุนกูในสกุลเงินบาทเสนอขายใหแกนักลงทุน จําแนกตามรายละเอียดหุนกู ดังนี้ หุนกูชนิดระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู ไดแก หุนกู ครั้งที่ 1 2554 หุนกูแบบเ พาะเจาะจง (ผูลงทุนไมเกิน 10 ราย) ชนิดระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และไมมีผูแทนผูถือหุนกู ไดแก หุนกูครั้งที่ 1 2552 หุน กูช นิดระบุชอื่ ผูถ อื ไมดอ ยสิทธิ ไมมปี ระกัน และไมมผี แู ทนผูถ อื หุน กู เสนอขายใหแกผลู งทุนสถาบันและผูล งทุนรายใหญ ไดแก หุนกู หุนกู 1 2555 2 2555 3 2555 1 2556 2 2556 1 255 2 255 1 255 2 255 และ 1 2559

ตัวแลกเงินของบริษัทฯ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ไมมีตัวแลกเงินคงคาง บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 53


54 รายงานประจําป 2559


รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่

นโยบาย

การจ่ายเงินปันผล บริษั ทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีในอัตราไม่ต�่ำ กว่าร้อยละ 25 ของก�ำไรสุทธิก่อนผลก�ำไรหรือขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ จากงบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงิน ปันผลดังกล่าวขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจ�ำเป็น และความเหมาะสมอืน่ ๆ ในอนาคต อย่างไรก็ตาม บริษั ทฯ อาจพิจารณาการจ่ายเงินปันผลในอัตราที่แตกต่าง ไปจากนโยบายที่กำ� หนดไว้ หรืองดจ่ายเงินปันผล ตามที่คณะ กรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร เมื่อคณะกรรมการบริษัทฯ มี มติเห็นชอบการจ่ายหรืองดจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีแล้วจะต้อง น�ำเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป

พระราชบัญญัติบริษั ทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 ห้ามมิให้ บริษั ทมหาชนจ่ายเงินปันผล หากยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ แม้ว่าบริษั ทนั้นจะมีก�ำไรในปีนั้นก็ตาม นอกจากนี้ พระราช บัญญัติบริษั ทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของ บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ว่า บริษัทฯ ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิ ประจ�ำปีหักด้วยยอดเงินขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่า ทุนส�ำรองนีจ้ ะมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ของบริษัทฯ

บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) 55


โ ร รา

การจ การ คณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาทีร่ บั ผิดชอบสูงสุดในการบริหาร จัดการกิจการของบริษัทฯ อยูภายใตเงื่อนไข ขอบังคับของ บริษัทฯ ซึ่งกําหนดใหคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการ จํานวนไมนอยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน สุดแต ที่ประชุมใหญผูถือหุนจะเปนผูกําหนดเปนครั้งคราว และ กรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด

ตองมีถนิ่ ทีอ่ ยูในราชอาณาจักร ในการประชุมสามัญประจําป ทุกครั้ง กรรมการจํานวน 1 ใน 3 จะตองออกจากตําแหนง และจะมีการเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตาม วาระ กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเขามาดํารง ตําแหนงใหมก็ได

ราย ื่อกรรมการและการเขารวมประ ุมคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ราย ื่อและตาแหนงคณะกรรมการบริษัทฯ(1)

1 2 3 4 5 6 9 10 11 12 13 14 15

นายอารีพงศ ภูชอุม พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง นายคณิศ แสงสุพรรณ พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ นายดําริ ตันชีวะวงศ นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ นายรัฐพล ภักดีภูมิ นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย นายสมชัย สัจจพงษ พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย นายจรัมพร โชติกเสถียร

หมายเหตุ

(1) (2)

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ไมมีกรรมการทานใดถือครองหุนของบริษัทฯ ชวงระยะเวลาการดํารงตําแหนงระบุเ พาะวาระปจจุบัน

56 รายงานประจําป 2559

การเขารวมประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ จานวน ครังที่มีการประ ุม ขณะดารง ตาแหนง (ครัง)

วงระยะเวลา การดารงตาแหนง(2)

21 21 9 21 16 21 12 19 13 21 19 21 16 21 12 21 1 21 13 21 19 21 13 21 20 21 0 21 21 21

24 เม ย 5 - เม ย 61 5 ส ค 5 - เม ย 60 22 เม ย 59 - เม ย 62 22 เม ย 59 - เม ย 62 2 ม ค 5 - เม ย 60 24 เม ย 5 - เม ย 61 2 ธ ค 5 - เม ย 60 22 เม ย 59 - เม ย 62 22 เม ย 59 - เม ย 62 29 เม ย 5 - เม ย 60 22 เม ย 59 - เม ย 62 19 ต ค 5 - เม ย 60 24 เม ย 55 - 31 ม ค 60 23 พ ย 5 - เม ย 61 24 เม ย 5 - 10 ก พ 60


รง รางการจัดการ

เจาหนาที่บริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีตําแหนงเจาหนาที่ บริ ห าร (1) จํ า นวนทั้ ง สิ้ น 12 ตํ า แหน ง ประกอบด ว ย กรรมการผูอํานวยการใหญ 1 ตําแหนง ระดับรองกรรมการ ราย ื่อเจาหนาที่บริหาร(1)

1 2 3 4 5

นายจรัมพร โชติกเสถียร นางอุษณีย แสงสิงแกว เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง นายธีรพล โชติชนาภิบาล เรืออากาศเอก กนก ทองเผือก

6 นายณรงคชัย วองธนะวิโมกษ

9 10 11 12

เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร เรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ นายดนุช บุนนาค นายนิรุ มณีพันธ นายอริชัย นุมลมุล นางสาวปยาณี สังขทอง

หมายเหตุ

(1) (2)

ผู  อํ า นวยการใหญ 9 ตํ า แหน ง และผู  อํ า นวยการใหญ สายการบัญชีหรือการเงิน 2 ตําแหนง ประกอบดวย

ตาแหนง

กรรมการผูอํานวยการใหญ รองกรรมการผูอํานวยการใหญหนวยธุรกิจบริการการบิน รองกรรมการผูอ าํ นวยการใหญสายกลยุทธองคกรและพั นาอยางยัง่ ยืน รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการพาณิชย รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายทรัพยากรบุคคลและ กํากับกิจกรรมองคกร รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการเงินและการบัญชี รักษาการ ผูอํานวยการใหญฝายการเงินองคกร รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายปฏิบัติการ รองกรรมการผูอํานวยการใหญฝายชาง ที่ปรึกษา กรรมการผูอํานวยการใหญ(2) ที่ปรึกษา กรรมการผูอํานวยการใหญ(2) ผูอํานวยการใหญฝายการบัญชี ผูอํานวยการใหญฝายบัญชีบริหารและขอมูล

เจาหนาที่บริหาร คือ “ผูบริหาร” ตามคํานิยาม ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) ระดับรองกรรมการผูอํานวยการใหญ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 57


โครงสรางการบริหารจัดการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวยคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดยอย และ เจาหนาที่บริหาร ตามโครงสรางสายการบริหารงาน ดังนี้

หมายเหตุ

(1)

คณะกรรมการชุดยอยตางๆ ประกอบดวย คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม คณะกรรมการกํากับยุทธศาสตรและ การปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และคณะกรรมการอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯมอบหมาย (2) คือ “ผูบริหาร” ตามคํานิยามของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต )

58 รายงานประจําป 2559


รง รางการจัดการ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 59


เลขานุการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษั ทฯ เล็งเห็นถึงความสําคัญของบทบาท และหนาที่ของเลขานุการบริษัทฯ และไดปฏิบัติตามพระราช บัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ( บับที่ 4) พ ศ 2551 มาตรา 9 15 ซึ่งกําหนดใหคณะกรรมการบริษัทตองจัดให มีเลขานุการบริษัทเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบดําเนินการในนาม บริษัทหรือคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงไดแตงตัง้ ให นางสุวิมล บัวเลิศ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ เปนเลขานุการบริษัทฯ เลขานุการบริษั ทฯ ตองปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง ความซื่อสัตยสุจริต รวมทั้งตองปฏิบัติให เปนไปตามก หมาย วัตถุประสงค ขอบังคับบริษัทฯ มติคณะ กรรมการบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ทั้งนี้ หนาที่ ของเลขานุการบริษัทฯ ตามมาตรา 9 15 และมาตรา 9 16 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ( บับที่ 4) พ ศ 2551 มีดังนี้ 1 จัดทําและเก็บรักษาเอกสารดังตอไปนี้ 1 1 ทะเบียนกรรมการ 1 2 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม เอกสารประกอบการประชุ ม และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ ให ครบถวนสมบูรณ 1 3 หนังสือนัดประชุม เอกสารประกอบการประชุม และ รายงานการประชุมผูถือหุน ใหครบถวนสมบูรณ ภายในกําหนดเวลาของก หมาย 1 4 รายงานประจําปของบริษัทฯ 2 เก็บรักษารายงานการมีสว นไดเสียทีร่ ายงานโดยกรรมการ หรือผูบริหาร และจัดสงสําเนารายงานการมีสวนไดเสีย ใหประธานคณะกรรมการบริษั ทฯ และประธานคณะ กรรมการตรวจสอบทราบภายใน วันนับแตวนั ทีบ่ ริษัทฯ ไดรับรายงานนั้น 3 ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ประกาศกําหนด นร ห าง หนา อืน อง ล านุการบริ ั ม ังน 1 เป น เลขานุ ก ารคณะกรรมการชุ ด ย อ ยตามที่ ค ณะ กรรมการมอบหมาย เลขานุการคณะกรรมการบริหาร บริ ษั ท ฯ เลขานุ ก ารฝ า ยบริ ห ารงานนโยบายบริ ษั ท ฯ เลขานุ ก ารคณะกรรมการบริ ห ารหน ว ยธุ ร กิ จ และ เลขานุ การคณะกรรมการกํา กับยุทธศาสตรและการ ปฏิรูปบริษัทฯ

60 รายงานประจําป 2559

2 อํานวยการการประชุมของฝายบริหาร คณะกรรมการ และผูถือหุนของบริษั ทฯ ใหครบถวนสมบูรณภายใน กําหนดเวลาของก ระเบียบที่เกี่ยวของ พรอมทั้งแจง มติที่เกี่ยวของหากจําเปน และติดตามการดําเนินการ ตามมติที่ประชุม 3 กํ า กั บ ดู แ ลการดํ า เนิ น การในระบบประเมิ น คุ ณ ภาพ รัฐวิสาหกิจในสวนกระบวนการดําเนินงานของบริษัทฯ 4 กํากับดูแลใหบริษัทฯ และกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติตาม ก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ ของบริษัทจดทะเบียน และก หมายที่เกี่ยวของกับหลักทรัพย ยกเวนเรื่องที่ เกี่ยวกับรายงานทางการเงิน 5 กํ า กั บ ดู แ ลการจั ด ทํ า และเป ด เผยสารสนเทศที่ สํ า คั ญ ของบริษัทฯ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังก ษ ตอสาธารณชน ผานระบบของตลาดหลักทรัพยฯ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ และทันเวลาที่กําหนด 6 กํากับดูแลการใหคําปรึกษา อํานวยความสะดวกในดาน งานทะเบียนหลักทรัพยของบริษัทฯ แกผูถือหุน กํากับดูแลการดําเนินการจัดประชุมผูถือหุนของบริษั ทฯ พรอมทั้งเอกสารที่เกี่ยวของใหเปนตามขอกําหนดของ ก หมายและหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี กํากับดูแลการจัดทําแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) เพือ่ ใหผถู อื หุน นักลงทุน นักวิเคราะห ไดรบั ขอมูลทีถ่ กู ตองตามก ระเบียบ ขอบังคับ หลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี และทันเวลาที่กําหนด 9 การประสานงานกับที่ปรึกษาก หมายในสวนที่เกี่ยวกับ ก หมายดานหลักทรัพย 10 ใหคําแนะนําเบื้องตนแกกรรมการและผูบริหารบริษั ทฯ เพือ่ ใหปฏิบตั ติ ามขอกําหนด หลักเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ ของตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 11 กํากับดูแลการจัดการดาน ogistics Su ort ทีเ่ กีย่ วของ กับคณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแก การดําเนินการและ ประสานเรื่องสิทธิประโยชนตางๆ ของคณะกรรมการ บริษัทฯ รวมถึงการจัดทํางบประมาณในการดําเนินการ ตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับกรรมการบริษัทฯ ดวย อีกทัง้ การแจง และประสานงานกับกรรมการบริษัทฯ ในกรณีมีพิธีการ และกิจกรรมตางๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ตองเขารวม 12 กํากับดูแลการบริหารงานสารบรรณ 13 กํากับดูแลและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานใน บังคับบัญชาเพื่อใหการดําเนินภารกิจในความรับผิดชอบ บรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของบริษั ทฯ ตลอดจน สอดคลองกับระเบียบและหลักเกณฑของบริษัทฯ และที่ ผูมีอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวของกําหนด


รง รางการจัดการ

14 จัดทําคูมือกรรมการ จัดใหมีการปฐมนิเทศ และใหคํา แนะนําแกกรรมการที่ไดรับแตงตั้งใหม 15 กํากับดูแลติดตาม รวมทั้งรวบรวมและจัดเก็บขอมูล เกี่ยวกับบริษัทในเครือ 16 ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ หรือกรรมการผูอํานวยการใหญแลวแตกรณี สามารถดูประวัติเลขานุการบริษัทฯ ไดที่หนา 209

คาตอบแทนกรรมการ และเจาหนาที่บริหาร คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน

คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 ไดมีมติกําหนดคาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ในสวนของคาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ดังนี้ 1 ใหกรรมการบริษัทฯ ไดรบั คาตอบแทนคนละ 50 000 บาท ตอเดือน เปนประจําทุกเดือน และไดรบั เบีย้ ประชุม คนละ 30 000 บาทตอครัง้ หากในเดือนใดมีการประชุมเกินกวา 1 ครั้ง คงใหกรรมการบริษัทฯ ไดรับเบี้ยประชุมคนละ 30 000 บาทเทานั้น โดยใหประธานกรรมการไดรับเบี้ย ประชุมสูงกวากรรมการรอยละ 25 และรองประธาน

กรรมการไดรับเบี้ยประชุมสูงกวากรรมการรอยละ 12 5 และใหกรรมการเสียภาษีเงินไดเอง ทั้งนี้ คาตอบแทน ดังกลาวเปนจํานวนเดียวกับที่ที่ประชุมผูถือหุนไดอนุมัติ ในป 255 2 ในกรณีกรรมการบริษัทฯ ไดรบั แตงตัง้ จากคณะกรรมการ บริษัทฯ หรือประธานกรรมการบริษัทฯ ใหเปนกรรมการ อนุกรรมการ และคณะทํางานชุดตางๆ ของบริษัทฯ ให กรรมการบริษัทฯ ที่ไดรับการแตงตั้งดังกลาว ไดรับคา ตอบแทนเพิม่ เปนเบีย้ ประชุมอีกคนละ 10 000 บาทตอครัง้ หากในเดือนใด กรรมการ อนุกรรมการ และคณะทํางาน ชุดใดมีการประชุมเกินกวา 1 ครั้ง คงใหไดรับเบี้ยประชุม คนละ 10 000 บาทเทานั้น ทั้งนี้ คาตอบแทนดังกลาวเปน จํานวนเดียวกับที่ที่ประชุมผูถือหุนไดอนุมัติในป 255 3 ใหคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit o ittee) ไดรับ คาตอบแทนเปนรายเดือนเทากับเบี้ยประชุมกรรมการ บริษัทฯ โดยใหประธานกรรมการตรวจสอบไดรบั คาตอบแทน สูงกวากรรมการตรวจสอบในอัตรารอยละ 25 โดยที่ใน เดือนใดไมมีการประชุมคงใหไดรับคาตอบแทนดวย ทั้งนี้ คาตอบแทนดังกลาวเปนจํานวนเดียวกับทีท่ ปี่ ระชุมผูถ อื หุน ไดอนุมัติในป 255 4 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติไมเสนอขออนุมัติเงินรางวัล ประจําป (Bonus) สําหรับกรรมการบริษัทฯ ในป 2559 ตอที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559

ตารางแสดงคาตอบแทนสาหรับกรรมการและเจาหนาที่บริหารของบริษัทฯ ในป 2559 สินสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 นวย คณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทฯ(1) คณะกรรมการตรวจสอบ(2) เจาหนาทีบ่ ริหารบริษัทฯ(3) หมายเหตุ

จานวน (ราย)

15 4 15

คาตอบแทน

เบียประ ุม

9 04 1 53 6 60

46 -

(คณะกรรมการ (คณะกรรมการ บริษัทฯ) บริษัทฯ)

ลานบา

(คณะกรรมการ ุดยอย)

เบียประ ุม

เงินรางวัล ประจาป

รวม

1 62 -

บริษัทฯ งดจาย -

15 34 1 53 6 60

(1)

คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวย คาตอบแทน เบี้ยประชุม สําหรับคณะกรรมการบริษัทฯ และเบี้ยประชุม สําหรับคณะกรรมการชุดยอย สําหรับเงินรางวัลประจําป 255 บริษัทฯ งดจาย (2) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย คาตอบแทนเ พาะกรรมการบริษัทฯ เทานั้น (3) เจาหนาที่บริหาร 15 ราย รวมเจาหนาที่บริหารที่เกษียณอายุ และลาออกกอนวันที่ 31 ธันวาคม 2559

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 61


62 รายงานประจําป 2559

- ประธานกรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

- รองประธานกรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพือ่ สังคม - กรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ

- กรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการบริหาร - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - กรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน - กรรมการบริหารความเสี่ยง - ประธานกรรมการการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ - กรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ

- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม

2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง

3 นายคณิศ แสงสุพรรณ

4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา

ตาแหนงที่ไดรับคาตอบแทนและเบียประ ุม

1 นายอารีพงศ ภูชอุม

ราย ื่อคณะกรรมการบริษัทฯ

3 41 94

960 000 00

903 50 00

1 050 000 00

คาตอบแทน รวมเบียประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ (บาท)

-

250 000 00

40 000 00

20 000 00

เบียประ ุม กรรมการ ุดยอย (บาท)

ตารางแสดงผลตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ประจาป 2559

1 0 0 000 00 943 50 00

1 210 000 00

3 41 94

-

-

-

รวมผล ตอบแทน (บาท)

-

คาตอบแทน คณะกรรมการ ตรวจสอบ (บาท)


9 นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ

- กรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการดานก หมาย

- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน - กรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ

นายรัฐพล ภักดีภูมิ

960 000 00

0 000 00

936 451 61

- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม - กรรมการสรรหาผูด าํ รงตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ

นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ

0 000 00

960 000 00

-

6 นายดําริ ตันชีวะวงศ

กรรมการบริษัทฯ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ

ตาแหนงที่ไดรับคาตอบแทนและเบียประ ุม

กรรมการบริษัทฯ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - ประธานกรรมการทรัพยากรบุคคล - กรรมการสรรหาผูด าํ รงตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ

-

5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ

ราย ื่อคณะกรรมการบริษัทฯ

คาตอบแทน รวมเบียประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ (บาท)

60 000 00

1 0 000 00

30 000 00

340 000 00

0 000 00

เบียประ ุม กรรมการ ุดยอย (บาท)

ตารางแสดงผลตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ประจาป 2559 (ตอ)

450 000 00

360 000 00

-

-

360 000 00

คาตอบแทน คณะกรรมการ ตรวจสอบ (บาท)

1 4 0 000 00

1 400 000 00

966 451 61

1 300 000 00

1 310 000 00

รวมผล ตอบแทน (บาท)

รง รางการจัดการ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 63


64 รายงานประจําป 2559

960 000 00

- กรรมการบริษัทฯ

960 000 00

- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการบริหาร - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

13 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน

960 000 00

15 นายจรัมพร โชติกเสถียร

- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - กรรมการทรัพยากรบุคคล - กรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ

12 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย

930 000 00

663 333 33

- กรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน - ประธานกรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนง กรรมการผูอํานวยการใหญ

11 นายสมชัย สัจจพงษ

900 000 00

14 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย - กรรมการบริษัทฯ

- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - ประธานกรรมการกิจการสัมพันธ - กรรมการบริหาร

ตาแหนงที่ไดรับคาตอบแทนและเบียประ ุม

10 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ

ราย ื่อคณะกรรมการบริษัทฯ

คาตอบแทน รวมเบียประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ (บาท)

-

-

1 0 000 00

210 000 00

0 000 00

160 000 00

เบียประ ุม กรรมการ ุดยอย (บาท)

ตารางแสดงผลตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ประจาป 2559 (ตอ)

-

-

-

360 000 00

-

-

คาตอบแทน คณะกรรมการ ตรวจสอบ (บาท)

960 000 00

663 333 33

1 140 000 00

1 530 000 00

1 010 000 00

1 060 000 00

รวมผล ตอบแทน (บาท)


รง รางการจัดการ

คาตอบแทนอื่นๆ

สิทธิประโย นดานบัตรโดยสาร

คณะกรรมการบริษัทฯ บริษั ทฯ ไดยกเลิกสิทธิประโยชนดานบัตรโดยสารสําหรับ คณะกรรมการบริษัทฯ แลว ตั้งแตวันที่ 20 มิถุนายน 255 เปนตนมา โดยมิไดมีการนําเสนอสิทธิประโยชนดานบัตร โดยสารตอที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนอีก เจาหนาที่บริหารและพนักงาน เจาหนาที่บริหารและพนักงานของบริษั ทฯ รวมทั้งคูสมรส และบุตร จะไดรบั สิทธิประโยชนดา นบัตรโดยสารแบบสํารอง ที่นั่งไดและแบบสํารองที่นั่งไมไดตามระเบียบบริษั ทฯ ที่ กําหนด

กองทุนสารองเลียง ีพ

บริษัทฯ ไดจดทะเบียนจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเมื่อวันที่ 26 มิถนุ ายน 2535 ซึง่ ภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ จายเงินสมทบเขากองทุนใน อัตรารอยละ 9 ของเงินเดือนคาจางสําหรับพนักงานทีม่ อี ายุงาน ไมเกิน 20 ป และในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนคาจาง

สําหรับพนักงานที่มีอายุงาน 20 ปขึ้นไป โดยพนักงานจายเงิน สะสมในอัตราไมตํ่ากวารอยละ 2-15 ของเงินเดือนคาจาง

กองทุนบาเหนจพนักงาน

บริษัทฯ ไดจัดตั้งกองทุนบําเหน็จพนักงาน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) โดยจายเงินสมทบเขากองทุนในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนคาจาง ในกรณีที่เงินในกองทุนตํ่ากวาภาระ ผูกพัน ณ วันสิ้นงวดบัญชี บริษัทฯ จะจายเงินสมทบเพิ่มเติม ใหเต็มตามภาระผูกพัน พนักงานที่อยูในกองทุนบําเหน็จ จะตองมีอายุงานตั้งแต 3 ป ขึ้นไป จึงจะมีสิทธิไดรับเงินบําเหน็จตามอายุงาน เมื่อพน สภาพจากการเปนพนักงานโดยไมมีความผิด หรือมีความผิด แตไมถูกลงโทษถึงไลออก ทั้งนี้ เมื่อบริษัทฯ ไดดําเนินการ จัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพมีผลตั้งแตวันที่ 26 มิถุนายน 2535 เปนตนมาแลว พนักงานทีเ่ ขาทํางานนับจากวันดังกลาว จะสามารถเข า เป น สมาชิ ก กองทุ น สํ า รองเลี้ ย งชี พ ได อยางเดียว และไมสามารถเขาเปนสมาชิกกองทุนบําเหน็จ พนักงาน กองทุนบําเหน็จพนักงานจึงไมมีสมาชิกเพิ่มตั้งแต วันเริ่มจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

เงินสมทบกองทุนสารองเลียง ีพและเงินบาเหนจที่ใหแกเจาหนาที่บริหารในป 2559 สินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินสมทบกองทุนสารองเลียง ีพ จานวน (ราย) จานวนเงิน (ลานบาท)

เจาหนาที่บริหาร(1) หมายเหตุ

(1)

13

35

เงินบาเหนจ จานวน (ราย) จานวนเงิน (ลานบาท)

1

0 25

เจาหนาที่บริหารจํานวน 15 ราย รวมเจาหนาที่บริหารที่เกษียณอายุและลาออกกอนวันที่ 31 ธันวาคม 2559

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีพนักงานที่ กรุงเทพฯ สถานที่อื่นในประเทศไทย และตางประเทศรวมทั้งหมด จํานวน 21 99 คน โดยทัว่ ไป พนักงานของบริษัทฯ จะสิน้ สุด สภาพการเปน พนักงานเมื่อสิ้นสุดรอบปงบประมาณของ

ทางการ (วันที่ 30 กันยายน) ที่พนักงานนั้นมีอายุครบ 60 ปบริบรู ณ ทัง้ นี้ แนวปฏิบตั ใิ นเรือ่ งการบริหารบุคลากรภายใน ของบริษัทฯ ไดกําหนดใหสอดคลองกับก หมายแรงงานของ ประเทศไทย

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 65


ตารางเเสดงจานวนพนักงานเเยกตามสถานที่ปฏิบัติงานเเละหนาที่ ณ วันที่ที่เเสดงไว จานวนพนก าน น ป

  

   

าน นพนักงาน ังหม บงตามสถาน ิบัติงาน กรุงเทพฯ สถานที่อื่นในประเทศไทย ตางประเทศ บงตามหนา ลูกเรือบนเที่ยวบิน - นักบิน - พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน ฝายชาง สายการพาณิชย หนวยธุรกิจการบริการภาคพื้น ฝายอื่นๆ

นโยบายคาตอบแทนพนักงาน ทีส่ อดคลองกับผลการดาเนินงานของ บริษทั ฯ ทังในระยะสันและระยะยาว

บริษั ทฯ มีการกําหนดคาตอบแทนพนักงานที่สอดคลองกับ ผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ดังนี้ คาตอบแทนระยะสัน ในป 2559 คณะกรรมการบริษั ทฯ มีมติอนุมัติใหจายคา ตอบแทนตามผลการปฏิบตั งิ าน (Incentive) ซึง่ มีวตั ถุประสงค เพือ่ การเพิม่ ประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยกําหนดเงือ่ นไข การจายจากความตรงตอเวลาของเทีย่ วบินขาเขาของบริษัทฯ ถึงทาอากาศยานปลายทาง ( n-Ti e Arriva Per or ance) ระหวางเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2559 โดยกําหนด เกณฑวดั และคาเปาหมายไวในแตละเดือน จากจํานวนเทีย่ วบิน ทีเ่ ขาตรงตอเวลาไมตา่ํ กวารอยละของปริมาณเทีย่ วบินทัง้ หมด ในเดือนนั้นๆ หรือมีอันดับการตรงตอเวลาอยูใน 10 อันดับ แรกของสายการบินชั้นนําในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก อยางใด อยางหนึง่ คาตอบแทนระยะยาว สําหรับนโยบายการจายคาตอบแทนในระยะยาว บริษัทฯ ได ทําการทบทวนหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานให 66 รายงานประจําป 2559

21 99

22 64

24 952

19 34 1 202 1449

19 93 1 436 1 490

21 29 1 559 1 564

12 0 5 25 3 24 1 15 430 2 124

1 321 5 59 3 4 1 94 13 2 193

1 343 62 6 4 242 2 141 426 2 514

เชื่อมโยงกับการจายคาตอบแทน และมีความสอดคลองกับ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ยิง่ ขึน้ เชน การปรับกรอบนํา้ หนัก การบริหารผลการปฏิบัติงานใหมในทุกระดับตําแหนง โดย สําหรับผูบริหารไมนํา o etency มาเปนสวนหนึ่งของ คะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงาน แตนํามาใชเพื่อเปน ขอมูลประกอบการพั นาบุคลากร กําหนดใหมกี ารตัง้ เปาหมาย สูงขึน้ หรือทาทายมากขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับผลการปฏิบตั ิ งานที่ผานมา รวมทั้งเปาหมายการปฏิบัติงานตองสอดคลอง หรือสนับสนุนเปาหมายของผูบ งั คับบัญชา และเปาหมายของ องคกร พรอมทัง้ ตองมีการจัดลําดับ Per or ance Ranking ใหเปนไปตาม Forced istribution urve อีกดวย นอกจากนี้ บริษัทฯ อยูระหวางการที่จะปรับปรุงโครงสราง การจายคาตอบแทนของพนักงานในภาพรวม โดยการจัดทํา โครงสรางบัญชีอัตราเงินเดือน ภายใตเงื่อนไขที่พนักงาน รับภาระภาษีเงินไดเอง รวมทั้งพิจารณาจัดทําโครงสรางคา ตอบแทนของกลุมนักบินและพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน ที่เชื่อมโยงกับการปฏิบัติงานอยางชัดเจน ตามแนวปฏิบัติ ของสายการบินชั้นนําในปจจุบัน เพื่อจูงใจใหเกิดผลิตภาพ และสนับสนุนใหพนักงานปฏิบัติงานตามที่องคกรคาดหวังไป พรอมกันดวย


รง รางการจัดการ

ตารางแสดงผลตอบแทนที่เปนตัวเงินที่จายใหแกพนักงานตามปหรือรอบระยะเวลาที่แสดงไว

นวย ลานบา

ล อบแ น ปน ว ินแกพนก าน

พนักงานทั่วไป นักบิน พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน รม

นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ มีนโยบายในการพั นาทรัพยากรบุคคลทุกระดับดวย การพั นาและฝกอบรมบุคลากรใหมคี ณ ุ ภาพและไดมาตรฐาน มีศักยภาพ และความสามารถเหมาะสมกับตําแหนง ทั้งที่ ปฏิบัติงานอยูใน ore และ Business nit มีการออกแบบ eve o ent Training Road a ซึ่งครอบคลุมทั้ง ore Manageria และ Functiona o etency สําหรับ พนักงาน ผูบริหารระดับตน ระดับกลาง ระดับสูง และผูมี ศักยภาพสูง (Ta ent) โดยใชเครื่องมือการพั นาพนักงานที่ หลากหลาย ทั้งที่เปนการฝกอบรม (Training) และไมใชการ

19 465 5 16 591

23 195 5 51 39 37,444

21 514 5 10 169

ฝกอบรม ( on-Training) เชน การเรียนรูจากการสอนงาน การฝกปฏิบัติงาน เปนตน นอกจากนี้ ยังมีการนําเทคโนโลยี สารสนเทศในรูปแบบ e- earning มาใชในการฝกอบรมและ การเรียนรู เพือ่ เพิม่ โอกาสในการอบรมใหกบั พนักงาน ลดขอ จํากัดในการจัดสงพนักงานเขารับการอบรม และลดคาใชจา ย ในการฝกอบรม ทั้งนี้ เพื่อเตรียมความพรอมใหกับพนักงาน และผูบริหารใหสามารถปฏิบัตงิ านไดอยางเต็มศักยภาพ และ พรอมเติบโตขึ้นสูตําแหนงงานที่สูงขึ้นในอนาคตทั้งในสาย บริหารและสายอาชีพตอไป

คาใ จายในการพัฒนาพนักงาน รายจาย นการพ นาพนก าน

รายจายในการพั นาพนักงานทั่วไป รายจายในการพั นานักบิน รายจายในการพั นาพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน รม

นวย ลานบา

55 411 10 476

2 452 1 481

5 42 5

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 67


แนวทางดานแรงงานสัมพันธของบริษัทฯ บริษัทฯ มุง มัน่ ทีจ่ ะสงเสริมแรงงานสัมพันธทดี่ รี ะหวางนายจาง และลูกจาง เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และเปนไปตามวัตถุประสงคของพระราชบัญญัติแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ ศ 2543 โดยบริษั ทฯ ใชระบบการ ปรึกษาหารือรวมกันในรูปแบบของคณะกรรมการกิจการ สัมพันธ มีการตั้งคณะกรรมการขึ้นตามที่ก หมายกําหนด และให มี ก ารประชุ ม ร ว มกั น อย า งน อ ยเดื อ นละหนึ่ ง ครั้ ง โดยมีอํานาจหนาที่ ในการพิจารณาใหความเห็นเกี่ยวกับการ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการดําเนินงานของบริษัทฯ ตลอดจน สงเสริมและพั นาแรงงานสัมพันธ หาทางปรองดองและ ระงับขอขัดแยงในบริษั ทฯ พิจารณาปรับปรุงระเบียบขอ บังคับในการทํางาน อันเปนประโยชนตอนายจาง ลูกจาง และบริษัทฯ รวมกันปรึกษาหารือเพือ่ แกไขปญหาตามคํารอง ทุกขของลูกจาง หรือสหภาพแรงงานฯ รวมถึงการรองทุกข ที่เกี่ยวกับการลงโทษทางวินัย ตลอดจนปรึกษาหารือเพื่อ พิจารณาปรับปรุงสภาพการจาง เปนตน ซึ่งจากการประชุม คณะกรรมการกิจการสัมพันธที่ผานมา ทางกรรมการผูแทน ฝ า ยลู ก จ า งในคณะกรรมการกิ จ การสั ม พั น ธ ไ ด มี ก ารยื่ น ขอเรียกรองผานคณะกรรมการกิจการสัมพันธ ซึง่ เปนไปตาม ทีก่ หมายกําหนดโดยสามารถเจรจาทําความเขาใจและตกลง กันไดดวยดีเสมอมาตามกระบวนการและขั้นตอนที่ก หมาย กําหนด อีกทั้งบริษัทฯ ไดใหความรวมมือใหการสนับสนุนใน กิจกรรมตางๆ ของลูกจางอยางตอเนื่องเสมอมา

68 รายงานประจําป 2559

แนวทางดานการคุมครองแรงงาน บริ ษั ท ฯ ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ และคํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของพนักงาน เนื่องจากลักษณะงานที่มีความแตกตางกันในแตละสายงาน จึงจัดใหมีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอมในการทํางาน โดยมีการคัดสรรจากฝายบริหาร และฝายลูกจางหนวยตางๆ ของบริษัทฯ รวมกันเปนกรรมการ เพื่ อ พิ จ ารณาหาแนวทางและดํ าเนิ นการให ถู ก ต อ งตามที่ ก หมายกําหนด รวมถึงรวมกันตรวจสอบและจัดหาอุปกรณ เครือ่ งมือ เครือ่ งใชตา งๆ เพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านเปนไปดวยความ สะดวก รวดเร็วและมีความปลอดภัยสูงสุด เพื่อลดการเกิด อุบัติเหตุหรือภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดกับพนักงานของ บริษัทฯ อีกทัง้ มีการรณรงคใหพนักงานไดทราบถึงกระบวนการ ที่บริษัทฯ ไดดําเนินการใหความคุมครองแรงงาน และดูแล รับผิดชอบเกีย่ วกับการรักษาพยาบาลแกพนักงานตามทีก่ หมาย กําหนด ทัง้ นี้ โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและความสําคัญของ ทรัพยากรบุคคลของบริษัทฯ เปนหลัก


รง รางการจัดการ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 69


การกากับ

กจการ

70 รายงานประจําป 2559


การกํากับดู กิจการ

นโยบายเกีย่ วกับการกากับดูแล กิจการทีด่ ี และจริยธรรมทางธุรกิจ

คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแล กิจการที่ดีและจริยธรรมทางธุรกิจโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สากล เพือ่ ใหผปู ฏิบตั งิ านทุกระดับยึดถือและปฏิบตั ติ ามอยาง เครงครัด ดวยเชื่อวาเปนวิถีทางในการยกระดับการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ใหเกิดความเปนธรรม โปรงใส สามารถ ตรวจสอบได ซึ่งเปนการสรางความเชื่อมั่นในระยะยาวให กับผูถือหุน นักลงทุน ลูกคา โดยในป 2559 คณะกรรมการ บริษั ทฯ ไดทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ จริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อใหสอดคลองกับกลยุทธของบริษัทฯ รวมทั้งไดทําการเผยแพรผานทางเว็บไซตบริษัทฯ ที่ t aiair ays co เกี่ยวกับการบินไทย ศูนยขอมูลขาวสาร เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียทุก ภาคสวนสามารถเขาถึงขอมูลได นโยบายการกํากับดูแลกิจการ มีองคประกอบทีส่ าํ คัญ 4 ดาน ไดแก

1. ดานรั สังคมและสิง่ แวดลอม

มุง มัน่ รักษา และสงเสริม คุณภาพสิง่ แวดลอมอันเกิดจาก การดําเนินงานขององคกร กระตุน สงเสริม เนนยํา้ ใหทกุ หนวยงานในองคกร ดําเนินงาน โดยคํานึงถึงหนาที่และความรับผิดชอบเพื่อประโยชน สวนรวม ใสใจตอสิ่งแวดลอม สังคมและชุมชน มุงมั่น สรางสรรค สงเสริม สนับสนุน และบริหารจัดการ ดวยความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม สังคมและชุมชน ตามหลักก หมายและขอบังคับที่เกี่ยวของ

2. ดานผูร บั บริการและผูม สี ว นไดเสีย

มุงเนนการใหบริการทุกระดับดวยความประทับใจ ผูรับ บริการ ผูมีสวนไดเสีย ไดรับการอํานวยความสะดวกและ การตอบสนองตามตองการ สรางกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของผูรับบริการ และ ผูมีสวนไดเสียผานชองทางตางๆ ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น แนวทางใหม ๆ ตลอดจนการนํ า เทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใชในการพั นาการให บริการเพื่อความสะดวกและทันสมัย สงเสริมการใหบริการ โดยยึดหลักความพึงพอใจของผูรับ บริการ แสดงความรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้น อยางเปนธรรม อันเนื่องมาจากการบริการที่ผิดพลาด หรือไมเปนไปตามสัญญาหรือขอตกลง มุงมั่นที่จะเปดโอกาสในการแขงขันการใหบริการอยาง เปนธรรมและเสมอภาค

3. ดานองคกร

สรางระบบการกํากับดูแลและปองกันมิใหเกิดการขัดแยง ทางผลประโยชน ( on ict o Interest) ในการดําเนินงาน และทบทวนระบบการกํากับดูแลขององคกรอยางสมํา่ เสมอ สงเสริม ปลูกฝง กระตุน พรอมทั้งสรางบรรยากาศใหมี การตระหนักถึงความเสี่ยงตอการผิดจริยธรรมจนเปน วั นธรรมองคกร โดยเนนยํ้าถึงผลกระทบที่เกิดจากการ ดําเนินงานที่ ไมสอดคลองกับหลักคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล สรางกระบวนการกรณีทผี่ ลิตภัณฑ บริการ และการปฏิบตั ิ การมีผลกระทบในเชิงลบตอสังคม รวมถึงการคาดการณ ลวงหนาถึงความกังวลของสาธารณะที่มีผลตอผลิตภัณฑ บริการ และการปฏิบัติการ ใหความสําคัญตอความถูกตองและความชัดเจนของขอมูล ที่เผยแพรสูสาธารณชน โดยปรับปรุงพั นาระบบการ จัดการฐานขอมูลใหถูกตอง ทันสมัยอยูตลอดเวลา และ เนนยํ้าใหผูปฏิบัติงานทุกระดับยึดถือปฏิบัติโดยเครงครัด สงเสริมและจัดใหมีระบบบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวกับ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบตั งิ าน ความถูกตอง ของรายงานและการปฏิบัติตามก ระเบียบที่เกี่ยวของ ภายใตการกํากับดูแลและควบคุมภายในที่ดี

. ดานผูป ฏิบตั งิ าน

ใหความสําคัญ สนับสนุน ผลักดัน การพั นาทรัพยากรบุคคล การสรางความผูกพันองคกร และการสืบทอดตําแหนงอยาง เปนระบบและตอเนื่อง มุง มัน่ ทีจ่ ะสรางบรรยากาศในการทํางานทีด่ งึ ดูดและรักษา พนักงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ พรอมจัดใหมกี ารพั นาความสามารถ และทักษะที่จําเปน เพื่อใหพนักงานพั นาศักยภาพ และ สามารถทํางานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด สงเสริม สนับสนุน จัดใหมีระบบการแลกเปลี่ยน เรียนรู ประสบการณและความรูในการปฏิบัติงานทุกระดับเพื่อ ยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน เคารพในสิทธิสว นบุคคลของเจาหนาที่ พนักงาน หลีกเลีย่ ง การนําเอาขอมูล หรือเรื่องราวของเจาหนาที่ พนักงาน ทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานและเรื่องสวนตัวไป เปดเผย หรือวิพากษวจิ ารณในลักษณะทีจ่ ะกอใหเกิดความ เสียหายแกเจาหนาที่ พนักงาน หรือภาพลักษณโดยรวม ขององคกร กํากับดูแลใหพนักงานปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความซือ่ สัตยสจุ ริต โปรงใส เพือ่ ประโยชนสงู สุดขององคกร และไมดาํ เนินการ ที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 71


ใหความสําคัญและความเปนธรรมกับพนักงานทุกระดับ จัดใหมีกระบวนการรับขอรองเรียนจากพนักงานอยางเปน ระบบในเรื่องการปฏิบัติที่ไมเปนธรรมของผูบังคับบัญชา

จริยธรรมธุรกิจ

บริษัทฯ มีหลักจริยธรรม เพื่อใหพนักงานยึดถือปฏิบัติ ดังนี้ 1 ยึดมัน่ ในระบอบประชาธิปไตย ใหการสนับสนุนและยึดมัน่ ในระบอบประชาธิป ไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปน ประมุข 2 ยึดมัน่ ในประโยชนของบริษัทฯ ปฏิบตั หิ นาทีเ่ พือ่ ประโยชน สูงสุดของบริษัทฯ โดยไมแสวงหาผลประโยชนเพื่อตนเอง หรือผูอื่น และไมมีผลประโยชนทับซอน 3 ยึดมัน่ ในความซือ่ สัตยสจุ ริต ไมยนิ ยอมใหเกิดการทุจริตขึน้ ในงานที่ตนมีหนาที่รับผิดชอบ 4 ยึดมั่นในความถูกตอง ไมยินยอมใหเกิดการกระทําที่ผิด ก หมายขึ้นในงานที่ตนมีหนาที่รับผิดชอบ 5 ยึดมั่นในความโปรงใส ไมบิดเบือนขอเท็จจริงไมวาใน ลั ก ษณะใดๆ ในการให ข  อ มู ล ข า วสารแก ผู  ร  ว มงาน ประชาชน ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียอื่นๆ ของบริษัทฯ หลักบรรษัทภิบาลของการบินไทย บริษัทฯ ไดจดั ทําคูม อื ประมวลบรรษัทภิบาลและจริยธรรมเปน ลายลักษณอกั ษร และประกาศใชเมือ่ วันที่ 2 กันยายน 2553 โดยในป 2559 ไดเปดเผยคูมือประมวลฯ ผานทางเว็บไซต บริษั ทฯ ที่ t aiair ays co เกี่ยวกับการบินไทย ศูนยขอมูลขาวสาร เพื่อสื่อสารใหพนักงานทุกคนเขาใจ และ สงเสริมใหนําไปปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม การสรางมูลคา พิม ห กองคกร นร า สงเสริมและปลูกฝงใหผปู ฏิบตั งิ าน มีวิสั ย ทั ศ น แ ละตระหนัก ถึง ความสํา คัญในการเพิ่มขี ด ความสามารถในการแขงขันในทุกดาน ซึ่งเปนการสราง มูลคาเพิ่มใหแกองคกรในระยะยาว ตลอดจนจัดใหมีคณะ กรรมการตางๆ ตามหลักธรรมาภิบาล และผูบริหารตอง ปฏิบตั ติ ามนโยบายวาดวยการสรรหา แตงตัง้ โยกยาย และ พิจารณาความดีความชอบดวยความโปรงใสและเปนธรรม ค าม รง ส ดูแลใหมีการเปดเผย ขอมูลสําคัญทัง้ ขอมูลดานการเงินและดานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ กั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ภายในระยะเวลาที่ เหมาะสม และผานชองทางที่ผูเกี่ยวของสามารถเขาถึง ขอมูลไดสะดวก และจัดใหมีหนวยงานประชาสัมพันธและ หนวยงานนักลงทุนสัมพันธทาํ หนาทีเ่ ผยแพรขอ มูลขาวสาร ทั่วไปเกี่ยวกับบริษั ทฯ ใหสาธารณชนไดรับทราบ อีกทั้ง ผูปฏิบัติงานจะตองไมมีผลประโยชนสวนตนในการปฏิบัติ 72 รายงานประจําป 2559

หนาที่หรือละเวนการดําเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจกอ ใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษั ทฯ ไม ใช ขอมูลแสวงหาผลประโยชนเพื่อตนเองหรือผูอื่น ตลอดจน ผูปฏิบัติงานตองไมรับตําแหนงกรรมการหรือที่ปรึกษาให แกบริษัท หรือบุคคลใดๆ ซึง่ จะกอหรืออาจกอใหเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษัทฯ รวมถึงการรับทรัพยสนิ หรือประโยชนอื่นใดของผูปฏิบัติงาน จะตองอยูภายใต หลั ก เกณฑ ที่ ค ณะกรรมการป อ งกั น และปราบปราม การทุจริตแหงชาติกําหนด ค ามรับผิ อบ นหนา ผูปฏิบัติงาน ตองอุทศิ ตนในการปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความรู และประสบการณ อยางเต็มความสามารถ โดยใหความสําคัญตอการตอบสนอง ความตองการของผูถือหุน ลูกคา คูคา และพนักงาน โดย ใชดุลยพินิจในการปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระดวยความ สุจริตและเปนธรรม ตลอดจนหลีกเลี่ยงการกระทําใดๆ อั น เป น การขั ด แย ง กั บ ผลประโยชน ข องบริ ษั ท ฯ หรื อ เปนการใชโอกาสหรือขอมูลที่ไดจากการเปนผูปฏิบัติงาน ของบริษัทฯ เพื่อแสวงหาผลประโยชนสําหรับตนเองหรือ ผูอื่น ซึ่งผูบริหารจะตองสงเสริมและปลูกฝงผูใตบังคับ บัญชาใหมีจิตสํานึกของความรับผิดชอบอยางสูงในการ ปฏิบัติหนาที่ ค ามรับผิ อบตอผลการ บิ ตั หิ นา ผูป ฏิบตั งิ านตองตัง้ ใจปฏิบตั หิ นาทีอ่ ยางเต็มความสามารถ และใชความระมัดระวังเยี่ยงผูมีความรูและประสบการณ พรอมทีจ่ ะรับผิดชอบตอผลการกระทําของตน รวมถึงชีแ้ จง และอธิบายการตัดสินใจและการกระทําของตนตอคณะ กรรมการบริษัทฯ ผูบ งั คับบัญชา ผูถ อื หุน ลูกคา คูค า และ ผูมีสวนไดเสียอื่นๆ ของบริษั ทฯ สงเสริมและปลูกฝงให ผูปฏิบัติงานมีจิตสํานึกความรับผิดชอบ ค าม นธรรม ผูป ฏิบตั งิ านตอง ดํ า เนิ น กิ จ การและปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องตนเองด ว ยความ เปนธรรม โดยการปฏิบตั ติ อ ผูม สี ว นไดเสียอยางเทาเทียมกัน ไมเลือกปฏิบัติเนื่องจากความแตกตางในดานเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ หรือเหตุอื่นอันไมเปนธรรม รวมถึง ประพ ติปฏิบัติตอคูแขงขันทางการคา ใหสอดคลองกับ หลักสากลภายใตกรอบแหงก หมายทีเ่ กีย่ วของ ไมละเมิด ความลับ หรือลวงรูความลับทางการคาของคูแขงทาง การคาดวยวิธี อ ล และจัดใหมีชองทางใหพนักงาน สามารถแจงเรือ่ งทีผ่ ดิ ก หมาย หรือผิดระเบียบของบริษัทฯ และดูแลใหขอรองเรียนไดรับการตอบสนองภายในระยะ เวลาที่เหมาะสม


การกํากับดู กิจการ

การปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

คณะกรรมการบริษัทฯ มีเจตนารมณและความมุงมั่นในการ ดําเนินธุรกิจตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่ยอมรับใน ระดับสากล (Internationa Best Practice) ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และ AS A Scorecard โดยทําการ พั นาอยางตอเนื่อง ดวยเชื่อมั่นวาสามารถทําใหธุรกิจของ บริษัทฯ เจริญเติบโตไดอยางมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ แบงเปน 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถ อื หุน บริษั ทฯ ใหความสําคัญกับผูถือหุนและสิทธิของผูถือหุน การทําใหผูถือหุนไววางใจและมั่นใจในการลงทุนกับบริษั ทฯ คือ การทีบ่ ริษัทฯ มีนโยบาย หรือการดําเนินการทีป่ กปองและ รักษาสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของผูถ อื หุน ทีพ่ งึ ไดรบั ไดแก สิทธิในการ ซื้อขาย การโอนหลักทรัพยที่ตนถืออยู สิทธิในการมีสวนแบง ผลกําไรของบริษัทฯ สิทธิการไดรับขอมูลของบริษัทฯ อยาง เพียงพอและทันเวลา สิทธิตา งๆ ในการเขารวมประชุมผูถ อื หุน สิทธิการมอบ ันทะใหบุคคลอื่นเขาประชุมและออกเสียงลง คะแนนแทน สิทธิการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการ ประชุมผูถือหุน สิทธิในการเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเปนวาระ การประชุมและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อรับ การพิจารณาเลือกตั้งเปนกรรมการบริษัทฯ สิทธิในการรวม ตัดสินใจในเรือ่ งสําคัญของบริษัทฯ เชน การเลือกตัง้ กรรมการ การอนุมัติธุรกรรมที่สําคัญและมีผลตอทิศทางการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ การแกไขหนังสือบริคณหสนธิและขอบังคับ ของบริษัทฯ เปนตน

การประชุมผูถ อื หุน

บริษั ทฯ ไดจัดใหมีการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป ตามพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด พ ศ 2535 โดยได ป ฏิ บัติตามแนวทางการจัดประชุมผู  ถื อ หุ  น ที่ ดีข อง ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษั ทไทย (I ) และตรวจสอบใหการประชุม ผู  ถื อ หุ  น มี ข  อ ปฏิ บั ติ ค รบถ ว นตามข อ กํ า หนดที่ ร ะบุ ไ ว ใ น Annua enera Meeting eck ist (A M eck ist) ตามโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถือหุนสามัญ ประจําปของบริษัทจดทะเบียน โดยสมาคมสงเสริมผูล งทุนไทย สมาคมบริ ษั ท จดทะเบียน และสํา นัก งานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) เพือ่ ยกระดับ คุณภาพการจัดการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําปของ บริษัทฯ ดังนี้

การกําหนดวัน เวลา สถานที่ในการประชุม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ ครั้งที่ 2 2559 เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2559 ไดมีมติกําหนดใหจัดการประชุมใหญ สามัญผูถือหุนประจําป 2559 ในวันที่ 22 เมษายน 2559 ซึ่งอยูภายในกําหนดระยะเวลา 4 เดือน นับแตวันปดบัญชี ประจําปของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยมติดังกลาวใน เว็บไซตของตลาดหลักทรัพยฯ และเผยแพรคาํ บอกกลาวเรียก ประชุมผูถือหุนในเว็บไซตของบริษัทฯ ตั้งแตวันที่ 15 มีนาคม 2559 โดยการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 ได จัดขึ้น ณ หองประชุมชัยพ กษ หอประชุมกองทัพอากาศ (อาคารทองใหญ) ถนนพหลโยธิน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร มีผูถือหุนและผูรับมอบ ันทะแทนจํานวน 3 32 ราย ถือหุน รวมกันทั้งสิ้น 1 595 4 9 23 หุน คิดเปนรอยละ 3 09 ของ จํานวนหุนทั้งหมดของบริษัทฯ เขารวมประชุม ครบเปนองค ประชุมตามขอบังคับของบริษั ทฯ โดยมีประธานกรรมการ บริษัทฯ ประธานคณะกรรมการชุดยอย กรรมการและผูบ ริหาร บริษัทฯ เลขานุการบริษัทฯ ผูส อบบัญชี และทีป่ รึกษาก หมาย เขารวมประชุมอยางพรอมเพรียงกัน ทั้งนี้ รายละเอียดใน การดําเนินการประชุมมีดังนี้

ก อนวันประชุมผูถ อื หุน

ในการประชุ ม ใหญ ส ามั ญ ผู  ถื อ หุ  น ประจํ า ป 2559 เพื่ อ เปนการสงเสริมการกํากับดูแลกิจการที่ดีเกี่ยวกับการดูแล สิทธิของผูถือหุน บริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอเรื่อง เพื่อพิจารณาบรรจุเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคล ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเพื่ อ รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป น กรรมการบริษัทฯ เปนการลวงหนากอนทีบ่ ริษัทฯ จะสงหนังสือ เชิญประชุม คือ ตั้งแตเดือนตุลาคม-ธันวาคม 255 โดยได เปดเผยรายละเอียดหลักเกณฑและวิธีการไวบนเว็บไซตของ บริษัทฯ และบริษัทฯ ไดลงประกาศในหนังสือพิมพ ระหวาง วันที่ 5-11 ตุลาคม 2559 พรอมทั้งไดมีหนังสือแจงตลาด หลักทรัพยฯ ในเรือ่ งดังกลาว โดยมีผถู อื หุน เสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตั้งเปนกรรมการบริษัทฯ แตปรากฏขอ เท็จจริงวาผูถือหุนที่ไดเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณา เลือกตั้งเปนกรรมการบริษั ทฯ ดังกลาวมีคุณสมบัติไมตรง ตามหลักเกณฑที่กําหนด การส งเอกสารการประชุมและการมอบฉันทะ บริษัทฯ ไดจัดสงหนังสือเชิญประชุม ซึ่งบรรจุวาระที่สําคัญ อยางครบถวนตามก หมาย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และขอบังคับของบริษัทฯ อาทิ รายละเอียดวาระการประชุมที่ เพียงพอทีจ่ ะประกอบการตัดสินใจ ทัง้ นี้ บริษัทฯ ไดระบุอยาง ชัดเจนในแตละวาระทีน่ าํ เสนอวา เปนเรือ่ งทีน่ าํ เสนอเพือ่ ทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา รวมทั้งนําเสนอความเห็นของ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 73


คณะกรรมการบริษั ทฯ ในแตละวาระอยางชัดเจน รายงาน การประชุมครั้งที่ผานมา รายงานประจําป พรอมทั้งเอกสาร ประกอบการประชุม เอกสารที่ตองใชในการมอบ ันทะ และ ระบุวิธีการไวชัดเจนใหแกผูถือหุนไดพิจารณาลวงหนากอน การประชุมมากกวา 21 วัน (เผยแพรรายงานประจําป ภายใน 120 วันนับตั้งแตวันสิ้นสุดรอบปบัญชี) และไดประกาศใน หนังสือพิมพรายวันภาษาไทย เรื่องคําบอกกลาวเรียกประชุม ใหญสามัญผูถือหุนติดตอกันไมนอยกวา 3 วัน และกอนวัน ประชุมไมนอ ยกวา 3 วัน รวมถึงไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุม พรอมทั้งเอกสารประกอบการประชุมในเว็บไซตของบริษั ทฯ ลวงหนากอนการประชุมมากกวา 30 วัน เพือ่ บอกกลาวผูถ อื หุน ลวงหนาในเวลาที่เพียงพอสําหรับเตรียมตัวศึกษาขอมูลใน การพิจารณาเกี่ยวกับวาระการประชุมกอนมาเขารวมประชุม หนังสือเชิญประชุมไดจัดสงใหกับผูถือหุนทุกรายที่มีรายชื่อ ปรากฏในสมุดทะเบียนผูถือหุนของบริษัทฯ รวมทั้งไดแตงตั้ง กรรมการอิสระ เปนผูรับมอบ ันทะแทนผูถือหุน ในกรณีที่ ผูถ อื หุน ประสงคจะมอบ นั ทะใหผอู นื่ มาประชุมแทน สามารถ เลือกมอบ ันทะใหบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกรรมการอิสระ ของบริษัทฯ เขาประชุมแทนได

วันประชุมผูถ อื หุน

การเข าร วมประชุมและการลงทะเบียน บริษัทฯ ไดแจงในเอกสารประกอบการประชุมที่จัดสงพรอม หนังสือเชิญประชุม เพื่อใหผูถือหุนทราบถึงกระบวนการและ ขั้นตอนในการเขารวมประชุม การตรวจสอบเอกสารหรือ หลักฐานเพื่อแสดงสิทธิในการเขารวมประชุม บริษั ทฯ ได อํานวยความสะดวกใหกับผูถือหุน โดยไดกําหนดวันเวลา การประชุม สถานที่ประชุมที่มั่นใจในดานการรักษาความ ปลอดภัยใหกับผูถือหุน จัดเจาหนาที่ลงทะเบียน และกําหนด จุดบริการรับลงทะเบียนใหแกผูถือหุนทั่วไป ผูถือหุนสูงอายุ และผูรับมอบ ัน ทะที่เขารวมประชุมอยางเหมาะสมและ เพียงพอ โดยผูถือหุนสามารถลงทะเบียนเขารวมประชุมได ลวงหนากอนเวลาประชุม 4 ชั่วโมง และตอเนื่องจนกวาการ ประชุมผูถือหุนจะแลวเสร็จ รวมถึงการจัดของที่ระลึก และ การเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแกผูถือหุนที่มาประชุมดวย การเป ดโอกาสให ผู ถือหุ นซักถามและแสดงความคิดเห็น การลงมติ และการบันทึกรายงานการประชุม ในการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 กอนดําเนิน การประชุม เลขานุการบริษัทฯ ไดมีการแจงรายละเอียดของ องคประชุม อธิบายวิธีการลงคะแนน การใชบัตรลงคะแนน การเก็บบัตรลงคะแนน การนับคะแนนเสียง และเปดเผยผล การนับคะแนนในแตละวาระอยางชัดเจน โปรงใส รวมทั้ง เปดโอกาสใหผูถือหุนซักถาม หรือแสดงความคิดเห็นอยาง 74 รายงานประจําป 2559

เหมาะสมและเพียงพอ และใหฝา ยบริหารทีเ่ กีย่ วของชีแ้ จงและ ใหขอมูลตางๆ แกผูถือหุนอยางครบถวนและชัดเจน สําหรับ การลงคะแนนและนับคะแนนเสียง บริษั ทฯ ปฏิบัติตามขอ บังคับของบริษัทฯ ที่กําหนดให 1 หุน เปน 1 เสียง และนับ เสียงขางมากหรือไมนอยกวา 2 ใน 3 เปนมติ โดยในวาระ ทั่วไปใชบัตรลงคะแนนเ พาะกรณีที่ผูถือหุนไมเห็นดวยและ งดออกเสียงสําหรับวาระเลือกตั้งกรรมการใชบัตรลงคะแนน เห็นดวย ไมเห็นดวย และงดออกเสียง รวมทัง้ บริษัทฯ มีการจด บันทึกรายงานการประชุมอยางครบถวนและมีการบันทึกภาพ ประชุมในลักษณะสื่อวีดิทัศน และพรอมใหบริการเผยแพร แกผูถือหุนที่สนใจ

ภายหลังวันประชุมผูถ อื หุน

การแจ งมติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน บริษัทฯ ไดแจงมติที่ประชุมผูถือหุนผานระบบขาวของตลาด หลักทรัพยฯ ภายหลังจากการประชุมผูถือหุน โดยไดแจง กอนเวลาเปดทําการซื้อขายในรอบถัดไป ซึ่งมติดังกลาวได ระบุผลของมติ (เห็นชอบ ไมเห็นชอบ) และผลของการลง คะแนนเสียง (เห็นดวย ไมเห็นดวย งดออกเสียง) ในแตละ วาระ และจัดสงรายงานการประชุมผูถือหุน ซึ่งจดบันทึก รายชื่อกรรมการ ผูบริหารที่เขารวมประชุม ผลของมติ (เห็นชอบ ไมเห็นชอบ) และผลของการลงคะแนนเสียง (เห็นดวย ไมเห็นดวย งดออกเสียง) ในวาระที่ขอรับรอง อนุมตั จิ ากผูถ อื หุน รวมทัง้ ประเด็นอภิปรายทีส่ าํ คัญ ขอซักถาม ของผูถือหุนในแตละวาระและการชี้แจงของบริษั ทฯ อยาง ละเอียดใหตลาดหลักทรัพยฯ และเผยแพรรายงานการประชุม ผูถือหุนบนเว็บไซตภายในระยะเวลา 14 วัน นับแตวันประชุม ผูถือหุน และสงหนวยงานราชการภายในกําหนดเวลา โดย บริษัทฯ ไดจัดทํามติที่ประชุมผูถือหุนซึ่งสงผานระบบขาวของ ตลาดหลักทรัพยฯ และเผยแพรรายงานการประชุมผูถ อื หุน เปน ภาษาอังก ษบนเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหผูถือหุนตางชาติ ไดรับขอมูลอยางทั่วถึงกัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไมมีการกีดกันหรือ อุปสรรคในการติดตอสื่อสารระหวางกันของผูถือหุน หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน อยางเทาเทียมกัน นโยบายของบริษั ทฯ คือการอํานวยความสะดวกใหผูถือหุน และปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน เปนธรรม และเปนไปตามขอกําหนดก หมาย รวมทัง้ มีมาตรการปองกัน กรณีที่กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานใชขอมูลภายในเพื่อ แสวงหาผลประโยชนใหแกตนเองหรือพวกพองในทางมิชอบ อาทิ การซื้อขายหลักทรัพยโดยใชขอมูลภายใน (Insider Trading) การนําขอมูลภายในไปเปดเผยกับบุคคลทีเ่ กีย่ วของ กับกรรมการ และผูบ ริหาร เพือ่ สรางความมัน่ ใจในการลงทุน กับบริษั ทฯ ตามแนวทางโครงการประเมินคุณภาพการจัด


การกํากับดู กิจการ

ประชุมสามัญผูถือหุน (A M eck ist) ไดแก การปองกัน สิทธิขั้นพื้นฐานของผูถือหุน การกําหนดใหสิทธิออกเสียงในที่ ประชุมเปนไปตามจํานวนหุน ทีถ่ อื อยูโ ดยหนึง่ หุน มีสทิ ธิเทากับ หนึ่งเสียง การกําหนดใหกรรมการอิสระเปนผูมีหนาที่ดูแล ผูถือหุนสวนนอย การใหบริษัทศูนยรับฝากหลักทรัพยฯ เปน นายทะเบียนหลักทรัพย การดําเนินการประชุมตามลําดับ ระเบียบวาระที่ ไดแจงไวในหนังสือเชิญประชุม การเปด โอกาสใหผถู อื หุน มีสทิ ธิมอบ นั ทะใหผอู นื่ มาประชุมและลงมติ แทน การจัดสรรเวลาประชุมอยางเพียงพอเพื่อเปดโอกาสให ผูถ อื หุน มีสทิ ธิอยางเทาเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและ ตั้งคําถาม และการเปดเผยขอมูลผานเว็บไซตของบริษั ทฯ เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดรบั ขอมูลขาวสารสําคัญทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง บริษัทฯ มีการสงหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการ ประชุมเปนภาษาอังก ษใหกับผูถือหุนตางชาติ และภายหลัง การประชุมฯ ฝายบริหารไดมอบหมายใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ นําขอเสนอแนะของผูถ อื หุน ไปพิจารณาวาสามารถดําเนินการ ไดหรือไม บริษัทฯ ไมมีรายการที่เปนการใหความชวยเหลือ ทางการเงินแกบริษัทฯ ที่ไมใชบริษัทยอยของบริษัทฯ และใน ปทผี่ า นมา บริษัทฯ ไมมกี รณีฝา ฝน ไมปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ การซื้อขายสินทรัพย หมวดที่ 3 บทบาทของผูม สี ว นไดเสีย บริษั ทฯ ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสําคัญของผูมีสวนได เสียทุกภาคสวน ที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน การสรางมูลคาเพิ่ม และสรางกําไรใหกับบริษั ทฯ บริษั ทฯ จึงมีแนวปฏิบัติที่เปนธรรมตอผูมีสวนไดเสียทุกกลุมอยาง เทาเทียมกัน โดยยึดหลักผลประโยชนรวมกันอยางยั่งยืน ในฐานะสายการบินแหงชาติ บริษั ทฯ ดําเนินธุรกิจดวย ความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งสอดคลองกับหลักมาตรฐาน สิ่งแวดลอมสากล เพื่อลดมลพิษและผลกระทบตางๆ อันเกิด จากการดําเนินงาน โดยบริษั ทฯ ไดกําหนดแนวทางการ ปฏิบัติไวเปนลายลักษณอักษรในคูมือประมวลบรรษั ทภิบาล และจริยธรรม เพื่อใหคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ยึดถือปฏิบัติ ดังนี้

“สังคมและสวนรวม” รวมทั้งใหการสนับสนุน สงเสริม หรือ มีสว นรวมในกิจกรรมทีเ่ ปนประโยชนตอ สังคมหรือชุมชนตางๆ

ผู ถือหุ น

บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจเพื่อสรางผลตอบแทนที่ดีอยางตอเนื่อง และยั่งยืนใหแก “ผูถือหุน” และปฏิบัติตอ “ผูถือหุน” ทุกราย ดวยความเสมอภาค

ลูกค า

บริษั ทฯ จะใหบริการที่มีคุณ ภาพ โดยใส ใจในเรื่องความ ปลอดภัย ความสะดวกสบาย และแสวงหาวิธีการที่สามารถ สนองความตองการของ “ลูกคา” อยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เพื่อสรางความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ

คู ค า เจ าหนี้ และลูกหนี้

บริษัทฯ จะดําเนินการให “คูค า เจาหนี้ และลูกหนี”้ มัน่ ใจไดวา จะไดรบั การปฏิบตั อิ ยางเสมอภาคและเปนธรรม โดยตัง้ อยูบ น พืน้ ฐานของความสัมพันธทางธุรกิจและการไดรบั ผลตอบแทน ที่เปนธรรมตอทั้งสองฝาย รวมทั้งหลีกเลี่ยงสถานการณที่ อาจเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน นอกจากนี้ สําหรับเจาหนี้ บริษัทฯ ไดยึดปฏิบัติตามสัญญา หรือเงื่อนไขตางๆ ที่ตกลงกันไวกับคูสัญญาอยางเครงครัด มีความรับผิดชอบและไมปกปดขอมูลหรือขอเท็จจริงอันจะ กอใหเกิดความเสียหายตอเจาหนี้ โดยรายงานฐานะการเงิน ของบริษัทฯ แกเจาหนี้ทราบอยางสมํ่าเสมอดวยความถูกตอง และตรงเวลา หากไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพันในสัญญา บริษัทฯ จะแจงเจาหนีท้ ราบทันที เพือ่ หาแนวทางแกไขรวมกัน รวมถึงการบริหารจัดการเงินทุนใหมโี ครงสรางทีเ่ หมาะสมตอ การดําเนินธุรกิจของบริษั ทฯ รักษาความเชื่อมั่นของเจาหนี้ และมุงมั่นสรางความสัมพันธทางธุรกิจที่ดีและยั่งยืน

ผู ปฏิบัติงาน

ประเทศชาติ

บริษัทฯ ใหความสําคัญกับ “ผูป ฏิบตั งิ าน” ในทุกระดับ โดยจัด ใหมกี ระบวนการสรรหา และคัดเลือกบุคลากรที่ไดมาตรฐาน ชัดเจน และโปรงใส มีการพั นาองคความรูใ หกบั ผูป ฏิบตั งิ าน อยางตอเนื่อง เพื่อโอกาสในความกาวหนา รวมทั้งมีการ เสริมสรางบรรยากาศ สภาพแวดลอมในการทํางาน และ วั นธรรมองคกรใหเปนเอกลักษณ

สังคมและส วนรวม

ในป 2559 บริษั ทฯ มีการกําหนดคาตอบแทนพนักงานที่ สอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวโดยรายละเอียดขอมูลกรุณาดูในหนา 66

บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใสสามารถตรวจสอบได ชวยใหบริษัทฯ เติบโตอยางยัง่ ยืนและเกิดผลดีตอ ประเทศชาติ โดยไมกระทําการใดๆ อันจะกอใหเกิดผลเสียตอประเทศชาติ บริษั ทฯ คํานึงถึงทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และ ประโยชนสวนรวม โดยปลูกฝงใหเกิดจิตสํานึกรับผิดชอบตอ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 75


นอกจากนี้ บริษั ทฯ ยังมีนโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน การฝกอบรม พนักงานในเรื่องสิ่งแวดลอม โดยดูรายละเอียดไดในหนังสือ รายงานการพั นาอยางยั่งยืน ประจําป 2559

แนวปฏิบตั ดิ า นทรัพย สนิ ทางป ญญา

บริษั ทฯ ใหความสําคัญกับการปกปองทรัพยสินทางปญญา โดยจัดทําเปนนโยบายของบริษัทฯ ทั้งในสวนของการจัดซื้อ จัดหา และการใชงานที่ตองไมละเมิดสิทธิ ในทรัพยสินทาง ปญญา นอกจากนี้ ยังมีการใหความรูและเตือนพนักงานให ตระหนักถึงเรือ่ งดังกลาว รวมทัง้ มีการตรวจสอบโดยหนวยงาน ทั้งภายในและภายนอก

แนวปฏิบตั ดิ า นการต อต านการทุจริตคอร รปั ชัน่

รายละเอียดอยูในหัวขอความรับผิดชอบตอสังคม หนาที่ 96 หมวดที่ การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บริษัทฯ ใหความสําคัญและปฏิบตั ติ ามหลักการเปดเผยขอมูล และความโปรงใส ตามทีก่ ระทรวงการคลัง ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยกําหนดไว โดยกําหนดใหหนวยงานที่ เกี่ยวของเปนผูดูแลและเปดเผยขอมูลสําคัญทั้งขอมูลดาน การเงินและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ อยางเพียงพอ ถูกตอง ครบถวน ทันเวลา และโปรงใส เพื่อสื่อสารกับผูถือหุน นักลงทุน นักวิเคราะห และผูมีสวน ไดเสียทุกภาคสวนใหรับทราบขอมูลอยางเทาเทียมกัน ผาน ชองทางตางๆ โดยบริษัทฯ มีแนวปฏิบัติ ดังนี้

การเป ดเผยข อมูลผ านหน วยงานที่เกี่ยวข อง

บริษัทฯ เปดเผยขอมูลของบริษัทฯ ทั้งดานการเงินและดาน อื่นๆ ที่สําคัญตอหนวยงานกํากับดูแล เชน การรายงานงบ การเงิ น และข า วที่ สํ า คั ญ ต อ การลงทุ น ของผู  ถื อ หุ  น และ นักลงทุนตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การรายงาน ขอมูลของบริษั ทฯ ผานแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) และรายงานประจําป (แบบ 56-2) ตอสํานักงาน คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย การรายงานขอมูลดานการเงิน ขอมูลกรรมการและพนักงาน รวมถึงขอมูลดานอื่นๆ ผานระบบบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ ( FMIS) ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร ) ในฐานะที่บริษัทฯ เปนรัฐวิสาหกิจ

การเป ดเผยข อมูลผ านนักลงทุนสัมพันธ

บริษั ทฯ ใหความสําคัญในการดูแลและคํานึงถึงนักลงทุน ผูถ อื หุน และผูม สี ว นไดสว นเสีย โดยจัดใหมหี นวยงานนักลงทุน 76 รายงานประจําป 2559

สัมพันธ เปนผูรับผิดชอบในการเสริมสรางความสัมพันธอันดี การสือ่ สารใหขอ มูลทีถ่ กู ตอง นาเชือ่ ถือ มีขอ มูลวิเคราะหและ ขอมูลเชิงธุรกิจอยางเพียงพอ รวมทั้งดําเนินการจัดแผนงาน เพื่ อให ผู  มี ส  ว นได ส  ว นเสี ย ทุ ก กลุ  ม ได รั บ การปฏิ บั ติ อ ย า ง เทาเทียมกัน มีสิทธิในการเขาถึงขอมูล และมีชองทางใน การสื่อสารกับบริษั ทฯ ที่เหมาะสมผานทางกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรมโรดโชวในประเทศ การเขาประชุม ประชุม ทางโทรศัพทกับผูบริหาร การตอบขอซักถามและใหขอมูล ทางโทรศัพทและ หรืออีเมล และการจัดกิจกรรมผูบริหาร พบนักลงทุนสถาบันและนักวิเคราะหหลักทรัพยเพื่อชี้แจง ขอมูลผลประกอบการเปนประจําทุกไตรมาส อีกทั้งมีการนํา นักวิเคราะหหลักทรัพย และผูมีสวนไดสวนเสียเขาเยี่ยมชม บริษั ทฯ และพบปะผูบริหารเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยในป นี้ ไ ด นํ า ผู  ถื อ หุ  น เยี่ ย มชมศู น ย ฝ กบิ น จํ า ลองแบบ แอรบสั A340-600 โบอิง้ -200 300 และโบอิง้ -300 R ณ บริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) สํานักงานใหญ เยี่ยมชมกิจการครัวการบิน ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ นอกจากนั้ น แล ว ยั ง มี ก ารจั ด กิ จ กรรมให กั บ นั ก วิ เ คราะห หลักทรัพยและผูแทนสถาบันการเงินตางๆ ณ สํานักงานใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด(มหาชน) โดยในปทผี่ า นมา บริษัทฯ ไดมีกิจกรรมดานการลงทุนสัมพันธ ดังนี้ กิจกรรม

โรดโชวในประเทศ โรดโชวตา งประเทศ การเขาประชุม การประชุม ทางโทรศัพทกบั ผูบ ริหารบริษัทฯ การตอบขอซักถามและใหขอ มูล ทางโทรศัพท และทางอีเมล การชีแ้ จงขอมูลรายไตรมาส การเยีย่ มชมกิจการบริษัทฯ

การเป ดเผยข อมูลผ านเว็บไซต

จานวน

2 ครัง้ ป 10 ครัง้ ป 26 ครัง้ ป 292 ครัง้ ป 4 ครัง้ ป 4 ครัง้ ป

เพื่อเปนชองทางใหผูถือหุน นักลงทุน หรือผูที่สนใจ ไดรับ ทราบขอมูลของบริษั ทฯ อยางทันทวงที บริษั ทฯ ไดจัดทํา เว็บไซตเพื่อเผยแพรขอมูลของบริษั ทฯ ตอผูที่เกี่ยวของทุก ภาคสวนผาน t aiair ays co ไดแก ขอมูลประวัติ ของบริษัทฯ คณะกรรมการ บริการที่บริษัทฯ เสนอ ขาวสาร ทีส่ าํ คัญ ผลการดําเนินงาน งบการเงิน ขอมูลเกีย่ วกับผูถ อื หุน การประชุมผูถ อื หุน รายงานการประชุมผูถ อื หุน รายชือ่ ผูถ อื หุน รายใหญ สถิติตางๆ การกํากับดูแลกิจการที่ดี การจัดซื้อ จัดจาง ขอบังคับบริษั ทฯ รวมถึงรายงานสารสนเทศที่แจง ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนตน


การกํากับดู กิจการ

การทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันและการป องกัน การขัดแย งทางผลประโยชน

เรื่อง การกําหนดนโยบายราคาสําหรับรายการที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในเดือนมกราคม 254 โดยในการเขาทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษัทฯ กับ บุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ใชนโยบายการกําหนดราคาซือ้ สินคาและ บริการระหวางบริษัทฯ กับกิจการทีเ่ กีย่ วของ โดยกําหนดจาก ราคาปกติของธุรกิจเชนเดียวกับบริษัทฯ กําหนดใหกับบุคคล หรือกิจการอื่นที่ ไมเกี่ยวของเปนลําดับแรก และใชนโยบาย ราคาที่มีเงื่อนไขทางธุรกิจที่ ไมเปนปกติ หรือไมเปนไปตาม ราคาตลาดหากจําเปน ทั้งนี้ เพื่อบริษั ทฯ จะไดปฏิบัติตาม หลักเกณฑและวิธกี ารของตลาดหลักทรัพยฯ รวมทัง้ มาตรฐาน การบัญชีไดอยางถูกตองและครบถวน

บริษั ทฯ ไดออกประกาศบริษั ทฯ เรื่องการเปดเผยขอมูล รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ตามหลักเกณฑและวิธีการของตลาดหลักทรัพยฯ ตั้งแต กันยายน 254 เพื่อใหคณะกรรมการบริษั ทฯ และฝาย บริหารทุกทาน ซึ่งเขาขายบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามคํานิยาม ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย เปดเผยขอมูลบุคคลและนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ทุกครั้งที่มีการแตงตั้งกรรมการหรือผูบริหารใหม สํานัก เลขานุการบริษัทฯ จะจัดสงแบบฟอรม “รายละเอียดของบุคคล ที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยฯ เรื่ อ งการเป ด เผยข อ มู ล และการปฏิ บั ติ ก ารของบริ ษั ท จดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ ศ 2546” ซึ่งได ปรับปรุงรายละเอียดตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุน ที่เปลี่ยนแปลงโดยตลอด โดยใหกรรมการหรือ ผูบริหารที่ ไดรับแตงตั้งใหม ใหขอมูลพรอมลงนามรับรอง ความถูกตองของขอมูล และหากภายหลังมีการเปลี่ยนแปลง ขอมูล กรรมการหรือผูบ ริหารจะตองจัดสงแบบฟอรมดังกลาว พรอมลงนามรับรองความถูกตองของขอมูลทุกครัง้ โดยสํานัก เลขานุการบริษัทฯ จะจัดสงรายละเอียดของบุคคลที่เกี่ยวโยง กันใหประธานกรรมการบริษั ทฯ และประธานกรรมการ ตรวจสอบรับทราบดวย พรอมทั้งจัดทําสรุปรายชื่อบุคคลและ นิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกันนําสงฝายบริหารทุกฝาย และบุคคล ที่เปนผูประสานงานเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกันของแตละ หนวยงาน เพื่อใชตรวจสอบธุรกรรมที่หนวยงานตนจะเสนอ ฝายบริหารหรือคณะกรรมการบริษัทฯ และหากมีรายการที่ เกีย่ วโยงกันเกิดขึน้ บริษัทฯ จะดําเนินการตามขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ ี่ กําหนดไว ซึง่ อางอิงจากก หมายทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ นําไปเปด เผยในรายงานประจําป (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายการ ขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนั้น ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และฝาย บริหารทุกเดือน สํานักเลขานุการบริษัทฯ จะจัดทําวาระเสนอ เรื่อง “รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)” เพื่อเปดเผยใหคณะกรรมการบริษั ทฯ และฝาย บริหารทราบวาในแตละเดือนบริษั ทฯ มีการเขาทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือไม และยังไดเสนอเรื่องดังกลาวตอคณะ กรรมการตรวจสอบเปนประจําทุกไตรมาส ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานในดานนี้ ใหสอดคลองกับ ขอกําหนดของหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่เปลี่ยนแปลงไปโดย ตลอด เพื่อใหการดูแลดานการขจัดความขัดแยงและผล ประโยชน เ ป นไปตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละ ถูกตองตามขอกําหนด

บริษัทฯ ยึดมั่นและใหความสําคัญในหลักการการกํากับดูแล กิจการที่ดี ที่จะขจัดความขัดแยงทางผลประโยชน ซึ่งคณะ กรรมการบริษัทฯ ไดพจิ ารณารายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการระหวาง กันอยางเหมาะสมภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี และมีการดูแล ใหคณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร และพนักงานทุกคนถือ ปฏิบัติโดยเครงครัดตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนและตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อใหเปนที่เชื่อถือและไว วางใจของผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ซึ่งมีหลักเกณฑสําคัญ ดังนี้

เพื่อใหการดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องรายการที่เกี่ยวโยงกันมี แนวทางปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนยิง่ ขึน้ บริษัทฯ ไดออกประกาศบริษัทฯ

การปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตขิ อ มูลข าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540

ก หมายรัฐธรรมนูญ บับปจจุบันไดบัญญัติเปนพื้นฐานไววา “บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูล หรือขาวสาร สาธารณะในครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น เวนแตการเปดเผย ขอมูลหรือขาวสารนั้นจะกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความ ปลอดภัยของประชาชน หรือสวนไดเสียอันพึงไดรับความ คุมครองของบุคคลอื่น หรือเปนขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ ตาม ที่ก หมายบัญญัติ” บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ได กอตั้งศูนยขอมูลขาวสารมาครบ 1 ป ในป 2559 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อเผยแพรขอมูลขาวสาร สรางความรูความ เขาใจในการดําเนินงานของบริษัทฯ แกสาธารณชน หนวยงาน ภาครัฐและเอกชน ดวยความโปรงใส สามารถตรวจสอบได โดยมีแนวทางการปฏิบัติงานตามระเบียบบริษัทฯ วาดวยการ เปดเผยขอมูลขาวสารของบริษั ทฯ สอดคลองตามพระราช บัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ ศ 2540 โดยยึดมั่น ในหลักการ “เปดเผยเปนหลักทั่วไป ปกปดเปนขอยกเวน” โดยมีการรวบรวมจัดเก็บและบริหารจัดการขอมูลอยางเปน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 77


ระบบ สามารถสืบคนขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพและเปน มาตรฐานเพื่อเผยแพรขอมูลที่มีประโยชนใหแกสาธารณชน โดยสามารถสืบคนขอมูลผานทางเว็บไซต t aiair ays co ในหมวด “ศูนยขอมูลขาวสาร” (Pub ic In or ation entre) ศูนยขอมูลขาวสารไดรับคัดเลือกจากกระทรวงคมนาคมให เปนหนวยงานตนแบบในการปฏิบัติหนาที่ ใหบริการขอมูล ขาวสารแกประชาชนตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ ราชการ พ ศ 2540 ตั้งแตป 2542 จนถึงปจจุบัน รวมทั้งได รับใบประกาศเกียรติคณ ุ จากคณะกรรมการขอมูลขาวสารของ ราชการมาโดยตลอดในฐานะเปนหนวยงานที่ใหบริการขอมูล ขาวสารแกประชาชนเปนอยางดี อีกทั้ง คณะกรรมการขอมูล ขาวสารของราชการ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีได มอบโลประกาศเกียรติคุณแกบริษั ทฯ ในฐานะที่ปฏิบัติตาม เกณฑมาตรฐานตัวชี้วัดความโปรงใสของหนวยงานภาครัฐ ที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ ศ 2540 ระดับดีเดน นับเปนความภาคภูมิใจของบริษั ทฯ ที่ศูนยขอมูลขาวสารสามารถดําเนินงานจนบรรลุวิสัยทัศนที่ ไดตั้งปณิธานตั้งแตเริ่มแรกวา “เปนหนวยงานชั้นนําและเปน แบบอยาง ที่ดี ในดานการเผยแพรขอมูลขาวสาร สามารถ ตอบสนองความตองการดานขอมูลขาวสารแกผทู เี่ กีย่ วของได อยางเหมาะสม นํามาซึง่ ภาพลักษณทดี่ ี และเปนประโยชนตอ การดําเนินกิจการของบริษัทฯ” ในป 2559 ศูนยขอ มูลขาวสารไดใหความรวมมืออยางตอเนือ่ ง กับสํานักงานคณะกรรมการพั นาระบบราชการ (ก พ ร ) ใน การเผยแพรและประชาสัมพันธคูมือสําหรับประชาชน ตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารอํ า นวยความสะดวกในการพิ จ ารณา อนุญาตของทางราชการ พ ศ 255 ผานทางเว็บไซตศูนย ขอมูล tt ub icin o t aiair ays co ซึ่ง ถือเปนก หมายกลางที่จะกําหนดขั้นตอนและระยะเวลาใน การพิจารณาอนุญาตและจัดตัง้ ศูนยบริการรวม เพือ่ รับคํารอง และศูนยรับคําขออนุญาต ณ จุดเดียว ( ne Sto Service) สําหรับป 2560 ศูนยขอมูลขาวสาร เตรียมเขารวมขอรับการ รับรองมาตรฐานศูนยราชการสะดวก ( overn ent asy ontact enter ) ดวยการดําเนินงานตามหลักเกณฑ และแนวทางของศูนยราชการสะดวก ตามที่สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรีกาํ หนด เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและอํานวย ความสะดวกในการใหบริการประชาชน ใหเกิดผลอยางเปน รูปธรรมโดยเร็ว

78 รายงานประจําป 2559

เลขานุการบริษัทฯ

บริษัทฯ ไดจดั ตัง้ สํานักเลขานุการบริษัทฯ โดยมีผชู ว ยกรรมการ ผูอ าํ นวยการใหญ ซึ่งทําหนาที่เลขานุการบริษัทฯ เปนผูดูแล โดยสํานักเลขานุการบริษัทฯ มีหนาทีเ่ ปดเผยขอมูลในดานตางๆ ตอผูถือหุน และมีหนวยงานกํากับดูแลตางๆ โดยรายละเอียด เกีย่ วกับเลขานุการบริษัทฯ สามารถดูขอ มูลในหัวขอโครงสราง การจัดการ หนาที่ 60

การเป ดเผยข อมูลการถือครองหุ นของผู บริหาร ทั้งทางตรงและทางอ อม

บริษัทฯ ไดมีการเปดเผยขอมูลการถือครองหุนของผูบริหาร ทั้งทางตรงและทางออม สามารถดูขอมูลคณะกรรมการ บริษัทฯ และฝายบริหาร หนาที่ 196-209 หมวดที่ 5 ความรับผิด อบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษั ทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุ ิที่มีความ เชีย่ วชาญและมากดวยประสบการณ ทีเ่ ปนประโยชนตอ ธุรกิจ การดําเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่ และความรับผิดชอบในการกําหนดทิศทางการดําเนินธุรกิจ ของบริษั ทฯ ใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ผานการกําหนดนโยบาย แผนกลยุทธ เปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจ และมีบทบาทสําคัญในการกํากับ ดูแล และ ติดตามการดําเนินงานของฝายบริหารใหเปนไปตามนโยบาย และแผนกลยุทธที่ไดกําหนดไว คณะกรรมการบริษัทฯ ตอง ปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความรู ความสามารถ ซือ่ สัตย สุจริต โปรงใส เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษั ทฯ มีการพิจารณาทบทวนและอนุมัติ วิสยั ทัศน และกลยุทธของบริษัทฯ เปนประจํา ซึง่ คณะกรรมการ บริษัทฯ ไดใหความเห็นชอบแผนยุทธศาสตรและการปฏิรูป องคกรของบริษั ทฯ โดยแผนดังกลาวไดรับอนุมัติจากคณะ กรรมการนโยบายรัฐวิสากิจ (คนร ) แลว เมื่อวัน ที่ 26 มกราคม 255 คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อสงเสริมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานยึดถือปฏิบัติ อยางเครงครัด โดยมีการสือ่ สาร เปดเผยแนวทางปฏิบตั ไิ วใน คูมือประมวลบรรษั ทภิบาลและจริยธรรมของบริษั ทฯ ผาน ทางเว็บไซตของบริษัทฯ รวมถึงใหผูบังคับบัญชาในทุกระดับ ถือเปนหนาทีท่ ตี่ อ งดูแล ติดตามใหมกี ารปฏิบตั ติ ามจริยธรรม ทางธุรกิจ


การกํากับดู กิจการ

โครงสร างคณะกรรมการ

โครงสรางคณะกรรมการบริษั ทฯ เปนไปตามขอบังคับของ บริษั ทฯ พระราชบัญญัติบริษั ทมหาชนจํากัด พ ศ 2535 พระราชบั ญ ญั ติ คุ ณ สมบั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 และพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ ศ 2535 และ พ ศ 2551 รวมถึงก ขอบังคับ และประกาศที่เกี่ยวของ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตัง้ คณะกรรมการชุดตางๆ เพือ่ ชวยศึกษารายละเอียด และกลั่นกรองงานเ พาะเรื่อง ตาม รายละเอียดในหัวขอคณะกรรมการชุดยอย หนาที่ 3-90

องค ประกอบของคณะกรรมการ

การแตงตัง้ กรรมการของบริษัทฯ เปนไปตามมติทปี่ ระชุมใหญ สามัญผูถ อื หุน โดยผานการพิจารณาของคณะกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน และกรรมการบริษั ทฯ ตามลําดับ ตามขอบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ดวยกรรมการอยางนอย 5 ทาน แตไมเกิน 15 ทาน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ มีจํานวน 15 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร 14 ทาน กรรมการอิสระ 11 ทาน กรรมการที่เปนผูบริหาร 1 ทาน จากโครงสรางขางตน คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวย กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารรอยละ 93 33 และกรรมการ อิสระรอยละ 3 33 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด ซึ่งเปน จํานวนทีม่ ากพอทีจ่ ะสามารถสรางกลไกถวงดุลอํานาจภายใน คณะกรรมการบริษั ทฯ ดังนั้น ผูมีสวนไดเสียจึงมั่นใจไดวา คณะกรรมการบริษัทฯ สามารถปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทน ผูถือหุนไดอยางเปนอิสระ และมีการถวงดุลที่เหมาะสม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่รับผิดชอบในการปฏิบัติ หนาที่ ใหเปนไปตามก หมาย วัตถุประสงค และขอบังคับ

ของบริษั ทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถือหุน ดวยความ ซื่อสัตยสุจริต และความระมัดระวังในการรักษาผลประโยชน ของบริษัทฯ

บทบาทของประธานกรรมการ และกรรมการผู อํานวยการใหญ

ประธานกรรมการมีบทบาทสําคัญในการตัดสินใจกําหนด ทิศทางและนโยบายการดําเนินงานที่สําคัญๆ ของบริษั ทฯ ประธานกรรมการซึง่ เปนกรรมการอิสระ เปนผูม คี วามเปนผูน าํ เปนกลาง สงเสริมธรรมาภิบาล รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียของบริษั ทฯ ประธานกรรมการ เปนผูนําของคณะกรรมการที่มีกรรมการผูอํานวยการใหญที่ เปนหัวหนาของฝายบริหารรวมเปนกรรมการอยูดวย อันจะ เปนประโยชนตอการบริหารจัดการ การกํากับดูแลและการ รับนโยบายของคณะกรรมการมาถายทอดใหฝายบริหารนํา ไปดําเนินการใหสัม ทธิผล กรรมการผูอํานวยการใหญมีบทบาทสําคัญในการรับผิดชอบ การบริหารงานทัง้ ปวงของบริษัทฯ ใหบรรลุตามวัตถุประสงค นโยบายบริษั ทฯ หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ ตลอดจนบังคับบัญชาฝายบริหารและพนักงานทั้งปวงของ บริษัทฯ ทั้งนี้ภายในขอบเขตอํานาจที่กําหนดในขอบังคับของ บริษัทฯ หรือตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ กําหนด

การประชุมคณะกรรมการ

บริษัทฯ ไดกาํ หนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ไวอยาง เปนทางการลวงหนาตลอดทั้งป โดยกําหนดการประชุมเดือน ละ 1 ครั้ง และมีการประชุมวาระพิเศษเ พาะคราวเพิ่มตาม ความจําเปน โดยมีการกําหนดระเบียบวาระการประชุมที่ ชัดเจน และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเปน ประจํา สํานักเลขานุการบริษัทฯ จะจัดสงหนังสือเชิญพรอม ระเบียบวาระการประชุมและเอกสารใหกรรมการแตละทาน ลวงหนากอนการประชุมเปนเวลา วันเพื่อใหคณะกรรมการ ไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม โดย ในป 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 21 ครั้ง ซึ่งรวมการประชุมครั้งพิเศษ 9 ครั้ง เลขานุการ บริษัทฯ ไดมีการจดบันทึกและจัดทํารายงานการประชุมเปน ลายลักษณอกั ษรทุกครัง้ และไดนาํ เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณารางรายงานการประชุมดังกลาวเพื่อทําการรับรอง ในการประชุมครั้งตอไป รวมทั้งไดมีการจัดเก็บรายงานการ ประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ ทีผ่ า นการรับรองจากคณะ กรรมการบริษั ทฯ ใหพรอมสําหรับการตรวจสอบจากคณะ กรรมการบริษัทฯ และหนวยงานที่เกี่ยวของ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 79


สําหรับการประชุมคณะกรรมการชุดยอย มีรายละเอียดดังนี้ ตารางแสดงการเขารวมประ ุมคณะกรรมการ ุดยอยในป 2559 การประ ุมในป 2559 ราย ื่อกรรมการ

1 2 3 4 5 6 9 10 11 12 13 14 15

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหารบริษทั ฯ ตรวจสอบ บริหาร สรรหาและ ธรรมาภิบาล กากับ รวม 15 ครัง รวม 10 ครัง ความเสีย่ ง กาหนดคา และสงเสริม ยุทธศาสตร รวม ครัง ตอบแทน กิจการเพือ่ และการปฏิรปู รวม 6 ครัง สังคม บริษทั ฯ รวม 2 ครัง รวม 3 ครัง

นายอารีพงศ ภูช อุม พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง 13 15 1 นายคณิศ แสงสุพรรณ พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ 14 15 นายดําริ ตันชีวะวงศ นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ นายรัฐพล ภักดีภมู ิ นายวีระวงค จิตตมติ รภาพ พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ 5 15 นายสมเกียรติ ศิรชิ าติไชย นายสมชัย สัจจพงษ 14 15 พลอากาศเอก ม ล สุปรีชา กมลาศน พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมยั 15 15 นายจรัมพร โชติกเสถียร

หมายเหตุ

1 2

3 3

1

2 21 3

5 6

3 3 1 2

6 10

6 12 22 2 2 2

9 10 10 10 1

4 6

30 3 0 3 31 3

10 10 6 61 1

2 2

3 3

เปนประธาน นายดําริ ตันชีวะวงศ เริ่มเขารวมการประชุมตั้งแตเดือนพ ษภาคม 2559

ขอมูลคณะกรรมการชุดยอย สามารถดูขอมูลไดหนาที่ 3

การกําหนดค าตอบแทนของกรรมการ

รายละเอียดเกี่ยวกับการกําหนดคาตอบแทนของกรรมการ สามารถดูขอมูลไดหนาที่ 61

การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ

บริษั ทฯ ไดกําหนดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนประจําทุกป โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนเครื่องมือในการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของคณะ กรรมการบริษัทฯ ซึ่งมีหลักเกณฑและขั้นตอนในการประเมิน คือ สํานักเลขานุการบริษัทฯ สงแบบฟอรมที่ไดรับความเห็น 80 รายงานประจําป 2559

ชอบจากคณะกรรมการธรรมาภิบาลสําหรับประเมินคณะ กรรมการบริษัทฯ 3 แบบ ประกอบดวย การประเมินตนเอง การประเมินไขวของกรรมการ การประเมินคณะกรรมการ บริษัทฯ และจะเปนผูทําการสุมรายชื่อเพื่อจัดทําการประเมิน ไขว โดยกรรมการผูถูกประเมินจะไมทราบวากรรมการทาน ใดเปนผูประเมินตน บริษัทฯ ไดจัดทําแบบประเมินกรรมการและวิธีการประเมิน นําเสนอคณะกรรมการธรรมาภิบาลของบริษัทฯ เพือ่ ใหความ เห็นชอบและนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่ออนุมัติการ ประเมิน ประเมินโดยใชแบบการประเมิน 3 รูปแบบ คือ


การกํากับดู กิจการ

1 การประเมินตนเอง (Se Assess ent) มีหัวขอการ ประเมิน ดังนี้ 1 1 ความรูความสามารถ ( ore o etency) 1 2 ความเปนอิสระ (Inde endence) 1 3 ความเตรียมพรอมในการปฏิบัติภารกิจ (Pre aredness) 1 4 ความเอาใจใสตอหนาที่และความรับผิดชอบ (Practices as a irector) 1 5 การปฏิบัติหนาที่ในคณะกรรมการ ( o ittee Activities) 1 6 การพั นาองคกร ( eve o ent o rgani ation) 2 การประเมินไขวของกรรมการ ( ross va uation) มีหวั ขอ การประเมิน ดังนี้ 2 1 ความรูความสามารถ ( ore o etency) 2 2 ความเปนอิสระ (Inde endence) 2 3 ความเตรียมพรอมในการปฏิบัติภารกิจ (Pre aredness) 2 4 ความเอาใจใสตอหนาที่และความรับผิดชอบ (Practices as a irector) 2 5 การปฏิบัติหนาที่ในคณะกรรมการ ( o ittee Activities) 2 6 การพั นาองคกร ( eve o ent o rgani ation) 3 การประเมินคณะกรรมการบริษัทฯ (Board va uation) มีหัวขอการประเมิน ดังนี้ 3 1 โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 3 2 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3 3 การประชุมคณะกรรมการ 3 4 การทําหนาที่ของคณะกรรมการ 3 5 ความสัมพันธกับฝายบริหารของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดนําผลการประเมินของคณะกรรมการรายงานใน การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อนําไปจัดกิจกรรมเพื่อ เปนการสงเสริมความรู ความสามารถของคณะกรรมการ โดยผลการประเมินทั้ง 3 รูปแบบขางตน สําหรับป 2559 สรุป ไดวา จัดอยูในระดับดีมาก - ดีเยี่ยม สําหรับผลการประเมินของประธานกรรมการ ถือเปนขอมูล เ พาะบุคคลไมสามารถเปดเผยได สําหรับกรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะ กรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน เพือ่ ประเมินผลการ ปฏิบัติงานของผูดํารงตําแหนงกรรมการผูอํานวยการใหญ ( ) ตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญาจาง และนําเสนอผลการ ประเมินใหคณะกรรมการบริษั ทฯ พิจารณา ทั้งนี้ ผลการ

ประเมินของกรรมการผูอํานวยการใหญ ถือเปนขอมูลเ พาะ บุคคลไมสามารถเปดเผยได

การกําหนดวาระการดํารงตําแหน งของกรรมการ

กรรมการบริษัทฯ มีวาระการดํารงตําแหนงทีแ่ นนอน ตามขอ บังคับบริษัทฯ ที่กําหนดไววา ในการประชุมสามัญประจําป ทุกครั้ง ใหกรรมการจํานวน 1 ใน 3 ออกจากตําแหนง โดยให กรรมการที่ดํารงตําแหนงนานที่สุดเปนผูออกจากตําแหนง

การปฐมนิเทศกรรมการใหม

บริษัทฯ จัดใหมกี ารปฐมนิเทศสําหรับกรรมการบริษัทฯ รายใหม ที่เขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษั ทฯ โดยสํานักเลขานุการ บริษัทฯ จะเปนผูประสานงานในการจัดปฐมนิเทศ โดยเชิญ ผูบริหารสายงานตางๆ มานําเสนอขอมูลของบริษัทฯ ธุรกิจ การบิน โครงสรางการถือหุน ก ระเบียบที่เกี่ยวของ รวมถึง สิทธิประโยชนที่กรรมการจะไดรับ เพื่อใหกรรมการรับทราบ ขอมูลที่เกี่ยวของเพื่อประโยชนในการบริหารงานบริษั ทฯ บริษัทฯ ยังมีนโยบายสนับสนุนใหกรรมการบริษัทฯ เขาอบรม หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษั ทไทย (I ) เพื่อเปนการพั นาสนับสนุนและสงเสริมการปฏิบัติ หนาที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ

การพัฒนาความรูแ ละทักษะของคณะกรรมการ บริษัทฯ และฝ ายบริหาร

บริษั ทฯ ไดมีการสงเสริม และสนับสนุนใหคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ และฝ า ยบริ ห าร ได เ ข า รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร สัมมนา และรวมกิจกรรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (I ) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย เพือ่ เปนการเพิม่ พูน พั นาความรู และแลกเปลีย่ น ประสบการณดา นตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับบทบาทหนาทีก่ รรมการ บริษั ทฯ และกรรมการชุดยอยอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ ซึ่งกรรมการสวนใหญ ไดผานการอบรมหลักสูตรจากสมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (I ) ดังนี้ 1 หลักสูตร irector Accreditation Progra ( AP) 2 หลักสูตร irector erti ication Progra ( P) 3 หลักสูตร P Re res er ourse ( P-Re) 4 หลักสูตร Audit o ittee Progra (A P) 5 หลักสูตร Ro e o t e air an Progra (R P) 6 หลักสูตร T e xecutive irector ourse ( ) หลักสูตร Ro e o t e o ensation o ittee (R ) หลักสูตร arter irector ass ( )

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 81


การเข ารับการอบรมของคณะกรรมการบริษัทฯ และฝ ายบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ และผูบ ริหาร ไดผา นการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (T ai Institute o irectors Association I ) ดังนี้ ราย ื่อ

ตาเเหนง

1 นายอารีพงศ ภูช อุม

ประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ

2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง

รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

3 นายคณิศ แสงสุพรรณ 4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา 5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ

นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ นายรัฐพล ภักดีภมู ิ

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

9 นายวีระวงค จิตตมติ รภาพ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

10 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ

กรรมการ

82 รายงานประจําป 2559

หลักสูตร

• irector erti ication Progra ( P 3 2543) • P Re res er ourse (Re P 2 2552) • irector Accreditation Progra ( AP 21 254 ) • irector erti ication Progra ( P 211 255 ) • irector Accreditation Progra ( AP S 254 ) • irector erti ication Progra ( P 106 2551) • Audit o ittee Progra (A P 24 2551) • Ro e o air an Progra (R P 22 2552) • Ro e o t e o ensation o ittee (R 10 2553) • irector Accreditation Progra ( AP 23 254 ) • irector erti ication Progra ( P 52 254 ) • arter irector ass ( 9 255 ) • irector erti ication Progra ( P 0 2543) • T e xecutive irector ourse ( 1 2555) • irector erti ication Progra ( P 22 2559)


การกํากับดู กิจการ

ราย ื่อ

ตาเเหนง

11 นายสมเกียรติ ศิรชิ าติไชย

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

12 นายสมชัย สัจจพงษ

กรรมการ

13 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน 14 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย 15 นายจรัมพร โชติกเสถียร

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการผูอ าํ นวยการใหญ กรรมการ

การรวมหรือการแยกตําแหน ง

ประธานกรรมการบริษัทฯ เปนกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และเปนกรรมการอิสระ ไมเปนบุคคลเดียวกับกรรมการผู อํานวยการใหญ และไมมีความสัมพันธใดๆ กับฝายบริหาร โดยบริษัทฯ ไดมีการจัดใหแบงแยกบทบาท หนาที่ และความ รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และ ฝายบริหารออกจากกันอยางชัดเจนและเปนลายลักษณอกั ษร

คณะกรรมการ ดุ ยอย

คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาทีร่ บั ผิดชอบสูงสุดในการบริหาร จัดการกิจการของบริษัทฯ อยูภายใตเงื่อนไข ขอบังคับของ บริษัทฯ ซึ่งกําหนดใหคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการ จํานวนไมนอ ยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน สุดแตทปี่ ระชุม ใหญผูถือหุนจะเปนผูกําหนดเปนครั้งคราว และกรรมการไม นอยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนกรรมการทัง้ หมดตองมีถนิ่ ทีอ่ ยูใน ราชอาณาจักร ในการประชุมสามัญประจําปทกุ ครัง้ กรรมการ จํานวน 1 ใน 3 จะตองออกจากตําแหนง และจะมีการเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ กรรมการทีอ่ อกตาม วาระนั้นอาจถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได

หลักสูตร

• irector Accreditation Progra ( AP 4 2553) • Ro e o t e o ensation o ittee (R 11 2553) • irector erti ication Progra ( P 1 2556) • irector erti ication Progra ( P 5 2549) • irector Accreditation Progra ( AP 54 2549) • irector Accreditation Progra ( AP 66 2550) • irector erti ication Progra ( P 1 5 255 )

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ดวยกรรมการ ซึ่งมีรายชื่อดังตอไปนี้ 1 นายอารีพงศ ภูชอุม ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 3 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการอิสระ 4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา กรรมการอิสระ 5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการอิสระ นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ กรรมการ นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 9 นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 10 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 83


11 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 12 นายสมชัย สัจจพงษ กรรมการ 13 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน กรรมการอิสระ 14 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย กรรมการอิสระ 15 นายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการ นางสุวิมล บัวเลิศ (ผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการ บริษัทฯ) เปนเลขานุการ ในป 2559 มีการประชุมทัง้ สิน้ 21 ครัง้ ประกอบดวย เรือ่ งเพือ่ พิจารณาจํานวน 126 เรือ่ ง และเรือ่ งเพือ่ ทราบจํานวน เรือ่ ง กรรมการผูม อี านาจลงลายมือ อื่ แทนบริษทั ฯ ประกอบดวยพลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง หรือนายคณิศ แสงสุพรรณ หรือพลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน หรือนายจรัมพร โชติกเสถียร สามคนลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ

กรรมการอิสระ

เพื่อเปนไปตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และแนวทางปฏิบัติที่ดีของสํานักงานคณะ กรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร ) และสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษั ทไทย (I ) คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแตงตั้งกรรมการอิสระ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี รายชื่อดังตอไปนี้ 1 นายอารีพงศ ภูชอุม กรรมการอิสระ 2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง กรรมการอิสระ 3 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการอิสระ 4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา กรรมการอิสระ 5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการอิสระ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการอิสระ นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการอิสระ 84 รายงานประจําป 2559

นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ กรรมการอิสระ 9 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการอิสระ 10 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน กรรมการอิสระ 11 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย กรรมการอิสระ ทั้ ง นี้ คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการอิ ส ระตามประกาศคณะ กรรมการกํากับตลาดทุน มีดังนี้ 1 ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมบริษั ทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของกรรมการ อิสระรายนั้นๆ ดวย 2 ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ ไดรับเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุมของบริษั ทฯ เวนแตจะได พนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป ทัง้ นี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีทกี่ รรมการ อิสระเคยเปนขาราชการ หรือทีป่ รึกษาของสวนราชการ ซึง่ เปนผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษัทฯ 3 ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดย การจดทะเบียนตามก หมายในลักษณะทีเ่ ปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตรของ ผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูม อี าํ นาจควบคุม หรือบุคคล ที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหาร หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย 4 ไมมหี รือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัท ใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษั ทฯ ในลักษณะที่อาจเปนการ ขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้ง ไมเปนหรือเคยเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั หรือผูม อี าํ นาจควบคุม ของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 5 ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทฯ และไมเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี าํ นาจ ควบคุม หรือหุน สวนของสํานักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู อบ


การกํากับดู กิจการ

บัญชีของบริษั ทฯ บริษัทใหญ บริษั ทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษั ทฯ สังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาว มาแลวไมนอยกวา 2 ป 6 ไมเปนหรือเคยเปนผูใ หบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึง การใหบริการเปนที่ปรึกษาก หมาย หรือที่ปรึกษาทาง การเงิน ซึง่ ไดรบั คาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอป จาก บริษั ทฯ บริษัทใหญ บริษั ทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษัทฯ และไมเปน ผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูให บริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมี ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป ไมเปนกรรมการที่ ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทน ของกรรมการของบริษัทฯ ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูถ อื หุน ซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการ แขงขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือ ไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการ ที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับ เงินเดือนประจํา หรือถือหุน เกินรอยละ 1 ของจํานวนหุน ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษั ทอื่น ซึ่งประกอบ กิจการทีม่ สี ภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย 9 ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยาง เปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ บริษั ทฯ ไดกําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไวเขมกวา คุณสมบัติตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และตลาดหลั ก ทรั พ ย ฯ โดยกํ า หนดเรื่ อ งการถื อ หุ  น ของ กรรมการอิสระตามขอ 1 ไวเขมกวา คือ กําหนดการถือหุน ไมเกินรอยละ 0 5 กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามขอ 1 ถึงขอ 9 อาจไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษั ทฯ ใหตัดสินใจในการ ดําเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษั ทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษั ทฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค คณะ ( o ective ecision) ได ในกรณีที่บุคคลที่บริษัทฯ แตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการ อิสระเปนบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจ ตาม ขอ 4 หรือมีการใหบริการทางวิชาชีพเกินมูลคาที่กําหนดตาม ขอ 6 คณะกรรมการบริษัทฯ อาจพิจารณาผอนผันใหได หาก เห็นวาการแตงตั้งบุคคลดังกลาวไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติ

หนาทีแ่ ละการใหความเห็นทีเ่ ปนอิสระ และบริษัทฯ ไดเปดเผย ขอมูลตอไปนี้ ในหนังสือนัดประชุมผูถือหุนในวาระพิจารณา แตงตั้งกรรมการอิสระดังกลาวแลว (1) ลักษณะความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทาง วิชาชีพ ที่ทําใหบุคคลดังกลาวมีคุณสมบัติไ มเปนไป ตามหลักเกณฑที่กําหนด (2) เหตุผลและความจําเปน ที่ยังคงหรือแตงตั้งใหบุคคล ดังกลาวเปนกรรมการอิสระ (3) ความเห็นของคณะกรรมการของบริษัทฯ ในการเสนอ ใหมีการแตงตั้งบุคคลดังกลาวเปนกรรมการอิสระ อานาจหนาทีข่ องกรรมการอิสระ 1 แสดงความคิดเห็น และ หรือรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ไดอยางเสรีตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย ทั้งนี้ เพื่อให บริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการกํากับ ดูแลที่ดีของตลาดหลักทรัพยฯ และหลักเกณฑการ ประเมินการกํากับดูแลที่ดี ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการ ประเมินผลการดําเนินงานประจําปของบริษัทฯ รวมทั้ง หลักการปฏิบัติที่ดีที่ยอมรับในระดับสากล 2 มีอาํ นาจในการเรียกเอกสารและบุคคลตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาดําเนินการ 3 ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 กรรมการอิสระของบริษัทฯ ไดมีการปฏิบัติงาน ตามอํานาจหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมาย และไดแสดงความคิดเห็น ตามหนาที่อยางอิสระ โดยยึดถือการดูแลผลประโยชนของ ผูถือหุนทุกรายใหเทาเทียมกัน นอกจากนี้ ในป 2559 บริษั ทฯ ไดจัดการประชุมระหวาง กรรมการอิสระ (กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร) 1 ครั้ง เพื่อ หารือบทบาทของกรรมการอิสระในการกํากับดูแลบริษั ทฯ ในป 2559 และแนวทางในการกํากับดูแลบริษั ทฯ ของ กรรมการอิสระในป 2560 ในป 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการ ชุ ด ต า งๆ ขึ้ น หลายคณะเพื่ อ ช ว ยศึ ก ษารายละเอี ย ดและ กลั่นกรองงานเ พาะเรื่องโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี รายละเอียดดังตอไปนี้

คณะกรรมการบริหาร

เพื่อใหการจัดการของบริษัทฯ เปนไปตามเปาหมายของแผน วิสาหกิจบริษัทฯ อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสงู สุด กับบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการ บริหารบริษัทฯ มีรายชื่อดังตอไปนี้ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 85


1 นายคณิศ แสงสุพรรณ ประธานกรรมการ 2 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน กรรมการ 3 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ กรรมการ 4 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการ 5 กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ 6 ผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ เลขานุการ ผูอํานวยการฝายงานเลขานุการบริษัทฯ ผูชวยเลขานุการ อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหาร 1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องที่จะนําเขาสูการพิจารณาของ คณะกรรมการบริษัทฯ 2 ติดตามการดําเนินการตามนโยบายและมติของคณะ กรรมการบริษัทฯ รวมถึงการดําเนินการตามเปาหมาย เชิงยุทธศาสตร 3 ใหคําปรึกษาและคําแนะนําแกฝายบริหารในการดําเนิน การตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัทฯ 4 มีอาํ นาจอนุมตั ติ ามที่ไดรบั มอบอํานาจจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ดังนี้ 4 1 การจัดหาพัสดุตามระเบียบบริษัทฯ วาดวยการพัสดุ ในวงเงินที่อยูในอํานาจอนุมัติที่เกิน 500 ลานบาท แตไมเกิน 00 ลานบาท 4 2 อนุมัติการใชเงินนอกเหนือวงเงินที่หนวยงานไดรับ การจั ด สรรตามงบประมาณประจํา ปที่เกิน 50 ลานบาท ในวงเงินไมเกิน 100 ลานบาท และให รายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ 5 มีอํานาจเรียกเอกสารและบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของมา ชี้แจง เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณา 6 แตงตัง้ คณะอนุกรรมการและคณะทํางานเพือ่ ดําเนินการ ไดตามความจําเปน และเหมาะสม ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ตองมีกรรมการมา ประชุมเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปน องคประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ในกรณีทปี่ ระธานกรรมการไมอยูในทีป่ ระชุม หรือไมสามารถ ปฏิบัติหนาที่ได ใหประธานกรรมการมอบหมายใหกรรมการ คนหนึง่ คนใดเปนประธานในทีป่ ระชุมแทน ในกรณีทปี่ ระธาน 86 รายงานประจําป 2559

กรรมการมอบหมายใหกรรมการคนหนึง่ คนใดเปนประธานใน ที่ประชุมแทนไมได ใหกรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการ คนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม การวินิจ ัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร ใหถือ เสียงขางมาก โดยกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลง คะแนน กรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใด ใหออกจากที่ ประชุมในวาระนัน้ และไมมสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียง เพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด ในป 2559 มีการประชุมทัง้ สิน้ 15 ครัง้ ประกอบดวย เรือ่ งเพือ่ พิจารณาจํานวน 104 เรือ่ ง และเรือ่ งเพือ่ ทราบจํานวน 50 เรือ่ ง

คณะกรรมการตรวจสอบ

เพือ่ ใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ( ood or orate overnance) ตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี องกระทรวง การคลังและตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งจะชวยใหผูถือหุนและ ผูลงทุนทั่วไปเกิดความมั่นใจในการบริหารงานของบริษั ทฯ คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบดวยกรรมการบริษัทฯ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ปนกรรมการ อิสระและไมไดเปนผูบริหารของบริษัทฯ มีรายชื่อดังนี้ 1 นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ ประธานกรรมการ 2 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการตรวจสอบ 3 นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการตรวจสอบ 4 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการตรวจสอบ นายสมนึก ธํารงธรรมวงศ (ผูอํานวยการใหญ สํานักงานการตรวจสอบภายใน) เปนเลขานุการ ทั้งนี้ มีกรรมการตรวจสอบ 1 ทาน เปนผูมีความรูและ ประสบการณเพียงพอที่จะสามารถสอบทานความนาเชื่อถือ ของงบการเงินดวยแลว กรรมการตรวจสอบจะตองมีคุณสมบัติเปนไปตามขอกําหนด ที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนกําหนด ซึ่งรวมถึงคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1 เป น กรรมการอิ ส ระที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบตามที่ ค ณะ กรรมการกํากับตลาดทุนกําหนด


การกํากับดู กิจการ

2 ไมเปนกรรมการที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษั ทฯ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษั ทฯ บริษั ทใหญ บริษั ทยอย บริษั ทรวม บริษั ทยอยลําดับ เดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของ บริษัทฯ 3 ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือบริษัท ยอยลําดับเดียวกัน เ พาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน 4 มีความรูแ ละประสบการณเพียงพอทีจ่ ะสามารถทําหนาที่ ในฐานะกรรมการตรวจสอบ

(1) รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (2) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพรอง (3) การฝาฝนก หมายวาดวยหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ หรือ ก หมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 9 มีอํานาจเรียกเอกสารและบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อ เปนขอมูลประกอบการพิจารณา 10 แตงตั้งคณะทํางานไดตามความจําเปนและเหมาะสม 11 ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ 1 สอบทานใหบริษั ทฯ มีการรายงานทางการเงินอยาง ถูกตองและเพียงพอ 2 สอบทานใหบริษั ทฯ มีระบบการควบคุมภายในและ การตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และ พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตัง้ โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน 3 สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบตั ติ ามก หมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และก หมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4 พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปน อิสระ เพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษั ทฯ และ เสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวม ประชุมกับผูส อบบัญชีโดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุม ดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5 พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามก หมายและขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวา รายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุด ตอบริษัทฯ 6 จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผย ไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกลาว ตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบโดย ประกอบดวยขอมูลตามที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบ หรือมีขอสงสัยวา มีรายงานหรือการกระทําดังตอไปนี้ ซึง่ อาจมีผลกระทบอยางมีนยั สําคัญตอฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ดํ า เนิ น การ ปรับปรุงแกไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร

ในป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 10 ครั้ง ประกอบดวย เรื่องเพื่อพิจารณาจํานวน 3 เรื่อง และ เรื่องเพื่อทราบจํานวน 30 เรื่อง

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

เพื่อใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการกํากับ ดูแลที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด และ หลักเกณฑการประเมินการกํากับดูแลที่ดี ซึ่งเปนสวนหนึ่ง ของการประเมินผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ ประจําป บัญชี รวมทั้งหลักการปฏิบัติที่ดีที่ยอมรับในระดับสากล และ เพื่อใหการดําเนินงานดานบริหารความเสี่ยงสามารถใชเปน เครื่องมือในการบริหารได คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีรายชื่อดังตอไปนี้ 1 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน ประธานกรรมการ 2 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการ 3 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการ 4 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการ 5 กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายกลยุทธองคกร และพั นาอยางยั่งยืน กรรมการ รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการเงิน และการบัญชี กรรมการ 9 ผูอํานวยการใหญฝายธุรกิจปโตรเลียม ประกันภัย และสิ่งแวดลอมการบิน กรรมการ 10 ผูอํานวยการใหญฝายบริหารความเสี่ยง เลขานุการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 87


11 ผูอํานวยการฝายบริหารความเสี่ยงระดับฝาย และควบคุมภายใน ผูชวยเลขานุการ อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 1 ใหคําปรึกษา และคําแนะนําในการดําเนินการบริหาร ความเสี่ยง และพั นากระบวนการบริหารความเสี่ยงที่ ครอบคลุมเปาหมายเชิงยุทธศาสตร ดานก หมาย ก ขอบังคับ และระเบียบตางๆ เปาหมายทางรายไดและ การเงินอื่นๆ ความมีประสิทธิภาพของกําลังพล การ วางแผน การดําเนินกลยุทธ และความมัน่ คงทางการบิน (Aviation Security) 2 กําหนดนโยบาย แนวทางการบริหารความเสี่ยงและ กรอบปฏิบัติ การบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่อาจทําให การดําเนินธุรกิจไมเปนไปอยางตอเนื่องยั่งยืน และไม เปนไปตามเปาหมาย อันประกอบดวย อัตราแลกเปลีย่ น เงินตราตางประเทศ การบริหารเงินสดคงเหลือ การบริหาร ความเสี่ยงราคานํ้ามัน การหารายได ตนทุนการดําเนิน งานการปฏิบัติการ การซอมบํารุง บุคลากร และปญหา ขอพิพาทแรงงาน เปนตน 3 อนุมัติการจัดทําการบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันทุก รูปแบบ 4 กํ า กั บ ดู แ ลการนํ า กรอบบริ ห ารความเสี่ ย งไปปฏิ บั ติ ติดตามการระบุประเมินความเสี่ยงและความเพียงพอ ในการจัดการความเสี่ยง 5 มีอํานาจเรียกเอกสาร และบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อ เปนขอมูลประกอบการพิจารณา 6 แตงตั้งคณะทํางานไดตามความเหมาะสม ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น ครั้ง ประกอบดวย เรื่องเพื่อ พิจารณาจํานวน 36 เรื่อง

คณะกรรมการสรรหาและกาหนดคาตอบแทน

เพื่ อให เ ป น ไปตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามที่ กระทรวงการคลัง และตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด รวมทั้ง หลักการปฏิบัติที่ดี เปนที่ยอมรับในระดับสากล และเปนไป ตามหลักธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแตงตั้ง คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน โดยมีรายชื่อ ดังตอไปนี้ 1 นายสมชัย สัจจพงษ ประธานกรรมการ 2 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการ 88 รายงานประจําป 2559

3 นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการ 4 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ เลขานุการ สายทรัพยากรบุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร 5 ผูอํานวยการใหญฝายทรัพยากรบุคคล ผูชวยเลขานุการ 6 ผูอํานวยการใหญสํานักงานการตรวจสอบภายใน ผูชวยเลขานุการ (ดานการประเมินผลกรรมการ ผูอํานวยการใหญ) อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการสรรหา และกาหนดคาตอบแทน 1 กําหนดหลักเกณฑ วิธีการสรรหาที่เปนไปตามขอบังคับ หลักเกณฑ ระเบียบบริษั ทฯ และก หมายเกี่ยวของ เพื่อใหไดผูมีความรูความสามารถและประสบการณที่ เหมาะสม มาดํารงตําแหนงกรรมการบริษั ทฯ และ ผูบริหารระดับรองกรรมการผูอํานวยการใหญขึ้นไป 2 ดําเนินการสรรหาและวิธีการสรรหาตามหลักเกณฑที่ กําหนด เพือ่ ใหไดบคุ คลทีเ่ หมาะสมเปนกรรมการบริษัทฯ ผูบริหารระดับสูงกวาผูอํานวยการใหญขึ้นไป และเสนอ ชื่อผูที่ผานการสรรหาตอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อ พิจารณาแตงตั้ง เลื่อนตําแหนง หรือโยกยายตามที่เห็น สมควร 3 กําหนดคาตอบแทนทีเ่ หมาะสมแกกรรมการ อนุกรรมการ ตางๆ บุคคลภายนอกทีม่ าปฏิบตั งิ านใหกบั บริษัทฯ รวมถึง ผูบริหารระดับสูงกวาผูอํานวยการใหญขึ้นไป โดยให คํานึงถึงหลักการปฏิบตั ทิ ดี่ ซี งึ่ เปนทีย่ อมรับในระดับสากล และนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา 4 ประเมินผลการปฏิบัติงานของผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ ตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญาจางและ นําเสนอผลการประเมินใหคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา 5 พิจารณาเพิ่มคาตอบแทนและเงินรางวัลประจําปของ ผูดํารงตําแหนงกรรมการผูอํานวยการใหญตามเงื่อนไข ที่ระบุในสัญญาจางและนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ตอไป 6 มีอํานาจเรียกพนักงานและ หรือลูกจางของบริษัทฯ ที่ เกีย่ วของ มาใหถอ ยคําหรือความเห็น รวมทัง้ ใหมอี าํ นาจ ในการเรียกเอกสารหรือสิ่งอื่นใดมาเพื่อประกอบการ พิจารณาไดดวย แตงตั้งคณะทํางานไดตามความเหมาะสม ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น 6 ครั้ง ประกอบดวย เรื่องเพื่อ พิจารณาจํานวน 16 เรื่อง


การกํากับดู กิจการ

คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริม กิจการเพื่อสังคม

เพื่อใหการดําเนินงานของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีตามที่กระทรวงการคลังและตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยกําหนดและเปน ที่ยอมรับในระดับสากล คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตัง้ คณะกรรมการธรรมาภิบาล และสงเสริมกิจการเพื่อสังคม โดยมีรายชื่อดังตอไปนี้ 1 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง ประธานกรรมการ 2 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา กรรมการ 3 นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ กรรมการ 4 กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ 5 รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการพาณิชย กรรมการ 6 รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายทรัพยากรบุคคล และกํากับกิจกรรมองคกร กรรมการ ผูอํานวยการใหญฝายภาพลักษณและสื่อสารองคกร กรรมการ ผูอํานวยการใหญสํานักเลขานุการบริษัทฯ กรรมการ 9 ผูอํานวยการใหญฝายก หมาย เลขานุการ 10 ผูอํานวยการสํานักงานการตรวจการองคกร ผูชวยเลขานุการ 11 ผูอํานวยการฝายกิจกรรมองคกรเพื่อสังคม และสิ่งแวดลอม ผูชวยเลขานุการ อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการธรรมาภิบาล และสงเสริมกิจการเพือ่ สังคม 1 เสนอแนะแนวปฏิบัติดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีตอ คณะกรรมการบริษั ทฯ ตามหลักการของกระทรวง การคลังและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2 ตรวจสอบการกํากับดูแล การปฏิบัติงานของกรรมการ และฝายบริหาร เพื่อใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดี 3 ใหคําแนะนําแกคณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องเกี่ยวกับ การกํากับดูแลกิจการที่ดี

4 ทบทวนแนวปฏิบัติและหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ เพื่อใหมีความตอเนื่องและเหมาะสม โดย เปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ขิ องสากลปฏิบตั ิ และเสนอแนะ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ 5 มีอํานาจในการเรียกพนักงานและลูกจางของบริษั ทฯ และบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มาใหถอยคําหรือความเห็น รวมทั้งใหมีอํานาจในการเรียกเอกสารหรือสิ่งอื่นใดมา เพื่อประกอบการพิจารณาไดดวย 6 กําหนดนโยบาย และแนวทางประชาสัมพันธองคกร เพือ่ ใหเกิดภาพลักษณที่ดีตอลูกคา ผูถือหุน พนักงาน และ ผูมีสวนไดเสียอื่นๆ กําหนดนโยบายและแนวทางการมีสวนรวมรับผิดชอบ ตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งการชวยเหลือและสงเสริมสังคม จัดทําโครงการและกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดลอมรวมถึง สื่อสารประชาสัมพันธโครงการและกิจกรรมเพื่อให ผูถือหุน ลูกคา คูคา พนักงาน และผูมีสวนไดเสียอื่นๆ รับรูและมีโอกาสเขารวมกิจกรรมอยางทั่วถึง และ จัดทํารายงานดานอนุรักษสิ่งแวดลอม ( SR Re ort) ตอสาธารณชนอยางสมํ่าเสมอ 9 จัดทําโครงการและกิจกรรมเพื่อปลูกฝงจิตสํานึกให พนักงานเรือ่ งการชวยเหลือสังคม การสนับสนุนสาธารณ ประโยชน สาธารณกุศล 10 กําหนดงบประมาณในการดําเนินการ และงบสนับสนุน หนวยงาน หรือบุคคลภายนอกดวยการบริจาคหรือ ชวยเหลือดานการเงินหรือการใหบัตรโดยสาร ซึ่งเปน ไปตามนโยบายของคณะกรรมการสงเสริมกิจการเพื่อ สังคม รวมทั้งการกํากับดูแลการพิจารณาอนุมัติการ ใชจายตามงบประมาณ 11 แตงตั้งคณะทํางานไดตามความจําเปนและเหมาะสม 12 ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น 2 ครั้ง ประกอบดวย เรื่อง พิจารณาจํานวน 3 เรื่อง

คณะกรรมการกากับยุทธศาสตรและ การปฏิรูปบริษัท การบินไทย จากัด (มหา น)

เพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตรและการปฏิรปู บริษัทฯ คณะกรรมการ บริษั ทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการกํากับยุทธศาสตรและ การปฏิรูป บริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) มีรายชื่อ ดังตอไปนี้ 1 นายอารีพงศ ภูชอุม ประธานกรรมการ 2 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 89


3 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ กรรมการ 4 นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการ 5 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการ นายกษมา บุณยคุปต กรรมการ กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ 9 ผูอํานวยการใหญสํานักเลขานุการบริษัทฯ เลขานุการ

การสรรหาและแตงตังกรรมการ และผูบ ริหารระดับสูงสุด

อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการกากับ ยุทธศาสตรและการปฏิรปู 1 กํากับดูแลใหฝา ยบริหารจัดทําแผนยุทธศาสตร และแผน ปฏิรูปองคกร เพื่อใหบริษั ทฯ เปนองคกรที่สามารถ แขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถสรางผล ตอบแทนที่เหมาะสมอยางยั่งยืน ทั้งนี้ แผนยุทธศาสตร และแผนปฏิรูปองคกรจะตองครอบคลุมทุกมิติของการ ดําเนินธุรกิจและมีการบูรณาการกัน ทัง้ มาตรการเรงดวน และมาตรการที่มีผลตอเนื่อง 2 กลั่ น กรองแผนยุ ท ธศาสตร และแผนปฏิ รู ป องค ก ร กอนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติ 3 ติดตาม กํากับดูแล และใหคําแนะนําใหฝายบริหาร ดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิรูปองคกร รวมทัง้ กํากับดูแลใหมผี บู ริหารรับผิดชอบการดําเนินการ ตามแผนแตละแผนอยางชัดเจน 4 แตงตั้งที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดทําและการดําเนิน การตามแผนยุทธศาสตร และแผนปฏิรูปองคกร ตามที่ เห็นสมควร 5 สามารถขอและเขาถึงการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ได จากทุกหนวยงานตามที่เห็นสมควร 6 ปฏิบตั หิ นาทีอ่ นื่ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

คณะกรรมการบริษั ทฯ กําหนดหลักเกณฑการดําเนินการ สรรหากรรมการบริษั ทฯ เพื่อเปนแนวทางการดําเนินการ ของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ในการ สรรหากรรมการบริษั ทฯ ใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดี ตามที่กระทรวงการคลังแลตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด ดวยความโปรงใส ตามหลักธรรมาภิบาล หลักเกณฑ การดําเนินการสรรหากรรมการบริษัทฯ ดังกลาวสรุปไดดังนี้ 1 ดําเนินการกําหนดคุณสมบัติของกรรมการบริษั ทฯ ที่ ตองการสรรหา 1 1 ความเหมาะสมของความรู ประสบการณ และความ เชีย่ วชาญของกรรมการบริษัทฯ โดยรวม เพือ่ ใหคณะ กรรมการบริษัทฯ มีองคประกอบทีเ่ หมาะสม สามารถ กําหนดกลยุทธ และนโยบาย รวมทั้งกํากับดูแลใหมี การปฏิบัติตามกลยุทธไดอยางมีประสิทธิผล 1 2 คุณสมบัติของกรรมการบริษั ทฯ แตละคน เพื่อให มั่ น ใจว า ที่ ไ ด รั บ การสรรหาสามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ กรรมการไดตามหลัก Fiduciary uty ที่สําคัญ คือ การปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบระมัดระวัง และ ด ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต มี คุ ณ ธรรมและความ รับผิดชอบ ตัดสินใจดวยขอมูลและเหตุผล ฯลฯ 1 3 ไมมลี กั ษณะตองหามตามทีก่ หมาย ก ระเบียบอืน่ ที่เกี่ยวของกําหนด 1 4 ความเปนอิสระของกรรมการอิสระแตละคน 1 5 ความสามารถในการอุทิศเวลาของกรรมการบริษัทฯ อาจพิจารณาจากจํานวนบริษั ทที่ดํารงตําแหนงอยู ฯลฯ เพือ่ ใหมเี วลาอยางเพียงพอในการเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ รวมทั้งการ ดูแลและการติดตามการดําเนินงานของบริษัทฯ

ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น 3 ครั้ง ประกอบดวย เรื่อง เพื่อพิจารณาจํานวน 6 เรื่อง

90 รายงานประจําป 2559

การสรรหาคณะกรรมการบริษทั ฯ

ตามขอบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ดวยกรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน สุดแตที่ประชุมใหญจะเปนผูกําหนดเปนครั้งคราว และ กรรมการจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการ ทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักร และกรรมการของ บริษั ทฯ จะตองเปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ตามที่ก หมายกําหนด ในการประชุมสามัญประจําปผูถือหุน ในแตละป จะมีการเลือกตั้งกรรมการใหมแทนกรรมการที่ ตองออกจากตําแหนงตามวาระจํานวน 1 ใน 3 ของจํานวน กรรมการทั้งหมด หรือจํานวนใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 ใน กรณีที่แบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได


การกํากับดู กิจการ

2 กระบวนการในการสรรหากรรมการบริษัทฯ 2 1 คณะกรรมการสรรหาฯ จะดําเนินการสรรหาบุคคลที่ เหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการฯ กร ีที่ ตําแหนงกรรมการวางลง เนื่องจากครบวาระใน การประชุมใหญสามัญผูถือหุน ประจําป ซึ่งกรรมการ ตองพนจากตําแหนง 1 ใน 3 นั้น อาจพิจารณารายชื่อ บุคคลที่เหมาะสมจาก (1) บุคคลที่เปนกรรมการเดิมที่ พนวาระเพื่อเสนอใหดํารงตําแหนงตอไป (2) บัญชีรายชื่อ กรรมการรัฐวิสาหกิจ ตามประกาศของกระทรวงการคลัง ซึ่งไดกําหนดแนวทางปฏิบัติสําหรับกรณีที่กรรมการอื่นที่ มิใชกรรมการโดยตําแหนงครบวาระการดํารงตําแหนง หรือพนจากตําแหนงกอนครบวาระ จะตองแตงตัง้ กรรมการ อื่นจากบัญชีรายชื่อกรรมการรัฐวิสาหกิจแทนกรรมการ รายดังกลาว จํานวนไมนอ ยกวา 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการ อื่น (3) การเสนอชื่อของผูถือหุน (ถามี) (4) การเสนอชื่อ ของประธานกรรมการบริษั ทฯ กรรมการบริษั ทฯ ฯลฯ (5) การเสาะหาบุคคลที่มีความรู ความสามารถ และ ประสบการณที่เหมาะสมกับบริษัทฯ กร ีที่ ตําแหนงกรรมการบริษัทฯ วางลงนอกจากเหตุ ตามกรณีที่ 1 คณะกรรมการสรรหาฯ จะดําเนินการ สรรหาเมื่อคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหแตงตั้งทดแทน โดยอาจพิจารณารายชื่อบุคคลที่เหมาะสมจาก (1) บัญชี รายชื่อกรรมการรัฐวิสาหกิจ ตามประกาศของกระทรวง การคลั ง ซึ่ ง ได กํ า หนดแนวทางปฏิ บั ติ สํ า หรั บ กรณี ที่ กรรมการอื่นที่มิใชกรรมการโดยตําแหนงครบวาระการ ดํารงตําแหนง หรือพนจากตําแหนงกอนครบวาระ จะตอง แตงตัง้ กรรมการอืน่ จากบัญชีรายชือ่ กรรมการรัฐวิสาหกิจ แทนกรรมการรายดังกลาว จํานวนไมนอ ยกวา 1 ใน 3 ของ จํานวนกรรมการอื่น (2) การเสนอชื่อของผูถือหุน (ถามี) (3) การเสนอชือ่ ของประธานกรรมการบริษัทฯ กรรมการ บริษั ทฯ ฯลฯ (4) การเสาะหาบุคคลที่มีความรู ความ สามารถ และประสบการณที่เหมาะสมกับบริษัทฯ 2 2 คณะกรรมการสรรหาฯ กลั่นกรองใหไดบุคคลที่มี คุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไว 2 3 เลขานุการบริษั ทฯ ดําเนินการตรวจสอบคุณสมบัติ ของบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อใหเปนกรรมการ บริษัทฯ ตามวิธีการที่ไดกําหนดไวในหลักเกณฑการ ดําเนินการสรรหากรรมการบริษัทฯ 2 4 คณะกรรมการสรรหาฯ พิจารณาและนําชื่อเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการโดยใชเสียงขางมาก ตามหลักเกณฑและวิธีการ ดังนี้

1 ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2 ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมด เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได 3 บุคคลซึง่ ไดรบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไ ด รับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึง มีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ไดรบั การ เลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหเลือก ดวยวิธีจับสลากเพื่อใหไดตามจํานวนกรรมการที่จะพึงมี ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึง คราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการเลือกบุคคลหนึ่งซึ่งมี คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามก หมาย เขาเปน กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปดวย คะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่ยัง เหลืออยู เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวา 2 เดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาว จะอยู ในตําแหนง กรรมการไดเพียงเทาวาระทีย่ งั เหลืออยูข องกรรมการทีต่ นแทน ที่ ป ระชุ ม ผู  ถื อ หุ  น อาจลงมติ ใ ห ก รรมการคนใดออกจาก ตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระได ดวยคะแนนเสียง ไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมี สิทธิออกเสียง และมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียง ในการประชุมนั้น ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจาก ตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรง เปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรกและปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนัน้ ใหใชวธิ จี บั สลากกันวาผูใ ดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุด นั้น เปนผูออกจากตําแหนง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจ ถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได

การสรรหาผูบ ริหารระดับสูงสุด

การแตงตั้งกรรมการผูอํานวยการใหญ ซึ่งเปนตําแหนง เจาหนาทีบ่ ริหารสูงสุดของบริษัทฯ นัน้ คณะกรรมการบริษัทฯ จะแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ ซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการบริษั ทฯ 5 คน และรองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายทรัพยากร บุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร 1 คน เพื่อแตงตั้งคณะ กรรมการสรรหา ผูด าํ รงตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 91


โดยมีอํานาจหนาที่ ในการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการสรรหา และดําเนินการสรรหาผูท มี่ คี วามรูค วามสามารถ ประสบการณ ที่เหมาะสม และคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตาม พระราชบั ญ ญั ติ คุ ณ สมบั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 (และที่แกไขเพิ่มเติม) และก หมายอื่น ที่เกี่ยวของ เพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ และเสนอชื่อผูที่ผานการคัดเลือกที่สมควร ไดรับการแตงตั้งตอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อพิจารณา ตอไป

การกากับดูแลการดาเนินงานของ บริษทั ยอย บริษทั รวม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วของ

การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษัทที่เกี่ยวของ นั้น บริษัทฯ ในฐานะผูถือหุนไดสงผูแทน บริษัทฯ เพือ่ เขาไปมีสว นรวมในการทําหนาทีด่ แู ลผลประโยชน ตลอดจนประสานงานในการรวมมือทําธุรกิจระหวาง บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ โดยผูแทนบริษัทฯ จะเปน ผูที่ไดรับความเห็นชอบจากฝายบริหารของบริษัทฯ และผาน การอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารหรือ คณะกรรมการ บริษัทฯ เขาดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ ซึ่งกรรมการที่ไดรับแตงตั้งเปนผูแทน นัน้ ประกอบดวย บุคคลจากคณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร หรือบุคคลภายนอกที่มีความรูความเขาใจในธุรกิจ สามารถ ใหแนวทางบริหารที่จะเปนประโยชนตอบริษัทฯ ได และตอง มีคุณสมบัติเปนไปตามหลักเกณฑการแตงตั้งผูแทน บริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เปนกรรมการในบริษั ทยอย บริษัทรวม หรือบริษัทที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดจัดทําคูมือในการปฏิบัติหนาที่ของผูแทน บริษัทฯ เพื่อใหผูแทนบริษัทฯ ไดปฏิบัติตามหลักเกณฑและ แนวทางที่เปนมาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับนโยบายการ กํากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งในคูมือนี้ไดกําหนดถึง ขอพึงปฏิบัติ ที่ดีของกรรมการผูแทน ขอพึงระมัดระวัง หนาที่และความ รับผิดชอบโดยใหยดึ ถือปฏิบตั ติ ามก หมาย วัตถุประสงคและ ขอบังคับ ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุนเพื่อรักษาประโยชน ของบริษัทฯ ในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ สําหรับในเรื่องนโยบายที่สําคัญ ใหผูแทนบริษั ทฯ ขอรับ นโยบายจากบริษั ทฯ กอนเสนอความเห็นในที่ประชุมบริษั ท ยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ เชน การจัดสรรกําไร การจายเงินปนผล หรือนําสงเงินรายไดแผนดิน การเลือกตั้ง กรรมการแทนกรรมการที่ลาออกตามวาระ การเพิ่ม-ลดทุน การเลิก-ควบรวมกิจการ ทั้งนี้ ผูแทนบริษัทฯ ตองรายงาน ขอมูลตางๆ ตามกรอบระยะเวลาทีก่ าํ หนดตอฝายบริหาร และ คณะกรรมการบริษัทฯ 92 รายงานประจําป 2559

นอกจากนี้ บริษั ทฯ ยังจัดใหมีการวิเคราะห ติดตาม และ รายงานผลการดําเนินงานของบริษั ทยอย บริษั ทรวม และ บริษั ทที่เกี่ยวของ เปนประจําทุกไตรมาส และรายป เพื่อ เปนขอมูลสนับสนุนใหฝายบริหารใชในการตัดสินใจ กําหนด ทิศทางและแนวทางในการกํากับดูแลการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของไดตอไป

การดูแลเรือ่ งการใ ข อ มูลภายใน

บริษัทฯ มีนโยบายปฏิบตั ติ ามก เกณฑของตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยอยางเครงครัด โดยบริษั ทฯ ใหความสําคัญใน เรื่องหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหบรรลุผลในทาง ปฏิบตั ิ โดยออกประกาศบริษัทฯ เรือ่ งการปองกันการใชขอ มูล ภายในเพือ่ ประโยชนสว นตน ตัง้ แตป 254 เพือ่ หามกรรมการ รวมถึงกรรมการที่พนตําแหนงในชวง 6 เดือน และผูบริหาร ซื้อขายหลักทรัพยของบริษั ทฯ กอนการประกาศงบการเงิน 1 เดือน และหลังประกาศ 3 วัน โดยทุกๆ 3 เดือน สํานัก เลขานุการบริษั ทฯ จะจัดทําวาระแจงคณะกรรมการและ ฝายบริหาร รวมถึงจัดทําหนังสือแจงกรรมการและผูบริหาร เป น รายบุ ค คลถึ ง ช ว งระยะเวลาห า มทํ า การซื้ อ ขายหุ  น การบินไทย ตามประกาศบริษัทฯ บับดังกลาว นอกจากนั้ น ยั ง จั ด ทํ า วาระแจ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และฝ า ยบริ ห ารทุ ก เดื อ นเรื่ อ งรายงานการถื อ ครองหุ  น การบินไทยของกรรมการบริษั ทฯ และผูบริหารระดับสูง รวมทัง้ ของคูส มรส และบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ เพือ่ แจงให ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงการถือครองหุนของคณะกรรมการ บริษัทฯ และฝายบริหาร รวมทั้งแจงบทลงโทษ กรณีไมได จัดทํารายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพยตอ สํานักงาน คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ภายในระยะเวลาที่กําหนด รวมทั้งกําหนดไวในจรรยาบรรณ การบินไทย ใหการเปดเผยหรือใชขอมูลภายในเพื่อประโยชน สวนตน ถือวาเปนการผิดวินัยพนักงาน

คาตอบแทนของผูสอบบั

คาตอบแทนจากการสอบบั ี บริษัทฯ และบริษัทยอย จายคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแก สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง ) ซึง่ เปนผูส อบบัญชีของ บริษัทฯ ในรอบปบัญชีที่ผานมามีจํานวนเงินรวม 4 6 0 000 บาท โดยบริษัทฯ ไมไดจายคาตอบแทนใหบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวของกับ สตง ในรอบปบัญชีที่ผานมา


การกํากับดู กิจการ

คาบริการอื่น บริษัทฯ และบริษัทยอย จายคาตอบแทนของงานบริการอื่น ซึง่ ไดแก คาธรรมเนียมตรวจสอบปฏิบตั ติ าม B I คาธรรมเนียม ตรวจรับรองรายไดของหนวยธุรกิจ คาธรรมเนียมรับรองรายได สาขาประเทศอินเดีย และคาธรรมเนียมรับรองรายไดสาขา ประเทศบรูไน ใหแก สตง ซึ่งเปนผูสอบบัญชีของบริษั ทฯ ในรอบปบัญชีที่ผานมามีจํานวนเงินรวม 660 000 บาท แต บริษัทฯ ไมไดจา ยคาบริการอืน่ ใหบคุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของ กับ สตง ในรอบปบัญชีที่ผานมาหรือรายจายในอนาคตอัน เกิดจากการตกลงที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จในรอบปบัญชีที่ ผานมา

การปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแลกิจการ ทีด่ ใี นเรือ่ งอืน่ ๆ

บริษัทฯ มุงมั่นปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีตาม ที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนดไว โดยในป 2559 มีทั้งเรื่องที่บริษัทฯ ไดดําเนินการแลว แตไมไดเปดเผยเปน ลายลักษณอกั ษร และเรือ่ งทีอ่ าจไมครอบคลุมตามหลักเกณฑ ของโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษั ทจดทะเบียน ไทย รายละเอียดดังตอไปนี้ 1 บริษั ทควรมีนโยบายจํากัดจํานวนบริษั ทจดทะเบียนที่ กรรมการแตละคนจะดํารงตําแหนงกรรมการไดไมเกิน 5 แหง ในกรณีนี้บริษัทฯ ปฏิบัติตามพ ร บ คุณสมบัติ มาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 มาตรา ทีก่ าํ หนดไววา ผูใ ดจะดํารงตําแหนง กรรมการในรัฐวิสาหกิจเกินกวา 3 แหงมิได 2 บริษั ทควรมีการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของ กรรมการอิสระไวไมเกิน 9 ป ในทางปฏิบัติ กรรมการ อิสระของบริษัทฯ มีวาระการดํารงตําแหนงไมเกิน 9 ป

3 บริ ษั ท ควรจั ด ให มี ห น ว ยงานกํ า กั บ การปฏิ บั ติ ง าน ( o iance nit) ซึง่ บริษัทฯ ไดมกี ารจัดตัง้ หนวยงาน กองกํากับการปฏิบัติตามก เกณฑ ( o iance) ทํา หนาที่ o iance nit 4 บริษัทไมสามารถกําหนดวิธกี ารลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการโดยการลงคะแนนเสียงแบบสะสม ( u u ative oting) เนื่องจากขอบังคับบริษั ท ระบุใหหุนหนึ่งหุน มีหนึ่งเสียง โดยผูถือหุนแตละคนตองใชคะแนนเสียงที่ มีอยูทั้งหมดตามจํานวนหุนที่มี เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือ หลายคนเปนกรรมการได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแก ผูใดมากนอยเพียงใดไมได 5 คณะกรรมการประกอบดวยกรรมการจํานวน 5-12 คน เนื่องจากขอบังคับของบริษัท กําหนดใหคณะกรรมการ บริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน เพื่อใหเหมาะสมกับขนาดและ ลักษณะของธุรกิจ 6 บริษั ทควรกําหนดนโยบายเกี่ยวกับจํานวนองคประชุม ขั้นตํ่า ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุม คณะกรรมการวา ตองมีกรรมการอยูไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทัง้ หมด เนือ่ งจากขอบังคับบริษัท กําหนดเ พาะองคประชุมตองมีกรรมการไมนอยกวา กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด แตไมไดกําหนด จํานวนองคประชุมขั้นตํ่า ณ ขณะที่คณะกรรมการจะ ลงมติ บริษัทควรเปดเผยถึงสิทธิในการออกเสียงของหุน แตละ ประเภท กรณีที่บริษัทมีหุนมากกวาหนึ่งประเภท ( ne ass o S are) ในกรณีนี้ บริษัทฯ มีหนุ เพียง 1 ประเภท คือ หุนสามัญ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 93


รายงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาล และสงเสริมกิจการเพื่อสังคมประจาป 2559 คณะกรรมการธรรมภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ประกอบดวย กรรมการบริษั ทฯ และฝายบริหาร ปจจุบัน คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ประกอบดวย พลอากาศเอกตรีทศ สนแจง เปนประธานฯ พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ กรรมการผูอํานวยการใหญ และฝายบริหาร เปนกรรมการ โดยในป 2559 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการ เพือ่ สังคม มีการประชุม 2 ครัง้ เพือ่ พิจารณาวาระการสงเสริม กิจการเพื่อสังคม สรุปดังนี้ 1. การสงเสริมการศกษาบุตรธิดา ของพนักงาน ประจาป 2559 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาบุตรธิดาของพนักงานผูน อ ย โดยมีคณะอนุกรรมการคัดเลือก ทําหนาที่กลั่นกรองผูมีสิทธิ ไดรับทุนการศึกษาเสนอตอคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ สงเสริมกิจการเพื่อสังคมเพื่อพิจารณาคัดเลือก ซึ่งในป 2559 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคมได อนุมตั กิ ารใหทนุ สงเสริมการศึกษาบุตรธิดาของพนักงานผูน อ ย จํานวน 69 ทุน เปนจํานวนเงิน 965 000 บาท 2. การคัดเลือกบุคคลและโครงการที่ทา คุณประโย นตอบริษัทฯ หรือสังคม คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม สนับสนุนและสงเสริมพนักงานที่จัดทําโครงการและกิจกรรม ที่เปนคุณประโยชนตอบริษัทฯ และสังคม โดยในป 2559 ได พิจารณาคัดเลือกพนักงานและโครงการตางๆทีม่ กี ารนําเสนอ และไดอนุมัติคัดเลือกนายวัชรพงศ เม ผึ้ง ซึ่งเปนผูริเริ่ม โครงการครัวการบินไทยใหอาชีพและเปนผูดําเนินโครงการ ผลิตบุคลากรดานการประกอบอาหารบริการสายการบิน รวมกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต และริเริ่มโครงการรับรอง สมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ใหเปนพนักงานที่ ทําคุณประโยชนตอบริษั ทฯ และสังคม สําหรับโครงการที่

94 รายงานประจําป 2559

ทําคุณประโยชนตอ บริษัทฯ และสังคม มีจาํ นวน 2 โครงการ ที่ ไดรบั การอนุมตั ิ ไดแก โครงการจิตอาสา inica Resources Manage ent จากการบินสูการแพทย และโครงการ โทสมาสเตอรคาราวาน ซึง่ เปนการพั นาศักยภาพการสือ่ สาร ภาษาอังก ษทัง้ ทางดานการฟง พูด อาน และเขียน และความ เปนผูนํา โดยจัดอบรมใหกับเยาวชน ผูพิการ สามเณร เพื่อ ชวยเหลือสังคมในการใชภาษา และตอยอดเปนอาชีพตอไป 3. การสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ได เ ห็ น ชอบให มี ก ารลงนามบั น ทึ ก ข อ ตกลงความร ว มมื อ เรือ่ ง การสงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมสะเต็มศึกษา ระหวาง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท ) กับบริษัทฯ และบริษัท โรลสรอยซ ซึ่งเปนโครงการสงเสริม และสนั บ สนุ น การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู  วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา (ST M Science Tec no ogy ngineering Mat e atics) . การบริการประ า นที่เดินทางมาถวายอาลัย พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเด ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ได รั บ ทราบการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ในการบริ ก าร ประชาชนโดยการแจกจายอาหาร นํ้าดื่ม นํ้าผลไม และ สิ่งของอื่นๆ ณ จุดบริการสํานักงานหลานหลวง การบินไทย จุ ด รั บ รองประชาชนของรั ฐ บาล โดยกระทรวงคมนาคม หนามหาวิทยาลัยศิลปากร จุดบริการการบินไทย ตรงขาม ประตูวิเศษไชยศรี รวมทั้งไดจัดรถบริการรับ-สงประชาชน เสนทาง สํานักงานใหญ ถนนวิภาวดีรังสิต ถึง สนามหลวง และสนับสนุนนิตยสาร SAWAS แจกใหกับประชาชน


รายงาน อง ะกรรมการธรรมาภิบา ะ ง ริมกิจการ พอ ัง มประจําป 2559

5. การ วยเหลือผูประสบอุทกภัยภาคใต คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดรบั ทราบการดําเนินงานของบริษัทฯ ในการใหความชวยเหลือ ผูประสบอุทกภัยภาคใตโดยใชศักยภาพของบริษั ทฯ อาทิ ใหบริการขนสงทางคารโกโดยไมคดิ คาใชจา ยในการนําสิง่ ของ เครื่องอุปโภคบริโ ภคเพื่อนําไปชวยเหลือผูประสบอุทกภัย ภาคใตและเชิญชวนลูกคาภาคองคกร ( or orate Account) รวมบริจาคสิง่ ของชวยเหลือผูป ระสบภัย และนําคณะเจาหนาที่ เดินทางไปมอบสิ่งของบริจาคและผาหมใหกับผูประสบภัยที่ จังหวัดกระบี่ สนับสนุนบัตรโดยสารแกเจาหนาที่ของภาครัฐ สภากาชาดไทย หรือหนวยงานทีม่ คี วามจําเปนตองเดินทางไป ปฏิบตั หิ นาทีช่ ว ยเหลือผูป ระสบอุทกภัย รวมทัง้ บริษัทฯ บริจาค เงินชวยเหลือผูประสบภัยภาคใต เปนจํานวนเงิน 1 000 000 บาท (หนึ่งลานบาทถวน)

6. การทบทวนแผนการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดรบั ทราบการดําเนินการตามก ระเบียบ ขอบังคับของบริษัทฯ ซึ่งมีความลาสมัย อาจสงผลตอความไมเปนธรรมาภิบาล ดังนั้น จึงมอบหมายใหฝายบริหารรับไปดําเนินการปรับปรุง แกไขก ระเบียบ ขอบังคับของบริษั ทฯ ใหมีความชัดเจน ถูกตอง ตามที่ปฏิบัติอยูในปจจุบัน . การดาเนินการเรื่องรองเรียน คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดรบั ทราบถึงเรือ่ งรองเรียนตางๆ เพือ่ ใหการดําเนินการเกีย่ วกับ เรือ่ งรองเรียนมีความเปนธรรมกับทุกฝาย จึงไดมกี ารมอบหมาย ใหหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบดําเนินการในเรือ่ งรองเรียนใหเปนไป ตามระเบียบบริษัทฯ และตองมีความยุติธรรม ทั้งผูรองเรียน และผูถูกรองเรียน

พ อากาศ อก รทศ น จง

ประธานกรรมการธรรมาภิบา ะ ง ริมกิจการ พอ ัง ม ันท มนา ม 25

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 95


ามรับ ิดชอบ

ตอสังคม

ในป 2559 บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการพั นาสังคม และ สิ่งแวดลอม โดยบริษั ทฯ นับความรับผิดชอบตอสังคมเปน สวนหนึ่งของการดําเนินธุรกิจ เพื่อใหองคกรสามารถเติบโต ไดอยางยั่งยืน โดยดําเนินการตามมาตรฐานสากล ทั้งใน กระบวนการดําเนินธุรกิจ ( SR in Process) และกิจกรรม เพื่อสังคม ( SR a ter Process) ในปนี้ การบินไทยไดสบื สานงานดานความรับผิดชอบตอสังคม อาทิ การสงเสริมดานการศึกษา กิจกรรม “คายตนกลา วิทยคณิตการบินไทย” การสงเสริมดานสิ่งแวดลอมและ นวัตกรรม โครงการประกวด “นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม ในอุตสาหกรรมการบิน” (Trave reen Innovation) การ สงเสริมดานสุขภาพ กิจกรรม “แพทยนักบินและนางฟา พยาบาล” การสงเสริมดานสังคม โครงการสงเสริมการ ดําเนินธุรกิจที่เปนมิตรกับเด็ก ตาม “หลักการสิทธิเด็กและ หลักปฏิบัติทางธุรกิจ” ( i dren s Rig ts and Business Princi es - RBP) การสงเสริมชุมชน โครงการ “ T P ไทยจากทองถิ่นสูทองฟา” ทัง้ นี้ เพือ่ สรางความแข็งแกรง และกาวสูค วามเปนเลิศในการ ดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ไดดําเนินนโยบายดานความปลอดภัย ในระดับสูงสุด ตามโครงการมาตรฐานความปลอดภัยเหนือ ระดับ (Sa ety Beyond o iance) และเพื่อตอบสนอง ความพึงพอใจของลูกคา บริษั ทฯ ดําเนินโครงการการยก ระดับการบริการชั้นธุรกิจ ( e Roya Ski Service) อยาง ตอเนื่อง รวมถึงมุงมั่นปรับปรุงการบริการในทุกจุดบริการ ตาม Service Ring นอกจากนี้ บริษัทไดนอมนําพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาใชในการดําเนินธุรกิจ โดยนํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากโครงการหลวงมาบริ ก ารบนเครื่ อ ง บิน และโครงการฝนหลวงนับเปนอีกหนึ่งโครงการที่บริษัทฯ 96 รายงานประจําป 2559

ไดมีสวนสนองงานในพระราชดําริในชวงเวลาหนึ่ง ซึ่งถือเปน โอกาสอันดีทกี่ ารบินไทย สายการบินแหงชาติ ไดมสี ว นในการ พั นาเศรษฐกิจของประเทศ รวมทัง้ ความเปนอยูข องชาวไทย นับเปนเกียรติประวัติที่นาภาคภูมิใจของการบินไทย ผูสนใจ สามารถศึกษารายละเอียดไดในรายงานการพั นาอยางยัง่ ยืน ซึ่งบริษัทฯ จัดสงใหผูถือหุนทุกรายและเปดเผยตอประชาชน ทางเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ t aiair ays co

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปองกัน การมีสวนเกี่ยวของกับการคอรรัป ั่น

บริษัทฯ ไดเห็นความสําคัญถึงปญหาการทุจริตและประพ ติ มิชอบที่จะสงผลกระทบกอใหเกิดความเสียหายตอบริษั ทฯ ดังนั้น บริษัทฯ จึงนํานโยบาย “W ist e B o er” เขามาใชใน การบริหารจัดการตั้งแตป 2553 โดยมีการทบทวนการนําไป ปฏิบตั จิ ากการประกาศนโยบาย W ist e B o er การรับเรือ่ ง รองเรียนและแจงเบาะแสการกระทําผิดโดยไมจําเปนตอง ระบุตวั ตน มีระบบสือ่ สารภายในองคกรแบบโตตอบและอีเมล เปนเครือ่ งมือใชงานทัว่ ทัง้ องคกร ปริมาณขอรองเรียนทีล่ ดลง และสัดสวนในการดําเนินการเพื่อแกปญหา จะแสดงถึงผล การปฏิบัติในการปองกันการทุจริตและประพ ติมิชอบอยาง เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดมีการจัดทําระเบียบบริษั ทฯ วาดวยการ รองเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการไมปฏิบัติตามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งบริษั ท หรือธรรมาภิบาลหรือ จริยธรรม ตามประมวลธรรมาภิบาลและจริยธรรม พ ศ 2553 ขึ้นเพื่อใหพนักงาน ลูกจาง ผูมีสวนไดเสียและบุคคลภายนอก ใชเปนชองทางในการแจงเบาะแสความเคลือบแคลงที่อาจ ทําใหเขาใจไดวาเปนการกระทําผิดตอก ระเบียบ ขอบังคับ ของบริษัทฯ และก หมาย เพือ่ ใหบริษัทฯ ไดทาํ การตรวจสอบ ขอเท็จจริงไดถูกตอง พรอมทั้งมีมาตรการในการคุมครอง ผูรองเรียน เพื่อสรางความเชื่อมั่นและความปลอดภัยใหกับ


ามรับ ิดชอบ อ ัง ม

ผูรองเรียนดวย อันจะนําไปสูความเปนธรรม โปรงใส และ ตรวจสอบไดขององคกรตอไป สําหรับในป 2554 บริษัทฯ ไดลงนามคําประกาศเจตนารมณ แนวรวมปฏิบัติ ( o ective Action oa ition) ของภาค เอกชนไทยในการตอตานการทุจริต เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2554 เพื่อใหความรวมมือกับภาคเอกชนไทยในการตอตาน การทุจริต โดยบริษัทฯ ไดใหความรวมมือจัดใหมีการอบรม พนักงาน เพื่อใหทราบถึงการปองกันการทุจริตและประพ ติ มิชอบ รวมทั้งการเขารวมการสัมมนา เสวนากับสํานักงาน ป ป ช และมุงเนนถึงความสําคัญของการตอตานการทุจริต ในวงกวางตอไป ตั้งแตป 2556 เปนตนมา บริษัทฯ ไดบรรจุหลักสูตรการฝก อบรมวาดวยเรื่องการปองกันการทุจริตและประพ ติมิชอบ ไวในหลักสูตรมาตรฐานของบริษัทฯ โดยดําเนินการโดยฝาย พั นาการเรียนรูภายในองคกร พรอมกับการเขาไปศึกษา ดูงานเพิ่มเติมจากหนวยงานภายนอกในป 255 บริษั ทฯ ไดริเริ่มดําเนินการเผยแพรเรื่องการปองกันการทุจริตและ ประพ ติมิชอบใหกับพนักงานทั้งระดับบริหาร ระดับบังคับ บัญชา และระดับปฏิบตั กิ ารในฝายงานตางๆ อาทิ ฝายบริการ อุปกรณภาคพื้น ฝายชาง ฝายบริการลูกคาภาคพื้น ฯลฯ ซึ่ง สงผลใหในป 2559 จํานวนเรื่องรองเรียนลดลงจากป 255 เปนจํานวนมาก ในป 255 บริษั ทฯ ไดรับการประเมินในเรื่องการปองกัน การมีสวนเกี่ยวของกับการคอรรัปชั่น (Anti- orru tion Progress Indicators) จากสถาบันไทยพั น โดยมีสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยเปน ผู  ส นั บ สนุ น และบริ ษั ท ฯ ได รั บ การประเมิ น ในระดั บ ที่ 2 ( ec ared) สําหรับในป 255 บริษัทฯ ไดรบั การประเมินจาก สถาบันไทยพั น ในการดําเนินการเพือ่ ความยัง่ ยืนเรือ่ ง Antiorru tion Progress Indicators ทีบ่ ริษัทฯ มีการเปดเผยหรือ ที่ปรากฏตอสาธารณะในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) หรือรายงานประจําป (แบบ 56-2) หรือในรายงาน อื่นๆ ของการปองกันการมีสวนเกี่ยวของกับการคอรรัปชั่น ซึ่งไดรับผลการประเมินอยูในระดับที่ 3 ประจําป 255 ในป 255 บริษั ทฯ ไดมีการประกาศนโยบายการตอตาน การทุจริตและประพ ติมิชอบของ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เผยแพรประชาสัมพันธใหพนักงานบริษัทฯ ปฏิบัติ ตามอยางเครงครัด อีกทั้งนําไปเผยแพร ประชาสัมพันธใน t aiair ays co สูสาธารณะ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ยังได นําแนวทางปฏิบัติสัญญาคุณธรรม (Integrity Pact) มาใช ดวยการเชิญบุคคลภายนอก (เจาหนาที่จากองคกรตอตาน

คอรรัปชัน (ประเทศไทย) เขามาสังเกตการณในทุกขั้นตอน ของการดําเนินการในการจัดซื้อไวนสําหรับการใหบริการ ผูโ ดยสารบนเครือ่ งบินเปนลําดับแรก เพือ่ ใหเกิดความโปรงใส และเปนธรรม มีความซื่อสัตย สุจริตในการปฏิบัติงานและ พนักงานทุกระดับตองเขามามีสวนรวมในการขับเคลื่อน สงเสริมและสนับสนุนการตอตานการทุจริตและประพ ติ มิชอบ เพื่อนําพาใหเปนองคกรที่มีการปฏิบัติงานดวยความ ซื่อสัตย สุจริต โปรงใสและตรวจสอบไดอยางยั่งยืนตอไป ในป 2559 บริษัทฯ ไดเขารวมโครงการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร ชาติวา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตของกระทรวง คมนาคม ในกิจกรรมคน หาบุคลากรกระทรวงคมนาคมที่ ปฏิบตั งิ านดวยความซือ่ สัตย สุจริต โปรงใส โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ ยกยอง เชิดชู ประกาศเกียรติคณ ุ สรางขวัญกําลังใจ และ เปนแรงบันดาลใจใหมีความเชื่อมั่นในการทําความดี ยึดมั่น ในคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งบริษั ทฯ ไดเสนอชื่อ นายแพทย กรพรหม แสงอราม ตําแหนงนักบินที่ 1 สังกัด กลุมนักบิน ปฏิบัติการใหเปน “คนตนแบบคมนาคม” ประจําป 2559 และ ไดรับการคัดเลือกจากกระทรวงคมนาคม นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเขารับการประเมินคุณธรรมและความ โปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity Trans arency Assess ent ITA) ประจําปงบประมาณ พ ศ 255 ของสํานักงาน ป ป ช ซึง่ บริษัทฯ ไดรบั ผลคะแนน ประเมินโดยรวม 5 4 คะแนน จาก 100 คะแนนเต็ม อยูใน ระดับคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานสูงกวา คะแนนเ ลี่ยของทั้ง 259 หนวยงานภาครัฐ ที่มีคะแนนเ ลี่ย 3 04 พรอมเกียรติบัตรแสดงความขอบคุณบริษั ทฯ ที่เขา รับการประเมินฯ สวนในปงบประมาณ พ ศ 255 บริษัทฯ ไดรับผลคะแนนประเมินโดยรวม 9 30 คะแนน จาก 100 คะแนนเต็ม อยู ในระดับคุณธรรมและความโปรงใสในการ ดําเนินงานสูง และปงบประมาณ พ ศ 2559 บริษัทฯ ไดรับ ผลคะแนนประเมินฯ โดยรวมเทากับ 5 คะแนน จาก 100 คะแนนเต็ม อยูในระดับคุณธรรม ความโปรงใส ในการดําเนิน งานสูงมาก ซึ่งบริษัทฯ ไดรับผลคะแนนประเมินฯ เพิ่มสูงขึ้น ทุกป ทั้งนี้ เพื่อนําไปสูการปรับปรุง พั นาการทํางานของ หนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อยกระดับดัชนี ชี้วัดภาพลักษณคอรรัปชัน ( orru tion Perce tion Index PI) ของประเทศไทย ทั้งนี้ บริษั ทฯ ขอยืนยันวา บริษั ทฯ มีความมุงมั่นที่จะเปน องคกรที่ดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส โดยไมมีขอยกเวน ตอการทุจริตในทุกรูปแบบ และพรอมใหความรวมมือสนับสนุน การทํางานของหนวยงานตรวจสอบตางๆ ในทุกกรณีจนถึง ที่สุดตอไป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 97


การควบคุมภายใน

และการบริหารจัดการ ความเสี่ยง


การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง

บริษั ทฯ จัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอกับการ ดําเนินธุรกิจและมีการติดตามประเมินผลอยางสมํ่าเสมอ เพือ่ ใหมนั่ ใจวาระบบทีว่ างไวสามารถดําเนินไปไดอยางเหมาะสม กับสภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงและสอดคลองกับ ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได โดยมีโครงสรางการควบคุมภายใน ครบทั้ง 5 องคประกอบและ 1 หลักการ ตามมาตรฐาน o ittee o S onsoring rgani ation o T e Tread ay o ission S 2013 ทัง้ นี้ ผลการประเมิน การควบคุมภายใน สรุปไดดังนี้

สภาพแวดลอมของการควบคุม

1. องคกรแสดงถงความยดมั่นในคุณคาของ ความ ื่อตรง ( n egri ) และจริยธรรม

บริษัทฯ กําหนดแนวทางในเรื่องความซื่อสัตยและจริยธรรม ไวหลายระดับ เพื่อใหมีการปฏิบัติตอผูมีสวนไดสวนเสียอยาง โปรงใสเปนธรรม มีระเบียบบริษัทฯ วาดวยการบริหารงาน บุคคล และมีคูมือประมวลบรรษั ทภิบาลและจริยธรรมเปน แนวทางในการปฏิบัติหนาที่ และการตัดสินใจในเรื่องตางๆ ตลอดจนบริหารงานโดยยึดหลักบรรษั ทภิบาล ไมแสวงหา ประโยชนเพื่อตนเองหรือผูอื่น และไมมีผลประโยชนทับซอน ไมยินยอมใหเกิดการทุจริตขึ้นในงานที่ตนมีหนาที่รับผิดชอบ มีบทลงโทษที่เหมาะสมหากมีการฝาฝนขอกําหนด มีการ เผยแพร ขอกําหนดและบทลงโทษขางตนใหผูบริหารและ พนักงานรับทราบ อีกทั้งมีบรรจุอยูในหลักสูตร rientation เพื่อใหพนักงานใหมทุกคนทราบในการปฐมนิเทศดวย กรณี มีการประพ ติปฏิบัติฝาฝนหลักจริยธรรมของบริษั ทฯ ให สํานักงานตรวจการองคกรมีอาํ นาจและหนาที่ในการพิจารณา และวินิจ ัยภายในกรอบระยะเวลาที่กําหนดตามระเบียบ บริษั ทฯ วาดวยการรองเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการไม ปฏิบตั ติ ามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ คําสัง่ บริษัทฯ หรือ ตามประมวลบรรษัทภิบาลและจริยธรรม

2. คณะกรรมการมีความเปนอิสระจาก ายบริหาร และทาหนาที่กากับดูแล ( versig ) และพัฒนาการดาเนินการ ดานการควบคุมภายใน

กํากับดูแลกิจการที่ดี ( ood or orate overnance) ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของกระทรวงการคลังและ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีการจัดทําบันทึกขอตกลง การประเมินผลการดําเนินงานระหวางบริษั ทฯ กับภาครัฐ ผานสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร ) ซึ่ง จะมีการกําหนดตัวชี้วัด นํ้าหนัก คาเกณฑวัด เปาหมายการ ดําเนินงานตามแผนกลยุทธประจําปของบริษั ทฯ ที่ชัดเจน ไดแก ดานผลิตภัณฑและบริการ ดานการมุงเนนลูกคา ดานการเงินและการตลาด ดานการมุงเนนบุคลากร ดาน ประสิทธิผลของกระบวนการ และดานการนําองคกร เพื่อใช ในการประเมินผลความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจขององคกร มีการติดตามผลการดําเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ และคณะกรรมการชุดตางๆ ที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ อาทิ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพือ่ สังคม เปนตน คณะกรรม การบริษัทฯ ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา อาทิ ธุรกิจการเงิน การขนสง ก หมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบได จากประวัติกรรมการ ตลอดจนมีการกําหนดใหมีกรรมการ อิสระอยางนอย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดตาม ขอกําหนดของ กลต และ สคร โดยในบางขณะมีกรรมการ อิสระถึง 50 ของกรรมการทั้งหมด และไดมีการตรวจสอบ กอนการแตงตั้งวาเปนผูมีความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ กรรมการอิสระ อนึ่ง ตามที่คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ มีมติ ใหชะลอการประเมินฯ ในสวนของกระบวนการตามระบบ ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (S PA) และใหเนนการประเมิน ในหมวดผลลัพธ เพื่อสะทอนผลลัพธของการดําเนินการตาม แผนการแกไขปญหาองคกรของรัฐวิสาหกิจในกลุมฟนฟู แหง ซึ่งบริษัทฯ เปนหนึ่งในรัฐวิสาหกิจกลุมฟนฟู ดังนั้น การประเมินผลกระบวนการ ระบบของรัฐวิสาหกิจ หมวด 1-6 ของบริษัทฯ จึงไมไดนํามาประเมินผลในปนี้

3. ายบริหารไดจดั ใหมโี ครงสรางสายการ รายงาน การกาหนดอานาจในการสัง่ การ บริษัทฯ กําหนดบทบาทหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษัทฯ และ และความรับผิด อบทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให ฝายบริหารไวในคูมือกรรมการ รวมถึง Tab e o Aut ority องคกรบรรลุวตั ถุประสงค ภายใตการกากับ โดยอางอิงจาก พระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด พ ศ ดูแล (oversig ) ของคณะกรรมการ 2535 บทบัญญัติที่เกี่ยวของในประมวลก หมายแพงและ พาณิชย พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ ศ 2535 ขอบังคับและประกาศตางๆ ที่เกี่ยวของกับคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมถึง ขอบังคับและนโยบายของบริษัทฯ และเพื่อใหบริษัทฯ มีการ

คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมีมติอนุมัติการปรับปรุงโครงสราง องคกรที่เหมาะสมทั้งทางธุรกิจและก หมาย โดยมีการจัด สายงาน หนวยงานในการบังคับบัญชา อํานาจหนาทีแ่ ละความ รับผิดชอบตามที่กําหนดในเอกสาร Function escri tion และ ob escri tion มีการแบงแยกหนาที่ที่สําคัญระหวาง บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 99


การประกอบธุรกิจการบินและหนวยธุรกิจอยางชัดเจนเพื่อให องคกรบรรลุวตั ถุประสงค นอกจากนี้ ยังมีฝา ยความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตรฐานการบิน มีหนาที่ ในการวางแผน กําหนดนโยบายและบริหารจัดการในระดับ or orate เพื่อ ใหบริษัทฯ มีมาตรฐานความปลอดภัยดานการบิน มีกองกํากับ การปฏิบัติตามก เกณฑ ทําหนาที่เผยแพร ประชาสัมพันธ และเปนศูนยกลางในการเก็บรวบรวมขอมูลดาน o iance เพื่ อใช เ ป น ระบบสอบทานการปฏิ บั ติ ง านด า นต า งๆ ให สอดคลองและเปนไปตามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ และ มาตรฐานสากล ทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจการบินและธุรกิจดานอืน่ ๆ มีสาํ นักงานการตรวจการองคกร ทําหนาทีร่ บั ขอรองเรียนและ ดําเนินการเกีย่ วกับเรือ่ งการทุจริตและประพ ติมชิ อบ รวมถึง มีสํานักงานการตรวจสอบภายใน ซึ่งมีสายการบังคับบัญชา ขึ้นตรงตอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อใหผูตรวจสอบภายใน สามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางเปนอิสระและเที่ยงธรรม

. องคกรแสดงถงความมุง มัน่ ในการจูงใจ พัฒนาและรักษาบุคลากรทีม่ คี วามรู ความสามารถ

บริษัทฯ มีกระบวนการ วิธีการในการสรรหาบุคลากรที่เปน ไปตามขอกําหนดใน พ ร บ คุณสมบัติมาตรฐานสําหรับ กรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 และระเบียบ บริษัทฯ วาดวยการบริหารงานบุคคล โดยมีการกําหนดเกณฑ คุณสมบัติในการสรรหาเพื่อใหไดบุคลากรที่มีความรู ความ สามารถตรงตามตําแหนงงาน รวมทั้งมีกระบวนการ วิธีการ ในการวัดและประเมินผลบุคลากรประจําป มีการกําหนด มาตรฐานตัวชี้วัดกับเปาหมายและเกณฑวัดผล ที่เชื่อมโยง สู  ก ารจ า ยค า ตอบแทนที่ เ ป น ธรรม มี ก ารจ า ยเงิ น พิ เ ศษ (Incentive) เพือ่ ใหเปนมาตรฐานเดียวกันทัง้ องคกร ซึง่ จะสง ผลตอขวัญและกําลังใจใหกับพนักงานตอไป ในป 2559 บริษัทฯ ไดปรับเปลีย่ นพันธกิจดานพนักงานใหเปน องคกรแหงการเรียนรูที่สรางความแข็งแกรงใหกับพนักงาน 100 รายงานประจําป 2559

เพื่อใหทํางานไดอยางเต็มศักยภาพ ตระหนักถึงการใหความ สําคัญแกลูกคา เสริมสรางขีดความสามารถ ทักษะ และ ความรับผิดชอบ ตลอดจนเพิ่มพูนความผูกพันตอองคกร รวมถึงปรับเปลี่ยนคุณคาหลัก ( ore a ue) ซึ่งถือเปนหลัก ชี้นําขององคกร รวมถึงพ ติกรรมพนักงานใหปฏิบัติตาม และเปนตัวสนับสนุนการตัดสินใจตางๆ ทีม่ ผี ลตอการดําเนินงาน โดยพนักงานทุกคนตองเขาใจ ยึดถือ และปฏิบัติ เพื่อให ทุกภาคสวนขององคกร มุงหนาไปในทิศทางเดียวกัน และ สามารถบรรลุวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายขององคกร อีกดวย มีการนําวิธกี าร Forced istribution urve Forced - Ranking Mode มาใชในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานทุกระดับเพื่อใหผลการดําเนินงานสอดคลองกับ ผลประกอบการของบริษัทฯ

5. องคกรกาหนดใหบคุ ลากรมีหนาทีแ่ ละ ความรับผิด อบในการควบคุมภายใน เพือ่ ใหบรรลุตามวัตถุประสงคขององคกร

เพือ่ ใหมนั่ ใจไดวา บริษัทฯ สามารถบรรลุตามวัตถุประสงคของ องคกร จึงกําหนดใหบุคลากรมีหนาที่ และความรับผิดชอบ ในการควบคุมภายใน โดยจัดใหมีนโยบายควบคุมภายใน ซึ่งเปนกระบวนการสื่อสารเชิงบังคับ กําหนดใหผูบริหารและ พนักงานใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใหไดตามเปาหมาย โดยผานกระบวนการทํางานที่ ไดจัดวางไวอยางเหมาะสม และกําหนดตัวชี้วัด ( PI) ซึ่งถายทอดเปาหมายของแตละ สายงานไปยังพนักงานตามลําดับชัน้ ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ พยายามรักษาสมดุลโดยไมสรางแรงกดดันใหกับพนักงาน มีการสรางแรงจูงใจดวยการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ การพิจารณาความดีความชอบเพื่อขึ้นเงินเดือนประจําป และ การใหเงินเพิ่มพิเศษ (Incentive) เพื่อเปนขวัญและกําลังใจ ในการปฏิบัติงานของพนักงาน

การประเมินความเสี่ยง

6. องคกรกาหนดวัตถุประสงคไวอยาง ดั เจน เพียงพอ เพือ่ ใหสามารถระบุและประเมิน ความเสีย่ งตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการบรรลุ วัตถุประสงคขององคกร

บริษัทฯ ไดกาํ หนดวัตถุประสงคในการดําเนินงาน โดยมุง เนน ความปลอดภัย และการใหบริการที่ดีเลิศแกลูกคาภายใต วิสัยทัศน “First oice arrier it Touc es o THAI” ซึ่งเนนการใหบริการแกผูโดยสาร ลูกคาอยางดีเลิศดวย เสนหความเปนไทยที่ลูกคาเลือกเปนอันดับแรก และดาน ความปลอดภัยจะตองเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน การบินสากล


การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง

ทั้งนี้ ตามที่บริษั ทฯ อยูในระหวางการดําเนินการตามแผน ปฏิรูปฯ ซึ่งมีเปาหมายหลักคือการเปนองคกรแหงโอกาส เปนความภาคภูมิใจและสงางามในฐานะสายการบินแหงชาติ และเพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาว หลังจากผานขั้นตอนแรก คือ Sto B eeding แลว ป 2559 บริษัทฯ ไดเขาสูข นั้ ตอนที่ 2 ของการปฏิรปู เพือ่ สรางความแข็งแกรง (Strengt Bui ding) โดย 1 ใน 4 แผนงานหลัก คือ “การสรางความเปนเลิศใน การบริการลูกคา” บริษัทฯ มีแผนงานบูรณาการการบริการใน ทุกจุดสัมผัส สูความเปนเลิศอยางครบวงจร (Service Ring I rove ent) โดยนําระบบ IT มาใชเชือ่ มตอสงขอมูลตางๆ บน P at or เดียวกันผานอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ไปยังทุก จุดบริการ ซึ่งเปนการบูรณาการงานบริการ สูความเปนเลิศ ในทุกจุดสัมผัส นับตัง้ แตเริม่ เดินทางไปจนสิน้ สุดกระบวนการ ดูแลผูโดยสารอยางครบวงจร นอกจากเปนการเตรียมพรอม ที่จะกาวเขาสูขั้นตอนที่ 3 ของการปฏิรูปเพื่อการเติบโตอยาง ยั่งยืน (Sustainab e ro t ) ในป 2560 ซึ่งเปนยุทธศาสตร สําคัญที่ทําใหการบินไทยแขงขันในระดับพรีเมียมได นอกจากนี้ บริษั ทฯ ไดกําหนดระดับความเสี่ยงที่องคกร ยอมรับได (Risk A etite) เพื่อใชเปนกรอบในการกําหนด กลยุทธของบริษัทฯ ใหเหมาะสม สามารถบรรลุวัตถุประสงค ในการดําเนินงานของบริษัทฯ ได

. องคกรระบุและวิเคราะหความเสีย่ ง ทุกประเภททีอ่ าจกระทบตอการบรรลุวตั ถุ ประสงคไวอยางครอบคลุมทัว่ ทังองคกร

บริษัทฯ โดยฝายบริหารความเสีย่ งรวมกับฝายบริหาร ไดมกี าร วิเคราะหปจจัยเสี่ยงในดานตางๆ ทั้งจากปจจัยภายนอก เชน ภาวการณแขงขันในธุรกิจการบิน เศรษฐกิจและการเมืองทั้ง ของโลกและภูมิภาค การกอการราย ภัยพิบัติและโรคระบาด และจากปจจัยภายใน เชน ประสิทธิภาพของกระบวนการ ทํางานและการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยได ระบุความเสี่ยงในดานตางๆ ไดแก ดานกลยุทธ ดานการ ดําเนินงาน ดานการเงิน และดานมาตรฐานและก ระเบียบ รวมถึงสายงานตางๆ ไดมีการบริหารความเสี่ยงในหนวยงาน ตามคูมือบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และมีการจัดทําดัชนี ชีว้ ดั ความเสีย่ งทีส่ าํ คัญ ( ey Risk Indicator RI ) หากระดับ คะแนนของความเสี่ยงเขาสู Trigger และ T res o d จะมี การทบทวนมาตรการการควบคุม และจัดทําแผนงานรองรับ นอกจากนี้ ยังระบุความเสี่ยงที่อาจสงผลกระทบใหโครงการ ตางๆ ในแผนปฏิรปู ไมสาํ เร็จตามแผน โดยมีมาตรการควบคุม และกํากับดูแลอยางใกลชิด ทั้งนี้ การบริหารความเสี่ยงของ บริษัทฯ อยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ

8. องคกรไดพจิ ารณาถงโอกาสทีจ่ ะเกิด การทุจริต ในการประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะ บรรลุวตั ถุประสงคขององคกร

บริษัทฯ มีนโยบายการตอตานการทุจริตและประพ ติมิชอบ เพื่อใหเกิดความโปรงใส และเปนธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต ในการปฏิบัติงาน มีการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส ในการดํ า เนิ น งานของหน ว ยงานภาครั ฐ (Integrity Trans arency Assess ent ITA) เปนประจําทุกป ตาม บัน ทึกขอตกลงความรวมมือ ซึ่งเปนการรวมกัน 3 ฝาย ระหวาง สํานักงาน ป ป ช สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร ) และรัฐวิสาหกิจ 55 แหง เพื่อรวมกัน ขั บ เคลื่ อ นแผนยุ ท ธศาสตร ช าติ ว  า ด ว ยการป อ งกั น และ ปราบปรามการทุจริตใหเปนรูปธรรม โดยในป 255 บริษัทฯ ไดผลคะแนนประเมินเ ลี่ยรวมรอยละ 9 30 จัดอยูในระดับ มีคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานสูง นอกจากนี้ สํานักงานตรวจการองคกรรวมกับฝายฝกอบรมบุคลากร ไดจดั บรรยายรณรงคปองกันการทุจริตและประพ ติมิชอบใหกับ พนักงานในหนวยงานตางๆ เพื่อสงเสริมและปลูกจิตสํานึก ใหพนักงานตระหนักและพึงระวังในการปฏิบัติที่เปนการขัด ตอก หมาย ก ขอบังคับ และระเบียบบริษัทฯ ซึ่งเปนการ กระทําผิดจากการปฏิบัติงานโดยรูเทาไมถึงการณ จัดทํา Bu etin ใหความรูเรื่องการปองกันการทุจริตและประพ ติมิ ชอบทุกเดือน มีเครือขาย “T รวมพลังปองกันภัยทุจริต” โดย มีพนักงานเขารวมเปนสมาชิกและมีสวนรวมในการเฝาระวัง สอดสองดูแลการกระทําทุจริตและประพ ติมชิ อบ อันจะนํามา ซึ่งประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ในการสรางบุคคลตนแบบที่มี ความซื่อสัตยสุจริตในการปฏิบัติงานอยางยั่งยืนตอไป

9. องคกรสามารถระบุและประเมิน ความเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจมีผลกระทบตอ ระบบการควบคุมภายใน

บริษั ทฯ ไดนําปจจัยตางๆ ทั้งภายในและภายนอกบริษั ทฯ ที่มีผลกระทบตอการดําเนินงาน มาประเมินและวิเคราะห ความเปลี่ยนแปลง เพื่อระบุเปนความเสี่ยงระดับองคกรและ ระดับฝาย โดยปจจัยที่นํามาพิจารณา อาทิ การขยายตัว ของสายการบินตนทุนตํ่า การกอการราย ภัยพิบัติและโรค ระบาด การเปลี่ยนแปลงดานก หมายหรือระเบียบขอบังคับ ตางๆ เปนตน โดยมีการติดตามความคืบหนาในการบริหาร ความเสี่ยงอยางสมํ่าเสมอ รวมถึงไดประสานกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของในการจัดทําแผนเพื่อควบคุมความเสี่ยงใหอยู ใน ระดับที่ยอมรับได

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 101


จัดหาทีม่ วี งเงินเกินกวา 100 000 บาท ตองจัดทําและประกาศ ราคากลางกอนการจัดหา ทัง้ นี้ บริษัทฯ มีนโยบายการตอตาน การทุจริตและประพ ติมชิ อบ มีการรณรงคปอ งกันการทุจริต การใหความรูโดยสื่อสารใหพนักงานตระหนักในเรื่องการ ทุจริตฯ อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีการระบุกิจกรรมและ กรอบเวลาในการดําเนินการควบคุมความเสี่ยง โดยคํานึงถึง สภาพแวดลอม ขอบเขตการดําเนินงาน ปจจัยเกี่ยวของอื่นๆ รวมทั้งมีการจัดทํา ทบทวน ปรับปรุงระเบียบ วิธีปฏิบัติตางๆ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได

กิจกรรมการควบคุม

10. องคกรมีมาตรการควบคุมที่ ว ยลด ความเสีย่ งทีจ่ ะไมบรรลุวตั ถุประสงคของ องคกรใหอยูใ นระดับทีย่ อมรับได

บริษั ทฯ มีมาตรการควบคุมที่ชวยลดความเสี่ยงที่จะทําให องคกรไมบรรลุวตั ถุประสงค โดยมีการกําหนดนโยบาย จัดทํา คูม อื การปฏิบตั งิ าน และระเบียบปฏิบตั ติ า งๆ สําหรับกิจกรรม ที่สําคัญของบริษั ทฯ เชน ระเบียบบริษั ทฯ วาดวยอํานาจ อนุมัติทางการเงิน ระเบียบบริษัทฯ วาดวยการจัดซื้อ จัดจาง เปนตน และจัดทํามาตรการเพื่อควบคุมความเสี่ยงของแตละ หนวยงาน โดยพิจารณาจากความซับซอนของงาน และ ลักษณะงาน อาทิ การควบคุมเชิงปองกัน ลดความเสี่ยง (Reduction) ในดานสารสนเทศ โดยการพั นาระบบ SI M (Security Incident and vent Manage ent) และจัดตั้ง S (Security erations enter) เพื่อใชตรวจสอบและ เฝาระวัง รับมือกับเหตุการณดานความปลอดภัยจากการ คุกคามดาน yber ดานกระบวนการจัดซื้อจัดจาง มีการ ปรับปรุงมาอยางตอเนื่องโดยบริษั ทฯ ไดปรับปรุงระเบียบ บริษัทฯ วาดวยการพัสดุ เมือ่ ป พ ศ 2555 รวมทัง้ มีการจัดตัง้ คณะกรรมการและคณะทํางานยอยตางๆ ทีแ่ บงแยกหนาทีก่ นั โดยการออกเปนคําสั่งบริษั ทฯ เชน คณะกรรมการและ คณะทํางาน เกี่ยวกับการจัดหาเครื่องบิน มีการแตงตั้งเปน คณะกรรมการและคณะทํางานยอยตางๆ คณะ เปนตน นอกจากนี้ ระเบียบบริษัทฯ วาดวยการพัสดุ พ ศ 2555 ยัง กําหนดใหพัสดุท่ีมีวงเงินตั้งแต 50 ลานบาทขึ้นไปใหแจง สํานักงานการตรวจสอบภายในสงผูแ ทนเขารวมสังเกตการณ ทุกครั้ง รวมถึงกําหนดใหการจัดพัสดุที่มีมูลคาเกินกวา 100 ลานบาท ใหผูที่ทําสัญญากับบริษั ทฯ จะตองเปดเผยคาใช จายที่จายใหกับบุคคลอื่น อันเกี่ยวเนื่องกับตัวแทนจําหนาย คาประสานงาน ตลอดจนคาใชจา ยทีจ่ า ยใหบคุ คลอืน่ ทีม่ ารวม ในการดําเนินการตามสัญญาและการรับชวงงานตามสัญญา (Sub ontract) ใหบริษัทฯ ทราบ รวมทั้งไดกําหนดใหการ 102 รายงานประจําป 2559

11. องคกรเลือกและพัฒนากิจกรรมการ ควบคุมทัว่ ไปดวยระบบเทคโนโลยี เพือ่ ว ย สนับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงค

ในป 2559 บริษั ทฯ ไดนําระบบเทคโนโลยีมาใชเพื่อชวย สนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค อาทิ ระบบ et ork Manage ent Syste ( MS) ระบบ Revenue Manage ent Syste (RMS) ระบบ Auto atic Fare Benc arking ระบบ usto er Re ations i Manage ent ( RM) ระบบ e Wor d ass Web Mobi e P at or รวมถึงการบูรณาการระบบ IT เพื่อเชื่อม ตอแตละจุดบริการใหอยูใน P at or เดียวกันในแผนงาน Service Ring I rove ent เพื่อใหงานบริการในทุก จุดสัมผัสสูค วามเปนเลิศอยางครบวงจร โดยใช S art one เปนเครื่องมือหลักในการสงขอมูลไปยังหนวยงานรับผิดชอบ เพื่อแกไขปญหาที่ผูโดยสารไมไดรับความสะดวกไดอยาง รวดเร็ว ทัง้ นี้ บริษัทฯ โดยฝายงานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการ จัดทําแผนแมบท IT เพื่อจัดลําดับความสําคัญของการลงทุน เพื่อพั นาระบบสารสนเทศของบริษั ทฯ โดยมีการทบทวน ทุกปเพื่อใหสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกับกลยุทธ บริษั ทฯ มีการจัดทําสถาปตยกรรมโครงสรางพื้นฐานดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และนโยบายมาตรการการรักษาความ มัน่ คงปลอดภัยดานสารสนเทศ (Security Po icy Standard) โดยอางอิงกรอบมาตรฐาน IS 2 001 และกําหนดใหทุก หนวยงานตองถือปฏิบัติ โดยออกเปนคําสั่งบริษั ทฯ เพื่อใช เปนกรอบในการควบคุมโครงสรางพื้นฐานระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของบริษั ทฯ ใหเปนมาตรฐาน งายตอการปรับ เปลี่ยนและบํารุงรักษา และเกิดความมั่นคงปลอดภัย รวมถึง ไดกําหนดใหมีการควบคุมกระบวนการไดมา การพั นา และบํ า รุ ง รั ก ษาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศโดยจั ด ทํ า เปนคูมือบริหารจัดการโครงการ (Pro ect Manage ent Handbook)


การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง

12. องคกรจัดใหมกี จิ กรรมการควบคุมผาน ทางนโยบาย ง่ ไดกาหนดสิง่ ทีค่ าดหวังและ ขันตอนการปฏิบตั เิ พือ่ ใหนโยบายทีก่ าหนด ไวนนสามารถนาไปสู ั ก ารปฏิบตั ไิ ด

บริษัทฯ ไดนาํ ก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับของหนวยงาน องคกรภายนอกที่เกี่ยวของกับธุรกิจการบิน ทั้งของภาครัฐ และองคกรตางๆ ทั้งในและตางประเทศ มาประมวลและ จัดทําเปนนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ และคูมือการปฏิบัติงาน ทั้งที่เปนลายลักษณอักษรและที่เปน ectronic Fi e และ เพื่อใหนโยบาย ระเบียบปฏิบัติและคูมือตางๆ สามารถนําไป สูการปฏิบัติได บริษัทฯ จึงไดกําหนดใหผูบริหารมีหนาที่และ ความรับผิดชอบ ในการนํานโยบายและแผนงานดานตางๆ ไปสูการปฏิบัติ โดยบรรจุไวในแผนงานของฝาย คํารับรอง การปฏิบัติหนาที่ ขอตกลงการใหบริการ และมติการประชุม โดยมีการสัง่ การและมอบหมายการปฏิบตั ติ ามสายการบังคับ บัญชา โดยมีบุคลากรซึ่งไดมีการกําหนดหนาที่และความรับ ผิดชอบไวใน ob escri tion อยางเหมาะสม มีการกําหนด กรอบเวลาที่ชัดเจนและมีหัวหนางานกํากับดูแล ติดตามผล อยางใกลชดิ ทัง้ จากการประชุมและเอกสาร หากพบขอผิดพลาด จะทํ า การแก ไ ขในทั น ที เ พื่ อให ง านสํ า เร็ จ ตามเป า หมาย นอกจากนี้ ผูบริหาร หัวหนางาน ไดติดตามและกํากับดูแล การปฏิบัติงานของพนักงานใหเปนไปตามก ระเบียบ และ คําสั่งตางๆ รวมถึงการทบทวนและปรับปรุงแกไขนโยบาย และระเบียบปฏิบัติตางๆ ใหเหมาะสมกับสถานการณ ทั้งนี้ เปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลการปฏิบัติตามก หมาย และก ระเบียบของบริษัทฯ

สารสนเทศและการสื่อสาร

13. องคกรมีขอ มูลทีเ่ กีย่ วของและมีคณ ุ ภาพ เพือ่ สนับสนุนใหการควบคุมภายใน สามารถดาเนินไปไดตามทีก่ าหนดไว

บริษั ทฯ มีการนําขอมูลที่ตองการใชในการดําเนินงาน โดย พิจารณาทั้งขอมูลจากภายในและภายนอก ไดแก ขอมูล ดานก หมาย ก ระเบียบ ขอกําหนด ขอมูลการปฏิบัติงาน ขอมูลที่เกี่ยวของกับธุรกิจการบิน โดยนํามาศึกษา วิเคราะห พิจารณากลั่นกรอง และเปรียบเทียบอยางเปนระบบ มีระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เพือ่ รองรับการจัดเก็บ คนหาขอมูล และรองรับการปฏิบัติงาน มีการพั นาระบบ IT ใหทันตอ การเปลี่ยนแปลงของขอมูล และเทคโนโลยี อาทิ การพั นา ระบบ ata Ware ouse ในการเก็บขอมูลลูกคาเพื่อนํา ไปพั นาและปรับปรุงคุณ ภาพผลิตภัณฑและการบริการ การนําระบบ SAP- WIS SAP-H M และ SAP-B มาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ชวยใหผูบริหาร มีขอมูลในการพิจารณาตนทุน และความคุมคาไดเปนอยาง

ดี มีการศึกษา วิเคราะห ประเมินปจจัยแวดลอม โดยจัดทํา Feasibi ity Study เพือ่ พิจารณาความคุม คาในการดําเนินงาน หรือการลงทุนผานทางคณะกรรมการหรือคณะทํางานชุด ตางๆ เพื่อบริหารโครงการลงทุนใหเปนไปตามเปาหมาย และไดประโยชนสูงสุด นอกจากนี้ ยังมีศูนยขอมูลขาวสาร ทําหนาที่กํากับ ดูแล บริหารจัดการงานดานขอมูลขาวสาร ของบริษัทฯ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติฯ ขอมูลขาวสาร ของราชการ พ ศ 2540 อยางเครงครัด

1 . องคกรสือ่ สารขอมูลภายในองคกร ง่ รวมถงวัตถุประสงคและความรับผิด อบ ตอการควบคุมภายใน ทีจ่ าเปนตอการ สนับสนุนใหการควบคุมภายในดาเนินไปได ตามทีว่ างไว

บริษัทฯ มีระบบสารสนเทศ และกระบวนการสื่อสารขอมูล ภายในอยางเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ มีชองทางในการ สื่อสารทั้งภายในฝาย และระหวางฝาย เพื่อใหพนักงาน และ ผูบ ริหารไดรบั ทราบ และสามารถเขาถึงขอมูลในการปฏิบตั งิ าน ไดอยางรวดเร็วผานชองทางตางๆ เชน การประชุม เอกสาร e- ai Intranet ของบริษัทฯ ประกาศเสียงตามสาย ตลอดจน Mobi e A ication และเพื่อใหการสื่อสารภายในองคกรมี ประสิทธิภาพทันตอเหตุการณ และเขาถึงพนักงานทุกกลุม อั น เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ยิ่ ง ในการรั ก ษาความมี เ อกภาพและ เชื่อมพนักงานทั้งองคกรเขาไวดวยกัน บริษัทฯ ไดจัดทําแบบ สอบถามฯ เพือ่ ใหพนักงานเสนอความคิดเห็นและขอเสนอแนะ เพื่อนําผลที่ไดมาวิเคราะหปรับปรุงและพั นาการปฏิบัติงาน ดานสื่อสารภายในองคกรใหเกิดประโยชนสูงสุดแกพนักงาน และบริษัทฯ ตอไป นอกจากนี้ ยังมีคูมืองานสารบรรณและ ขอมูลขาวสารลับในการกําหนดระดับชั้นความลับของขอมูล ในบริษั ทฯ รวมถึงการจัดทํารายงานขอมูลที่สําคัญถึงคณะ กรรมการบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ เชน รายงานทางการเงิน การเปดเผยขอมูลประกอบงบการเงิน นโยบายการบัญชีและ ประมาณการที่สําคัญ รวมทั้งขอสังเกตจากการตรวจสอบ และสอบทานงบการเงินของผูสอบบัญชี รายงานสภาพคลอง ทางการเงิ น และสถานะหนี้ ข องบริ ษั ท ฯ รายงานผลการ ดําเนินงานของบริษัทรวมและบริษัทยอย เปนตน นอกจาก ที่กลาวมาแลว บริษั ทฯ ไดจัดใหมีชองทางสําหรับพนักงาน สามารถแจ ง ข อ มู ล หรื อ เบาะแสเกี่ ย วกั บ การทุ จ ริ ต และ ประพ ติมิชอบภายในบริษัทฯ ตามนโยบาย W ist e B o er และตามระเบียบบริษั ทฯ วาดวยการรองเรียนเกี่ยวกับการ ทุจริตหรือการไมปฏิบัติตามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ คํ า สั่ ง บริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง คู  มื อ ประมวลบรรษั ท ภิ บ าลและ จริยธรรม

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 103


15. องคกรไดสอื่ สารกับหนวยงานภายนอก เกีย่ วกับประเดนทีอ่ าจมีผลกระทบตอการ ควบคุมภายใน

บริษั ทฯ ไดจัดทํารายงานประจําป เผยแพร ใหแกผูถือหุน และเผยแพรทางเว็บไซตของบริษั ทฯ ฝายภาพลักษณและ สือ่ สารองคกร ไดประชาสัมพันธขา วสารของบริษัทฯ ผานทาง สื่อตางๆ รวมถึง Mobi e A ication ตลอดจนจัดใหมี ชองทางในการรองเรียน สือ่ สารขอมูลจากลูกคา สายการบิน ลูกคา และองคกร หนวยงานภายนอก เชน e art ent o ivi Aviation และ หรือ Aut ority ตางๆ ของแตละประเทศ ทีเ่ กีย่ วของกับการปฏิบตั กิ ารบินโดยผานทางจดหมาย e- ai หรือ แบบฟอรม usto er Re ation ถึงผูบริหารระดับสูง ของบริษัทฯ นอกจากนี้ มีการจัดทําแบบสํารวจความพึงพอใจ ของลูกคา เพื่อรับฟงปญหาและขอรองเรียนที่เกิดจากการให บริการ รวมถึงการรับขอเสนอแนะเพื่อพั นาปรับปรุงการ ใหบริการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนมีการติดตอ สือ่ สารเพือ่ รับนโยบายจากหนวยราชการ และกระทรวงตางๆ รวมถึงการจัดทํารายงานเพือ่ เสนอตอหนวยราชการทีเ่ กีย่ วของ นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสใหบคุ คลภายนอกสามารถแจงขอมูล หรือเบาะแสเกี่ยวกับการ อ ลหรือทุจริตมายังกรรมการ ผูอํานวยการใหญโดยตรง โดยผานทางเอกสาร หรือ e- ai

การติดตามประเมินผล

16. องคกรติดตามและประเมินผลการ ควบคุมภายใน เพื่อใหมั่นใจไดวาการ ควบคุมภายในยังดาเนินไปอยางครบถวน เหมาะสม

บริษั ทฯ มีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน โดย ผูบริหารทุกระดับรับทราบ และตระหนักถึงความรับผิดชอบ ที่มีตอการติดตามผลการปฏิบัติงานใหเปนไปตามแผนงาน และเปาหมายที่กําหนด เชน จัดใหมีการประชุมภายในฝาย เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายตามดัชนี ชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ( PI) มีการจัดทํารายงานผลการ ปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับเปาหมายตามแผนงาน หรืองบ ประมาณ เสนอตอผูบริหารเพื่อพิจารณาปรับปรุงแกไขให เปนไปตามเปาหมายอยางสมํ่าเสมอ ทุกฝายมีการประเมิน การควบคุมภายใน และจัดทํารายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน เปนประจําทุกป มีการสอบทานและประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน ของหนวยงานตางๆ โดยผูตรวจสอบภายในจากสํานักงาน การตรวจสอบภายในของบริษั ทฯ ตามแผนการตรวจสอบ ประจําป อีกทั้ง ยังมีฝายความปลอดภัย ความมั่นคง และ มาตรฐานการบิน ทําการตรวจสอบดานปฏิบัติการ เพื่อให มัน่ ใจวาทุกหนวยงานมีการปฏิบตั ติ ามก ระเบียบ ขอกําหนด 104 รายงานประจําป 2559

ตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ ยังมีผตู รวจสอบจากหนวยงาน ภายนอก เชน สํานักงานตรวจเงินแผนดิน (สตง ) สํานักงาน การบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) IATA erationa Sa ety Audit (I SA) ASA FAA และองคการมาตรฐาน สากล (IS ) ตางๆ เปนตน ซึ่งผูบริหารไดใหความสําคัญ และมีการพิจารณาเพื่อปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของ ผูตรวจสอบดังกลาว ในป 2559 หนวยงานกํากับดูแลดานการบินพลเรือนของ ประเทศตางๆ ทั่วโลกยังคงเพิ่มความถี่ ในการตรวจสอบ มาตรฐานความปลอดภัยของสายการบินของประเทศไทย ที่ทําการบินเขาในแตละประเทศ โดยบริษั ทฯ ไดรับการ ตรวจสอบมาตรฐานดานความปลอดภัย (Ra Ins ection) ตามมาตรฐานสากล ผลการตรวจสอบไมพบขอบกพรองที่ มีนัยสําคัญ ซึ่งเปนสิ่งที่ยืนยันความมีมาตรฐานดานการบิน ของบริษัทฯ ไดเปนอยางดี

1 . องคกรประเมินและสื่อสารขอบกพรอง ของการควบคุมภายในอยางทันเวลา ตอบุคคลที่รับผิด อบ

บริษั ทฯ โดยสํานักงานการตรวจสอบภายใน ไดกําหนด แนวทางการจัดทํารายงานผลการตรวจสอบ และขอเสนอแนะ เพื่อการแกไขปรับปรุง รวมทั้งติดตามผลการดําเนินการตาม ขอเสนอแนะ นําเสนอตอผูบ ริหารหนวยรับตรวจ และผูบ ริหาร ระดับสูงที่เกี่ยวของเพื่อรับทราบและดําเนินการตามขอเสนอ แนะโดยสํานักงานการตรวจสอบภายใน มีการติดตามความ คืบหนาการดําเนินการตามขอเสนอแนะในรายงานผลการ ตรวจสอบทุกประเด็นจนกวาจะมีการดําเนินการแลวเสร็จ ครบถวน รวมถึงสรุปผลความคืบหนา นําเสนอตอกรรมการ ผูอํานวยการใหญและคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส เพื่ อให มั่ น ใจว า มี ก ารนํ า ข อ เสนอแนะไปปฏิ บั ติ อ ย า งมี ประสิทธิผล นอกจากนี้ ในกรณีที่พบหรือมีขอสงสัยวามี รายการหรือการกระทําที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอผล การดําเนินงานของบริษัทฯ อยางรายแรง เชน การขัดแยงทาง ผลประโยชน การทุจริต มีสงิ่ ผิดปกติหรือความบกพรองทีส่ าํ คัญ ในระบบการควบคุมภายใน หรือมีการฝาฝนก ระเบียบ เปนตน หัวหนาสํานักงานการตรวจสอบภายในจะรายงานตอกรรมการ ผูอํานวยการใหญ และคณะกรรมการตรวจสอบทันที ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ เมื่อวัน ที่ 2 กุมภาพันธ พ ศ 2560 โดยมีกรรมการอิสระทั้ง ทาน ซึ่ง รวมกรรมการตรวจสอบจํานวน 3 ทานเขารวมประชุมดวย สรุปไดวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอ กับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ


การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 105


106 รายงานประจําป 2559

กระทรวงการคลัง

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

3 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบินแกกระทรวง การคลัง - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

2 บริษัทฯ มีรายการเชาที่ดิน จากที่ราชพัสดุ

เงินกูยืมระยะสั้น ซึ่งยังคงมียอดคงคาง และดอกเบี้ยจาย ดังนี้ - เงินกูย มื ระยะสัน้ คงคาง - ดอกเบีย้ จาย

0 00 0 00

5 12

5 400 3 52 39

0 16 0 00

5 11

3 625 3 1 62

15 25 20 351 5

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

กระทรวงการคลังเปน 1 กระทรวงการคลังกูเงินจาก ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ สถาบันการเงินตางประเทศ โดยถือหุนประมาณ ให บริษัทฯ กูต อ ประกอบดวย รอยละ 51 03 เงินกูย ืมระยะยาว ซึ่งยัง กรรมการของบริษัทฯ คงมียอดคงคางและ ไดแก นายสมชัย สัจจพงษ ดอกเบี้ยจาย ดังนี้ ดํารงตําแหนงปลัดกระทรวง - เงินกูย มื ระยะยาวคงคาง 14 620 53 การคลัง - ดอกเบี้ยจาย 35 90

ความสัมพันธ

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

บริษัทฯ มีรายการระหวางกันที่สาคั กับผูถือหุนรายให  และนิติบุคคล บริษัทที่อาจมีความขัดแยง สาหรับปสินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ดังนี

ระ า กน

รายการ


ธนาคารออมสิน

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน ผูถือหุนรายใหญของ บริษัทฯ มีอํานาจควบคุม ธนาคารออมสิน

ความสัมพันธ

0 00 000 00 223 4

3 6 0 00 94 56

3 02 01

3 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน ใหบริการเชา พื้นที่และบริการอื่นๆ แก ธนาคารออมสิน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

2 95 1 6

0 00

0 00 5 52

9 1

0 00 0 00

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

2 บริษัทฯ ทําสัญญาวงเงินกู ประเภทเงินทุนหมุนเวียน กับธนาคารออมสิน จํานวนเงินไมเกิน 000 ลานบาท และในป 2559 มีการใชวงเงิน - คาธรรมเนียมวงเงินกู - คาธรรมเนียมวงเงินกู คางจาย - ยอดเงินคงคาง - ดอกเบี้ยจาย

1 บริษัทฯ ไดกูเงินจาก ธนาคารออมสิน ประกอบดวย เงินกูยืมระยะยาว - ยอดเงินคงคาง - ดอกเบี้ยจาย

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไข อัตราดอกเบี้ย คาธรรมเนียม การใชวงเงินกูเปนไปตามปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปใน แนวทางเดียวกันกับการกําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่น ที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 107


108 รายงานประจําป 2559

0 02

0 02

1 10 0 00

3 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบินแกธนาคารเพื่อ การสงออกและนําเขา แหงประเทศไทย - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

0 05 0 00

3 60

0 00 0 00

0 00 1 1

3 50

1 2 1 50 3 59

0 00 0 00

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

2 บริษัทฯ ทําสัญญาวงเงินกู ประเภทเงินทุนหมุนเวียนกับ ธนาคารเพื่อการสงออกและ นําเขาแหงประเทศไทย จํานวนเงิน 3 000 ลานบาท - คาธรรมเนียมวงเงินกู - คาธรรมเนียมวงเงินกู คางจาย

กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน 1 บริษัทฯ ทําสัญญาเงินกูยืม ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ระยะยาว กับธนาคารเพื่อ มีอํานาจควบคุมธนาคาร การสงออกและนําเขา เพื่อการสงออกและนําเขา แหงประเทศไทย ซึ่งยังมี แหงประเทศไทย ยอดคงคางและดอกเบี้ยจาย ดังนี้ - ยอดเงินคงคาง - ดอกเบี้ยจาย

ธนาคารเพื่อการ สงออกและนําเขา แหงประเทศไทย

บริษัทฯ ไดกูเงินระยะสั้น จากธนาคารอิสลามแหง ประเทศไทย ซึ่งยังคงมียอด คงคางและผลกําไรที่ตอง ชําระ ดังนี้ เงินกูระยะสั้น - ยอดเงินคงคาง - การชําระผลกําไร

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ มีอํานาจควบคุมธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย

ความสัมพันธ

ธนาคารอิสลาม แหงประเทศไทย

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนดใหกับ บุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไข คาธรรมเนียมการใชวงเงินกู เปนไปตามปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับ การกําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา


ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

6 54 0 60

0 43 0 00

กรรมการของบริษัทฯ 2 บริษัทฯ ขายบริการใหเชา ไดแก นายสมชัย สัจจพงษ สํานักงาน ตู ATM คานํา้ -ไฟ ดํารงตําแหนงประธาน และ ease ine แกธนาคาร กรรมการของธนาคาร กรุงไทย จํากัด (มหาชน) กรุงไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง 3 บริษัทฯ ซื้อบริการรับ-สง เงินสดของบริษัทฯ และจาย คาธรรมเนียมธนาคารให กับธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง

0 50 0 01

5 91 0 06

2 01 0 00 1 19

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

52 0 00 0 00

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน 1 บริษัทฯ ทําสัญญาวงเงินกู ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ประเภทเงินทุนหมุนเวียนกับ เปนผูค วบคุมธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย จํากัด จํากัด (มหาชน) โดยผานทาง (มหาชน) จํานวนเงิน 3 000 ธนาคารแหงประเทศไทย ลานบาท และกองทุนเพื่อการฟนฟู - คาธรรมเนียมวงเงินกู และพั นาระบบสถาบัน - ยอดเงินกูคงคาง การเงิน - ดอกเบี้ยจาย

ความสัมพันธ

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไข อัตราดอกเบี้ย คาธรรมเนียม การใชวงเงินกูเปนไปตามปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปใน แนวทางเดียวกันกับการกําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่น ที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 109


110 รายงานประจําป 2559

บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด

การทองเที่ยวแหง ประเทศไทย

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

4 60 0 9

2 92 05

0 65 0 00

1 05 4 13

กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน 1 บริษัทฯ จายคา co ission ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ในการจําหนายบัตร มีอาํ นาจควบคุมการทองเทีย่ ว โดยสารของบริษัทฯ ใน อัตรารอยละ 5 แกการ แหงประเทศไทย ทองเที่ยวแหงประเทศไทย - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน และใหเชา สํานักงานแกการทองเที่ยว แหงประเทศไทย - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

64 6 11

10 0 3

6 66 00

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

4 32 00

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

กระทรวงการคลังเปน 1 บริษัทฯ ซื้อบริการฝากสง ผูถือหุนรายใหญของบริษัท ไปรษณียในประเทศและ ไปรษณียไทย จํากัด ตางประเทศ และซือ้ อุปกรณ และของบริษัทฯ ไปรษณีย จากบริษัท กรรมการของบริษัทฯ ไดแก ไปรษณียไทย จํากัด นายรัฐพล ภักดีภูมิ - ยอดคาใชจา ยรวม ดํารงตําแหนงกรรมการของ - ยอดเจาหนี้คงคาง บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน แกบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

ความสัมพันธ

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา


กระทรวงการคลังเปน 1 บริษัทฯ ประกอบกิจการ ผูถือหุนรายใหญของบริษัท และเชาพื้นที่ในเขต ทาอากาศยานไทย จํากัด ทาอากาศยานตางๆ เพื่อใช (มหาชน) และของบริษัทฯ สําหรับจอดอากาศยาน จอดพาหนะ ขนถายสินคา เก็บอุปกรณภาคพื้นดิน เก็บตูคอนเทนเนอร ตั้งสํานักงานสายการบิน และบริการอื่นๆ จากบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง

บริษัท ทาอากาศยาน ไทย จํากัด (มหาชน)

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

กระทรวงการคลังเปน 1 บริษัทฯ ซื้อนํ้ามันเครื่องบิน ผูถือหุนรายใหญของ บริษัท และนํ้ามันรถยนตจาก ปตท จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท จํากัด (มหาชน) และของบริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม ประธานกรรมการของ - ยอดเจาหนี้คงคาง บริษัทฯ ไดแก นายอารีพงศ ภูชอุม ดํารงตําแหนง 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร กรรมการของบริษัท ปตท เครื่องบิน และใหบริการ จํากัด (มหาชน) สอบเทียบเครื่องมือวัด (A ie ectric Tester) หมายเหตุ นายอารีพงศ ภูชอุม แกบริษัท ปตท จํากัด ลาออกจากตําแหนงกรรมการ (มหาชน) บริษัท ปตท จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม โดยมีผลตั้งแตวันที่ - ยอดลูกหนี้คงคาง กุมภาพันธ 2559 เปนตนไป

ความสัมพันธ

บริษัท ปตท จํากัด (มหาชน)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

642 93 156 6

63 92 5 44

49 21 5

9 161 31 16 1

9 469 94 65 3

6 903 63 20 90

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 111


112 รายงานประจําป 2559

สถาบันการบินพลเรือน

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

0 06 0 00

46 3 0 00

กระทรวงการคลังซึ่งเปน 1 บริษัทฯ จัดสงนักบินบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ไปอบรมดานกิจการบิน จากสถาบันการบินพลเรือน มีอํานาจควบคุมสถาบัน - ยอดคาใชจายรวม การบินพลเรือน - ยอดเจาหนี้คงคาง 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบินแกสถาบัน การบินพลเรือน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

93 9 11 16

01 0 12

55 6 0 00

9 21 29

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

2 บริษัทฯ มีรายไดจากการ ขายบัตรโดยสารเครื่องบิน และไดรับสวนแบงรายได 2 จากการเรียกเก็บคา ธรรมเนียมการใชสนามบิน (Passenger Service arges) ใหกับบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

ความสัมพันธ

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา


บริษัทฯ เปนผูถ อื หุน รายใหญ 1 บริษัทฯ ใหเงินกูยืมระยะสั้น แกบริษัท วิงสแปน ของบริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด เซอรวสิ เซส จํากัด โดยถือหุน - เงินกูยืมระยะสั้น ประมาณรอยละ 49 และ - ดอกเบีย้ รับ มีอํานาจควบคุม - ดอกเบีย้ คางรับ ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอกกนก ทองเผือก 2 บริษัทฯ ซือ้ บริการจัดสง ดํารงตําแหนง ประธาน กรรมการ นางอุษณีย พนักงานแรงงานภายนอก แสงสิงแกว ดํารงตําแหนง เพื่อปฏิบัตงิ านในบริษัทฯ รองประธานกรรมการ จากบริษัท วิงสแปน และนางสาวปยาณี สังขทอง เซอรวิสเซส จํากัด ดํารงตําแหนงกรรมการของ - ยอดคาใชจายรวม บริษัท วิงสแปน เซอรวสิ เซส - ยอดเจาหนี้คงคาง จํากัด

บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด (บริษัทยอย)

บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน และใหบริการเชา พื้นที่สํานักงานและอุปกรณ คอมพิวเตอร แกบริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสต เอเชีย จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง - เงินมัดจําคาเชาพื้นที่

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

บริษัทฯ เปนผูถือหุน รายใหญของบริษัท ไทยอะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด โดยถือหุนประมาณ รอยละ 55 ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก นายณรงคชยั วองธนะวิโมกษ ดํารงตําแหนงประธาน กรรมการของบริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสต เอเชีย จํากัด

ความสัมพันธ

บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด (บริษัทยอย)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

950 0 2 6

0 00 0 00 0 00

1 35 0 15 0 16

60 06 2 6 36

0 00 0 99 0 11

16 0 11 0 16

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 113


114 รายงานประจําป 2559

บริษัท ไทยไฟลท เทรนนิ่ง จํากัด (บริษัทยอย)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

บริษัทฯ เปนผูถ อื หุน รายใหญ ของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด โดยถือหุน ประมาณ รอยละ 49 และมีอํานาจ ควบคุม ผูบ ริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารงตําแหนง ประธานกรรมการของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด เรืออากาศเอก กนก ทองเผือก และนายอริชยั นุม ลมุล ดํารง ตําแหนงกรรมการของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด หมายเหตุ เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารง ตําแหนงประธานกรรมการ ของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ใหบริการใชเครื่องมือ และอุปกรณในการฝกอบรม ดานการบินและใหบริการเชา พื้นที่สํานักงาน และอุปกรณ สํานักงาน แกบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง 13 5 11

249 04

4 บริษัทฯ จายคาแรงลวงหนา ใหแกบริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด - ยอดลูกหนี้คงคาง

9 03 0 1

209 55

4 13 1 0

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

2 2 15

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

หมายเหตุ นางสาวปยาณี 3 บริษัทฯ ใหบริการเชาพื้นที่ สังขทอง ดํารงตําแหนง สํานักงานและอุปกรณ กรรมการของ บริษัท วิงสแปน สํานักงาน แกบริษัท เซอรวสิ เซส จํากัด วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2559 - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

ความสัมพันธ

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา


บริษัทฯ เปนผูถ อื หุน รายใหญ 1 บริษัทฯ จายเงินคาหุน สามัญ ใหแก บริษัท ไทยสมายล ของบริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด รอยละ 100 แอรเวย จํากัด กรรมการของบริษัทฯ ไดแก - จํานวนเงิน นายคณิศ แสงสุพรรณ ดํารง ตําแหนงประธานกรรมการ 2 บริษัทฯ ซื้อบริการ B ock S ace จากบริษัท ของบริษัท ไทยสมายล ไทยสมายล แอรเวย จํากัด แอรเวย จํากัด - ยอดคาใชจายรวม ผูบ ริหารของบริษัทฯ ไดแก - ยอดเจาหนี้คงคาง นายจรัมพร โชติกเสถียร เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง และนายธีรพล โชติชนาภิบาล ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด

บริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด (บริษัทยอย)

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

บริษัทฯ ถือหุนผานบริษัท 1 บริษัทฯ จายคาตอบแทน วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด ( o ission) จากการ ประมาณรอยละ 49 และ จําหนายผลิตภัณฑของ มีอํานาจควบคุม บริการเอื้องหลวง แกบริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด หมายเหตุ ผูบริหารของบริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม คือ เรืออากาศเอก กนก - ยอดเจาหนี้คงคาง ทองเผือก ไดรบั การแตงตัง้ จาก บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส 2 บริษัทฯ ขายทัวรเอื้องหลวง จํากัด ใหไปดํารงตําแหนง ใหแกบริษัท ทัวรเอื้องหลวง ประธานกรรมการในบริษัท จํากัด ทัวรเอื้องหลวง จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

ความสัมพันธ

บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด (บริษัทยอย)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

143 10 1 363 65

112 49 5 015 93

0 00

49 46 0

30 01 1 16

1 000 00

0 05 0 00

0 06 0 00

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 115


116 รายงานประจําป 2559

บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด (บริษัทรวม)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชัน่ แนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด ประมาณรอยละ 40 ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอก กนก ทองเผือก ดํารงตําแหนง ประธานกรรมการ นายนิรุ มณีพันธ และ เรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชัน่ แนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด

ความสัมพันธ

บริษัทฯ ซื้อบริการหองพักของ บริษัท ดอนเมือง อินเตอร เนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด สําหรับผูโดยสารของ บริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง

3 บริษัทฯ ใหบริการเชา เครื่องบิน นํ้ามันเครื่องบิน บริการภาคพื้นดิน ลานจอด สนามบิน คาเบี้ยประกัน เครื่องบิน บัตรผานขึ้น เครื่องบิน ฝกนักบินใช เครื่องบินจําลอง และ อาหารขึ้นเครื่องบิน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

0 05 0 00

1 3 20 6 060 39

0 15 0 00

5 514 59 104 09

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา


บริษัท บริการเชื้อเพลิง การบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (บริษัทรวม)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

1 บริษัทฯ ซื้อบริการเติมนํ้ามัน บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท เครื่องบินจากบริษัท บริการ บริการเชื้อเพลิงการบิน เชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) จํากัด (มหาชน) ประมาณรอยละ 22 59 - ยอดคาใชจายรวม ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง - ยอดเจาหนี้คงคาง เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร และเรืออากาศโท 2 บริษัทฯ มีการใหบริการ สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารง ขนสงและการบริการดาน ตําแหนงกรรมการของบริษัท อาหารใหแกบริษัท บริการ บริการเชื้อเพลิงการบิน เชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม หมายเหตุ เรืออากาศเอก - ยอดลูกหนี้คงคาง วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารง ตําแหนงกรรมการ ของบริษัท บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2559 และเรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารง ตําแหนงกรรมการของบริษัท บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 9 พ ศจิกายน 2559

หมายเหตุ เรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559

ความสัมพันธ

310 50 36 15

0 02 0 00

3 6 12 43 45

0 02 0 00

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 117


118 รายงานประจําป 2559

1 บริษัทฯ ซื้ออาหารและ บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท บริการจากบริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด ครัวการบินภูเก็ต จํากัด ประมาณรอยละ 30 - ยอดคาใชจายรวม ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก - ยอดเจาหนีค้ งคาง นางอุษณีย แสงสิงแกว ดํารงตําแหนง ประธาน กรรมการของบริษัท 2 บริษัทฯ มีรายไดจาก ครัวการบินภูเก็ต จํากัด การขายวัตถุดิบและการให บริการแกบริษัท ครัวการบิน ภูเก็ต จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด (บริษัทรวม)

บริษัทฯ ซื้อบริการหองพักของ บริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) สําหรับผูโดยสารของบริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ประมาณรอยละ 24 ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก นายธีรพล โชติชนาภิบาล ดํารงตําแหนง กรรมการของ บริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

ความสัมพันธ

บริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (บริษัทรวม)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

19 06 0 00

1 60 0 004

01 0 02

1 12 0 02

15 99 5 05

2 22 0 003

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา


บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท 1 บริษัทฯ ชําระคาบริการ สายการบินนกแอร จํากัด อุปกรณ บริการภาคพื้นที่ (มหาชน) รอยละ 39 20 จังหวัดอุบลราชธานี และคา ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก ngineer icence ของ นายจรัมพร โชติกเสถียร บริษัทสายการบินนกแอร เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง จํากัด (มหาชน) - ยอดคาใชจายรวม นายธีรพล โชติชนาภิบาล - ยอดเจาหนี้คงคาง และนายณรงคชัย วองธนะวิโมกษ ดํารงตําแหนง กรรมการ ของบริษัท สายการบิน นกแอร จํากัด (มหาชน)

บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) (บริษัทรวม)

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

1 บริษัทฯ ซื้อบริการหองพัก บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท จากบริษัท โรงแรม โรงแรมทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ จํากัด ประมาณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด สําหรับผูโดยสาร รอยละ 30 ของบริษัทฯ ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก นางอุษณีย แสงสิงแกว ดํารง - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง ตําแหนง รองประธาน กรรมการ และนางสาวปยาณี สังขทอง ดํารงตําแหนง 2 บริษัทฯมีรายไดจากการ กรรมการของบริษัท โ ษณาในแผนโ ษณาของ โรงแรมทาอากาศยาน บริษัท ทัวรเอื้องหลวง สุวรรณภูมิ จํากัด จํากัด - ยอดรายไดรวม หมายเหตุ นางสาวปยาณี สังขทอง ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท โรงแรม ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2559

ความสัมพันธ

บริษัท โรงแรม ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด (บริษัทรวม)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

0 16 0 03

0 00

0 02

0 09 0 00

23 43 0 34

14 01 0 0

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 119


120 รายงานประจําป 2559

บริษัท วิทยุการบิน แหงประเทศไทย จํากัด (บริษัทรวมลงทุน)

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

1 บริษัทฯ ซื้อบริการนํารอง กระทรวงการคลังเปน ผูถือหุนรายใหญของบริษัท ( avigation) และเชา วิทยุการบินแหงประเทศไทย อุปกรณสื่อสารจากบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด และของบริษัทฯ จํากัด บริษัทฯ ถือหุนประมาณ รอยละ 1 01 ในบริษัท วิทยุ - ยอดคาใชจายรวม การบินแหงประเทศไทย จํากัด - ยอดเจาหนี้คงคาง ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เรืออากาศเอก วีระศักดิ เครื่องบิน และใหบริการ วิรุ หเพชร ดํารงตําแหนง ขนสงแกบริษัท วิทยุการบิน กรรมการของบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย แหงประเทศไทย จํากัด - ยอดรายไดรวม จํากัด - ยอดลูกหนี้คงคาง หมายเหตุ เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารง ตําแหนงกรรมการบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2559

2 บริษัทฯ ใหบริการเชา หมายเหตุ นายธีรพล เครื่องบินและใหบริการดาน โชติชนาภิบาล ดํารงตําแหนง ธุรกิจการบิน แกบริษัท กรรมการของบริษัท สายการบินนกแอร จํากัด สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ เมษายน (มหาชน) ทัง้ นี้ รายไดจาก การใหบริการดานธุรกิจ 2559 การบิน โดยหลักประกอบดวย คาซอมบํารุงอากาศยาน คาซอมบํารุงอุปกรณ คานํ้ามันเครื่องบิน เปนตน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

ความสัมพันธ

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

1 16 4 132 99

16 44 0 32 11 50 0 04

195 49 3 22

1 63 95 133

12 66 40 54

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา


1 033 30 52 9 460 00

บริษัทฯ ขายเครื่องบินแบบ A340-500 จํานวน 1 ลํา และใหบริการซอมบํารุงเครื่อง บิน เครื่องยนต อะไหล เครื่องบิน และอื่นๆ ใหแก กองทัพอากาศ หมายเหตุ พลอากาศเอก ตรีทศ - ขายทรัพยสินพรอม บริการซอมบํารุง สนแจง เกษียณอายุราชการ - ยอดรายไดรวม เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2559 - ยอดลูกหนี้คงคาง 0 00 514 54 95 9

5 2 45 0 64

526 01 0 06

กรรมการบริษัทฯ ไดแก พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง ดํารงตําแหนง ผูบัญชาการ ทหารอากาศ ของกองทัพ อากาศ

5 6 0 6

สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558

6 2 1 52

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

1 บริษัทฯ วาจางพิมพ For กรรมการบริษัทฯ ไดแก T ai and ard เพื่อ พลตํารวจเอก จักรทิพย บริการผูโดยสาร ชัยจินดา ดํารงตําแหนง ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง ของสํานักงานตํารวจ แหงชาติ 2 บริษัทฯ รับจางซอมบํารุง ปรับปรุงเ ลิคอปเตอร ฝกอบรมชางประจําป 2559 และอื่นๆ - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง

ความสัมพันธ

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน

เงื่อนไข นโยบายราคา

ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีรายการระหวางกันที่เปนคาใชจายเกี่ยวกับบริการสาธารณูปโภคตางๆ (ซึ่งประกอบดวย คาไฟฟา ประปา และโทรศัพท) ที่บริษัทฯ มีการทํารายการกับหนวยงาน ของรัฐ และ หรือรัฐวิสาหกิจที่ทําหนาที่เปนผูใหบริการสาธารณูปโภคตางๆ ดังกลาว เปนจํานวนเงิน 63 3 ลานบาท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และมียอดคงคาง 3 9 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

กองทัพอากาศ

สํานักงานตํารวจแหงชาติ

นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง

มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)

รายการระห างกัน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 121


ความจาเปนและความสมเหตุสมผล ของรายการระหวางกัน

สําหรับการเขาทํารายการระหวางกันขางตนนั้น บริษัทฯ มี วัตถุประสงคเพือ่ กอใหเกิดประโยชนสงู สุด โดยเปนการดําเนิน การตามปกติของธุรกิจ ทั้งนี้ ราคาที่ซื้อ ขาย หรือให รับ บริการจากบริษัทที่เกี่ยวของ เปนไปตามขอตกลง ซึ่งกอให เกิดประโยชนแกทั้งบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวของ โดยมิไดมี วัตถุประสงคในการถายเทผลประโยชนระหวางกัน หรือมี รายการใดๆ เปนพิเศษ

ขันตอนการอนุมัติการทารายการ ระหวางกัน

การเขาทํารายการระหวางกันขางตน เปนไปตามธุรกิจปกติ ของบริษัทฯ และไดดาํ เนินการอนุมตั ติ ามขัน้ ตอนของบริษัทฯ ซึ่งมีมาตรการที่รัดกุมของระเบียบราชการและรัฐวิสาหกิจ ทัง้ นี้ กรรมการและผูบ ริหารทีม่ สี ว นไดเสียในเรือ่ งนัน้ ๆ จะไมมี สวนในการอนุมัติการทํารายการ

122 รายงานประจําป 2559

นโยบายการทารายการระหวางกัน ในอนาคต

คณะกรรมการตรวจสอบและบริษัทฯ จะรวมกันดูแลรายการ ระหวางกันดังกลาวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตวาจะเปนไปดวย ความสมเหตุสมผลและมีอัตราตอบแทนที่ยุติธรรม พรอมทั้ง ผานการอนุมัติตามขั้นตอนและก ระเบียบที่เกี่ยวของอยาง ถูกตอง และจะเปดเผยชนิดและมูลคาของรายการระหวางกัน ของบริษั ทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงภายใตประกาศ และขอบังคับของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย (ก ล ต ) คณะกรรมการกํากับตลาดทุน สํานักงาน ก ล ต และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท )



อมู ทาง

การเงนที่สาคั ขอมูลทางการเงนโดยสรุป งบการเงินรวม ป 2559

งบกา ร า ุน รายไดรวม คาใชจายรวม กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ งบ ุล รวมสินทรัพย รวมหนี้สิน รวมสวนของผูถือหุน หุน จํานวนหุนสามัญที่ออกและชําระแลว มูลคาหุนที่ตราไว กําไร (ขาดทุน) สุทธิตอหุน เงินปนผลจายตอหุน อัตราส น างการ งิน อัตรากําไร (ขาดทุน) สุทธิตอรายไดรวม(1) อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพย(2) อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน(3) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน(4) หมายเหตุ

(1)

ป 2558

ป 255

(ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท)

1 1 446 1 2 63 (1 41 ) 15 4

192 591 206 0 (14 116) (13 06 ) (13 04 )

203 9 220 62 (16 3 ) (15 612) (15 5 3)

(ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท)

2 3 124 249 536 33 5

302 4 1 269 545 32 926

30 26 265 9 1 41 296

(ลานหุน) (บาท) (บาท) (บาท)

21 2 10 00 0 01 -

21 2 10 00 (5 99) -

21 2 10 00 ( 15) -

(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (เทา)

0 03 13 01 50

(6 9) (2 ) (35 2) 5

( 1) (3 5) (31 ) 4

อัตรากําไร(ขาดทุน)สุทธิตอรายไดรวม เทากับ กําไร(ขาดทุน)สุทธิ รายไดรวม(ไมรวมอัตราแลกเปลี่ยน) อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพย เทากับ กําไร(ขาดทุน)กอนหักดอกเบี้ยและภาษี สินทรัพยรวมเ ลี่ย (3) อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน เทากับ กําไร(ขาดทุน)สุทธิ สวนของผูถือหุนเ ลี่ย (4) อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน เทากับ (เงินกูยืมระยะสั้น หนี้สินระยะยาวรวมสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป) สวนของผูถือหุน รายไดรวม รวมผลกําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (2)

124 รายงานประจําป 2559


อมล า การ น า

ผลการดาเนินงานในรอบ 5 ป จํานวนเครื่องบิน (ลํา) จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการบิน (ชั่วโมง ป) ปริมาณการผลิต (ลานตัน-กม ) (1) ปริมาณการขนสง (ลานตัน-กม ) อัตราสวนการบรรทุก (รอยละ) จํานวนผูโดยสาร (พันคน) ปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร (ลานที่นั่ง-กม ) ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (ลานที่นั่ง-กม ) อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร (รอยละ) (1) ปริมาณการผลิตพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กม ) ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กม ) อัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑ (รอยละ) จํานวนพนักงาน (คน) กําไร(ขาดทุน)กอนหักภาษีเงินได (ลานบาท)

ป 2559

ป 2558

ป 255

ป 2556

ป 2555

95 3 2 12 103 451 69 22 262 5 042 62 442 34 3 591 2 132 59 4 21 99 (1 41 )

95 3 4 31 11 3 249 69 4 21 249 34 9 60 93 29 3 514 2 091 59 5 22 64 (14 116)

102 3 0 309 12 346 1 62 5 19 096 2 969 5 194 6 9 3 12 2 45 64 5 24 952 (16 3 )

100 3 4 069 12 2 3 65 9 21 510 5 655 63 4 9 41 5 019 2 565 51 1 25 323 (12 929)

95 364 536 12 023 230 6 4 20 615 9 231 60 6 9 66 4 92 2 653 54 2 25 412 104

นิยามศัพททางดานการบิน

ปริมาณการผลิตรวมคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ ระวางบรรทุกของเครื่องบิน คูณ ระยะทางบิน ปริมาณการขนสงรวมคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ นํ้าหนักผูโดยสาร สัมภาระเกินพิกัด พัสดุ และไปรษณียภัณฑ คูณ ระยะทางที่ขนสง อัตราสวนการบรรทุก คือ ปริมาณการขนสง เทียบเปนรอยละของปริมาณการผลิต ปริมาณการผลิตดานผูโดยสารคิดเปน ที่นั่ง-กิโลเมตร คือ จํานวนที่นั่งผูโดยสาร คูณ ระยะทางบิน ปริมาณการขนสงผูโดยสารคิดเปน คน-กิโลเมตร คือ จํานวนผูโดยสาร คูณ ระยะทางที่ขนสง อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร คือ ปริมาณการขนสงผูโดยสาร เทียบเปนรอยละของปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร ปริมาณการผลิตพัสดุภัณฑคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ ระวางบรรทุกพัสดุภัณฑ คูณ ระยะทางบิน ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ นํ้าหนักพัสดุภัณฑที่ทําการขนสง คูณ ระยะทางที่ขนสง อัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑ คือ ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ เทียบเปนรอยละของปริมาณการผลิตพัสดุภัณฑ ระวางบรรทุกของเครื่องบิน คือ ปริมาณนํ้าหนักสูงสุดซึ่งเครื่องบินสามารถบรรทุกได นํ้าหนักในที่นี้ หมายถึง นํ้าหนักผูโดยสาร สัมภาระเกินพิกัด พัสดุและไปรษณียภัณฑ

(1)

ในป 255 บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงคาสถิติการคํานวณนํ้าหนักเ ลี่ยผูโดยสารรวมสัมภาระ (Free Baggage A o ance) จาก 90 กิโลกรัมตอคน เปน 100 กิโลกรัมตอคน เพื่อใหคาสถิติของบริษัทฯ สามารถเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมการบิน ที่เปลี่ยนแปลง โดยไดทําการปรับคาสถิติของป 255 ใหเปนฐานเดียวกันเพื่อการเปรียบเทียบ แตไมไดยอนปรับคาสถิติ ของป 2555-2556

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 125


รายงานความรับผิด อบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงน คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ค วามตระหนั ก ถึ ง หน า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบในฐานะกรรมการของบริษั ทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในการกํากับดูแลรายงาน ทางการเงินประจําป 2559 ของบริษั ทฯ มีการปองกันการ ทุจริตและการดําเนินการที่ผิดปกติ รวมทั้งไดถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยใชนโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ ตลอดจนมีการ พิจารณาถึงความสมเหตุสมผล และความรอบคอบในการ จัดทํางบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอยและงบการ เงินเ พาะบริษั ทฯ รวมถึงขอมูลสารสนเทศทางการเงิน ที่ ปรากฏในรายงานประจําป 2559 โดยงบการเงินดังกลาวได ผานการตรวจสอบและใหความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขจาก ผูสอบบัญชีรับอนุญาตที่เปนอิสระ ดังนั้น เพื่อใหสามารถสะทอนฐานะทางการเงิน และผลการ ดําเนินงานไดอยางถูกตอง โปรงใสและเปนประโยชนตอผูมี สวนไดเสีย อีกทั้งมีความเชื่อมั่นตอรายงานทางการเงินของ บริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงไดแตงตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระผูซ งึ่ มีคณุ สมบัตคิ รบถวน ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทําหนาที่ สอบทานใหบริษั ทฯ มีการรายงานทางการเงิน และการ

(นายอาร�พงศ ภูชอุม) ประธานกรรมการ

126 รายงานประจําป 2559

ดําเนินงานอยางถูกตองเพียงพอ มีการเปดเผยขอมูลรายการที่ เกีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน อยางโปรงใส ถูกตอง และครบถวน รวมทั้งใหมีระบบบริหาร ความเสี่ยง การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และ การกํ ากั บ ดู แ ลที่ เ หมาะสมและมี ประสิ ท ธิ ผ ล ตลอดจนมี ความครบถ ว นเพี ย งพอ และเหมาะสมของกระบวนการ ติดตามการปฏิบัติตามก หมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบาย ตางๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย คณะกรรมการบริษั ทฯ มีความเห็นวา งบการเงินรวมของ บริษัทฯ และบริษัทยอย และงบการเงินเ พาะบริษัทฯ สําหรับ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ที่คณะกรรมการตรวจสอบ ไดสอบทานรวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีไดแสดงฐานะ การเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด ถูกตอง ครบถวน เชื่อถือได ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยมี การใชนโยบายการบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอยาง สมํ่าเสมอ ใชดุลพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการ อยางรอบคอบ สมเหตุสมผล รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูล อยางโปรงใสเพียงพอ และปฏิบัติถูกตองตามก หมายและ ก ระเบียบที่เกี่ยวของ

(นางอุษ ย

ง ิง ก )

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  หน ยธุรกิจบร�การการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห 


อมล า การ น า

รายงานสรุปกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษั ท การบิ นไทย จํ า กั ด (มหาชน) ประกอบด ว ยกรรมการอิ ส ระจํ า นวน 4 ท า น ซึ่ ง เป น ผู  ท รงคุ ณ วุ ิ แ ละมี ป ระสบการณ ด  า น ก หมาย การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและงบประมาณการ บริหารความเสี่ยง และการสอบทานความนาเชื่อถือของ งบการเงิน ปจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวย นายวีระวงค จิตตมติ รภาพ เปนประธานกรรมการตรวจสอบ พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย และ นายรัฐพล ภักดีภูมิ เปนกรรมการตรวจสอบ ในป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวมกับ ผูสอบบัญชี ผูตรวจสอบภายใน และผูบริหารระดับสูงที่ เกี่ยวของ รวม 10 ครั้ง ซึ่งเปนการประชุมตามที่กําหนดไว ครั้ง และเปนการประชุมวาระพิเศษ 2 ครั้ง โดยการ ประชุมทุกครั้งคณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่อยาง เปนอิสระ ตามขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบที่ระบุไวใน ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและ หนวยตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ พ ศ 2555 และตาม แนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ สอดคลอง กับขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งนี้ การเขารวมประชุมของกรรมการ แตละทานไดรายงานไว ในหัวขอการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ไดรายงานสรุปประเด็น ที่สําคัญและความเห็นของคณะ กรรมการตรวจสอบตอคณะกรรมการบริษั ทฯ ตามที่เห็น สมควร โดยมีสาระสําคัญดังนี้ การสอบ านรา งาน างการ งิน คณะกรรมการตรวจสอบ ไดสอบทานงบการเงินราย ไตรมาส และงบการเงินประจําป ของบริษั ทฯ และงบการเงินรวม รวมถึงรายการระหวางกัน รวมกับผูบริหาร สายการเงินและการบัญชี และผูสอบบัญชี เพือ่ พิจารณารายงานทางการเงิน การเปดเผยขอมูลประกอบ งบการเงิ น นโยบายการบั ญ ชี แ ละประมาณการที่ สํ า คั ญ ขอสังเกตจากการตรวจสอบและสอบทานงบการเงินของ ผูสอบบัญชี รวมทั้งไดพิจารณาคําอธิบายและการวิเคราะห ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ คณะ กรรมการตรวจสอบไดขอความเห็นผูสอบบัญชีในเรื่องความ ถูกตอง ครบถวนของงบการเงิน ความเหมาะสมของวิธีการ บันทึกบัญชีและเปดเผยขอมูล รวมทัง้ รายการปรับปรุงบัญชี

ทีส่ าํ คัญ เพือ่ ใหมนั่ ใจวางบการเงินมีความถูกตองตามทีค่ วรใน สาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับผูสอบบัญชี เปนการเ พาะ 1 ครั้ง โดยไมมีผูบริหารเขารวม เพื่อหารือ เกี่ยวกับความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่และการแสดง ความเห็นของผูส อบบัญชี นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ไดหารือเกี่ยวกับมาตรฐานการสอบบัญชี เรื่องรายงานของ ผูส อบบัญชีแบบใหม ซึง่ จะมีผลบังคับใชสาํ หรับการตรวจสอบ งบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เปนตนไป การสอบ านค าม พ งพอ ล ร สิ ธิผล องร บบ การค บคุมภา น ล การบริหารค าม ส ง คณะกรรมการ ตรวจสอบไดพจิ ารณารายงานผลการตรวจสอบจากสํานักงาน การตรวจสอบภายใน ผลการจัดทําแบบประเมินการควบคุม ภายในดวยตนเอง ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงิน แผนดิน วาดวยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ ศ 2544 ซึ่งอางอิงตามมาตรฐาน o ittee o S onsoring rgani ation o T e Tread ay o ission S 2013 และไดนําเสนอขอสังเกตจากการสอบทานการประเมินผล การควบคุมภายในของผูตรวจสอบภายในตอคณะกรรมการ บริษั ทฯ โดยขอใหฝายบริหารจัดทําแผนการปรับปรุงที่เปน รูปธรรมและมีกําหนดเวลาแลวเสร็จที่ชัดเจน ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับฝายบริหารทัง้ คณะ 1 ครั้ง และไดเชิญผูบริหารระดับสูงเขาชี้แจงและรวม หารือในวาระทีเ่ กีย่ วของตามความเหมาะสม เพือ่ หารือเกีย่ วกับ การดําเนินงานของบริษั ทฯ ประเด็นขอตรวจพบตางๆ ที่มี นัยสําคัญ โดยไดเนนยํา้ ใหผบู ริหารตระหนักถึงความรับผิดชอบ ในการควบคุมความเสี่ยง รวมทั้งการเรงรัดปรับปรุงการ ดําเนินการตามขอเสนอแนะในรายงานการตรวจสอบ นอกจากนี้ ผูอํานวยการใหญฝายบริหารความเสี่ยงไดเขา รวมประชุมกับคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ รายงานเกีย่ วกับ ความเสีย่ งทีส่ าํ คัญของบริษัทฯ และแนวทางในการดําเนินการ บริหารจัดการความเสี่ยงดังกลาวเปนประจําทุกป

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 127


การกากั บ ู ลงานตร สอบภา น คณะกรรมการ ตรวจสอบได ใ ห แ นวทางในการจั ด ทํ า แผนการตรวจสอบ และไดพิจารณาอนุมัติแผนการตรวจสอบของสํานักงานการ ตรวจสอบภายใน รวมทั้งไดรับทราบผลการดําเนินงาน และ ปญหาอุปสรรคตางๆ ของสํานักงานการตรวจสอบภายในทุก ไตรมาส

ทีผ่ า นกระบวนการอนุมตั อิ ยางโปรงใส โดยผูม สี ว นไดเสียไมได มีสว นรวมในการตัดสินใจ และเปนรายการทีก่ ระทําโดยคํานึง ถึงผลประโยชนของบริษัทฯ เสมือนการทํารายการกับบุคคล ภายนอก ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดรับทราบรายงาน รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทุกไตรมาส รวมทัง้ ไดสอบทานการเปด เผยขอมูลรายการระหวางกันวาเปนไปอยางถูกตอง ครบถวน

คณะกรรมการตรวจสอบไดแนะนําใหสาํ นักงานการตรวจสอบ ภายในพิจารณาวิธีการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (Work S arter) โดยลดขั้นตอนการปฏิบัติงานฯ ที่ ไมจําเปนลง แตตองไมกระทบตอคุณภาพของการปฏิบัติงานตรวจสอบ และไดใหขอแนะนําในการดําเนินการแกไขสําหรับประเด็น จากรายงานการตรวจสอบที่มีนัยสําคัญ เพื่อใหผูบริหารมี การควบคุมภายในที่เพียงพอ รวมทั้งไดรายงานเรื่องที่มี ความสําคัญตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบดวย

ก บั ต ร ล การ ร มิ น ตน อง องค กรรมการ ตร สอบ คณะกรรมการตรวจสอบไดทบทวนก บัตรคณะ กรรมการตรวจสอบ รวมทั้งไดประเมินผลการปฏิบัติงาน ดวยตนเองตามแนวทางปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และคูม อื ปฏิบตั สิ าํ หรับคณะกรรมการตรวจสอบ ในรัฐวิสาหกิจ ( บับปรับปรุงป 2555) โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบไดประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองทั้งคณะ และเปนรายบุคคล ผลการประเมินสรุปไดวา คณะกรรมการ ตรวจสอบ ไดปฏิบัติงานตามหนาที่ความรับผิดชอบอยาง รอบคอบและเปนอิสระ สอดคลองตามแนวทางปฏิบัติที่ดี และก บัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ

นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานงบประมาณ ประจําปของหนวยงานตรวจสอบภายใน การประเมินความ เพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร ดัชนีวัดผลการ ปฏิบัติงาน พิจารณาความดีความชอบประจําปของหัวหนา ผูบริหารงานตรวจสอบ รวมทั้งสนับสนุนใหมีการประเมิน คุณ ภาพการตรวจสอบภายในโดยผูเชี่ยวชาญที่เปนอิสระ ( xterna Assess ent)

การ สนอ ตงตังผูสอบบั คณะกรรมการตรวจสอบ นําเสนอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อพิจารณาและขออนุมัติ จากที่ประชุมผูถือหุนแตงตั้ง สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง ) เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ประจําป 2560

การสอบ านการ ิบัติตามก หมา ก ร บ บ ล อกาหน ก อง คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการ ประชุม และรับทราบรายงานจากสายทรัพยากรบุคคลและ กํากับกิจกรรมองคกร ซึ่งทําหนาที่ กํากับ ติดตามการปฏิบัติ งานของหนวยงานตางๆ ใหเปนไปตามก หมาย ก ระเบียบ และขอกําหนดที่เกี่ยวของ เพื่อรับทราบและใหขอเสนอแนะ ในการดําเนินการพั นาปรับปรุงกระบวนการกํากับติดตาม ดังกลาว

จากการดําเนินการ ตามขอบเขตอํานาจหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมาย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ ไดจัดทํางบ การเงินอยางถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน การทําธุรกรรมรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน เปนไปอยางสมเหตุผลและมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ บริษั ทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ มีการปฏิบัติ ตามก หมาย ก ระเบียบ และขอกําหนดทีเ่ กีย่ วของโดยไมพบ ขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ

การพิ าร ารา การ ก งกั น คณะกรรมการ ตรวจสอบมี บ ทบาทในการสอบทานและให ค วามเห็ น ต อ การทํารายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพือ่ ใหมนั่ ใจวา เปนรายการ

ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ตามที่ ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษั ทฯ ดวยความยึดมั่นใน ความถูกตอง เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบ โปรงใส และ เปนอิสระ เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ

(นาย �ระ ง  จ� มิ รภาพ) ประธานกรรมการ ร จ อบ ันท 2 กุมภาพันธ 25

128 รายงานประจําป 2559


การวิ ราะ และ

า ธ า

า จ การ

คาอธิบายผลการดาเนินงานและการวิเคราะห านะทางการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

1. บทสรุปผูบริหาร

ภาพรวมเศรษฐกิจโลกในป 2559 ฟนตัวอยางคอยเปนคอยไป โดยเศรษฐกิจสหรัฐฯ ฟนตัวตอเนื่อง เศรษฐกิจยุโรปยังมี ความไมแนนอนภายหลังการที่สหราชอาณาจักรตัดสินใจออกมาจากสหภาพยุโรป (Brexit) ในขณะที่เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนม การขยายตัวทีด่ ขี นึ้ จากภาคการสงออก และการชะลอการปรับเพิม่ ขึน้ ของอัตราภาษีมลู คาเพิม่ แตยงั คงมีปญ  หาจากการใชจา ย ภายในประเทศ ในขณะเดียวกันมีการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศจีนและอาเซียน ราคานํ้ามันยังอยูในระดับตํ่าถึงแมวาจะ เริ่มปรับตัวเพิ่มขึ้นในชวงปลายป 2559 เนื่องจากกลุมประเทศผูผลิตนํ้ามันยังคงกําลังการผลิตไวที่ระดับสูง เศรษฐกิจไทยในป 2559 ปรับตัวดีขึ้นโดยมีแรงสนับสนุนจากการใชจาย และการลงทุนภาครัฐ ทั้งมาตรการเรงรัดเบิกจาย การลงทุนขนาดเล็ก และโครงการลงทุนโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม ภาคการทองเที่ยวที่ขยายตัวไดดีโดยเปนนักทองเที่ยว ชาวจีน และกลุมประเทศ M เปนหลัก แมวาจะไดรับผลกระทบจากการลดลงของนักทองเที่ยวจีนบางจากการจัดระเบียบ ทัวรศนู ยเหรียญ และผลกระทบจากเหตุการณระเบิดในภาคใตของประเทศไทย ขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชนฟนตัวไดดเี มือ่ เทียบ กับปกอน ภาคการสงออกที่ฟนตัวดีขึ้นจากเศรษฐกิจของประเทศ คูคาหลักอยางอาเซียน และ M ที่มีทิศทางการขยายตัว ไดในเกณฑดี อุตสาหกรรมการบินของโลกยังคงเติบโตอยางตอเนือ่ ง จากขอมูลของสมาคมการขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA) ในป 2559 แสดงปริมาณการขนสงและปริมาณการผลิตดานผูโดยสารเพิ่มขึ้นจากปกอน 6 3 และ 6 2 ตามลําดับ และมี อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารเ ลี่ย 0 5 โดยสายการบินในตะวันออกกลาง และภูมิภาคเอเชียแปซิฟกมีอัตราการเติบโต สูงสุดที่ 11 และ 3 ทั้งนี้ปจจัยสําคัญที่มีผลตออัตราการเติบโตของปริมาณการขนสงผูโดยสารเกิดจากเศรษฐกิจโลกที่ ปรับตัวดีขึ้น ราคานํ้ามันที่อยูในระดับตํ่าซึ่งสงผลตอราคาบัตรโดยสารที่ปรับตัวลดลง อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมการบินของ โลกยังคงเผชิญกับความไมแนนอนทางเศรษฐกิจและการเมือง เหตุการณกอการรายที่มีอยางตอเนื่องในชวงครึ่งปแรก เชน เหตุการณระเบิดหลายจุดกลางกรุงจาการตาประเทศอินโดนีเซีย เหตุระเบิดสนามบินกรุงบรัสเซลสประเทศเบลเยียม เหตุการณ กอการรายทีเ่ มืองนีซประเทศฝรัง่ เศส และเหตุการณโจมตีสนามบินนานาชาติประเทศตุรกี เปนตน ถึงแมวา จะเริม่ ผอนคลายลง ในชวงครึ่งปหลัง ขณะที่ภาคการสงออกยังคงชะลอตัวจากการชะลอตัวของปริมาณการคาโลก แตเริ่มปรับตัวดีขึ้นในชวง ครึ่งปหลังของป 2559 สงผลใหอัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑปรับตัวลดลงจาก 44 1 ในปกอนเหลือ 43 0 ในปนี้ ภาพรวมของอุตสาหกรรมการบินของไทยมีแนวโนมเติบโตตอเนื่อง โดยมีปจจัยสนับสนุนที่สําคัญ ไดแก ปริมาณความ ตองการขนสงทางอากาศในตลาดเกิดใหม และการเกิดขึ้นของสายการบินตนทุนตํ่า รวมทั้งความพรอมของโครงสรางพื้นฐาน ที่รองรับการขยายตัว ทั้งนี้ การขยายตัวของอุตสาหกรรมการบินของไทยเปนไปในทิศทางเดียวกันกับอุตสาหกรรมการบิน ของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเ ยี งใตและของโลก ซึง่ สอดคลองกับจํานวนนักทองเทีย่ วชาวตางชาติทเี่ ดินทางเขามาประเทศไทย ในป 2559 จํานวน 32 6 ลานคน เพิ่มขึ้นจากปกอน 9 ในป 2559 บริษัทฯ ไดเขาสูระยะที่ 2 ของแผนปฏิรูปองคกรคือ “สรางความแข็งแกรงในการแขงขัน” โดยมีกลยุทธในการ ดําเนินงาน 4 ดาน ดังนี้ 1) การหารายได โดยเนนที่แผนการเพิ่มรายไดในทุกๆ ดาน 2) การลดคาใชจายและเพิ่มประสิทธิภาพ 3) การสรางศักยภาพในดานตางๆ เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน 4) การสรางความเปนเลิศในการบริการลูกคา โดยในป 2559 มีการดําเนินงานที่สําคัญดังนี้

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 129


การนําระบบเทคโนโลยีทเี่ ปนมาตรฐานสากลเขามาเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารรายได และการใหบริการ เชน ระบบ การบริหารราคาขายบัตรโดยสารอัตโิ นมัติ (Auto ated Fare Manage ent Syste ) เพือ่ กําหนดราคาขายใหสามารถแขงขัน กับคูแขงในระดับเดียวกันไดทันเวลา ระบบ usto er Re ations i Manage ent ( RM) เพื่อมุงบูรณาการใหการบริการ ในทุกจุดสัมผัสสูความเปนเลิศอยางครบวงจรตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดกระบวนการเดินทางของผูโดยสารเปนไปอยางราบรื่นและ เกิดความพึงพอใจสูงสุด และระบบการบริหารเครือขายเสนทางบิน (Route et ork Manage ent Syste ) เพื่อเพิ่มการ เชื่อมโยงเสนทางบินใหดีขึ้น เปนตน  การขยายเครือขายเสนทางบิน ( et ork x ansion) ดวยการเปดเสนทางบินใหม กรุงเทพฯ-เตหะราน ประเทศ อิหราน เมื่อ 1 ตุลาคม 2559 และเสนทางบินตรงจากภูเก็ต-แฟรงเฟรต เมื่อ 16 พ ศจิกายน 2559 รวมถึงกลับไปทําการบิน ในเสนทางกรุงเทพฯ-มอสโคว เมื่อ 15 ธันวาคม 2559 นอกจากนี้ยังเพิ่มความถี่ในเสนทางยุโรป เชน ลอนดอน บรัสเซลส และออสโล ในวันที่ 30 ตุลาคม 2559 พรอมกับขยายเสนทางบินใหครอบคลุมในภูมิภาคอาเซียน จีน และอินเดียโดยใช สายการบินไทยสมายลเปนเครื่องมือสําคัญเพื่อรองรับการเดินทางเชื่อมตอของผูโดยสารการบินไทยจากฐานการบินหลัก ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ  การเพิ่มศักยภาพฝูงบินดวยการรับมอบเครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 XWB จํานวน 2 ลํา โดยนํามาใหบริการใน เสนทางขามทวีปเปนหลัก เชน กรุงเทพฯ-โรม กรุงเทพฯ-มิลาน เปนตน  การดําเนินการขายเครือ ่ งบินและสงมอบเรียบรอยแลวจํานวน 5 ลํา ไดแก เอทีอาร 2 จํานวน 2 ลํา แอรบสั A330-300 2 ลํา และแอรบัส A340-500 1 ลํา  การรับพนักงานตอนรับบนเครื่องบินรุนใหม (รุน T 2016) จํานวน 565 อัตรา เพื่อรองรับการเติบโตที่เพิ่มขึ้น และเพื่อเปนการทดแทนอัตรากําลังที่ขาดไปของพนักงานตอนรับฯ ที่เขารวมโครงการ MSP และเกษียณอายุการทํางาน โดยชุดแรกเขาปฏิบัติงานในเดือน พ ศจิกายน 2559 และคาดวาจะครบเต็มอัตราในกลางปหนา  การจัดใหมีโครงการรวมใจจากองคกร (MSP) ตอเนื่องจากปกอนสําหรับพนักงานทุกระดับไมรวมนักบินและพนักงาน ตอนรับบนเครื่องบิน โดยมีผูเขารวมโครงการทั้งสิ้น 2 0 คน มีผล 1 มิถุนายน 2559 จํานวน 11 คน และ 1 กรก าคม 2559 จํานวน 269 คน  การปรับปรุงการบริการชั้นธุรกิจแบบใหม ( e Business ass Service) โดยเปนการปรับปรุงทั้งบุคลากร อาหาร และเครื่องดื่ม โดยมุงเนนการบริการที่แตกตางดวยตนทุนที่เหมาะสม และตรงตามความตองการของลูกคาเพื่อใหสามารถ แขงขันได โดยเริ่มดําเนินการตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2559 ในเสนทางกรุงเทพฯ-นาริตะ-กรุงเทพฯ และในปจจุบันสามารถ ดําเนินการไดในเสนทางยุโรป ญี่ปุน ตะวันออกกลาง ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด 

ทั้งนี้ จากการปรับปรุงการดําเนินงานในหลายๆ ดานดังกลาวไดประสบความสําเร็จอยูในระดับที่นาพอใจ ทั้งจากผล ประกอบการดานการเงินที่ดีขึ้น และผลการดําเนินงานดานอื่นๆ จนไดรับความพึงพอใจจากลูกคาในภาพรวมสูงขึ้น ซึ่ง สะทอนไดจากรางวัลที่บริษัทฯ ไดรับในปนี้ เชน รางวัลอันดับหนึ่งสายการบินยอดเยี่ยมของโลกถึง 2 รางวัลจากสกายแทรกซ (Skytrax A ard 2016) ไดแกรางวัลยอดเยี่ยมประเภทสายการบินที่มีการปรับปรุงคุณภาพการบริการดีขึ้นมากที่สุด (Wor d s Most I roved Air ine) และรางวัลประเภทสายการบินที่ใหบริการสปาเลาจนยอดเยี่ยม (Wor d s Best Air ine ounge S a) นอกจากนี้ยังไดรับรางวัลสายการบินยอดเยี่ยมแหงเอเชียตะวันออกเ ียงใตตอเนื่องเปนปที่ 10 (Best Sout - ast Asian Air ine 2016) จาก TT Trave A ards เปนตน ในป 2559 บริษัทฯ รับมอบเครื่องบิน A350-900XWB 2 ลํา และปลดระวางเครื่องบินเชาดําเนินงาน B -200 2 ลํา ทําใหฝูงบิน ณ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวน 95 ลํา เทากับ ณ สิ้นปกอน โดยมีอัตราการใชประโยชนของเครื่องบินเพิ่มขึ้นจาก 10 9 ชั่วโมง เปน 11 5 ชั่วโมงในปนี้ ปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร (AS ) เพิ่มขึ้น 1 9 ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (RP ) เพิ่มขึ้น 2 5 อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร ( abin Factor) เ ลี่ย 3 4 สูงกวาปกอนซึ่งเ ลี่ยที่ 2 9 และมีจํานวน ผูโดยสารที่ทําการขนสงรวมทั้งสิ้น 22 3 ลานคน เพิ่มขึ้นจากปกอน 4

130 รายงานประจําป 2559


การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ

ผลการดําเนินงานประจําป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีกาํ ไรจากการดําเนินงานจํานวน 4 0 1 ลานบาท ในขณะทีป่ ก อ น ขาดทุน 1 304 ลานบาท หรือดีขึ้นจากปกอน 412 2 สาเหตุหลักเนื่องจากคาใชจายรวมลดลง 13 565 ลานบาท ( 1 ) เปน ผลจากคานํ้ามันเครื่องบินลดลง 1 90 ลานบาท (2 3 ) โดยราคานํ้ามันเ ลี่ยลดลง 21 6 และการบริหารความเสี่ยงราคา นํ้ามันไดดีขึ้น ตนทุนทางการเงิน-สุทธิ ลดลง 431 ลานบาท ( ) จากการบริหารเงินสดและการปรับโครงสรางทางการเงิน แตคา ใชจา ยในการดําเนินงานไมรวมนํา้ มันสูงขึน้ 4 3 ลานบาท (3 9 ) สวนใหญเกิดจากคาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยาน เพิ่มขึ้น สําหรับรายไดรวมลดลง 190 ลานบาท (4 3 ) สาเหตุหลักเกิดจากรายไดคาโดยสารและนํ้าหนักสวนเกินลดลง 4 42 ลานบาท (2 9 ) จากการปรับลดอัตราคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน และรายไดอื่นๆ ลดลง 3 5 ลานบาท สาเหตุ หลักเกิดจากในปกอนไดรับเงินชดเชยคาเสียหายจากการสงมอบเกาอี้ผูโดยสารชั้นประหยัดลาชา ประมาณ 3 96 ลานบาท ในป 2559 บริษั ทฯ และบริษั ทยอย มีคาใชจายที่เกิดขึ้นครั้งเดียวที่สวนใหญเกิดจากการประมาณการคาซอมแซม เครื่องบินเชาดําเนินงานตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน จํานวน 1 31 ลานบาท คาใชจายจากการ ดําเนินการตามแผนปฏิรูป จํานวน 1 22 ลานบาท และผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยและเครื่องบิน 3 62 ลานบาท แตมีกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ 6 5 ลานบาท สงผลใหป 2559 บริษั ทฯ และบริษั ทยอยมีกําไรสุทธิ 4 ลานบาท โดยเปนกําไรสุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญ 15 ลานบาท คิดเปนกําไรตอหุน 0 01 บาท ในขณะที่ปกอนขาดทุน ตอหุน 5 99 บาท หรือดีขึ้นจากปกอน 100 2 ทั้งนี้ บริษัทฯ และบริษัทยอย มีกําไรกอนหักตนทุนทางการเงิน ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย และผลขาดทุน จากการดอยคาสินทรัพยและเครื่องบิน ( BIT A) จํานวน 24 56 ลานบาท สูงกวาปกอน 5 296 ลานบาท (2 1 ) โดยมี BIT A Margin เทากับ 13 เปรียบเทียบกับปกอนที่เทากับ 10 3

2. คาอธิบายและวิเคราะหผลการดาเนินงานป 2559

งบการเงินรวมของป 2559 ประกอบดวยงบการเงินเ พาะกิจการ และงบการเงินของบริษัทยอย 5 บริษัท ไดแก 1) บริษัท ไทย-อะมาดิอุสเซาทอีสตเอเชีย จํากัด 2) บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด 3) บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด 4) บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด และ 5) บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 131


ตารางแสดงขอมูลทางการเงินที่สาคั ( inancial Per or ance) งบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ม

นวย ลานบา

รา ร ม - คาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน - คาระวางขนสงและไปรษณียภัณฑ - รายไดการบริการอื่นๆ - อื่นๆ คา  า ร ม - คานํ้ามันเครื่องบิน - คาใชจายในการดําเนินงานไมรวมนํ้ามัน - ตนทุนทางการเงิน - สุทธิ กา ร า ุน ากการ า นินงาน หัก ประมาณการคาซอมแซมเครื่องบินเชาดําเนินงาน หัก คาใชจายตามแผนปฏิรูป หัก ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยและเครื่องบิน บวก กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)สุทธิ กา ร า ุน สุ ธิส น น องบริ ั ห กําไร(ขาดทุน) ตอหุน (บาท) อมูลการ า นินงาน สาคั BIT A (ลานบาท) จํานวนผูโดยสาร (ลานคน) ปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร (ลานที่นั่ง-กิโลเมตร) ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (ลานคน-กิโลเมตร) อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร () รายไดจากผูโดยสารเ ลี่ยตอหนวย (บาท คน-ก ม ) ปริมาณการผลิตดานพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กิโลเมตร) ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กิโลเมตร) อัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑ () นํ้าหนักพัสดุภัณฑขนสง (พันกก ) รายไดจากพัสดุภัณฑเ ลี่ยตอหนวย (บาท ตัน-กม ) เครื่องบินที่ใชดําเนินงาน ณ 31 ธ ค (ลํา) ชั่วโมงปฏิบัติการบิน (ชั่วโมง) อัตราการใชประโยชนเครื่องบินเ ลี่ย (ชั่วโมง ลํา วัน) อัตราแลกเปลี่ยนเ ลี่ย 1 S THB 1 R THB 100 P THB ราคานํ้ามันเ ลี่ย ( S BB )

ปลยนแปล 2559

2558

ลานบา

%

14 060 1 5 11 6 4 2 245

152 4 1 651 11 5 6 020

-4 42 -3 6 -3 5

-2 9 -0 4 0 -62

45 336 126 015 5 135

63 243 121 242 5 566

-1 90 4 3 -431

-2 3 39 -

1 31 1 22 3 62 65 (1 41 ) 4

-

4 16 12 15 3 512 (14 116) (13 04 )

1 31 -2 939 - 529 -2 2 12 699 13 094

- 05 - 02 - 05 90 0 100 4

0 01

(5 99)

6 00

100 2

24 56 22 26 5 042 62 442 34 2 35 3 591 2 132 59 4 5 9 29 1 95 3 2 11 5

19 560 21 25 34 9 60 93 29 2 46 3 514 2 091 59 5 559 2 3 45 95 3 4 31 10 9

5 296 1 01 1 563 1 549

30 546 -0 2 13 96 06

2 1 4 19 25 05 -4 5 22 20 -0 1 55 -3 2 3 55

35 2 9 39 034 32 5435 56 3

34 2 61 3 0611 2 33 9 23

1 0036 09 3 4 2046 -15 64

29 26 14 -21 6

-0 11 41

หมายเหตุ 1) BIT A รายได (ไมรวมกําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน) - คาใชจาย (ไมรวมตนทุนทางการเงิน ภาษี คาเสื่อมราคาและ คาตัดจําหนาย และผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยและเครื่องบิน) 132 รายงานประจําป 2559


การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ

รายได ในป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีรายไดรวมลดลง 190 ลานบาท (4 3 ) โดยมีรายละเอียดของรายได ดังนี้ 

รา คา สาร ล คานาหนักส น กิน

รายไดจากคาโดยสารและนํ้าหนักสวนเกิน ลดลง 4 42 ลานบาท (2 9 ) สาเหตุหลักเกิดจาก - รายไดจากผูโดยสารตอหนวย (รวมคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามันและคาเบี้ยประกันภัย) เ ลี่ยเทากับ 2 35 บาท RP ตํ่ากวาปกอน 0 11 บาท (4 5 ) ทําใหรายไดจากผูโดยสารลดลง 6 0 ลานบาท ทั้งนี้เงินบาทออนคาเมื่อเทียบกับเงิน สกุลที่เปนรายไดหลักทําใหรายไดเพิ่มขึ้นสวนหนึ่ง หากไมรวมผลของอัตราแลกเปลี่ยนรายไดจากผูโดยสารเ ลี่ยตอหนวย ประมาณ 2 31 บาท RP ลดลง 0 15 บาท (6 1 ) คิดเปนเงินประมาณ 9 366 ลานบาท สาเหตุหลักมาจากการปรับลดอัตรา คาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน (Fue Surc arge) ตามราคานํ้ามันที่ลดลง และการแขงขันที่รุนแรง - ปริมาณการขนสงผูโดยสาร เพิ่มขึ้น 2 5 คิดเปนเงินประมาณ 3 10 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นเกือบทุกเสนทาง โดยเ พาะเสนทางขามทวีป ไดแก เสนทางออสเตรเลีย และยุโรป รวมถึงเสนทางบินของสายการบินไทยสมายล ในขณะที่ บริษัทฯ มีปริมาณการผลิตดานผูโดยสารเพิ่มขึ้น 1 9 สงผลใหอัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร ( abin Factor) เ ลี่ย 3 4 สูงกวาปกอนซึ่งเ ลี่ย 2 9 ตารางแสดงขอมูลการดาเนินงานดานการขนสงผูโดยสาร จาแนกตามภูมิภาค บริษัทฯ และบริษัทยอย ปลยนแปล จากปกอน ปริมา การ ลิ

ภูมิภาคเอเชีย ขามทวีป ภายในประเทศ

42 -1 3 11

ปริมา การ น

04 3 13 6

อ รา วนการบรร ุก โ ย าร 2559

2558

1 54 1

45 1 0

ตารางแสดงขอมูลรายไดคาโดยสารและคานาหนักสวนเกิน จาแนกตามภูมิภาค บริษัทฯ และบริษัทยอย นวย ลานบา

รา ค า สาร ล คานาหนักส น กิน ภูมิภาคเอเชีย ขามทวีป ภายในประเทศ เที่ยวบินแบบไมประจํา ร มรา คา สาร ล คานาหนักส น กิน

ปลยนแปล 2559

2558

ลานบา

%

9 350 55 916 12 42 36

2 11 5 644 11 095 631

-2 6 -2 2 1 332 -264

-3 4 -4 12 0 -41

- รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกินสําหรับเสนทางบินในภูมิภาคเอเชีย มีจํานวน 9 350 ลานบาท ลดลงจาก ปกอ น 2 6 ลานบาท (3 4 ) โดยในป 2559 บริษัทฯ ไดขยายการผลิตเพือ่ รองรับการเติบโตของตลาดในภูมภิ าคเอเชีย โดยมี การเปดจุดบินใหมไปยังเมืองเตหะราน ประเทศอิหราน ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2559 และขยายเสนทางบินของสายการบิน ไทยสมายลใหครอบคลุมในภูมิภาคอาเซียน จีน และอินเดีย สงผลใหปริมาณการผลิตดานผูโดยสารเพิ่มขึ้น 4 2 ปริมาณ การขนสงผูโ ดยสารเพิม่ ขึน้ เพียง 0 4 สวนหนึง่ เกิดจากผลกระทบจากการจัดระเบียบทัวรศนู ยเหรียญ กับการแขงขันทีร่ นุ แรงใน เสนทางญีป่ นุ และตะวันออกกลาง ทําใหผโู ดยสารในเสนทางดังกลาวลดลงจากปกอ น โดยเพิม่ ขึน้ ในเสนทางบินของสายการบิน ไทยสมายล อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารลดลงจาก 4 5 ในป 255 เปน 1 ในป 2559 และมีรายไดเ ลี่ยตอหนวย ลดลง 2 สาเหตุหลักเกิดจากการแขงขันที่รุนแรง โดยเ พาะการเพิ่มขึ้นของสายการบินตนทุนตํ่าแบบ ong- au o ost และการปรับลดอัตราคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน (Fue Surc arge)

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 133


- รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกินสําหรับเสนทางบินขามทวีป มีจํานวน 55 916 ลานบาท ลดลงจากปกอน 2 2 ลานบาท (4 ) โดยมีปริมาณการผลิตลดลง 1 3 จากการหยุดทําการบินในหลายเสนทางบินในป 255 ตามแผน ปฏิรูปขั้นแรก ซึ่งในป 2559 บริษัทฯ ไดปรับตารางบินโดยมีการขยายการผลิตในเสนทางออสเตรเลียและยุโรปมากขึ้น รวมทั้ง เปดเสนทางบินตรงจากภูเก็ต-แฟรงเฟรต เมื่อ 16 พ ศจิกายน 2559 รวมถึงกลับไปทําการบินในเสนทางกรุงเทพฯ-มอสโคว เมื่อ 15 ธันวาคม 2559 เนื่องจากการฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศรัสเซีย ปริมาณการขนสงผูโดยสารเพิ่มขึ้น 3 โดย เพิ่มขึ้นในทุกเสนทาง อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารเพิ่มขึ้นจาก 1 ในป 255 เปน 5 4 ในป 2559 ขณะที่รายไดเ ลี่ย ตอหนวยลดลงจากปกอนประมาณ 5 - รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกินสําหรับเสนทางบินภายในประเทศ มีจํานวน 12 42 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากปกอน 1 332 ลานบาท (12 0 ) สาเหตุหลักเกิดจากปริมาณการขนสงผูโดยสารเพิ่มขึ้น 13 6 แตมีรายไดเ ลี่ยตอหนวย ลดลง 1 2 โดยมีสาเหตุสําคัญจากการแขงขันในตลาดจากสายการบินตนทุนตํ่าที่มีการลดราคาและแยงสวนแบงตลาด โดย การบินไทยไดใหสายการบินไทยสมายลทาํ การบินแทนในเสนทางบินภายในประเทศเพิม่ ขึน้ เชน เสนทางกรุงเทพฯ-สุราษ รธานี เชียงใหม-ภูเก็ต เปนตน โดยมีปริมาณการผลิตดานผูโ ดยสารเพิม่ ขึน้ 11 อัตราสวนการบรรทุกผูโ ดยสารเพิม่ ขึน้ จาก 0 ในป 255 เปน 1 ในป 2559 

รา คาร าง นสง ล คา ร

ภั

รายไดจากคาระวางขนสงและคาไปรษณียภัณฑลดลง 3 ลานบาท (0 4 ) เนือ่ งจากรายไดจากพัสดุภณ ั ฑตอ หนวย เ ลีย่ 1 บาท ลดลง 0 2 บาท (3 2 ) หรือประมาณ 5 5 ลานบาท สาเหตุสําคัญเกิดจากรายไดคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน ลดลงตามราคานํ้ามันที่ลดลง ถึงแมวาปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ (Revenue Freig t Ton- i o eters RFT ) เพิ่มขึ้น 2 0 คิดเปนเงินประมาณ 345 ลานบาท จากภาคการสงออกที่ฟนตัวดีขึ้นโดยเ พาะในชวงครึ่งปหลังของป 2559 โดยมีอัตราสวน การขนสงพัสดุภัณฑ (Freig t oad Factor) เ ลี่ย 59 4 ใกลเคียงกับปกอนที่เ ลี่ย 59 5 

รา อืน ลดลงจากปกอน จํานวน 3 5 ลานบาท (62 ) สาเหตุหลักจากในปกอนไดรับเงินชดเชยคาเสียหายจาก

บริษัท I Ho dings o td ( oito) จากการสงมอบเกาอี้ผูโดยสารชั้นประหยัดลาชาประมาณ 3 96 ลานบาท คาใ จ าย ในป 2559 บริ ั

ล บริ ั อ มีคาใชจายรวมลดลง 13 565 ลานบาท ( 1 ) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

คานามัน ครืองบิน ลดลง 1 90 ลานบาท (2 3 ) สาเหตุหลักจากราคานํ้ามันเครื่องบินเ ลี่ยตํ่ากวาปกอน 21 6 ถึงแมเงินบาทตอดอลลารสหรัฐฯออนคาทําใหคา นํา้ มันเมือ่ คํานวณเปนเงินบาทเพิม่ ขึน้ และมีคา ใชจา ยในการบริหารความเสีย่ ง ราคานํ้ามัน 6 604 ลานบาท ตํ่ากวาปกอน 63 6

คา  า า นินงาน มร มนามัน เพิ่มขึ้น 4 3 ลานบาท (3 9 ) โดยมีรายละเอียดดังนี้

134 รายงานประจําป 2559


การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ

ม นวย ลานบา 2559

คา  า คาใชจายผลประโยชนพนักงาน คาบริการการบิน คาใชจายเกี่ยวกับนักบินและลูกเรือ คาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเชาเครื่องบินและอะไหล คาสินคาและพัสดุใชไป คาใชจายเกี่ยวกับการขายและโ ษณา คาใชจายดานการประกันภัย คาใชจายอื่น สวนแบงขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุน ในบริษัทรวม คา  า า นินงาน มร มนามัน

อ า จายรวม

2 6 20 1 5 353 15 6 0 1 991 9 1 151 9 404 50 41

22 16 5 42 12 4 14 3

59

2558

ธ อ า จายรวม

65 5 05 0

29 92 20 4 4 5 313 10 311 19 133 950 29 9 499 614 9 359

24 6 16 9 44 5 15 4 65

05

(132)

(0 1)

05

ปลยนแปล ลานบา

%

-1 125 344 40 5 359 -1 142 921 322 -95 -44 -51

-3 1 0 52 0 -6 0 10 3 41 -1 0 - 2 -5 5

11

53 6

คาใชจายผลประโยชนพนักงาน ประกอบดวยคาใชจายบุคลากร ผลประโยชนพนักงาน คาตอบแทนผูบริหารและ กรรมการ ลดลง 1 125 ลานบาท (3 ) สาเหตุหลักเกิดจากจํานวนพนักงานที่ลดลงจากการเกษียณอายุ และเขาโครงการ รวมใจจากองคกร (MSP) สําหรับพนักงานทั่วไป และโครงการ o den Hands ake สําหรับพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน ตามแผนปฏิรูปองคกรโดยมีพนักงานที่มีผลตามโครงการในป 255 จํานวน 1 2 คน และในป 2559 จํานวน 404 คน  คาใชจายเกี่ยวกับการบิน ประกอบดวย คาบริการการบิน คาใชจายเกี่ยวกับนักบินและลูกเรือ และคาสินคาและพัสดุ ใชไป เพิ่มขึ้น 06 ลานบาท (2 1 ) สาเหตุหลักเนื่องจากการเพิ่มเที่ยวบิน และการออนคาของเงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงิน หลักของคาใชจาย ไดแก ยูโร เยน และดอลลารออสเตรเลีย  คาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยานเพิ่มขึ้น 5 359 ลานบาท (52 0 ) สาเหตุหลักเกิดจากในป 255 มีการลดลง ในการบันทึกคาใชจายในสวนที่เกี่ยวของกับการจายเงินสํารองคาบํารุงรักษาเครื่องยนต (Maintenance Reserve) ของ เครื่องบินภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน ในกรณีเครื่องยนตดังกลาวไดมีการทําสัญญาการดูแลรักษาเครื่องยนตแบบเหมาจาย (F ig t Hour Service Agree ent) เพิ่มเติมกับบริษัทผูผลิตเครื่องยนตโดยเปลี่ยนจากการบันทึกคาใชจายเปนทรัพยสินรอ การเรียกคืนจํานวนประมาณ 3 330 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ สามารถเรียกคืนเงินจากผูใหเชาเมื่อเกิดการซอมบํารุงจริงตาม เงื่อนไขในวงเงินไมเกิน Maintenance Reserve ที่บริษัทฯ ไดจายใหกับผูใหเชา หากไมรวมรายการดังกลาวคาซอมแซมและ ซอมบํารุงอากาศยานในป 2559 เพิ่มขึ้นจากป 255 จํานวน 2 029 ลานบาท สาเหตุหลักเกิดจากการประมาณการคาซอมแซม เครื่องบินเชาดําเนินงานตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน และการประมาณการคาซอมบํารุงเพื่อเตรียม สภาพเครื่องบินกอนการสงมอบคืนเครื่องบินเชาดําเนินงาน (Return ondition) ประกอบกับอัตราคาซอมเครื่องยนตสูงกวา ปกอน  คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายลดลง 1 142 ลานบาท (6 0 ) เปนผลมาจากจํานวนเครื่องบินและเครื่องยนตที่ ใช ดําเนินงานโดยเ ลี่ยลดลง ประกอบกับมีเครื่องบินที่คิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว ถึงแมวาจะมีการรับมอบเครื่องบินภายใต สัญญาเชาการเงินเพิ่มขึ้นในปกอนก็ตาม  คาเชาเครือ ่ งบินและอะไหล เพิม่ ขึน้ 921 ลานบาท (10 3 ) เนือ่ งจากรับมอบเครือ่ งบินเชาดําเนินงานเพิม่ ขึน้ ในระหวาง ป 255 และ2559 รวมจํานวน 4 ลํา ประกอบดวยเครื่องบิน B - จํานวน 2 ลํา และ A350-900XWB จํานวน 2 ลํา อยางไรก็ตามมีการสงคืนเครื่องบินเชาดําเนินงาน B 3 -400 จํานวน 3 ลําในป 255 และ B -200 จํานวน 1 ลํา ในเดือน ธันวาคม 2559 

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 135


คาใชจายอื่น ลดลง 51 ลานบาท (5 5 ) มีสาเหตุสําคัญจากปนี้ตั้งสํารองอะไหลเครื่องบินเสื่อมสภาพตํ่ากวาปกอน ประกอบกับการควบคุมและปรับลดคาใชจายอยางตอเนื่องตามแผนปฏิรูปองคกร  สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษั ทรวม เพิ่มขึ้น 11 ลานบาท (53 6 ) สาเหตุหลักเกิดจากบริษั ท สายการบิน นกแอร จํากัด (มหาชน) มีผลการดําเนินงานขาดทุนเพิ่มขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ - บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) ขาดทุน 1 051 ลานบาท ขาดทุนเพิ่มขึ้นจากปกอน 90 ลานบาท - บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) กําไร 320 ลานบาท เพิ่มขึ้น 12 ลานบาท - บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด กําไร 63 ลานบาท เพิ่มขึ้น 26 ลานบาท - บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กําไร 30 ลานบาท เพิ่มขึ้น 23 ลานบาท - บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด กําไร 33 ลานบาท เพิ่มขึ้น 14 ลานบาท - บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด กําไร 26 ลานบาท เพิ่มขึ้น ลานบาท 

ตน ุน างการ งิน สุ ธิ ลดลง 431 ลานบาท ( ) สาเหตุหลักเกิดจากอัตราดอกเบี้ยเ ลี่ยในปนี้ตํ่ากวาปกอน และ ผลจากการบริหารเงินสด และการปรับโครงสรางทางการเงิน ถึงแมวาการออนคาของเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินสกุลหลักของ หนี้สินระยะยาว ไดแกเงินยูโร และเงินเยน ทําใหคาใชจายเมื่อคํานวณเปนเงินบาทมียอดเพิ่มขึ้น

คา  า ตาม ผน ิรู จํานวน 1 22 ลานบาท สวนใหญเปนคาตอบแทนในโครงการรวมใจจากองคกร (MSP) ซึ่ง เปนการดําเนินการตามแผนปฏิรูปองคกร และสํารองเงินตอบแทนพิเศษใหแกพนักงานในการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงตาม แผนปฏิรูปองคกรป 2559 ร มา การคา อม ม ครืองบิน า า นินงาน จํานวน 1 31 ลานบาท สวนใหญเกิดจากการประมาณการคาซอมแซม เครื่องบินเชาดําเนินงานตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน ผล า ุน ากการ อ คา องสิน รัพ ล ครืองบิน จํานวน 3 62 ลานบาท ลดลง 529 ลานบาท ( 0 2 ) ประกอบดวย - ผลขาดทุนจากการดอยคาเพิ่มขึ้นของเครื่องบิน A340-600 6 ลํา A340-500 4 ลํา B 4 -400 2 ลํา B 4 -400 (Freig ter) 2 ลํา และ B 3 -400 3 ลํา รวม 2 93 ลานบาท และตั้งสํารองดอยคาของเครื่องยนตสําหรับเครื่องบิน A340-500 และ A340-600 จํานวน 325 ลานบาท - ผลขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพยเพิ่มขึ้น 129 ลานบาท เนื่องจากมีการสํารองดอยคาอะไหลเครื่องบินหมุนเวียนที่ เสียหายและไมสามารถซอมแซมไดเพิ่มขึ้นจากปกอน กา ร ากอัตรา ลก ล น งินตราตาง ร 6 5 ลานบาท ประกอบดวย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตาง ประเทศที่ยังไมเกิดขึ้น ( nrea i ed FX ain) 613 ลานบาท ซึ่งเกิดจากการปรับยอดเงินกูและสินทรัพยหนี้สินที่เปนเงินตรา ตางประเทศเปนเงินบาท ณ วันสิ้นงวด และกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่เกิดขึ้นแลว (Rea i ed FX ain) 2 ลานบาท

136 รายงานประจําป 2559


การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ

3. านะทางการเงินและสภาพคลอง รายจายลงทุน

ตารางแสดงรายจายลงทุน นวย ลานบา

เครื่องบิน อื่นๆ (ที่ไมใชเครื่องบิน) รม

2559

2558

6 60 303

16 09 522

ในป 2559 บริษัทฯ มีรายจายเพื่อการลงทุน 6 910 ลานบาท ลดลงจากปกอน 9 09 ลานบาท เนื่องจากในปนี้ไมมี การรับมอบเครือ่ งบินภายใตสญ ั ญาเชาการเงิน ขณะทีป่ ก อ นมีรายจายเพือ่ การรับมอบเครือ่ งบินภายใตสญ ั ญาเชาการเงิน 6 ลํา ไดแก B -300 R จํานวน 3 ลํา และ A320-200 จํานวน 3 ลํา โดยรายจายในการลงทุนของปนี้ประกอบดวย  การลงทุนในเครื่องบิน จํานวน 6 60 ลานบาท โดยสวนใหญเปนการจายเงินลวงหนาคาเครื่องบิน A350-900XWB 4 ลํา และจายเงินลวงหนาคาเครื่องยนตอะไหล TR T XWB- 4 จํานวน 3 เครื่องยนตสําหรับเครื่องบิน A350-900XWB  การลงทุนในสินทรัพยถาวรอื่นๆ จํานวน 303 ลานบาท การ ั หา งิน ุน ในป 2559 บริษัทฯ ไดดําเนินการจัดหาเงินทุนรวมทั้งสิ้น 40 604 ลานบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1 ออกและเสนอขายตราสารหนี้ประเภทหุนกูภายในประเทศ โดยเสนอขายในวงจํากัด ตอผูลงทุนสถาบัน และ หรือ ผูลงทุนรายใหญ วงเงินรวม 000 ลานบาท เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชําระคืนหุนกูที่จะครบกําหนด ชําระ และ หรือคืนเงินกูข องบริษัทฯ ทีม่ ตี น ทุนทางการเงินสูงกวา และ หรือ ลงทุนในสินทรัพย และ หรือเปนเงินทุนหมุนเวียน ในกิจการ 2 การกูเงินระยะยาวจากธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย จํานวน 4 0 4 ลานเยน หรือประมาณ 1 3 6 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินกูตามสัญญาทางการเงินของเครื่องบิน A330-300 จํานวน 2 ลํา 3 เบิกรับเงินกูตอจากกระทรวงการคลังในรูปการออกตราสาร uro o ercia Pa er ( P) ในสกุลเงินตรา ตางประเทศ และเบิกใชวงเงินสินเชื่อหมุนเวียนจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อขยายระยะเวลา (Ro -over) เงินกูระยะสั้น ที่ครบกําหนด และใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานรวมทั้งสิ้น 32 21 ลานบาท โดยสรุปเงินสดสุทธิไดมาและใชไปในกิจกรรมตางๆ ไดดังนี้ นวย ลานบา

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสดและเงินฝากธนาคารเพิ่มขึ้น งินส ล รา การ บ า งินส ล ลง

2559

2558

24 559 (3 26) (2 1 1) 4

1 56 ( 21) (20 3 ) 42

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 137


ในป 2559 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของปกอน บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 2 1 1 ลานบาท จากการชําระคืนเงินกูทั้งระยะสั้นและระยะยาวซึ่งมีจํานวนสูงกวาปกอน โดยจัดหาเงินกูลดลง และมีเงินสดใชไป ในกิจกรรมลงทุนจํานวน 3 26 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนจากการจายลวงหนาคาเครื่องบิน A350-900XWB 4 ลํา และ เครื่องยนตอะไหล TR T XWB- 4 สําหรับเครื่องบิน A350-900XWB จํานวน 3 เครื่องยนต ถึงแมวามีเงินสดสุทธิจาก การดําเนินงานจํานวน 24 559 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปกอน 5 992 ลานบาท เนื่องจากปนี้มีกําไรจากการ ดําเนินงานในขณะที่ปกอนขาดทุน เปนผลใหเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 เปนจํานวน 391 ลานบาท ครืองบิน ในป 2559 บริษัทฯ รับมอบเครื่องบินเชาดําเนินงาน A350-900XWB 2 ลํา และปลดประจําการเครื่องบินเชาดําเนินงาน B -200 จํานวน 2 ลํา ทําใหจํานวนเครื่องบินที่ใชในการดําเนินงาน ณ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวน 95 ลํา เทากับปกอน ในจํานวนนี้เปนเครื่องบิน A320-200 จํานวน 20 ลําซึ่งใชดําเนินงานโดยบริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด สิน รัพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีสินทรัพยรวมลดลงจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 19 34 ลานบาท (6 4 ) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ บการ ินรวม ธ ลานบา

สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่นๆ สิน รัพ หมุน น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เครื่องบินและเครื่องยนตอะไหลจายลวงหนา เครื่องบิน เครื่องบินภายใตสัญญาเชา อุปกรณการบินหมุนเวียน งานระหวางทํา ที่ดิน อาคาร และคาปรับปรุง เครื่องมือ โรงซอม และอุปกรณ ิน อาคาร ล อุ กร สุ ธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นๆ ร มสิน รัพ

138 รายงานประจําป 2559

ธ อ ิน รพยรวม

ลานบา

ปลยนแปล อ ิน รพยรวม ลานบา

%

13 390 12 322 33 662

4 44 11 9

20 1 15 099 34 596

69 50 11 4

- 391 -2 -934

-35 6 -1 4 -2

9 64 44 6 6 112 91 10 22 31 13 2 31 0

34 15 39 9 36 01 49 11

5 491 44 9 9 126 251 12 465 61 14 33 4 305

1 14 9 41 41 49 14

4 156 -293 -13 334 -2 23 310 - 61 -1 135

5 -0 -10 6 -1 9 50 2 -5 -26 4

2 59

10 2

23 10

5 149

21


การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ

สินทรัพยหมุนเวียนมีจํานวน 59 3 4 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 21 0 ของสินทรัพยทั้งหมด ลดลงจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 เปนจํานวน 11 102 ลานบาท (15 ) โดยมีสาเหตุสําคัญดังนี้ - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลง 391 ลานบาท (35 6 ) สาเหตุหลักเกิดจากเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรม จัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุนสูงกวาเงินสดที่ไดมาจากการดําเนินงาน ประกอบกับนโยบายการบริหารเงินสดของบริษัทฯ ที่ กําหนดใหบริษัทฯ ถือครองเงินสดคงเหลือใหเหมาะสม - สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย ลดลง 2 ลานบาท (1 4 ) สาเหตุหลักเกิดจากการตั้งสํารอง ดอยคาของ เครื่องบินเพิ่มขึ้น ประกอบกับในปนี้มีการขายเครื่องบินรวม 5 ลํา ไดแก เอทีอาร 2 จํานวน 2 ลํา แอรบัส A330-300 2 ลํา และแอรบัส A340-500 1 ลํา ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ มีจํานวน 194 91 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 6 ของสินทรัพยทั้งหมด ลดลงจาก วันที่ 31 ธันวาคม 255 เปนจํานวน 13 394 ลานบาท (6 4 ) โดยมีสาเหตุหลักมาจากการคิดคาเสื่อมราคาตามปกติ ในขณะที่ เครือ่ งบินและเครือ่ งยนตอะไหลจา ยลวงหนาเพิม่ ขึน้ 4 156 ลานบาท จากการจายลวงหนาคาเครือ่ งบิน A350-900XWB จํานวน 4 ลํา และเงินจายลวงหนาคาเครื่องยนตอะไหล TR T XWB- 4 สําหรับเครื่องบิน A350-900XWB จํานวน 3 เครื่องยนต สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นๆ มีจํานวน 2 59 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 10 2 ของสินทรัพยทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 5 149 ลานบาท (21 ) สาเหตุหลักเกิดจาก - สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น 1 335 ลานบาท จากภาษีของประมาณการคาซอมแซมเครื่องบินเชา ดําเนินงาน - การเพิ่มขึ้นของเงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา (Maintenance Reserve) จํานวน 4 913 ลานบาท ตามประมาณการหนี้สินระยะยาวที่บริษัทไดประมาณเพิ่มขึ้นในสวนคาซอมแซมเครื่องบินตามสัญญาเชาดําเนินงานตามสภาพ การบิน และเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน ทั้งนี้ บริษัทสามารถนําคาใชจายที่จะเกิดขึ้นตามประมาณการหนี้สินดังกลาวไป เบิกคืนจากผูใหเชาไดตามเงื่อนไขที่ปรากฏในสัญญาเชา อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (Return on Asset) ของป 2559 รอยละ 1 3 เปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน ซึ่งติดลบเทากับ 2 หนสิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 หนี้สินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 20 009 ลานบาท ( 4 ) โดยมีองคประกอบหลักของหนี้สิน ดังนี้ บการ ินรวม ธ ลานบา

หนี้สินหมุนเวียน (ไมรวมหนีส้ นิ ระยะยาวทีถ่ งึ กําหนดชําระภายใน 1 ป) หนสินร า หุนกู หนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบิน เงินกูยืมระยะยาว ร มหนสินร า หนี้สินไมหมุนเวียนอื่นๆ ร มหนสิน

ธ อ น ินรวม

ลานบา

ปลยนแปล อ น ินรวม

ลานบา

%

64 555

25 9

3 592

2 3

-9 03

-12 3

59 300 64 50 35 933

23 25 9 14 4

56 600 551 43 62

21 0 2 16 2

2 00 -12 01 - 694

4 -16 5 -1 6

24 99

10 0

1 15

6

6 23

3 5

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 139


หนสินหมุน น (ไมรวมหนีส้ นิ ทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป 22 966 ลานบาท) ซึง่ คิดเปนรอยละ 25 9 ของหนีส้ นิ้ ทัง้ หมด ลดลงจาก ณ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 9 03 ลานบาท (12 3 ) สาเหตุหลักเกิดจากเงินกูระยะสั้นลดลง 225 ลานบาท และ คาใชจายคางจายลดลง 4 540 ลานบาท สวนใหญมาจากคาชดเชยการบริหารความเสี่ยงนํ้ามันคางจาย และเงินชดเชยสําหรับ พนักงานที่เขาโครงการ MSP คางจาย ณ สิ้นป 255 หนสินร า (รวมหนี้สินที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 22 966 ลานบาท) ซึ่งคิดเปนรอยละ 64 1 ของหนี้สิ้นทั้งหมด ลดลง 1 95 ลานบาท (10 0 ) สวนหนึ่งเกิดจากการแข็งคาของเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินสกุล R และ S ณ 31 ธันวาคม 2559 เมื่อเทียบกับ ณ วันสิ้นงวดของป 255 ถึงแมวาจะออนคาขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุล P ทําใหหนี้สินระยะยาวเมื่อคิดเปน เงินบาทมีจํานวนลดลง หากไมรวมผลของการปรับอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด จํานวน 1 0 ลานบาท หนี้สินระยะยาวจะ ลดลงจํานวน 16 025 ลานบาท สาเหตุหลักเกิดจากการจายชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว และหุนกูที่ถึงกําหนดชําระ หนสิน มหมุน นอืน ซึ่งคิดเปนรอยละ 10 0 ของหนี้สิ้นทั้งหมด มีจํานวน 24 99 ลานบาท เพิ่มขึ้น 6 23 ลานบาท (3 5 ) สาเหตุหลักเกิดจากประมาณการคาใชจายคาซอมแซมเครื่องบินตามสัญญาเชาดําเนินงาน ที่เกี่ยวเนื่องกับคาซอม เครื่องบินตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน ทั้งนี้บริษัทฯ สามารถนําคาใชจายดังกลาวไปขอคืนจากผูให เชาไดจากรายการเงินประกันการบํารุงรักษาเครือ่ งบินตามสัญญาเชา (Maintenance Reserve) และการประมาณการคาซอม บํารุงเพื่อเตรียมสภาพเครื่องบินกอนการสงมอบคืนเครื่องบินเชาดําเนินงาน (Return ondition) ณ สิ้นป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีอัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน (Interest Bearing ebt to uity) ลดลงจาก 5 เทา ณ 31 ธันวาคม 255 เปน 5 0 เทา ส น องผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สวนของผูถือหุนมีจํานวน 33 5 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 662 ลานบาท (2 0 ) สาเหตุหลักเกิดจากการรับรูกําไรจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของการปองกันความเสี่ยงกระแส เงินสดเ พาะสวนที่มีประสิทธิผล และสวนหนึ่งเกิดจากกําไรจากการดําเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทยอยในป 2559 ทําให อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (Return on uity) เพิ่มขึ้นจากติดลบรอยละ 35 2 ในป 255 เปนรอยละ 0 1 ในปนี้

. ปจจัยที่มีผลกระทบตอผลการดาเนินงานในอนาคต

การคาดการณอุตสาหกรรมการบินของโลกในป 2560 คาดวายังคงเติบโตตอเนื่องเปนปที่ 3 ติดตอกัน สวนหนึ่งเกิดจาก เศรษฐกิจโลกฟนตัวอยางคอยเปนคอยไป แมแนวโนมกําไรจะลดลงเล็กนอยจากป 2559 จากผลของราคานํ้ามันที่คาดวาจะ ปรับตัวสูงขึ้น และการแขงขันที่รุนแรง ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังมีความไมแนนอนของนโยบายเศรษฐกิจ แนวโนมอุตสาหกรรมการบินของไทยในป 2560 ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่องจากแนวโนมการขยายตัวของอุตสาหกรรม การทองเที่ยว และนโยบายการสงเสริมใหประเทศไทยเปนศูนยกลางในการเพิ่มเสนทางบินของสายการบินตนทุนตํ่าของ กระทรวงการทองเที่ยวและกี า และในขณะเดียวกันก็จะทําใหการแขงขันภายในอุตสาหกรรมการบินมีความรุนแรงเพิ่มมาก ขึ้นดวย นอกจากนี้ ความสําเร็จในการแกไขขอบกพรองที่มีนัยสําคัญดานความปลอดภัย (Signi icant Sa ety oncern SS ) ของประเทศไทย มีความสําคัญอยางยิง่ ตอการพิจารณาของสํานักงานบริหารการบินแหงชาติสหรัฐอเมริกา (Federa Aviation Ad inistration FAA) ในการปรับปรุงมาตรฐานการกํากับดูแลหนวยงานการบินของประเทศไทยจากประเภทที่ 2 ( ategory 2) ในปจจุบันกลับคืนสถานะเปนประเภทที่ 1 ( ategory 1) ซึ่งจะมีผลกระทบในทางบวกตอประเทศไทย ในป 2560 บริษัทฯ จะเขาสูระยะที่ 3 ของแผนปฏิรูปองคกร คือ เติบโตอยางมีกําไรในระยะยาว โดยกําหนดกลยุทธไว 6 กลยุทธ ไดแก การพั นาเครือขายการบินที่แขงขันได ทํากําไร และลดความซับซอนของฝูงบิน การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และเสริมสรางรายได การสรางความเปนเลิศในการใหบริการ การมีตนทุนที่แขงขันได และการดําเนินการมีประสิทธิภาพ การสรางวั นธรรมองคกรที่สนับสนุนความยั่งยืน และพั นาบุคลากรใหมีคุณภาพดีเยี่ยม การบริหารบริษัทในเครือและกลุมธุรกิจ และพั นากลยุทธธุรกิจใหมเพื่อความยั่งยืน 140 รายงานประจําป 2559


การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ

ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดใหมีการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนอยางใกลชิด เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ จะสามารถปรับปรุง แผนงานใหสะทอนตอการเปลี่ยนแปลงของสถานการณตางๆ ไดอยางทันทวงที นอกจากนี้ ยังมีแผนการดําเนินการที่สําคัญดังนี้ การยกเลิกทําการบินที่ทาอากาศยานดอนเมืองของสายการบินไทยสมายล เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 โดยใหยุบรวม และใชทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปนฐานการบินเพียงแหงเดียว ซึ่งเปนหนึ่งในการปรับแผนยุทธศาสตรเพื่อเตรียมพรอมรองรับ การขยายตัวเปดตลาดการบินใหมๆ ในตางประเทศโดยจะเนนตลาดอินเดีย จีน และอาเซียน นอกจากนี้ ยังเปนการเชื่อมตอ ผูโดยสารจากเที่ยวบินของการบินไทยที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิไดอยางสะดวกสบายมากขึ้น การเพิ่มศักยภาพฝูงบินดวยแผนการรับมอบเครื่องบินใหม ลํา ในป 2560 ประกอบดวยเครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 XWB จํานวน 5 ลํา และเครื่องบินแบบโบอิ้ง -9 จํานวน 2 ลํา โดยมีแผนนํามาใชบินในเสนทางบินขามทวีป เปนหลัก การจัดทําโครงการ e Web and Mobi e P at or เพื่อปรับเปลี่ยนการใหบริการทางชองดิจิทัลใหมเพื่อใหมี ประสิทธิภาพสูงในระดับเดียวกันกับสายการบินชั้นนําของโลก และตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางเต็มที่ การปรับปรุงรูปแบบและคุณภาพของที่นั่งโดยสารและระบบสาระบันเทิงโดยปรับปรุงอุปกรณในเครื่องบินทุกลําที่เปน แบบเดียวกัน ใหมที นี่ งั่ โดยสารและระบบสาระบันเทิงลักษณะเดียวกันในแตละชัน้ โดยสาร เพือ่ สรางความพึงพอใจใหกบั ผูโ ดยสาร ทําใหมีสัดสวนเครื่องบินที่ทันสมัยเพิ่มขึ้น การดําเนินโครงการพั นาศูนยซอมอากาศยาน ณ ทาอากาศยานนานาชาติอูตะเภา ซึ่งเปนหนึ่งในแผนพั นาพื้นที่ ฝงทะเลดานตะวันออกของรัฐบาล โดยบริษัทฯ ไดรบั ความไววางใจจากรัฐบาลใหดาํ เนินการในโครงการนีเ้ นือ่ งจากความพรอม ของบริษัทฯ และศักยภาพของทรัพยากรบุคคล ทั้งนี้ หากการดําเนินการเกิดผลสําเร็จอยางเปนรูปธรรมไมเพียงแตจะสามารถ รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการบินในภูมภิ าคเอเซียแปซิฟก เทานัน้ แตยงั สนับสนุนใหเกิดการพั นาไปสูง านบริการดาน อื่นๆ อีกดวย เชน ธุรกิจบริการภาคพื้น ธุรกิจคลังสินคา และการขนสงสินคา เปนตน ซึ่งจะทําใหรายไดของบริษัทฯ ในอนาคต มีความสมดุลมากขึ้นโดยไมตองพึ่งพาเ พาะรายไดจากการขนสงผูโดยสารเทานั้น

5. สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สาคั ม

อัตราส น างการ งิน อัตราสวนสภาพคลอง เทา อัตราส น ส งค ามสามารถ นการหากา ร อัตรากําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงาน รอยละ อัตรากําไร (ขาดทุน) สุทธิ รอยละ อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน รอยละ อัตราส น ส ง ร สิ ธิภาพ นการ า นินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย รอยละ อัตราส น ิ ครา หน บา างการ งิน อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน (Interest Bearing ebt to uity) เทา อัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน (Tota ebt to uity) เทา อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย เทา

2559

2558

0

0

2 25 0 03 0 14

(0 69) (6 90) (35 16)

1 34

(2 0)

49 43 4 66

5 4 19 3 32

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 141


ความหมายแล สู รในการคานว อั ราสวนทา การเ ิน

อั ราสวนส า คลอ สินทรัพยหมุนเวียน (ไมรวมสินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย) หนี้สินหมุนเวียน (ไมรวมรายรับดานการขนสง ที่ยังไมถือเปนรายได) อั รากาไร าดทน ากการดาเนิน าน กําไร(ขาดทุน) จากการดําเนินงาน รายไดรวม (ไมรวมอัตราแลกเปลี่ยน) อั รากาไร าดทน สท ิ et rofit oss ar i กําไร(ขาดทุน)สุทธิ รายไดรวม (ไมรวมอัตราแลกเปลี่ยน) อั รา ล อบแทน อสวน อ ู ือหน etur o uit กําไร(ขาดทุน)สุทธิ สวนของผูถือหุนเ ลี่ย อั รา ล อบแทน ากสินทรั ย etur o Tota sset กําไร(ขาดทุน)กอนหักดอกเบี้ยและภาษี สินทรัพยรวมเ ลี่ย อั ราสวนหนีสินที่มี าร ดอกเบีย อสวน อ ู ือหน terest eari e t to uit (เงินกูยืมระยะสั้น หนี้สินระยะยาวรวมสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป) สวนของผูถือหุน อั ราสวนหนีสินรวม อสวน อ ู ือหน Tota e t to uit หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน อั ราสวนความสามาร ในการ าร ดอกเบีย BIT A ดอกเบี้ยจาย

142 รายงานประจําป 2559


บการ ิน

การ น

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 143


รายงานของผูสอบบั

เสนอ ผูถ อื หุน บริษทั การบินไทย จากัด (มหา น) ความเหน

สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (กลุมบริษัท) และงบการเงินเ พาะกิจการของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) (บริษัท) ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเ พาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเ พาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเ พาะ กิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเ พาะกิจการสําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน รวมและหมายเหตุประกอบงบการเงินเ พาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการขางตนนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมของ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และฐานะการเงินเ พาะกิจการของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเ พาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเ พาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันโดยถูกตองตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เกณ ในการแสดงความเหน

สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของสํานักงานการ ตรวจเงินแผนดินไดกลาวไวในสวนของความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการในรายงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินมีความเปนอิสระจากกลุม บริษัทและบริษัท ตามมาตรฐานการตรวจเงินแผนดินทีก่ าํ หนดโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินและขอกําหนดจรรยาบรรณของผูป ระกอบวิชาชีพ บัญชีทกี่ าํ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ ในสวนทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการ และสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดปฏิบัติตามความรับผิดชอบดานจรรยาบรรณอื่นๆ ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานการ ตรวจเงินแผนดินและขอกําหนดจรรยาบรรณดังกลาว สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเชือ่ วาหลักฐานการสอบบัญชีทสี่ าํ นักงาน การตรวจเงินแผนดินไดรบั เพียงพอและเหมาะสม เพือ่ ใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน

เรือ่ งสาคั ในการตรวจสอบ

เรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งตางๆ ทีม่ นี ยั สําคัญทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป ระกอบวิชาชีพของสํานักงานการตรวจ เงินแผนดินในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการสําหรับงวดปจจุบนั สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดนาํ เรือ่ งเหลานีม้ าพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็น ของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ทัง้ นีส้ าํ นักงานการตรวจเงินแผนดินไมไดแสดงความเห็นแยกตางหากสําหรับเรือ่ งเหลานี้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน มีเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบทีจ่ ะรายงาน ดังนี้ 1. การดอยคาของเครือ่ งบิน อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5 สินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย ขอ 25 ผลขาดทุนจากการดอยคา เครือ่ งบิน และขอ 4 5 สรุปนโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญ เกีย่ วกับสินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย ซึง่ อธิบายนโยบายการบัญชี ทีเ่ กีย่ วของ

144 รายงานประจําป 2559


บการ ิน

ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน กําหนดใหสนิ ทรัพยทจี่ ดั ประเภทเปนสินทรัพยทถี่ อื ไวเพือ่ ขาย ตองแสดงดวยมูลคา ทีต่ าํ่ กวาระหวางมูลคาตามบัญชีกบั มูลคายุตธิ รรมหักตนทุนในการขาย บริษัทจึงตองทดสอบการดอยคาของเครือ่ งบินที่ไดมกี าร ปลดระวางตามแผนบริหารจัดการเครือ่ งบิน และทบทวนการดอยคาของเครือ่ งบินที่ไดมกี ารปลดระวางแลว ทัง้ นี้ เมือ่ มีการปลด ระวางเครือ่ งบินดังกลาว บริษัทจะจัดประเภทรายการเปนสินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย เนือ่ งจากการประเมินสภาพของสินทรัพยเพือ่ ประเมินมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยมคี วามซับซอน และเปนการใชดลุ ยพินจิ ทีม่ นี ยั สําคัญ ภายใตขอ สมมติทถี่ กู กระทบโดยสภาพเศรษฐกิจโลกและตลาดซือ้ ขายเครือ่ งบินใชแลวในอนาคต ซึง่ บริษัทดําเนินการ ทดสอบการดอยคาของเครือ่ งบินโดยพนักงานของบริษัทตามหลักเกณฑของ T e Internationa Society o Trans ort Aircra t Trading (ISTAT) และใชดลุ ยพินจิ ทีม่ นี ยั สําคัญในการประเมินสภาพขององคประกอบหลักของเครือ่ งบิน อางอิงขอมูลจากนิตยสาร เครื่องบินใชแลว เพื่อนํามาปรับลดมูลคาเครื่องบิน จึงมีความเสี่ยงที่ผลการประเมินอาจผิดพลาดอยางสําคัญได ดวยเหตุนี้ การรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาเครือ่ งบินจึงเปนเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดใชวธิ กี ารตรวจสอบทีส่ าํ คัญดังนี้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดซักถามผูบริหารเกี่ยวกับความเหมาะสมของขอสมมติที่สําคัญสําหรับการคํานวณ มูลคายุตธิ รรมเพือ่ ทดสอบการดอยคาของเครือ่ งบินทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย ทดสอบการคํานวณโดยสอบทานอายุการใหประโยชนของ องคประกอบหลักตามสภาพของเครื่องบิน และเปรียบเทียบมูลคาตามบัญชีกับมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย ซึ่งอางอิง ราคาตลาดจากนิตยสารการขายเครือ่ งบินใชแลว เพือ่ นํามาคํานวณการปรับลดมูลคาองคประกอบหลักตามสภาพของเครือ่ งบิน ตามแนวปฏิบตั ขิ องอุตสาหกรรมการบิน (ISTAT) รวมถึงตรวจสอบการอนุมตั กิ ารปลดระวางเครือ่ งบินและการรับรูด อ ยคาของ เครือ่ งบินโดยผูม อี าํ นาจ 2. ระบบ are Manage en ในระหวางป 2559 บริษัทไดนาํ ระบบ Fare Manage ent มาใชเปนสวนหนึง่ ในการกําหนดราคาบัตรโดยสาร ซึง่ เปน ระบบตนทางของการบันทึกยอดรายไดจากการขนสงผูโดยสาร แตเนื่องจากขอมูลราคาบัตรโดยสารมีโครงสรางราคาและ ชองทางการจําหนายทีห่ ลากหลาย ประกอบกับเปนการนําระบบใหมมาใชเปนครัง้ แรก อาจทําใหเกิดขอผิดพลาดในการบันทึก ขอมูล อีกทัง้ กระบวนการบันทึกรายการและการคํานวณรายไดจากเทีย่ วบิน การวัดมูลคาราคาขาย การบันทึกคาคอมมิชชัน่ และ สวนลด มีความซับซอน หากมีการบันทึกขอมูลในระบบ Fare anage ent ไมถกู ตอง ยอมสงผลตอการรับรูร ายไดคา ขนสง ผูโ ดยสารและบัญชีอนื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของไมถกู ตองดวยเชนกัน ดังนัน้ เรือ่ งดังกลาวจึงเปนเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบของสํานักงาน การตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดศกึ ษาทําความเขาใจคูม อื การทํางานของระบบ Fare Manage ent และไดทดสอบ การควบคุมกระบวนการนําเขาขอมูลและประมวลผลของระบบ Fare Manage ent เพือ่ ใหไดความเชือ่ มัน่ ในความถูกตองของผลลัพธจากระบบ Fare anage ent สํานักงานการตรวจเงินแผนดินได ทดสอบการควบคุมการเขาถึงระบบของผูใ ชงาน ทดสอบการควบคุมการเปลีย่ นแปลงแกไขโปรแกรม และทดสอบการปฏิบตั งิ าน ของระบบ การทดสอบการควบคุมเหลานีเ้ พือ่ ใหความเชือ่ มัน่ วาไดมกี ารปฏิบตั ติ ามการควบคุมที่ไดออกแบบไว และสามารถปองกัน การเปลีย่ นแปลงแกไขขอมูล ซึง่ อาจสงผลกระทบตอความถูกตองของขอมูลทางบัญชีเกีย่ วกับรายไดจากการขนสงผูโ ดยสาร วิธีการทดสอบการควบคุมระบบงานนั้นไดทําการตรวจสอบตั้งแตการอนุมัติราคา การนําเขาขอมูลในระบบ Fare anage ent และตรวจสอบอัตราราคาตามระบบ Fare anage ent ที่ไดรบั อนุมตั กิ บั ราคาตามบัตรโดยสาร เพือ่ ใหสามารถ ระบุขอ มูลทีอ่ าจเกิดขอผิดพลาด รวมถึงทดสอบการควบคุมทีส่ าํ คัญ เพือ่ ใหไดความเชือ่ มัน่ วาการควบคุมทีอ่ อกแบบไวมกี ารปฏิบตั ิ อยางเหมาะสม

ขอมูลและเหตุการณทเี่ นน

สํานักงานการตรวจเงินแผนดินขอใหสงั เกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5 เรือ่ งการดําเนินงานตามแผนปฏิรปู ซึง่ อธิบายเกีย่ วกับแผนการดําเนินการจัดหาเงินทุนรวมถึงแผนการบริหารสภาพคลองของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ทัง้ นี้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินมิไดแสดงความเห็นอยางมีเงือ่ นไขในเรือ่ งดังกลาว

ขอมูลอืน่

ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบตอขอมูลอื่น ขอมูลอื่นประกอบดวย ขอมูลซึ่งรวมอยู ในรายงานประจําป แตไมรวมถึง งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการและรายงานของผูสอบบัญชีที่อยูในรายงานประจําปนั้นซึ่งผูบริหารคาดวารายงาน ประจําปจะจัดเตรียมใหสาํ นักงานการตรวจเงินแผนดินภายหลังวันที่ในรายงานของผูส อบบัญชีนี้

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 145


ความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตองบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการไมครอบคลุมถึงขอมูลอื่น และสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไมไดใหความเชือ่ มัน่ ตอขอมูลอืน่ ความรับผิดชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการคือ การอานและพิจารณาวาขอมูลอืน่ มีความขัดแยงทีม่ สี าระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการหรือกับ ความรูท ี่ไดรบั จากการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน หรือปรากฏวาขอมูลอืน่ มีการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริง อันเปนสาระสําคัญหรือไม เมือ่ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดอา นรายงานประจําป หากสํานักงานการตรวจเงินแผนดินสรุปไดวา มีการแสดงขอมูล ทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินตองสือ่ สารเรือ่ งดังกลาวกับผูม หี นาที่ในการกํากับดูแล

ความรับผิด อบของผูบ ริหารและผูม หี นาทีใ่ นการกากับดูแลตองบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการ

ผูบ ริหารมีหนาทีร่ บั ผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการเหลานีโ้ ดยถูกตองตาม ที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อให สามารถจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการทีป่ ราศจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ ผูบ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม บริษัท และบริษัทในการดําเนินงานตอเนือ่ ง เปดเผยเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการดําเนินงานตอเนือ่ ง และการใชเกณฑการบัญชีสาํ หรับการดําเนิน งานตอเนือ่ งเวนแตผบู ริหารมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิกกลุม บริษัทและเลิกบริษัทหรือหยุดดําเนินงานหรือไมสามารถดําเนินงานตอเนือ่ ง ตอไปได ผูม หี นาที่ในการกํากับดูแลมีหนาที่ในการสอดสองดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุม บริษัทและ ของบริษัท

ความรับผิด อบของผูส อบบั

ตี อ การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ

การตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน มีวัตถุประสงคเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการโดยรวมปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด และเสนอรายงานของผูสอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของสํานักงานการตรวจเงิน แผนดินอยูด ว ย ความเชือ่ มัน่ อยางสมเหตุสมผลคือความเชือ่ มัน่ ในระดับสูงแตไมไดเปนการรับประกันวาการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญที่มีอยูไดเสมอไป ขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาดและถือวามีสาระสําคัญเมือ่ คาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวารายการทีข่ ดั ตอ ขอเท็จจริงแตละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลตอการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใ ชงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการจากการใชงบการเงินเหลานี้ ในการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตามมาตรฐานการสอบบัญชี สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดใช ดุลยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ งผูป ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั งิ านของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน รวมถึง ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงินรวมและ งบการเงินเ พาะกิจการ ไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ านตามวิธกี ารตรวจสอบเพือ่ ตอบสนอง ตอความเสีย่ งเหลานัน้ และไดหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ พียงพอและเหมาะสมเพือ่ เปนเกณฑในการแสดงความเห็นของสํานักงาน การตรวจเงินแผนดิน ความเสีย่ งที่ไมพบขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญซึง่ เปนผลมาจากการทุจริตจะสูงกวาความ เสีย่ งทีเ่ กิดจากขอผิดพลาด เนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับการสมรูร ว มคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง้ ใจละเวน การแสดงขอมูล การแสดงขอมูลที่ไมตรงตามขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทําความเขาใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม กับสถานการณ แตไมใชเพือ่ วัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุม บริษัทและ ของบริษัท ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและ การเปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของซึง่ จัดทําขึน้ โดยผูบ ริหาร

146 รายงานประจําป 2559


บการ ิน

สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการดําเนินงานตอเนื่องของผูบริหารและจาก หลักฐานการสอบบัญชีที่ไดรับ สรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณหรือสถานการณที่อาจเปนเหตุให เกิดขอสงสัยอยางมีนยั สําคัญตอความสามารถของกลุม บริษัทและของบริษัทในการดําเนินงานตอเนือ่ งหรือไม ถาสํานักงานการ ตรวจเงินแผนดินไดขอ สรุปวามีความไมแนนอนทีม่ สี าระสําคัญ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินตองกลาวไวในรายงานของผูส อบ บัญชีของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินถึงการเปดเผยที่เกี่ยวของในงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ หรือถาการ เปดเผยดังกลาวไมเพียงพอ ความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินจะเปลีย่ นแปลงไป ขอสรุปของสํานักงานการตรวจเงิน แผนดินขึ้นอยูกับหลักฐานการสอบบัญชีที่ ไดรับจนถึงวันที่ ในรายงานของผูสอบบัญชีของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน อยางไรก็ตาม เหตุการณหรือสถานการณในอนาคตอาจเปนเหตุใหกลุม บริษัทหรือบริษัทตองหยุดการดําเนินงานตอเนือ่ ง ประเมินการนําเสนอโครงสรางและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการโดยรวม รวมถึงการ เปดเผยวางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณในรูปแบบที่ทําใหมีการนําเสนอขอมูลโดย ถูกตองตามทีค่ วร ไดรบั หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอยางเพียงพอเกีย่ วกับขอมูลทางการเงินของบริษัทภายในกลุม หรือกิจกรรม ทางธุรกิจภายในกลุมบริษัท เพื่อแสดงความเห็นตองบการเงินรวม สํานักงานการตรวจเงินแผนดินรับผิดชอบตอการกําหนด แนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั งิ านตรวจสอบกลุม บริษัท สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูร บั ผิดชอบแตเพียงผูเ ดียว ตอความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดสอื่ สารกับผูม หี นาที่ในการกํากับดูแลเกีย่ วกับขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบ ตามที่ไดวางแผนไว ประเด็นที่มีนัยสําคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงขอบกพรองที่มีนัยสําคัญในระบบการควบคุมภายใน ซึง่ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดพบในระหวางการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดใหคาํ รับรองแกผมู หี นาที่ในการกํากับดูแลวาสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานการตรวจเงินแผนดินและขอกําหนดจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วของกับความเปนอิสระและไดสอื่ สารกับผูม หี นาที่ในการ กํากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเชื่อวามีเหตุผลที่บุคคลภายนอก อาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน และมาตรการที่สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ใชเพือ่ ปองกันไมใหสาํ นักงานการตรวจเงินแผนดินขาดความเปนอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแล สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดพิจารณาเรื่องตางๆ ที่มีนัยสําคัญ มากทีส่ ดุ ในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการในงวดปจจุบนั และกําหนดเปนเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดอธิบายเรื่องเหลานี้ในรายงานของผูสอบบัญชีเวนแตก หมายหรือขอบังคับไมใหเปดเผยตอ สาธารณะเกีย่ วกับเรือ่ งดังกลาว หรือในสถานการณทยี่ ากทีจ่ ะเกิดขึน้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินพิจารณาวาไมควรสือ่ สาร เรือ่ งดังกลาวในรายงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเพราะการกระทําดังกลาวสามารถคาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวา จะมีผลกระทบในทางลบมากกวาผลประโยชนตอ สวนไดเสียสาธารณะจากการสือ่ สารดังกลาว

(นาง า พ งชมนา จริยะจินดา) รอง ู าการ ร จ งิน นดิน

(นาง ิพาพร ป ยานนท) ูอําน ยการ ํานัก ร จ อบการ งินท

สานัก านการ รว เ ินแ นดิน วันที่ 23 กุมภาพันธ 2560 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 147


บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

งบแสดง านะการเงิน วันที่

ันวาคม

หนวย บาท

งบการเงินรวม หมายเหตุ

สินทรั ย สินทรั ยหมนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา คาใชจายจายลวงหนาและเงินมัดจํา สินคาและพัสดุคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย รวมสินทรั ยหมนเวียน สินทรั ยไมหมนเวียน เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรั ยไมหมนเวียน รวมสินทรั ย

2558

2559

1 13 3 9 10 4 20 1 350 21 11 925 036 96 5 000 000 130 419 2 9 2 10 35 261 3 11 695 02 25 10 444 1 5 323 904 945 334 21 149 112 9 9 056 5 6 3 4 9 6 5 103 5 920 6 454 4 961 626 43 4 10 20 355 22 9 9 02 240 14 9 0 46 5 12 321 91 69 15 099 392 63 12 321 91 69

61 61 62

2558

1

5 1 6 10 906 6 494 9 060 545 326 5 902 24 322 16 1 6 0 20 15 099 392 63

3 90 65 534 4 39 3 563 1 0 3 520 500 1 0 3 520 500 1 10 209 93 10 209 93 5 5 5 920 4 6 05 2 440 19 63 005 194 91 34 45 20 2 5 363 102 194 63 5 314 20 262 19 695 9 6 3 0 2 159 993 493 10 09 55 6 2 1 031 333 0 10 1 10 014 94 163 6 0 325 6 9 10 000 049 6 4 653 240 1 6 11 14 164 14 939 9 1 2 5 5 2 13 649 56 3 0 9 1 9 44 325

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

148 รายงานประจําป 2559

2559

งบการเงินเ พาะกิจการ


บการ ิน

บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

งบแสดง านะการเงิน วันที่

ันวาคม

หนวย บาท

งบการเงินรวม หมายเหตุ

หนีสินแล สวน อ ู ือหน หนีสินหมนเวียน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย สวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 12 หนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบิน 13 หุนกู 14 เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินปนผลคางจาย รายรับดานขนสงที่ยังไมถือเปนรายได อื่นๆ 15 รวมหนีสินหมนเวียน หนีสินไมหมนเวียน หนี้สินระยะยาว เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 12 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน 12 หนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบิน 13 หุนกู 14 หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี 10 2 เงินกองทุนบําเหน็จพนักงาน 16 ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน 1 ประมาณการหนี้สินระยะยาว 1 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนีสินไมหมนเวียน รวมหนีสิน สวน อ ู ือหน ทุนเรือนหุน 20 ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 2 69 90 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท ทุนที่ออกและชําระแลว หุนสามัญ 2 1 2 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุน กําไร(ขาดทุน)สะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามก หมาย 21 ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวน อ บริ ัทให  สวนไดเสียที่ไมมีอานา ควบคม รวมสวน อ ู ือหน รวมหนีสินแล สวน อ ู ือหน

งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

4 951 411 552 16 46 320 92

4 242 439 990 21 3 6 19 260

4 46 44 51 16 910 539 096

4 095 515 53 21 5 14 6

305 10 45 9 461 231 562 5 200 000 000 2 000 000 000 5 400 3 5 000 11 2 0 4 0

240 05 325 9 9 5 6 330 4 300 000 000 4 000 000 000 10 625 3 0 000 452

305 10 45 9 461 231 562 5 200 000 000 2 000 000 000 5 400 3 5 000 -

240 05 325 9 9 5 6 330 4 300 000 000 4 000 000 000 10 625 3 0 000 -

54 36 6 2 111 129 396 1 9 0 1 06 87,520,765,283

54 1 143 24 6 51 12 415 014 030

54 653 2 6 26 624 69 20 9 6 399 45

54 2 143 24 632 513 20 12 99 43 3 4

13 006 551 1 14 620 533 660 55 2 9 234 923 54 100 000 000 1 54 236 0 4 3 10 0 3 100 11 920 0 2 99 365 31 6 2 14 363 624

20 12 65 6 15 25 204 263 6 660 6 659 52 300 000 000 1 66 2 144 3 0 25 506 11 645 226 35 619 309 93 163 940 945

13 006 551 1 14 620 533 660 55 2 9 234 923 54 100 000 000 1 54 236 0 4 3 10 0 3 100 11 903 55 344 034 0 456 14 0 0 624

20 12 65 6 15 25 204 263 6 660 6 659 52 300 000 000 1 66 2 144 3 0 25 506 11 56 261 69 619 309 93 162 6 915

26 9 9 009 500

26 9 9 009 500

26 9 9 009 500

26 9 9 009 500

21 2 19 1 0 25 545 316 30

21 2 19 1 0 25 545 316 30

21 2 19 1 0 25 545 316 30

21 2 19 1 0 25 545 316 30

2 691 2 5 56 (22 16 1 2 423) 5 604 235 654

2 691 2 5 56 (22 24 04 409) 5 039 440 929

2 691 2 5 56 (20 94 92 49 ) 5 604 164 4 2

2 691 2 5 56 (23 6 6 35 3 3) 5 039 440 929

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(นางอุษ ย

ง ิง ก )

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห 

(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  ายการ งิน ะการบั ช

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 149


บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

งบกาไรขาดทุนเบดเสรจ

สําหรับปสินสุดวันที่

ันวาคม

หนวย บาท

งบการเงินรวม หมายเหตุ รายได รายได ากการ ายหรือการใหบริการ คาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน คาระวางขนสง คาไปรษณียภัณฑ กิจการอื่น รวมรายได ากการ ายหรือการใหบริการ รายไดอื่น ดอกเบี้ยรับ ผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ รายไดอื่นๆ 22 รวมรายไดอื่น รวมรายได คาใ  าย คานํ้ามันเครื่องบิน คาใชจายผลประโยชนพนักงาน 23 คาใชจายผลประโยชนตอบแทนตามโครงการ 24 คาบริการการบิน คาใชจายเกี่ยวกับนักบินและลูกเรือ คาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเชาเครื่องบินและอะไหล คาสินคาและพัสดุใชไป คาใชจายเกี่ยวกับการขายและโ ษณา คาใชจายดานการประกันภัย ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย ผลขาดทุนจากการดอยคาเครื่องบิน 25 คาใชจายอื่น 26 ตนทุนทางการเงิน สวนแบง(กําไร)ขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม รวมคาใ  าย กาไร าดทน กอน า ีเ ินได คาใชจา ย(รายได)ภาษีเงินได 2 กาไร าดทน สาหรับป กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น รายการที่ไมสามารถจัดประเภทใหมเขาไปไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลกําไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ภาษีเงินไดจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน สวนแบงกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน่ ในการรวมคาและบริษัทรวม สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย ภาษีเงินไดเกีย่ วกับสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย รายการทีส่ ามารถจัดประเภทใหมเขาไปไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร(ขาดทุน)จากการเปลีย่ นแปลงในมูลคายุตธิ รรมของการปองกัน ความเสีย่ งกระแสเงินสดเ พาะสวนทีม่ ปี ระสิทธิผล ภาษีเงินไดจากการเปลีย่ นแปลงในมูลคายุตธิ รรมของการปองกัน ความเสีย่ งกระแสเงินสดเ พาะสวนทีม่ ปี ระสิทธิผล ผลกําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผือ่ ขาย ภาษีเงินไดผลกําไรจากการวัดมูลคาเงินทุนในหลักทรัพยเผือ่ ขาย กาไร าดทน เบดเสร อื่นสาหรับป สท ิ าก า ี กาไร าดทน เบดเสร รวมสาหรับป การแบ ปนกาไร าดทน สวนที่เปน อ บริ ัทให  สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม การแบ ปนกาไร าดทน เบดเสร รวม สวนที่เปน อ บริ ัทให  สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กาไร าดทน อหน กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน

งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

14 060 309 53 1 963 345 043 615 301 46 11 6 3 542 694

152 4 6 4 1 0 9 435 210 562 0 9 100 11 5 144 224

140 63 944 30 1 954 991 320 615 301 46 13 092 261 363

14 915 33 41 1 0 9 166 562 0 9 100 12 3 5 5 2 61

204 313 53 6 4 9 0 54 2 244 421 49

331 925 4 3 511 1 612 6 020 259 32

1 991 509 691 942 292 2 542 5 23

320 659 030 3 4 5 34 6 3 1 25 44

45 335 913 346 29 56 433 554 42 122 345 20 1 532 5 352 6 6 21 16 9 6 636 235 1 990 2 445 9 1 541 115 150 440 9 404 409 93 569 951 46 410 161 132 3 21 4 6 4 41 036 05 5 339 160 50 5 9 446 2 9

63 242 33 143 30 6 620 51 3 3 1 -266 44 20 4 4 091 602 5 312 66 969 10 310 630 041 19 132 9 61 949 9 1 2 16 942 9 499 1 4 19 613 9 9 442 2 1 315 202 11 6 432 369 9 359 059 11 5 9 39 3 (131 1)

43 430 926 16 29 0 1 1 1 41 42 122 345 20 1 150 36 5 091 99 359 14 9 2 5 3 5 9 1 96 669 5 6 55 064 11 569 2 6 2 4 2 509 43 95 410 161 132 3 21 4 6 4 53 3 4 5 5 339 160 50 -

61 94 040 4 1 30 24 536 92 3 3 1 266 - 44 20 034 4 655 5 104 5 6 411 9 652 336 5 6 19 11 961 142 65 995 5 2 5 4 2 922 9 110 10 043 5 639 909 2 1 315 202 11 6 432 369 9 051 104 53 5 9 39 3 -

(1 464 23 106)

(1 069 3 4 3)

(1 4 902 2 3)

(1 0 5 235 656)

051 5 1

(400 6 2 10)

-

(400 6 2 10)

(15 610 316) (5 532) -

0 136 542 (10 391 031) 64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)

-

0 136 542

1 215 9

(2 34 050 220)

1 215- 9

(2 34 050 220)

(143 643 159) 94 (1 9 )

469 610 044 -

(143 643 159) -

469 610 044 -

31 6 1 622

20 43 45

-

-

32 691 04

20 43 45

-

-

0 01

(5 99)

64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)

1 32

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ (นางอุษ ย

ง ิง ก )

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห  150 รายงานประจําป 2559

(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  ายการ งิน ะการบั ช

(5 11)


ยังไมได จัดสรร

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ (นางอุษ ย

-

ง ิง ก )

(12 311 369) (143 643 159) 325,966,885

-

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห 

215 9

-

2 462 2 4 -

-

64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)

-

050 220) 469 610 044

64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)

-

050 220) 469 610 044

-

องคประกอบอื่นของสวนผูถือหุน กาไรขาดทุนเบดเสรจอื่น

9

-

-

-

-

630 2 132

1 009 425

631 296 55

(15 525 000) (91 00) 46 21 201

(31 25 000) (31 25 000) (91 00) (91 00) 20 43 45 (13 046 92 4 4) 4 0 503 30 69,743,258 32,925,690,824 69 43 25 32 925 690 24

0 16 601 41 295 932 3

(15 525 000) (91 00) 15 139 5 9 31 6 1 622

(13 06 6 1 941) 4 0 503 30 32,855,947,566 32 55 94 566

41 215 115

(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)

(9 49 095) 5 4 643 20 5,604,235,654

-

5 039 440 929 5,039,440,929 5 039 440 929

-

รวม สวน รวม สวนของ ไดเสียที่ ผูถือหุน ไมมอี านาจ สวนของ บริษัทให  ควบคุม ผูถ ือหุน

หนวย บาท

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  ายการ งิน ะการบั ช

(1 95)

-

-

-

-

ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจาก การเปลีย่ นแปลง ผลกาไร ผลกาไรจาก ภาษีเงินได การวัด มูลคายุตธิ รรม จากการ เกีย่ วกับ รวม ของการปองกัน วัดมูลคาเงิน มูลคาเงิน สวนเกินทุน ลงทุนใน องคประกอบอืน่ ความเสีย่ งกระแส สวนเกินทุน ลงทุนใน เงินสดเ พาะสวน จากการตีราคา จากการตีราคา หลักทรัพย หลักทรัพย ของสวนของ สินทรัพย เผือ่ ขาย ผูถ อื หุน ทีม่ ปี ระสิทธิผล สินทรัพย เผือ่ ขาย

สวนของบริษัทให 

กาไร(ขาดทุน)จาก การเปลีย่ นแปลง ในมูลคายุตธิ รรม ของการปองกัน ความเสีย่ งกระแส เงินสดเ พาะสวน ทีม่ ปี ระสิทธิผล

21 2 19 1 0 25 545 316 30 2 691 2 5 56 ( 49 195 269) ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลีย่ นแปล ในสวน อ ู อื หน หัก เงินปนผลจาย หัก เงินปนผลจายหุน บุรมิ สิทธิชนิดสะสม (13 06 6 1 941) บวก กําไร(ขาดทุน)สําหรับป 255 (330 93 199) (2 34 บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป ยอดค เหลือ วันที่ นั วาคม 21 2 19 1 0 25 545 316 30 2 691 2 5 56 (22 24 04 409) (2 34 ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลีย่ นแปล ในสวน อ ู อื หน หัก เงินปนผลจาย หัก เงินปนผลจายหุน บุรมิ สิทธิชนิดสะสม 15 139 5 9 บวก กําไรสําหรับป 2559 หัก โอนสวนเกินทุนจากการตีราคา 9 49 095 สินทรัพยทจี่ าํ หนาย 55 643 312 1 บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป ยอดค เหลือ วันที่ นั วาคม

ทุน ที่ออกและ สวนเกิน สารองตาม าระแลว มูลคาหุน ก หมาย

กาไร(ขาดทุน)สะสม

ันวาคม

งบการเงินรวม

สําหรับปสินสุดวันที่

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

บการ ิน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 151


152 รายงานประจําป 2559 25 545 316 30 -

-

21 2 19 1 0

-

-

(นางอุษ ย

-

-

2 691 2 5 56

-

2 691 2 5 56

สารองตาม ก หมาย

-

กาไร(ขาดทุน)จาก การเปลีย่ นแปลงใน มูลคายุตธิ รรมของ การปองกัน ความเสีย่ งกระแส เงินสดเ พาะสวน ทีม่ ปี ระสิทธิผล

ง ิง ก )

-

2 15 0 1 9 49 095 1 215 9

-

(23 6 6 35 3 3) (2 34 050 220)

(11 163 049 422) (320 546 16 ) (2 34 050 220)

(12 202 61 3)

ยังไมได จัดสรร

กาไร(ขาดทุน)สะสม

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห 

25 545 316 30

สวนเกิน มูลคาหุน

21 2 19 1 0

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลี่ยนแปล ในสวน อ ู ือหน หัก ขาดทุนสําหรับป 255 บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป 255 ยอดค เหลือ วันที่ ันวาคม ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลี่ยนแปล ในสวน อ ู ือหน บวก กําไรสําหรับป 2559 หัก โอนสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย ที่จําหนาย บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป 2559 ยอดค เหลือ วันที่ ันวาคม

ทุน ที่ออกและ าระแลว

ันวาคม

งบการเงินเ พาะกิจการ

สําหรับปสินสุดวันที่

-

ภาษีเงินได สวนเกินทุนจาก การตีราคา สินทรัพย

-

2 462 2 4

5 4 5 2 63

(9 49 095)

5 039 440 929 5,039,440,929 5 039 440 929

-

รวม องคประกอบอืน่ ของสวนของ ผูถ อื หุน

(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)

-

(12 311 369)

64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)

64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)

-

สวนเกินทุน จากการตีราคา สินทรัพย

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  ายการ งิน ะการบั ช

(143 643 159)

-

469 610 044

469 610 044

-

ภาษีเงินไดจาก การเปลีย่ นแปลง มูลคายุตธิ รรม ของการปองกัน ความเสีย่ งกระแส เงินสดเ พาะสวน ทีม่ ปี ระสิทธิผล

องคประกอบอื่นของสวนผูถือหุน กาไรขาดทุนเบดเสรจอื่น

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

5 4 5 2 63

2 15 0 1 -

31 41 394 602

(11 163 049 422) 4 1 94 61

3 61 549 263

รวม สวนของ ผูถือหุน

หนวย บาท


บการ ิน

บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

งบกระแสเงินสด

สําหรับปสินสุดวันที่

ันวาคม

หนวย บาท

งบการเงินรวม หมายเหตุ

กร แสเ ินสด ากกิ กรรมดาเนิน าน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได รายการปรับกระทบยอดกําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินไดเปนเงินสดรับ(จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาธรรมเนียมเชาเครื่องบิน เงินปนผลรับ ขาดทุน(กําไร)จากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย รายไดจากดอกเบี้ย คาใชจายดอกเบี้ย ขาดทุน(กําไร)จากการจําหนายสินทรัพย ขาดทุนจากการขายเครื่องบิน กําไรจากการกลับรายการหนีส้ นิ หมุนเวียนทีบ่ นั ทึกในงวดบัญชีกอ น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา กําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน คาสินคาและพัสดุเสื่อมสภาพ หนี้สงสัยจะสูญ ผลขาดทุนจากการดอยคาเครื่องบิน ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงานลดลง(เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การคา สินคาและพัสดุคงเหลือ คาใชจายจายลวงหนาและเงินมัดจํา ภาษีเงินไดรอเรียกคืน ก สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยรอการขาย เงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา สินทรัพยอื่น คาใชจายรอการตัดบัญชี หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจาหนี้การคา คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น กองทุนบําเหน็จพนักงาน รายรับดานขนสงที่ยังไมถือเปนรายได หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เ ินสดรับ ากการดาเนิน าน จายภาษีเงินได เ ินสดสท ิไดมา ากกิ กรรมดาเนิน าน

งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

(1 41 416 905)

(14 116 303 26 )

1 393 6 49

(12 23 2 5 0 )

1 990 2 445 199 31 140 (4 2 2 4) 5 9 446 2 9 (204 313 53 ) 5 339 160 50 40 335 50 69 256 925 (610 22 44) (330 305) (51 910 00) 310 166 610 (59 94 994) 3 21 4 6 4 410 161 132

19 132 9 61 1 9 62 5 (619 02 ) (131 1) (331 925 4) 5 9 39 3 ( 6 96 024) 69 941 260 (2 341 400) (2 31 2 2 93) 60 440 461 500 515 63 (122 420 63 ) 11 6 432 369 2 1 315 202

1 96 669 199 31 140 (2 2 24 492) (1 991 509) 5 339 160 50 40 335 50 69 256 925 (613 502 56 ) (536 215 345) 310 166 610 (60 21 0) 3 21 4 6 4 410 161 132

19 11 961 142 1 9 62 5 (192 646 114) (320 659 030) 5 9 39 3 ( 002 34) 69 941 260 (2 291 5 6 4) 5 3 03 632 500 515 63 (123 14 144) 11 6 432 369 2 1 315 202

25 344 21 346

21 446 2 3

2 2 3 6 465

23 262 541 9 0

1 461 36 1 2 623 44 42 55 50 62 102 10 06 (1 9 9 921 313) (1 145 13 326) (4 15 659 622) (221 040 496) (4 65 00 )

1 020 044 63 (26 94 294) 32 239 9 0 246 995 391 (1 662 0 4) (46 04 514) (3 331 300 6 0) 1 3 169 5 4 (93 1 42)

615 22 512 630 931 2 5 4 2 099 3 102 10 06 1 4 1 0 4 205 (1 145 13 326) (4 4 3 906 405) (196 0 0 331) (361 321 646)

1 53 14 051 (12 04 60 ) 951 100 01 246 995 391 (5 039 1 2 06 ) (46 04 514) (3 331 300 6 0) 1 0 599 913 (93 1 42)

919 164 453 (3 932 2 5 5) (264 21 1 ) 2 1 4 96 326 6 65 251 3 9

(1 950 035 90) (2 944 691) ( 2 315) 2 2 332 32 253 030

(2 099 4 5 5) 1 3 6 1 5 34 ( 2 315) 2 201 621 500 1 0 36 26

(564 25 545) 24,558,529,824

(2 6 2 622)

40 69 432 (6 95 622 02) (264 21 1 ) 1 934 542 154 6 434 2 203 26,443,680,743 (522 5 2 261)

(240 413 63 )

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 153


บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

งบกระแสเงินสด

สําหรับปสินสุดวันที่

ันวาคม

หนวย บาท

งบการเงินรวม หมายเหตุ

กร แสเ ินสด ากกิ กรรมล ทน เงินสดจายซื้อสินทรัพยถาวร เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากโอนสิทธิคาเครื่องบินจายลวงหนา และอุปกรณการบิน เงินสดรับจากการจําหนายสินทรัพย ดอกเบี้ยรับ เงินปนผลรับ เงินลงทุนลดลง(เพิ่มขึ้น) เงินลงทุนชั่วคราวลดลง(เพิ่มขึ้น) เ ินสดสท ิใ ไปในกิ กรรมล ทน กร แสเ ินสด ากกิ กรรม ัดหาเ ิน เงินสดรับจากหุนกู เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว เงินสดจายคืนเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดจายชําระคืนหุนกู เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินสดจายดอกเบี้ยเงินกูยืม เงินปนผลจาย เงินปนผลจายสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม เ ินสดสท ิใ ไปในกิ กรรม ัดหาเ ิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสด และเงินฝากธนาคารเพิ่มขึ้น เ ินสดแล รายการเทียบเทาเ ินสดปลายป

งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

(5 663 03 902) (34 4 1 222)

(3 21 9 306) (93 394 45 )

(5 645 9 3 640) (25 645 04 )

(3 99 29 409) ( 55 0 )

1 464 450 042 1 9 64 033 263 910 692 (1 3 420) (45 000 000)

1 511 303 492 1 1 3 22 235 306 620 39 153 1 114 14 243 42 35 000 000

1 464 450 042 162 615 5 2 2 24 492 (1 001 9 420) -

1 511 303 492 1 1 3 22 235 295 40 433 192 646 114 1 3 62 -

000 000 000 32 21 4 0 000 1 3 5 931 51 (39 4 9 0 5 000) (4 300 000 000) (20 111 3 3 426) (4 6 156) (4 6) (15 64 400)

15 000 000 000 26 64 550 000 6 394 35 465 (35 6 5 95 000) (3 000 000 000) (24 3 9 90 445) (5 9 9 435 254) ( 1 19 ) (31 6 200)

15 000 000 000 26 64 550 000 6 394 35 465 (35 6 5 95 000) (3 000 000 000) (24 3 9 90 445) (5 9 9 435 254) ( 1 19 ) -

( 43 3 4 951) 20 1 350 21

(2 992 190 55 ) 23 346 551 299

000 000 000 32 21 4 0 000 1 3 5 931 51 (39 4 9 0 5 000) (4 300 000 000) (20 111 3 3 426) (4 6 156) (4 6) (2 154 90 59 ) (6 99 515 905) 1 5 1 6

46 35 004

426 9 9 9 0

46 35 004

426 9 9 9 0

(4 156 2 554) 22 605 00 442

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(นางอุษ ย

ง ิง ก )

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห 

154 รายงานประจําป 2559

(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  ายการ งิน ะการบั ช


บการ ิน

บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

งบกระแสเงินสด

สําหรับปสินสุดวันที่

ันวาคม

หมายเหตุประกอบงบกระแสเงินสด

ก า ีเงิน ด รอเรียกคืน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉ าะกิจการ

หนวย ลานบาท 2559

รับเงินคืนตาม ภ ง ด 50 ป 255 ปรับปรุงภาษีเงินไดรอเรียกคืน ป 255

252 00 (149 19)

2558 รับเงินคืนตาม ภ ง ด 50 ป 2556 ปรับปรุงภาษีเงินไดรอเรียกคืน ป 255

25 34 (10 34)

ข ที่ดิน อาคาร และอุปกร งบการเงินรวม ในระหวางป 2559 ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 6 910 04 ลานบาท โดยจายชําระเปนเงินสด 5 663 04 ลานบาท ในระหวางป 255 ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 16 61 5 ลานบาท ซื้อโดยวิธีสัญญาเชา การเงิน 12 96 ลานบาท และจายชําระเปนเงินสด 3 21 9 ลานบาท งบการเงินเฉ าะกิจการ ในระหวางป 2559 บริษัทฯ ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 6 93 9 ลานบาท โดยจายชําระเปน เงินสด 5 645 9 ลานบาท ในระหวางป 255 บริษัทฯ ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 16 596 0 ลานบาท ซื้อโดยวิธีสัญญา เชาการเงิน 12 96 ลานบาท และจายชําระเปนเงินสด 3 99 30 ลานบาท ค เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด

หนวย ลานบาท

งบการเงินรวม เงินสดในมือและยอดคงเหลือในธนาคาร เงินลงทุนระยะสั้น เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตามที่เสนอมากอน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน เ ินสดแล รายการเทียบเทาเ ินสดที่ปรับยอดใหม

(นางอุษ ย

ง ิง ก )

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห 

งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

13 342 9 13 342 9 46 4

20 354 36 20 354 36 426 99

2559 11 11

-

30

30 46 4

2558 1 44 3 1 44 3 426 99

(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)

รองกรรมการ ูอําน ยการ ห  ายการ งิน ะการบั ช

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 155


บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับ สินสุ ัน

ธัน าคม

1. ขอมูลทั่วไป

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัท มหาชน จํากัด ในประเทศไทย และเปน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีที่อยูตามที่ไดจดทะเบียนคือ สํานักงานใหญของบริษัทฯ ตั้งอยูเลขที่ 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือธุรกิจสายการบิน และหนวยธุรกิจ ซึ่งเปนกิจการที่เกี่ยวของโดยตรงกับการขนสง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเครือขายเสนทางการบินใหบริการครอบคลุม 61 จุดบินใน 32 ประเทศทั่วโลก โดยเปน 4 จุดบินภายในประเทศ (ไมรวมกรุงเทพมหานคร)

2. เกณ  ในการจัดทางบการเงิน

การจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ ไดจดั ทําขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปภายใตพระราชบัญญัติ การบัญชี พ ศ 2543 ซึ่งหมายความถึงมาตรฐานการบัญชีที่ออกภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ ศ 254 และตาม ขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย วาดวยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใต พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ ศ 2535 งบการเงินเ พาะกิจการประกอบดวยงบการเงินบริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และกองทุนบําเหน็จพนักงาน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินเ พาะกิจการและบริษัทยอย ดังตอไปนี้ อบริ ือหน ดยบริ ัท 1 บริษัท ไทย-อะมาดิอุสเซาทอีสตเอเชีย จํากัด 2 บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด 3 บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด 4 บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ือหน ดยบริ ัทยอย อ บริ ัท บริษัทยอยที่ถือหุนโดย บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด 

ลก

ะธุรกิจ

ประ

นน

อ รารอยละ อ การ อ ุน 2559

2558

บริษัทเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับการเดินทางแบบครบวงจร บริการงานบุคลากรเ พาะดานใหกับบริษัทฯ บริการฝกอบรมดานการบิน บริการขนสงทางอากาศ

ไทย

55

55

ไทย ไทย ไทย

49 49 100

49 49 100

ประกอบธุรกิจทองเที่ยว

ไทย

49

49

บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการคาขายในการเดินอากาศ (Air ine erator icense A ) ใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศ (Air ine erator erti icate A ) และรหัสสายการบิน (Air ine esignator ode) จาก IATA เมื่อวันที่ 10 มกราคม 31 มีนาคม และ 1 เมษายน 255 ตามลําดับ ทั้งนี้ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ไดเริ่มดําเนินธุรกิจเมื่อวันที่ 10 เมษายน 255 บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของบริษัทฯ การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อบริษัทฯ มีอํานาจควบคุมทั้งทางตรงหรือ ทางออม ในการกําหนดนโยบายทางการเงิน และการดําเนินงานของบริษัทยอยนั้น และรายการบัญชีที่เปนสาระสําคัญที่เกิด ขึ้นระหวางบริษัทใหญ และบริษัทยอยไดถูกหักกลบลบกันในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงิน บับภาษาอังก ษแปลจากงบการเงินที่เปนภาษาไทย ในกรณีที่มีเนื้อความขัดแยงกันหรือมีการตีความในสอง ภาษาแตกตางกัน ใหใชงบการเงิน บับภาษาไทยเปนหลัก งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิม ในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน เวนแตจะไดเปดเผย เปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 156 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

3. มาตร านการบั ี มาตร านการรายงานทางการเงิน การตีความมาตร านการบั ี และการตีความมาตร านการรายงานทางการเงิน ที่ยังไมมีผลบังคับใ  มีรายละเอียดดังตอไปนี้

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชี บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การนําเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สินคาคงเหลือ มาตรฐานการบัญชี บับที่ (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชี บับที่ (ปรับปรุง 2559) เรื่อง นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด มาตรฐานการบัญชี บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สัญญากอสราง มาตรฐานการบัญชี บับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชี บับที่ 16 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ มาตรฐานการบัญชี บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สัญญาเชา มาตรฐานการบัญชี บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง รายได มาตรฐานการบัญชี บับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 20 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี บับที่ 21 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ มาตรฐานการบัญชี บับที่ 23 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ตนทุนการกูยืม มาตรฐานการบัญชี บับที่ 24 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 26 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบการเงินเ พาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา มาตรฐานการบัญชี บับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที่เงินเฟอรุนแรง มาตรฐานการบัญชี บับที่ 33 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง กําไรตอหุน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 34 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การรายงานทางการเงินระหวางกาล มาตรฐานการบัญชี บับที่ 36 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการบัญชี บับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชี บับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 40 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 41 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เกษตรกรรม มาตรฐานการบัญชี บับที่ 104 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีสําหรับการปรับโครงสรางหนี้ที่มีปญหา มาตรฐานการบัญชี บับที่ 105 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูล สําหรับเครื่องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 2 เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ (ปรับปรุง 2559) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 157


มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 4 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 6 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 25 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 31 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 32 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559)

เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สัญญาประกันภัย เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย และการ ดําเนินงานที่ยกเลิก เรื่อง การสํารวจ และประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล-กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของ อยางเ พาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรือของผูถือหุน เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ ก หมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโ ษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต บับที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน บับที่ 4 เรื่อง การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม

บับที่ 5 เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดลอม บับที่ เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี บับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 10 เรื่อง การรายงานทางการเงินระหวางกาลและการดอยคา (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 12 เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ (ปรับปรุง 2559) 158 รายงานประจําป 2559


มาย

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 14 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 20 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 21 (ปรับปรุง 2559)

ุประกอบ บการ ิน

เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขั้นตํ่าและปฏิสัมพันธของรายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี บับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) เรื่องผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับ เหมืองผิวดิน เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ

ฝายบริหารของบริษัทฯ ไดประเมินและเห็นวา มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวขางตนจะไมมีผลกระทบอยาง เปนสาระสําคัญตองบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการที่จะนําเสนอ

. สรุปนโยบายการบั

ีที่สาคั

.1 คาเผื่อหนีสงสัยจะสู ลูกหนี้การคาที่ไมใชสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยพิจารณาลูกหนี้รายตัว และวิเคราะห ประวัตกิ ารชําระหนี้ ขอมูลหลักฐานการติดตอของลูกหนีแ้ ตละรายควบคูไ ปกับการพิจารณาอายุหนีข้ องลูกหนีเ้ ปนเกณฑ ในอัตรา ดังนี้ ระยะเวลาที่คาง าระ

เกินกวา 6 เดือน - 1 ป เกินกวา 1 ป - 2 ป เกินกวา 2 ป

อัตรารอยละของหนีสงสัยจะสู

50 5 100

.2 สินคาและพัสดุคงเหลือ สินคาและพัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ประกอบดวยอะไหลเครื่องบิน นํ้ามันเครื่องบิน พัสดุสําหรับใชในหองพัก ผูโ ดยสารและการบริการอาหาร สินคาซือ้ มาเพือ่ ขาย เครือ่ งเขียนและพัสดุอนื่ แสดงราคาทุนตามวิธถี วั เ ลีย่ เคลือ่ นที่ (Moving Average) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะตํ่ากวา และสินคาระหวางทาง แสดงตามราคาทุน ณ วันที่ซื้อ อะไหลเครื่องบินที่ ใชงานอยูตามปกติ ตั้งคาเผื่อพัสดุเสื่อมสภาพในอัตรารอยละ 10 ของยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด อะไหลเครื่องบินที่หมุนเวียนชาและรอการจําหนาย ไดแก อะไหลเครื่องบินที่ ไมใชงานเกิน 2 ป หรือไมมี เครื่องบินอยูในฝูงบิน ตั้งคาเผื่อพัสดุเสื่อมสภาพในอัตรารอยละ 33 33 ของยอดที่เกิดขึ้นในระหวางงวด สินคาลาสมัยและชํารุดรอการจําหนาย ตั้งคาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพเต็มจํานวน .3 เงินลงทุน 4 3 1 เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม บันทึกตามวิธสี ว นไดเสียตามสัดสวนของการลงทุนในบริษัทยอยและ บริษัทรวมในงบการเงินรวม แตบันทึกตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเ พาะกิจการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 159


4 3 2 เงินลงทุนชั่วคราวในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนดภายใน 1 ป แสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนตัดจําหนาย และตัดบัญชีสวนเกิน สวนตํ่ากวามูลคาตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ซึ่งจํานวนที่ตัดจําหนายนี้จะแสดงเปนรายการ ปรับกับดอกเบี้ยรับ 4 3 3 เงินลงทุนระยะยาวในตราสารทุนที่ ไมอยู ในความตองการของตลาด แสดงตามราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อ การดอยคาของหลักทรัพยในกรณีที่มีการดอยคา และรับรูเปนผลขาดทุนในงวดที่เกิดการดอยคาในงบกําไรขาดทุน . ที่ดิน อาคาร อุปกรณและคาเสื่อมราคา 4 4 1 เครื่องบินและเครื่องบินภายใตสัญญาเชา 4 4 1 1 เครื่องบินและเครื่องบินภายใตสัญญาเชา แสดงตามราคาทุนรวมคาเครื่องยนต อุปกรณการบิน อื่นๆ บวกดวยคาตกแตงเครื่องบินกอนนําเครื่องบินมาบริการโดยไมรวมที่นั่งผูโดยสารและประมาณการคาซอมใหญเครื่องบิน ครัง้ แรกและหักดวยสวนลดรับคาสิทธิประโยชนจากการซือ้ เครือ่ งบิน คํานวณคาเสือ่ มราคาโดยวิธเี สนตรงตาม อายุการใชงาน โดยประมาณ 20 ป มีมูลคาคงเหลือรอยละ 10 ของราคาทุน 4 4 1 2 คาซอมใหญเครื่องบิน ( - eck) แสดงแยกประมาณการคาซอมใหญเครื่องบินครั้งแรกเปน สินทรัพย ออกจากตนทุนเครื่องบินและคํานวณคาเสื่อมราคาตามระยะเวลาที่จะซอมใหญครั้งตอไป 4- ป ตามแบบของ เครื่องบิน เมื่อมีการซอมใหญใหบันทึกเปนสินทรัพยแทนสินทรัพยเดิม 4 4 1 3 คาที่นั่งผูโดยสารแสดงเปนสินทรัพยแยกตางหากจากตนทุนเครื่องบิน คํานวณคาเสื่อมราคาโดย วิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณ 5 ป เมื่อมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงที่นั่งผูโดยสารบันทึกเปนสินทรัพยแทน สินทรัพยเดิม 4 4 2 อุปกรณการบินหมุนเวียน แสดงตามราคาทุน ณ วันที่ไดมา คํานวณคาเสื่อมราคาโดยวิธีเสนตรงตามอายุ การใชงานโดยประมาณระหวาง 5-20 ป 4 4 3 ที่ดิน แสดงตามมูลคายุติธรรมตามวิธีตีราคาใหม ประเมินราคาโดยวิธีราคาตลาดจากผูประเมินราคาอิสระ ที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (กลต )ใหความเห็นชอบ มีผลกับงบการเงินรอบระยะเวลา บัญชีป 255 เปนตนไป และกําหนดใหมีการประเมินมูลคาที่ดินทุก 5 ป ทั้งนี้อาจพิจารณาดําเนินการกอนกําหนด หากมีการ เปลี่ยนแปลงที่กระทบตอมูลคายุติธรรมของที่ดินอยางมีนัยสําคัญ มูลคาที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหมไดแสดงเปนสวนหนึ่งใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และรับรูจํานวนสะสมสวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินในสวนของเจาของ บริษั ทไมมีนโยบายการ จายเงินปนผลสําหรับเงินสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยนี้ 4 4 4 สินทรัพยถาวรอื่น แสดงตามราคาทุน ณ วันที่ ไดมาหรือกอสรางแลวเสร็จ คํานวณคาเสื่อมราคาโดยวิธี เสนตรง ตามอายุการใชงานโดยประมาณระหวาง 3-30 ป 4 4 5 ตนทุนเพื่อการไดมาซึ่งสิทธิการเชาสถานที่ ตัดบัญชีภายในระยะเวลา 10-30 ป ตามอายุสัญญาเชา 4 4 6 กําไรขาดทุนจากการจําหนายเครื่องบิน คํานวณจากผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนาย เครื่องบินกับมูลคาสุทธิตามบัญชีของเครื่องบิน คาซอมใหญ ( - eck) และคาที่นั่งผูโดยสาร สวนกําไรขาดทุนจากการขาย สินทรัพยอนื่ คํานวณจากผลตางระหวางสิง่ ตอบแทนสุทธิที่ไดรบั จากการจําหนายกับมูลคาสุทธิตามบัญชีของสินทรัพยทจี่ าํ หนาย และรับรูเปนรายไดหรือคาใชจายในงบกําไรขาดทุน .5 สินทรัพย ไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายแสดงดวยมูลคาตามบัญชีหรือมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายแลวแต ราคาใดจะตํ่ากวา ขาดทุนจากการดอยคารับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายรับรูเปนรายไดอื่นหรือ คาใชจายอื่นเมื่อมีการจําหนาย .6 สินทรัพย ไมมีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอรประกอบดวย ลิขสิทธิโปรแกรมคอมพิวเตอร (So t are icense) และตนทุนที่เกี่ยวของโดยตรงกับผลิตภัณฑโปรแกรมที่ระบุ ได และมีเอกลักษณเ พาะงานของโปรแกรมที่สามารถแยกออกจากตัวคอมพิวเตอรได สามารถระบุตนทุนไดแนนอน และ 160 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

มีอายุการใชงานทางเศรษฐกิจเกินกวารอบระยะเวลาบัญชีจะรับรูเปนสินทรัพยไมมีตัวตน และตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงตาม อายุงาน 5 ป รายจายที่เกิดขึ้นจากการพั นาและบํารุงดูแลโปรแกรมคอมพิวเตอร ใหบันทึกเปนคาใชจายประจํางวด .

การดอยคาของสินทรัพย บริษั ทฯ พิจารณาการดอยคาของสินทรัพยเมื่อมีขอบงชี้ของการดอยคา และคํานวณผลขาดทุนจากการดอยคา โดยพิจารณาจากราคาตามบัญชีของสินทรัพยมีมูลคาสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพย มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน หมายถึง มูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย ซึ่งบริษัทฯ พิจารณาการดอยคาเ พาะหมวดเครื่องบิน และเครื่องยนตอะไหลที่ ปลดระวาง โดยผูเชี่ยวชาญในการประเมินราคาเครื่องบินของบริษัทฯ ประเมินมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ซึ่งอางอิงจากราคา ตลาดที่ประกาศโดยผูเชี่ยวชาญการประเมินราคาเครื่องบิน และดําเนินการปรับปรุงเพิ่มเติมตามสภาพระยะเวลาการใชงาน ของเครื่องบินตามวิธีการที่กําหนดเปนมาตรฐานในกระบวนการประเมินราคาเครื่องบิน ในกรณีทรี่ าคาตามบัญชีของสินทรัพยสงู กวามูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืน จะรับรูข าดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และจะบันทึกกลับรายการขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยเมื่อมีขอบงชี้วาการดอยคาดังกลาว ไมมีอยูอีกตอไปหรือยังคงมีอยูแตเปนไปในทางที่ลดลง .8 คาใ จายรอการตัดบั ี 4 1 คาซอมใหญเครื่องบิน ( - eck) สําหรับเครื่องบินเชาดําเนินงาน ตัดจายเปนรายจายตามอายุการใชงาน โดยประมาณ 4- ป แตไมเกินอายุสัญญาเชา 4 2 คาธรรมเนียมการคํา้ ประกันเงินกูร อการตัดบัญชี ตัดจายเปนรายจายตามระยะเวลาเงินกูใ นแตละรอบระยะ เวลาบัญชี .9 หนีสินภายใตเงื่อนไขสั าเ าเครื่องบิน หนี้ที่เกิดจากการซื้อเครื่องบินภายใตสัญญาเชาระยะยาว โดยผานสถาบันการเงิน แสดงมูลคาตามภาระหนี้ผูกพัน กับสถาบันการเงิน และจะลดมูลคาลงตามจํานวนหนี้ที่จายชําระคืน .10 การรับรูรายได 4 10 1 รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน 4 10 1 1 รายรับจากการจําหนายบัตรโดยสารและใบสั่งบริการ (Service rder) รับรูเปนรายไดเมื่อมี ผูโดยสารนําบัตรโดยสารมาใชบริการกับสายการบินของบริษั ทฯ ในสวนที่ผูโดยสารไปใชบริการกับสายการบินอื่นจะรับรู สวนตางราคาขายกับยอดที่สายการบินเรียกเก็บเปนรายไดเมื่อสายการบินนั้นเรียกเก็บเงินมา 4 10 1 2 บัตรโดยสารและใบสั่งบริการ (Service rder) ที่จําหนายแลว แตยังไมไดใชบริการ รับรูเปน รายไดเมื่อบัตรโดยสารและใบสั่งบริการนั้นมีอายุเกินกวา 2 ปขึ้นไป 4 10 2 รายไดคา ระวางขนสง รับรูเ มือ่ ไดใหบริการขนสงสินคาและพัสดุภณ ั ฑ และออกใบรับสงสินคาและ พัสดุภณ ั ฑ (Air Waybi ) สําหรับพัสดุภัณฑที่ขนสงโดยสายการบินอื่น จะรับรูสวนตางราคาขายกับยอดที่สายการบินอื่นเรียกเก็บเปน รายไดเมื่อสายการบินนั้นเรียกเก็บเงินมา - พัสดุภัณฑที่บริษั ทฯ ออกใบรับสงสินคาและพัสดุภัณฑแลว แตขนสงโดยสายการบินอื่นจะรับรูเปน รายไดเมื่อสายการบินที่ทําการขนสงไมเรียกเก็บเงินมาภายในระยะเวลา 1 ป 4 10 3 บริษัทฯ ไดนําโครงการสะสมระยะทาง (Roya rc id P us) มาใชสงเสริมการขาย ตั้งแตป 2536 โดย ใหสิทธิพิเศษแกสมาชิกที่เขาโครงการนําระยะทางที่สะสมตามเกณฑที่กําหนดมาใชบริการในอนาคต บริษัทฯ คํานวณมูลคา ยุติธรรมตอไมลโดยใชคาเ ลี่ยของมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลบัตรโดยสาร และมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลอื่นๆ ถวงนํ้าหนักดวยจํานวนการแลกรางวัลทั้งหมด ทั้งนี้วิธีการคํานวณมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลทั้งสองประเภท ใชหลักการเดียวกัน กลาวคือในสวน ของมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลบัตรโดยสาร ใชคาโดยสารเ ลี่ยในแตละเสนทางบินที่สมาชิกสามารถขอใชสิทธิแลก บัตรโดยสาร หารดวยจํานวนไมลที่จะตองใชในการขอใชสิทธิของแตละเขตพื้นที่การบิน ถัวเ ลี่ยถวงนํ้าหนักดวยการใชสิทธิ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 161


ในแตละเขตพื้นที่การบิน และในสวนของมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลอื่นๆ หารดวย จํานวนไมลที่จะตองใชในการขอใช สิทธิแลกรางวัลอืน่ ๆ ถัวเ ลีย่ ถวงนํา้ หนักดวยการใชสทิ ธิแลกรางวัลอืน่ ๆ เปนมูลคาตอไมลของโครงการสะสมระยะทาง จากนัน้ บันทึกบัญชีมูลคาไมลสะสมตามประมาณการใชสิทธิของสมาชิก โดยนําไปลดรายไดคาโดยสารคูกับรายรับดานขนสงที่ยัง ไมถือเปนรายได(ดานหนี้สิน) เมื่อสมาชิกนําสิทธิมาใชบริการจึงรับรูเปนรายได 4 10 3 1 ไมลสะสมของสมาชิกที่ไมนาํ สิทธิมาใชบริการรับรูเ ปนรายไดเมือ่ ไมลสะสมนัน้ มีอายุเกินกวา 3 ป ขึ้นไป 4 10 3 2 การสะสมไมลและการใชไมลสะสมขอแลกรางวัลรวมกับกลุมพันธมิตรการบิน สายการบินและ ธุรกิจคูสัญญาจะเรียกเก็บเงินระหวางกันตามจํานวนไมลสะสมที่สมาชิกไดรับหรือตามจํานวนไมลที่สมาชิกใชแลกรางวัลตาม อัตราราคาตอไมล ตามขอตกลงของคูสัญญาแตละรายและจะรับรูเปนรายไดเมื่อนําสิทธิมาใชบริการ 4 10 3 3 บริษัทฯ มีการขายไมลใหกบั สมาชิกเพือ่ ใหสามารถใชสทิ ธิในการแลกรางวัลเร็วขึน้ จะรับรูร ายได ในผลตางราคาขายกับมูลคาตอไมล 4 10 4 รายไดจากกิจการอื่นของหนวยธุรกิจ ไดแก การบริการซอมบํารุงอากาศยาน การบริการลูกคาภาคพื้น การบริการลานจอดและอุปกรณภาคพืน้ การบริการคลังสินคาจะรับรูเ ปนรายไดเมือ่ ใหบริการ สวนรายไดจากธุรกิจครัวการบิน จะรับรูเปนรายไดเมื่อขาย สวนรายไดจากกิจการสนับสนุนการขนสง ไดแก การจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน และ การจําหนายสินคาที่ระลึกจะรับรูเปนรายไดเมื่อขาย สวนรายไดจากบริการอํานวยการบินจะรับรูเปนรายไดเมื่อใหบริการ 4 10 5 รายไดอื่นรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคาง .11 กาไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน คํานวณโดยหารกําไรหรือขาดทุนที่เปนสวนของบริษัทใหญดวยจํานวนถัวเ ลี่ย ถวงนํ้าหนัก ของหุนสามัญที่ถือโดยผูถือหุนในระหวางงวด .12 รายการที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศทีเ่ กิดขึน้ ในระหวางงวดแปลงคาเปนเงินบาทโดย ใชอตั ราแลกเปลีย่ นตามประกาศ ของธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันที่เกิดรายการ ซึ่งเปนอัตราถัวเ ลี่ยของอัตราซื้อและอัตราขาย ทั้งนี้ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 255 เปนตนไป สินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดบัญชี แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราปดที่ เปนอัตราซื้อถัวเ ลี่ยและขายถัวเ ลี่ยของธนาคารพาณิชยตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะ การเงินตามลําดับ กําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้น รับรูเปนรายไดหรือคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ .13 ผลประโย นของพนักงาน ผลประโยชนของพนักงานระยะสั้น บริษัทฯ รับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลประโยชนหลังออกจากงาน ภายใตโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่น ไดบันทึก ในงบการเงิน โดยใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว ซึ่งคํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัย ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย (Actuaria ains and osses) สําหรับ โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงานจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ .1 กองทุนสารองเลียง ีพ บริษัทฯ ไดจดั ตัง้ “กองทุนสํารองเลีย้ งชีพพนักงานบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)” ซึง่ จดทะเบียนแลว เมือ่ วันที่ 26 มิถุนายน 2535 ตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ ศ 2530 บริหารโดยผูจัดการกองทุนจึงไมปรากฏในงบดุล ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ จายสมทบเขากองทุนฯ สําหรับสมาชิกทีม่ อี ายุการทํางานไมเกิน 20 ป ในอัตรารอยละ 9 ของเงินเดือน สวนสมาชิกที่มีอายุการทํางานเกิน 20 ป จายสมทบในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนโดยรับรูเปนคาใชจายของบริษัทฯ .15 ภาษีเงินไดรอการตัดบั ี ภาษีเงินไดคํานวณตามเกณฑที่กําหนดไวในประมวลรัษ ากร 162 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวระหวาง ราคาตามบัญชีกับราคาตามฐานภาษี ของสินทรัพยและหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ทั้งนี้บริษัทฯจะรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีก็ตอเมื่อมีความเปน ไปไดคอนขางแนที่บริษัทฯจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี สินทรัพยภาษีเงินไดรอ การตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่สิ้นรอบระยะเวลารายงาน และจะถูกปรับลดมูลคาตามบัญชีดังกลาว เมื่อมีความเปนไป ไดคอนขางแนวา บริษัทฯ จะไมมีกําไรทางภาษีเพียงพอตอการนําสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทั้งหมด หรือบางสวนมา ใชประโยชน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชีกับราคาตามฐานภาษีของ สินทรัพยไมมีตัวตน และสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย .16 การใ ประมาณการทางบั ี ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป บริษัทฯ และบริษัทยอยตองใชการประมาณและ ตั้งขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอจํานวนเงินที่เกี่ยวกับรายได คาใชจาย สินทรัพย และหนี้สิน รวมทั้งการเปด เผยขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพยและหนี้สินอื่นที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งอาจมีผลแตกตางกับผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางสมํ่าเสมอ การปรับประมาณ การทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ไดรับผลกระทบ .1 เครื่องมือทางการเงิน บริษั ทฯ ใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ โดยไดทาํ ขอตกลงกับคูส ญ ั ญาแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบีย้ โดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น และอัตราดอกเบี้ยที่ไดตกลงกันลวงหนา และจะทําการแลกเปลี่ยนเมื่อถึงกําหนดตามสัญญา แตละฝายจะจายและรับเงินตน และหรือดอกเบี้ยในรูปสกุลเงิน และอัตราดอกเบี้ยตามที่ตกลงกัน สวนตางของดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจะบันทึกเปนดอกเบี้ยจายใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สวนตางของเงินตนจะบันทึกเปนผลกําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สวนสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาจะรับรูในงบการเงินเมื่อครบกําหนดสัญญา สวนตาง ที่เกิดขึ้นจะบันทึกเปนผลกําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดทําประกันความเสีย่ งราคานํา้ มัน คาธรรมเนียมในการจัดทํา และสวนตางของราคานํา้ มัน ที่เกิดจากการทําสัญญาบันทึกเปนคานํ้ามันเครื่องบินในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ .18 การบั ีเกี่ยวกับการปองกันความเสี่ยง การบัญชีเกี่ยวกับการปองกันความเสี่ยงกระแสเงินสด ในกรณีที่นําเครื่องมือทางการเงินมาใชเพื่อปองกันความเสี่ยงกระแสเงินสดของรายการสินทรัพย และหนี้สินที่ บันทึกในบัญชี หรือของรายการที่คาดวามีโอกาสเกิดขึ้นคอนขางสูงซึ่งมีผลกระทบตอกําไรหรือขาดทุน หากเปนรายการสวน ที่มีประสิทธิผลใหบันทึกกําไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลคายุติธรรมภายหลังการบันทึกครั้งแรกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยแสดงเปนรายการปองกันความเสีย่ งกระแสเงินสดแยกตางหากในสวนของผูถ อื หุน สําหรับสวนที่ไมมปี ระสิทธิผล จะบันทึก ในกําไรหรือขาดทุนทันที การปองกันความเสี่ยงในสวนที่มีประสิทธิผลที่รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจะรับรูในกําไรขาดทุนเมื่อรายการที่ คาดวาจะเกิดขึ้นรับรูในกําไรขาดทุน ในกรณีที่รายการที่มีการปองกันความเสี่ยงนั้นไมเกิดขึ้นแลวใหปรับกําไรหรือขาดทุน ที่สะสมอยู ในสวนของ ผูถือหุนนั้น ไปยังกําไรหรือขาดทุนทันที

5. การดาเนินงานตามแผนปฏิรูป

เนื่องจากผลขาดทุนจากการดําเนินงานใน ป 2556 บริษัทฯ ไดจัดทําแผนการแกไขปญหาบริษัทฯ ซึ่งผานความเห็นชอบ ในหลักการจากคณะกรรมการบริษัทฯ แลว เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 255 โดยในระยะเรงดวนมีแผนมุงเนนการเพิ่มรายไดลด คาใชจายเพื่อปรับปรุงผลการดําเนินงานใน ป 255 และจัดหาเงินทุนเพื่อใหบริษัทฯ สามารถดําเนินธุรกิจไดตอไปในอนาคต ตอมา ในป 255 บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูปที่ไดผานการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 163


ธันวาคม 255 และไดรับความเห็นชอบใหดําเนินการตามแผนจากคณะกรรมการนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ (คนร ) เมื่อวันที่ 26 มกราคม 255 ซึ่งแผนปฏิรูปจะมีการดําเนินการอยางตอเนื่องระหวางป 255 -2559 ป 255 บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูปซึ่งขับเคลื่อนโดยกลยุทธหลัก 6 กลยุทธ อยางตอเนื่อง ซึ่งเริ่มตั้งแตไตรมาส ที่ 1 ของป 255 ประกอบดวย การปรับปรุงเครือขายเสนทางบิน โดยยกเลิกเสนทางบินที่ไมมีประสิทธิภาพ และไมทํากําไร การปรับปรุงฝูงบิน โดยการลดแบบเครือ่ งบินเพือ่ ลดตนทุนดานการซอมบํารุง การพาณิชย โดยการปรับปรุงการขาย และการจัด จําหนายเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการหารายไดเพิม่ ขึน้ การปรับปรุงการปฏิบตั กิ ารและตนทุน โดยดําเนินการโครงการรวมใจจาก องคกร (MSP) และ o den Hands ake และลดคาใชจายที่ไมรวมคานํ้ามันเชื้อเพลิง การปรับปรุงโครงสรางองคกร เพื่อให การตัดสินใจที่รวดเร็วขึ้น และการจัดการกลุมธุรกิจของบริษัทฯ อยางเปนระบบ โดยมีกระบวนการติดตามผลอยางใกลชิด แตผลการดําเนินงานปรากฏวารายไดจากการดําเนินงานตามแผนงานไมเปนไปตามเปาหมาย เนื่องจากผลกระทบจาก เศรษฐกิจโลกชะลอตัว สภาวะเศรษฐกิจในประเทศไทยยังไมฟนตัวตามที่คาดหมาย การแขงขันดานราคาที่รุนแรงโดยเ พาะ ในเสนทางภูมิภาคเอเชียที่มีสายการบินตนทุนตํ่าทําการบินดวยความถี่สูงเปนจํานวนมากประกอบกับเหตุการณระเบิดที่ ราชประสงคที่สงผลกระทบตอปริมาณการขนสงผูโดยสารในเสนทางสําคัญลดลงประมาณรอยละ 15-20 ไดแก จีน ญี่ปุน องกง เกาหลี ไตหวันและสิงคโปร สวนคาใชจายโดยรวมใกลเคียงกับเปาหมายแตยังไมเปนไปตามคาดการณไว และไมได ทําใหคาใชจายลดลงอยางมีนัยสําคัญ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดจัดทําแนวทางแกไขปญหาเรงดวน ดานการลดรายจายและการหา รายไดเพิ่ม และการบริหารการเปลี่ยนแปลง โดยจัดใหมีกระบวนการกํากับดูแลติดตามผลจากผูบริหารระดับสูงอยางใกลชิด เพื่อใหบริษัทฯ สามารถดําเนินงานไดใกลเคียงกับเปาหมายที่วางไวมากที่สุด สําหรับป 2559 บริษัทฯ ไดใชแผนปฏิรูป บับลงวันที่ 4 กุมภาพันธ 2559 โดยอยูในขั้นที่ 2 ของแผนปฏิรูป คือสราง ความแข็งแกรงในการแขงขัน (Strengt Bui ding) ซึ่งประกอบดวย 4 กลยุทธ คือการหารายได การลดคาใชจาย การสราง a abi ity และการสรางความเปนเลิศในการบริการลูกคา โดยมีแผนงานหลักเพื่อสนับสนุน 20 แผนงาน และมีแผนการ ดําเนินงานรายกลยุทธ กําหนดขอบเขต และเปาหมายการทํางานที่ชัดเจน กําหนดผูรับผิดชอบโดยตรงทุกแผนงาน มีบุคลากร จากหนวยงานที่เกี่ยวของเขารวมดําเนินการ อีกทั้งมีกระบวนการในการติดตามผลและแกปญหาอยางใกลชิด โดยมีแผนงานที่ ดําเนินการแลวเสร็จ เชน การวางระบบบริหารเครือขายเสนทางบิน ( et ork Manage ent Syste ) การวางระบบบริหารรายได การยกระดับการใหบริการ ผลิตภัณฑ และอาหารที่ใหบริการในชั้นธุรกิจ การปรับปรุงกระบวนการทํางานใหมีประสิทธิภาพ แผนการบริหารสภาพคลองสําหรับป 2559 บริษัทฯ ไดบริหารเงินกูระยะยาว โดยดําเนินการออกและเสนอขายตราสาร หนี้ประเภทหุนกูภายในประเทศวงเงินรวม 000 ลานบาท และบริหารเงินกูระยะสั้น โดยดําเนินการตออายุ (Ro ver) เงินกูตอจากกระทรวงการคลัง ในรูปแบบการออกตราสาร uro o ercia Pa er ( P) ที่ครบกําหนดออกไปอีก 1 0 วัน เนื่องจากอยูระหวางดําเนินการขายเครื่องบิน A340-600 จํานวน 6 ลํา รวมถึงการบริหารวงเงินสินเชื่อหมุนเวียน (Revo ving redit ine) โดยการคืนตัวแลกเงินที่ครบกําหนด และตออายุ (Ro ver) ตัวแลกเงินในบางสวนทําใหตลอดป 2559 บริษัท ฯ ยังคงมีเงินสดสํารองคงเหลือ ( as on Hand) ในระดับเพียงพอและสามารถดําเนินธุรกิจไดตามปกติ สําหรับป 2560 บริษัทฯ ไดจัดทํางบประมาณการกระแสเงินสดป 2560 ภายใตเงื่อนไขที่ใชความระมัดระวัง ทั้งไดมี แผนการจัดเตรียมเงินทุน เพือ่ รองรับการชําระคาเครือ่ งบินทีม่ กี าํ หนดรับมอบในป 2560 และหนีท้ คี่ รบกําหนดรวมถึงการบริหาร วงเงินสินเชื่อหมุนเวียน (Revo ving redit ine) ประเภท o itted และ nco itted เพื่อใชในการดําเนินกิจการ ซึ่งบริษัทฯ เชื่อมั่นวาหากบริษัทฯ ดําเนินการตามแผนปฏิรูปอยางจริงจังและตอเนื่อง จะสงผลใหบริษัทฯ มีผลประกอบการ ที่ดีขึ้น และจะสงผลใหบริษั ทฯ มีเงินสดสํารองในมือคงเหลืออยูในระดับที่เพียงพอ และสามารถดําเนินกิจการไดตามปกติ หากไมไดรับผลกระทบจากปจจัยภายนอกที่บริษัทฯ ไมสามารถควบคุมได

6. ผลกระทบจากกรณีกรมการบินพลเรือน (เปลี่ยน ื่อเปนกรมทาอากาศยาน) ไมผานการตรวจประเมินของ C

ตามที่องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (I A ) ไดประกาศใน Pub ic Website เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 255 วาพบขอบกพรองอยางมีนยั สําคัญของกรมการบินพลเรือนของประเทศไทย อยางไรก็ตามประกาศดังกลาวไมไดเกีย่ วของกับการ ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯโดยตรง ตอมาสํานักงานบริหารการบินแหงชาติสหรัฐอเมริกา (Federa Aviation Ad inistration-FAA) ไดเขามาตรวจสอบระบบการกํากับดูแลความปลอดภัยการบินพลเรือนของประเทศไทย ซึง่ FAA แจงผลการตรวจสอบอยางเปน ทางการวา ระบบการกํากับดูแลความปลอดภัยการบินพลเรือนของประเทศไทยไมเปนไปตามมาตรฐานระหวางประเทศของ อนุสญ ั ญาวาดวยการบินพลเรือนระหวางประเทศเกีย่ วกับการกํากับดูแลความปลอดภัยการบินพลเรือน ซึง่ มีผลใหมกี ารปรับลด 164 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

ระดับไทยมาอยูในกลุม “ ategory 2” จากเดิมที่อยูในกลุม “ ategory 1” ซึ่งมีผลใหสายการบินของประเทศไทย ถูกจํากัด ไมใหเพิ่มเที่ยวบิน หรือ เปดจุดบินเพิ่มขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 255 คณะกรรมาธิการแหงสหภาพยุโรป ( uro ean o ission) ไดมีแถลงการณ Air Sa ety ist ประกาศรายชือ่ สายการบินที่ไมอนุญาตใหทาํ การบินในเขตสหภาพยุโรป โดยมีความเห็นทีเ่ กีย่ วของกับประเทศไทย วา “ o air carriers ro T ai and ere added to t e Air Sa ety ist at t is ti e ” หรือ “ไมปรากฏวามีสายการบิน ของประเทศไทยที่ถูกเพิ่มเติมในรายชื่อสายการบินที่ ไมอนุญาตใหทําการบินในขณะนี้” พรอมทั้งไดแถลงเพิ่มเติมวา คณะ กรรมาธิการแหงสหภาพยุโรปและหนวยงานดานความปลอดภัยดานการบินแหงสหภาพยุโรป มีความปรารถนาที่จะรวมมือกับ หนวยงานดานการบินของไทยอยางตอเนือ่ ง ในอันทีจ่ ะสงเสริมความปลอดภัยดานการบินของประเทศไทย และจะกํากับติดตาม อยางใกลชิดถึงการพั นาการนับจากนี้ จากแถลงการณดังกลาว สายการบินของประเทศไทยก็จะยังคงทําการบินเสนทางบิน ไปยัง 2 ประเทศ ที่เปนสมาชิกสหภาพยุโรปไดตามปกติ รวมทั้งการปฏิบัติการบินโดยใชชื่อเที่ยวบินรวม ( odes are) ไปยัง ประเทศยุโรป บริษัทฯ จึงยังคงใหบริการเสนทางบินสูทวีปยุโรปไดตามปกติ บริษัทฯ ไดผานการตรวจประเมินมาตรฐานดานความปลอดภัยจาก ASA และ ASA อนุญาตใหบริษัทฯ เปนสายการบิน ของประเทศนอกสหภาพยุโรปที่สามารถทําการบินเขานานฟากลุมประเทศสหภาพยุโรปตอไปได (T ird ountry erator T ) โดยมีผลตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 255 เปนตนไป ทั้งนี้สหภาพยุโรปไดเริ่มอนุญาตให T แกสายการบินนอกกลุม ประเทศสหภาพยุโรปในปนี้เปนปแรก และหากสายการบินใดไมไดรับอนุญาต T จะไมสามารถเขาสหภาพยุโรป ซึ่งจะมีผล ตั้งแตเดือนพ ศจิกายน 2559 เปนตนไป จากการประชุมปรับปรุงบัญชีรายชื่อความปลอดภัยทางอากาศ ( Air Sa ety ist) ของ Air Sa ety o ittee ( -AS ) เมื่อวันที่ ธันวาคม 2559 ผลปรากฏวาสายการบินจากประเทศไทยไมอยูในบัญชีรายชื่อที่ไมอนุญาตใหทําการบิน ในเขตสหภาพยุโรป บริษัทฯ จึงยังคงใหบริการเสนทางบินสูทวีปยุโรปไดตามปกติ

. ขอมูลเพิ่มเติม

.1 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม

เงินสดในประเทศ เงินสดในตางประเทศ เงินฝากธนาคารในประเทศ เงินฝากธนาคารในตางประเทศ รวม

2559

2558

2559

2558

10 61 26 2 6 0 25 65 25

10 32 24 95 5 59 12 15 49

99 26 2 5 3 4 54 6 514 26

9 51 24 95 6 16 4 12 124 9

.2 ลูกหนีการคา งบการเงินรวม

ระยะเวลาคางชําระ ไมเกิน 6 เดือน เกินกวา 6 เดือน - 1 ป เกินกวา 1 ป - 2 ป เกินกวา 2 ป หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนีการคา สท ิ

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

9 922 0 1 5 24 9 4 1 096 24 11 292 03 (933 )

11 429 69 160 60 319 46 941 13 12 50 (1 155 1 )

10 00 96 1 5 22 9 45 1 065 99 11 34 62 (903 44)

10 641 45 160 5 313 4 916 40 12 031 90 (1 125 12)

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 165


.3 สินคาและพัสดุคงเหลือ งบการเงินรวม

อะไหลเครื่องบิน หัก คาเผื่อเสื่อมสภาพ (รอยละ 10 ของยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด) อ ไหลเครื่อ บิน สท ิ อ ไหลร ยน  แล อปกร บริการ าค ืน อะไหลเครื่องบินที่หมุนเวียนชาและรอการจําหนาย หัก คาเผื่อเสื่อมสภาพ (รอยละ 33 33 ของยอด ที่เกิดขึ้นระหวางงวด) อ ไหลเครือ่ บินทีห่ มนเวียน า แล รอการ าหนาย สท ิ นํ้ามันเครื่องบิน สินคาซื้อมาเพื่อขาย พัสดุสาํ หรับใชในหองพักผูโ ดยสารและการบริการอาหาร พัสดุและของใชสิ้นเปลือง เครื่องเขียนและพัสดุอื่น สินคาและอะไหลเครื่องบินระหวางทาง รวมสินคาแล สั ดอืน่ สินคาลาสมัยและชํารุดรอการจําหนาย หัก คาเผื่อเสื่อมสภาพ (รอยละ 100) สินคาลาสมัยแล ารดรอการ าหนาย สท ิ รวมสินคาแล ัสดค เหลือ สท ิ รวมสินคาและพัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด หัก รวมคาเผื่อสินคาและพัสดุเสื่อมสภาพ รวมสินคาแล สั ดค เหลือ สท ิ

2559

2558

2559

2558

3 244 29

4 316 6

3 244 29

4 316 6

(324 43)

(431 6 )

(324 43)

(431 6 )

4 459 99

3 4 03

4 459 99

3 4 03

(3 3 3 0 )

(2 9 9 30)

(3 3 3 0 )

(2 9 9 30)

12 06 213 9 162 65 23 33 0 4 4

649 5 214 61 1 2 52 20 69 94 3 53 93

126 03 210 4 143 99 23 21 5 4 4

649 04 209 5 1 09 20 69 93 14 53 93

59 94 (59 94)

39 (39 )

59 94 (59 94)

39 (39 )

44 23 (3 5 45)

9 3 1 54 (3 450 5)

19 0 (3 5 45)

9 353 4 (3 450 5)

. สินทรัพยหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม

ภาษีเงินไดรอเรียกคืน เงินสด เงินฝากธนาคารกองทุนบําเหน็จ อื่นๆ รวม

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

62 13 3 90 30 5 53 93

35 56 4 2 64 3 352 3

62 13 3 90 30 10 316 66

35 56 4 2 64 11 540 5

.5 สินทรัพย ไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย งบการเงินเ พาะกิจการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายประกอบดวย เครื่องบิน A300-600 จํานวน 1 ลํา A340-500 จํานวน 4 ลํา A340-600 จํานวน 6 ลํา B 3 -400 จํานวน 4 ลํา B 4 -400 จํานวน 4 ลํา ATR 2 จํานวน 2 ลํา และ A330-300 จํานวน 9 ลํา รวม 30 ลํา จํานวนเงิน 14 904 65 ลานบาท เครื่องยนตอะไหลเครื่องบิน จํานวนเงิน 12 1 ลานบาท และสินทรัพยถาวรอื่น จํานวนเงิน 65 93 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 15 099 39 ลานบาท ในระหวางป 2559 มีสินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายเพิ่มขึ้นประกอบดวยเครื่องยนตอะไหลเครื่องบิน จํานวน เงิน 1 224 5 ลานบาท และสินทรัพยถาวรอื่น จํานวนเงิน 50 26 ลานบาท ประกอบดวยที่ดินที่มีการประเมินราคาใหมในป 255 เปนจํานวนเงิน 506 13 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 32 04 ลานบาท) และสินทรัพยอื่น จํานวนเงิน 1 13 ลานบาท รวมเพิ่ม ขึ้นในงวดนี้จํานวน 1 32 01 ลานบาท

166 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

ในระหวางป 2559 ไดมีการโอนกรรมสิทธิเครื่องบิน ATR 2 จํานวน 2 ลํา จํานวนเงิน 64 96 ลานบาท A330-300 จํานวน 2 ลํา จํานวนเงิน 500 0 ลานบาท A340-500 จํานวน 1 ลํา จํานวนเงิน 21 40 ลานบาท และมีการจําหนายเครื่องยนต อะไหลเครือ่ งบิน จํานวนเงิน 1 30 ลานบาท และสินทรัพยถาวรอืน่ จํานวนเงิน 3 30 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทัง้ สิน้ 1 291 6 ลานบาท ในระหวางป 2559 ไดมีการรับรูดอยคาเครื่องบินจํานวนเงิน 2 92 51 ลานบาท และรับรูดอยคาเครื่องยนตอะไหล เครื่องบิน จํานวนเงิน 325 24 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 3 21 5 ลานบาท บริษัทฯ ไมมีการปลดระวางเครื่องบิน เพิ่มเติมจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 ยังคงเหลือเครื่องบินรอการขาย จํานวน 25 ลํา ซึ่งอยูระหวางดําเนินการขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายประกอบดวย เครื่องบิน A300-600 จํานวน 1 ลํา A340-500 จํานวน 3 ลํา A340-600 จํานวน 6 ลํา B 3 -400 จํานวน 4 ลํา B 4 -400 จํานวน 4 ลํา และ A330-300 จํานวน ลํา รวม 25 ลํา จํานวนเงิน 10 24 9 ลานบาท เครื่องยนตอะไหลเครื่องบิน จํานวนเงิน 1 02 02 ลานบาท และสินทรัพย ถาวรอื่น จํานวนเงิน 569 9 ลานบาท ประกอบดวยที่ดินที่มีการประเมินราคาใหมในป 255 เปนจํานวนเงิน 506 13 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 32 04 ลานบาท) และสินทรัพยอื่น จํานวนเงิน 63 6 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 12 321 9 ลานบาท

.6 เงินลงทุน งบการเงินรวม ื่อบริษัท

บริษัทฯ ถือหุน รอยละ 2559

เ ินล ทนในบริ ัทรวมบันทก ดยวิ ีสวนไดเสีย บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 03 13 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 20 00 ลานบาท) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชัน่ แนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 4 1 5 51 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 3 369 21 ลานบาท) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 1 13 00 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 1 666 00 ลานบาท) รวมเ ินล ทน เ ินล ทนร ย ยาวอื่นบันทก ามวิ ีราคาทน บริษัท ขนสงนํ้ามันทางทอ จํากัด บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด Sita Invest ent erti icate บริษัท เทรดสยาม จํากัด (ชําระคาหุน 25 ของทุนจดทะเบียน) Sita In or ation et orking o uting หุนอื่นๆ เงินลงทุนในกองทุนรวมวายุภักษ รวมเ ินล ทนร ย ยาวอื่น

2558

เงินลงทุน วิธีราคาทุน วิธีสวนไดเสีย 2559

2559

2558

2558

หนวย ลานบาท รายไดจาก เงินลงทุน 2559

24 00

24 00 225 00 225 00 26 53 23 0

40 00 22 59

40 00 4 00 4 00 120 62 111 32 5 1 39 22 59 115 19 115 19 1 126 1 1 001 51 319 5 1 2 49

30 00 30 00 39 20

30 00 30 00 30 00 316 0 29 0 62 90 36 5 30 00 305 33 305 33 201 09 1 4 2 26 3 19 5 39 20 360 00 360 00 1 5 12 2 914 41 (1 05 29) (142 3)

0 00026 0 00026 0 00934 0 0006 1 01 0 43 9 63 5 96 30 0 31 2 3 50 3 50 1 5 1 5 -

-

32 60 2 0 1 00

32 5 2 4 1 00

30 46

2558

02

0 0002 0 0001 0 25 0 33 0 21 0 006

02 0 01

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 167


งบการเงินเ พาะกิจการ เงินลงทุน วิธีราคาทุน 2559 2558

บริษัทฯ ถือหุนรอยละ

ื่อบริษัท

2559

เ ินล ทน ่ บันทก ดยวิ ีราคาทน บริ ทั ยอย บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลท เทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด รวม บริ ัทรวม บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 03 13 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 20 00 ลานบาท) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 4 1 5 51 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 3 369 21 ลานบาท) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 1 13 00 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 1 666 00 ลานบาท) รวม รวมเ ินล ทน เ ินล ทนร ย ยาวอื่นบันทก ามวิ ีราคาทน บริษัท ขนสงนํ้ามันทางทอ จํากัด บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด Sita Investment Certificate บริษัท เทรดสยาม จํากัด (ชําระคาหุน 25 ของทุนจดทะเบียน) Sita Information Networking Computing หุนอื่นๆ เงินลงทุนในกองทุนรวมวายุภักษ รวมเ ินล ทนร ย ยาวอื่น

2558

55 00 55 00 25 49 00 49 00 09 49 00 49 00 09 100 00 100 00 1 00 00 1 810.21

หนวย ลานบาท รายไดเงินปนผล 2559

2558

25 09 09 00 00 810.21

1 9 18.97

38.78

-

-

24 00

24 00

225 00

225 00

40 00 22 59

40 00 22 59

4 00 115 19

4 00 24 00 115 19 194 3

30 00 30 00 39 20

30 00 30 00 39 20

30 00 305 33 360 00

30 00 305 33 360 00

3

21 60 101 65

45 00 -

30 00 -

1,083.52 1,083.52 263.38 2,893.73 1,893.73 282.35

153.25 192.03

0 00026 0 00026 0 00934 0 0006 0 0002 1 01 0 43 6 64 2 2 30 0 31 2 3 50 3 50 1 5 1 5 0 25

0 0001 0 33

-

-

32 60 2 0 1 00 74.77

32 5 2 4 1 00 72.44

0 21 0 006 0.47

02 0 01 0.62

อมูล างการ งิน สรุ องบริ ั อ หนวย ลานบาท ราย ื่อของบริษัท

บริ ัทยอย บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสต เอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด

168 รายงานประจําป 2559

ทรัพยสิน

หนีสิน

2 0 20 53 51 3 53 26 4 451 65

0 2 349 62 3 29 4 19 149 33

รายได

กาไร(ขาดทุน)

2 0 34 1 105 2 3 60 2 19 531 54

2 43 9 35 11 62 0 60 (2 064 30)


มาย

ุประกอบ บการ ิน

บริษัทฯ ใชงบการเงินของบริษัทยอย และบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซึ่งงบการเงินของบริษัทรวมยัง ไมผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีรับอนุญาต มาบันทึกเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียในงบการเงินรวม และบันทึกเงินลงทุน ตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเ พาะกิจการ . รายการระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันที่มีสาระสาคั

รา การร ห างกันกับผูถือหุน ห

1 1 เงินกูระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

หนวย ลานบาท

กูเงินจากตางประเทศผานกระทรวงการคลัง ธนาคารออมสิน รวม

2559

2558

5 400 3 -

3 625 3 000 00

1 2 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

หนวย ลานบาท

กูเงินจากตางประเทศผานกระทรวงการคลัง รวม

2559

2558

14 620 53

15 25 20

รา การร ห างกันกับบริ ั อ

2 1 รายการขายและซื้อระหวางกัน

หนวย ลานบาท 2558

2559 ขาย

บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด

1 35 2 2 13 5 30 01 1 3 20

ือ

ขาย

ือ

950 0 0 06 143 10

16 4 13 9 03 49 46 5 514 59

60 06 0 05 112 49

2 2 รายการลูกหนี้และเจาหนี้ระหวางกัน

หนวย ลานบาท 2558

2559

บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด

ลูกหนี

เจาหนี

ลูกหนี

เจาหนี

0 15 250 62 11 1 16 6 060 39

0 16 2 6 1 363 65

0 11 211 46 0 1 0 104 09

0 16 2 6 36 5 015 93

รายการลูกหนี้เจาหนี้ระหวางกัน ของบริษัท วิงสแเปน เซอรวิสเซส จํากัด ไดรวมคาใชจายจายลวงหนาจํานวน 249 04 ลานบาท และคาใชจายคางจายจํานวน 264 15 ลานบาท ไวดวย รายการลูกหนีเ้ จาหนีร้ ะหวางกัน ของบริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ไดรวมรายไดคา งรับจํานวน 161 5 ลานบาท และ คาใชจายคางจายจํานวน 1 20 14 ลานบาท บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 169


2 3 สัญญาเชาเครื่องบินระหวางกัน บริษั ทฯไดลงนามในสัญญาเชาชวงเครื่องบิน A320-200 กับบริษั ท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนทั้งสิ้น 20 ลํา โดยเปนเครื่องบินที่บริษัทฯ เชาดําเนินงานจํานวน 15 ลํา คิดคาเชาชวง รายเดือน และเปนเครื่องบินที่บริษัทฯ จัดหาดวยวิธีเชาซื้อจํานวน 5 ลํา คิดคาเชาชวงเปนรายไตรมาส ซึ่งระยะเวลาเชาชวง เทากับอายุของสัญญาเชาเครื่องบินที่บริษัทฯ ทําสัญญาไวกับบริษัทผูใหเชา

รา การร ห างกันกับบริ ั ร ม

3 1 รายการขายและซื้อระหวางกัน หนวย ลานบาท 2558

2559

บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน)

ขาย

ือ

0 02 01 0 02 12 66

2 22 0 05 3 6 12 15 99 14 01 0 09

ขาย

0 02 1 60 195 49

3 2 รายการลูกหนี้และเจาหนี้ระหวางกัน

1 12 0 15 310 50 19 06 23 43 0 16 หนวย ลานบาท 2558

2559

บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน)

ือ

ลูกหนี

เจาหนี

ลูกหนี

เจาหนี

0 02 40 54

0 003 43 45 5 05 0 0 -

0 004 3 22

0 02 36 15 0 34 0 03

นโยบายการกําหนดราคาซือ้ สินคาและบริการระหวางบริษัทกับกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน กําหนดจากราคาปกติของ ธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกันและเปนไปตามราคาตลาด

170 รายงานประจําป 2559


ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559  ปรับปรุง โอน  สินทรัพยเพิ่มขึ้น  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559  คาเสื่อมราคา  ปรับปรุง โอน  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

เครื่องบิน

เครื่องบิน ภายใต สั าเ า

-

2 566 93 3 59 3 5 922 19 3 1 14 3 550 0 (3 550 0 ) (390 23) (203 0) 1 64 9 43 4 6 63

5 491 24 11 546 25 165 110 4 01 22 ( 01 22) 4 155 1 502 12 239 21 (414 0) (255 44)

เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา

.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ มีรายละเอียดดังนี้

23 9 5 65 1 601 32 (1 53 6 ) (9 5 41) 23 063 9

-

61 20 (222 59) 532 60 -

งานระหวางทา

ันวาคม

36 440 9 (2 44 55) 1 205 5 (1 610 00)

อุปกรณ การบิน หมุนเวียน

วันที่

งบการเงินรวม

-

9 5 3 65 (506 13) (14 15)

ที่ดิน

2 439 2 14 12 (3 6 91) (3 3 ) 2 063 66

6 014 55 230 61 6 245 16

2 514 52 10 05 23 (3 6 91) (3 3 ) -

อาคาร

อาคาร ภายใต สั าเ า

4 510 15 131 9 04 (36 1) 4 605

4 92 5 (12 66) 52 56 (3 2)

คาปรับปรุง อาคาร

รวม

2 41 1 1 292 0 (14 30) (531 1) 2 165 30

1 5 51 1 564 05 (1 93 41) (2 141 43) 1 9 269 39

31 24 0 3 4 0 0 54 (21 1) (3 94 55) 222 26 6 910 04 (5 91) (2 925 29)

เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ

หนวย ลานบาท

มาย ุประกอบ บการ ิน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 171


172 รายงานประจําป 2559

ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 255  ปรับปรุง โอน  สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย  สินทรัพยเพิ่มขึ้น  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 255  คาเสื่อมราคา  ปรับปรุง โอน  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255

เครื่องบิน

-

1 545 91 (40 63 ) 1 46 0 (643 00) 165 110 4

เครื่องบิน ภายใต สั าเ า

5 369 19 53 935 09 6 00 93 910 3 (1 65 9) (23 3 3 3 ) (44 30) (603 0 ) 2 566 93 3 59 3

12 36 65 136 691 33 (9 501 61) (19 143 25) 2 625 20 42 4 (44 30) 5 491 24 11 546 25

เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา งานระหวางทา

ันวาคม

23 563 13 1 1 20 ( 04 99) (653 69) 23 9 5 65

-

36 54 25 1 2 3 0 15 20 92 3 (1 212 50) (1 25 04) 36 440 9 61 20

อุปกรณ การบิน หมุนเวียน

วันที่

งบการเงินรวม

-

936 30 64 35 9 5 3 65

ที่ดิน

2 410 50 29 32 2 439 2

5 4 11 230 44 0 26 (0 26) 6 014 55

2 514 52 10 91 51 0 26 13 2 (0 26) 2 514 52 10 05 23

อาคาร

อาคาร ภายใต สั าเ า

4 39 91 15 52 (11 43) (34 5) 4 510 15

4 01 44 (12 2) 39 29 (35 16) 4 92 5

คาปรับปรุง อาคาร

26 33 9 14 3 5 61 00 (453 3) 2 41 1

31 143 56 5 34 99 0 (45 53) 31 24 0

เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ

201 9 2 1 60 9 (42 904 43) (1 90 00) 1 5 51

425 20 1 (69 222 65) 64 35 21 262 96 (2 43 29) 3 4 0 0 54

รวม

หนวย ลานบาท


ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559  ปรับปรุง โอน  สินทรัพยเพิ่มขึ้น  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559  คาเสื่อมราคา  ปรับปรุง โอน  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

เครื่องบิน

เครื่องบิน ภายใต สั าเ า

-

2 566 93 3 59 3 5 922 19 3 1 14 3 550 0 (3 550 0 ) (390 23) (203 0) 1 64 9 43 4 6 63

5 491 24 11 546 25 165 110 4 01 22 ( 01 22) 4 155 1 502 12 239 21 (414 0) (255 44) 9 646 95 126 334 9 156 393 29

เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา

23 9 5 65 1 601 32 (1 53 6 ) (9 5 41) 23 063 9

-

61 20 (222 59) 532 60 3 1 21

งานระหวางทา

ันวาคม

36 440 9 (2 44 55) 1 205 5 (1 610 00) 33 291 2

อุปกรณ การบิน หมุนเวียน

วันที่

งบการเงินเ พาะกิจการ

-

9 5 3 65 (506 13) (14 15) 9 063 3

ที่ดิน

2 439 2 14 12 (3 6 91) (3 3 ) 2 063 66

6 014 55 230 61 6 245 16

2 514 52 10 05 23 (3 6 91) (3 3 ) 2 124 24 10 05 23

อาคาร

อาคาร ภายใต สั าเ า

4 506 23 131 9 (5 01) (36 1) 4 596 3

4 91 (12 66) 41 02 (3 2) 4 6 2

คาปรับปรุง อาคาร

2 325 26 1 292 0 (20 05) (531 1) 2 066 10

31 61 3 (21 1) 21 55 (5 91) 31 224 6

เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ

1 56 1 1 564 05 (1 949 64) (2 141 43) 1 9 160 9

3 3 950 63 (3 94 55) 6 93 9 (2 925 29) 3 4 024 5

รวม

หนวย ลานบาท

มาย ุประกอบ บการ ิน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 173


174 รายงานประจําป 2559

ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 255  ปรับปรุง โอน  สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย  สินทรัพยเพิ่มขึ้น  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 255  คาเสื่อมราคา  ปรับปรุง โอน  จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255

เครื่องบิน

-

1 545 91 (40 63 ) 1 46 0 (643 00) 165 110 4

เครื่องบิน ภายใต สั าเ า

5 369 19 53 935 09 6 00 93 910 3 (1 65 9) (23 3 3 3 ) (44 30) (603 0 ) 2 566 93 3 59 3

12 36 65 136 691 33 (9 501 61) (19 143 25) 2 625 20 42 4 (44 30) 5 491 24 11 546 25

เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา งานระหวางทา

ันวาคม

23 563 13 1 1 20 ( 04 99) (653 69) 23 9 5 65

-

36 54 25 1 2 3 0 15 20 92 3 (1 212 50) (1 25 04) 36 440 9 61 20

อุปกรณ การบิน หมุนเวียน

วันที่

งบการเงินเ พาะกิจการ

-

936 30 64 35 9 5 3 65

ที่ดิน

2 410 50 29 32 2 439 2

5 4 11 230 44 0 26 (0 26) 6 014 55

2 514 52 10 91 51 0 26 13 2 (0 26) 2 514 52 10 05 23

อาคาร

อาคาร ภายใต สั าเ า

4 39 91 153 60 (11 43) (34 5) 4 506 23

4 01 44 (12 2) 25 62 (35 16) 4 91

คาปรับปรุง อาคาร

26 24 2 14 05 61 00 (453 60) 2 325 26

31 045 29 5 34 969 60 (455 40) 31 61 3

เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ

201 0 21 1 63 0 (42 904 43) (1 9 ) 1 56 1

425 21 90 (69 222 65) 64 35 21 239 19 (2 435 16) 3 3 950 63

รวม

หนวย ลานบาท


มาย

ุประกอบ บการ ิน

ในงวดนี้ บริษัทฯ มีเครื่องบินที่ใชดําเนินงานจํานวน 96 ลํา ประกอบดวย เครื่องบินของบริษัทฯ จํานวน 2 ลํา เครื่องบินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน (Finance eases) จํานวน 34 ลํา และเครื่องบินเชาดําเนินงาน ( erating eases) จํานวน 34 ลํา ทั้งนี้ ไมรวมเครื่องบินรอการขายจํานวน 25 ลํา ที่มีมูลคาสุทธิตามบัญชีจํานวน 10 24 9 ลานบาท อุปกรณการบินหมุนเวียน ประกอบดวย เครื่องยนตเครื่องบิน และอะไหลการบินหมุนเวียนอื่น อาคารและอุปกรณ ซึ่งหักคาเสื่อมราคาทั้งจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยูจํานวน 0 55 9 ลานบาท ไดรวมอาคาร บนพื้นที่เชาจํานวน 3 924 94 ลานบาทแลว อาคารบนพืน้ ทีเ่ ชา ซึง่ เปนสัญญาเชาทีด่ นิ กับบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ทีส่ นามบินสุวรรณภูมมิ รี ะยะ เวลา 30 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2549 ถึง 29 กันยายน 25 9 และที่สนามบินดอนเมืองมีระยะเวลา 3 ป เริ่มตั้งแต วันที่ 2 กันยายน 2552 ถึงวันที่ 2 กันยายน 2555 เมือ่ สิน้ สุดสัญญา อาคารและสวนควบตางๆ บนพืน้ ทีเ่ ชาจะตกเปนกรรมสิทธิ ของกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 บริษัทฯ ไดทําหนังสือขอเชาพื้นที่ และเชาที่ดินที่สนามบินดอนเมืองกับ บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ระยะเวลา 3 ป นับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2555 ถึงวันที่ 2 กันยายน 255 เมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 255 บริษัทฯ ไดทาํ หนังสือถึงบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) เพือ่ ขอตอสัญญาเชาระยะเวลา 3 ป นับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 255 ถึงวันที่ 2 กันยายน 2561 ขณะนี้อยูระหวางการเจรจา ทั้งนี้บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ไดเรียกเก็บคาเชาดังกลาวขางตนในอัตราตามสัญญาเดิม ที่ดินในประเทศและตางประเทศของบริษั ทฯ ไดมีการประเมินราคาใหม ในป 255 จากราคาทุนเดิม 936 30 ลานบาท เปน 9 5 3 65 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครจํานวนเงิน 00 24 ลานบาท ตางจังหวัด จํานวนเงิน 394 9 ลานบาท และตางประเทศจํานวนเงิน 1 1 1 52 ลานบาท โดยไดรับการประเมินจากบริษัทผูเชี่ยวชาญ การประเมินราคา ที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (กลต ) ใหความเห็นชอบ ซึ่งไดมีการ ประเมินเมื่อเดือนกันยายน 255 ในป 2559 บริษัทฯ ไดจําหนายที่ดินตางจังหวัด จํานวนเงิน 14 15 ลานบาท ประกอบดวย จังหวัดตรัง จํานวน 3 66 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 0 ลานบาท) และจังหวัดสุราษ รธานี จํานวนเงิน 10 49 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 0 96 ลานบาท) สินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน ไดแก เครื่องบินภายใตสัญญาเชาการเงินที่ทําสัญญาซื้อเครื่องบินเปนเงินสกุล ดอลลารสหรัฐอเมริกา แตบริษัทฯ ไดทําสัญญาเชาทางการเงินเปนเงินสกุลยูโร ดอลลารสหรัฐอเมริกา และเงินเยน .9 สินทรัพยไมมีตัวตน หนวย ลานบาท งบการเงินรวม

ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559  สินทรัพยเพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คา ัด าหนายส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559  คาตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินเ พาะกิจการ

3 516 43 40 1 3 556 61

3 462 1 30 55 3 493 26

2 4 5 10 361 65 2 46 5

2 469 22 350 96 2 20 1

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 175


.10 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบั

ี หนีสินภาษีเงินไดรอการตัดบั ี สิน รัพ ภา งิน รอการตั บั มีผลมาจากความแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชีกับราคา ตามฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน โดยมีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม

เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินสมทบกองทุนบําเหน็จพนักงาน คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ประมาณการคาใชจายคางจาย สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของการปองกัน ความเสี่ยงกระแสเงินสดเ พาะสวนที่มีประสิทธิผล อื่นๆ รวม

2559

2558

2559

2558

44 1 16 9 51 49 2 9 21 4 316 20 1 23 19 92 2 3 4 01

52 16 232 9 690 15 295 3 9 0 13 600 5 3 19 2 329 05

44 1 16 9 51 49 2 49 4 316 20 1 1 03 19 92 23 0

52 16 232 9 690 15 291 64 3 9 0 13 594 3 3 19 2 313 65

325 9 1 59

469 61 1 61

325 9 -

469 61 -

หนสินภา งิน รอการตั บั งบการเงินรวม

สินทรัพยไมมีตัวตน ผลกําไรจากการตีมูลคาสินทรัพยใหม รวม

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

12 23 1 2 01

13 41 1 29 4

12 23 1 2 01

13 41 1 29 4

อัตราภาษีที่นํามาใชในการวัดมูลคาของสินทรัพย และหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเปนอัตรารอยละ 20

.11 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2559

คาใชจายรอการตัดบัญชี เงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา (Maintenance Reserve) อื่นๆ รวม

5 153 244 32 66 51

2558

5 306 10 3 331 30 545 4

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559

4 99 5 912 5 3 42

2558

5 306 10 3 331 30 542 34

คาใชจา ยรอการตัดบัญชีประกอบดวย คาซอมใหญเครือ่ งบิน ( - eck) สําหรับเครือ่ งบินเชาดําเนินงานตัดจายเปน รายจายตามอายุการใชงานโดยประมาณ 4- ป แตไมเกินอายุสัญญาเชา และคาธรรมเนียมคํ้าประกันเงินกูซื้อเครื่องบินตัด จายตามระยะเวลาเงินกูในแตละรอบระยะเวลาบัญชี เงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา เปนเงินประกันที่ผูใหเชาเรียกเก็บเปนประกันในการบํารุงรักษา เครื่องยนตเครื่องบินตามสภาพการบิน และเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องยนต ตามตารางการบํารุงรักษา 176 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

.12 เงินกูยืมระยะยาว งบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการ ตามสกุลเงินกู

สกุลเงินกู

2559

เงินยูโร เงินเยน เงินบาท รวมเงินกูยืมระยะยาว หัก สวนที่ครบกําหนด ชําระภายในหนึ่งป ค เหลือสวนที่เปนเ ินกูยืมร ย ยาว

หนวย ลานบาท

2558

436 10 4 9 466 239 306 4 0 4 029 0 1 029 210 526 25 0 0 6 4 211

2559

2558

16 631 4 1 2 1 50 1 029 21 35 932 19

1 556 09 25 0 0 69 43 626

305 11

240 1

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเงินกูยืมจากตางประเทศสกุลเงินยูโรผานกระทรวงการคลัง จํานวนเงิน 14,620.53 ลานบาท โดยเบิกรับเงินกูจ ากธนาคารเพือ่ การสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย, เงินกูส กุลเงินเยนเพือ่ การชําระ คืนเงินกูกอนกําหนด สําหรับเครื่องบิน A330-300 (TEN, TEO) จํานวนเงิน 1,271.50 ลานบาท และเงินกูยืมภายในประเทศ จากธนาคารพาณิชยตางๆ จํานวนเงิน 20,040.16 ลานบาท รวมเปนเงินกูยืมทั้งสิ้น จํานวนเงิน 35,932.19 ลานบาท และ โอนไปเปนเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวนเงิน 8,305.11 ลานบาท คงเหลือเปนเงินกูยืมระยะยาว จํานวนเงิน 27,627.08 ลานบาท .13 หนีสินภายใตเงื่อนไขสั หนีสินภายใตสั

ภายใน 1 ป เกิน 1 ป - 5 ป เกิน 5 ป

รวม

าเ า

าเ าเครื่องบิน งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ หนวย ลานบาท 2558

2559 มูลคาตามบั

9 461 23 29 5 2 25 06 46

มูลคาปจจุบัน

969 69 24 2 4 1 0 0 46

มูลคาตามบั

9 9 59 34 36 01 32 24 6

มูลคาปจจุบัน

9 42 53 29 15 59 22 2 1

บริษัทฯ ไดทําสัญญาเชาเครื่องบินโดยมีสิทธิเลือกที่จะซื้อไดกับสถาบันการเงินตางประเทศ และในประเทศ รวม 14 แหง และแสดงมูลคาตามนโยบายการบัญชีขอ 4 9 โดยในงวดบัญชีป 2559 มีจํานวนคงเหลือ 34 ลํา เปนภาระหนี้สิน ภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาทั้งสิ้นที่มีกําหนดจายในระหวางป 2560 - 25 1 รวม 69 90 14 ลานบาท หักสวนที่จะบันทึกเปน ดอกเบี้ยจายเมื่อถึงกําหนดจายประมาณ 5 139 6 ลานบาท คงเหลือเปนเงินตนภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาฯ ดังกลาวจํานวน 64 50 4 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โอนไปเปนหนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบินที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวน 9 461 23 ลานบาท คงเหลือเปนหนี้สินระยะยาว 55 2 9 24 ลานบาท

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 177


178 รายงานประจําป 2559

60 000

40 000

สามัญ 254 23 ธันวาคม 254

สามัญ 2553 2 เมษายน 2553

30 สิงหาคม 2556

ระหวางป 2556 16 พ ษภาคม 2556

วงเงินที่ อนุมัติให จัดจาหนาย

มติที่ประ ุมให  ผูถือหุน ครังที่ วันที่

.1 หุนกู

2554 2554 2554

2554

2555 2555

2555

2555 2555 2555

1 (ชุดที่ 3) 1 (ชุดที่ 4) 1 (ชุดที่ 5)

2

1 (ชุดที่ 1) 1 (ชุดที่ 2)

2

3 (ชุดที่ 1) 3 (ชุดที่ 2) 3 (ชุดที่ 3)

2 2 (ชุดที่ 1) 2 (ชุดที่ 2) 2 (ชุดที่ 3)

2556 2556 2556

2556

2554

1 (ชุดที่ 2)

1

2554

2552 2552

1 (ชุดที่ 1)

1 (ชุดที่ 3) 1 (ชุดที่ 4)

ครังที่ ปที่ จัดจาหนาย จัดจาหนาย อายุ (ป)

5 60 6 00

อัตราดอกเบีย จายทุก 6 เดือน (รอยละ)

5

10

5

12

30 สิงหาคม 2561 5 30 สิงหาคม 2563 30 สิงหาคม 2566 10

16 พ ษภาคม 2561 5

11 ตุลาคม 2560 11 ตุลาคม 2562 11 ตุลาคม 2565

23 มีนาคม 256

16 กุมภาพันธ 2562 16 กุมภาพันธ 2565 10

2 ธันวาคม 2559

45 4 5 16

41

4 51 4 0 4 90

49

4 41 4 5

4 30

ปที่ 1-3 รอยละ 4 00 ปที่ 4-6 รอยละ 4 50 ปที่ รอยละ 5 25 13 พ ษภาคม 2564 10 ปที่ 1-4 รอยละ 4 25 ปที่ 5- รอยละ 4 5 ปที่ 9-10 รอยละ 5 35 13 พ ษภาคม 2559 5 3 91 13 พ ษภาคม 2561 4 36 13 พ ษภาคม 2564 10 4 62

13 พ ษภาคม 2561

20 มกราคม 2559 20 มกราคม 2562 10

ครบกาหนด

การจัดจาหนาย

20 มกราคม

2559

1 250 00 1 250 00 1 500 00 4 000 00

5 000 00 5 000 00

2 000 00 13 พ ษภาคม 1 445 00 2 16 00 000 00 2 000 00 2 ธันวาคม 2 000 00 1 000 00 2 000 00 3 000 00 1 500 00 1 500 00 4 000 00 1 500 00 1 500 00 000 00

33 00

300 00 3 600 00 3 900 00 1 555 00

จานวนเงิน 2560

2561

การไถถอน

2562

2563

1 250 00 1 250 00 1 500 00

5 000 00

4 000 00 1 500 00 1 500 00

1 500 00

1 000 00 2 000 00

-

1 445 00 2 16 00

33 00

1 555 00

3 600 00

หุนกูคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 59

หนวย ลานบาท


000

000

000

วงเงินที่ อนุมัติให จัดจาหนาย

ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 5

ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4

ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4

ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3

ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3

2559 2559 2559 2559 2559

255 255 255 255

255 255 255 255

255 255 255

255 255 255

ครังที่ ปที่ จัดจาหนาย จัดจาหนาย

23 ธันวาคม 2562 3 23 ธันวาคม 2564 5 23 ธันวาคม 2566 23 ธันวาคม 2569 10 23 ธันวาคม 25 1 12

30 กันยายน 2561 3 30 กันยายน 2563 5 30 กันยายน 2565 30 กันยายน 256 10

30 เมษายน 2560 2 30 เมษายน 2563 5 30 เมษายน 2565 30 เมษายน 256 10

26 ธันวาคม 2562 5 26 ธันวาคม 2564 26 ธันวาคม 256 10

0 กุมภาพันธ 2562 5 0 กุมภาพันธ 2564 0 กุมภาพันธ 256 10

ครบกาหนด

อายุ (ป)

29 3 45 3 66 4 35 4 66

3 46 4 14 4 44 4 4

3 5 4 32 4 62 4 92

4 46 4 6 49

4 1 5 14 55

อัตราดอกเบีย จายทุก 6 เดือน (รอยละ)

500 00 500 00 1 000 00 3 000 00 2 000 00 000 00

1 000 00 1 500 00 2 500 00 3 000 00 000 00

1 200 00 1 500 00 2 000 00 2 300 00 000 00

1 230 00 1 340 00 1 430 00 4 000 00

1 200 00 1 000 00 1 000 00 3 200 00

จานวนเงิน 2559

2560

2561

การไถถอน

2562

2563

500 00 500 00 1 000 00 3 000 00 2 000 00

1 000 00 1 500 00 2 500 00 3 000 00

1 200 00 1 500 00 2 000 00 2 300 00

1 230 00 1 340 00 1 430 00

1 200 00 1 000 00 1 000 00

หุนกูคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 59

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีหุนกูคงเหลือ 59 300 00 ลานบาท ไดโอนเปนหนี้สินถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวน 5 200 00 ลานบาท คงเหลือเปนหนี้สินระยะยาว 54 100 00 ลานบาท บริษัทฯ ไดทําธุรกรรม ross urrency S a เปลี่ยนภาระหนี้หุนกูมูลคา 3 200 00 ลานบาท เปนสกุลยูโรมูลคา 1 24 ลานยูโร ดวยอัตราดอกเบี้ย 2 92 3 9 และ 4 46 ตามลําดับ

รวม

ระหวางป 2559 ครั้งที่ 1 2559 23 ธันวาคม 2559

ครั้งที่ 2 255 30 กันยายน 255

ระหวางป 255 ครั้งที่ 1 255 30 เมษายน 255

ครั้งที่ 2 255 26 ธันวาคม 255

ระหวางป 255 ครั้งที่ 1 255 กุมภาพันธ 255

มติที่ประ ุมให  ผูถือหุน ครังที่ วันที่

การจัดจาหนาย

หนวย ลานบาท

มาย ุประกอบ บการ ิน

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 179


บริษั ทฯ ไดขึ้นทะเบียนหุนกูไวกับสมาคมตลาดตราสารหนี้ ไทย (T ai BMA) และอยูในระบบซื้อขายหุนกูของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ยกเวนการออกหุนกูครั้งที่ 1 2552 ซึ่งเสนอขายใหแกผูลงทุนในวงจํากัด (ไมเกิน 10 ราย) .15 หนีสินหมุนเวียนอื่นๆ งบการเงินรวม

เจาหนี้คาธรรมเนียมสนามบิน รายไดรอตัดบัญชี ภาษีรอนําสง เจาหนี้คาใชจายพนักงานทองถิ่นในตางประเทศ เงินมัดจํารับ เจาหนี้พนักงาน รายไดรับลวงหนา เจาหนี้สินทรัพยรอเรียกเก็บ เจาหนี้อื่นๆ รวม

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

5 400 9 4 60 549 36 5 6 24 1 23 41 5 25 133 24 2 1 00

3 965 09 31 41 0 554 93 1 300 21 1 9 191 66 36 14 1 53 1

5 400 9 4 14 54 42 5 6 24 1 230 3 5 25 133 24 1 0 6

3 965 09 6 4 416 4 554 93 1 292 15 1 9 191 66 36 14 5 932 3

.16 เงินกองทุนบาเหนจพนักงาน งบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการ บริษัทฯ ไดจัดตั้งกองทุนบําเหน็จพนักงานบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) โดยจายสมทบกองทุนฯ ในอัตรา รอยละ 10 ของเงินเดือนพนักงาน บริษัทฯ แสดงสินทรัพย หนี้สิน และยอดคงเหลือของกองทุนฯ ในงบแสดงฐานะการเงินของ บริษัทฯ รวมทั้งรับรูดอกผลและคาใชจายที่เกิดจากการดําเนินงานกองทุนฯ เปนรายไดและคาใชจายของบริษัทฯ รายละเอียด ดังนี้ หนวย ลานบาท

สินทรัพยหมุนเวียน อื่นๆ หนี้สินหมุนเวียนอื่น กองทุนเงินบําเหน็จ

รวม รวม

2559

2558

3 90 30 22 0 3 930 3 220 30 3 10 0

4 2 64 55 14 4 333 453 52 3 0 26

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กองทุนฯ มียอดคงเหลือ 3 10 0 ลานบาท เทากับยอดภาระผูกพันของบริษัทฯ ที่จะ ตองจายใหพนักงาน (ในงวดบัญชีนี้ บริษัทฯ จายสมทบกองทุนในอัตรารอยละ 10 เปนเงิน 164 99 ลานบาท หักกับยอดจาย สมทบตามภาระผูกพัน 69 63 ลานบาท คงเหลือเปนเงิน 95 36 ลานบาท) .1 ภาระผูกพันผลประโย นพนักงาน งบการเงินเ พาะกิจการ ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน แบงเปน 5 โครงการ ประกอบดวย 1 1 การจายเงินตอบแทนความชอบในการทํางาน บริษัทฯ ใหผลประโยชนสําหรับพนักงานเกษียณอายุใหได รับเงินคาตอบแทนความชอบในการทํางานดังนี้ พนักงานที่มีอายุงานตั้งแต 5 ป แตไมถึง 15 ป ไดรับคาตอบแทนเทากับ อัตราเงินเดือนคาจางสุดทาย 1 0 วัน และพนักงานที่มีอายุงานตั้งแต 15 ป ขึ้นไป ไดรับเงินคาตอบแทนเทากับอัตราเงินเดือน คาจางสุดทาย 300 วัน 1 2 ผลประโยชนคารักษาพยาบาลหลังเกษียณ บริษั ทฯ ใหผลประโยชนดังนี้ พนักงานที่เกษียณอายุ และ พนักงานที่ ไดรับอนุมัติใหเกษียณอายุกอนกําหนด รวมทั้งคูสมรสและบุตรอายุตํ่ากวา 20 ปบริบูรณที่ยังมิไดสมรสมีสิทธิ เขารับการรักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลของบริษัทฯ ทุกแหงไดโดยไมเสียคาใชจายใดๆ 180 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

1 3 การจายเงินคาชดเชยวันหยุดพักผอนประจําป บริษัทฯ ใหผลประโยชนดังนี้ พนักงานที่ปฏิบัติงานในรอบป หนึ่งๆ จะมีสิทธิลาหยุดพักผอนไดในรอบปถัดไป และพนักงานสามารถสะสมวันหยุดพักผอนประจําปไดไมเกิน 3 ป ติดตอกัน 1 4 ผลตอบแทนพนักงานระยะยาว (แหวน - เข็ม) บริษัทฯ จะมอบรางวัลใหแกพนักงานที่ไดปฏิบัติงานครบ 15 ป และครั้งตอไปจะมอบใหเมื่อพนักงานปฏิบัติงานครบ 25 ป และ 35 ป 1 5 บัตรโดยสารฟรีหลังเกษียณ บริษัทฯ ใหผลประโยชนดังนี้ พนักงานที่ทํางานกับบริษัทฯ มาครบ 15 ป มีสิทธิขอบัตรโดยสารฟรีประเภทสํารองที่นั่งได เ พาะเสนทางที่บริษัทฯ ทําการบินได 1 เที่ยว และหากพนักงานยังคงทํางาน อยูกับบริษั ทฯ จะใชสิทธินี้ ไดอีกทุกรอบ 5 ป ภายหลังจากวันที่มีสิทธิครั้งกอนและพนักงานสามารถเก็บสะสมสิทธิไวใช เมื่อใดก็ได อ สมมติ าน นการ ร มา การตามหลักการค ิต าสตร ร กันภั อัตราคิดลด ( iscount Rate) 32 อัตราเงินเฟอ (Price In ation) 30 อัตราการขึ้นเงินเดือน สําหรับพนักงานในประเทศไทย 3 0 - 0 และพนักงานทองถิ่น 5 0 อัตราการหมุนเวียนพนักงาน (Turnover) สําหรับพนักงานในประเทศไทย 0 0 - 2 0 และพนักงานทองถิน่ 0 0 - 9 0 อัตราเงินเฟอคารักษาพยาบาล 60 อัตรามรณะ TM 0 (อัตราตารางมรณะไทยป 2551) การวิเคราะหขอ สมมติฐานเรือ่ ง อัตราคิดลด ( iscount Rate) ในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ที่ใชในการกําหนดมูลคาปจจุบันของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่น หนวย ลานบาท การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของ ภาระผูกพัน เพิ่มขน (ลดลง) อัตราเพิ่มขน 1

อัตราลดลง 1

(1 42 59)

1 69 99

อัตราคิดลด ( iscount Rate)

การ ล น ลง นมูลคา

ุบัน องภาร ผูกพันผล ร

นพนักงาน

งบการเงินรวม

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ณ วันตนงวด ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนที่จาย ขาดทุน(กําไร)จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย าร ูก ัน ลปร ย น นัก าน วันสิน วด

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

11 645 23 543 2 362 60 (552 9 )

11 50 91 502 3 4 20 (1 23 2)

11 56 26 52 45 359 91 (551 )

11 456 35 4 9 94 4 0 11 (1 23 2)

400 6

-

400 6

( 05)

ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย เกิดจากการเปลีย่ นแปลงในมูลคาปจจุบนั ของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่น ซึ่งเปนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ขอสมมติฐานที่ใชในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย โดยในงวดบัญชีป 2559 บริษัทฯ ไมมีการเปลี่ยนแปลง ขอสมมติฐานที่ใชในการประมาณการดังกลาว จึงไมเกิดผลกระทบตอกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 181


.18 ประมาณการหนีสินระยะยาว การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของประมาณการหนี้สินระยะยาว งบการเงินรวม 2559

ประมาณการหนี้สินระยะยาว ณ วันตนงวด ประมาณการหนี้สินระยะยาว สําหรับงวด ปร มา การหนีสินร ย ยาว วันสิน วด

619 31 6 46 52

2558

412 96 206 35

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559

619 31 6 414

2558

410 52 20 9

ประมาณการหนี้สินระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 (งบการเงินเ พาะกิจการ) ประกอบดวย 1 1 ศาลไดมีคําพิพากษาใหบริษัทฯ จายคาชดเชยใหพนักงานเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 4 66 ลานบาท ขณะนี้อยู ระหวางการพิจารณาของศาล ีกา 1 2 ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณไดมีคําพิพากษา ใหบริษัทฯ ชําระเงินคาเสียหาย คืนเงินคํ้าประกัน หรือเงิน คาปรับเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 14 62 ลานบาท ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาล ีกา 1 3 มติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครัง้ ที่ 11 255 วันที่ 11 พ ศจิกายน 255 ใหบริษัทฯ สํารองเงินทีจ่ ะ ตองชดใชใหกับบริษัท Aerca ในชวงตนป 2560 ในการยกเลิกสัญญาเชาเครื่องบินแบบ A330-300 จํานวน 2 ลํา (T T ) กอนกําหนดระยะเวลา 1 ป โดยจายคาธรรมเนียมการยกเลิกสัญญาเปนเงินจํานวน 3 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 10 01 ลานบาท และคาทํา Retro it oito Seat เปนเงินจํานวน 2 54 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 91 3 ลานบาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 199 3 ลานบาท 1 4 บริษัทฯ รับรูรายการประมาณการหนี้สินระยะยาว คาซอมแซมและบํารุงอากาศยาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวนเงิน 6 15 42 ลานบาท เปนรายการสํารองคาซอมใหญ เครื่องบิน เครื่องยนตเครื่องบิน และสวนประกอบอื่นๆ สําหรับรายการซอมที่จะตองจายเงินในอนาคตตามสัญญา ทั้งนี้เพื่อรับรูภาระผูกพันภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน ในการซอม บํารุงเครื่องบิน เครื่องยนตเครื่องบิน และสวนประกอบอื่นๆ ตลอดอายุสัญญาเชา รวมถึงการเตรียมสภาพเครื่องบินกอนการ สงมอบคืนตามทีผ่ ใู หเชากําหนดเมือ่ สิน้ สุดสัญญาเชา โดยมีสมมติฐานการประมาณการคาซอมทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ ตามชัว่ โมงบิน รอบการบิน รอบการซอมใหญ และอายุสัญญาเชา บันทึกคิดคํานวณตามสัดสวนระยะเวลาที่บริษัทฯ ใชงานประกอบดวย การสํารองคาซอมใหญ เครื่องบิน และสวนประกอบอื่นๆ จํานวนเงิน 3 02 61 ลานบาท เครื่องยนตเครื่องบิน จํานวนเงิน 3 026 31 ลานบาท และคาซอมบํารุงเพื่อเตรียมสภาพเครื่องบิน เมื่อสงมอบคืนตามสัญญาเชา จํานวนเงิน 6 5 ลานบาท .19 เงินปนผลจาย งบการเงินเ พาะกิจการ ตามมติที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 งดจายเงินปนผลสําหรับผลการ ดําเนินงานประจําป 255 .20 ทุนเรือนหุน บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนหุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 2 69 90 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 26 9 9 00 ลานบาท ทุนที่ออกและชําระแลวจํานวน 21 2 2 ลานบาท .21 สารองตามก หมาย บริษัทฯ มียอดสํารองตามก หมาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 2 691 2 ลานบาท

182 รายงานประจําป 2559


มาย

.22 รายไดอื่นๆ งบการเงินรวม 2559

กําไรจากการจําหนายทรัพยสิน เงินปนผลจากบริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น รายไดจากการใหบริการอืน่ ของฝายซอมบํารุงอากาศยาน รายไดคาปรับจากการสงมอบเครื่องบินลาชา รายไดคาปรับจากบริษัท IT รายไดคาปรับอื่นๆ รายไดคาสินไหมทดแทนจากเหตุอุทกภัย รายไดคาสินไหมทดแทนจากเหตุอื่น รายไดจากการใหบริการหองรับรองลูกคา รายไดจากการใหบริการผูโ ดยสารสายการบินไทยสมายล อื่นๆ รวม

23 33 23 4 334 9 355 11 119 43 6 2

2558

69 641 91 3 96 59 1 1 56 20 05 144 6 110 0 69 62

.23 คาใ จายผลประโย นพนักงาน งบการเงินรวม

คาใชจายบุคลากร ผลประโยชนพนักงาน คาตอบแทนผูบริหารบริษัทฯ คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม

ุประกอบ บการ ิน

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559

22 2 23 33 23 4 334 9 355 11 119 43 9 24 624 5

2558

00 192 65 641 91 3 96 59 1 1 56 20 05 144 6 110 0 195 1 61 0

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

29 112 09 354 11 2 19 36

29 953 65 60 09 9 51 19 3

2 642 33 335 59 6 60 16 66

29 55 01 5 3 04 91 95 16 54

ผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริษัทฯ ทุกทาน กรรมการผูจัดการบริษัทฯ ผูบริหารบริษัทฯ 4 รายแรก และผูดํารง ตําแหนงเทียบเทาผูบริหารรายที่ 4 ทุกราย ตอจากกรรมการผูจัดการบริษัทฯ โดยรวมผูบริหารบริษัทฯ ในสายงานบัญชี หรือ การเงินบางคน ซึ่งเปนไปตามก หมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย .2 คาใ จายผลประโย นตอบแทนตามโครงการฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4 2559 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2559 ไดอนุมัติโครงการรวมใจจาก องคกร MSP ป 2559 ซึ่งมีพนักงานเขารวมโครงการทั้งหมด จํานวน 2 0 คน โดยพนักงานไดรับอนุมัติใหออกตามโครงการ ตามกําหนด 2 ครัง้ คือวันที่ 1 มิถนุ ายน 2559 และ 1 กรก าคม 2559 ซึง่ บริษัทฯ ตองจายเงินตอบแทนตามโครงการ จํานวนเงิน 13 54 ลานบาท และ 413 5 ลานบาท ตามลําดับ รวมเปนจํานวนเงิน 42 12 ลานบาท โดยบริษัทฯ ไดรับรูในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 แลว

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 183


.25 ผลขาดทุนจากการดอยคาเครื่องบิน งบการเงินเ พาะกิจการ ตามที่บริษัทฯ ทําการเปรียบเทียบมูลคาตามบัญชีของเครื่องบินรอการขายกับมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย พบวา มูลคายุตธิ รรมหักตนทุนในการขายตํา่ กวามูลคาตามบัญชี บริษัทฯ จึงไดบนั ทึกรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาเครือ่ งบินใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับป 2559 เปนจํานวนเงิน 3 21 5 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยการดอยคาเครื่องบิน A340-500 จํานวน 4 ลํา A340-600 จํานวน 6 ลํา B 3 -400 จํานวน 3 ลํา และ B 4 -400 จํานวน 4 ลํา รวม 1 ลํา เปนจํานวนเงิน 2 92 51 ลานบาท และมีการดอยคาเครื่องยนตอะไหลเครื่องบินจํานวน 1 เครื่องยนต เปนจํานวนเงิน 325 24 ลานบาท .26 คาใ จายอื่น

หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

งบการเงินรวม

คาเชาสํานักงานและสาธารณูปโภค คาเครื่องใชสํานักงาน คาซอมแซมอาคารและอุปกรณ คาจางแรงงานภายนอก คาที่ปรึกษาและบริการ คาดําเนินคดีละเมิดก หมายปองกันการคาที่ไมเปนธรรม คาเชาและบํารุงรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร คาเชาเครื่องมืออุปกรณสื่อสารและอุปกรณสํานักงาน คาเดินทางและยานพาหนะ คาสิทธิประโยชน คาเสียหายใหลูกคา คาสินคาและพัสดุเสื่อมสภาพ คาใชบริการระวางขนสงสินคาพัสดุภัณฑ คาใชจายรวมลงทุนในกลุม Star A iance ภาษีการคาและภาษีโรงเรือน หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ คาบริการในการใชระบบ T Hosting คาปรับและดอกเบี้ย อื่นๆ รวม

2559

2558

2559

2558

2 614 61 1 25 562 25 16 2 4 49 92 26 64 5 4 62 231 52 55 6 406 3 220 25 310 1 99 64 0 9 1 (59 94) 6 49 19 56 6 1 29

2 1 2 161 96 53 02 1 515 1 51 9 2 62 555 63 219 10 512 35 3 6 253 34 500 52 105 6 46 51 1 4 06 (122 42) 9 5 2 3 03 09 45

2 614 61 1 25 562 25 16 2 4 49 92 26 64 5 4 62 231 52 55 6 406 3 220 25 310 1 99 64 0 9 1 (60 22) 6 49 19 56 3 30

2 1 2 161 96 53 02 1 515 1 51 9 2 62 555 63 219 10 512 35 3 6 253 34 500 52 105 6 46 51 1 4 06 (123 1) 9 5 2 3 03 502

.2 คาใ จาย(รายได)ภาษีเงินได หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ

งบการเงินรวม 2559

คาใชจายภาษีเงินไดจากกําไรสุทธิทางภาษีสําหรับงวด บวก (หัก) สินทรัพย หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี จากผลแตกตางชั่วคราวเพิ่มขึ้น ลดลง คาใ  าย รายได า ีเ ินไดสท ิ

184 รายงานประจําป 2559

2558

2559

2558

42 30

42 92

15 20

26 4

(1 506 54)

(1 112 29)

(1 503 10)

(1 102 0 )


มาย

ุประกอบ บการ ิน

.28 การสงเสริมการลงทุน บริษัทฯ ไดรับบัตรสงเสริมการลงทุน สําหรับการดําเนินการขนสงทางอากาศของเครื่องบินโดยสาร ประกอบดวย กิจกรรมการขนสงผูโดยสารและกิจกรรมการขนสงสินคา ตามบัตรสงเสริมการลงทุนดังตอไปนี้ บัตรสงเสริมการลงทุนเลขที่

วันที่ไดรับบัตรสงเสริมการลงทุน

1214(2) 2552 1 4(2) 2552 1446(2) 2554 11 (2) 2555 162 (2) 2555 25 6(2) 2555 25 (2) 2555 1220(2) 2556 1221(2) 2556 1590(2) 2556 235 (2) 2556 235 (2) 2556 2360(2) 2556 2362(2) 2556 2363(2) 2556 2364(2) 2556 2365(2) 2556 2366(2) 2556 236 (2) 2556

13 มีนาคม 2552 19 พ ศจิกายน 2552 21 เมษายน 2554 10 กุมภาพันธ 2555 22 พ ษภาคม 2555 22 ตุลาคม 2555 22 ตุลาคม 2555 13 กุมภาพันธ 2556 13 กุมภาพันธ 2556 1 พ ษภาคม 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556

ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดบางประการ สิทธิพิเศษรวมถึงการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิ ที่ไดรับจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมเปนระยะเวลา ป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ รายไดจากการขาย หรือการใหบริการ แยกตามกิจการที่ ไดรับการสงเสริมการลงทุนและไมไดรับการสงเสริม การลงทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 255 มีรายละเอียดดังนี้ หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559

รายไดจากการขายหรือการใหบริการ กิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน กิจการที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุน รวมรายได ากการ ายหรือการใหบริการ

92 564 11 9 62 39

2558

9 361 60 95 05

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 185


.29 กาไร(ขาดทุน)ตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรหรือขาดทุนที่เปนสวนของบริษั ทใหญดวยจํานวนถัวเ ลี่ยถวงนํ้าหนัก ของหุนสามัญที่ถือโดยผูถือหุนในระหวางงวด งบการเงินรวม

กาไร าดทน ที่เปนสวน อ บริ ัทให  จํานวนหุนสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม านวนหนสามั ัวเ ลี่ย ว นาหนัก กาไร าดทน อหน ัน ืน าน บาท

หนวย ลานบาท ลานหุน งบการเงินเ พาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

21 2

21 2

21 2

21 2

.30 สวนงานดาเนินงาน ั นการกาหน ส นงาน บริษั ทฯ กําหนดสวนงานที่รายงานตามลักษณะของผลิตภัณฑและบริการ โดยผูบริหารพิจารณาจากโครงสราง องคกร ซึ่งสอดคลองกับการดําเนินกิจการดานการบินพาณิชย บริษัทฯ มีสวนงานที่รายงาน 3 สวนงาน ประกอบดวย สวนงานกิจการขนสงทางอากาศ สวนงานหนวยธุรกิจ และ สวนงานกิจการอื่นๆ โดยสวนงานกิจการขนสงทางอากาศ ประกอบดวย บริการขนสงผูโดยสาร บริการขนสงสินคา พัสดุภัณฑ และไปรษณียภัณฑ สวนงานหนวยธุรกิจเปนกิจการที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการขนสง ประกอบดวย การพาณิชยสินคาและ ไปรษณียภัณฑ การบริการลูกคาภาคพื้น การบริการลานจอดและอุปกรณภาคพื้น และครัวการบิน และสวนงานกิจการอื่นๆ เปนกิจการสนับสนุนการขนสงประกอบดวย การบริการอํานวยการบิน การจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน การจําหนาย สินคาที่ระลึก ฝายชาง และการดําเนินงานของบริษัทยอย ก การ ั มูลคา บริษัทฯ บันทึกรายการโอนรายไดระหวางสวนงานดวยราคาที่ขายใหกับลูกคาที่ไมเกี่ยวของกับบริษัทฯ หักสวนลด สวนงานหนวยธุรกิจดานการบริการลูกคาภาคพื้นบันทึกดวยราคาตนทุนหักสวนลด สวนงานกิจการอื่นๆ บันทึกดวยราคาตนทุน งบประมาณ และบริษัทฯ ไดตัดบัญชีที่เปนรายการโอนระหวางกันดังกลาวในการจัดทํางบการเงินรวม กําไร(ขาดทุน)รวมกอนภาษีเงินไดของแตละสวนงานเกิดขึน้ จากรายไดรวมหักตนทุน และคาใชจา ยในการดําเนินงาน สินทรัพยของสวนงาน เปนสินทรัพยที่ใชดําเนินงานหรือเกี่ยวของกับกิจการนั้นๆ หนี้สินของสวนงาน เปนหนี้สินในการดําเนินงานหรือเกี่ยวของกับกิจการนั้นๆ

186 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

30 1 ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานมีรายละเอียดดังนี้ งบการ งินร ม

งบกาไรขาดทุน

สาหรับปสินสดวันที่ กิจการขนสง ทางอากาศ 2559

รายไดภายนอก รายได (คาใชจาย)ระหวางสวนงาน ดอกเบี้ยรับ ผลกําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ รายไดอื่นๆ รวมรายได คานํ้ามันเครื่องบิน คาใชจายผลประโยชนพนักงาน คาบริการการบิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย และเครื่องบิน คาใชจายอื่น ตนทุนทางการเงิน สวนแบงกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน ในบริษัทรวม รวมคาใ  าย กาไร าดทน กอน า ีเ ินได รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได กาไร าดทน อ สวน าน

2558

ันวาคม

หนวยธุรกิจ 2559

166 63 96 1 1 139 21 9 493 09 (13 1 44) (12 913 15) 991 60 1 99 320 66 691 94 2 23 9 (43 430 92) (1 49 03) (20 140 5) (16 232 63)

3 4 59 6 143 96

หนวย ลานบาท

30 2

กิจการอื่นๆ

2558

รวมทังสิน

2559

2558

2559

2558

12 53 6 -

2 1 0 45 4 9 4 26 32

2 16 6 1 312 50 1 2 2 35 4 159 39 11 2 204 31 331 93

36 4

(6 9 ) (25 09)

23 19 (160 54)

6 49 2 244 42

3 511 6 020 26

(61 94 04) (1 904 99) (1 44 9) (21 12 33) ( 145 91) ( 045 3 ) (5 352 61) (5 202 1 ) (19 965 0) (46 40) (6 9) (630 63) (439 60) (1 313 50) ( 30 34) ( 99 41) (1 02 6) (1 019 )

(45 335 91) (29 995 55) (20 1 ) (1 990 3)

(63 242 3) (34 059 ) (20 4 4 09) (19 132 )

(3 62 91) (12 15 5) (3 62 91) (12 15 5) (4 232 15) (41 45 2 ) (6 3 9 5 ) (6 0 6 03) (5 565 31) (3 943 12) (59 1 03) (51 4 43) (5 339 16) (5 9 4) (5 339 16) (5 9 4) (510 2 )

131

-

-

(69 1 )

-

(5 9 45)

131

1 4 90

1 0 5 23

-

-

(23 66)

(5 6)

1 464 24

1 069 3

สินทรัพยและหนีสิน วันที่

กิจการขนสง ทางอากาศ 2559

สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุน ที่ดินอาคาร และอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยที่ไมไดปนสวน สินทรั ยรวม หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินที่ไมไดปนสวน หนีสินรวม

2558

ันวาคม

หนวย ลานบาท

หนวยธุรกิจ 2559

2558

4 594 54 56 563 55 66 3 63 56 3 964 51 4 10 9 1 6 605 19 914 36 5 410 34 6 0 1 91 24 31 95 1 1 36 00 0 41 4 9 43 5 001 33 161 666 66 1 3 444 52 -

32 2 -

23 0 -

กิจการอื่นๆ

รวมทังสิน

2559

2558

2559

2558

4 64 94 4 02 2 5 23 5 0 50 -

5 1 54 54 02 21 65 3 65 4 16 3 96 53 4 14 95 3 2 9 09 194 91 35 20 2 5 36 5 24 9 52 1 94 54 5 346 26 4 02 56

512 99 34 25 -

9 4 4 6 330 14 95 124 60 04 162 014 91 1 3 522 56 1 190 62 9 21

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 187


188 รายงานประจําป 2559

สําหรับป ม ค - ธ ค 59 มค - ธค5

13 9 02 11 60 9

กิจการ ขนสง

9 493 09 12

หนวย ธุรกิจ

รายไดภายในประเทศ

2 1 0 45 2 16 6

อื่นๆ

9 124 33 92 0 2 11

ภูมิภาค เอเ ีย ยุโรป

4 106 44 4 0 6 09

รา  า นกตามภูมิ าสตร มีรายละเอียดดังนี้

0 26 2 14 16

แป ิ ก เหนือ

รายไดตางประเทศ

16 243 65 16 24 2

ออสเตรเลีย และ นิว ีแลนด

0 16 55 1

แอ ริกา

36 10 920 9

รายไดคาเ า เหมาลา และอื่นๆ

204 31 331 93

ดอกเบียรับ

2 244 42 6 020 26

รายไดอื่น

รายไดอื่น

6 49 3 511

ผลกาไร (ขาดทุน) จากอัตรา แลกเปลี่ยน เงินตรา ตางประเทศ

1 1 446 20 192 591 32

รวม

หนวย ลานบาท


มาย

ุประกอบ บการ ิน

.31 กองทุนสารองเลียง ีพ ในงวดบัญชีนี้ บริษัทฯ จายสมทบเขากองทุนสํารองเลี้ยงชีพฯ เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 1 15 5 ลานบาท สําหรับ สมาชิกที่มีอายุการทํางานไมเกิน 20 ป ในอัตรารอยละ 9 ของเงินเดือน สวนสมาชิกที่มีอายุการทํางานเกิน 20 ป ในอัตรา รอยละ 10 ของเงินเดือน เงินกองทุนสํารองเลีย้ งชีพบริหารงานโดยบริษัทหลักทรัพยจดั การกองทุน ยูโอบี(ประเทศไทย) จํากัด บริษัทหลักทรัพย จัดการกองทุน กรุงไทย จํากัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย จัดการกองทุนรวม วรรณ จํากัด และบริษัทหลักทรัพยจัดการ กองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษั ทจัดการกองทุนที่ ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) .32 หนีสินที่อาจเกิดขน 32 1 บริษัทฯ มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งยังมิไดแสดงในงบการเงิน ดังนี้ หนวย ลานบาท

การคํ้าประกันโดยธนาคาร (ในประเทศ) การคํ้าประกันโดยธนาคาร (ตางประเทศ) บริษัทฯ ถูกฟองเปนจําเลยในคดีตางๆ ดังนี้ คดีพิพาทแรงงาน คดีเรียกคาเสียหาย รวม

2559

2558

49 96 451 0

30 36 314 5

1 399 91 460 30

1 356 00 512 64

32 2 ความคืบหนาคดีละเมิดก หมายปองกันการคาที่ไมเปนธรรม (Antitrust) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1 กรณีบริษัทฯ ถูกสายการบิน Britis Air ays ซึง่ เปนจําเลยในคดี argo ivi ass Action ในประเทศ อังก ษรองขอใชสิทธิไลเบี้ย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 255 บริษัทฯ ไดรับหนังสือจากทนายความในประเทศอังก ษของสายการบิน Britis Air ays แจงวาสายการบิน Britis Air ays ซึ่งเปนจําเลยในคดี ivi ass Action ในประเทศอังก ษ และถูกฟอง ใหชดใชคาเสียหายจากการกําหนดราคาคาธรรมเนียมพิเศษ (Fue Surc arge และ Security Surc arge) ในชวงระหวางป 2542 - 2550 ไดยื่นคํารองตอศาลขอใชสิทธิไลเบี้ยสายการบินอื่นๆ จํานวน 1 ราย รวมทั้งบริษัทฯ ในวันที่ 2 พ ศจิกายน 2556 ทั้งนี้ บริษัทฯ ไมใชคูความหลักในคดี คดีอยูในระหวางการแสวงหาพยานหลักฐาน ( isc osure) 2 กรณีบริษัทฯ ถูกฟองในคดี argo ivi ase ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เมื่อวันที่ 22 มกราคม 255 บริษัทฯ ไดรับแจงเรื่องนี้จากสํานักงานสาขาของบริษัทฯ ในประเทศ สาธารณรัฐเกาหลีวา กลุมบริษัทแอลจี ไดแก e ica ectronics is ay และ i e Science ไดยื่นฟอง คดีแพงตอสายการบินจํานวน 12 ราย รวมทั้งบริษัทฯ ในวันที่ 2 พ ศจิกายน 2556 เพื่อเรียกรองคาเสียหายจากการรวมกัน กําหนดราคา Fue Surc arge ระหวางสายการบินตางๆ ในชวงระหวางป พ ศ 2546 - 2550 โดยกลุมบริษัทแอลจีไดระบุ จํานวนทุนทรัพยในคําฟองเปนเงินจํานวน 404 000 000 วอน พรอมดอกเบี้ย หรือประมาณ 12 2 ลานบาท และไดสงวนสิทธิ ในการแกไขคําฟองเพือ่ เพิม่ เติมจํานวนทุนทรัพยหากกลุม บริษัทแอลจีสามารถพิสจู นไดในภายหลัง ขณะนีค้ ดีอยูในระหวางการ พิจารณาของศาล 3 กรณีบริษัทฯ ถูกสายการบิน Britis Air ays สายการบิน u t ansa และสายการบิน M-AF ซึ่ง เปนจําเลยในคดี argo ivi ass Action ในประเทศเนเธอรแลนด ยื่นคํารองขอใชสิทธิไลเบี้ย

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 189


ในชวงตนเดือนกรก าคม 255 บริษัทฯ ไดรบั คํารองขอใชสิทธิไลเบี้ยจากสายการบิน Britis Air ays สายการบิน u t ansa และสายการบิน M-AF ทั้งนี้สายการบิน Britis Air ays สายการบิน u t ansa และสายการบิน M-AF ไดยื่นคํารองดังกลาวตอบริษั ทฯ และสายการบินอื่นๆ อีกกวา 20 สายการบิน กรณีโจทกไดฟองสายการบิน onink i ke uc tvaart Maatsc a i Martin Air Ho and Societe Air France S A (รวมเรียกวา “ M-AF”) eutsc e u t ansa และ u t ansa argo A (รวมเรียกวา “ u t ansa”) Singa ore Air ines และ Singa ore Air ine argo (รวมเรียกวา “Singa ore Air ines”) และ Britis Air ays เปนจําเลย ตั้งแตเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 โดย กลาวหาวา สายการบินเหลานี้ไดรวมกันกําหนดราคาคาธรรมเนียมตางๆ ตอมาเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 255 สายการบินจําเลย ทัง้ หมดในคดีดงั กลาวไดยนื่ รองตอศาลเพือ่ ขออนุญาตยืน่ คํารองใชสทิ ธิไลเบีย้ ตอสายการบินอืน่ ๆ ทีถ่ กู ระบุวา เปนผูร ว มกําหนด ราคา และเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 255 ศาลไดมีคําสั่งอนุญาตตามคํารองดังกลาว ขณะนี้คดีอยูในระหวางการพิจารณาของศาล อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไมไดถูกฟองเปนจําเลยในคดีหลัก .33 การปองกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด ในป 2559 บริษัทฯ นําเงินกูยืมที่เปนสกุลเงินตางประเทศมาบริหารความผันผวนของกระแสเงินสดในอนาคตของ รายไดทเี่ ปนสกุลเงินตางประเทศในอนาคตทีค่ าดการณไว ทัง้ นี้ กําไรหรือขาดทุนจากผลตางอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ ซึ่งเปนผลจากความแตกตางของอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่กําหนดความสัมพันธ หรือ ณ วันที่เบิกเงินกูยืม (แลวแตวันใด เกิดขึ้นหลัง) จนถึง ณ วันที่รายงานกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการปองกันความเสี่ยงสวนที่มีประสิทธิผลจะบันทึกใน องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุนในสวนของผูถือหุน โดยรายการกําไรหรือขาดทุนดังกลาวจะโอนเขากําไรหรือขาดทุนใน งวดเดียวกับงวดที่รายการที่มีการปองกันความเสี่ยงดังกลาวรับรูในกําไรหรือขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ รับรูขาดทุนจํานวน 5 04 ลานบาท จากการถือปฏิบัติตามการ บัญชีปองกันความเสี่ยงสําหรับธุรกรรมเงินกูตางประเทศกับรายไดที่เปนสกุลเงินตางประเทศในอนาคตที่คาดการณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาที่คาดวากระแสเงินสดของรายการที่มีการปองกันความเสี่ยงจะเกิดขึ้นและ มีผลกระทบตอกําไรหรือขาดทุน แสดงไดดังนี้

งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ ป

กระแสเงินสดรับ

หนวย ลานบาท

3 เดือน หรือนอยกวา

มากกวา 3 เดือน ถง 1 ป

มากกวา 1 ป ถง 5 ป

มากกวา 5 ป

รวม

6 1 5 21

15 046 59

99 23 19

349 444 6

4 0 399 5

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวนเงินที่บันทึกในองคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุนเกี่ยวกับการปองกัน ความเสี่ยงในกระแสเงินสดสวนที่มีประสิทธิผลเปนเงิน 1 629 3 ลานบาท จํานวนเงินดังกลาวคาดวาจะรับรูในกําไรขาดทุน ตลอดระยะเวลาของรายไดในอนาคตที่คาดการณตามตารางดังกลาวขางตน .3 การเปดเผยขอมูลเครื่องมือทางการเงิน งบการเงินเ พาะกิจการ

ค าม ส ง านอัตรา อก บ

ความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ยในงบการเงิน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่อาจ สงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ทั้งในปจจุบันและอนาคต ตารางแสดงอัตราดอกเบี้ยถัวเ ลี่ยถวงนํ้าหนัก (Weig ted Average Interest Rate) และจํานวนเงิน ของหนี้สินทางการเงิน

190 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

หนวย ลานบาท ป 2559 หนีสิน ทางการเงิน แยกตามสกุลเงิน ดอลลารสหรัฐอเมริกา เยนญีป่ นุ เงินยูโร เงินบาท รวม

อัตรา จานวนเงินกูค งเหลือ จานวนเงินกูค งเหลือ ดอกเบีย ตามสั าดอกเบียลอยตัว ตามสั าดอกเบียคงที่ ถัวเ ลีย่ ถวงนาหนัก นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป 2 64 1 00 1 40 4 36

1 149 00 1 292 95 22 1 9 54 11

4 63 5 255 61 20 4 2 10 45 29

6 503 0 3 61 50 15 2 9 25 52 64

5 400 3 1 149 11 5 200 00

4 519 9 29 3 0 00

10 962 4 24 30 00

ยอดรวม 1 691 32 10 410 06 59 636 62 9 645 04

หนวย ลานบาท ป

หนีสิน ทางการเงิน แยกตามสกุลเงิน ดอลลารสหรัฐอเมริกา เยนญีป่ นุ เงินยูโร เงินบาท รวม

อัตรา จานวนเงินกูค งเหลือ จานวนเงินกูค งเหลือ ดอกเบีย ตามสั าดอกเบียลอยตัว ตามสั าดอกเบียคงที่ ถัวเ ลีย่ ถวงนาหนัก นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป 2 45 1 24 1 42 4 23

1 152 5 12 29 411 23 14 094 11

4 653 5 5 20 42 24 63 2 1 5 23

22 9 4 9 09 20 11 51 66 2

3 625 3 1 199 23 300 00

4 643 2 2 230 00

12 13 14 24 0 0 00

ยอดรวม 1 154 6 11 360 4 0 4 11 93 039 16

บริษั ทฯ มีนโยบายบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย โดยใชเครื่องมือทางการเงิน ในตลาดอนุพันธ ไดแก ross urrency S a ( S) และ หรือ Interest Rate S a (IRS) เพื่อแปลงอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ที่มีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นมาเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีภาระหนี้เงินกูระยะยาว ภาระหนี้ ภายใตสญ ั ญาเชาซือ้ ทีเ่ ปนอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวตออัตราดอกเบีย้ คงทีห่ ลังการทําธุรกรรม Interest Rate S a (IRS) ประมาณ รอยละ 3 ตอ 62 ปจจุบัน บริษัทฯ มีธุรกรรม IRS จํานวนทั้งสิ้น รายการ เปนการแปลงหนี้ท่ีมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว เปนอัตราดอกเบีย้ คงที่ โดยแบงเปนอัตราดอกเบีย้ สกุลเงินยูโร 5 รายการ และอัตราดอกเบีย้ สกุลเงินบาท 3 รายการโดยวงเงิน คงเหลือของธุรกรรม IRS ทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวน 4 46 ลานบาท ซึ่งจะมีการชําระดอกเบี้ยกัน เปนรายเดือน และรายไตรมาส ทั้งนี้ ธุรกรรม IRS สกุลเงินยูโร 1 รายการ จะสิ้นสุดสัญญาในป 2560 และอีก 4 รายการ จะสิ้นสุดสัญญาในป 2561 และธุรกรรม IRS สกุลเงินบาทจะสิ้นสุดสัญญาในป 2560 จํานวน 3 รายการ

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 191


ค าม ส ง ากอัตรา ลก ล น

จากการที่บริษัทฯ มีรายไดเปนเงินบาท และเงินตราตางประเทศกวา 50 สกุล โดยมีสกุลหลัก ไดแก ดอลลารสหรัฐอเมริกา ( S ) บาท (THB) ยูโร ( R) และเยน ( P ) และมีคา ใชจา ยในสกุลหลัก ไดแก ดอลลารสหรัฐอเมริกา ( S ) และบาท (THB) ในขณะที่มีหนี้สินใน 4 สกุลหลัก ไดแก ดอลลารสหรัฐอเมริกา ( S ) ยูโร ( R) บาท (THB) และ เยน ( P ) บริษัทฯไดดําเนินการบริหารความเสี่ยงอันเนื่องจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเปนปจจัยที่ไมสามารถ ควบคุมได บริษัทฯ ไดดําเนินการโดยใชหลักการ atura Hedging คือ การจัดใหคาใชจายเปนเงินสกุลเดียวกับรายไดมาก ที่สุด และกูเงินพรอมกับปรับโครงสรางเงินกูใหสอดคลองกับเงินสดสุทธิจากการดําเนินการ ( et erating as F o ) พรอมๆกับการลดความเสี่ยงของการมีหนี้เปนเงินสกุลตางประเทศมากเกินไป โดยการมีหนี้สกุลเงินบาท ดวยสวนหนึ่ง เพื่อที่ จะลดความผันผวนของรายการผลกําไร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในงบการเงิน ดวยการวางแผนในการจัดหาเงินทุน และ การใชเครื่องมือทางการเงินในการทําธุรกรรมที่เหมาะสม ไดแก ross urrency S a ( S) ในชวงที่ตลาดเงิน เอื้ออํานวย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสัดสวนเงินกูในสกุลหลักภายหลังจากการทํา S ดังนี้ S R P HF THB 0 39 19 34 นอกจากนี้บริษัทฯ ไดใชเครื่องมือทางการเงิน ไดแก For ard ontract เพื่อจัดหาเงินชําระหนี้ใน สกุลเงินที่บริษัทฯ มีภาระผูกพันในอนาคต ปจจุบัน บริษัทฯ มีธุรกรรม S จํานวนทั้งสิ้น 25 รายการ โดยแบงเปนการแปลงหนี้เงินบาท (THB) เปนหนี้ สกุลยูโร ( R) อัตราดอกเบี้ยคงที่ 5 รายการ แปลงหนี้เงินบาท (THB) เปนหนี้สกุลเยน ( P ) อัตราดอกเบี้ยคงที่ 12 รายการ แปลงหนี้เงินบาท (THB) เปนหนี้สกุลเยน ( P ) อัตราดอกเบี้ยลอยตัว 2 รายการ แปลงหนี้สกุลเงินยูโร ( R) เปน หนี้สกุลเยน ( P ) อัตราดอกเบี้ยคงที่ 2 รายการ และแปลงหนี้สกุลเหรียญสหรัฐ ( S ) เปนหนี้เงินสวิสฟรังก ( HF) จํานวน 4 รายการ โดยวงเงินคงเหลือของธุรกรรม S ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนเทียบเทา 36 3 6 1 ลานบาท ซึ่งจะมี การชําระแลกเปลี่ยนเงินตน และดอกเบี้ยเปนรายเดือน รายไตรมาส และทุกๆ 6 เดือน โดยธุรกรรม S ดังกลาว จะทยอย สิ้นสุดสัญญาตั้งแตป 2560 ถึงป 25 1 หนวย ลานบาท หนีสินที่เปนเงินตราตางประเทศ

2559 สกุลเงิน

ครบกาหนด ภายใน 1 ป

ดอลลารสหรัฐอเมริกา เยนญีป่ นุ เงินยูโร

1 ถง 5 ป

2558 ครบกาหนด ครบกาหนด เกินกวา 5 ป ภายใน 1 ป

6 549 3 4 63 6 503 0 1 292 95 5 255 61 3 61 50 3 2 25 00 61 26 251 3

ค าม ส ง านราคานามัน

1 ถง 5 ป

ครบกาหนด เกินกวา 5 ป

4 13 4 653 5 22 9 12 29 5 20 42 4 9 09 610 46 29 40 00 32 30 65

ความผันผวนของราคานํ้ามันจะขึ้นอยูกับอุปสงคและอุปทานของนํ้ามันเชื้อเพลิงในตลาดโลก รวมทั้ง ผลกระทบจากสภาวการณทางการเมืองระหวางประเทศ ซึง่ สงผลกระทบโดยตรงตอผลการดําเนินงาน เนือ่ งจากนํา้ มันเชือ้ เพลิง เปนวัตถุดิบที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจขนสงทางอากาศ บริษัทฯ ไดจัดทําการประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันโดยมีวัตถุประสงค เพื่อลดความผันผวนของตนทุนดานนํ้ามันอากาศยาน และเพื่อใหผลประกอบการของบริษัทฯ เปนไปตามเปาหมายและเปน การปกปองมูลคาของบริษั ทฯ ใหแกผูถือหุนและผูที่เกี่ยวของ โดยมิใชเปนการแสวงหารายไดหรือหวังผลกําไรเพิ่มเติมจาก การบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามัน

192 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

บริษัทฯ ไดมีการบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันอากาศยานอยางตอเนื่องเปนระบบ โดยไดปรับนโยบาย การบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ใหสามารถจัดทําประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ไมตํ่ากวารอยละ 20 และไมเกิน รอยละ 0 ของปริมาณการใชในรอบหนึ่งปงบประมาณ และระยะเวลาประกันไมเกิน 1 เดือน โดยการกําหนดราคา นํ้ามันฯ ขั้นตํ่าและขั้นสูงไว ซึ่งบริษัทฯจะตองรับภาระสวนตางหากราคานํ้ามันฯ ตํ่ากวาราคาขั้นตํ่า ในทางกลับกันบริษัทฯ จะไดรับชดเชยสวนตางหากราคานํ้ามันฯสูงกวาราคาขั้นสูงโดยการรับชดเชยหรือจายชดเชยสวนตางเปนเงินสกุลดอลลาร สหรัฐอเมริกา ซึ่งในงวดบัญชีนี้ บริษัทฯ ไดประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ในสัดสวนถัวเ ลี่ยรอยละ 5 ของปริมาณ การใช และ ณ วันที่ 31ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ยังมีภาระผูกพันจากการทําประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันถึงเดือนธันวาคม 2560 ในสัดสวนถัวเ ลี่ยรอยละ 46 ของประมาณการการใชนํ้ามันทั้งหมด

มูลคา ุติธรรม อง ครืองมือ างการ งิน

มูลคายุติธรรม หมายถึง ราคาที่จะไดรับจากการขายสินทรัพย หรือจะจายเพื่อโอนหนี้สิน ในรายการที่ เกิดขึ้นในสภาพปกติระหวางผูรวมตลาด ณ วันที่วัดมูลคา บริษั ทฯ ใชวิธีการและขอสมมติฐานที่บริษั ทฯ ใชในการประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทาง การเงินแตละชนิด ดังนี้  เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เจาหนี้การคา เงินกูยืม เงินคางจาย เปน มูลคายุติธรรมที่ ใกลเคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี  เงินลงทุน ทั่วไป เปน มูลคายุติธรรมโดยประมาณจากราคาตามบัญชีสุทธิจากคาเผื่อการดอยคา สําหรับเงินลงทุนในตราสารทุนที่มีราคาตลาด เปนมูลคายุติธรรมตามราคาตลาด  ลูกหนี้การคา เปนมูลคายุติธรรมจากยอดลูกหนี้การคาสุทธิจากคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามบัญชี  ธุ ร กรรมอนุ พั น ธ ท างการเงิ น เป น มู ล ค า ยุ ติ ธ รรมที่ เ กิ ด จากการปรั บ มู ล ค า ของสั ญ ญาที่ บ ริ ษั ท ฯ ทําไวกับธนาคารตั้งแตเริ่มตน ดวยราคาตลาด ณ วันที่ในรายงานเพื่อสะทอนใหเห็นถึงมูลคาของสัญญา ณ เวลาปจจุบัน มากขึ้น .35 สั

าและภาระผูกพัน

ภาร ผูกพัน นการ ือ ครืองบิน

บริษัทฯ มีภาระผูกพันในการซื้อเครื่องบินที่ตองชําระเปนเงิน 15 361 54 ลานบาท สําหรับเครื่องบิน A350-900 XWB จํานวน 4 ลํา คาดวาจะไดรับมอบในระหวางป 2560-2561 ประกอบดวย หนวย ลานบาท ภาระผูกพัน

ซื้อเครื่องบิน

ภายใน 1 ป

1

9

เกิน 1 ป 5 ป

1 3 65

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 193


สั

า ล ภาร ผูกพัน า ครืองบิน

บริษัทฯ ไดลงนามในสัญญาเชาดําเนินงาน ( erating eases) เครื่องบินจํานวน 42 ลํา โดยมีภาระ ผูกพันที่ตองจายคาเชาเครื่องบินตามสัญญาเชาดําเนินงานเปนจํานวนเงิน 4 150 49 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 149 42 04 ลานบาท ประกอบดวย เครื่องบิน A320-200 จํานวน 15 ลํา A330-300 จํานวน 2 ลํา A350-900 จํานวน ลํา B -200 จํานวน 1 ลํา B -300 R จํานวน ลํา B - จํานวน 6 ลํา และ B -9 จํานวน 2 ลํา โดยมีเครื่องบินที่ รับมอบแลวจนถึงสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 34 ลํา และมีเครื่องบินที่ยังไมถึงกําหนดรับมอบอีกจํานวน ลํา ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดสง มอบคืนเครือ่ งบินภายใตสญ ั ญาเชาดําเนินงานในป 2559 จํานวน 1 ลํา โดยจะมีเครือ่ งบินครบกําหนดสิน้ สุดสัญญา เชาดําเนินงาน ในป 2560 จํานวน 3 ลํา ในป 2561-2564 จํานวน 9 ลํา และในป 2565-25 3 จํานวน 30 ลํา ภาระผูกพันคาเชา ตามสัญญาเชาเครื่องบินทั้ง 42 ลํา สําหรับระยะเวลาแตละชวงมีดังนี้ หนวย ลานบาท ภาระ กพน

Rent

ภายใน 1 ป

เกิน 1 ป 5 ป

11 96 9

59 112 12

เกิน 5 ป

419 13

.36 ความเสียหายจากเหตุอุทกภัย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2554 เกิดเหตุการณนํ้าทวมที่สนามบินดอนเมือง และสํานักงานใหญทําใหทรัพยสินของ บริษัทฯ ไดรบั ความเสียหาย ทัง้ นีค้ วามเสียหายทีเ่ กิดขึน้ บริษัทฯ ไดทาํ ประกันภัยไว ซึง่ ทรัพยสนิ ทีเ่ สียหายจะไดรบั ความคุม ครอง ตามเงื่อนไขของกรมธรรมประกันภัย บริษัทฯ ไดบนั ทึกผลเสียหายจากเหตุอทุ กภัยสําหรับทรัพยสนิ ทีเ่ สียหาย ประกอบดวยเครือ่ งบิน A300-600 จํานวน 2 ลํา อะไหลเครื่องบิน ( onsu ab e Part) พัสดุทั่วไปและอุปกรณของฝายชาง คาซอมแซมเครื่องมืออุปกรณของฝายชาง และวัตถุดิบคลังภัตตาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษั ทฯ ไดรับเงินคาสินไหมทดแทน จากบริษั ทประกันภัยเปน จํานวนเงิน 1 96 0 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ รับรูรายไดคาสินไหมทดแทนจากเหตุอุทกภัยเปนจํานวนเงิน 1 96 0 ลานบาท โดยบริษัทฯไดรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 255 และป 255 จํานวนเงิน 1 5 ลานบาท 2 4 23 ลานบาท 1 135 09 ลานบาท 164 0 ลานบาท และ 20 05 ลานบาท ตามลําดับ อยางไรก็ตาม บริษัทฯ อยูระหวาง ดําเนินการเรียกรองเงินคาสินไหมชดเชยจากบริษัทผูรับประกันภัยใหครบถวนตามเงื่อนไขที่ระบุไวในกรมธรรม .3 ความเสียหายจากเหตุเที่ยวบิน 6 9 เมื่อวันที่ กันยายน 2556 เที่ยวบิน T 6 9 (เครื่องบินแบบ A330-300 ทะเบียน HS-T F) ไถลออกนอกทางวิ่ง (Run ay) หลังจากการนําเครือ่ งลงจอด ณ สนามบินสุวรรณภูมิ อุบตั เิ หตุในครัง้ นีม้ ผี โู ดยสารไดรบั บาดเจ็บในเบือ้ งตนประมาณ 0 คน และไมมีผูเสียชีวิต สวนของเครื่องบินไดรับความเสียหายอยางหนัก ซึ่งเครื่องบินลําดังกลาวไดทําประกันภัยไวในวงเงิน 32 45 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 1 014 01 ลานบาท กรณีที่เกิดขึ้น ผูรับประกันภัยของบริษั ทฯ รับทราบ พรอมแตงตั้งทนายความ รวมทั้ง oss Ad usters เพื่อ ประสานงานกับบริษัทฯ ทั้งในเรื่องการเรียกรองคาเสียหาย การฟองรอง และการชดใชคาเสียหายใหแกผูโดยสาร รวมทั้ง การประเมินความเสียหายของเครื่องบินของบริษัทฯ จากเหตุที่เกิดขึ้น และเมื่อวันที่1 กันยายน 2556 บริษัทฯ ไดรับเงิน Interi งวดแรกจากผูรับประกันภัย จํานวน 250 000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 92 ลานบาท บริษัทฯ ไดประเมินคาใชจายในการซอมเครื่องบินรวมกับ Surveyor ของผูรับประกันภัย และการทํา Fu Re air Assess ent โดยบริษัท Airbus ไดขอสรุปวาคาใชจายในการซอมเครื่องบินสูงกวาทุนประกันภัย ซึ่งเงื่อนไขของการประกันภัย ถือวาเครื่องบินลําดังกลาวเสมือนเสียหายโดยสิ้นเชิง ( onstructive Tota oss T ) ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดรับคาสินไหมทดแทน จากผูรับประกันภัยจากความเสียหายของเครื่องบินลําดังกลาวแลวทั้งสิ้น จํานวนเงิน 33 54 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือ ประมาณ 1 0 2 ลานบาท ซึ่งคาสินไหมทดแทนดังกลาวประกอบดวย มูลคาของเครื่องบินเต็มทุนประกันภัย จํานวนเงิน 32 45 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และคา Additiona osts o Working และคา In ig t ntertain ent จํานวนเงิน 1 09 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา

194 รายงานประจําป 2559


มาย

ุประกอบ บการ ิน

ขณะนี้บริษัทฯ ไดจายคาสินไหมทดแทนใหกับผูโดยสารที่ไดรับบาดเจ็บจากเหตุการณดังกลาว และสามารถยุติ การเรียกรองคาสินไหมทดแทนไดทงั้ หมดทุกกรณีเปนทีเ่ รียบรอยแลว รวมคาสินไหมทดแทนทีจ่ า ยใหผโู ดยสารจากเหตุการณนี้ ทั้งสิ้น 11 0 ลานบาท .38 เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 3 1 บริษัทฯ สงมอบเครื่องบิน B -200 จํานวน 1 ลํา คืนแกผูใหเชา เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2560 ภายใต เงื่อนไขของสัญญาเชาดําเนินงาน 3 2 บริษัทฯ มีแผนการขอขยายระยะเวลา (Ro -over) เงินกูตอจากกระทรวงการคลังในรูปการออกตราสาร uro o ercia Pa er ( P) ภายในไตรมาส 1 ของป 2560 .39 การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบผูมีอํานาจของบริษั ทฯ ใหออกงบการเงินเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2560

บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 195


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

นายอาร�พงศ ภูชอุม

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป

- หลักสูตร “เสาหลักของแผนดิน: ผูนําระดับสูงตามแนวพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รุนวีไอพี” (สนพ.) โดยสถาบันศาสถาบัน ศาสตราจารย ดร.บุญรอด บิณฑสันต รวมกับศูนยบริการวิชาการ แหงจ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตร “นิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุน 1” (นธป.) โดยสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ - หลักสูตร “นักบริหารการยุติธรรมการปกครองระดับสูง รุนที่ 5 (บยป.) โดยสํานักงานศาลปกครอง

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 22 เม.ย. 2552 - 25 เม.ย. 2555 วาระที่ 2 วันที่ 25 เม.ย. 2555 - 24 เม.ย. 2558 วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2558 - ปจจ�บัน อายุ 59 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี (International Management) Boston University, USA ปริญญาโท (Finance) Marshall University, USA ปริญญาเอก (Finance) University of Mississippi, USA การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 3/2543 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP Refresher Course (Re DCP) รุน 2/2552 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตร “Government Debt Monitoring System” โดยธนาคารโลก (World Bank) - หลักสูตร “Global Trend and Public Enterprise Reform” Harvard University สหรัฐอเมริกา - หลักสูตร “Awareness, Vision, Imagination, Responsibility, Action (AVIRA)” สถาบัน INSEAD ประเทศฝรั่งเศส - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุน 4 (วตท.) สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตร “ผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุน 14” (บยส.) โดยสํานักงานศาลยุติธรรม - หลักสูตร “การปองกันราชอาณาจักร รุน 46“ (วปอ.) โดยวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร - หลักสูตร “ผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุน 1” (วพน.) โดยสถาบันวิทยาการพลังงาน กระทรวงพลังงาน - หลักสูตร “ผูบริหารระดับสูงดานการบริหารงานพัฒนาเมือง รุน 1” (กทม.) โดยสถาบันพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร รวมกับสถาบันพระปกเกลา 

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 - ก.พ. 2559 กรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2557 - ต.ค. 2558 ประธานกรรมการ ธนาคาร กรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2558 - ก.ย. 2558 ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2557 - พ.ค. 2558 ปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2556 - 2557 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักนายกรัฐมนตรี 2557 - 2557 กรรมการ ธนาคารแหงประเทศไทย 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2553 - 2557 ประธานกรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห 2553 - 2556 ปลัดกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง 2554 - 2555 ประธานกรรมการสลากกินแบงรัฐบาล สํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล กระทรวงการคลัง

196 รายงานประจําป 2559

 

  

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ 1 ต.ค. 2558 - ปจจ�บัน ปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2559 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2559 - ปจจ�บัน คณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา   

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ

พลอากาศเอก ตร�ทศ สนแจง

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 5 ส.ค. 2557 อายุ 60 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทหารมิวนิค สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี หลักสูตรเสนาธิการกิจ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสําหรับนักบริหารชั้นสูง สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร 

  

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2558 - ต.ค. 2559 ผูบัญชาการทหารอากาศ กองทัพอากาศ 2556 เสนาธิการทหารอากาศ กองทัพอากาศ 2555 ปลัดบัญชีทหารอากาศ กองทัพอากาศ 

 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน 

สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการอิสระ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ประธานกรรมการบร�หาร

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 22 เม.ย. 2552 - 28 เม.ย. 2553 วาระที่ 2 วันที่ 28 เม.ย. 2553 - 24 เม.ย. 2556 วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2556 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 4 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน อายุ 58 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาเอก เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต University of Toronto, Canada ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 21/2547 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)  

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป มี.ค. 2552 - พ.ค. 2558 กรรมการ ธนาคารแหงประเทศไทย เม.ย. 2556 - พ.ย. 2558 ผูทรงคุณวุฒิดานการเงินการคลัง คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ  

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ การรถไฟแหงประเทศไทย ปจจ�บัน กรรมการ มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ คณะกรรมการบริหาร สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู  

 

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 197


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ

พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจ�นดา

พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิร�

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 21 ม.ค. 2559 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 2 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน อายุ 57 ป

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 27 ม.ค. 2558 อายุ 60 ป

กรรมการอิสระ กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม

การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รุนที่ 36 โรงเรียนนายรอยตํารวจ ปริญญาโท บริหารรัฐกิจมหาบัณฑิต Kentucky State University สหรัฐอเมริกา หลักสูตร FBI National Academy, Virginia สหรัฐอเมริกา รุนที่ 215 หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) 2549 หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุนที่ 14 หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 13 

  

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ 2555 - 2557 ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ 

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบร�หารความเสี่ยง

การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยพระจ�ลจอมเกลา หลักสูตรหลักประจํา ชุดที่ 66 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การทหาร) โรงเรียนเสนาธิการทหารบก วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 53 หลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 18 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 211/2558 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 

 

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2559 ผูอํานวยการสํานักงบประมาณกลาโหม กระทรวงกลาโหม 2557 รองเสนาธิการทหารบก กองบัญชาการกองทัพบก 2556 กรรมการผูอํานวยการใหญ สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ​ิ 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน รองปลัดกระทรวงกลาโหม กระทรวงกลาโหม ปจจ�บัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ปจจ�บัน กรรมการ การไฟฟาสวนภูมิภาค 

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

 

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

198 รายงานประจําป 2559


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ

นายดําร� ตันช�วะวงศ

กรรมการอิสระ กรรมการบร�หารความเสี่ยง กรรมการบร�หาร กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 24 เม.ย. 2558 อายุ 63 ป

นายพ�ระพล ถาวรสุภเจร�ญ

กรรมการ กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 28 ธ.ค. 2558 อายุ 57 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต (การเงินและการคลัง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารจัดการสาธารณะ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตรผูบริหารระดับกลาง รุนที่ 1 กระทรวงคมนาคม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (นบส.) รุนที่ 58 สํานักงาน ก.พ. หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (นบส.2) รุนที่ 6 สํานักงาน ก.พ. หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและ กฎหมายมหาชน (ปรม.) รุนที่ 10 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน 2555 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร 

การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Advanced Management Program (AMP167), Harvard Business School, USA การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน SCC/2547 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 106/2551 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน 24/2551 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 22/2552 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน 10/2553 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตร วตท. รุนที่ 8 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2555 - 2556 กรรมการ บริษัท ไอรา แคปปตอล จํากัด (มหาชน) 2548 - 2558 กรรมการ บริษัท ไทยเคนเปเปอร จํากัด (มหาชน)  

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ไทยรุงยูเนียนคาร จํากัด (มหาชน)

   

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 ผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) 2556 รองผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน รองปลัดกระทรวงคมนาคม (หัวหนากลุมภารกิจการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ดานทางหลวง) สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท Yamato Kogyo Co., Ltd. ประเทศญี่ปุน ปจจ�บัน กรรมการ สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย  

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 199


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ

นายรัฐพล ภักดีภูมิ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป

นายว�ระวงค จ�ตตมิตรภาพ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการดานกฎหมาย ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 22 เม.ย. 2552 - 28 เม.ย. 2553 วาระที่ 1 วันที่ 5 ส.ค. 2557 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 2 วันที่ 28 เม.ย. 2553 - 24 เม.ย. 2556 วาระที่ 2 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2556 - 1 ก.ค. 2557 อายุ 49 ป วาระที่ 4 วันที่ 28 ส.ค. 2557 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 5 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน การศึกษา/ประวัติการอบรม อายุ 58 ป ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (เครือ่ งกล) University of Colorado, Boulder, USA MBA (การตลาดและธุรกิจระหวางประเทศ) Sasin Graduate Institute of Business Administration การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาโท Executive Master’s in International Logistics and Supply Chain Strategy, นิติศาสตรบัณฑิต จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Georgia Institute of Technology, Atlanta, USA Executive Program in General Management, Strategies for Sustainable Business MIT Sloan นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LL.M.) University of Pennsylvania, USA School of Management, USA เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมาย แหงเนติบัณฑิตยสภา การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 23/2547 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน /2543 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 52/2547 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร The Executive Director Course (EDC) รุน 1/2555 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Charter Director Class (CDC) รุน 9/2558 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ การอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ - หลักสูตร วตท. รุนที่ 12 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (ว.ป.อ. 58) สถาบันวิชาการปองกันประเทศ - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูงดานการคาและการพาณิชย รุน ที่ 8 สถาบันวิทยาการการคา ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท Frasers and Neave, Limited, Singapore - หลักสูตรภูมพิ ลังแผนดินสําหรับผูบ ริหารระดับสูง รุน ที่ 3 จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - 2013 Southeast Asia Regional Program Fellows, Eisenhower Fellowships 2555 - 2557 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท แผนดินทอง - หลักสูตรการบริหารจัดการความมัน่ คงแหงชาติ (บมช.) รุน ที่ 5 สํานักขาวกรองแหงชาติ พร็อพเพอรตี้ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) - หลักสูตรกฎหมายปกครองสําหรับผูบ ริหารระดับสูง (กปส.) รุน ที่ 1 สํานักงานศาลปกครอง 2554 2556 กรรมการ บริษัท ไมเนอรอนิ เตอรเนชัน่ แนล จํากัด (มหาชน) - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุน ที่ 1 (ว.พ.น. 1) สถาบันวิทยาการพลังงาน 2552 2556 กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) - สมาชิกหนวยฝกการบินพลเรือนกองทัพอากาศ รุน ที่ 65 (ทอ. 65) หนวยฝกการบินพลเรือนกองทัพอากาศ 2550 2554 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ - หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง รุน ที่ 13 บริษัท อาหารสยาม จํากัด (มหาชน) (ป.ป.ร. 13) สถาบันพระปกเกลา 2549 - 2557 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ - โครงการอบรม 2009 Directors’ Consortium Stanford Graduate School of Business, USA - หลักสูตร Electronic Business and Commerce Executive Program บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) - หลักสูตร e-Business and Supply Chain Management Program Graduate School of ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน Business Stanford University, USA - Enrolled as a special student at the Sloan School of Management for two academic term. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย Course work includes Operation and Financial Management, Massachusetts Institute of ปจจ�บัน กรรมการและกรรมการสรรหา Technology Cambridge, MA. USA ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ป จ จ� บ น ั กรรมการและประธานคณะกรรมการสรรหา ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป และกําหนดคาตอบแทน 2543 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท เอสเอฟจี จํากัด (มหาชน) 2533 - ปจจ�บัน กรรมการบริหาร บริษัท เอสเค มิเนอรัลส จํากัด บริษัท ไทยพาณิชยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) ป จ จ� บ น ั กรรมการ บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน ป จ จ� บ น ั กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จํากัด (มหาชน) 2557 - ปจจ�บัน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บิ๊กซี ซุปเปอรเซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ 2557 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ปจจ�บัน ทนายความ บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด บริษัท เจเนอรัล อิเลคทรอนิค คอมเมอรซเซอรวสิ เซส จํากัด ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท สหชาติเศรษฐกิจ จํากัด ปจจ�บัน กรรมการ และประธานคณะกรรมการสรรหาและ 2554 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ดีเอ็กซอินโนเวชั่น จํากัด กําหนดคาตอบแทน ส.ค. 2557 - ปจจ�บนั กรรมการ กรรมการตรวจสอบ บริษัท Frasers Centrepoint Limited (ประเทศสิงคโปร) อนุกรรมการกําหนดผลตอบแทน อนุกรรมการพัฒนาธุรกิจ ปจจ�บนั กรรมการ บริษัท เนชัน่ แนล เพาเวอร ซัพพลาย จํากัด (มหาชน) อนุกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี บริษัท ไปรษณียไ ทย จํากัด สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี   

 

 

  

 

 

 

200 รายงานประจําป 2559


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ

พลอากาศเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ

กรรมการ กรรมการบร�หาร กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ ประธานกรรมการกิจการสัมพันธ

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 29 เม.ย. 2557 อายุ 60 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม หลักสูตรเสนาธิการกิจ รุนที่ 35 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ป 2549 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลักสูตรวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุนที่ 38 วิทยาลัยเสนาธิการทหารอากาศ หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักรภาครัฐ รวมเอกชน รุนที่ 21 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 227/2559 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) 

นายสมเกียรติ ศิร�ชาติไชย

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ กรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ กรรมการทรัพยากรบุคคล ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 28 ส.ค. 2557 อายุ 52 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม   

  

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป ต.ค. 2557 ผูชวยผูบัญชาการทหารอากาศ กองทัพอากาศ เม.ย. 2557 ผูทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพอากาศ กองทัพอากาศ ต.ค. 2556 รองเสนาธิการทหารอากาศ กองทัพอากาศ ต.ค. 2555 ผูชวยเสนาธิการทหารอากาศ ฝายกําลังพล กองทัพอากาศ 

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 

เม.ย. 2556 - ธ.ค. 2558

2554 - 2555

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ต.ค. 2558 - ปจจ�บัน 

ปจจ�บัน

รองปลัดกระทรวงกลาโหม กระทรวงกลาโหม สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย MBA (Finance) University of Pennsylvania (Wharton), USA ป พ.ศ. 2534 ปริญญาบัตรหลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) ป พ.ศ. 2553 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน ป พ.ศ. 2557 Advanced Management Program Harvard Business School, USA, ป พ.ศ. 2558 การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 39/2559 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 178/2556 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 84/2553 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน 11/2553 การอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ - หลักสูตรนานาชาติขน้ั สูงสําหรับการบริหารธนาคาร SIDA, Stockholm, Sweden, ป พ.ศ. 2554 - High Performance Leadership, IMD, Lausanne Switzerland, ป พ.ศ. 2551 - Advanced HR Executive, Michigan Ross School of business, USA, ป พ.ศ. 2550

 

2554 - 2555 2553 - ก.พ. 2556

กรรมการ และประธานกรรมการบริหารความเสีย่ งองคกร ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท หลักทรัพยจดั การกองทุน กสิกรไทย จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ศูนยวจิ ยั กสิกรไทย จํากัด รองกรรมการผูจัดการอาวุโส ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย  ปจจ�บัน กรรมการ กรรมการคณะอํานวยการบริหาร และประธานคณะกรรมการ บริหารจัดการความเสี่ยง บริษัท เมืองไทยประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ  ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บี. กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน)  ปจจ�บัน กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานคณะที่ปรึกษาประธานเจาหนาที่บริหาร และรองประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน)  ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท เมืองไทย กรุป โฮลดิ้ง จํากัด  ปจจ�บัน ทีป่ รึกษาคณะกรรมการอํานวยการ โรงพยาบาลจ�ฬาลงกรณ สภากาชาดไทย  ปจจ�บัน หัวหนาคณะทีป่ รึกษาของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล สภากาชาดไทย  ปจจ�บัน อนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย  ปจจ�บน ั กรรมการนโยบายบุคลากร สภาจ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  ปจจ�บัน อนุกรรมการเตรียมกําลังคนภาครัฐ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 201


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ

นายสมชัย สัจจพงษ�

กรรมการ ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 19 ต.ค. 2558 อายุ 55 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต Ohio State University สหรัฐอเมริกา ปริญญาเอก เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต Ohio State University สหรัฐอเมริกา ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 75/2549 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) 

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 - 2558 อธิบดีกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง 2554 - 2557 ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 2553 - 2554 ผูอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง  

พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปร�ชา กมลาศน กรรมการอิสระ กรรมการผูัมีอํานาจลงนาม ประธานกรรมการบร�หารความเสี่ยง กรรมการบร�หาร

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 12 ต.ค. 2554 - 25 เม.ย. 2555 วาระที่ 2 วันที่ 25 เม.ย. 2555 - 24 เม.ย. 2558 วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2558 - 31 ม.ค. 2560 อายุ 64 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมอากาศยาน โรงเรียนนายเรืออากาศ รุนที่ 17 โรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูง รุนที่ 46 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุนที่ 30 วิทยาลัยการทัพอากาศ รุนที่ 29 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 46 ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 54/2549 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) 

    

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2554 ประธานคณะที่ปรึกษา กองบัญชาการกองทัพไทย 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ปลัดกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ขาราชการบํานาญ กระทรวงกลาโหม

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

202 รายงานประจําป 2559


คณะกรรมการ บร�ษัทฯ

พลอากาศเอก อํานาจ จ�ระมณีมัย กรรมการอิสระ

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 23 พ.ย. 2558 อายุ 53 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนนายเรืออากาศ 

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2559 หัวหนาสํานักงานนายทหารปฏิบัติการพิเศษ หนวยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค 2553 รองหัวหนาสํานักงานฝายเสนาธิการในพระองค สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร หนวยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน หัวหนาสํานักงานฝายเสนาธิการในพระองค สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร หนวยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค

นายจรัมพร โชติกเสถียร

กรรมการ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม กรรมการบร�หาร กรรมการบร�หารความเสี่ยง กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ วันที่ 4 ธ.ค. 2557 - 10 ก.พ. 2560 ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 27 ม.ค. 2558 - 24 เม.ย. 2558 วาระที่ 2 วันที่ 24 เม.ย. 2558 - 10 ก.พ. 2560 อายุ 59 ป

การศึกษา/ประวัติการอบรม 

 

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

ปริญญาตรี สาขา Electrical Engineering and Computer Science, มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย Harvard ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) ป 2547 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 66/2550 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 185/2557 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) - หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุนที่ 1/2555 สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.)

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 

 

 

2554 - 2557 คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน (กนส.) ธนาคารแหงประเทศไทย 2554 - 2557 ประธานกรรมการบริหาร สํานักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) 2554 - 2557 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) 2553 - 2557 กรรมการและผูจัดการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท สํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท เซ็ดเทรด ดอท คอม จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จํากัด

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 9 เม.ย. 2559 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอืน่ ๆ 12 มี.ค. 2558 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธศิ กึ ษาพัฒน ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธวิ จิ ยั เทคโนโลยีสารสนเทศ สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี 

  

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 203


ฝายบร�หาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

นายจรัมพร โชติกเสถียร

นางอุษณีย แสงสิงแกว

ไดรับการแตงตั้งวันที่ 4 ธ.ค. 2557 - 10 ก.พ. 2560 อายุ 59 ป

ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ก.ย. 2558 อายุ 58 ป

การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี สาขา Electrical Engineering and Computer Science, มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย Harvard ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) ป 2547 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 66/2550 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 185/2557 การอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูง รุน ที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุน ที่ 1/2555 สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2554 - 2557 คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน (กนส.) ธนาคารแหงประเทศไทย 2554 - 2557 ประธานกรรมการบริหาร สํานักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) 2554 - 2557 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) 2553 - 2557 กรรมการและผูจัดการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท สํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท เซ็ดเทรด ดอท คอม จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จํากัด ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 9 เม.ย. 2559 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอืน่ ๆ 12 มี.ค. 2558 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธศิ กึ ษาพัฒน ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธวิ จิ ยั เทคโนโลยีสารสนเทศ สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต (BBA) Mini Master of Information Technology (MMIT) ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) หลักสูตรการบริหารการรักษาความสงบเรียบรอยของสังคม ภาครัฐรวมเอกชน (บรอ.) หลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 21 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 194/2557 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) หลักสูตรการบริหารจัดการดานความมั่นคงขั้นสูง วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (สวปอ.รุน 4)

กรรมการผูอํานวยการใหญ

 

 

 

  

204 รายงานประจําป 2559

รองกรรมการผูอํานวยการใหญ หนวยธุรกิจบร�การการบิน

   

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2555 - 2558 กรรมการผูจัดการ ฝายบริการลูกคาภาคพื้น บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2552 - 2555 ผูอํานวยการ ฝายวางแผนและควบคุมอุปกรณ บริการบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด ปจจ�บัน รองประธานกรรมการ บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด ปจจ�บัน รองประธานกรรมการ บริษัท วิงสแปนเซอรวิสเซส จํากัด  

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000023%


ฝายบร�หาร

เร�ออากาศเอก มนตร� จําเร�ยง

นายธีรพล โชติชนาภิบาล

ไดรับแตงตั้งวันที่ 9 ก.ย. 2557 อายุ 59 ป

ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ก.ย. 2558 อายุ 59 ป

การศึกษา/ประวัติการอบรม วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนนายเรืออากาศ ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก Mini MBA (SASIN) Intensive Professional Program (NIDA) Pilot Recruitment License (IATA), Miami USA หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน สถาบันพระปกเกลา หลักสูตร “Leadership Succession Program” มูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาองคกรภาครัฐ (IRDP) จัดตั้งโดยสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Business Leader Development Program University of Oxford, UK. ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) 216/2559 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

การศึกษา/ประวัติการอบรม Bachelor of Arts, Maths & Economics University College of Wales, Great Britain Master of Science, Operations Research University of Southampton, Great Britain

รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายกลยุทธองคกรและพัฒนาอยางยั�งยืน

 

รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการพาณิชย

  

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2553 - 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ ฝายชาง บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)  

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด 

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ก.ค. 2557 - ส.ค. 2558 ที่ปรึกษากรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ก.พ. - ก.ค. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการพาณิชย บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) มิ.ย. 2556 - ก.พ. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายกลยุทธและพัฒนาธุรกิจ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ก.พ. 2554 - มิ.ย. 2556 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายผลิตภัณฑและบริการลูกคา บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) 

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน 

กรรมการ บริษัท ไทยสมายสแอรเวย จํากัด

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000995%

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000029% บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 205


ฝายบร�หาร

นายดนุช บุนนาค

นายนิรุฒ มณีพันธ

ไดรับแตงตั้งวันที่ 25 ก.ค. 2557 อายุ 53 ป

ไดรับแตงตั้งวันที่ 25 ก.ค. 2557 อายุ 48 ป

การศึกษา/ประวัติการอบรม Bachelor of Special Studies, Mathematics Cornell College, USA Bachelor of Science in Systems Science and Engineering, Washington University at St. Louis, USA Master of Construction Management, Washington University at St. Louis, USA

การศึกษา/ประวัติการอบรม นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามคําแหง เนติบัณฑิตไทย สมัยที่ 45 Master of Comparative Jurisprudence (M.C.J) Howard University, Washington D.C., USA Master of Laws (LL.M.)., Temple University, Philadelphia Pennsylvania, USA

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ก.พ. 2557 - ก.ค. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายรายไดเสริมองคกร บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) มิ.ย. 2556 - ก.พ. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายผลิตภัณฑและบริการลูกคา บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) พ.ย. 2555 - มิ.ย. 2556 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการพาณิชย บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ก.พ. 2554 - พ.ย. 2555 กรรมการผูจัดการ หนวยธุรกิจ การบริการภาคพื้น บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป 2555 - 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายทรัพยากรบุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2554 - 2555 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

ที่ปร�กษากรรมการผูอํานวยการใหญ

ที่ปร�กษากรรมการผูอํานวยการใหญ

  

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ไมมี สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000052%

206 รายงานประจําป 2559

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โฮเต็ล จํากัด 

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี


ฝายบร�หาร

เร�ออากาศเอก กนก ทองเผือก

รองกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ สายทรัพยากรบุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร

ไดรับแตงตั้งวันที่ 9 ก.ย. 2557 อายุ 58 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลักสูตร UCLA Extension Executive Management Program 2005, University of California, Los Angeles USA การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP Segment 1-6) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Developing CG Policy Statement (DGC) การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตร Public Procurement Training System, International Trade Centre (Phase 1-2) UNCTAD/WTO - หลักสูตร Corporate Secretary Development Program รุนที่ 9 สมาคมบริษัทจดทะเบียน - หลักสูตร Executive Development for Competitiveness โครงการ Executive Program จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรธรรมาภิบาลของผูบริหารระดับกลางสําหรับ หนวยงานดานกฎหมายในภาครัฐและเอกชน รุนที่ 1 สถาบันพระปกเกลา - หลักสูตรการบริหารการจัดการภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 1 สํานักงานตํารวจแหงชาติ - หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุนที่ 14 สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม - หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตรการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ สัญญา ธรรมศักดิ์ รุนที่ 4 - หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง รุนที่ 6 ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2555 - 2557 ผูอํานวยการใหญ ฝายพัฒนาและฝกอบรมบุคลากร บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2554 - 2555 ผูอํานวยการใหญ ฝายบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท วิงสแปนเซอรวิสเซส จํากัด ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โฮเต็ล จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ทัวร เอื้องหลวง จํากัด สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000041%    

  

นายณรงคชัย วองธนะว�โมกษ�

รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการเง�นและการบัญช�

ไดรับแตงตั้งวันที่ 16 ก.ค. 2558 อายุ 54 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท (สาขา Information Systems) Golden Gate University, San Francisco, CA, USA ปริญญาโท (สาขาการเงิน) University of Pittsburgh, Pittsburgh, PA, USA สถาบันวิทยาการตลาดทุนรุนที่ 23 ประจําป 2559 หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุนที่ 24 จากวิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร (วปอ.) ประจําป 2554 ประกาศนียบัตรหลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGPClass) รุน 3/2554 โดยสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 131/2553 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) หลักสูตร CIMB-Insead Leaderships, INSEAD CFO Becoming a Strategic Partner, University of Pennsylvania, USA Senior Finance Management Program, Executive Development International, UK วุฒิบัตรการเขารับการอบรมตามหลักสูตรโครงการ ฝกอบรมพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร วิชา System Analysis คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป ธ.ค. 2552 - ก.ค. 2558 รองกรรมการผูจัดการใหญ (CFO) ธนาคารซีไอเอ็มบี จํากัด (มหาชน) ส.ค. 2553 - พ.ค. 2557 กรรมการ (มีอํานาจลงนาม) บลจ. ซีไอเอ็มบี - พรินซิเพิล พ.ค. 2555 - ก.ค. 2558 ประธานกรรมการ บจก. เวิรดลีส ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ, ประธานกรรมการความเสี่ยง บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทย-อะมาดิอุสเซาทอิสตเอเชีย จํากัด สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี  

 

 

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 207


ฝายบร�หาร

เร�ออากาศเอก ว�ระศักดิ์ ว�รุฬหเพชร

เร�ออากาศโท สมบุญ ลิ�มวัฒนพงศ

ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ต.ค. 2559 อายุ 59 ป

ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ต.ค. 2559 อายุ 60 ป

การศึกษา/ประวัติการอบรม วิศวกรรมอากาศยาน National Defense Academy of Japan

การศึกษา/ประวัติการอบรม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาไฟฟา โรงเรียนนายเรืออากาศ

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 - 2559 ผูอํานวยการใหญ ฝายปฏิบัติการสนับสนุนการบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2556 - 2557 ผูอํานวยการภารกิจพิเศษ ฝายปฏิบัติการสนับสนุนการบิน สายปฏิบัติการบิน ระดับรองผูอํานวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2550 - 2556 ผูอํานวยการ ฝายนิรภัยปฏิบัติการบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป ต.ค. 2558 - ก.ย. 2559 ผูอํานวยการใหญ ฝายซอมใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) พ.ย. 2557 - ก.ย. 2558 ผูอํานวยการใหญ ฝายซอมบํารุงอากาศยาน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ต.ค. 2554 - ต.ค. 2557 ผูอํานวยการ ฝายซอมใหญ (อูตะเภา) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายปฎิบัติการ

รองกรรมการผูอํานวยการใหญ ฝายชาง

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด

บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โฮเต็ล จํากัด 

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี

208 รายงานประจําป 2559

สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี


ายบร�หาร

นางสุวมล บัวเลิศ

ล านุการบร วยกรรมการ อานวยการ

านก ล านุการบร

เลขานุการบริษัทฯ ไดรับแตงตั้งวันที่ 13 พ ย 2555 ผูช ว ยกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ม ค 2560 อายุ 55 ป

ประวัติการทางานใน วงระยะเวลา 5 ป 13 พ ย 2555 - 1 ม ค 2560 ผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2554 - 2555 ผูอํานวยการใหญ ฝายบริหารทั่วไป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

การศกษา ประวัติการอบรม ปริญญาตรีวิทยาศาสตร จ าลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโทวิทยาศาสตร (Microbio ogy) Sout ern I inois niversity SA ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญาโทนิเทศศาสตร (การสื่อสาร) จ าลงกรณมหาวิทยาลัย ประกาศนียบัตร หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (ผูนํามีวิสัยทัศน) วิทยาลัยนักบริหาร สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ประกาศนียบัตรหลักสูตร o any Secretary Progra ( SP) โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (I ) ประกาศนียบัตรหลักสูตร irector erti ication Progra ( P) รุน 195 255 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (I ) หลักสูตรนักบริหารการคมนาคมระดับสูง รุนที่ 1 กระทรวงคมนาคม

ตาแหนงที่สาคั อื่นๆ ในปจจุบัน บริ ั บ น นตลา หลัก รัพ ไมมี

 

บริ ั หรือหน งานอืน ปจจบัน กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด 

สัดสวนการถือหุนในบรษัทฯ ไมมี

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 209


ํานักงาน

สาขา

AUCKLAND, NEW ZEALAND AKLAA : MR. KARUN SIRAROJANAKUL LEVEL 8, 23 CUSTOMS STREET EAST CITIGROUP BUILDING, PO BOX 4559 AUCKLAND 1140, NEW ZEALAND

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(64-09) 377-3886 (64-09) 379-8597 (64-09) 256-8518 (64-09) 256-8454

BANGALORE, REPUBLIC OF INDIA BLRAA : MR. ATHIWAT KRISNAMPOK THAI AIRWAYS INTERNATIONAL 305, 3RD FLOOR EMBASSY SQUARE 148 INFANTRY ROAD BANGALORE- 560 001, INDIA

CHENGDU, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA CTUAA : MISS PIRANUJ SOMBURANADHIRA TKT/RSVN ROOM 02-03, 12TH FLOOR OF TOWER 1, FAX CENTRAL PLAZA 8 SHUNCHENG AVENUE, AIRPORT CHENGDU, SICHUAN PEOPLE’S REPUBLIC FAX OF CHINA

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(91-80) 4098-0396 / 97 (91-80) 4098-0392 (91-80) 6678-3191 (91-80) 6678-3192

COLOMBO, SRI LANKA CMBAA : MR. NARINTORN SUKKASEAM NBR 03, SIR EARNEST DE SILVA MAWATHA COLOMBO 3, SRI LANKA

BEIJING, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA BJSNN : MR. KITTIPHONG SANSOMBOON UNITS 303-4, LEVEL 3, OFFICE TOWER W3 ORIENTAL PLAZA, NO.1 EAST CHANG AN AVENUE DONG CHENG DISTRICT BEIJING, 100738 PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

(86-10) 8515-0088 (86-10) 8515-1142 (86-10) 8515-1134 (86-10) 6459-8899 (86-10) 6459-0012

BRISBANE, AUSTRALIA BNEAA : MR. CHAWARIT THANASOMBATNANTH THAI AIRWAYS INTL BRISBANE LEVEL 10, 380 QUEEN STREET BRISBANE QUEENSLAND 4000, AUSTRALIA 9/300 ANN ST. BNE QLD4000

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(61-7) 3215-4700 (61-7) 3215-4737 (61-7) 3860-4163 (61-7) 3860-4328

TEL FAX e-mail TKT/RSVN FAX e-mail

: : : : : :

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

BRUSSELS, BELGIUM BRUSD : MRS. KATRIEN DEPAUW THAI AIRWAYS INTERNATIONAL 21, AVENUE DE LA TOISON D’OR 1050 BRUSSELS, BELGIUM BUSAN, REPUBLIC OF KOREA PUSAD : ** VACANT ** 6TH FL. HYUNDAI MARINE & FIRE INSURANCE B/D, 240 JUNGANG-DAERO, DONG-GU, BUSAN, REPUBLIC OF KOREA 601-713

: : : :

(86-28) 8666-7575 / 8666-7171 (86-28) 8666-9371 (86-28) 8520-5842 / 8520 (86-28) 8520-5840

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(94-11) 730-7100-05 (94-11) 266-7891 (94-11) 225-2057 (94-11) 225-2861

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

(45-33) 750-190 (45-33) 750-120 (45-33) 750-180 (45-32) 521-225 (45-32) 523-052

DELHI, REPUBLIC OF INDIA DELNN : MR. VISET SONTICHAI THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. THE AMERICAN PLAZA HOTEL INTERCONTINENTAL EROS, NEHRU PLACE NEW DELHI 110 019, REPUBLIC OF INDIA

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(91-11) 4149-7777 (91-11) 4149-7788 (91-11) 2565-2413 / 2565-2796 (91-11) 2565-2788

(32-2) 502-4447 (32-2) 502-6947 reservations@thaiairways.be (32-2) 502-4447 (32-2) 502-6947 reservations@thaiairways.be

DENPASAR, INDONESIA DPSAD : MR. NARONGRAT SITTHI THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL INNA GRAND BALI BEACH HOTEL, GROUND FLOOR JL. HANG TUAH, SANUR - BALI 80032 INDONESIA

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(62-361) 288-141 (62-361) 288-063 (62-361) 935-5064 (62-361) 935-5063

(82) 51-600-8183 / 84 (82) 51-600-8183 / 84 (82) 51-463-8564 (82) 51-941-8182 (82) 51-941-8183

DHAKA, BANGLADESH DACAA : MR. SATIT DUMRERNG THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO.LTD SPL WESTERN TOWER, LEVEL-9, SPACE-903, 186 BIR UTTAM MIR SHAWKAT ALI ROAD, TEJGAON INDUSTRIAL AREA, DHAKA-1208, BANGLADESH

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

(88-02) 887-9131-45 EXT 502 (88-02) 887-9131-45 EXT 501 (88-02) 887-9146 (88-02) 890-1807 / 1809 / 1812 (88-02) 890-1813

DUBAI, U.A.E. DXBAA : MR. CHANTOUCH SRINILTA THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL NO.1 BU HALEEBA PLAZA, SHOP NO. 1 AL MURAQQABAT ROAD, DEIRA P.O. BOX 13142, DUBAI - U.A.E.

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(971-4) 268-1701 (971-4) 266-5498 (971-4) 224-4305 (971-4) 224-5716

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

(49-69) 92874-446 (49-69) 92874-444 (49-69) 92874-222 (49-69) 69070-931 (49-69) 692-981

BODHGAYA, REPUBLIC OF INDIA (TEMPORARY OFFICE) INPAC TRAVELS (INDIA) PVT LTD. TEL : (91-0631) 220-0124 / C/O MR CB SINGH 220-1156 GF, HOTEL THE ROYAL RESIDENCY FAX : (91-0542) 250-5353 DUMUHAN ROAD, BODHGAYA DISTT GAYA, BIHAR, REPUBLIC OF INDIA CHENNAI, REPUBLIC OF INDIA MAAAA : MR. NATAPOL VANICHKUL THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PLC., LTD. KGN TOWERS, 4th FLOOR, B WING 62 ETHIRAJ SALAI, EGMORE CHENNAI 600 015, REPUBLIC OF INDIA

210 รายงานประจําป 2559

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(91-44) 4206-3311 (91-44) 4206-3344 (91-44) 2256-1928 / 1929 (91-44) 2256-1930

COPENHAGEN, DENMARK CPHAA : MR. PATAPONG NA NAKORN RAADHUSPLADSEN 16 DK-1550 COPENHAGEN V DENMARK

FRANKFURT, GERMANY FRANN : MR. JESADA CHANDREMA THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL ZEIL 127 60313 FRANKFURT, GERMANY


ํานักงาน า า

FUKUOKA, JAPAN FUKAD : ** VACANT ** HINODE FUKUOKA BUILDING 12-1, TENJIN 1, CHUO-KU FUKUOKA, 810-0001 JAPAN

TKT/RSVN : 0570-064-015 (Call Center for local calls only) FAX : (81-92) 734-9480 AIRPORT : (81-92) 477-7870 FAX : (81-92) 477-0345

GUANGZHOU, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA CANAA : MR. JUCKSAWAT KITISOOK TKT/RSVN G3, WEST WING, THE GARDEN HOTEL FAX 368 HUANSHI DONGLU, GUANGZHOU 510064 AIRPORT PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA FAX

: (86-20) 8365-2333 EXT 5 : (86-20) 8365-2300 / 2488 : (86-20) 8613-5310 / 8612-3866 : (86-20) 8613-5315

HANOI, SOCIALIST REPUBLIC OF VIETNAM HANAD : MR. VUTICHAI KAMPANARTSANYAKORN TKT 1st & 3rd FLOOR, HANOI LAKE VIEW BUILDING RSVN 28 THANH NIEN ROAD, TAY HO DISTRICT, HANOI FAX VIETNAM AIRPORT FAX

: : : : :

(84-4) 3826-7921 (84-4) 3826-7922 (84-4) 3826-7394 (84-4) 3884-0530 (84-4) 3886-5574

KUNMING, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA KMGAD : MR. NOPPORN KANCHANAMANEE TKT/RSVN 2ND, FLOOR, ATTACHED BUILDING OF FAX JINJIANG HOTEL NO. 98 BEIJING ROAD, AIRPORT KUNMING, YUNNAN PEOPLE’S REPUBLIC FAX OF CHINA

: : : :

(86-871) 6351-1515 (86-871) 6316-7351 (86-871) 6708-5520 (86-871) 6708-5519

LAHORE, ISLAMIC REPUBLIC OF PAKISTAN LHEAA : MR. LAWIT SAWADIRAK TKT THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. RSVN 9-A, DAVIS ROAD, GRAND HOTEL & FAX TOWER BUILDING LAHORE, ISLAMIC REPUBLIC AIRPORT OF PAKISTAN FAX

: : : : :

(92-042) 3630-9791-4 (92-042) 3637-3377 (92-042) 3636-8690 (92-042) 3661-1514 / 15 (92-042) 3661-1513

TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : : :

(44) 207-491-7953 (44) 207-907-9555 (44) 330-400-4022 (44) 207-409-1463 (44-208) 976-7915 (44-208) 976-7911

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

(63-2) 580-8446-8 (63-2) 580-8441 (63-2) 580-8484 (63-2) 834-0366-68 (63-2) 879-5265

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

(61-3) 8662-2200 (61-3) 8662-2255 (61-3) 9650-7003 (61-3) 9338-8954 (61-3) 9335-3608

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(39-02) 864-51710 (39-02) 864-51711 (39-02) 748-67911 (39-02) 748-60470

LONDON, UNITED KINGDOM LONAA : MISS NONTHAKORN TRAKULPA 41 ALBEMARLE STREET LONDON, W1S 4BF, UNITED KINGDOM

HO CHI MINH CITY, SOCIAL REPUBLIC OF VIETNAM SGNAA : MR. WEERAWAT SWASDIBUDTRA TKT/RSVN : UNITE 102, SAIGON TOWER OFFICE BUILDING FAX : 29 LE DUAN BOULEVARD, BEN NGHE WARD, AIRPORT : DIST. 1, HO CHI MINH CITY, FAX : SOCIAL REPUBLIC OF VIETNAM

MANILA, PHILIPPINES (84-8) 3822-3365 EXT 5117 MNLAA : MR. POLAPAT NEELABHAMORN COUNTRY SPACE 1 BUILDING SEN. GIL J. (84-8) 3824-3361 PUYAT AVENUE MAKATI CITY, PHILIPPINES (84-8) 3547-0300 (84-8) 3547-0301

HONG KONG, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA HKGAA : MR. CHETSENI DHANARAJATA TKT 24A UNITED CENTRE FAX 95 QUEENSWAY, HONG KONG RSVN PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA FAX AIRPORT FAX

: : : : : :

(852) 2179-7700 (852) 2529-0132 (852) 2179-7777 (852) 2179-7661 (852) 2769-7421 (852) 2382-4595

HYDERABAD, REPUBLIC OF INDIA HYDAA : **VACANT** THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. 6-3-249/6, ROAD NO. 01, BANJARA HILLS HYDERABAD - 500034, REPUBLIC OF INDIA

: : : :

MILAN, REPUBLIC OF ITALY (91-40) 2333-3030 EXT 110 MILAA : MRS. APHITCHAYA SAISA-ARD VIA AMEDEI, 15 (91-40) 2333-3003 20123 MILAN, REPUBLIC OF ITALY (91-40) 6660-5022 (91-40) 6662-2003

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

ISLAMABAD, ISLAMIC REPUBLIC OF PAKISTAN ISBAA : ** VACANT ** RSVN OFFICE NO 3, 4 HOLIDAY INN ISLAMABAD HOTEL ISLAMABAD, PAKISTAN FAX AIRPORT FAX JAKARTA, REPUBLIC OF INDONESIA JKTAA : MR. ANAN BUDKAEW WISMA NUSANTARA BUILDING 26TH FLR JL. MH. THAMRIN NO. 59 JAKARTA 10350 INDONESIA KARACHI, PAKISTAN KHIAA : MR. NATTHAKORN CHUNHACHA TECHNOLOGY PARK 7 TH FLOOR SHAHREH-E-FAISAL KARACHI, PAKISTAN KATHMANDU, NEPAL KTMAA : MR. PEERAPONG JUTAGANOON ANNAPURNA ARCADE, DURBAR MARG KATHMANDU, NEPAL KOLKATA, REPUBLIC OF INDIA CCUAA : MR. VICHAYA SINGTOROJ APEEJAY HOUE, 6TH FLOOR, BLOCK-A 15 PARK STREET KOLKATA - 700016, REPUBLIC OF INDIA KUALA LUMPUR, MALAYSIA KULAA : MR. NIVAT CHANTARACHOTI SUITE 30.01, 30TH FLOOR, WISMA GOLDHILL 67 JALAN RAJA CHULAN 50200 KUALA LUMPUR, MALAYSIA

: : : : :

(92-51) 227-2140 (92-51) 227-2141 (92-51) 282-3735 (92-51) 578-1409 / 411 (92-51) 578-1410

TKT/RSVN : (62-21) 390-3588 FAX : (62-21) 390-4318 / 316-2144 AIRPORT : (62-21) 550-2442-3 FAX : (62-21) 550-2442-3 TKT/RSVN : (92-21) 3279-2294 / 3278-8000 FAX : (92-21) 3279-1934 AIRPORT : (92-21) 457-0847 / 907-1472 FAX : (92-21) 457-3009 TKT/RSVN : (977-1) 422-4387/ 3565/ 5084 FAX : (977-1) 422-1130 AIRPORT : (977-1) 411-3293 FAX : (977-1) 411-3287 TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX e-mail

: : : : :

(91-33) 3982-7000 (91-33) 3982-7197 (91-33) 2511-8931 (91-33) 2511-8033 tgkilkata@thaiccu.com

TKT/RSVN : (60-3) 2034-6900, 2034-6999 FAX : (60-3) 2034-6891 AIRPORT : (60-3) 8787-3522 FAX : (60-3) 8787-3511

MELBOURNE, AUSTRALIA MELAA : MR. ARNUPHAP KITTIKUL 3RD FLOOR, 250 COLLINS STREET MELBOURNE, VICTORIA 3000 AUSTRALIA

MUMBAI, REPUBLIC OF INDIA BOMAA : MR. TANAWAT HIRANYALEKHA THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL MITTAL TOWERS, A WING, GROUND FLOOR 2A NARIMAN POINT, MUMBAI - 400021 REPUBLIC OF INDIA MUNICH, GERMANY MUCAA : MR. THONGCHAI TUNGKASAREERUK BAYER KARREE BAYERSTRASSE 83 80335 MUNICH, GERMANY MUSCAT, SULTANATE OF OMAN MCTAA : ** VACANT ** THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. GSA BAHWAN TRAVEL AGENCIES ALRAWAQ BUILDING NO. 10/1 BLOCK 205, PLOT 20 WAY NO. 207 STREET 7, ALQURUM MUSCAT SULTANATE OF OMAN NAGOYA, JAPAN NGOAA : MR. WEERAWAT RATTANA SOUTH HOUSE 9F, 6-29, NISHIKI 3-CHOME NAKA-KU, NAGOYA 460-0003, JAPAN OSAKA, JAPAN OSAAA : MR. WAROTE INTASARA SUMITOMOSEIMEI YODOYABASHI BUILDING 4-1-21 KITAHAMA, CHUO-KU OSAKA 541-0041, JAPAN OSLO, NORWAY OSLAA : MR. KANAPORN APINONKUL AKERSGT. 32 4TH FLOOR 0180 OSLO, NORWAY PARIS, FRANCE PARAA : MR. VIRUJ RUCHIPONGSE TOUR OPUS 12 77 ESPLANADE DU GENERAL DE GAULLE 92914 LA DEFENSE CEDEX FRANCE

TKT/RSVN : (91-22) 6637-3777 FAX : (91-22) 6637-3738 AIRPORT : (91-22) 6685-9219 / 20 / 21 TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(49-89) 2420-7010 (49-89) 2420-7070 (49-89) 9759-2670 / 71 (49-89) 9759-2676

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(968) 2465-4195-96 / 79 (968) 2465-9765 (968) 2451-9874 (968) 2451-0524

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(81-52) 963-8586 (81-52) 963-8588 (81-56) 938-1024 (81-56) 938-1023

RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(81-06) 6202-5161 (81-06) 6202-4758 (81-072) 456-5140 (81-072) 456-5144

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(47) 2311-8888 (47) 2311-8880 (47) 9481-0985 (47) 6482-0590

TKT FAX AIRPORT FAX

: : : :

(33-1) 5568-8060 (33-1) 4090-7165 (33-1) 4862-4130 (33-1) 4864-6267

บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 211


PENANG, MALAYSIA PENAD : ** VACANT ** LEVEL 3 BURMAH PLACE 142-L BURMAH ROAD 10050 PENANG, MALAYSIA PERTH, AUSTRALIA PERAA : MS. PATSAMON SINGHA-UDOM LEVEL 4, ST MARTINS TOWER 44 ST GEORGE’S TERRACE PERTH, WESTERN AUSTRALIA 6000 PHNOM PENH, KINGDOM OF CAMBODIA PNHAA : MRS. CHATIYA APINYANUKUL THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL 9-14B, REGENCY BUSINESS COMPLEX B 294 MAO TSE TOUNG BLVD. PHNOM PENH, KINGDOM OF CAMBODIA ROME, REPUBLIC OF ITALY ROMAA : MR. THAMANOON KUPRASERT 50, VIA BARBERINI 00187 ROME, REPUBLIC OF ITALY SEOUL, REPUBLIC OF KOREA SELAA : MR. SUTTICHOKE RODLEECHIT 15TH FL., HANHWA FINANCE CENTERTAEPYUNGRO 92 SEJONG DAERO, JUNG-GU SEOUL, REPUBLIC OF KOREA, 04525

STOCKHOLM, SWEDEN STOAA : MRS. PORNSRI CHOTIWIT DROTTNINGGATAN 33, BOX 1118 STOCKHOLM, SWEDEN SYDNEY, AUSTRALIA SYDNN : MR. PRIN YOOPRASERT 75 PITT STREET, SYDNEY NEW SOUTH WALES 2000 AUSTRALIA

TAIPEI, TAIWAN TPEAA : MR. WIT KITCHATHORN 7F, NO. 308, SEC. 2, BADE ROAD, TAIPEI 10492 TAIWAN

TEHRAN , IRAN THRAA : MR. PICHEST LAEIETPIBOON THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. NO. 114, KAJABADI ST., JORDAN ST., TEHRAN , IRAN TOKYO, JAPAN TYONN : MR. NOND KALINTA 1-5-1 YURAKUCHO, CHIYODA-KU TOKYO 100-0006, JAPAN

212 รายงานประจําป 2559

(856-21) 222-527 (856-21) 216-143 (856-21) 512-024 (856-21) 512-096

: : : : : :

(604) 226-7000 (604) 226-6821 (604) 226-6000 (604) 226-1857 (604) 643-9491 (604) 644-3657

TKT RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : :

(61-8) 9265-8201 (61-8) 9265-8202 (61-8) 9265-8260 (61-8) 9477-1099 (61-8) 9479-2113

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(855-23) 214-359-61 (855-23) 214-369 (855-23) 303-868 (855-23) 890-239

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(39-6) 4781-3304 (39-6) 4746-449 (39-6) 6501-0703 / 773 (39-6) 6501-0297

TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : : :

(82-2) 3707-0133 (82-2) 3707-0155 (82-2) 3707-0011 (82-2) 755-5251 (82-32) 744-3571-4 (82-32) 744-3577

: : : : :

(86-21) 3366-4111 (86-21) 3366-4020 (86-21) 3366-4010 (86-21) 6834-6803 (86-21) 6834-6802

CHIANGMAI, THAILAND CNXSD : MRS. PUANGPETCH KULTHAWEE TKT 240 PRAPOKKLAO ROAD, FAX AMPHUR MUANG, CHIANGMAI 52000, THAILAND RSVN FAX AIRPORT FAX

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(65) 6210-5000 (65) 6223-9005 (65) 6542-8333 (65) 6542-0179

CHIANGRAI, THAILAND CEISD : ** VACANT ** 870 PHAHOLAYOTIN ROAD AMPHURE MUANG, CHIANGRAI 57000 THAILAND

TKT/RSVN : (053) 711-179, 715-207 FAX : (053) 713-663

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(46-8) 5988-3600 (46-8) 5988-3690 (46-8) 5988-3680 (46-8) 5988-3693

HAT YAI, THAILAND HDYSD : MR. KITTISAK PINMUANG (Acting) 180, 182, 184 NIPHAT UTHIT 1 ROAD HAT YAI, SONGKHLA 90110, THAILAND

TKT/RSVN : (074) 233-433 FAX : (074) 233-114

SHANGHAI, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA SHAAA : MISS CHONNAKARN AKRAPREEDEE TKT/RSVN THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL. FAX TKT SHANGHAI OFFICE UNIT 2302, FAX RSVN CHONG HING FINANCE CENTER, AIRPORT 288 NANJING ROAD (WEST) SHANGHAI 200003, FAX PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA SINGAPORE SINNN : MR. SIRIPHONG MANGKALEE 100 CECIL STREET #02-00 THE GLOBE, SINGAPORE 069532

VIENTIANE, LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC VTEAD : MISSS PARINEE CHANTHRAKUPT TKT/RSVN : M & N BUILDING, GROUND FLOOR FAX : ROOM NO. 70/101-103 AIRPORT : SOUPHANOUVONG AVENUE FAX : VIENTIANE, LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC

TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX

TKT

: (61-2) 1300-651-960 / 9844-0929 FAX : (61-2) 9844-0936 RSVN : (61-2) 1300-651-960 / 9844-0999 FAX : (61-2) 9844-0936 AIRPORT : (61-2) 9844-0939 / 9669-3033 FAX : (61-2) 8339-1176 (886) 2-8772-5222 EXT. 711 (886) 2-2776-7656 (886) 2-8772-5111 (886) 2-8772-7200 (886) 3383-4131 (886) 3383-4395

VARANASI, REPUBLIC OF INDIA (TEMPORARY OFFICE) TOP TRAVEL AND TOURS (P) LTD. TEL : (91-0542) 329-5158 GF-3, R.H. TOWERS, THE MALL FAX : (91-0542) 250-5353 VARANASI CANTT, VARANASI - 221001 UTTAR PRADESH, REPUBLIC OF INDIA XIAMEN, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA XMNAA : MR. PRASERT TANHANSA UNIT C 23 RD FLOOR, INTERNATIONAL PLAZA, NO.8 LUJIANG ROAD, XIAMEN, 361001 PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(86-592) 226-1688 (86-592) 226-1678 (86-592) 573-0558 (86-592) 573-0578

YANGON, UNION OF MYANMAR RGNAA : MR. RATAPONG YANYONG TKT/RSVN : (95-9) 541-9549 THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL. AIRPORT : (95-1) 533-173 UNIT 01,03, LEVEL11, TOWER 1, FAX : (95-1) 533-172 HAGL MYANMAR CENTRE 192 KABA AYE PAGODA ROAD, BAHAN TOWNSHIP THE REPUBLIC OF THE UNION OF MYANMAR ZURICH, SWITZERLAND ZRHAA : MR. SERN CHUPIKULCHAI THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. BAHNHOFSTRASSE 67 / SIHLSTRASSE 1 8001 ZURICH, SWITZERLAND

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : :

(41-44) 215-6500 (41-44) 212-3408 (41-43) 816-4323 (41-43) 816-4590

: : : : : :

(053) 920-920 (053) 920-990 (053) 920-999 (053) 920-995 (053) 201-286 (053) 922-162

สานักงานภายในประเทศ

PHUKET, THAILAND HKTSD : MR. KITTISAK PINMUANG 78 RANONG ROAD, TABOM TALADNUE MUANG DISTRICT, PHUKET 83000, THAILAND

KRABI, THAILAND KBVSD : MR. KARNT LOHSUWAN KRABI INTERNATIONAL AIRPORT 133 MOO 5 PETKASEM RD. T.NUAKLONG A.NUAKLONG KRABI 81130, THAILAND

TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX

: : : : : :

(076) 360-400 (076) 360-482,485 (076) 360-444 (076) 360-485-6 (076) 351-216 (076) 327-423

TKT/RSVN : (075) 701-591-3 (AIRPORT) FAX : (075) 701-594

TKT FAX TKT RSVN FAX RSVN AIRPORT FAX

: : : : : :

TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX

: (98-0) 21 4296-7700 : (98-0) 21 2266-1067 : :

PATTAYA, THAILAND PYXSD : ** VACANT ** DUSIT THANI, 240/2 PATTAYA BEACH ROAD, PATTAYA CITY, CHOLBURI 20150, THAILAND

TKT/RSVN : (038) 420-995-7 FAX : (038) 420-998

TKT/RSVN FAX AIRPORT (NRT) FAX AIRPORT (HND) FAX

: (81-3) 3503-3311 : (81-3) 3503-3323 : (81-4) 7634-8329

SAMUI INTERNATIONAL AIRPORT 99 MOO 4, BO BHUD KOH SAMUI DISTRICT, SURATTHANI 84320, THAILAND

AIRPORT : (077) 601-331-2 FAX : (077) 601-381

: (81-4) 7634-8328 : (81-3) 3747-0327 : (81-3) 3747-0318

KHONKAEN, THAILAND KKCSD : ** VACANT ** TKT/RSVN : (043) 227-701-04 HOTEL PULLMAN KHONKAEN RAJA ORCHID FAX : (043) 227-708 9/9 PRACHASUMRAN ROAD, NAI MUANG, MUANG, KHONKAEN 40000, THAILAND




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.